Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 26

จิตวิทยาองค์ การ

บทที่ 8 ขวัญในการทางาน
1
◼ขวัญ คือ องค์ ประกอบ ที่ประกอบด้ วย
พฤติกรรมของผู้ปฏิบัตงิ าน การ
แสดงออกซึ่งความรู้ สึก เมื่อรวมกันแล้ว
ย่ อมแสดงถึงความรู้ สึกของผ้ ูปฏิบัติงานที่
มีต่อการทางาน ความสั มพันธ์ ในการ
ทางานกับนายจ้ างและผู้ร่วมงาน
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ อขวัญ
◼1. เป้ าหมายของหน่ วยงาน
◼ หน่ วยงานมีเป้ าหมายหรื อไม่ เป้ าหมายร่ วมกันหรื อไม่
◼ ทุกคนในหน่ วยงานเห็นคุณค่ าความสาคัญของเป้ าหมาย
◼ เป้ าหมายนั้นเป็ นสิ่ งทีท
่ ุกๆ คนสามารถกระทาได้
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ อขวัญ
◼2. ฐานนะของบุคคลในหน่ วยงานนั้น ๆ
◼ มีความมั่นคงกว่ า
◼ สภาพการทางานที่ดก ี ว่ า
◼ มีเพื่อนร่ วมงานทีด่ กี ว่ า
◼ มีการติดต่ อสื่ อสารทีด ่ กี ว่ า
◼ มีความเชื่ อมั่นในหัวหน้ างานทีด ่ กี ว่ า
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ อขวัญ
◼3. ความพึงพอใจในงาน
◼ ความพึงพอใจในงานเกีย่ วข้ องกับขวัญในการทางานเป็ น
อย่ างมาก เช่ น ความมั่นคงในงาน ความก้ าวหน้ า ลักษณะ
งานที่ทา เป็ นต้ น ส่ งเหล่ านี่ทาให้ พนักงานมีความรู้ สึก
มั่นคง ทางานได้ อย่ างมีความสุ ข ส่ งผลให้ ขวัญในการ
ทางานสู ง
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ อขวัญ
◼4. การบังคับบัญชาระดับต้ น
◼ผลการวิจัยพบว่ า ผู้นาทีย่ ดึ คนเป็ นศู นย์ กลาง ผู้นาแบบ
ประชาธิปไตย และผู้นาแบบมีส่วนร่ วม สร้ างความพึง
พอใจในการทางานของพนักงานได้ ดกี ว่ า ผู้นาแบบ
เผด็จการ ผู้นาแบบยึดงานเป็ นหลัก และผู้นาแบบถือ
ตนเองเป็ นใหญ่
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ อขวัญ
◼5. การบังคับบัญชาในระดับสู ง
◼ รวมอานาจ
◼ กระจายอานาจ
◼6. การติดต่ อสื่ อสารในองค์ การ
◼ บนลงล่ าง
◼ ล่ างขึน
้ บน
◼ ระดับเดียวกัน
ผลขององค์ การได้ รับจากการทีบ่ ุคคลมีขวัญในการทางาน
◼ 1.เกิดความร่ วมมือในการทางานเป็ นทีม
◼ 2.เสริมสร้ างความเข้ าใจ ลดความขัดแย้ ง
◼ 3.เกิดความเชื่ อมั่นในองค์ การไปในทิศทางเดียวกัน
◼ 4.เกิดความจงรักภักดี
◼ 5.สร้ างความสามัคคีในหมู่คณะ
