Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 56

ปั ญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม

Energy from Charcoal


Hydrologic cycle ?
connection
Save the Forest
What do you think about this? Discuss…
Discuss
Distance: up side down

Gl b l problems
Global bl

Regional problems

Nationall problems
bl

Provincial problems

Personal problems
การมองภาพของทรัพยากร
การมองภาพของทรพยากร
• เชิงปริมาณ • เชิงคุณภาพ
(quantitative study) (qualitative study)
ขาดสมดุล

ปัญหา (Problems)
ปญหา
ปริมาณ หรือ คุณภาพ ???.... ระดับไหน ??
นํ้าท่วมเชียงใหม่: Provincial Problems
ปริมาณ หรือ คุณภาพ ???.... ระดับไหน ??
Water Scarcity: Global Problems
ปริมาณ / คุณภาพ ??? ระดับไหน ??
ปั ญหาอะไร สําคัญที่สุด ?
ปั ญหาอะไร ควรเร่ งแก้ ไขก่ อน ?
การแก้ปัญหา ต้ตองรู
การแกปญหา องร้......

 ร้รูจกกทรพยากร
ั ทรั พยากร
 รร้ ู ท่ มมาของปญหา
ี าของปั ญหา
 ร้ ู การแก้้ ปัญหา
สถานการณ์ด้านทรัพยากรดิน

ใช้ ที่ดินผิดประเภท

ความเสื่อมโทรมของที่ดนิ

ดินขาดความอดมสมบรณ์
ดนขาดความอุดมสมบูรณ

การชะล้ างพังทลายของดิน
ปั ญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดินและนํ ้าในการเกษตร
การเกษตรที่มีพฒ
ั นาการผลิตให้ ได้ ปริ มาณของผลผลิตมากขึ ้น
เทคโนโลยีใหม่ๆเข้ ามาใช้ ในการผลิต เช่นปุ๋ยเคมี เครื่ องจักรกล

ความเอาใจใส่ตอ่ ดินน้ อยลง

ดินเสื่อม
การไถพรวนทําให้ ดินถูกชะล้ างพังทลาย (ลม/นํ ้า) ได้ งา่ ย
การเปิ ดหน้ าดินทําให้ หน้ าดินรับแสงเต็มที่ เกิ
การเปดหนาดนทาใหหนาดนรบแสงเตมท เกดการระเหยของนา
ดการระเหยของนํ ้า
ประกอบกับไม่มีรากไม้ ดดู ซับนํ ้า ทําให้ ดินแห้ งและเสื่อมคุณภาพเร็ว
ปั ญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดินและนํ ้าในการเกษตร

ดินเสื่อม
ดนเสอม

การทิ ้งช่วงในการทํานาปรังทําให้ ต้องทิ ้งพื ้นที่ให้ วา่ งเปล่า


วัชพืชปกคลมม เมื
วชพชปกคลุ เมอถงฤดู
่อถึงฤดกาลใหม่
กาลใหม ก็ก เผา
ทําให้ อินทรี ย์วตั ถุและสิง่ มีชีวิตเล็กๆ ตาย!!!
การหมุนเวีียนของธาตุอาหาร ขาด
ดินเสือ่ ม (หันมาใช้ ป๋ ยเคมี
ุ )
สถานการณ์ด้านทรัพยากรนํ ้า

 ป ปื ้
การปนเปอนของสารเคมในแหลงนา
ส ีใ ่ ํ้

นํํา้ ทิงิ ้ นํํา้ เสีีย ปนเปืื อนในแหล่


้ ใ งนํํา้

แหล่งนํ ้าตื ้นเขิน

ขาดแคลนนํ ้าในหน้ าแล้ ง

นํ ้าท่วมในหน้ าฝน (อุทกภัย)


สถานการณ์ดานทรพยากรนา
สถานการณ ้ ั ํ้

การทําลายป่ าไม้ เพื่อการเกษตรทําให้ ขาดพื ้นที่ดดู ซับ

จึงเกิดการชะล้ างพังทลายของดินลงสูแู่ หล่งนํ ้า

เป็ นผลให้ แหล่งนํ ้าขนข้


เปนผลใหแหลงนาขุ นขนและตนเขน
นและตื ้นเขิน

ทํําใให้้ เกิิดภาวะนํํา้ ท่ว่ มฉับั พลันั และเกิิดความขาดแคลนนํํา้ ในหน้


ใ ้ าแล้้ ง
สถานการณ์ดานทรพยากรนา
สถานการณ ด้านทรัพยากรนํ ้า
สถานการณ์ดานทรพยากรนา
สถานการณ ด้านทรัพยากรนํ ้า
ขอบเขตของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งไทย

