Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 202

ประกาศมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

เรื่อง การรับสมัครคัดเลือกเข้าเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี ประจาปีการศึกษา 2567


TCAS รอบที่ 2 Quota
-------------------------------------
มหาวิทยาลั ยศรีนครินทรวิโรฒ มีความประสงค์จะรับ สมัครบุคคลเพื่อคัดเลื อกเข้าเป็นนิสิ ตระดับ
ปริญญาตรี ประจาปีการศึกษา 2567 TCAS รอบที่ 2 Quota
1. โครงการที่เปิดรับสมัครระหว่างวันที่ 13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567
1.1 โครงการนักกีฬา หน้า 8 - 25
1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ หน้า 26 - 74
1.3 โครงการความร่วมมือ “โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และโรงเรียนในเครือข่าย” หน้า 75 - 129
1.4 โครงการรับผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล หน้า 130 - 138
1.5 โครงการบัณฑิตคืนถิ่น โพธิวิชชาลัย หน้า 139 - 142
1.6 โครงการ “โรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล” หน้า 143 - 200
1.7 โครงการ “เขตบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข คณะกายภาพบาบัด” หน้า 201 - 202
2. จานวนที่จะรับ ให้เป็นไปตามรายละเอียดแนบท้ายประกาศฯ ของแต่ละโครงการ
3. สถานทีต่ ั้ง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีสถานที่ตั้ง 2 แห่ง คือ
3.1 มหาวิทยาลัย ศรีน คริน ทรวิโรฒ ตั้งอยู่ที่ ถนนสุ ขุมวิท 23 (ประสานมิต ร) แขวงคลองเตยเหนื อ
เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร
3.2 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งอยู่ที่ อาเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก
โดยมหาวิทยาลัยจัดหอพักให้ นิสิตต้องชาระค่าธรรมเนียมตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด ดูรายละเอียดที่
https://dorm.swu.ac.th/
คณะ/วิทยาลัย มีสถานที่เรียน ดังนี้
1) คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์การเกษตร คณะกายภาพบาบัด คณะเภสัชศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์ และคณะพลศึกษา
ทุกชั้นปี เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดนครนายก
2) คณะทั น ตแพทยศาสตร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ คณะมนุ ษ ยศาสตร์ คณะสั งคมศาสตร์
คณะศิ ล ปกรรมศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ วิ ทยาลั ยนวั ตกรรมสื่ อสารสั งคม วิ ทยาลั ย
นานาชาติเพื่อศึกษาความยั่งยืน และวิทยาลัยอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
ทุกชั้นปี เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
เฉพาะคณะ/วิทยาลัย ที่มีหลักสูตร/สาขาวิชา/วิชาเอก ที่เป็นโครงการพิเศษ
เรียน จันทร์ – ศุกร์ เรียนเวลา 17.30 – 20.20 น.
เรียน เสาร์ หรือ อาทิตย์ เรียนเวลา 08.30 – 16.20 น.
-2- TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567

3) คณะแพทยศาสตร์
ชั้นปีที่ 1-3 เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
ชั้นปีที่ 4-6 เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดนครนายก
และศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน จังหวัดนนทบุรี
4) คณะศึกษาศาสตร์
ทุกชั้นปี เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
เฉพาะวิชาเอกการประถมศึกษา
ชั้นปีที่ 1-2 เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดนครนายก
ชั้นปีที่ 3-4 เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
5) คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม
ภาคปกติ ทุกชั้นปี เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
วันจันทร์ – วันศุกร์ เรียนเวลา 08.30 – 17.20 น.
โครงการพิเศษ ทุกชั้นปี เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
วันจันทร์ – วันศุกร์ เรียนเวลา 16.30 – 20.20 น.
วันเสาร์ หรือ วันอาทิตย์ เรียนเวลา 08.30 – 16.20 น.
6) คณะวิศวกรรมศาสตร์
ทุกชั้นปี เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดนครนายก
ยกเว้น หลักสูตรนานาชาติ
ชั้นปีที่ 1-2 เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
ชั้นปีที่ 3-4 สาขาวิชาวิศวกรรมคอนเสิร์ตและมัลติมีเดีย (หลักสูตรนานาชาติ)
สาขาวิชาวิศวกรรมด้านความปลอดภัยไซเบอร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
เรียนที่ มหาวิทยาลัยเดอ มอนต์ฟอร์ต ประเทศอังกฤษ
7) วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย
ทุกชั้นปี เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดนครนายก
เรียนปฏิบัติการ(บางวิชา) เรียนที่ วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
จังหวัดสระแก้ว และ อ.แม่สอด จังหวัดตาก
8) คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนา ทุกชั้นปี เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ทุกชั้นปี เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
จังหวัดนครนายก
-3- TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567

4. คุณสมบัติทั่วไปของผู้มีสิทธิ์สมัคร
4.1 ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือมีความผิดปกติที่จะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
4.2 ไม่เคยถูกให้ออกจากสถาบันอุดมศึกษาใดๆ มาแล้ว เพราะความประพฤติไม่เหมาะสมหรือกระทา
ความผิดต่างๆ ที่ไม่ใช่ทางด้านวิชาการ
4.3 จะต้องไม่เป็นผู้ที่ถูกลงโทษ เนื่องจากการกระทาผิดหรือร่วมกระทาทุจริตในการสอบวัดความรู้เพื่อ
สมัครเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในช่วงเวลา 3 ปีที่ผ่านมา
4.4 เป็ น ผู้ ที่ มี ค วามประพฤติ เรี ย บร้ อ ยและรั บ รองต่ อ มหาวิ ท ยาลั ย ได้ ว่ า จะตั้ ง ใจศึ ก ษาเล่ า เรี ย น
เต็มความสามารถ และจะปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยที่มีอยู่แล้ว หรือที่จะมีต่อไป
โดยเคร่งครัดทุกประการ
4.5 เป็นผู้ที่อยู่ในประเทศไทยอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
4.6 ในกรณีที่เป็นผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียนสายสามัญ ต้องมีคุณสมบัติตามระเบียบ
กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการดาเนินงานการศึกษานอกโรงเรียนสายสามัญศึกษา (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2544
4.7 ต้องไม่เป็นผู้ที่ยืนยันสิทธิ์ หรือรายงานตัวเข้าเป็นนิสิตในมหาวิทยาลัย จากการคัดเลือก TCAS
รอบที่ 1 แฟ้มสะสมผลงาน ประจาปีการศึกษา 2567
4.8 มีผลคะแนน TGAT/TPAT และ/หรือ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบและเกณฑ์ขั้นต่า
ที่หลักสูตร/สาขาวิชา/วิชาเอก กาหนด (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้คะแนน)
สาหรับคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละโครงการ/สาขาวิชา/วิชาเอก ให้เป็นไปตามรายละเอียดแนบท้าย
ประกาศฯ ของแต่ละโครงการ
5. การสมัครเข้าเป็นนิสิต
5.1 ผู้สมัครเข้าเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยที่ https://admission.swu.ac.th ทาการลงทะเบียนผู้ใช้งาน
(สมัครครั้งเดียว) → เข้าสู่ระบบ (หากลงทะเบียนไว้แล้วข้ามไปข้อที่ 5.2)
5.2 เลือก สมัครระดับปริญญาตรี
5.3 เลือกประเภทการรับสมัคร → TCAS รอบที่ 2 โควตา
5.4 ในการรับสมัคร TCAS รอบที่ 2 โควตา ผู้สมัครสามารถสมัครได้เพียง 1 ใบสมัครเท่านั้น และเลือก
สมัครได้ 1 สาขาวิชา ยกเว้น โครงการนักกีฬา สามารถเลือกสมัครได้ 3 สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร
ในโครงการนักกีฬา
5.5 กรอกข้อมูลการสมัครและตรวจสอบให้ถูกต้องก่อนบันทึกข้อมูล (โปรดบันทึกข้อมูลการสมัครด้วย
ตนเอง และตรวจสอบข้อมูลต่างๆ อย่างละเอียดเพื่อประโยชน์ของตนเอง)
5.6 ระบบรั บ สมั ค รจะปิ ด เวลา 15.00 น. ในวั น สุ ด ท้ า ยของการรั บ สมั ค ร ขอให้ ผู้ ส มั ค รกรอก
รายละเอียดต่างๆ/เลือกสาขาวิชา/แนบไฟล์ pdf (ถ้ามี) ให้แล้วเสร็จก่อนเวลา 15.00 น.
5.7 ค่าธรรมเนียมการสมัคร 600 บาท ผู้สมัครสามารถสมัครได้ตั้งแต่วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2567 ถึงวันที่
29 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 15.00 น. และชาระเงิน ได้ภ ายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา
22.00 น. ผ่ า น Mobile Banking Application โดยการ Scan QR Code ที่ ปรากฏในแบบฟอร์ ม
การชาระเงิน และเก็บหลักฐานการชาระเงินไว้เป็นหลักฐาน
-4- TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567

5.8 การสมั ค รจะสมบู ร ณ์ ต่ อ เมื่ อ ได้ ช าระค่ า ธรรมเนี ย มการสมั ค ร ภายในระยะเวลาที่ ก าหนด
มหาวิทยาลัย จะไม่คืนค่าสมัครในกรณีต่อไปนี้
➢ ชาระค่าสมัครหลังจากวันที่กาหนดจะถือเป็นโมฆะ และมหาวิทยาลัยจะไม่คืนเงินให้ไม่ว่ากรณี
ใดๆทั้งสิ้น หรือ
➢ ชาระค่าสมัครน้อยกว่าที่กาหนดจะถือเป็นโมฆะ มหาวิทยาลัยจะไม่คืน เงินให้ไม่ว่ากรณีใดๆ
ทั้งสิ้น และต้องชาระค่าสมัครใหม่ทั้งหมด หรือ
➢ ชาระค่าสมัครมากกว่าที่กาหนด หรือ ชาระค่าสมัครมากกว่า 1 ครั้ง มหาวิทยาลัยจะไม่คืนเงิน
ส่วนที่จ่ายเกิน ไม่ว่ากรณีใดๆทั้งสิ้น หรือ
➢ กรณีไม่ผ่านการคัดเลือก มหาวิทยาลัยขอสงวนสิทธิ์ไม่คืนค่าธรรมเนียมการสมัคร ทั้งนี้ เพื่อ
ประโยชน์ของผู้สมัครเอง ขอให้ศึกษารายละเอียด/คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครอย่างละเอียด
5.8.1 เมื่อชาระเงิน แล้ว และปรากฏเลขที่ใบเสร็ จ ถือว่า การชาระเงิน เสร็จเรียบร้อย สถานะ
ใบสมัครจะเปลี่ยนเป็นใบสมัครที่สมบูรณ์ หากไม่ปรากฏเลขที่ใบเสร็จ ให้ผู้สมัครคลิกเลือก
คาว่า → ตรวจสอบการชาระเงิน
การพบเลขที่ นั่ งสอบหมายความว่า ผู้ สมั ครมีสิ ทธิ์ได้ รับการพิ จารณาเข้ารับการคั ดเลื อก
เนื่ องจากได้ชาระเงินค่าสมัครเป็นที่เรียบร้อยแล้ ว ยังไม่ได้เป็นผู้ มีสิ ทธิ์สอบสั มภาษณ์ ดังนั้ น
ผู้สมัครจะต้องดูผลการคัดเลือก หรือผลการพิจารณาคุณสมบัติผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ อีกครั้งหนึ่ง
ตามวันที่กาหนด
5.8.2 หากตรวจพบภายหลังว่าผู้สมัครขาดคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่งตามที่ระบุไว้ในประกาศฯ แม้จะ
ผ่านกระบวนการคัดเลือกเข้าเป็นนิสิตแล้วก็ตาม จะถูกตัดสิทธิ์ในการคัดเลือกครั้งนี้โดยไม่ได้รับ
เงินต่างๆที่ชาระไว้แล้วคืนไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น
5.8.3 การตรวจสอบเลขที่นั่งสอบ/การประกาศผลต่างๆ ผู้สมัครเข้าไป https://admission.swu.ac.th
→ ข้อมูลผู้สมัคร → ข้อมูลสมัครสอบ ดูข้อมูลที่ใบสมัครที่สมบูรณ์
5.8.4 หากผู้สมัครต้องการเปลี่ยนแปลงการเลือกโครงการ/สาขาวิชา/วิชาเอก จะต้องทาการสมัคร
ใหม่และชาระเงิน ค่าธรรมเนี ยมการสมัครครั้งใหม่ ผู้ ส มัครสามารถเปลี่ ยนแปลงการเลื อก
โครงการ/สาขาวิชา/วิชาเอก ให้เสร็จสิ้นภายในวันปิดรับสมัคร กรณีสมัครมากกว่า 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยจะถือข้อมูลครั้งหลังสุดที่มีการชาระเงินค่าสมัครเรียบร้อยแล้วเป็นสาคัญ และ
มหาวิทยาลัยจะไม่คืนเงินค่าสมัครที่ชาระไปแล้ว ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น
5.8.5 กรณีหลักสูตร/สาขาวิชา/วิชาเอก กาหนดให้มีการอัพโหลด เอกสาร/หลักฐานประกอบการสมัคร
ขอให้ผู้สมัครตรวจสอบข้อมูลในไฟล์เอกสารที่จะอัพโหลดให้ถูกต้องครบถ้วน ก่อนการกด
ยืนยันการสมัคร หากกดยืนยันการสมัครไปแล้วจะไม่สามารถแก้ไขเอกสารใดๆได้
6. เกณฑ์การคัดเลือก เป็นไปตามที่แต่ละโครงการ/สาขาวิชา/วิชาเอก กาหนด
-5- TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567

7. เอกสารที่ต้องนามาในวันสอบฯ
7.1 การสอบข้อเขียน (เฉพาะสาขาที่กาหนดให้มีการสอบข้อเขียน)
การเข้าสอบข้อเขียนจะต้องแสดงบัตรประจาตัวประชาชน หรือ บัตรประจาตัวนักเรียน หรือบัตรที่
มีรูปถ่าย ที่ทางราชการออกให้ และเอกสารหรือวัสดุอื่นๆ ตามที่แต่ละโครงการ/สาขาวิชากาหนดไว้ (ถ้ามี)
กรณี ผู้เข้าสอบไม่น าบั ตรประจาตัวประชาชน ฯลฯ มาแสดงในวันสอบ มหาวิทยาลัยจะไม่
อนุญาตให้เข้าสอบไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น และจะถูกตัดสิทธิ์ในการสอบครั้งนี้
7.2 การสอบสัมภาษณ์/สอบปฏิบัติ
7.2.1 บัตรประจาตัว ประชาชน หรือ หนังสือเดินทาง (Passport) หรือ บัตรประจาตัวนักเรียน
หรือ บัตรที่มีรูปถ่ายที่ทางราชการออกให้
7.2.2 ใบระเบี ยนแสดงผลการเรียนฯ (ปพ.1 ส าหรับมั ธยมศึกษาตอนปลาย หรือ รบ.1 ส าหรับ
หลั กสู ต รประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ ) หรือ ใบประกาศนี ย บั ต รอื่ น ที่ ก ระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร
เทียบเท่า พร้อมทั้งมีข้อความหรือเอกสารที่ระบุคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (เฉพาะภาคเรียนต้น) รวม 5 ภาคการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษา
แล้วต้องระบุคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด) สาหรับผู้สมัครที่ไปศึกษาในโครงการแลกเปลี่ยน
ณ ต่างประเทศในช่วงเวลาหนึ่งให้คานวณเฉพาะภาคการศึกษาที่ได้ศึกษาในประเทศไทย ทั้งนี้
ต้องยื่นเอกสารแสดงการไปศึกษาต่างประเทศพร้อมหนังสือรับรองจากโรงเรียนในวันสอบฯ (กรณี
กาลังศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ผู้สมัครจะต้องเตรียม ใบ ปพ.1 หรือ
ใบ รบ.1 ที่แสดงผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) 5 ภาคการศึกษา ให้พร้อม และจะต้องนา
เอกสารดังกล่าวมาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์)
7.2.3 ใบรายงานผลการสอบ TGAT/TPAT ประจาปีการศึกษา 2567 และ/หรือใบรับรองผลการสอบ
A-Level ประจ าปี ก ารศึ ก ษา 2567 ตามที่ แ ต่ ล ะโครงการ สาขาวิ ช า/วิ ช าเอก ก าหนด
(เฉพาะสาขาวิชาที่ใช้คะแนน)
7.2.4 ส าเนาทะเบี ย นบ้ าน จ านวน 1 ฉบั บ พร้อมระบุ ข้อ ความ “ใช้เพื่ อสมั ครเข้ าศึก ษาที่ มศว
ปีการศึกษา 2567 เท่านั้น”
7.2.5 หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ/นามสกุล (เฉพาะกรณีที่ชื่อ/นามสกุลในเอกสารการสมัครไม่ตรงกัน )
จานวน 1 ฉบับ พร้อมระบุข้อความ “ใช้เพื่อสมัครเข้าศึกษาที่ มศว ปีการศึกษา 2567 เท่านั้น”
7.2.6 เอกสารหรือวัสดุอื่นๆ ตามที่แต่ละโครงการ/สาขาวิชา ระบุ (ถ้ามี) (ดูในคุณสมบัติเฉพาะ
ของแต่ละสาขาวิชา) กรณีผู้เข้าสอบไม่นาหลักฐานตามที่ โครงการ/สาขาวิชา/วิชาเอก
กาหนด มาแสดงในวันสอบจะถือว่าขาดคุณสมบัติและจะถูกตัดสิทธิ์ในการสอบครั้งนี้
-6- TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567

8. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
เป็นไปตามที่ระบุในรายละเอียดแนบท้ายประกาศฯ ของแต่ละโครงการ/สาขาวิชา/วิชาเอก
9. การตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
ขอให้ผู้สมัคร ตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา
2567 ในวันที่ 19 – 20 เมษายน 2567
ขั้นตอนการตรวจสอบผลคะแนน TGAT/TPAT/A-Level
1. คลิกเลือก login เข้าระบบรับนิสิตใหม่
2. คลิกเลือก "ตรวจสอบผลคะแนน TGAT/TPAT/A-Level" ระบบจะโชว์เฉพาะคะแนนวิชาที่สาขาวิชา/
วิชาเอก ใช้ในการคัดเลือก จะไม่ได้โชว์คะแนนทุกวิชาที่ผู้สมัครสอบไว้
หากข้อมูลคะแนนไม่ถูกต้อง กรุณาส่งใบรายงานผลการสอบ TGAT/TPAT ประจาปีการศึกษา 2567
และ/หรือ A-Level ประจาปี การศึกษา 2567 พร้อมทั้งระบุคะแนนที่ไม่ถูกต้อง และเบอร์โทรศัพท์ที่
ติดต่อได้ ไปยังงานรับนิสิตใหม่ ที่ E-mail: admission@g.swu.ac.th ภายในวันที่ 20 เมษายน 2567
หากเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัย จะไม่ทาการแก้ไขข้อมูลใดๆทั้งสิ้น ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม
ได้ที่งานรับนิสิตใหม่ โทร 02-649-5000 ต่อ 15716 , 15665 , 11544 , 11545 ในวันและเวลาราชการ
10. การประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จะประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบฯ ทางอินเทอร์เน็ต ที่ https://admission.swu.ac.th
โดยเป็นไปตามวันที่ระบุในรายละเอียดแนบท้ายประกาศฯ ของแต่ละโครงการ/สาขาวิชา/วิชาเอก
11. การรายงานตัวเข้าเป็นนิสิต
มหาวิทยาลัยจะกาหนดให้รายงานตัว ทางอินเทอร์เน็ตที่ https://istart.swu.ac.th และชาระเงินรายงานตัว
ผ่านธนาคารตามแบบฟอร์มที่กาหนด โดยมีกาหนดการเป็นไปตามที่ระบุในรายละเอียดแนบท้ายประกาศฯ
หากไม่ดาเนินการตามกาหนดวันดังกล่าวข้างต้นจะถือว่าสละสิทธิ์การเข้าเป็นนิสิต ส่วนขั้นตอนและ
กิจกรรมการรายงานตัวจะแจ้งไว้ที่เว็บไซต์ https://istart.swu.ac.th หัวข้อข่าว “ประชาสัมพันธ์ ปริญญาตรี”
หากตรวจสอบพบภายหลังว่ าขาดคุ ณสมบั ติข้ อใดข้ อหนึ่ งตามที่ ระบุ ไว้ในประกาศฯ แม้ จะผ่ าน
กระบวนการ คัดเลือกเข้าเป็นนิสิตแล้วก็ตาม ให้ถือว่าผู้สมัครสอบเป็นผู้ขาดคุณสมบัติ จะถูกตัดสิทธิ์
ในการคัดเลือกครั้งนี้ และจะคัดชื่อออกจากการเป็นนิสิต โดยไม่ได้รับเงินค่าธรรมเนียมที่ชาระไว้แล้ว
คืนไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น
12. ค่าธรรมเนียมการศึกษา
เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เรื่อง อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา ระดับปริญญาตรี
สาหรับนิสิตที่เข้าศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2567
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-8- 1.1 โครงการนักกีฬา
การคัดเลือกเข้าเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี ประจาปีการศึกษา 2567 TCAS รอบที่ 2 Quota
โครงการนักกีฬา
-------------------------------------
เป็นโครงการที่เปิดโอกาสให้กับนักเรียนผู้มีทักษะด้านกีฬาประเภทต่างๆ เพื่อเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี
ดังรายละเอียดต่อไปนี้
รับสมัคร: ระหว่างวันที่ 13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 (ปิดระบบรับสมัครเวลา 15.00 น.)
1. โครงการนักกีฬา (รหัสกลุ่มสาขา 099)
ที่ คณะ / หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก รหัสสาขาวิชา จานวนรับ (คน)
คณะพลศึกษา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
1 สาขาวิชาผู้นานันทนาการ 04007 5
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
2 สาขาวิชาพลศึกษา (กศ.บ) 04101 15
3 สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (กศ.บ) 04100 2
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
4 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย 04121 5
ได้รับการรับรองมาตรฐานตามเกณฑ์ ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
คณะกายภาพบาบัด
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
5 สาขาวิชากายภาพบาบัด 67001 2
วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารสังคม (หลักสูตร 2 ภาษา)
6 วิชาเอกการจัดการธุรกิจไซเบอร์ 30002 1
สาขาวิชานวัตกรรมการสื่อสาร (หลักสูตร 2 ภาษา)
7 วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการท่องเทีย่ ว 30009 1
8 วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการจัดการนวัตกรรม 30011 1
คณะสังคมศาสตร์
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
9 สาขาวิชาประวัติศาสตร์ 03001 4
สาขาวิชาสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา
10 วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง 03115 6
11 วิชาเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา 03116 6
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
12 สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมสิ ารสนเทศ 03102 5
คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
13 สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนา 66006 5
คณะมนุษยศาสตร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
14 สาขาวิชาจิตวิทยา 01001 2
รวม 60
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-9- 1.1 โครงการนักกีฬา

2. โครงการนักกีฬา (โครงการพิเศษ) (รหัสกลุ่มสาขา 209)


ที่ คณะ / หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก รหัสสาขาวิชา จานวนรับ (คน)
ที่
คณะสังคมศาสตร์
หลักสูต1รศิลปศาสตรบัณฑิต
1 สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (โครงการพิเศษ) 03001 4
สาขาวิชาสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา (โครงการพิเศษ)
2 วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง 03115 5
3 วิช3าเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพือ่ การพัฒนา 03116 5
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
4 สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมสิ ารสนเทศ (โครงการพิเศษ) 03102 2
คณะมนุษยศาสตร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
5 สาขาวิชาจิตวิทยา (โครงการพิเศษ) 01001 2
รวม 18

3. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัคร
3.1 มีอายุไม่เกิน 22 ปี นับถึงวันปิดรับสมัคร
3.2 มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (รายละเอียดตาม ข้อ 4. เอกสารประกอบการสมัคร)
3.3 ผู้ส มัค รต้ องมี ความสามารถด้านกี ฬ า ประเภทใดประเภทหนึ่ ง ดังนี้ กรีฑ า เซปั ค ตะกร้อ เทควัน โด ฟุ ต ซอล ฟุ ตบอล
บาสเกตบอล มวยสากลสมัครเล่ น มวยไทยสมั ครเล่น ยู โด ยูยิ ตสู เรือพาย ลี ลาศ เปตอง เทนนิ ส ดาบสากล ปั น จัก สีลั ต
หมากกระดาน วอลเลย์บอล ว่ายน้า กอล์ฟ รักบี้ฟุตบอล E-Sport โดยมีคุณสมบัติ ดังนี้
- เป็นนักกีฬาที่มีความสามารถระดับทีมชาติ หรือ มีความสามารถระดับเยาวชนทีมชาติ หรือ
- ได้รับเหรียญรางวัลในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ หรือ กีฬาเยาวชนแห่งชาติ หรือ
- ได้รับเหรียญรางวัลในการแข่งขันกีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งประเทศไทย หรือ กีฬาระดับชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย
หมายเหตุ : ประเภทกีฬานอกเหนือจากที่ระบุไว้แล้วข้างต้น ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการพิจารณาคุณสมบัติ
และการพิจารณานั้นให้ถือเป็นทีส่ ุด
3.4 สาหรับนักกีฬามวยสากลสมัครเล่นจะต้องไม่เคยขึ้นทะเบียนเป็นนักกีฬามวยอาชีพมาก่อน
3.5 ผู้สมัครดูประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสั มภาษณ์ ในวันที่ 22 เมษายน 2567 และผู้ที่ผ่านการคัดเลือกมีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
เท่านั้น ให้เข้าสอบตามวัน เวลา และสถานที่ ที่กาหนด
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-10- 1.1 โครงการนักกีฬา
4. เอกสารประกอบการสมัคร ผู้สมัครต้องส่งแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) รายละเอียดดังต่อไปนี้
4.1 การจัดทาแฟ้มสะสมผลงานให้มีรูปแบบตามที่กาหนด ดังนี้
1) รูปแบบของแฟ้มประวัติและผลงาน (Portfolio)
(1) เป็นแฟ้มโชว์เอกสาร ขนาด A4
(2) หน้าปกของแฟ้มประวัติและผลงาน (Portfolio) ให้ระบุ ชื่อ-นามสกุล โครงการ คณะ/วิทยาลัย สาขาวิชา/วิชาเอกที่สมัคร
2) เนื้อหาในแฟ้มประวัติและผลงาน (Portfolio)
ส่วนที่ 1 (1) ติดรูปถ่ายหน้าตรงขนาด 2 นิ้ว จานวน 1 รูป
(2) ประวัติส่วนตัวประกอบด้วย ชื่อ นามสกุล / วัน เดือน ปีเกิด / อายุ / ที่อยู่ /
หมายเลขโทรศัพทที่ติดต่อได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว / ชื่อและที่อยู่โรงเรียนที่ศึกษา / คะแนน
เฉลี่ยสะสม และข้อมูลอื่นๆ ที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์ในการสมัคร
ส่วนที่ 2 หลักฐานการศึกษา ได้แก่ สาเนาใบระเบียนการศึกษา (ใบ รบ. หรือ ใบ ปพ. 1:4) หรือสาเนาใบ
ประกาศนียบัตรอื่นที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่า ที่ระบุคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 4 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วต้อง
ระบุคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
ส่วนที่ 3 สาเนาหลักฐานต่างๆ ที่แสดงความสามารถทางกีฬา / ผลงานให้ใส่ภาพผลงาน ที่ผ่านการคั ด เลื อ ก
แล้วว่าเป็นผลงานที่มีคุณภาพ แสดงออกถึง
- ความสามารถทางกีฬา
- ความรู้ ทักษะใน หลักสูตร/สาขาวิชา/วิชาเอก ที่สมัคร โดยมีจานวนที่เหมาะสม
ส่วนที่ 4 เกี ยรติ ประวั ติ ใส่ ข้ อมู ลเกี่ ยวกั บรางวั ล การได้ รั บเกี ยรติ บั ตร วุ ฒิ บั ตร ฯลฯ ความสามารถทางการกี ฬา
ความสามารถเกี่ยวกับ คณะ/หลักสู ตร/สาขาวิชา/วิชาเอก ที่ส มัค ร ความสามารถพิเศษอื่ น ๆ
รวมทั้งภาพถ่ายหรือข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมเพื่อส่วนรวมหรือสาธารณประโยชน์
ส่วนที่ 5 ใบรับรองความสามารถทางการกีฬาของผู้สมัคร (แบบ ตรี.4) *สาคัญมาก
ส่วนที่ 6 ประวัติทางการกีฬาของผู้สมัคร (แบบ ตรี.5) *สาคัญมาก
หมายเหตุ : ผลงานที่นาเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาต้องไม่เกิน 3 ปีย้อนหลัง นับจากปีที่สมัคร และหากส่งเอกสารเกิน
ระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
4.2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ ผู้ สมั ครจั ดท าแฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio) ในรูป แบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่ เกิ น 25 MB โดยตั้ งชื่ อไฟล์ เป็ น
“ชื่ อ ตนเองเป็ น ภาษ าอั ง กฤษ ห้ า มเว้ น วรรค และห้ ามมี อั ก ขระพิ เศษ ” และอั พ โหลดในระบบรั บ สมั ครฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น.
หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
5. เอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์/สอบภาคปฏิบัติ
5.1 เอกสารตามประกาศรับสมัครฯ ในข้อ 7 หน้า 5
5.2 หลักฐานที่แสดงความสามารถทางด้านกีฬา ความสามารถเกี่ยวกับ คณะ วิทยาลัย/ หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอกที่สมัคร
และความสามารถพิเศษอื่นๆ
5.3 เอกสารหรือวัสดุอื่นๆ ตามที่แต่ละสาขาวิชา/วิชาเอก ระบุ (ถ้ามี)
หากผู้เข้าสอบไม่นาหลักฐานที่แสดงว่ามีคุณสมบัติตรงตามที่โครงการ/สาขาวิชา/วิชาเอก กาหนดมาแสดง
ในวันสัมภาษณ์/ปฏิบัติ จะถือว่าผู้เข้าสอบขาดคุณสมบัติและจะถูกตัดสิทธิ์ในการสอบครั้งนี้
สาหรับคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละหลักสูตร/สาขาวิชา/วิชาเอก ให้เป็นไปตามรายละเอียดแนบท้าย
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-11- 1.1 โครงการนักกีฬา
แบบ ตรี.4
ใบรับรองความสามารถทางการกีฬาของผู้สมัคร
หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก............................................................................................................................................................
ข้าพเจ้า นาย นาง นางสาว..................................................................................................................................................................
ตาแหน่ง...................................................................................................................................................................................................
ขอรับรองว่าผู้สมัครชื่อ นาย นาง นางสาว ...........................................................................................................................................
มีความสามารถทางการกีฬา ประเภท (ระบุ)...........................................................................................................................................
โดยมีประสบการณ์ทางการกีฬาดังนี้ (ระบุได้มากกว่า 1 ข้อ)
1. (.....) นักกีฬาทีมชาติ (ประเภทกีฬา..................................................................................พ.ศ. .................)
2. (.....) นักกีฬาเยาวชนทีมชาติ (ประเภทกีฬา......................................................................พ.ศ. ................)
3. (.....) นักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันกีฬาแห่งชาติ
(ประเภทกีฬา.............................................................................................................พ.ศ. ...............)
4. (.....) นักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ
(ประเภทกีฬา.............................................................................................................พ.ศ. ...............)
5. (.....) นักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันกีฬานักเรียน
(ประเภทกีฬา.............................................................................................................พ.ศ. ...............)
6. (.....) นักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันกีฬาที่จัดโดยสมาคมกีฬา
(ประเภทกีฬา.............................................................................................................พ.ศ. ...............)
7. (.....) อื่นๆ ให้ระบุประเภทกีฬา รายการที่เข้าร่วมแข่งขัน และปีทแี่ ข่งขัน...........................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ......................................................................ผู้รบั รอง
(..............................................................................)
วันที่.............เดือน....................................พ.ศ. ..................

สถานที่ติดต่อ.......................................................................................................................
โทรศัพท์......................................................... อีเมล.........................................................

หมายเหตุ 1. ผู้รับรองจะต้องเป็นบุคลากรในหน่วยงานหรือองค์กรกีฬาที่นกั เรียนเกี่ยวข้อง


2. ให้ประทับตราหน่วยงานหรือองค์กรกีฬาที่นักเรียนเกี่ยวข้องด้วย
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-12- 1.1 โครงการนักกีฬา
แบบ ตรี.5
ประวัติทางการกีฬาของผู้สมัคร
หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก ........................................................................................................................................................
1. ชื่อ – สกุล ของผู้สมัคร....................................................................................................................อายุ.....................ปี
ที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก..............................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………….......................…......................………………….........………………
โทรศัพท์............................................................... ID Line......................................................................................................
2. กาลังศึกษา/จบการศึกษา จากโรงเรียน....................................................................................................................................
จังหวัด........................................................................................ เริ่มเล่นกีฬาเมื่อ พ.ศ. ..........................................................
3. กีฬาที่ถนัด ได้แก่ (ระบุได้มากกว่า 1 ชนิด)..............................................................................................................................
4. ประวัติการแข่งขันกีฬาตั้งแต่ต้น (ถ้าที่ว่างไม่พอให้เขียนต่อในด้านหลัง หรือเขียนเพิ่มในกระดาษ A4)
ผลการแข่งขัน
ที่ พ.ศ. รายการแข่งขัน ประเภทกีฬา
(ระบุลาดับที่หรือสถิติ)
1
2
3
4
5
6
7
8

5. เหตุผลที่สมัครเข้าเรียนในหลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก


...............................................................................................................................................................................................
………………………………………...…………………………………………………………………………………….......................……….….........…..
6. ความสามารถพิเศษอื่นๆ
....................................................................................………..…………………...........................................................................
……………………………………………......…………………………………………………………………………………………..................................
7. กีฬาที่ใช้ในการพิจารณาสมัครเข้าศึกษาครั้งนี้ (โปรดระบุเพียง 1 ชนิด) ได้แก่ …………….………............................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………..............................................