◼ 6.สมาชิกมีความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์ ใหม่ ๆ
◼ 7มีข้อเสนอแนะความคิดเห็นต่ างๆเพื่อปรับปรุ งองค์ การมากขึน้
บุคคลมีขวัญในการทางานดี
◼ 1. บรรยากาศในหน่ วยงานแจ่ มใสร่ าเริง
◼ 2. งานดาเนินไปด้ วยความเรียบร้ อย ราบรื่ น ถูกต้ องและเชื่ อถือได้
◼ 3. สมาชิกในหน่ วยงานมีความสนใจ หรื อสนุกเพลิดเพลินกับงานของเขา
◼ 4.สมาชิกในหน่ วยงานจะให้ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุ งงานให้ ดขี น
ึ้ เสมอ
◼ 5. สมาชิก ความบริสุทธิ์ใจในหน่ วยงานจะทาการวิพากษ์ วจิ ารณ์ หรื อให้ ความ
คิดเห็นต่ างๆ ด้ วย
◼ 6. สมาชิกในหน่ วยงานพร้ อมทีจ่ ะให้ ความช่ วยเหลือเป็ นกรณีพเิ ศษในยามฉุ กเฉิน
รีบด่ วน
◼ 7. สมาชิกในหน่ วยงานจะยอมรับการมอบหมายหน้ าทีก่ ารงานพิเศษเพิม่ เติมด้ วย
ความยิม้ แย้มแจ่ มใส
บุคคลมีขวัญในการทางานไม่ ดี
◼ 1. มีการลาออกจากงานหรื อแยกย้ ายไปอยู่ที่อื่นโดยสมัครใจในอัตราเพิม่ ขึน้ มาก
อย่างผิดปกติ
◼ 2. มีความเฉื่ อยชาหรื อความเรื่ องหงอยในการปฏิบัติงานเพิม่ สู งขึน้ เรื่ อยๆ
◼ 3. มีการขาด การลามากขึน้ ผิดปกติ โดยเฉพาะอย่ างยิง่ ในขณะทีม่ ีปริมาณงานทีจ่ ะ
◼ 4. มีความผิดพลาดและความไม่ ถูกต้ อง ความไม่ น่าเชื่ อถือมากขึน้ ผิดปกติ
◼ 5. มีการทะเลาะเบาะแว้ งในหมู่สมาชิกของหน่ วยงาน
◼ 6. ผู้ใต้ บังคับบัญชามีความเย็นชาต่ อผู้บังคับบัญชา โดยจะเห็นได้ จากการตอบ
ผู้บังคับบัญชาด้ วยคาพูดแบบถามคาตอบคาหรื อด้ วยการไม่ มองหน้ าในเวลาทีพ่ ูดด้ ว
◼ 7. มีการไม่ เชื่ อฟัง ไม่ อ่อนน้ อม ไม่ สุภาพ มักแข็งข้ อหรื อขัดคาสั่ ง ของ
ผู้บังคับบัญชาเสมอ
การวัดขวัญในการทางาน
◼ 1. การสั มภาษณ์ การสั มภาษณ์ อาจใช้ กบั พนักงานทุกคน หากหน่ วยงานนั้น
มี พนักงานไม่ มากนัก แต่ ถ้าเป็ นหน่ วยงานขนาดใหญ่ กอ็ าจใช้ การ
สั มภาษณ์ กลุ่มตัวอย่ างหรื อ ตัวแทนของพนักงานทีไ่ ด้ รับการคัดเลือกตาม
วิธีการสุ่ มตัวอย่ างเป็ นอย่ างดีแล้ว การสั มภาษณ์ อาจทาเป็ นแบบมาตรฐาน
โดยมีแบบสอบถามหรื อคาถามเพื่อใช้ ในการสั มภาษณ์รวมทั้ง งานที่จะ
แบบฟอร์ มที่ใช้ บันทึกการสั มภาษณ์ ด้วยหรื ออาจเป็ นการสั มภาษณ์ ทไี่ ม่
ต้ องมีแบบฟอร์ มหรื อ ขั้นตอนตายตัวก็ได้ ท้งั นีก้ แ็ ล้วแต่ สถานการณ์ และ
