Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

สรร สาระ

ผลกระทบของไนโตรเจนต่อสิ่งแวดล้อม
เทพวิทูรย์ ทองศรี*

ไนโตรเจนเป็นธาตุที่มีมากที่สุดในบรรยากาศ ถึงร้อยละ ทั้งนี้ โมเลกุลที่เกิดขึ้นในวัฏจักรไนโตรเจน มีดังนี้


78 ของมวลบรรยากาศของโลก ก๊าซไนโตรเจนไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไนโตรเจน (N2 )ที่อยู่ในรูปแก๊ส
และไม่มีรส มีจุดเดือดต�่ำ คือที่ 25 องศาเซลเซียส สิ่งมีชีวิต แอมโมเนีย (NH3 )ที่อยู่ในรูปแก๊สเกิดจากสิ่งมีชีวิต เช่น
ส่วนใหญ่ไม่สามารถน�ำก๊าซไนโตรเจนมาใช้ในกระบวนการ สิ่งปฏิกูล หรือบริเวณผิวหน้าของปุ๋ย
เจริญเติบโตได้โดยตรงเพราะสิ่งมีชีวิตสามารถน�ำไนโตรเจนอยู่    ไนตริกออกไซด์(NO )พบอยู่ในบรรยากาศซึ่งได้มาจาก
ในรูปของแอมโมเนีย (NH3) หรือไนเตรท (NO3- ) ประโยชน์ได้ กระบวนการ denitrification ท่อไอเสีย และ กระบวนการ
เท่านั้น ไนโตรเจนยังมีความส�ำคัญต่อสิ่งมีชีวิตเนื่องจากเป็น อุตสาหกรรม
องค์ประกอบของโปรตีนและกรดนิวคลีอิกซึ่งเป็นส่วนประกอบ แอมโมเนียมไอออน (NH4+) อยู่ในดินสามารถดูดซึม
ของร่างกายสัตว์ โดยพื ช แอมโมเนี ย มไอออนส่ ว นใหญ่ พ ร้ อ มที่ จ ะเปลี่ ย นไป
ในธรรมชาติ โดยเฉพาะระบบนิเวศที่เป็นน�้ำ พบว่า เป็นไนเตรต      
สาหร่ายสีเขียวแกมน�ำ้ เงินสามารถเปลีย่ นแก๊สไนโตรเจนให้กลาย ไนตรัสออกไซด์ (N2O ) อยู่ในรูปของแก๊สพบอยู่ใน
เป็นแอมโมเนียและไนเตรท ซึ่งพืชน�้ำสามารถน�ำไปใช้ได้ สัตว์ที่ บรรยากาศ ซึง่ ได้มาจากกระบวนการ denitrification ท่อไอเสีย
กินพืชน�้ำเหล่านี้น�ำไนโตรเจนที่ได้ไปสร้างโปรตีน เมื่อพืชและ และกระบวนการอุตสาหกรรม
สัตว์ตายลงโมเลกุลของโปรตีนจะถูกย่อยให้เล็กลงโดยแบคทีเรีย       ไนเตรต(NO3- ) ไม่ได้อยู่ในดิน แต่สามารถถูกดูดซึมได้
กลายเป็นแอมโมเนีย จากนั้นแบคทีเรียชนิดอื่นๆ จะออกซิไดซ์ ด้วยพืช หรือ ย้ายจากดินไปในส่วนของราก
แอมโมเนียให้กลายเป็นไนไตรท์และไนเตรท แต่ในสภาวะที่ นอกจากนั้น แบคทีเรียไรโซเบียม (Rhizobium) ที่พบ
ขาดออกซิเจนหรือมีออกซิเจนในปริมาณน้อย พบว่าไนเตรทจะ ในปมรากของพืชตระกูล ถั่ว สามารถตรึงก๊าซไนโตรเจนจาก
เปลี่ยนรูปโดยแบคทีเรียชนิดอื่นๆ กลายเป็นแอมโมเนียนั่นคือ บรรยากาศของโลกไปเก็บไว้ที่ปมราก และแบคทีเรียบางชนิดที่
เกิดการหมุนเวียนของไนโตรเจนหรือเกิดวัฏจักรของไนโตรเจน อยู่ในดินก็สามารถตรึงก๊าซไนโตรเจนจากบรรยากาศของโลก
เพื่อที่จะเปลี่ยนแปลงโมเลกุลของไนโตรเจนไปเป็นโมเลกุลอื่น ไปเป็นไนเตรทในดิน ไนเตรทเป็นสารอนินทรีย์สามารถละลาย
ที่ เ หมาะสมกั บ สิ่ ง มี ชี วิ ต ชนิ ด ต่ า งๆ ให้ ส ามารถน� ำ โมเลกุ ล น�้ ำ ได้ พื ช จึ ง น� ำ ไปสั ง เคราะห์ เ ป็ น อิ น ทรี ย ์ ไ นโตรเจนซึ่ ง เป็ น
เหล่านัน้ น�ำไปใช้ได้ โดยอาศัยการท�ำปฏิกริ ยิ าทางเคมีคอื ปฏิกริ ยิ า ส่ ว นประกอบของพื ช และร่ า งกายของสั ต ว์ ได้ แ ก่ โปรตี น
ออกซิเดชัน-รีดักชัน นั่นเอง แสดงดังสมการ เปปไทด์ และกรดนิวคลีอคิ เก็บไว้ทพี่ ชื เมือ่ สัตว์ไปกินพืชก็ได้รบั
สารอาหารเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ในการเจริญเติบโตต่อไป
เมื่ออินทรีย์ไนโตรเจนต่างๆที่มาจากพืชและสัตว์รวมถึง
ซากพืชซากสัตว์ลงสู่ดินแบคทีเรียบางชนิดในดินจะย่อยสลาย
อินทรีย์ไนโตรเจนเหล่านี้ไปเป็นแอมโมเนีย ไนไตรท์ (NO2)
และ ไนเตรท (NO3) ตามล�ำดับ จากนั้นพืชใช้ไนเตรทไปในการ
เจริญเติบโตและไนเตรทบางส่วนถูกแบคทีเรียในดินย่อยสลาย
ไปเป็นไนไตรท์ และกลายไปเป็นก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O)
ขึน้ สูบ่ รรยากาศของโลกต่อไป การเปลีย่ นแปลงรูปของไนโตรเจน