ลงชื่อ................................................................................ผูส้ มัคร
วันที่............เดือน....................................พ.ศ. ...................
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-13- 1.1 โครงการนักกีฬา
รายละเอียดแนบท้าย
คณะพลศึกษา
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาผู้นานันทนาการ ทุกชั้นปีเรียนที่
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา (กศ.บ) จังหวัดนครนายก
สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (กศ.บ)
1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาผู้นานันทนาการ
1) สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตร
นานาชาติ หรือโรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา หรือหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) หรือหลักสูตร GED และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตร GED ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย
เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ
วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการ
เรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5
ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้ว
ให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการ
เรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลี่ยทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.00
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT
สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

30 1 25 1 25 1 20 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-14- 1.1 โครงการนักกีฬา
1.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย
1) สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตร
นานาชาติ หรือหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) หรือหลักสูตร GED และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตร GED ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย
เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ
วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.25 และจะต้องรักษาระดับ
ผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.25 และจะต้องรักษา
ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลีย่ ทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.25
3) เฉพาะผู้สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ไม่ต่ากว่า 2.00 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ไม่ต่ากว่า 2.00 และ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศไม่ต่ากว่า 2.00
4) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

40 1 10 1 40 1 10 1
1.3 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (กศ.บ)
1) สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษา
ในปีการศึกษา 2566
2) มี ค ะแนนเฉลี่ ย สะสมตั้ งแต่ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 4 – 6 ภาคเรี ย นที่ 1 รวม 5 ภาคการศึ ก ษา ไม่ ต่ ากว่ า 2.00
และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
3) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 5
สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

30 1 30 30 15 1 15 1 10 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-15- 1.1 โครงการนักกีฬา
1.4 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา (กศ.บ)
1) สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตร
นานาชาติ หรือโรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา หรือหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) หรือหลักสูตร GED และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตร GED ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย
เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ
วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับ
ผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1รวม
5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษา
แล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษา
ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลีย่ ทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.00
3) เป็นผู้มีบุคลิกภาพที่เหมาะสมกับการเป็นครู มีใจรักวิชาชีพครู การสอน หรือการถ่ายทอดความรู้
4) มีเอกสาร/เกียรติบัตรที่แสดงให้เห็นว่ามีความสามารถทางด้านกีฬาฟุตบอล,ฟุตซอล,บาสเกตบอล,วอลเลย์บอล,
กรีฑา,ว่ายน้า,แบดมินตัน ,เซปักตะกร้อ,เทนนิส ,เทเบิลเทนนิสและกีฬาต่อสู้ทุกชนิดในระดับชาติและนานาชาติ
ให้แสดงมาในแฟ้มประวัติและผลงาน (Portfolio)
5) ไม่ใช้คะแนนTGAT/TPAT และ A-Level
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะพลศึกษา
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
2.3 คะแนนสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า
ที่หลักสูตร/สาขาวิชา/วิชาเอกกาหนด (ผู้ที่ผ่านการคัดเลือก Portfolio และ เกณฑ์คะแนนสอบ TGAT/TPAT และ
A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์และปฏิบัติ)
2.4 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
2.5 การสอบภาคปฏิบัติทางด้านกีฬา ตามชนิดกีฬาที่ระบุจะใช้ในการสอบภาคปฏิบัติในแบบ ตรี 5
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-16- 1.1 โครงการนักกีฬา
3. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
สาขาวิชาผู้นานันทนาการ
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย
สาขาวิชาพลศึกษา (กศ.บ)
ทางอินเทอร์เน็ตที่
สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (กศ.บ)
https://admission.swu.ac.th
การสอบสัมภาษณ์
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบฯ
08.30 – เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
การสอบภาคปฏิบัติ
08.00 น. เป็นต้นไป สอบภาคปฏิบัติทางด้านกีฬา
ใช้ชุดกีฬาตามชนิดกีฬาที่ระบุไว้ในแบบ ตรี.5
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-17- 1.1 โครงการนักกีฬา
รายละเอียดแนบท้าย
คณะกายภาพบาบัด
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ทุกชั้นปีเรียนที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชากายภาพบาบัด จังหวัดนครนายก
1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1 สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้ นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตร
นานาชาติ หรือโรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) หรือหลักสูตร GED และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตร GED ต้องมีคณ
ุ สมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย
เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วัน ที่
14 กันยายน 2566
1.2 มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษาระดับผล
การเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษาระดับ
ผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลีย่ ทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.50
1.3 มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT
ภาษาไทย ฟิสิกส์ ชีววิทยา
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

40 1 10 1 25 1 25 1
สาขาวิชากายภาพบาบัด เป็นสาขาวิชาที่ผู้เข้ารับการศึกษาจะต้องทาการศึกษาอย่างหนัก แม้เมื่อเป็นนัก
กายภาพบาบัดแล้วก็ต้องรับภาระในการปฏิบัติหน้าที่หนักต่อไป ด้วยเหตุนี้สุขภาพของผู้ที่จะเข้ารับการศึกษาจึงเป็นเรื่อง
สาคัญอย่างยิ่ง ฉะนั้นเพื่อจะให้ได้นักกายภาพบาบัดในอนาคตที่มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ สาหรับปฏิบัติหน้าที่
สนองความต้องการของประเทศชาติตามสภาพของสังคมและชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ คณะกายภาพบาบัด มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ จึงจาเป็นต้องสอบสัมภาษณ์ และมีใบรับรองแพทย์ว่าผ่านตามเกณฑ์คุณสมบัติทั่วไปของผู้มีสิทธิ์สมัครตาม
ประกาศฯ และเกณฑ์ คุณ สมบัติเฉพาะสาขา พร้อมผลการอ่านฟิ ล์มเอ็กซเรย์ทรวงอก (ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน นั บถึงวัน
สัมภาษณ์) ที่ลงนามรับรองโดยแพทย์ ไปยื่นในวันสอบทัศนคติต่อวิชาชีพ เพื่อดาเนินการตรวจคัดเลือกผู้ประสงค์จะเข้าศึกษา
ที่ผ่านการคัดเลือกเป็นผู้มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะกายภาพบาบัด
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
2.3 คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า
ที่หลักสูตร/สาขาวิชา (ผู้ที่ผ่านการคัดเลือก Portfolio และ เกณฑ์คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา
2567 มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์และปฏิบัติ)
2.4 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
2.5 การสอบภาคปฏิบัติทางด้านกีฬา ตามชนิดกีฬาที่ระบุจะใช้ในการสอบภาคปฏิบัติในแบบ ตรี.5
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-18- 1.1 โครงการนักกีฬา
3. นอกเหนือจากเอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์/สอบภาคปฏิบัติของโครงการนักกีฬาแล้ว
ผู้สมัครสาขาวิชากายภาพบาบัดจะต้องมีเอกสารในวันสอบสัมภาษณ์ ดังนี้
3.1 ใบรับรองแพทย์แสดงผลการตรวจร่างกายจากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน ใช้แบบฟอร์มการตรวจร่างกาย
ตามรูปแบบของโรงพยาบาล
3.2 ผลการอ่านฟิล์มเอ็กซเรย์ทรวงอก (ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน นับถึงวันสอบสัมภาษณ์) ที่ลงนามรับรองโดยแพทย์จากโรงพยาบาล
ของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน
4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
สาขาวิชากายภาพบาบัด
26 เมษายน 2567 การสอบสัมภาษณ์
ทางอินเทอร์เน็ตที่
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบฯ
https://admission.swu.ac.th
08.30 – เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
สาขาวิชากายภาพบาบัด
27 เมษายน 2567 การสอบภาคปฏิบัติ
08.00 น. เป็นต้นไป สอบภาคปฏิบัติทางด้านกีฬา
ใช้ชุดกีฬาตามชนิดกีฬาที่ระบุไว้ในแบบ ตรี.5
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th

5. เอกสารการรายงานตัว
นอกจากเอกสารตามกาหนดการในตารางกิจกรรมการรายงานตัวเข้าเป็นนิสิตแล้ว
ในวันเปิดภาคเรียนนิสิตใหม่จะต้องยื่นหนังสือหรือเอกสารรับรองการได้รับวัคซีนป้องกันโรค
ไวรัสตับอักเสบ บี กับฝ่ายวิชาการคณะกายภาพบาบัด
หมายเหตุ : หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับหลักสูตร/สาขาวิชา ให้ติดต่อที่ คณะกายภาพบาบัด สาขากายภาพบาบัด นายอนุศักดิ์ สวัสดี
โทร. 0-2649-5000 ต่อ 27332 หรือเข้าร่วม กลุ่มไลน์แชท ตามQR Code ด้านล่างนี้
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-19- 1.1 โครงการนักกีฬา
รายละเอียดแนบท้าย
วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ทุกชั้นปีเรียนที่
สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารสังคม วิชาเอกการจัดการธุรกิจไซเบอร์ (หลักสูตร 2 ภาษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชานวัตกรรมการสื่อสาร วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการท่องเที่ยว (หลักสูตร 2 ภาษา) กรุงเทพมหานคร
วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการจัดการนวัตกรรม (หลักสูตร 2 ภาษา)
1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1. สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ
หรือ โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา หรือ โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) หรือ หลักสูตร GED และจะสาเร็จการศึกษา
ในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตร GED ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่องเกณฑ์การ
เที ยบวุ ฒิ การศึ กษาเท่ ากั บชั้ นมั ธยมศึ กษาตอนปลายในระบบการคั ด เลื อกกลางบุ คคลเข้ าศึ ก ษาในสถาบั นอุ ด มศึ กษา ประกาศ ณ วั น ที่
14 กันยายน 2566
1.2. มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจน
สาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาค
การศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิด
คะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับ
ผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลีย่ ทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.00
1.3 มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ ดังนี้
A-Level
TGAT
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

50 1 20 1 30 1
2. เกณฑ์การคัดเลือกของวิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
2.3 คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปี การศึ กษา 2567 ตามองค์ ประกอบ ค่ าน้ าหนั ก ร้อ ยละ และเกณฑ์ ขั้น ต่าที่
หลัก สู ต ร/สาขาวิ ชา/วิ ชาเอกก าหนด (ผู้ ที่ ผ่ านการคั ด เลื อก Portfolio และ เกณฑ์ ค ะแนนสอบ TGAT และ A-Level
ประจาปีการศึกษา 2567 มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์และปฏิบัติ)
2.4 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
2.5 การสอบภาคปฏิบัติทางด้านกีฬา ตามชนิดกีฬาที่ระบุจะใช้ในการสอบภาคปฏิบัติในแบบ ตรี 5
2.6 การสอบสัมภาษณ์ภาษาอังกฤษ
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-20- 1.1 โครงการนักกีฬา
3. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
วิชาเอกการจัดการธุรกิจไซเบอร์
26 เมษายน 2567 วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการท่องเทีย่ ว
วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการจัดการนวัตกรรม ทางอินเทอร์เน็ตที่
การสอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบฯ
08.30 – เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
การสอบภาคปฏิบัติ
27 เมษายน 2567 08.00 น. เป็นต้นไป สอบภาคปฏิบัติทางด้านกีฬา
ใช้ชุดกีฬาตามชนิดกีฬาที่ระบุไว้ในแบบ ตรี.5
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th

** หากผู้สมัครมีข้ อสงสัยเกี่ยวกับ หลักสูตร/สาขาวิชา/วิชาเอก ติดต่อสอบถามได้ที่ วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม โทร. 0-2649-5000 ต่ อ


11268 , 11269, 11270 ในวัน และเวลาราชการ หรือ Facebook : COSCI SWU หรือส่ง E-mail มาได้ที่ prcosciswu@gmail.com
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-21- 1.1 โครงการนักกีฬา
รายละเอียดแนบท้าย
คณะสังคมศาสตร์
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ทุกชั้นปีเรียนที่
สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (โครงการพิเศษ)
สาขาวิชาสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา (โครงการพิเศษ) ทุกชั้นปีเรียนที่
- วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
- วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง (โครงการพิเศษ) วันจันทร์ – วันศุกร์ เรียนเวลา 17.30 – 20.20 น.
- วิชาเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา วันเสาร์ หรือ วันอาทิตย์ เรียนเวลา 08.30 – 16.20 น.
- วิชาเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา (โครงการพิเศษ)
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมสิ ารสนเทศ
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมสิ ารสนเทศ (โครงการพิเศษ)
1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1 สาขาวิชาประวัติศาสตร์/สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (โครงการพิเศษ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) และจะ
สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา
ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้อง รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับ
ผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
1.2 สาขาวิชาสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา
- วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง / วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง (โครงการพิเศษ)
- วิชาเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา / วิชาเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา (โครงการพิเศษ)
1) สาเร็จ การศึ ก ษาหรือ กาลั งศึ กษา ในโรงเรียนหลั ก สูต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน (ม.6) หรือ โรงเรีย นหลัก สู ต ร
นานาชาติ หรือ โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) หรือ หลักสูตร GED และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตร GED ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง
เกณฑ์การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้อง รักษาระดับผลการเรียน
จนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.): มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับ
ผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลีย่ ทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.00
3) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-22- 1.1 โครงการนักกีฬา
1.3 สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ/สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ (โครงการพิเศษ)
1) สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปี
การศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาค
การศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.30 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนน
เฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ (โครงการพิเศษ) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาค
เรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึ กษาไม่ ต่ากว่า 2.25 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จ
การศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
3) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
2. เกณฑ์การคัดเลือกคณะสังคมศาสตร์
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ผู้ที่ผ่านการคัดเลือก Portfolio มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์และปฏิบัติ)
2.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
2.4 การสอบภาคปฏิบัติทางด้านกีฬา ตามชนิดกีฬาที่ระบุจะใช้ในการสอบภาคปฏิบัติในแบบ ตรี 5
3. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
คณะสังคมศาสตร์ทุกสาขาวิชา/วิชาเอกที่เปิดรับสมัคร
26 เมษายน 2567 การสอบสัมภาษณ์
ทางอินเทอร์เน็ตที่
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบฯ https://admission.swu.ac.th
08.30 – เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
การสอบภาคปฏิบัติ
27 เมษายน 2567 08.00 น. เป็นต้นไป สอบภาคปฏิบัติทางด้านกีฬา
ใช้ชุดกีฬาตามชนิดกีฬาที่ระบุไว้ในแบบ ตรี.5
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-23- 1.1 โครงการนักกีฬา
รายละเอียดแนบท้าย
คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ทุกชั้นปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนา กรุงเทพมหานคร
1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1. สาเร็จการศึ กษาหรือ กาลั งศึก ษา ในโรงเรียนหลั กสู ต รแกนกลางการศึ กษาขั้ น พื้ น ฐาน (ม.6) หรือ โรงเรี ยนหลั กสู ต ร
นานาชาติ หรือ โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา หรือ โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) หรือ หลักสูตร GED และ
จะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตร GED ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง
เกณฑ์การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
1.2. มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียน
จนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5
ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้
คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.): มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้องรักษาระดับผล
การเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลีย่ ทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.75
1.3 ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ผู้ที่ผ่านการคัดเลือก Portfolio มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์และปฏิบัติ)
2.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
2.4 การสอบภาคปฏิบัติทางด้านกีฬา ตามชนิดกีฬาที่ระบุจะใช้ในการสอบภาคปฏิบัติในแบบ ตรี 5
3. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนา
26 เมษายน 2567 การสอบสัมภาษณ์
ทางอินเทอร์เน็ตที่
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบฯ
https://admission.swu.ac.th
08.30 – เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
การสอบภาคปฏิบัติ
27 เมษายน 2567 08.00 น. เป็นต้นไป สอบภาคปฏิบัติทางด้านกีฬา
ใช้ชุดกีฬาตามชนิดกีฬาที่ระบุไว้ในแบบ ตรี.5
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-24- 1.1 โครงการนักกีฬา
รายละเอียดแนบท้าย
คณะมนุษยศาสตร์
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา
สาขาวิชาจิตวิทยา ทุกชั้นปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชาจิตวิทยา (โครงการพิเศษ) วันจันทร์ – วันศุกร์ เรียนเวลา 08.30 – 17.20 น.
สาขาวิชาจิตวิทยา (โครงการพิเศษ)
ทุกชั้นปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
วันจันทร์ – วันศุกร์ เรียนเวลา 17.30 – 20.20 น.
วันเสาร์ หรือ วันอาทิตย์ เรียนเวลา 08.30 – 16.20 น.
1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1. สาเร็จ การศึก ษาหรือ ก าลังศึ กษา ในโรงเรีย นหลัก สู ต รแกนกลางการศึ กษาขั้ น พื้ น ฐาน (ม.6) หรือ โรงเรีย นหลัก สู ต ร
นานาชาติ หรือ โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมทีป่ ระชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบ
วุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
1.2. มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียน
จนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5
ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้
คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
1.3 มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT เลือก คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1
สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
หรือ คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