- ชายฝั่ งทะเลไทยมีความยาวประมาณ 2,614 กิโลเมตร
- เปนชายฝงดานอาวไทย
เป็ นชายฝั่ งด้ านอ่ าวไทย ประมาณ 1,660 1 660 กโลเมตร
กิโลเมตร
- ชายฝั่ งด้ านทะเลอันดามัน 954 กิโลเมตร
- ทรัั พยากรชายฝัฝั่ งทะเลที่ สี าํ คััญ ได้
ไ ้ แก่่ ป่ าชายเลน ปะการั
ป ัง
หาดทราย ปลาและสัตว์ นํา้ ชายฝั่ งนานาชนิด นํา้ ทะเล หญ้ าทะเล
- เป็ นแหล่ งอาหาร แหล่ งประมงและการเพาะเลีย้ งสัตว์ นํา้ ชายฝั่ ง
- มีคุณค่ าทางเศรษฐกิ ฐ จ มีประโยชน์ ในด้ านเป็ นแหล่ งท่ องเที่ยว
พักผ่ อนหย่ อนใจที่สวยงาม นํามาซึ่งรายได้ ส่งผลต่ อการพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศ
เศรษฐกจของประเทศ
พื
พนทกดเซาะชายฝงทะเล
น้ ทีก่ ดั เซาะชายฝั่งทะเล แยกตามภู
แยกตามภมิมภภาค
าค
พืนื ้ ที่ ี ระยะทาง ระยะทางที่ ถี ูก พืนื ้ ที่ ถี กู กััดเซาะ
ชายหาด (ก.ม.) กัดเซาะ (ก.ม.) (%)
ชายฝั่ งอ่ าวไทย 1701.50 376.66 22.1

อ่าวไทยตอนบน
อาวไทยตอนบน 121 5
121.5 82 67 50
67.50

ชายฝั่ งตะวันออก 485 62 12.8

ชายฝั่ งตะวันตก 450 75.46 16.8

ชายฝั่ งอ่าวไทย 645 237.68 79.7


ภาคใต้
ชายฝั่ งทะเลอันดามัน 946 111.4 11.8
สถานการณ์ด้านทรัพยากรทางทะเล

การจับปลามากเกินไป

ป่ปาชายเลน
าชายเลน ปะการง
ปะการัง หญ้
หญาทะเลถู
าทะเลถกทํ
กทาลาย
าลาย
ระบบนิเวศขาดความสมดุลุ
ถกคกคามจากอตสาหกรรมท่
ู ุ ุ องเที่ยวและบริ การ
ปั ญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรทางทะเล
ปญหาความเสอมโทรมของทรพยากรทางทะเล
ทรพยากรทางทะเลและชายฝง
ทรั พยากรทางทะเลและชายฝั่ ง เปนทรพยากรทสาคญ
เป็ นทรัพยากรที่สําคัญ
ในการเป็ นแหล่งอาหารที่ใหญ่ที่สดุ ในโลก ดังนันเมื
้ ่อ
เกดการเสอมโทรมยอมสงผลกระทบโดยตรงตอมนุ
ิ สื่ โ ่ ส่ โ ่ ษย์
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเสื่อมโทรมลงของแหล่งฟั กตัว
ของสัตว์นํา้ “ป่ าชายเลน” โดยมีสาเหตุมาจาก
11.แหลงทองเทยว
แหล่งท่องเที่ยว เช่
เชนน การสร้
การสรางทพกหรอผลกระทบตางๆ
างที่พกั หรื อผลกระทบต่างๆ
ที่มากับนักท่องเที่ยว หรื อแม้ กระทังการระบายของเสี
้ ยของโรงแรมต่างๆ
2.การทาการเกษตร
ํ และการทาประมง
ํป เช่น่ การเลียี ้ งกุ้ง การทานาเกลื
ํ อื
3. อื่นๆ เช่น การรั่วของนํ ้ามัน การเกิดภัยธรรมชาติ เป็ นต้ น
พืน้ ที่เชื่อมต่ อผืนป่ าตามแนวเทือกเขา
ตะนาวศร ศ ี สาคญในเชงภู
สํ ั ใ ชิ มิศาสตรเพอ ศ ส ์ ่ื
การอนุ รั กษ์ ป่ าไม้ แ ละสั ต ว์ ป่ า เพราะ
เป็ นพืน้ ที่ป่าตามเขตชายแดนประเทศ
เปนพนทปาตามเขตชายแดนปร เทศ
ไทยและสหภาพพม่ าที่ยังคงความอุดม
สมบูรณ์ และแต่ ยังเป็ นแนวเชื่ อมต่ อ
ระหว่ างผืนป่ าอนุ รักษ์ ผืนใหญ่ ท่ ีสุดใน
ประเทศไทย คื อ ผื น ป่ าตะวั น ตก
(W t FForestt CComplex)
(Western l ) กบผนปา
กับผืนป่ า
แก่ งกระจาน (Kaeng Krachan Forest
Complex) p ) พืน้ ที่นีต้ ัง้ อย่ ูในเขตรอยต่ อ
ทางชี ว ภู มิ ศ าสตร์ (Biogeographical
zone) ถึ ง 4 เขต ครอบคลุ ม 6 ลุ่ ม นํ า้
หลั ก ของประเทศไทย จึ ง เป็ นแหล่ ง
รวมความหลากหลายทางชี ว ภาพที่
สสํ า คัค ญ อีอ ก แ ห่ห ง ห นึน่ ง ข อ ง เ อ เ ชีช ย
ตะวันออกเฉียงใต้
สถานการณ์ด้านทรัพยากรป่ าไม้ /สัตว์ป่า