ความเหมาะสม โดยทัว่ ไปแล้วการสั มภาษณ์ มักเป็ นแบบทีผ่ ู้สัมภาษณ์ เป็ น
ผู้วางแนวทางและเป็ นผู้นาในการสั มภาษณ์ เพื่อให้ ได้ ข้อมูลที่ต้องการ
การวัดขวัญในการทางาน
◼ 2. แบบสอบถามความคิดเห็น การใช้ แบบสอบถามความคิดเห็นจะช่ วยให้
หน่ วยงานเก็บรวบรวมข้ อมูลจากพนักงานจานวนมากได้ ภายในเวลาอัน
สั้ น แบบสอบถามจะ ช่ วยรักษาความลับของตัวผู้ตอบได้ โดยผู้ตอบไม่
จาเป็ นต้ องใส่ ชื่อและอาจส่ งแบบสอบถามกลับ คืนทางไปรษณีย์หรื อใส่ ในตู้
ที่เตรียมไว้ ได้ ปกติแบบสอบถามอาจรวมคาถามในหัวข้ อเฉพาะ เรื่ อง
หลายๆ เรื่ อง เช่ น สภาวะหรื อบรรยากาศในการทางาน ความสั มพันธ์ กับ
เพื่อนร่ วมงานความสั มพันธ์ กบั หัวหน้ างาน นโยบายของบริษัท ค่ าจ้ าง
ผลประโยชน์ ของพนักงาน และโอกาส การก้าวหน้ าในงาน แบบสอบถามที่
ส่ งกลับคืนมาจะได้ รับการวิเคราะห์ เพื่อค้ นหาสาเหตุและ สิ่ งทีพ่ นักงานไม่
พอใจ
การวัดขวัญในการทางาน
◼ 3. มาตราวัดเจตคติ นักจิตวิทยาได้ พฒ
ั นามาตราวัดเจตคติขนึ้ เพือ่ ใช้ ในการ
วัด เจตคติของพนักงานทีม่ ีต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งโดยครอบคลุมเนื้อหาเกีย่ วกับ
สิ่ งนั้น ๆ อย่ างกว้ างขวาง เช่ น เจตคติต่อบริษัท เจตคติต่องานที่ทา หรื อเจต
คติต่อนโยบายในการเลื่อนขั้นเลื่อนตาแหน่ ง ของบริษัท เป็ นต้ น มาตราวัด
เจตคติประกอบด้ วยข้ อความทีแ่ สดงถึงความรู้สึกของพนักงานทีม่ ี ต่ อสิ่ งที่
กาลังวัด โดยอาจให้ พนักงานตอบว่ าชอบ ไม่ ชอบ เห็นด้ วย ไม่ เห็นด้ วย
เฉยๆ หรื ออาจ ให้ พนักงานเลือกเฉพาะข้ อความที่ตนเห็นด้ วยก็ได้ เมื่อได้
คาตอบของพนักงานมาแล้ว ทางหน่ วยงานก็นาคาตอบนั้นมาวิเคราะห์ ตาม
วิธีการของมาตราแต่ ละอย่ าง เพื่อหาค่ าจาก มาตรานั้นและแปลความหมาย
ออกมาเป็ นเจตคติของพนักงานนั้นๆ ต่ อสิ่ งทีต่ ้ องการวัดต่ อไป
การวัดขวัญในการทางาน
◼ 4. แบบทดสอบโพรเจกทีฟ (Projective Test) และวิธีการทางอ้ อมอื่น ๆ
การ - ใช้ แบบทดสอบโพรเจกทีฟและวิธีการทางอ้อมอื่น ๆ ในการวัดเจตคติ
ของพนักงานเป็ นวิธีการที่ ไม่ มีรูปแบบตายตัวเหมือนวิธีอื่นๆ วิธีนีเ้ ปิ ด
โอกาสให้ ผู้ตอบมีอสิ ระในการแสดงความคิดเห็นได้ อย่ างเต็มที่ เนื่องจาก