50 30 10 20 10 20 10 20 20 20
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะมนุษยศาสตร์
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มสี ิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
2.3 คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่าที่หลักสูตร/
สาขาวิชา/วิชาเอกกาหนด (ผู้ที่ผ่านการคัดเลือก Portfolio และ เกณฑ์คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา
2567 มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์และปฏิบัติ)
2.4 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
2.5 การสอบภาคปฏิบัติทางด้านกีฬา ตามชนิดกีฬาที่ระบุจะใช้ในการสอบภาคปฏิบัติในแบบ ตรี 5
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-25- 1.1 โครงการนักกีฬา
3. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
สาขาวิชาจิตวิทยา / สาขาวิชาจิตวิทยา (โครงการพิเศษ)
26 เมษายน 2567 การสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบฯ https://admission.swu.ac.th
08.30 – เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
การสอบภาคปฏิบัติ
27 เมษายน 2567 08.00 น. เป็นต้นไป สอบภาคปฏิบัติทางด้านกีฬา
ใช้ชุดกีฬาตามชนิดกีฬาที่ระบุไว้ในแบบ ตรี.5
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 26 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

การคัดเลือกเข้าเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี ประจาปีการศึกษา 2567 TCAS รอบที่ 2 Quota


โครงการผู้มีทักษะพิเศษ (รหัสกลุม่ สาขา 222)
------------------------------------
เป็นโครงการที่เปิดโอกาสให้กับนักเรียนผู้มีทักษะความสามารถพิเศษ หรือโดดเด่น ในด้านที่ตรงกับหลักสูตร/
สาขาวิชา/วิชาเอก กาหนด มีรายละเอียดดังนี้
รับสมัคร: ระหว่างวันที่ 13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 (ปิดระบบรับสมัครเวลา 15.00 น.)
1. คณะ / หลักสูตร /สาขาวิชา / จานวนรับ
รหัส จานวนรับ
ที่ คณะ / หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก หน้า
สาขาวิชา (คน)
คณะวิศวกรรมศาสตร์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
1 สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 09002 5 29 - 33
2 สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา 09004 4 29 - 33
3 สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 09005 2 29 - 33
4 สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ 09011 5 29 - 33
5 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 09012 2 29 - 33
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
6 วิชาเอกวิศวกรรมไฟฟ้ากาลัง 09013 2 29 - 33
7 วิชาเอกวิศวกรรมโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ 09024 2 29 - 33
8 สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ (หลักสูตร 2 ภาษา) 09015 1 29 - 33
9 สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 09018 7 29 - 33
คณะวิทยาศาสตร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
10 สาชาวิชาเคมี 02002 1 34 - 38
11 สาขาวิชาชีววิทยา 02003 1 34 - 38
12 สาขาวิชาฟิสิกส์ 02004 1 34 - 38
13 สาขาวิชาจุลชีววิทยา 02014 1 34 - 38
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
14 สาขาวิชาเคมี (กศ.บ.) 02105 1 34 - 38
15 สาขาวิชาฟิสิกส์ (กศ.บ.) 02106 3 34 - 38
คณะพลศึกษา
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
16 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย 04121 10 39 - 42
ได้รับการรับรองมาตรฐานตามเกณฑ์ ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
17 สาขาวิชาผู้นานันทนาการ 04007 10 39 - 42
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
18 สาขาวิชาพลศึกษา (กศ.บ.) 04101 25 39 - 42
ได้รับการรับรองมาตรฐานตามเกณฑ์ ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
19 สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (กศ.บ.) 04100 20 39 - 42
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 27 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

รหัส จานวนรับ
ที่ คณะ / หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก หน้า
สาขาวิชา (คน)
คณะพยาบาลศาสตร์
20 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต 06001 5 43 - 50
ได้รับการรับรองมาตรฐานตามเกณฑ์ ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
คณะศิลปกรรมศาสตร์
หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต
21 สาขาวิชาทัศนศิลป์ 10015 20 51 - 60
สาขาวิชาทัศนศิลป์ เริ่มเรียนกลุ่มวิชา (จิตรกรรมร่วมสมัย เซรามิกส์ สื่อผสม) ในชัน้ ปีที่ 2
22 สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์สากล 10007 10 51 - 60
สาขาวิชาศิลปะการแสดง
23 วิชาเอกการออกแบบเพื่อการแสดง 10004 25 51 - 60
24 วิชาเอกการแสดงและกากับการแสดง 10012 25 51 - 60
สาขาวิชานาฏศิลป์สร้างสรรค์และการจัดการ
25 วิชาเอกนาฏศิลป์ไทย 10057 5 51 - 60
26 วิชาเอกนาฏศิลป์สากล 10058 15 51 - 60
27 สาขาวิชาการออกแบบสื่อสาร 10043 15 51 - 60
สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์
28 วิชาเอกการออกแบบผลิตภัณฑ์ 10006 5 51 - 60
29 วิชาเอกการออกแบบแฟชั่น 10013 5 51 - 60
30 วิชาเอกการออกแบบเครื่องประดับ 10052 5 51 - 60
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
31 สาขาวิชาดนตรีศึกษา (กศ.บ.) 10048 10 51 - 60
32 สาขาวิชานาฏศิลป์ศึกษา (กศ.บ.) 10054 5 51 - 60
33 สาขาวิชาศิลปศึกษา (กศ.บ.) 10051 5 51 - 60
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
34 สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม (หลักสูตร 2 ภาษา) 10053 25 51 - 60
วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารสังคม (หลักสูตร 2 ภาษา)
35 วิชาเอกการออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์และมัลติมเี ดีย 30001 10 61 - 65
36 วิชาเอกการจัดการธุรกิจไซเบอร์ 30002 17 61 - 65
37 วิชาเอกนวัตกรรมคอมพิวเตอร์เพือ่ การสื่อสาร 30021 10 61 - 65
สาขาวิชาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (หลักสูตร 2 ภาษา)
38 วิชาเอกการผลิตภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล 30016 13 61 - 65
39 วิชาเอกการแสดงและกากับการแสดงภาพยนตร์ 30013 8 61 - 65
40 วิชาเอกการออกแบบเพื่องานภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล 30017 3 61 - 65
สาขาวิชานวัตกรรมการสื่อสาร (หลักสูตร 2 ภาษา)
41 วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการท่องเทีย่ ว 30009 12 61 - 65
42 วิชาเอกการสื่อสารเพื่อสุขภาพ 30010 3 61 - 65
43 วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการจัดการนวัตกรรม 30011 12 61 - 65
44 วิชาเอกการสื่อสารเพื่อเศรษฐศาสตร์ 30019 8 61 - 65
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 28 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

รหัส จานวนรับ
ที่ คณะ / หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก หน้า
สาขาวิชา (คน)
วิทยาลัยอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
45 สาขาวิชาอัญมณีและเครื่องประดับ (หลักสูตร 2 ภาษา) 69001 8 66 - 68
ได้รับการรับรองมาตรฐานตามเกณฑ์ ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
46 สาขาวิชาผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ (หลักสูตร 2 ภาษา) 69002 18 66 - 68
47 สาขาวิชาแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องตกแต่ง (หลักสูตร 2 ภาษา) 69003 10 66 - 68
รับผู้สมัครที่เลือกวิชาโทแฟชั่นเครื่องแต่งกาย จานวน 6 คน
วิชาโทสิ่งทอแฟชั่น จานวน 2 คน วิชาโทเครื่องตกแต่งแฟชั่น จานวน 2 คน
คณะสังคมศาสตร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
48 สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมสิ ารสนเทศ 03102 8 69 - 70
คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
49 สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนา 66006 5 71 - 72
คณะมนุษยศาสตร์
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
50 สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน 01131 4 73 - 74
รวม 432

2. โครงการผู้มีทักษะพิเศษ (โครงการพิเศษ) (รหัสกลุ่มสาขา 223)


รหัส จานวนรับ
ที่ คณะ / หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก หน้า
สาขาวิชา (คน)
คณะสังคมศาสตร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
1 สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมสิ ารสนเทศ (โครงการพิเศษ) 03102 4 69 - 70
คณะมนุษยศาสตร์
สาขาวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ)
2 วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาเยอรมัน (โครงการพิเศษ) 01127 5 71 - 72
รวม 9

3. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัครในรายละเอียดแนบท้ายของแต่ละหลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอกกาหนด


TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 29 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

รายละเอียดแนบท้าย
คณะวิศวกรรมศาสตร์
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล / สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา / สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ ทุกชั้นปี เรียนที่
สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ / สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ (หลักสูตร 2 ภาษา) / สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม จังหวัดนครนายก
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า - วิชาเอกวิศวกรรมไฟฟ้ากาลัง
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า - วิชาเอกวิศวกรรมโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัคร
ผู้สมัครจะต้องผ่านโครงการส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์ Aสมเด็จ
พระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิ ชาที่
ต้องการสมัครเข้าศึกษา อย่างน้อย 1 ค่าย หรือ ได้รับรางวัลจากเวทีการแข่งขันในระดับชาติหรือนานาชาติในหัวข้อที่
สัมพันธ์กับสาขาวิชา ที่ต้องการสมัครเข้าศึกษา โดยนาเอกสารที่แสดงคุณสมบัติดังกล่าวมาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
2. คุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา
2.1 สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
1) กาลังศึก ษาในโรงเรีย นหลั กสูต รแกนกลางการศึ กษาขั้น พื้ น ฐาน (ม.6) และจะสาเร็จ การศึก ษาในปี การศึ กษา 2566
(ผู้สาเร็จการศึกษาแล้วไม่มีสิทธิ์สมัคร)
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีจ านวนหน่ ว ยกิ ต รวมในกลุ่ ม สาระการเรีย นรู้ ค ณิ ตศาสตร์ไม่ น้ อ ยกว่า 12 หน่ วยกิ ต และในกลุ่ มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มี ผ ลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจ าปี ก ารศึ ก ษา 2567 ตามองค์ ป ระกอบ ค่ า น้ าหนั ก ร้ อ ยละ
และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

20 4 30 4 20 4 30 4
และผลรวมของคะแนนรวมทั้งหมดต้องไม่น้อยกว่า 20 คะแนน
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 30 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.2 สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566 (ผู้สาเร็จการศึกษาแล้วไม่มีสิทธิ์สมัคร)
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่จะสาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมทีป่ ระชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การ
เทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้ ก าลั งศึก ษาในโรงเรีย นหลั กสู ต รแกนกลางการศึ กษาขั้ น พื้ น ฐาน (ม.6) มี จานวนหน่ ว ยกิ ต รวมในกลุ่ม สาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และในกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
(จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

20 1 30 1 20 1 30 1
2.3 สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ หรือหลักสูตร
อาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566 (ผู้สาเร็จการศึกษาแล้วไม่มีสิทธิ์สมัคร)
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่จะสาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมทีป่ ระชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การ
เทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ย สะสมตั้งแต่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียน
จนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1รวม 5
ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา และจะต้องรักษาระดับผล
การเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้ ที่ กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูต รแกนกลางการศึก ษาขั้นพื้ นฐาน (ม.6) มี จานวนหน่ วยกิ ตรวมในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่ น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และในกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
(จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 15 30 15 25 15 25 15
และผลรวมของคะแนนรวมทั้งหมดต้องไม่น้อยกว่า 15 คะแนน
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 31 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.4 สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น ฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 256 6
(ผู้สาเร็จการศึกษาแล้วไม่มีสิทธิ์สมัคร)
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรไมต่ากวา 3.00 และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่ต่ากว่า 3.00
4) มีจ านวนหน่ ว ยกิ ต รวมในกลุ่ ม สาระการเรีย นรู้ ค ณิ ตศาสตร์ ไม่ น้ อ ยกว่า 12 หน่ วยกิ ต และในกลุ่ม สาระการเรี ยนรู้
วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
5) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 30 30 30 25 30 25 30
และผลรวมของคะแนนรวมทั้งหมดต้องไม่น้อยกว่า 20 คะแนน
2.5 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น ฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 256 6
(ผู้สาเร็จการศึกษาแล้วไม่มีสิทธิ์สมัคร)
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.60 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีจ านวนหน่ ว ยกิ ต รวมในกลุ่ ม สาระการเรีย นรู้ ค ณิ ตศาสตร์ ไม่ น้ อ ยกว่า 12 หน่ วยกิ ต และในกลุ่ม สาระการเรี ยนรู้
วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
5) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 1 30 25 25 15 25 15
และผลรวมของคะแนนรวมทั้งหมดต้องไม่น้อยกว่า 30 คะแนน
2.6 สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า วิชาเอกวิศวกรรมไฟฟ้ากาลัง/วิชาเอกวิศวกรรมโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น ฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 256 6
(ผู้สาเร็จการศึกษาแล้วไม่มีสิทธิ์สมัคร)
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3 มีผลการสอบ TGAT และ TPAT ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
TGAT TPAT 3
ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน)
30 1 70 1
และผลรวมของคะแนนรวมทั้งหมดต้องไม่น้อยกว่า 20 คะแนน
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 32 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.7 สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ (หลักสูตร 2 ภาษา)


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566 (ผู้สาเร็จการศึกษาแล้วไม่มีสิทธิ์สมัคร)
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การ
เทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้ที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการ
เรี ยนรู้ ค ณิ ตศาสตร์ไม่ น้ อยกว่า 12 หน่ วยกิ ต และในกลุ่ม สาระการเรีย นรู้ วิท ยาศาสตร์ ไม่ น้ อ ยกว่า 22 หน่ วยกิ ต
(จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

20 1 30 15 25 10 25 10
2.8 สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้ นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึ กษาในปีการศึกษา 2566
(ผู้สาเร็จการศึกษาแล้วไม่มีสิทธิ์สมัคร)
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรไมต่ากวา 2.50 และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่ต่ากว่า 2.50
4) มีจ านวนหน่ ว ยกิ ต รวมในกลุ่ ม สาระการเรีย นรู้ ค ณิ ตศาสตร์ ไม่ น้ อ ยกว่า 12 หน่ วยกิ ต และในกลุ่ม สาระการเรี ยนรู้
วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
5) มีผลการสอบ TGAT และ TPAT ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้

TGAT TPAT 3

ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน)


40 10 60 15
3. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะวิศวกรรมศาสตร์
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิส์ มัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
3.2 คะแนนสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่าที่กาหนด
3.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 33 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

4. เอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์
4.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
4.2 แฟ้มสะสมผลงานเฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้แฟ้มสะสมผลงาน
4.3 เอกสารที่แสดงว่ามีคุณสมบัติตามข้อ 1 คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัคร
5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
ทางอินเทอร์เน็ตที่
การสอบสัมภาษณ์
https://admission.swu.ac.th
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบสัมภาษณ์
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 34 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

รายละเอียดแนบท้าย
คณะวิทยาศาสตร์
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี ทุกชั้นปี เรียนที่
สาขาวิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชาฟิสิกส์ กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชาจุลชีววิทยา
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาเคมี (กศ.บ.)
สาขาวิชาฟิสิกส์ (กศ.บ.)
1. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัคร
ผู้สมัครจะต้องผ่านโครงการส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์Aสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ
เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ต้องการสมัครเข้าศึกษา อย่างน้อย
1 ค่าย หรือ ได้รับรางวัลจากเวที การแข่งขันในระดับชาติหรือนานาชาติในหัวข้อที่ สัมพันธ์ กับสาขาวิชา ที่ต้ องการสมัครเข้าศึกษา
โดยแสดงในแฟ้มสะสมผลงาน (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้แฟ้มสะสมผลงาน) และนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
2. คุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา
2.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
(ผู้สาเร็จการศึกษาแล้วไม่มีสิทธิ์สมัคร)
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75
3) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่ต่ากว่า 2.50 และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
4) มี จ านวนหน่ ว ยกิ ต รวมในกลุ่ ม สาระการเรียนรู้ คณิ ตศาสตร์ ไม่ น้ อยกว่า 12 หน่ วยกิ ต และในกลุ่ มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
5) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ทีแ่ สดงว่ามีคณ ุ สมบัตติ ามข้อ 1 คุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิ์สมัคร (ดูรายละเอียดการอัพโหลดที่
ข้อ 3 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 37)
6) มีผลการสอบ TGAT และ TPAT ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
TGAT TPAT 3
ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน)

25 1 75 1
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ https://www.facebook.com/ChemistrySWU/
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 35 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาชีววิทยา


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
(ผู้สาเร็จการศึกษาแล้วไม่มีสิทธิ์สมัคร)
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
3) มีจานวนหน่วยกิตในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์และวิทยาศาสตร์รวมกัน ไม่น้อยกว่า 34 หน่วยกิต (จานวน
หน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่แสดงว่ามีคณ ุ สมบัติตามข้อ 1 คุณสมบัติของผูม้ ีสทิ ธิ์สมัคร (ดูรายละเอียดการ
อัพโหลดที่ ข้อ 3 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 37)
5) มีผลการสอบ TGAT และ TPAT ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
TGAT TPAT 3
ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน)

30 1 70 1
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ montreem@g.swu.ac.th
2.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยา
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ หรือ หลักสูตรตาม
อัธยาศัย (กศน.) หรือ หลักสูตร GED และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566 (ผู้สาเร็จการศึกษาแล้วไม่มสี ิทธิ์สมัคร)
หมายเหตุ : ผู้สมัครจากหลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตร GED ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบ
วุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.25 และจะต้องรักษาระดับผล
การเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.): มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 3.25 และจะต้องรักษาระดับผล
การเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้ที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต (จานวน
หน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ที่แสดงว่ามีคุณสมบัติตามข้อ 1 คุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิ์สมัคร และ infographic แสดง
รายละเอียดโครงงานวิทยาศาสตร์ที่ทาสาเร็จแล้ว โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
5) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 เคมี ชีววิทยา
ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ เกณฑ์
ค่าน้าหนัก
น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า ขั้นต่า
(%)
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (คะแนน)
10 20 20 20 15 20 25 20 30 20
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ sukhumaporn@g.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 36 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.4 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
(ผู้สาเร็จการศึกษาแล้วไม่มีสิทธิ์สมัคร)
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
3) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิ ตศาสตร์ไม่น้ อยกว่า 12 หน่ วยกิต และในกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่แสดงว่ามีคุณสมบัติตามข้อ 1 คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัคร (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 3
การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 37)
5) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ suwanp@g.swu.ac.th
2.5 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาเคมี (กศ.บ.)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566 (ผู้สาเร็จการศึกษาแล้วไม่มีสิทธิ์สมัคร)
หมายเหตุ : ผู้สมัครจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒิ การศึกษา
เท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะตองรักษา
ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้ที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมกลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตรไมต่ากวา 2.75 และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่ต่ากว่า 2.75
4) เฉพาะผู้ที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีจานวนหนวยกิตรวมในกลุมสาระการ
เรียนรูคณิตศาสตรไมนอยกวา 12 หนวยกิต และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวน
หนวยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
5) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ที่แสดงว่ามีคุณสมบัติตามข้อ 1 คุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิ์สมัคร (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 3
การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 37)
6) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขนั้ ต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 5
เคมี ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

10 1 30 30 40 20 20 20
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ratchanok@g.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 37 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.6 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ (กศ.บ.)