ปั จจุบนั ร้ อยละ 32.65 ของพื ้นที


้ ่ทวั่ ประเทศ
(ป่ าสมบรณ์
(ปาสมบู รณเพยง
เพียง รอยละ
ร้ อยละ 25 ของพนททวประเทศ)
ของพื ้นที่ทวั่ ประเทศ)
การตั
การตดไมทาลายปา
ดไม้ ทําลายป่ า

การบุกรุกพืืน้ ทีี่ป่าเพืื่อทํํากิิน

สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
สถานการณ์ดานทรพยากรปาไม/สตวปา
สถานการณ ้ ั ป่ ไ ้ /สั ์ป่
สถานการณ์ด้านทรัพยากรป่ าไม้ /สัตว์ป่า
สถานการณ์ด้านทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงาน

แร่ธาตุถกู นํามาใช้ อย่างไม่คมุ ค่า

การนําแร่ธาตุมาใช้ มีผลทําลายทรัพยากรอย่างอื่น

ขาดแคลนพลังงานบางอย่าง
กระแสของการประหยัดพลังงานมีมากขึ ้น
แต่ผลในทางปฏิบตั ไิ ม่ชดั เจน
สถานการณ์ด้านมลพิษ

ขยะมากขึ ้น

คณภาพอากาศแย่
คุณภาพอากาศแยลง
ลง

มลภาวะทางสังคม
ปั ญหามลพิษในอากาศ
ฝนกรด
ปั ญหามลพิษในชมชน
ปญหามลพษในชุ มชน

ปั ญหาจากใช้ ใ ้ ทรััพยากรของมนุษย์์ที่ผิดๆ นอกจากจะส่ง่ ผลต่อ่


สิง่ แวดล้ อมแล้ ว ยังส่งผลกระทบต่อมนุษย์ด้วยกันเอง ทังทางตรงและ

ทางอ้ อม ดังนี ้
1.ปัปั ญหาการแย่ง่ ชิิงทรััพยากร
2.ปั ญหาขยะและมลพิษในเมือง
3.ปั ญหาการขาดแคลนพลังงาน
4.ปั ญหามลพิษในสถานประกอบการ
5.ปั ญหาสารพิษตกค้ างในอาหารและสิง่ แวดล้ อม
การจัดลําดับความสําคัญของปั ญหาสิง่ แวดล้ อมของไทย

เกณฑ์ มลค่
เกณฑ มูลคาา ความเสยหายของปญหาทรพยากรธรรมชาตและสงแวดลอม
ความเสียหายของปั ญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม
การสํารวจทัศนคติของประชาชน