* นักวิทยาศาสตร์ช�ำนาญการพิเศษ โครงการฟิสิกส์และวิศวกรรม วศ. ตั้งแต่ ก๊าซไนโตรเจนจากบรรยากาศสู่ดิน พืช สัตว์ และจาก

12 วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ ปีที่ 60 ฉบับที่ 190 Department of Science Service


สรร สาระ
พืช สัตว์สู่ดิน และขึ้นสู่บรรยากาศ วนเวียนเป็นวงจรไปอย่างนี้ การมี ป ริ ม าณไนเตรทในน�้ ำ บริ โ ภคสู ง เป็ น สาเหตุ ใ ห้
ไม่สิ้นสุดเราเรียกว่า “วัฏจักรไนโตรเจน”
เด็กทารกป่วยเกี่ยวกับเมธฮีโมโกลบินในเลือดได้ คือท�ำให้ทารก
มีอาการตัวเขียว เนื่องจากไนเตรทไปท�ำให้ฮีโมโกลบินเป็น
เมธฮีโมโกลบิน ซึ่งท�ำให้เม็ดเลือดแดงไม่สามารถน�ำออกซิเจน
ไปเลีย้ งส่วนต่างๆของร่างกายได้ ดังนัน้ เพือ่ การเฝ้าระวังคุณภาพ
ของสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะคุณภาพน�้ำจึงจ�ำเป็นต้องมีการตรวจ
วิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการหาปริมาณอินทรีย์ไนโตรเจนในรูป
ที เค เอ็น (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN), แอมโมเนีย
ไนโตรเจน (NH3-N), ไนเตรท (NO3) หรือ ไนเตรท-ไนโตรเจน
(NO3-N), ไนไตรท์ (NO2) หรือไนไตรท์-ไนโตรเจน (NO2-N)
โดยมาตรฐานคุณภาพน�้ำของประเทศไทยก�ำหนดให้น�้ำบริโภค
มีปริมาณไนเตรท (NO3) ไม่เกิน 45 มิลลิกรัม/ลิตร น�้ำดื่ม
ภาพที่ 1 แสดงการหมุนเวียนของไนโตรเจน ในภาชนะบรรจุทปี่ ดิ สนิท มีไนเตรท ในรูปของ ไนเตรท ไนโตรเจน
(NO3-N) ไม่เกิน 4.0 มิลลิกรัม/ลิตร และน�้ำบาดาลที่ใช้บริโภค
• ผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดด้อม มีไนเตรท (NO3) ไม่เกิน 45 มิลลิกรัม/ลิตร นอกจากนี้มาตรฐาน
ไนโตรเจนเป็นกลุม่ สารอาหารอนินทรียแ์ ละการเปลีย่ นรูป คุณภาพน�้ำในแหล่งน�้ำผิวดิน ก�ำหนดให้มีไนเตรท ในรูปของ
ของไนโตรเจนในสิง่ แวดล้อมตามวัฏจักรไนโตรเจนมีความส�ำคัญ ไนเตรท ไนโตรเจน (NO3-N) ไม่เกิน 5.0 มิลลิกรัม/ลิตร และ
ต่อสิง่ แวดล้อมเพราะหากมีสารประกอบไนโตรเจนทีม่ ากเกินไปที่ แอมโมเนีย ในรูปของแอมโมเนีย ไนโตรเจน (NH3-N) ไม่เกิน
ผิวหน้าดินของพืน้ ทีก่ ารเกษตร การระบายน�ำ้ ทิง้ จากแหล่งอาศัย 0.5 มิลลิกรัม/ลิตร และมาตรฐานคุณภาพน�้ำทิ้ง ก�ำหนดให้
ในเมืองน�ำ้ โสโครก และน�ำ้ เสียจากโรงงานอุตสาหกรรม อาจท�ำให้ น�ำ้ ทิง้ จากโรงงานอุสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม มีไนโตรเจน
เกิดเป็นแหล่งมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมได้ ในรู ป ของ TKN ไม่ เ กิ น 100 มิ ล ลิ ก รั ม /ลิ ต ร หรื อ แล้ ว แต่