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566 (ผู้สาเร็จการศึกษาแล้วไม่มีสิทธิ์สมัคร)
หมายเหตุ : ผู้ สมัครจากหลักสู ตรนานาชาติ ต้องมีคุ ณ สมบั ติตามประกาศสมาคมที่ ประชุม อธิการบดี แห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์ก ารเที ยบวุฒิ
การศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะตองรักษา
ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้ที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมกลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตรไมต่ากวา 2.75 และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่ต่ากว่า 2.75
4) เฉพาะผู้ที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีจานวนหนวยกิตรวมในกลุมสาระการ
เรียนรูคณิตศาสตรไมนอยกวา 12 หนวยกิต และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวน
หนวยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
5) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ที่แสดงว่ามีคุณสมบัติตามข้อ 1 คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัคร (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 3 การ
อัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 37)
6) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 5
ฟิสิกส์ ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

15 30 30 30 45 25 10 20
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ anusit@g.swu.ac.th
3. การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF จานวน 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตั้งชื่อไฟล์ เป็น
“ชื่ อตน เองเป็ น ภ าษ าอั งกฤษ ห้ าม เว้ น วรรค และห้ ามมี อั กขระพิ เศษ ” และอั พ โหลดในระบ บรั บ สมั ครฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น.
หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
4. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะวิทยาศาสตร์
4.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิส์ มัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
4.2 คะแนนสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่าที่
หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
4.3 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้แฟ้มสะสมผลงาน)
4.4 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 38 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

5. เอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์
5.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
5.2 เอกสารที่แสดงว่ามีคณ
ุ สมบัตติ ามข้อ 1 คุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิ์สมัคร
5.3 แฟ้มสะสมผลงานฉบับจริง (Portfolio) (เฉพาะสาขาที่กาหนดให้ใช้แฟ้มสะสมผลงาน)
6. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
การสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์ ทางเว็บไซต์ ทปอ.
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 39 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

รายละเอียดแนบท้าย
คณะพลศึกษา
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย ทุกชั้นปี เรียนที่
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาผู้นานันทนาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา (กศ.บ.) จังหวัดนครนายก
สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (กศ.บ.)
1. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัคร
1.1 ต้องมีรา่ งกายสมบูรณ์ ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง ไม่มโี รคประจาตัว หรือไม่มีความพิการทางร่างกาย ความพิการ ทางสายตา (ตา
บอด) หรือความพิการทางการได้ยิน อันจะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
1.2 มีความประพฤติดี อยู่ในศีลธรรม มีระเบียบวินัย
1.3 มีบุคลิกภาพ เจตคติและคุณลักษณะเหมาะสมที่จะปฏิบัติงานในวิชาชีพ
1.4 มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า
ตามที่หลักสูตร/สาขาวิชา/วิชาเอก กาหนด
2 คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
2.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย
1) สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ
หรือโรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) หรือหลักสูตร GED และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ /หลักสูตร GED ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศ
ไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุค คลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ
วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.25 และจะต้องรักษาระดับผล
การเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.25 และจะต้องรักษา
ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลี่ยทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.25
3) เฉพาะโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) ต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสม ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิ ต ศาสตร์ ไม่ น้ อ ยกว่ า 2.00 กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ ไม่ น้ อ ยกว่ า 2.00 กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้
ภาษาต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า 2.00
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 3 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 41)
5) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
40 1 10 1 40 1 10 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 40 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.2 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาผู้นานันทนาการ


1) สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตร
นานาชาติ หรือหลักสูตรอาชีวศึกษา หรือหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) หรือหลักสูตร GED และจะสาเร็จการศึกษา
ในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ / หลักสูตร GED ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศ
ไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ
วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผล
การเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1 รวม
5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้ว
ให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษา
ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลี่ยทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.00
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 3 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 41)
4) มีการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ ดังนี้
A-Level
TGAT
สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
30 1 25 1 25 1 20 1

2.3 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (กศ.บ)


1) สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาใน
ปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาค การศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) แฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 3 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 41)
4) มีผลการสอบ TGAT/ TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 5
สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์
น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
30 1 30 30 15 1 15 1 10 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 41 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.4 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา (กศ.บ)


1) สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตร
นานาชาติ หรื อโรงเรี ยนหลั กสู ตรอาชี วศึ กษา หรื อลั กสู ตรตามอั ธยาศั ย (กศน.) หรื อหลั กสู ตร GED และจะส าเร็ จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ / หลักสูตร GED ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศ
ไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ
วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผล
การเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิช าชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1รวม
5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.): มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษา
ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลี่ยทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.00
3) แฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 3 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน)
4) มีผลการสอบ TGAT/ TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 5
สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขนั้ ต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
30 1 30 30 15 1 15 1 10 1

3. การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio)
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ที่แสดงความสามารถทางด้านกีฬา ความสามารถเกี่ยวกับ สาขาวิชา / วิชาเอก
ที่สมัคร และความสามารถพิเศษอื่นๆ (ถ้ามี) ในรูปแบบไฟล์ PDF จานวน 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตั้งชื่อไฟล์
เป็ น “ชื่ อ ตนเองเป็ น ภาษาอั ง กฤษห้ า มเว้ น วรรค และห้ า มมี อั ก ขระพิ เศษ” และอั พ โหลดในระบบรั บ สมั ค รฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น.
หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 42 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

4. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะพลศึกษา
4.1 เป็นไปตามทีค่ ุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชากาหนด
4.2 คะแนนสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และ
เกณฑ์ขั้นต่าที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
4.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
4.4 การสอบภาคปฏิบัติ (ทดสอบสมรรถภาพทางกาย) เฉพาะสาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา สาขาวิชาพลศึกษา
และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย
4.5 การสอบภาคปฏิบตั ิ ทดสอบความสามารถทางผู้นานันทนาการ ทักษะการสื่อสาร และความสามารถพิเศษที่
เกี่ยวข้องทางนันทนาการ เฉพาะสาขาวิชาผู้นานันทนาการ
4.6 ผลการตรวจร่างกายต้องปกติหรือผ่าน
5. เอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์/สอบภาคปฏิบัติ
5.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
5.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่แสดงความสามารถทางด้านกีฬา ความสามารถเกีย่ วกับ สาขาวิชา / วิชาเอก ที่สมัคร
และความสามารถพิเศษอื่นๆ (ถ้ามี)
5.3 ใบรับรองแพทย์แสดงผลการตรวจร่างกายจากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชนว่าผ่านตามเกณฑ์
คุณสมบัติ เฉพาะสาขาวิชา และเกณฑ์คณ ุ สมบัติทั่วไป ของผู้มสี ิทธิส์ มัคร ตามประกาศฯ
หากผู้เข้าสอบไม่น าหลักฐานตามที่ โครงการ/สาขาวิชา/วิชาเอก ก าหนด มาแสดงในวัน สอบจะถือ ว่าผู้ส มัครขาด
คุณสมบัติและจะถูกตัดสิทธิ์ในการสอบครั้งนี้
6. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (กศ.บ.)
สาขาวิชาพลศึกษา (กศ.บ)
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบฯ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบทาง
08.30 – 12.00 น. สอบสัมภาษณ์ อินเทอร์เน็ต
26 เมษายน 2567 13.00 น. เป็นต้นไป สอบภาคปฏิบัติ https://admission.swu.ac.th
(ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ให้ผู้สมัครนาชุดกีฬามาด้วย)
สาขาวิชาผู้นานันทนาการ
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบฯ
08.30 – 12.00 น. สอบสัมภาษณ์
13.00 น. เป็นต้นไป สอบภาคปฏิบัติ
(ทดสอบความสามารถทางผู้นานันทนาการ ใช้ชุดแต่งกาย
ตามความเหมาะสม)
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์ ทางเว็บไซต์ ทปอ.
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 43 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

รายละเอียดแนบท้าย
คณะพยาบาลศาสตร์
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ทุกชั้นปี เรียนที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
จังหวัดนครนายก
1. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของหลักสูตรกาหนด
1.1 กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
1.2 ผู้สมัครจะต้องเข้าร่วมโครงการส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์Aสมเด็จ
พระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) อย่างน้อย 1 ค่าย หรือ ได้รับรางวัลจาก
เวทีการแข่งขันในระดับชาติหรือนานาชาติ โดยแสดงในแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio)
การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio)
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF จานวน 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตั้งชื่อไฟล์
เป็ น “ชื่ อ ตนเองเป็ น ภาษาอั ง กฤษห้ า มเว้ น วรรค และห้ า มมี อั ก ขระพิ เศษ” และอั พ โหลดในระบบรั บ สมั ค รฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น.
หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
1.3 จะต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร (GPAX) ไม่ต่ากว่า 2.50 และต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.50
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.50
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.50
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.50
1.4 มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT
คณิตศาสตร์ประยุกต์1 ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ประยุกต์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (%) (%) (%) (%) (%) (%) (%)
30 1 20 1 20 25 30 1
และมีผลรวมของคะแนนรวมทัง้ หมดต้องไม่น้อยกว่า 35 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน)
วิชาชีพการพยาบาล เป็นวิชาชีพเพื่อบริการด้านสุขภาพต่ อบุคคล ครอบครัว กลุ่มคนและชุมชน โดยยึดหลักองค์รวม
ครอบคลุ มการสร้างเสริม สุขภาพ การป้ องกัน โรคและปั ญ หาสุข ภาพ การรักษาพยาบาลในภาวะเจ็บ ป่ วย และการฟื้ น ฟู สภาพ
การศึกษาวิชาชีพการพยาบาลจึงประกอบด้วยการศึกษาภาคทฤษฎีในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ และการศึกษาภาคฝึกปฏิบัติ ใน
สถานการณ์จริง ทั้งในชุมชนและในหอผู้ป่วยในสถานบริการสุขภาพ ทั้งยังต้องฝึกปฏิบัติครอบคลุมสถานการณ์จริงนอกเวลาราชการ
ในภาคบ่ายและดึกเพื่อให้ครอบคลุมภารกิจซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์จะต้องปฏิบัติจริงเมื่อสาเร็จการศึกษา
จึงเป็น การศึ กษาที่ ต้องใช้เวลามากและหนัก ผู้ศึ กษาวิชาชีพ การพยาบาลจึ งต้อ งมีคุ ณ สมบัติ สาคัญ คือ นอกจากจะต้ องเป็ นผู้ มี
สติปัญญาความสามารถในการคิด การตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมแล้ว ยังต้องมีบุคลิกน่าเชื่อถือ มีจิตใจอ่อนโยน มีความเมตตา มีความ
รับผิดชอบสูง มีความสามารถในการสื่อสาร และมนุษยสั มพันธ์ดี มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ จึงจะสามารถช่วยเหลือและ
ให้บริการต่อผู้รับบริการได้อย่างถูกต้อง มีคุณภาพและเหมาะสม ฉะนั้นเพื่อจะให้ได้พยาบาลในอนาคตที่มีคุณภาพสาหรับปฏิบัติ
หน้าที่สนองความต้องการของสังคมและประเทศชาติอย่างมีประสิทธิภาพ
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 44 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

ทั้งนี้ เมื่อผู้สมัครได้รับคัดเลือกเข้าศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตแล้ว จะปฏิบัติตามแนวทางการเตรียมตัวด้าน


สุขภาพก่อนการศึกษาภาคปฏิบัติตามที่แหล่งฝึกภาคปฏิบัติกาหนด
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จึงจาเป็นต้องมีการทดสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ ตรวจ
ร่างกาย และสอบสัมภาษณ์ เพื่อดาเนินการตรวจคัดเลือกผู้ประสงค์จะเข้าศึกษาที่ผ่านการคัดเลือกเป็นผู้มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์
และจะนาผลดังกล่าวมาประกอบในการตัดสินด้วย โดยกาหนดเกณฑ์ดังนี้
1. ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกมีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์จะต้องทดสอบทางจิตวิทยาและทัศนคติต่ อวิชาชีพ (ผู้เข้าสอบจะต้อง
รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการทดสอบทางจิตวิทยาและสอบทักษะทางวิชาชีพ โดยให้เตรียมดินสอดา HB และยางลบ)
2. ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกมีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์จะต้องตรวจร่างกายมาล่วงหน้า ให้นาใบรับรองแพทย์แสดงผลการ
ตรวจร่างกาย และผลการอ่านฟิล์มเอ็กซเรย์ทรวงอก (ที่ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน นับถึงวันสอบสัมภาษณ์) ที่ลงนามรับรองโดยแพทย์
โรงพยาบาลรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน มายื่นในวันสอบว่าเป็นผู้ที่มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ ปราศจากโรค
หรืออาการของโรค และ/หรือความพิการ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ
การผดุงครรภ์ ดังนี้
1) ไม่มีปัญหาทางจิตเวชอันอาจเป็นอันตรายต่อตนเอง และ/หรือผู้อื่น ได้แก่ โรคจิต (psychotic disorders) โรค
อารมณ์ ผิ ด ปกติ (mood disorders) โรคประสาทรุ น แรง (severe neurotic disorders) บุ ค ลิ ก ภาพผิ ด ปกติ (personality
disorders) โรคอารมณ์ผิดปกติสองขั้ว (Bipolar) รวมถึงปัญหาทางจิตเวชอื่นๆ
2) ไม่เป็นโรคติดต่อในระยะติดต่ออันตราย (ตามที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องโรคติดต่อและอาการสาคัญ)
3) ไม่เป็นโรคไม่ติดต่อในระยะรุนแรงหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- โรคลมชักที่ไม่สามารถควบคุมได้ โรคลมชักที่ไม่มีอาการชักมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี โดยมีการรับรองจาก
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ถือเป็นโรคลมชักที่ควบคุมได้
- โรคหัวใจระดับรุนแรงจนเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- โรคความดันโลหิตสูงรุนแรง และมีภาวะแทรกซ้อนทาให้เกิดพยาธิสภาพต่ออวัยวะอย่างถาวร
- ภาวะไตวายเรื้อรัง
- โรคติดสารเสพติดให้โทษ
3. การสอบสัมภาษณ์พิจารณาในด้านต่างๆ ดังนี้
1) ด้านทักษะทางสารสนเทศและเทคโนโลยี
2) ทักษะชีวิตและอาชีพ (ประกอบด้วย บุคลิกภาพทั่วไป ไหวพริบสติปัญญาและความเชื่อมั่นในตนเอง ความสามารถ
ในการสื่อสาร เจตคติและความสนใจในวิชาชีพและสถาบัน การมีส่วนร่วมในสังคม ความรับผิดชอบ การมีน้าใจ และจิตสานึกสาธารณะ)
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะพยาบาลศาสตร์
2.1 ผลคะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่าที่
หลักสูตร/สาขาวิชาที่กาหนด
2.3 ต้องผ่านโครงการส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์Aสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ
เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) อย่างน้อย 1 ค่าย หรือ ได้รับรางวัลจากเวทีการแข่งขันใน
ระดับชาติหรือนานาชาติ
2.2 ผลการตรวจร่างกายผ่านตามเกณฑ์คุณสมบัติที่กาหนด ดังนี้
2.2.1 ไม่มีความพิการอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
2.2.2 โรคติดต่อในระยะติดต่ออันตราย (ตามที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องโรคติดต่อและอาการสาคัญ)
2.2.3 โรคไม่ติดต่อในระยะรุนแรงหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
1) โรคลมชักที่ไม่สามารถควบคุมได้ (โรคลมชักที่ไม่มีอาการชักมาแล้วอย่ างน้อย 3 ปี โดยมีการรับรองจากแพทย์
ผู้เชี่ยวชาญ ถือเป็นโรคลมชักที่ควบคุมได้)
2) โรคหัวใจระดับรุนแรงจนเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
3) โรคความดันโลหิตสูงรุนแรง และมีภาวะแทรกซ้อนทาให้เกิดพยาธิสภาพต่ออวัยวะอย่างถาวร
4) ภาวะไตวายเรื้อรัง
5) โรคติดสารเสพติดให้โทษ
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 45 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.3 การทดสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ ต้องปกติหรือผ่าน