วิธีนีเ้ ป็ นวิธีการทางอ้อมจึงเชื่ อกันว่ าจะมีส่วนช่ วยให้ พนักงานแสดงเจตคติ
ที่แท้ จริงออกมาโดยไม่ ต้องตอบเพื่อรักษาหน้ าของตนหรื อหาเหตุผล
เข้ าข้ างตนเองเหมือนกับ วิธีอื่น ๆ ตัวอย่ างของแบบทดสอบโพรเจกทีฟที่ใช้
กันโดยทัว่ ๆ ไป ได้ แก่ การเชื่ อมโยงคา การเพิม่ ประโยคให้ สมบูรณ์ การ
ตีความหมายรูปภาพ และการเขียนรายงานความรู้สึกของตนเอง เป็ นต้ น
การวัดขวัญในการทางาน
◼ 5. การสั งเกตการสารวจขวัญและเจตคติของพนักงานอาจทาได้ โดยการ สั งเกต
พนักงานในขณะทางานตามสภาพปกติโดยผู้สังเกตซึ่งได้ รับการฝึ กฝนมาเป็ นอย่ างดี
ผู้สังเกตอาจต้ องใช้ เวลาอยู่กบั พนักงานเป็ นเวลาหลายๆ เดือน ในแผนกหรื อใน
หน่ วยงานนั้นๆ เพื่อสร้ างความสั มพันธ์ อนั ดีกบั พนักงานอันจะมีส่วนช่ วยให้ พนักงาน
มีความไว้ วางใจ และถือ เป็ นเรื่ องปกติทมี่ บี ุคคลจากภายนอกมาอยู่ร่วมในสภาพการ
ทางานกับตน การสั งเกตจะ เหมาะสมทีส่ ุ ดสาหรับการศึกษาโครงสร้ างของกลุ่มและ
ความสั มพันธ์ ของสมาชิกในกลุ่มและโอกาส อย่ างไรก็ตามวิธีนีอ้ าจใช้ รวบรวมข้ อมูล
เชิงคุณภาพ (Qualitative Data) ทีเ่ กีย่ วกับเจตคติ ของพนักงานที่มีต่อ
บริษัท ต่ อหัวหน้ างาน หรื อแง่ มุมอื่น ๆ ในสถานการณ์ การทางานได้ โดย พอนามัย
วิเคราะห์ จากพฤติกรรมทัว่ ๆ ไป และการแสดงความคิดเห็นในสถานการณ์ ต่าง ๆ เป็ น
ต้ น
การวัดขวัญในการทางาน
◼ 6. การวัดทางสั งคมมิติ (Sociometry) การวัดทางสั งคมมิติทาได้
โดยให้ บุคคลใน กลุ่มบอกชื่ อคนใดคนหนึ่งในกลุ่มทีเ่ ขาคิดว่ าเป็ นพนักงาน
ทีด่ ีทสี่ ุ ด หรื อเป็ นบุคคลทีค่ ดิ ว่ าจะเป็ น ปรับปรุง หัวหน้ างานทีด่ ีทสี่ ุ ด หรื อ
เป็ นบุคคลทีค่ ดิ ว่ ามีใจเป็ นธรรมทีส่ ุ ด รายชื่ อของแต่ ละคนจะเขียนไว้ ใน
เกิดความ แผนผังโดยใช้ เครื่ องหมายวงกลมไว้ แต่ ละชื่ อ หลังจากนั้นจะ
เขียนลูกศรจากวงกลมชื่ อของ สมาชิกผู้น้ันไปยังชื่ อของบุคคลทีเ่ ขาเสนอ
บุคคลทีม่ ีผู้อื่นเลือกมากก็เป็ นตาราของกลุ่ม (Star) คาราของกลุ่มอาจมี
มากกว่ าหนึ่งคนก็ได้ บุคคลทีไ่ ม่ ได้ รับการเลือกเลยเรียกว่ าบุคคลทีถ่ ูก
ทอดทิง้ (Isolater) การทาสั งคมมิติจะแสดงให้ ทราบถึงโครงสร้ าง
ของกลุ่มได้ โดยปกติจะมี ลักษณะ 3 ประเภท ดังนี้