ปั ญหาสิง่ แวดล้ อมและทรัพยากรที่สมควร ได้ รับการแก้ ไขอย่างเร่งด่วน


6. ทรัพยากรพลังงาน
1. ป่ปาไม
าไม้
7 ทะเลชายฝัฝั่ ง
7.
2. นํ ้า มูลค่าความ 8. ป่ าชายเลน
3
3. ดิน
ดน เสียหาย รวม
เสยหาย 9. มลพิษจากสารอันตราย
4. ขยะ พันล้ านบาท 10.ทรัพยากรธรณี
5
5. อากาศ
11.มลพิษทางเสียง
สถานการณ์สงิ่ แวดล้ อมในประเทศไทย
เริ่ มได้ รับผลกระทบอย่างชัดเจนหลังจากใช้ แผน 1-7 เป็ นต้ นมา
การเติบโตทางเศรษฐกิจแบบก้ าวกระโดด ไปข้ างหน้ า
สังคม วัวฒนธรรม
สงคม ฒนธรรม และคณภาพคน
และคุณภาพคน กาวกระโดด
ก้ าวกระโดด ไปขางหลง
ไปข้ างหลัง
ในแผน 4 เริ่ มมีการตระหนักถึงปั ญหาสิง่ แวดล้ อม

ในแผน 8-9 แนวคิดพัฒนาแบบองค์รวม บูรณาการทุกด้ านให้ เชื่อมโยง


กัน คือ “คน สังคม เศรษฐกิจ สิง่ แวดล้ อม”

ในแผน 10 ยึด“คน”เป็ นศูนย์กลางในการพัฒนา ใช้ หลักเศรษฐกิจ


พอเพียง บนพื
พอเพยง บนพนฐานของความสมดุ
้นฐานของความสมดลและความยั
ลและความยงยน
ง่ ยืน
พ.ร.บ. ส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้ อม พ.ศ.
2518
(ปั จจุบนั พ.ร.บ. ฉบับ พ.ศ. 2535)
กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับภารกิจของกรมควบคุมมลพิษ ดังนี ้
รัฐธรรมนญแห่
รฐธรรมนู ญแหงราชอาณาจกรไทย
งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.พ ศ 2540
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติการสาธารณสขข พ.ศ.
พระราชบญญตการสาธารณสุ พ ศ 2535
พระราชบัญญัติวตั ถุอนั ตราย พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็ นระเบีียบเรีี ยบร้ อย
ของบ้ านเมือง พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขันตอนการกระจายอํ
้ านาจให้ แก่
องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น พ.ศ. 2542
องคกรปกครองสวนทองถน
กฎหมายอื่นๆ
ปรากฏการณ์สงิ่ แวดล้ อมระดับโลกและผลกระทบ

ปรากฏการณ์ เรื อนกระจก (Green House effect)


ปรากฏการณเรอนกระจก

ปรากฏการณ์แอลนิโญ และลานิญา

การเกิดภัยพิบตั ริ ุนแรง เช่น สึนามิ เฮอริ เคน ฯลฯ


ปั ญหาความเสื่อมโทรมของชันบรรยายกาศ

ปรากฎการณ์เรื อนกระจก
ปรากฎการณ์เรื อนกระจก

ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊ าซมีเทน (CH4) ก๊ าซคลอโรฟลูออโร


คาร์ บอน (CFC8) และก๊ าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) = ก๊ าซเหล่านี ้มี้
คุณุ สมบัติพิเศษ คือสามารถดูดู กลืนและคายรังสีคลื่นยาวช่วง
อินฟราเรดได้ ดีมาก

ดังนันเมื
้ ่อพื ้นผิวโลกคายรังสีอินฟราเรดขึ ้นสูช่ นบรรยากาศ
ั้ ก๊ าซเหล่านี ้
จะดูดกลนรงสอนฟราเรดเอาไว
ื ั สี ิ ฟ ไ้

ต่อจากนันมั
้ นก็จะคายความร้ อนสะสมอยูบ่ ริ เวณพื ้นผิ ้ วโลก และชัน้
บรรยากาศเพิ่มมากขึ ้น พื ้นผิวโลกจึงมีอณ ุ หภูมู ิสงู ขึ ้น เราเรี ยกก๊ าซที่ทํา
ให้ เกิดภาวะแบบนี ้ว่า "ก๊ าซเรื อนกระจก (greenhouse gases)"
ก๊ าซคลอโรฟลูออโรคาร์ บอน (CFC8)