2.4 การสอบสัมภาษณ์ผ่านตามเกณฑ์ที่หลักสูตรกาหนด
2.5 เป็นไปตามที่คณ ุ สมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะหลักสูตรกาหนด
ทั้งนี้ มติของคณะกรรมการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตถือเป็นที่สิ้นสุด
3. เอกสารที่ต้องนาไปในวันสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ/สอบสัมภาษณ์
3.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
3.2 ผู้เข้าสอบจะต้องชาระค่าทดสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ คนละ 200 บาท
3.3 ผู้เข้าสอบสัมภาษณ์ต้องตรวจร่างกายมาล่วงหน้าให้นาผลการตรวจร่างกายจากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของ
เอกชน ระบุผลการตรวจร่างกายตามเกณฑ์ที่กาหนด (ตามแบบฟอร์ม : รายงานการตรวจสุขภาพของผู้มีสิทธิ์สอคัดเลือก
บุคคลเข้าศึกษาต่อหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ประจาปีการศึกษา 2567)
พร้อมแนบหลักฐานทางห้องปฏิบัติการต่างๆ ตามที่ระบุไว้ในแบบฟอร์ม : รายงานตรวจสุขภาพฯ
ทั้งนี้ ผู้เข้าสอบคัดเลือก และ/หรือ ผู้ผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาที่ให้ข้อมูลอันเป็นเท็จ หรือจงใจปกปิดข้อมูลหรือแม้
ปรากฏเป็นความเท็จขึ้นภายหลังจะต้องถูกตัดสิทธิ์การศึกษาในคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567
ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
ทดสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
25 เมษายน 2567 และส่งเอกสารหลักฐาน ทางอินเทอร์เน็ตที่
09.00 น.- 12.00 น. ทดสอบจิตวิทยา https://admission.swu.ac.th
และทัศนคติต่อวิชาชีพ
13.00 น. เป็นต้นไป ส่งผลการตรวจร่างกาย
26 เมษายน 2567 การสอบสัมภาษณ์
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบสัมภาษณ์
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th

หมายเหตุ : หากผูส้ มัครมีข้อสังสัยเกี่ยวกับข้อมูลหรือปัญหาอื่นๆ ที่ไม่ระบุใว้ในประกาศฯ สามารถติดต่อสอบถามที่


งานบริการการศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์
โทร. 02-649-5000 ต่อ 21800 , 21821 หรือ 089-9222549
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 46 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

รายงานการตรวจสุขภาพของผู้มสี ิทธิ์สอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อ
หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ประจาปีการศึกษา 2567
ข้อมูลส่วนที่ 1 ผู้เข้าสอบคัดเลือกเป็นผู้กรอก (กรอกด้วยตัวบรรจง)
1. ประวัติส่วนตัว
ชื่อ-สกุล (นาย, นาง, นางสาว) ....................................................................................................................................
เกิดวันที่ ....... เดือน .......................... พ.ศ. ............ อายุ ....... ปี ...... เดือน จังหวัดที่เกิด ........................................
เลขประจาตัวประชาชน..................................................................................................................................................
ที่อยู่ทสี่ ามารถติดต่อได้ ..................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
2. ประวัติการเจ็บป่วยของผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา (ทาเครื่องหมาย  และให้ข้อมูล)
ท่านเคยมี หรือมีโรค/ อาการ หรือภาวการณ์เจ็บป่วย ดังต่อไปนี้หรือไม่ (ให้ระบุอาการ พ.ศ.ที่เป็น และรักษาอย่างไร)
มี ไม่มี อธิบายรายละเอียด มี ไม่มี อธิบายรายละเอียด
  หัด .....................................................   เลือด ...................................................
  วัณโรค ...............................................   เบาหวาน .............................................
  ตับอักเสบ ..........................................   หัวใจ ....................................................
  ลมชัก .................................................   ไต ........................................................
  สุกใส ..................................................   ความดันโลหิตสูง .................................
  หอบหืด ..............................................   ต่อมไทรอยด์ .......................................
  ภูมิแพ้ ................................................   ไส้เลื่อน ...............................................
  แพ้ยา .................................................   โรคเรื้อน .............................................
  ตัวเหลือง ตาเหลือง   โรคติดต่อร้ายแรง................................
  ปัญหาทางด้านสุขภาพจิต ..............................................................................................................
  หูหนวก หูตึงจากปราสาท แม้แต่ขา้ งเดียว .....................................................................................
  กระดูกหัก / บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ .................................................................................................
  ผ่าตัดเกี่ยวกับ  สมอง  หัวใจ  กระดูก  อื่นๆ ระบุ ..............................................
  โรคผิวหนังที่เป็นที่รังเกียจแก่ผู้อื่น ..................................................................................................
  โรคเท้าช้างในระยะที่ปรากฏอาการเป็นที่รังเกียจแก่สังคม .............................................................
  ความพิการของร่างกายที่ทาให้เสียบุคลิกลักษณะ ..........................................................................
  ติดยาเสพติดทุกชนิด และโรคพิษสุราเรื้อรัง ...................................................................................
  อื่นๆ ................................................................................................................................................
ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลประวัติดังกล่าวข้างต้นเป็นจริงทุกประการ และรับทราบว่าหากตรวจพบภายหลังว่ามีข้อมูลที่ไม่
เป็นจริง หรือมีการปิดบังข้อมูล ข้าพเจ้าจะถูกตัดสิทธิ์ในการคัดเลือกครั้งนี้ แม้จะได้รับการคัดเลือกเข้าศึกษาแล้วก็ยินยอมให้ถอน
สภาพจากการเป็นนิสิต
ลงชื่อ …………….………………………………………. ผูส้ อบคัดเลือก ลงชื่อ …………….………………………………………. ผูร้ ับรอง
(..............................................................) (..............................................................)
วันที่ ...... เดือน ..................... พ.ศ. ........... บิดา หรือมารดา หรือผู้ปกครอง
วันที่ ...... เดือน ..................... พ.ศ. ...........
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 47 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

ข้อมูลส่วนที่ 2 แพทย์เป็นผู้กรอก (จะต้องตรวจทุกรายการ)

ผู้ ที่ ผ่ า นการคั ด เลื อ กมี สิ ท ธิ์ เข้ า สอบสั ม ภาษณ์ ให้ ไปตรวจร่ างกายและเอกซเรย์ ท รวงอกที่ โรงพยาบาลของรั ฐ หรื อ
โรงพยาบาลของเอกชน โดยนาเอกสารฉบับนี้ให้แพทย์ผู้ตรวจกรอกผลการตรวจร่างกายตามแบบฟอร์มนี้ และลงนามเป็นหลักฐาน
พร้อมทั้งประทับตราโรงพยาบาลตรงลายมือชื่อแพทย์ผู้ตรวจ
ข้าพเจ้า (นายแพทย์, แพทย์หญิง) .................................................................................................................................
เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม .......................................... ออกให้ ณ วันที่ ...... เดือน ...................... พ.ศ. ...............
ชื่อโรงพยาบาลที่เข้ารับการตรวจ ..................................................................................................................................................
แขวง/ตาบล ........................................... เขต/อาเภอ .....................................................จังหวัด...................................................
ได้ทาการตรวจร่างกาย (นาย, นาง, นางสาว) ................................................................................................................................
เลขที่ผู้ป่วย (H.N.) .......................................... วัน/เดือน/ ปีที่เข้าตรวจร่างกาย .............................................. แล้วได้ผล ดังนี้
ผลการตรวจร่างกายทั่วไป
น้าหนัก ........... กิโลกรัม ส่วนสูง ........... เซนติเมตร อุณหภูมิ ........... OC
ความดันโลหิต ................................. มม. ปรอทชีพจร ........... ครั้ง/ นาที อัตราการหายใจ ........... ครั้ง/ นาที

ลักษณะรูปร่าง บุคลิกภาพ  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................


ลักษณะแขนและมือ  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ลักษณะขาและเท้า  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
กระดูกและกล้ามเนื้อ  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การออกเสียงพูด  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ลักษณะในช่องปาก  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ลักษณะผิวหนัง  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การเคลื่อนไหวของร่างกาย  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ระบบประสาท  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การมองเห็น (VA) ตาขวา  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การมองเห็น (VA) ตาซ้าย  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ตาบอดสี (โดยเฉพาะแม่สี)  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ใบหู และลักษณะภายนอกของหูขวา  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ใบหู และลักษณะภายนอกของซ้าย  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การได้ยินหูขวา  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การได้ยินหูซ้าย  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
จมูก  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ต่อมไทรอยด์  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ต่อมน้าเหลือง  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การทางานของหัวใจ  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ปอด  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 48 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Urine analysis (UA) (แนบรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการมาด้วย)
Albumin  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
Sugar  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
Sediments  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
สารเสพติ ด (มอร์ ฟี น , แอมเฟตามี น  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
หรืออื่นๆ อย่างน้อย 1 ประเภท)
Complete blood count (CBC) (แนบรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการมาด้วย)
Hemoglobin  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
Hematocrit  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
Red blood cell Morphology
Anisocytosis  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
Poikilocytosis  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
Hypochromia  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
Microcytosis  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
Macrocytosis  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
White blood cell count
Neutrophil  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
Basophil  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
Eosinophil  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
Lymphocyte  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
Monocyte  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
Platelets  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ............................................................
ผลการตรวจไวรัส ตับ อัก เสบบี และ/หรือได้ รับ วัคซี น ภู มิคุ้ มกั น (แนบรายงานผลการตรวจทางห้ องปฏิ บั ติการ หรือ
หลักฐานการรับวัคซีนมาด้วย)
HBsAg  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Anti-HBs  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
ได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกัน ........................................................................................................................
ผลการตรวจภูมิคุ้มกันโรคสุกใส และ/หรือได้รับวัคซีนภู มิคุ้มกัน (แนบรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือ
หลักฐานการรับวัคซีนมาด้วย)
ภูมิคุ้มกันโรคสุกใส  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
ได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกัน .....................................................................................................................
ผลการตรวจทางรังสีวิทยา (หากผลการตรวจปกติไม่ต้องนาฟิล์มเอกซเรย์ทรวงอกมา และผิดปกติให้นาฟิล์มเอกซเรย์
ทรวงอกมาด้วย)
Chest X-rays  ปกติ  ผิดปกติ หากผิดปกติ โปรดระบุ ……………………………….
 เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
 ไม่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 49 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

ผลการวินิจฉัย

โรคเรื้อน  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................


โรคเท้าช้าง  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคลมชัก  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคคนเผือก  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคหัวใจระดับรุนแรง  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคความดันโลหิตสูงรุนแรงและ  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
มีภาวะแทรกซ้อน
ภาวะไตวายเรื้อรัง  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
วันโรคในระยะแพร่เชื้อ  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคที่เกิดจากสารเสพติด  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคพิษสุราเรื้อรัง  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคจิต สุขภาพจิต  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ความพิการอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ความผิดปกติอื่นๆ ที่ตรวจพบ ระบุ ..........................................................................................................
……………………..……………………………………………………………………………….

ข้าพเจ้ามีความเห็นว่า (นาย, นาง, นางสาว) ...................................................................................................................


มีสุขภาพอยู่ในประเภท  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ....................................................................................................................

(ลงนาม)...........................................................................
(.........................................................................)
แพทย์ผู้ตรวจประจาโรงพยาบาล
วันที่ ........ เดือน .................... พ.ศ. .............
(ประทับตราโรงพยาบาล)

หมายเหตุ รายงานการตรวจสุขภาพฯ ที่สมบูรณ์ต้องมีตราประทับของโรงพยาบาล และลายเซ็นแพทย์ผู้ตรวจกากับ


TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 50 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

ส่วนที่ 3 คุณลักษณะด้านสุขภาพของผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา ต้องเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ ปราศจากโรค


หรืออาการของโรค และ/หรือความพิการ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
และการผดุงครรภ์ ดังนี้
1. ไม่มีปัญหาทางจิตเวชอันอาจเป็นอันตรายต่อตนเอง และ/หรือผู้อื่น ได้แก่ โรคจิต (psychotic disorders) โรค
อารมณ์ ผิ ด ปกติ (mood disorders) โรคประสาทรุ น แรง (severe neurotic disorders) บุ ค ลิ ก ภาพผิ ด ปกติ (personality
disorders) โรคอารมณ์ผิดปกติสองขั้ว (Bipolar) รวมถึงปัญหาทางจิตเวชอื่นๆ
2. ไม่เป็นโรคติดต่อในระยะติดต่ออันตราย (ตามที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง โรคติดต่อและอาการสาคัญ)
3. ไม่เป็นโรคไม่ติดต่อในระยะรุนแรงหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- โรคลมชักที่ไม่สามารถควบคุมได้ โรคลมชักที่ไม่มีอาการชักมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี โดยมีการรับรอง
จากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ถือเป็นโรคลมชักที่ควบคุมได้
- โรคหัวใจระดับรุนแรงจนเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- โรคความดันเลือดสูงรุนแรง และมีภาวะแทรกซ้อนทาให้เกิดพยาธิสภาพต่ออวัยวะอย่างถาวร
- ภาวะไตวายเรื้อรัง
- โรคติดสารเสพติดให้โทษ

พร้อมทั้ง เมื่อได้รับคัดเลือกเข้าศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตแล้ว จะต้องปฏิบัติตามแนวทางการเตรียมตัวด้าน


สุขภาพก่อนการศึกษาภาคปฏิบัติตามที่แหล่งฝึกภาคปฏิบัติกาหนด ดังนี้
1. ตรวจร่างกายโดยแพทย์และขอใบรับรองแพทย์ 5 โรค
2. เอกซเรย์ภาพทรวงอก (Chest x-ray) พร้อมผลอ่าน
3. ผลการตรวจ Complete blood count (CBC)
4. ผลการตรวจภูมิโรค Hepatitis B
5. การได้รับภูมิคุ้มกัน
1) มีภูมิคุ้มกัน และ/หรือ ได้รับวัคซีนไวรัสตับอักเสบ เอ
2) มีภูมิคุ้มกัน และ/หรือ ได้รับวัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี (ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม)
3) มีภูมิคุ้มกัน และ/หรือ ได้รับวัคซีนโรคสุกใส
4) มีภูมิคุ้มกัน และ/หรือ ได้รับวัคซีนโรคโควิด-19
5) รับวัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม MMR (ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม)
6) รับวัคซีนคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก (ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม)
7) รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (แนะนาให้ฉีดปีละ 1 ครั้ง)
6. ผลการตรวจอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตพิจารณาแล้วเห็นสมควร
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 51 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

รายละเอียดแนบท้าย
คณะศิลปกรรมศาสตร์
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต ทุกชั้นปี เรียนที่
สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์สากล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชาทัศนศิลป์ กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชาการออกแบบสื่อสาร
สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์
- วิชาเอกการออกแบบผลิตภัณฑ์
- วิชาเอกการออกแบบเครื่องประดับ
- วิชาเอกการออกแบบแฟชั่น
สาขาวิชานาฏศิลป์สร้างสรรค์และการจัดการ
- วิชาเอกนาฏศิลป์ไทย
- วิชาเอกนาฏศิลป์สากล
สาขาวิชาศิลปะการแสดง
- วิชาเอกการออกแบบเพื่อการแสดง
- วิชาเอกการแสดงและกากับการแสดง
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
สาขาวิชาดนตรีศึกษา
สาขาวิชานาฏศิลป์ศึกษา
สาขาวิชาศิลปศึกษา

1. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของสาขาวิชา
1.1 เป็นผู้มีความสามารถพิเศษ หรือโดดเด่นด้านศิลปกรรมในสาขาต่างๆ ที่มีประสบการณ์ในสาขาวิชาที่สมัครตั้งแต่ ระดับ
สถานศึกษาขึ้นไป หรือได้รับรางวัล/ผ่านการประกวดแข่งขันในระดับเขต ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ ระดับนานาชาติอัน
เป็นที่ยอมรับในศิลปกรรมสาขาต่างๆ
1.2 สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ
หรื อ หลั กสู ต รอาชี ว ศึ กษา หรื อ หลั กสู ตรตามอั ธ ยาศั ย (กศน.) หรื อ หลั กสู ตร GED และจะส าเร็ จ การศึ กษา
ในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครจากหลักสูตรนานาชาติ / หลักสูตร GED ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบ
วุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 52 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