การวัดขวัญในการทางาน
◼ 6. การวัดทางสั งคมมิติ (Sociometry) การวัดทางสั งคมมิติทาได้
โดยให้ บุคคลใน กลุ่มบอกชื่ อคนใดคนหนึ่งในกลุ่มทีเ่ ขาคิดว่ าเป็ นพนักงาน
ทีด่ ีทสี่ ุ ด หรื อเป็ นบุคคลทีค่ ดิ ว่ าจะเป็ น ปรับปรุง หัวหน้ างานทีด่ ีทสี่ ุ ด หรื อ
เป็ นบุคคลทีค่ ดิ ว่ ามีใจเป็ นธรรมทีส่ ุ ด รายชื่ อของแต่ ละคนจะเขียนไว้ ใน
เกิดความ แผนผังโดยใช้ เครื่ องหมายวงกลมไว้ แต่ ละชื่ อ หลังจากนั้นจะ
เขียนลูกศรจากวงกลมชื่ อของ สมาชิกผู้น้ันไปยังชื่ อของบุคคลทีเ่ ขาเสนอ
บุคคลทีม่ ีผู้อื่นเลือกมากก็เป็ นตาราของกลุ่ม (Star) คาราของกลุ่มอาจมี
มากกว่ าหนึ่งคนก็ได้ บุคคลทีไ่ ม่ ได้ รับการเลือกเลยเรียกว่ าบุคคลทีถ่ ูก
ทอดทิง้ (Isolater) การทาสั งคมมิติจะแสดงให้ ทราบถึงโครงสร้ าง
ของกลุ่มได้ โดยปกติจะมี ลักษณะ 3 ประเภท ดังนี้
การวัดขวัญในการทางาน
การวัดขวัญในการทางาน
วิธีเสริมสร้ างขวัญในการทางาน
◼ 1. สร้ างเจตคติทดี่ ีในการทางาน โดยกระตุ้นให้ ผ้ ูปฏิบัติงานเกิดความพึง
พอใจต่ อ นโยบาย วัตถุประสงค์ และวิธีการดาเนินงานขององค์ การ เพื่อ
ก่อให้ เกิดความซาบซึ้งและ เจตคติทดี่ ีต่อการทางาน เมื่อเขาเหล่านั้นมีเจต
คติทดี่ ีต่องานแล้วเขาย่ อมจะเสี ยสละทั้งเวลา แรงกายและแรงใจให้ แก่งานที่
ทาอย่ างมีกาลังใจและมีขวัญในการปฏิบัติงานได้ ดีขนึ้
วิธีเสริมสร้ างขวัญในการทางาน
◼ 2. กาหนดมาตรฐานสาหรับวัดผลสาเร็จของการปฏิบัติงาน เช่ น จัดให้ มี
ระบบการ ดผลงานเพื่อประโยชน์ ในการพิจารณาเลื่อนขั้น เลื่อนเงินเดือน
สั บเปลีย่ น โยกย้ ายตาแหน่ ง หน้ าที่การงาน เป็ นต้ น การจัดสร้ างมาตรฐาน
ที่เชื่ อถือได้ ไว้ ใช้ ในองค์ การเพื่อประโยชน์ ดังกล่าวนีย้ ่ อมจะสามารถ
ป้ องกันความลาเอียงและข้ อครหาอันจะเป็ นทางนาไปสู่ การเสื่ อม เมื่องาน
ของขวัญในการปฏิบัติงานของบุคคลในองค์การได้
วิธีเสริมสร้ างขวัญในการทางาน
◼ 3. กาหนดเงินเดือนและค่ าจ้ างทีเ่ ป็ นธรรม คนทางานก็เพราะมีความ
ประสงค์ จะได้ ค่ าตอบแทนเพื่อการยังชีพและยกมาตรฐานการครองชีพ
ของตน ซึ่งหมายความถึงว่ าเงินมี ความบพันธ์ โดยตรงกับการทางานของ
คน ความสั มพันธ์ ที่ไม่ ได้ สัดส่ วนระหว่ างแรงงานกับ ค่ าจ้ างจะทาให้ เกิด