าซเฉื่อย (Inert Gas) มความคงตวสู


ก๊กาซเฉอย มีความคงตัวสงมาก
งมาก สามารถล่
สามารถลองลอยอยู
องลอยอย่ใน
บรรยายกาศจนถึงชันโอนโซน
้ (O3)

ทําให้ โมเลกุลของโอโซนกลายเป็ นออกซิเจน และสารประกอบอื่นๆ

ทําให้ โอโซนบางลง
เป็ นเหตุให้ ปริ มาณรังสีจากดวงอาทิตย์สามารถผ่านโอโซนมายังโลก
ไ ้ มากขึนึ ้
ได้

โลกร้ อนขึ ้น้


ธรณี พิบตั ภิ ยั จากคลื่น Tsunami ทางภาคใตของไทย
ธรณพบตภยจากคลน ทางภาคใต้ ของไทย
เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547
เวลาประมาณครึ่งชัว่ โมง
ทําให้ มีผ้บาดเจบ
ทาใหมผู าดเจ็บ 8,457 ราย ผูผ้ เสีสยชวต
ยชีวิต 5,388 ราย
สูญหาย 3,120 ราย
และความเสียี หายทางสังั คม เศรษฐกิิจ
และสิง่ แวดล้ อมมากเหลือคณานับ
เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2548 ที่ผา่ นมานี ้ เฮอริ เคน Katrina
ได้ ถล่มสหรัฐฯ สร้ างความเสียหาย (ทัง้ ชีวิตและทรัพย์สนิ )
ประมาณ 2.5 ลานลานบาท
ล้ านล้ านบาท เพราะความเสยหายทเกดในแตละ
เพราะความเสียหายที่เกิดในแต่ละ
ครัง้ มาก
แนวทางแก้ ไขในอนาคต

มาตรการทางกฎหมาย

รััฐธรรมนูญแห่ง่ ราชอาณาจักั รไทย


 ไ พ.ศ. 2540 มีี 8 มาตรา
ที่วา่ ด้ วยสิง่ แวดล้ อมและทรัพยากร
ได้ แก่ มาตรา 45,46,56,58,59,60,69,79
พ ร บ สงแวดลอม
พ.ร.บ. สิง่ วดล้ อม 2535
พ.ร.บ. ป่ าไม้ 2484
กฎกระทรวง,ประมวลกฎหมายอาญา
ฯลฯ
แนวทางแก้ ไขในอนาคต

มาตรการทางเศรษฐศาสตร
มาตรการทางเศรษฐศาสตร์


การประเมิ นผลกระทบทางสิง่ แวดล้ อม EIA
Environmental Impact Assessment
ประเมินราคาออกมาในรูปแบบของภาษี
ค่าธรรมเนียม
คาธรรมเนยม
ค่าปรับ ค่าบริ การ ฯลฯ
ผ้ ก่อมลพษเปนผู
ผู อมลพิษเป็ นผ้ จาย
่าย , ภาษนามน
ภาษี นํ ้ามัน , ภาษขยะ
ภาษี ขยะ ฯลฯ
แนวทางแก้ ไขในอนาคต

มาตรการทางสังคมศาสตร์
มาตรการทางสงคมศาสตร

HIA ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต
SIA ประเมิ
ป ินผลกระทบทางสังั คมจากโครงการพั
โ ฒ
ั นา
การขัดเกลาทางสังคม
สถาบันทางสังคม
การมีสว่ นร่ วมในการอนรัรกษทรพยากรและสงแวดลอม
การมสวนรวมในการอนุ กษ์ ทรัพยากรและสิง่ แวดล้ อม
แนวทางแก้ ไขในอนาคต

มาตรการทางการศึกษาและจริ ยธรรม

การศกษาเพอสรางคานยมและจรยธรรมทางสงแวดลอม
การศึกษาเพื่อสร้ างค่านิยมและจริ ยธรรมทางสิง่ แวดล้ อม
การอบรมสัง่ สอนให้ เห็นความสําคัญของสิง่ แวดล้ อม
หลักการเกื ้อกู
้ ลในระบบนิเวศ (พุทธจริ ยศาสตร์ )
แนวทางแก้ ไขในอนาคต

หลักการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
หลกการพฒนาทยงยน

การพัฒนาเพื่อให้ เพียงพอกับความต้ องการของคนรุ่นปั จจุบนั



โดยไม่เบียดเบียนคนร่นต่ตอไป
โดยไมเบยดเบยนคนรุ อไป
การพัฒนาที่มีความสมดุลระหว่างการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ความเสมอภาคทางสังั คม และการอนุรักษ์์ สงิ่ แวดล้้ อม
การพัฒนาแบบบูรู ณาการ
ดุลยภาพระหว่างมนุษย์กบั สิง่ แวดล้ อม
การแก้ ไขปั ญหาที่ผ่านมา

ทีทผานมาประเทศไทยประสบกบปญหาสงแวดลอมมาโดยตลอดไมวา
่ผา่ นมาประเทศไทยประสบกับปั ญหาสิ่งแวดล้ อมมาโดยตลอดไม่วา่
จะเป็ นอากาศเป็ นพิษ การเกิดภัยธรรมชาติตา่ งๆ (นํ ้าท่วม ดินถล่ม )
การสูญเสียี ป่ าไม้
ไ ้ การเสื่ือมของคุณภาพดินิ ปั ญหานํํา้ เสียี หรืื อ
แม้ กระทัง่ ปั ญหาการขาดแคลนนํ ้า
ประเทศไทยได้ พยายามแก้ ไขปั ญหาด้ านสิง่ แวดล้ อมกันมานาน
พอสมควร มีการออกกฎหมายต่างๆ มากมายมาควบคุม แต่
ขณะเดียวกันองค์กรธุรกิจ องค์กรต่างๆๆ ก็มีมากมาย การควบคุมมาจาก
พนักของรัฐ ผลปรากฏว่าก็มิได้ ทําให้ ผลกระทบด้ านสิง่ แวดล้ อมลด
น้ อยลง ตรงกนขามดู
นอยลง ตรงกันข้ ามดเหมื
เหมอนกลบจะทวความรุ
อนกลับจะทวีความรนแรงมากขึ
นแรงมากขนดวยซา
้นด้ วยซํ ้า
1 การแกทปลายเหตุ
1. การแก้ ที่ปลายเหต 2 การควบคุ
2. การควบคมโดยหน่
มโดยหนวยงานทเกยวของ
วยงานที่เกี่ยวข้ อง
การสร้ างที่บําบัดของเสีย, ควบคุมโดยกฎหมาย กฎระเบียบ
บอกาจดนาเสย
่ ํ ั ํ ้ สี ซงเมอม
ซึ่ ื่ ี ต่า่ งๆ
ปั ญหาแล้ วก็จะต้ องคอยตาม ใช้ หลักเกณฑ์ผ้ สู ร้ างมลพิษเป็ นผู้จ่าย
แก้ ท่ีปลายเหตุ (End of Pipe) (Polluter Pay Principle)

3. การแก้ ไขด้ วยการจัดการ


เทคโนโลยสะอาด
โ โ ี ( l
(Cleaner Technology)
h l ) ซงเปนวธการในการแก้
ึ่ ป็ ิ ี ใ ้ ไขปญหา
ปั
ISO 14000 : มาตรฐานฯ การจัดการสิง่ แวดล้ อม
ฉลากเขียว (Eco Labeling) เป็ นเครื่ องหมายรับรอง ให้ กบั ผลิตภัณฑ์ที่
สร้ างมลพิษน้ อย
กฎหมายสิง่ แวดล้ อมของไทย
1.0 - กฎหมายเกีย่ วกับทรัพยากรธรรมชาติ
2.0 - กฎหมายเกยวกบการจดการสงแวดลอม
กฎหมายเกีย่ วกับการจัดการสิ่ งแวดล้ อม
3.0 - กฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ อง

1.0 - Biodiversity
2.0 - Endangered Species (CITES)
กฎหมายสิง่ แวดล้ อมของโลก 3.0 - Movement of hazardous wastes
4.0 - Sustainable Development
p
5.0 - Tranfrontier Pollution
6 0 - สนธสญญาไซเตส
6.0 สนธิสัญญาไซเตส
ค้ นหาเพิ่มเติม