1.3 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์สากล


สาขาวิชาทัศนศิลป์
สาขาวิชาการออกแบบสื่อสาร
สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์
- วิชาเอกการออกแบบผลิตภัณฑ์
- วิชาเอกการออกแบบแฟชั่น
- วิชาเอกการออกแบบเครื่องประดับ
สาขาวิชานาฏศิลป์สร้างสรรค์และการจัดการ
- วิชาเอกนาฏศิลป์ไทย
- วิชาเอกนาฏศิลป์สากล
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผล
การเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ ระดั บประกาศนี ยบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1
รวม 5 ภาคการศึ กษา ไม่ ต่ ากว่า 2.00 และจะต้ อ งรัก ษาระดั บ ผลการเรี ย นจนส าเร็จ การศึ ก ษา (ถ้า ส าเร็ จ
การศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.): มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษา
ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลี่ยทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.00
1.4 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะการแสดง
- วิชาเอกการออกแบบเพื่อการแสดง
- วิชาเอกการแสดงและกากับการแสดง
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา
สาขาวิชานาฏศิลป์ศึกษา
สาขาวิชาศิลปศึกษา
มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษาระดับผล
การเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดั บประกาศนี ยบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1
รวม 5 ภาคการศึ กษา ไม่ ต่ ากว่า 2.50 และจะต้ อ งรัก ษาระดั บ ผลการเรี ย นจนส าเร็จ การศึ ก ษา (ถ้ า ส าเร็ จ
การศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.): มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษา
ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลีย่ ทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.50
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 53 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2. คุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา/วิชาเอก
2.1 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์
1) เป็นผู้มีประสบการณ์และทักษะพื้นฐานทางด้านศิลปะในเกณฑ์ดี
2) เป็นผู้มีประสบการณ์ทางด้านศิลปะในส่วนของทัศนศิลป์
3) ส่งแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่เป็นผลงานวาดเส้นด้วยดินสอหรือปากกา ขนาด A4 จานวน 3 รูป (ไม่จากัดเนื้อหา
และเทคนิค) และผลงานที่ใช้การลงสี ขนาด A4 จานวน 3 รูป (ไม่จากัดเนื้อหาและเทคนิค) โดยส่งผลงานทั้งหมดทาง
ไปรษณี ย์ มาที่ คณะศิล ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีน คริน ทรวิโรฒ 114 สุขุมวิท 23 เขตวัฒนา กรุงเทพฯ
10110 (เขียนกากับหน้าซองว่า “ส่งแฟ้มผลงานสาขาทัศนศิลป์ TCAS 2”) ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567
หมายเหตุ : สาขาวิชาทัศนศิลป์ ขอสงวนสิทธิ์ไม่คืนแฟ้มสะสมผลงานในทุกกรณี
2.2 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์สร้างสรรค์และการจัดการ วิชาเอกนาฏศิลป์ไทย
1) เป็ นผู้ มี ความสามารถด้ านทั กษะปฏิ บั ติ นาฏศิ ลป์ ไทย ได้ แก่ โขน ละคร รา-ระบ า หรื อการแสดงนาฏศิ ลป์ ไทยอื่ น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง
2) เป็นผู้มีความสามารถด้านการสร้างสรรค์งานนาฏศิลป์ ได้แก่ การออกแบบ การกากับการแสดง การจัดกิจกรรมการแสดง
นาฏศิลป์ ทั้งด้านนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์สากล นาฏศิลป์ร่วมสมัย หรือนาฏศิลป์รูปแบบต่าง ๆ ได้
3) เป็นผู้มีผลงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยในระดับสถานศึกษา หรือที่ได้รับความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ/เอกชนที่
เกี่ยวข้อง อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ
4) เป็นผู้มีผลงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยในระดับจังหวัด ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ หรือระดับ
นานาชาติ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ
5) เป็นผู้เคยได้รับรางวัลการแข่งขันด้านนาฏศิลป์ไทยในระดับจังหวัด ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ
หรือระดับนานาชาติ อย่างใดอย่างหนึ่ง
6) เป็นผู้มีสุนทรียะ มีใจรัก ใฝ่เรียนรู้ มีความสนใจด้านความคิดสร้างสรรค์ และมีทัศนคติเชิงบวกต่อศิลปวัฒนธรรม
7) เฉพาะผู้ที่สอบผ่านภาคทฤษฎี ให้ผู้สมัครที่สอบผ่านเตรียมตัวต่อไปนี้
7.1) แฟ้มประวัติและผลงาน (Portfolio) เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ ด้านนาฏศิลป์ ไทย ที่ประกอบด้วยประวัติส่วนตัว
ประวั ติ การศึ กษา ผลการเรียน รูปภาพกิ จกรรมด้ านนาฏศิ ลป์ เกียรติ บั ตรหรือประกาศนี ยบั ตรที่ เกี่ยวข้ องกั บ
สาขาวิชาที่สมัคร ซึ่งเป็นการรวบรวมผลงานย้อนหลังไม่เกิน 5 ปีการศึกษา มีจานวนเนื้อหาไม่เกิ น 12 หน้า (ขนาด
A4) โดยผู้สมัครต้องนาแฟ้มประวัติและผลงานมายื่นต่อหน้าคณะกรรมการสอบในวันที่เข้ารับการสอบสัมภาษณ์และ
สอบปฏิบัติ
7.2) การแสดงทักษะปฏิบัติด้านนาฏศิลป์ไทย เพลงราแม่บทเล็ก ออกเพลงเร็ว-ลา แบบเต็มเพลง โดยผู้สมัครต้องแต่ง
กายให้เหมาะสมกับการสอบภาคปฏิบัติ ทั้งนี้ คณะกรรมการสอบอาจให้ผู้สมัครแสดงทักษะปฏิบัติหรือทักษะอื่นที่
นาเสนอปฏิภาณไหวพริบ ทัศนคติ ความกล้าแสดงออก และความคิดสร้างสรรค์ที่สอดคล้องกับสาขาวิชาที่สมัคร ซึ่ง
ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการสอบ
7.3) ผู้สมัครเข้ารับการสอบสัมภาษณ์เชิงวิชาการและสอบภาคปฏิบัติทักษะนาฏศิลป์ไทยต่อหน้าคณะกรรมการสอบ ณ
ห้องปฏิบัติการนาฏศิลป์ ภาควิชานาฏศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
7.4) คณะกรรมการสอบไม่มีนโยบายคืนแฟ้มประวัติและผลงานแก่ผู้สมัครไม่ว่ากรณีใด ๆ ผู้สมัครต้องจัดเตรียมเอกสาร
ที่ใช้ทาแฟ้มประวัติและผลงานในรูปแบบสาเนาเอกสาร และห้ามนาเอกสารต้นฉบับที่สาคัญมาใส่ในแฟ้มประวัติ
และผลงานโดยเด็ดขาด
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 54 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.3 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์สร้างสรรค์และการจัดการ วิชาเอกนาฏศิลป์สากล


1) เป็นผู้มีความสามารถด้านทักษะปฏิบัตินาฏศิลป์สากล ได้แก่ บัลเลต์ แจ๊ส นาฏศิลป์สมัยใหม่ นาฏศิลป์ร่วมสมัย
ลีลาศ ยิมนาสติก หรือการแสดงนาฏศิลป์สากลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2) เป็นผู้มีความสามารถด้านการสร้างสรรค์งานนาฏศิลป์ ได้แก่ การออกแบบ การกากับการแสดง การจัดกิจกรรม
การแสดงนาฏศิลป์ ทั้งด้านนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์สากล นาฏศิลป์ร่วมสมัย หรือนาฏศิลป์รูปแบบต่าง ๆ ได้
3) เป็นผู้มีผลงานการแสดงนาฏศิลป์สากลในระดับสถานศึกษา หรือที่ได้รับความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ/
เอกชนที่เกี่ยวข้อง อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ
4) เป็นผู้มีผลงานการแสดงนาฏศิลป์สากลในระดับจังหวัด ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับ ภูมิภาค ระดับประเทศ
หรือระดับนานาชาติ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ
5) เป็นผู้เคยได้รับรางวัลการแข่งขันด้านนาฏศิลป์สากลในระดับจังหวัด ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับภูมิภาค
ระดับประเทศ หรือระดับนานาชาติ อย่างใดอย่างหนึ่ง
6) เป็ น ผู้ มี สุ น ทรี ย ะ มี ใ จรั ก ใฝ่ เรี ย นรู้ มี ค วามสนใจด้ า นความคิ ด สร้ า งสรรค์ และมี ทั ศ นคติ เชิ ง บวกต่ อ
ศิลปวัฒนธรรม
7) เฉพาะผู้ที่สอบผ่านภาคทฤษฎี ให้ผู้สมัครที่สอบผ่านเตรียมตัวต่อไปนี้
- แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ซึ่งประกอบด้วยประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ผลการเรียน ภาพกิจกรรม
ผลงานหรือเกียรติบั ตรที่ตรงกั บสาขาวิชาที่ สมัคร โดยเป็นผลงานย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี จานวนไม่เกิน 12
หน้ากระดาษ A4 (นามาในวันสอบสัมภาษณ์)
- เตรียมการแสดงทั กษะปฏิ บั ติ นาฏศิ ลป์ สากลที่ มี ความถนั ดไม่ เกิ น 2 นาที มาแสดงต่ อหน้ าคณะกรรมการในวันสอบ
สัมภาษณ์ โดยผู้ สมั ครแต่งกายให้ เหมาะสมกั บการปฏิ บั ติ ทั้ งนี้ คณะกรรมการสอบอาจให้ ผู้ สมั ครแสดงทั กษะปฏิ บั ติ
ปฏิภาณไหวพริบ และความคิดสร้างสรรค์ที่สอดคล้องกับสาขาวิชาที่สมัคร ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของกรรมการสอบ
- เข้ารับการสอบปฏิบัติเชิงวิชาการและสอบการปฏิบัติทักษะนาฏศิลป์สากลต่อหน้าคณะกรรมการสอบ ณ ห้องปฏิบัติการ
นาฏศิลป์ สาขาวิชานาฏศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2.4 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะการแสดง วิชาเอกการออกแบบเพื่อการแสดง
1) เป็นผู้มีประสบการณ์และทักษะพื้นฐานทางด้านศิลปะ หรือ
2) เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ทางด้านศิลปะการแสดง ในส่วนของการออกแบบเพื่อการแสดง
อาทิ ด้านฉากและเวที ด้านเครื่องแต่งกาย งานเบื้องหลังอื่นๆ เป็นต้น
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ทางด้านศิลปะการแสดง
กิจกรรมภายในสถานศึกษาและกิจกรรมสาธารณประโยชน์
4) เฉพาะผู้สอบผ่านภาคทฤษฎี ให้ผู้สมัครส่งแฟ้มสะสมผลงาน
มาทาง QR Code ภายในวันที่ 3 เมษายน 2567
2.5 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะการแสดง วิชาเอกการแสดงและกากับการแสดง
1) เป็ น ผู้ ที่ มี ป ระสบการณ์ แ ละทั ก ษะพื้ น ฐานทางด้ า นศิ ล ปะการแสดงทั้ งในระดั บ
สถานศึกษาหรือในระดับอาชีพ
2) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ทางด้านศิลปะการแสดง
กิจกรรมภายในสถานศึกษาและกิจกรรมสาธารณประโยชน์
3) เฉพาะผู้สอบผ่านภาคทฤษฎี ให้ผู้สมัครส่งแฟ้มสะสมผลงานและคลิปวีดิโอบันทึกภาพ
เคลื่อนไหว (VDO) ที่ไม่มีการตัดต่อ มาทาง QR Code ภายในวันที่ 3 เมษายน 2567
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 55 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.6 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์สากล


1) เป็นผู้มีประสบการณ์การเล่นเครื่องดนตรีเอกที่ใช้สอบ หรือ ขับร้องคลาสสิก ในสถานศึกษา หรือสถาบันดนตรี หรือ
เรียนส่วนตัว (แนบหลักฐาน) และ
2) เป็นผู้มีประสบการณ์ผ่านการสอบเทียบเกรดทางดนตรี ของสถาบันทดสอบดนตรีในประเทศ หรือ ต่างประเทศ (แนบ
หลักฐาน) หรือ
3) เป็นผู้มีประสบการณ์การแสดงดนตรี การแข่งขันดนตรี ในเครื่องดนตรีเอก หรือ ขับร้องคลาสสิก ได้รับเกียรติบัตร และ/
หรือ ประกาศนียบัตร และ/หรือ รางวัล และ/หรือรูปภาพ (แนบหลักฐานภาพ ถ้วยรางวัล , โล่รางวัล , ใบประกาศ
เกียรติคุณ, การแสดงดนตรี, การแข่งขันดนตรี ในเครื่องดนตรีเอก ไม่ใช่การรวมวง) หรือ
4) เป็นผู้มีประสบการณ์การแสดงดนตรี การแข่งขันดนตรี รูปแบบรวมวง ขับร้องประสานเสียง มีเกียรติบัตร และ/หรือ
ประกาศนียบัตร และ/หรือ รางวัล และ/หรือรูปภาพ หรือ การประกวดอื่น ๆ นอกเหนือจากดนตรี เช่น กิจกรรมจิ ต
สาธารณะ กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม (แนบหลักฐานภาพเล่นรวมวง, ขับร้องประสานเสียง, ถ้วยรางวัล, โล่
รางวัล, ใบประกาศเกียรติคุณ, การแสดงดนตรี, การแข่งขันดนตรี) เหล่านี้ให้ค่าน้าหนักน้อยกว่าเครื่องดนตรีเอก
5) เฉพาะผู้ที่สอบผ่านภาคทฤษฎี ให้ผู้สมัครเตรียม
- แฟ้มสะสมผลงาน ซึ่งประกอบด้วย ประวัติผู้สอบ ใบรับรองผลการศึกษา ผลงานที่เกี่ยวข้องกับเครื่องดนตรีเอก และ
หลักฐานที่มี ในข้อ 1 หรือ 2 หรือ 3 ผลงานรวมวง หรือ ขับร้องประสานเสียง หรือ ผลงานอื่น หรือ รางวัลด้านอื่น
- เพลงที่ใช้ในการสอบปฏิบัติ ประกอบด้วย
บันไดเสียง (Scale) octaves ตามขีดความสามารถของแต่ละเครื่อง ไม่น้อยกว่า 3# 3b
แบบฝึกหัด (Etude) เลือกด้วยตัวเอง 1 บท ไม่น้อยกว่า 3# 3b
เครื่องเอกคลาสสิก เช่น ผลงานของ J.S. Bach, Antonio Vivaldi, Wolfgang Amadeus Mozart,
Ludwig van Beethoven, Franz Schubert, Fredric Francois Chopin,
Robert Schumann หรือผลงานที่มีมาตรฐานเทียบเท่า
เครื่องเอกแจ๊ส เช่น ผลงานของ Charlie Parker, Albert King, Freddie King, B. B. King หรือ
ผลงานที่มีมาตรฐานเทียบเท่า
สาหรับเอกร้องคลาสสิก
1) Scale Major Scale พร้อม arpeggio (1 octaves) และ/หรือ แบบฝึกหัด 1 บทจาก vaccai
2) เพลงบังคับ 1 เพลง จาก 4 เพลงที่กาหนดเท่านั้น 1 Wiegenlied ประพันธ์โดย Johannes Brahms หรือ
2 Der Kuss ประพั นธ์โดย Ludwig van Beethoven หรือ 3 Panis Angelicus ประพัน ธ์โดย Cesar Franck
หรือ 4 The Lord's Prayer ประพันธ์โดย Albert H. Malotte
3) เพลงเลือก 1 เพลง จากหนังสือ Favorite French Art Song หรือ 24 italian songs and arias
ให้ผู้เข้าสอบเตรียมบทเพลงและแบบฝึกหัดในคลิปวิดิโอมาแสดงให้คณะกรรมการฟังในรอบสัมภาษณ์
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 56 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.7 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบสื่อสาร


1) เป็นผู้มีประสบการณ์และทักษะพื้นฐานทางด้านศิลปะในเกณฑ์ดี
2) เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ ทางด้านศิลปะในส่วนของการออกแบบสื่อสาร การออกแบบกราฟิก การออกแบบสิ่งพิมพ์
การออกแบบภาพเคลื่อนไหว การถ่ายภาพ เป็นต้น
3) เฉพาะผู้สอบผ่านภาคทฤษฎี นาเสนอแฟ้มสะสมผลงานตัวจริง (Portfolio) ประกอบด้วย ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา
กิจกรรมที่น่าสนใจ งานอดิเรกที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา ผลงานที่ตรงกับสาขาวิชาและเกียรติบัตรที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา
ในวันสอบสัมภาษณ์
2.8 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์ วิชาเอกการออกแบบผลิตภัณฑ์
1) เป็นผู้มีประสบการณ์และทักษะพื้นฐานทางด้านศิลปะในเกณฑ์ดี
2) เป็นผู้มีประสบการณ์ทางด้านศิลปะในส่วนของการออกแบบผลิตภัณฑ์
3) เฉพาะผูส้ อบผ่านภาคทฤษฎี นาเสนอแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ประกอบด้วย ประวัตสิ ่วนตัว ประวัติการศึกษา กิจกรรม ที่
น่าสนใจ งานอดิเรกที่เกีย่ วข้องกับสาขาวิชา ผลงานทีต่ รงกับสาขาวิชาและเกียรติบตั รทีเ่ กี่ยวข้องกับสาขาวิชาในวันสอบสัมภาษณ์
2.9 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์ วิชาเอกการออกแบบแฟชั่น
1) เป็นผู้มีประสบการณ์และทักษะพื้นฐานทางด้านศิลปะในเกณฑ์ดี
2) เป็นผู้มีประสบการณ์ทางด้านศิลปะในส่วนของการออกแบบแฟชั่น
3) ส่งผลงานคลิปวีดิโอบั นทึกภาพความเคลื่อนไหวของตัวเองขณะทาการตัดเย็บผลิตภัณฑ์
แฟชั่น โดยให้เห็นทั้งใบหน้า กิริยา และชิ้นผลงานเวลาปฏิบัติงาน กาหนดให้เป็นวิดิโอที่มี
ขนาดความละเอียด 720p หรือ 1080p เท่านั้น (นามสกุลไฟล์ .mp4) ระยะเวลาไม่เกิน
1.30 นาที บันทึกข้อมูลผ่านลิงค์ Google Drive และ Share Link โดยกาหนดให้ผู้ที่มี
Link สามารถกดไฟล์ข้อมูลได้ แล้วส่ง Link ดังกล่าวมาทาง QR Code ภายในวันที่ 15
มีนาคม 2567
4) เฉพาะผู้ที่สอบผ่านภาคทฤษฎี ให้ผู้สมัครที่สอบผ่านเตรียม
แฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio) ประกอบไปด้วย ประวัติ ส่วนตัวแบบย่อ ประวัติ การศึกษา เฉพาะผลงานที่เกี่ยวข้องกั บ
ประสบการณ์ทางด้านการออกแบบแฟชั่นไม่ต่ากว่า 15 ชิ้น และผลงานด้านศิลปะอื่น ๆ ไม่ต่ากว่า 5 ชิ้น ในวันสอบสัมภาษณ์
2.10 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์ วิชาเอกการออกแบบเครื่องประดับ
1) เป็นผู้มีประสบการณ์และทักษะพื้นฐานทางด้านศิลปะในเกณฑ์ดี
2) เป็นผู้มีประสบการณ์ทางด้านศิลปะในส่วนของการออกแบบเครื่องประดับ
3) เฉพาะผูส้ อบผ่านภาคทฤษฎี นาเสนอแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ประกอบด้วย ประวัตสิ ่วนตัว ประวัติการศึกษา กิจกรรมที่
น่าสนใจ งานอดิเรกที่เกีย่ วข้องกับสาขาวิชา ผลงานทีต่ รงกับสาขาวิชาและเกียรติบตั รทีเ่ กี่ยวข้องกับสาขาวิชา
ในวันสอบสัมภาษณ์
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 57 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.11 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ศึกษา (กศ.บ.)