ปริมาณไนเตรทในแหล่งน�้ำเกิดจากการเน่าเปื่อยของ ประเภทของแหล่งรองรับน�้ำทิ้ง แต่ไม่เกิน 200 มิลลิกรัม/ลิตร
ซากพืชซากสัตว์ อุจจาระ น�้ำเน่า ปุ๋ย และน�้ำทิ้งจากโรงงาน ส่วนมาตรฐานควบคุมการระบายน�้ำทิ้งจากอาคารบางประเภท
อุ ต สาหกรรมและสารเคมี จ ากเกษตรกรรม เมื่ อ แบคที เรี ย และบางขนาดให้มีไนโตรเจนในรูป TKN ไม่เกิน 35 และ
ย่ อ ยสลายอิ น ทรี ย ์ ไ นโตรเจน จากน�้ ำ เสี ย อุ จ จาระ และ 40 มิลลิกรัม/ลิตร ค่ามาตรฐานน�ำ้ ทิง้ จากทีด่ นิ จัดสรร มีไนโตรเจน
สารประกอบโปรตีน เปลี่ยนไปเป็นแอมโมเนีย (NH3) จากนั้น ในรูป TKN ไม่เกิน 35 มิลลิกรัม/ลิตร และมาตรฐานเพือ่ ควบคุม
เป็นไนไตรท์ (NO2) และสุดท้ายไปเป็นไนเตรท (NO3) ซึง่ สามารถ การระบายน�้ำทิ้งจากฟาร์มสุกร มีไนโตรเจนในรูป TKN ไม่เกิน
ละลายได้ดีในน�้ำ จึงไหลซึมผ่านการกรองของชั้นดินลงสู่ใต้ดิน 120 มิลลิกรัม/ลิตร หรือ 200 มิลลิกรัม/ลิตร
และสู่แหล่งน�้ำบาดาล แต่บางส่วนพืชใช้เป็นอาหาร เนื่องจาก กรมวิทยาศาสตร์บริการ ได้ให้บริการวิเคราะห์หาปริมาณ
ไนเตรทเป็นสารอาหารของพืชผัก และจ�ำเป็นต่อสิง่ มีชวี ติ ดังนัน้ ไนโตรเจนในรูป TKN แอมโมเนียไนโตรเจน (NH3-N), ไนเตรท
การเน่าเปื่อยของสารอินทรีย์ และปุ๋ย เป็นสาเหตุหลักของการ (NO3) หรือ ไนเตรท-ไนโตรเจน (NO3-N)ในตัวอย่างน�ำ้ เสีย น�ำ้ ทิง้
ปนเปือ้ นไนเตรทในแหล่งน�ำ ้ ซึง่ อาจเพิม่ ความเข้มข้นของไนเตรท จากโรงงานอุตสาหกรรม ผูส้ นใจสามารถขอรับบริการได้ในเวลา
ในน�้ำผิวดินและน�้ำใต้ดินมากขึ้นจนถึงปริมาณที่เป็นอันตราย ราชการ
ต่อสิ่งมีชีวิตได้

Department of Science Service วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ ปีที่ 60 ฉบับที่ 190 13


สรร สาระ
เอกสารอ้างอิง
American Public Health Association. Standard methods for the examination of water & Wastewater. 22nd ed.
New York: APHA, 2012.
Maria Csuros. Environmental sampling & analysis for technicians. London: Taylor & Francis,1994, 336 p.
กรรณิการ์ สิริสิงห์. เคมีของน�้ำ น�้ำโสโครกและการวิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร:ประยูรวงศ์, 2549.
กรมควบคุมมลพิษ. มาตรฐานคุณภาพน�้ำ. [ออนไลน์]. [อ้างถึงวันที่ 17 เมษายน 2555]. เข้าถึงจาก : http://www.pcd.go.th/
info_serv/reg_std_water01.html
ไมตรี สุทธิจิตต์. สารพิษรอบตัว. ดวงกมลพับลิชชิ่ง : กรุงเทพมหานคร, 2551, หน้า 320-327.

14 วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ ปีที่ 60 ฉบับที่ 190 Department of Science Service

You might also like