นโยบายสิง่ แวดล้ อมไทย


นโยบายสิง่ แวดล้ อมโลก
ข้ อมูลน่ารู้ และงานวิจยั เกี่ยวกับสิง่ แวดล้ อม

กรมส่งเสริ มคุณภาพสิง่ แวดล้ อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม


http://www.environnet.in.th/evdb/law/national/managment/21002.html
www.monre.go.th
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม
กระทรวงทรพยากรธรรมชาตและสงแวดลอม
www.ldd.go.th
กรมพัฒนาที่ดิน www.tei.or.th
สถาบันั สิง่ิ แวดล้้ อมไทย

www.dmr.go.th
กรมทรัพยากรธรณี
กรมทรพยากรธรณ www.kanchanapisek.or.th
เครื อข่ายกาญจนาภิเษก
www.dtcp.go.th
กรมโยธาธการและผงเมอง
โ ิ ั ื www.nso.go.th g
สํานักงานสถิติแห่งชาติ
www.deqp.go.th
กรมส่งเสริ มคุณภาพสิง่ แวดล้ อม www
www.doae.go.th
doae go th
กรมส่งเสริ มการเกษตร
www.chumchonthai.or.th
มูลนิธิชมุ ชนไท www.soilwafer.com
เทคโนโลยีการจัดการดิน นํ ้า ปุ๋ย
www dnp go th
www.dnp.go.th
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
สรุุป

ปัปญหาสงแวดลอมและทรพยากรธรรมชาต
ญหาสิง่ แวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติ
กําลังทวีความรุนแรงมากขึ ้น

มนุษย์เป็ นผู้ทําลายสิง่ แวดล้ อม จึงต้ องได้ รับผลกระทบ


ทังทางตรงและทางอ้
้ อม อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

การป้องกัน แก้ ไขปั ญหา จึงต้ องเริ่ มจาก “มนุษย์”

การพัฒนาที่ยงั่ ยืน คือแนวทางการพัฒนาของโลกยคศตวรรษที


ุ ่ 21
ดคออ “มนุ
การแก้ ปัญหาสิง่ แวดล้ อมที่สําคัญที่สดคื
การแกปญหาสงแวดลอมทสาคญทสุ มนษย์
ษย”
การอนุรุ ักษ์
คนทัว่ ไปมักเข้ าใจผิดว่า การอนุรักษ์ คือ การเก็บรักษาไม่นําทรัพยากรมาใช้
แต่ท่ีจริ งแล้ ว
การอนุรุ ักษ์ คือ การที่มนุษุ ย์ร้ ูจกั ใช้ ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ ให้ เกิดประโยชน์
สูงสุดและให้ เกิดการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
การพัฒนาที่ยงั่ ยืน

คือ การพัฒนาที่ทําให้ คนในปั จจุบนั มีความเป็ นอยูท่ ี่ดีขึ ้นแต่ไม่สง่ ผล


ให้ คนในอนาคตได้ รับผลกระทบที่เลวลง
ใหคนในอนาคตไดรบผลกระทบทเลวลง
" ปั จจุ บัน โลกเปลี่ ย นแปลงไปอย่ า งรวดเร็ ว จํ า นวน
ประชากรโลกเพิ่มขึน้ นับเป็ นทวีคูณวิถีชีวิตของคนเรามี
ส่ ว นในการบริ โ ภคทรั พ ยากรและสิ่ ง แวดล้ อ ม ทัง้ โดย
ทางตรงและทางอ้ อมอย่ า งหลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ การจะ
คลี่คลายปั ญหาสิ่งแวดล้ อมจึงไม่ใช่เรื่ องง่าย แตกมได
คลคลายปญหาสงแวดลอมจงไมใชเรองงาย แต่ก็มิได้
หมายความว่ า จะหมดทางแก้ ไขสิ่ ง สํ า คั ญ ที่ สุ ด คื อ

ทุ ก คนทุ ก ฝ่ ายจะต้ องมี ค วามตั ง้ ใจจริ ง มี ส ติ มี ค วาม



ปรารถนาดี ีและร่่ วมมืือกันั อย่่างมีีระบบแบบแผนเพื่ือให้ใ้
การพิทกั ษ์ สงิ่ แวดล้ อมประสบผลสําเร็จและยัง่ ยืน "

(พระราชดํารัสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯสยามบรมราชกุมารี เนื่อง


ในงานเปิ ดเวทีสง่ิ แวดล้ อมไทย วันที่ 1 ธันวาคม 2538)
เราจะช่ วยอะไรได้ บ้บ้าง ?

You might also like