ความไม่ พอใจในการทางานและทาให้ ขวัญเสื่ อมลง อย่ างไรก็ตามจะต้ อง
ตระหนักอยู่เสมอว่ าอัตราค่ าจ้ างทีเ่ ป็ นธรรมนั้นไม่ ได้ เป็ นเครื่ องประกันว่ า
ขวัญคนทางานจะดี เสมอไป ยังมีสาเหตุอื่นทีท่ าให้ ขวัญเสื่ อมลงไปได้
ฉะนั้นถ้ าขวัญตกต่าลงไปด้ วยสาเหตุอื่น การ ขึน้ เงินเดือนหรื อการขึน้
ค่ าจ้ างก็ไม่ สามารถทาให้ งานกลับฟื้ นคืนสภาพที่ดไี ด้
วิธีเสริมสร้ างขวัญในการทางาน
◼ 4. งานทีท่ าควรมีความถนัดและใจรัก ขวัญเกิดขึน้ ด้ วยความรู้สึกพอใจใน
งานที่ทา สายงานนั้นเปิ ดโอกาสให้ คนได้ ใช้ ความชานาญและความคิดริเริ่ม
ของตนเองมากคนงานจะพอ ใจในงานที่ตนทา ดังนั้นจึงตั้งข้ อสั งเกตไว้ ว่า
ผลงานทีต่ นทาด้ วยใจรักนั้นย่ อมดีกว่ าผลงานทีท่ า ด้ วยใจไม่ รัก เมื่อเราหวัง
จะได้ งานที่มีประสิ ทธิภาพ งานที่จะมอบให้ ใครทานั้นจึงควรเป็ นงานที่ เรา
พอใจเพื่อจะได้ ผลผลิตทีม่ ีประสิ ทธิภาพ

วิธีเสริมสร้ างขวัญในการทางาน
◼ 5. ความเป็ นสมาชิกของกลุ่ม กลุ่มสั งคมย่ อมเกิดขึน้ ในแต่ ละองค์ การ เช่ น
กลุ่มผู้ สนใจในงานอดิเรกต่ างๆ ผู้ปฏิบัติงานคนหนึ่งอาจเข้ าสั งกัดในกลุ่ม
ใดกลุ่มหนึ่งโดยจะมีความ สนใจในเรื่ องเดียวกันกับสมาชิกอื่นๆ ในกลุ่ม
เขาต้ องการเป็ นส่ วนหนึ่งของกลุ่ม ต้ องการ การยอมรับเข้ าเป็ นสมาชิกของ
กลุ่ม บางทีอาจจะไม่ สนใจในงานทีท่ า แต่ กอ็ าจมีขวัญดีได้ ถ้า ได้ รับการยก
ย่ องจากพวกเดียวกัน เมื่อคนในกลุ่มรวมกันได้ จะเห็นว่ าขวัญของกลุ่ม
โดยทัว่ ไป ถ้ ากลุ่มย่ อย ๆ สามารถประสานกันได้ ก็จะทาให้ ขวัญของกลุ่ม
ใหญ่ และองค์ การดีขนึ้ ด้ วย ทุน
วิธีเสริมสร้ างขวัญในการทางาน
◼ 6. การให้ บาเหน็จรางวัล การให้ บาเหน็จรางวัลตลอดจนการเลื่อนขั้นเลื่อน
ตาแหน่ ง แก่ผู้ปฏิบัติงานดีย่อมเป็ นการสร้ างเสริมขวัญแก่ ผู้ใต้ บังคับบัญชา
และผู้ร่วมงานให้ มีความ กระตือรื อร้ นต่ อการปฏิบัติหน้ าทีก่ ารงานด้ วย
ความขยันขันแข็ง
งาน
◼ ให้ นักศึกษาทาใบความเรื่ องการบริหารความขัดแย้ งใน
องค์ การ
◼ 1.เอกสาร 1 แผ่ น (หน้ า-หลัง)
◼ 1.1ความหมายของความขัดแย้ ง
◼ 1.2การบริหารความขัดแย้ งในองค์ การด้ วยวิธี........
◼ 2.พ้ อยประกอบการนาเสนอ
◼ 3.เตรียมนาเสนอ นาเสนอวันที่ 22 ก.พ. 66
26

You might also like