1) เป็นผู้มีความสามารถด้านทักษะปฏิบัตินาฏศิลป์ไทย ได้แก่ โขน ละคร รา-ระบา หรือการแสดงนาฏศิลป์ไทยอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง
2) เป็นผู้มีผลงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยในระดับสถานศึกษา หรือที่ได้รับความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ/
เอกชนที่เกี่ยวข้อง อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ
3) เป็นผู้มีผลงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยในระดับจังหวัด ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ หรือ
ระดับนานาชาติ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ
4) เป็ น ผู้เคยได้ รับ รางวั ลการแข่ งขัน ด้ านนาฏศิล ป์ ไทยในระดั บ จั งหวัด ระดั บ เขตพื้ น ที่ การศึก ษา ระดั บ ภู มิ ภ าค
ระดับประเทศ หรือระดับนานาชาติ อย่างใดอย่างหนึ่ง
5) เป็นผู้มีสุนทรียะ ใฝ่เรียนรู้ มีทัศนคติเชิงบวกต่อศิลปวัฒนธรรม และมีใจรักด้านการถ่ายทอดความรู้หรือความเป็นครู
6) เฉพาะผู้ที่สอบผ่านภาคทฤษฎี ให้ผู้สมัครที่สอบผ่านเตรียมตัวต่อไปนี้
6.1) แฟ้มประวัติและผลงาน (Portfolio) เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ด้านนาฏศิลป์ไทย ที่ประกอบด้วยประวัติ
ส่วนตัว ประวัติการศึกษา ผลการเรีย น รูปภาพกิจกรรมด้านนาฏศิลป์ เกียรติบัตรหรือประกาศนียบัตรที่
เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่สมัคร ซึ่งเป็นการรวบรวมผลงานย้อนหลังไม่เกิน 5 ปีการศึกษา มีจานวนเนื้อหาไม่
เกิน 10 หน้า (ขนาด A4) โดยผู้สมัครต้องนาแฟ้มประวัติและผลงานมายื่นต่อหน้าคณะกรรมการสอบใน
วันที่เข้ารับการสอบสัมภาษณ์และสอบปฏิบัติ
6.2) การแสดงทักษะปฏิบัติด้านนาฏศิลป์ไทย เพลงราแม่บทเล็ก ออกเพลงเร็ว-ลา แบบเต็มเพลง โดยผู้สมัคร
ต้องแต่งกายให้เหมาะสมกับการสอบภาคปฏิบัติ ทั้งนี้ คณะกรรมการสอบอาจให้ผู้สมัครแสดงทักษะปฏิบัติ
หรือ ทั ก ษะอื่ น ที่ น าเสนอปฏิ ภ าณไหวพริ บ ทั ศ นคติ ความกล้ า แสดงออก และความคิ ด สร้ า งสรรค์ ที่
สอดคล้องกับสาขาวิชาที่สมัคร ซึ่งขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการสอบ
6.3) ผู้สมัครเข้ารับการสอบสัมภาษณ์เชิงวิชาการและสอบภาคปฏิบัติทักษะนาฏศิลป์ไทยต่อหน้าคณะกรรมการ
สอบ ณ ห้องปฏิบัติการนาฏศิลป์ ภาควิชานาฏศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
6.4) คณะกรรมการสอบไม่ มี น โยบายคื น แฟ้ ม ประวัติแ ละผลงานแก่ ผู้ส มั ค รไม่ ว่ ากรณี ใด ๆ ผู้ ส มั ค รต้ อ ง
จัดเตรียมเอกสารที่ใช้ทาแฟ้มประวัติและผลงานในรูปแบบสาเนาเอกสาร และห้ามนาเอกสารต้นฉบับที่
สาคัญมาใส่ในแฟ้มประวัติและผลงานโดยเด็ดขาด
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 58 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.12 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา (กศ.บ.) เครื่องมือเอกดนตรีไทย/เครื่องมือเอกดนตรีสากล


1) เป็นผู้มีความสามารถทางทักษะปฏิบัติเครื่องมือเอกดนตรีไทย/เครื่องมือเอกดนตรีสากล
2) เป็นผู้มีใจรักในวิชาชีพครู การสอน หรือการถ่ายทอดความรู้
3) เป็นผู้มผี ลงานการแสดงทางด้านดนตรีในระดับสถานศึกษา หรือที่ได้รับความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ/
เอกชนที่เกี่ยวข้อง หรือ
4) เป็นผู้มีผลงานการแสดงทางด้านดนตรีในระดับจังหวัด ระดับเขต ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ ระดับนานาชาติ หรือ
5) เป็นผู้เคยได้รับรางวัลในการแข่งขันทางด้านดนตรีในระดับจังหวัด ระดับเขต ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ หรือระดับนานาชาติ
6) เป็นผู้มสี ุนทรียศาสตร์และมีใจรักทางด้านดนตรี
7) เฉพาะผูส้ อบผ่านภาคทฤษฎี นาเสนอแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ประกอบด้วย ประวัตสิ ่วนตัว ประวัติ
การศึกษา กิจกรรมที่น่าสนใจ งานอดิเรกที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา ผลงานที่ตรงกับสาขาวิชาและเกียรติบัตรที่
เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา ในวันสอบสัมภาษณ์
เฉพาะเครื่องมือเอกดนตรีสากล
- รับเฉพาะเครื่องเฟรนช์ฮอร์น (French Horn) ไวโอลิน (Violin) เปียโน (Piano) และขับร้องคลาสสิก
(Classical Voice) เท่านั้น
- เพลงที่ใช้ประกอบ บันไดเสียง (Scale) octaves ตามขีดความสามารถของแต่ละเครื่อง ไม่น้อยกว่า 3# 3b
แบบฝึกหัด (Etude) เลือกด้วยตัวเอง 1 บท ไม่น้อยกว่า 3# 3b
เครื่องเอกคลาสสิก เช่น ผลงานของ J.S. Bach, Antonio Vivaldi, Wolfgang Amadeus Mozart,
Ludwig van Beethoven, Franz Schubert, Fredric Francois Chopin,
Robert Schumann หรือผลงานที่มีมาตรฐานเทียบเท่า
เครื่องเอกแจ๊ส เช่น ผลงานของ Charlie Parker, Albert King, Freddie King, B. B. King หรือ
ผลงานที่มีมาตรฐานเทียบเท่า
สาหรับเอกร้องคลาสสิก
1) Scale Major Scale พร้อม arpeggio (1 octaves) และ/หรือ แบบฝึกหัด 1 บทจาก vaccai
2) เพลงบังคับ 1 เพลง จาก 4 เพลงที่กาหนดเท่านั้น 1 Wiegenlied ประพันธ์โดย Johannes Brahms หรือ
2 Der Kuss ประพันธ์โดย Ludwig van Beethoven หรือ 3 Panis Angelicus ประพันธ์โดย Cesar
Franck หรือ 4 The Lord's Prayer ประพันธ์โดย Albert H. Malotte
ให้ผู้เข้าสอบเตรียมบทเพลงและแบบฝึกหัดในคลิปวิดิโอมาแสดงให้คณะกรรมการฟังในรอบสัมภาษณ์
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 59 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.13 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา (กศ.บ.)


1) เป็นผู้มีความสามารถทางทักษะปฏิบัติศิลปะในเกณฑ์ดี
2) เป็นผู้มีใจรักในวิชาชีพครู การสอน หรือการถ่ายทอดความรู้
3) เป็น ผู้มีผลงานทางด้านศิลปะในระดับ สถานศึ กษา หรือที่ ได้รับ ความร่วมมื อระหว่างหน่วยงานภาครัฐ/เอกชนที่
เกี่ยวข้อง หรือ
4) เป็ น ผู้ เคยได้ รั บ รางวั ล ในการแข่ ง ขั น ทางด้ า นศิ ล ปะในสถานศึ ก ษาระดั บ จั ง หวั ด ระดั บ เขต ระดั บ ภู มิ ภ าค
ระดับประเทศ หรือระดับนานาชาติ หรือ
5) เป็นผู้มีสุนทรียศาสตร์และมีใจรักทางด้านศิลปะ
6) เฉพาะผู้สอบผ่านภาคทฤษฎี นาเสนอแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ตัวจริง ประกอบด้วย ประวัติส่วนตัว ประวัติ
การศึกษา กิจกรรมหรืองานอดิเรกที่เกี่ยวข้องกับศิลปศึกษา และผลงานด้านศิลปะและการออกแบบ (ทัศนศิลป์
การออกแบบ และดิจิทัลอาร์ต) ไม่จากัดเทคนิค จานวน 10 ผลงาน
และเรียงความ หัวข้อ ความเป็นครูศิลปศึกษา เรียงความพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ตัวอักษร TH SarabunPSK หรือ
TH Sarabun New ขนาด 16 พอยต์ ตัวปกติ จานวนไม่เกิน 3 หน้ากระดาษ A4 และ เกียรติบัตรที่เกี่ยวข้องกับ
สาขาวิชา แฟ้มสะสมผลงานให้นามาในวันสอบสัมภาษณ์
2.14 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม (หลักสูตร 2 ภาษา)
1) เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถทางด้านนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
2) เป็นผู้ที่มีผลงานทางด้านศิลปวัฒนธรรม หรือผลงานสร้างสรรค์ที่เกี่ยวข้องกับศิลปวัฒนธรรมในรูปแบบต่างๆ หรือ
3) เป็นผู้ที่เคยได้รับรางวัล/ใบประกาศเกียรติคุณการรับรองทางด้านศิลปวัฒนธรรมใน
ระดับสถานศึกษา ระดับจังหวัด ระดับเขต ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ หรือ
ระดับนานาชาติ หรือ
4) เป็นผู้ที่มีสุนทรียศาสตร์และใจรักทางด้านศิลปวัฒนธรรม
5) มีแฟ้มสะสมผลงานและจดหมายแนะนาตนเองที่แสดงให้เห็นถึงมูลเหตุจูงใจในการ
เลือกศึกษาสาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม พร้อมทั้งความมุ่งหมายใน
อนาคตว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว จะนาความรู้ ประสบการณ์ที่ได้เรียนสาขาวิชานี้ไปใช้
ทาอะไร อย่างไร ความยาวไม่เกิน 1 หน้า A4 โดยส่งไฟล์มาทาง QR Code ภายใน
วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 และนาเสนอแฟ้มสะสมผลงานตัวจริงในวันสอบ
สัมภาษณ์

ทั้งนี้ ผู้สมัครในโครงการผู้มีทักษะพิเศษทางด้านศิลปกรรม ควรใช้ผลงานระหว่างปี พ.ศ 2562 – 2567


TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
- 60 - 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

3. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะศิลปกรรมศาสตร์
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มสี ิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
3.2 การสอบข้อเขียน (การสอบภาคทฤษฎี/การสอบภาคปฏิบัตเิ ฉพาะสาขาวิชา / วิชาเอก)
3.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร ทางอินเทอร์เน็ตที่
12 มีนาคม 2567 ประกาศผลผู้สิทธิ์สอบข้อเขียน https://admission.swu.ac.th
24 มีนาคม 2567 การสอบข้อเขียนวิชาเฉพาะสาขาวิชา สถานที่และวิธีการสอบจะแจ้งให้ทราบภายหลัง
2 เมษายน 2567 ทางอินเทอร์เน็ตที่
ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
https://admission.swu.ac.th
การสอบสัมภาษณ์ทุกสาขาวิชา
6 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ สถานที่และวิธีการสอบจะแจ้งให้ทราบภายหลัง
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
การสอบสัมภาษณ์วิชาเอกการแสดงและกากับการแสดง
7 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th

หมายเหตุ * สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ fofa@g.swu.ac.th


หรือสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลหรือปัญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ หลักสูตร/สาขาวิชา/วิชาเอก ได้ที่
ฝ่ายวิชาการและพัฒนาคุณภาพ คณะศิลปกรรมศาสตร์โทร. 0-2649-5496-7 หรือ 0-2260-0123 ต่อ 110, 122 และ 147
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-61- 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

รายละเอียดแนบท้าย
วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ทุกชั้นปี เรียนที่
สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารสังคม (หลักสูตร 2 ภาษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
- วิชาเอกการออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์และมัลติมเี ดีย กรุงเทพมหานคร
- วิชาเอกการจัดการธุรกิจไซเบอร์
- วิชาเอกนวัตกรรมคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
สาขาวิชาภาพยนตร์และสื่อดิจิทลั (หลักสูตร 2 ภาษา)
- วิชาเอกการผลิตภาพยนตร์และสื่อดิจิทลั
- วิชาเอกการแสดงและกากับการแสดงภาพยนตร์
- วิชาเอกการออกแบบเพื่องานภาพยนตร์และสื่อดิจิทลั
สาขาวิชานวัตกรรมการสื่อสาร (หลักสูตร 2 ภาษา)
- วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการท่องเที่ยว
- วิชาเอกการสื่อสารเพื่อสุขภาพ
- วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการจัดการนวัตกรรม
- วิชาเอกการสื่อสารเพื่อเศรษฐศาสตร์

หมายเหตุ หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับหลักสูตร/สาขาวิชา/วิชาเอก ติดต่อสอบถามได้ที่ วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม


โทร. 0-2649-5000 ต่อ 11268, 11269, 11270 ในวันและเวลาราชการ หรือส่ง E-mail มาได้ที่
prcosciswu@gmail.com หรือ Facebook : COSCI SWU

1. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา
1.1 สาเร็จการศึ กษาหรือกาลังศึ กษาในโรงเรียนหลั กสูตรแกนกลางการศึก ษาขั้นพื้ น ฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูต ร
นานาชาติ หรือโรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา หรือหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) หรือหลักสูตร GED และจะสาเร็จการศึกษา
ในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครจากหลักสูตรนานาชาติ / หลักสูตร GED ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การ
เทียบวุฒการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
1.2 มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1 รวม
5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
- หลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.): มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.00
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลี่ยทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.00
ทั้งนีจ้ ะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
1.3 จะต้องเป็นผู้มีความสามารถพิเศษ หรือโดดเด่นและมีความสอดคล้องในสาขาต่างๆ และมีประสบการณ์ในสาขาวิชาที่
สมัคร ตั้งแต่ระดับสถานศึกษาขึ้นไป
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-62- 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2. คุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา/วิชาเอก
2.1 สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารสังคม (หลักสูตร 2 ภาษา) วิชาเอกการออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์และมัลติมีเดีย
1) เป็นผู้มีทักษะด้านการวาดภาพ การออกแบบสื่อในรูปแบบต่างๆ
2) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่แสดงถึงคุณสมบัติตามข้อ 1) และ/หรือประสบการณ์ กิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับสาขาวิชา/วิชาเอก และผลงานด้านศิลปะอื่นๆ โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-level ประจาปีการศึกษา 2567 และการสอบเฉพาะสาขาวิชา ตามองค์ประกอบ
ค่าน้าหนักร้อยละ ของสาขาวิชา/วิชาเอก ดังนี้
การสอบเฉพาะสาขาวิชา
TGAT ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สอบข้อเขียน
สอบปฏิบัติ
ทฤษฎีเฉพาะสาขาวิชา
ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์
น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 1 10 1 30 1 20 1 20 1
2.2 สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารสังคม (หลักสูตร 2 ภาษา) วิชาเอกการจัดการธุรกิจไซเบอร์
1) เป็นผู้มีทักษะและมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับวิชาเอกการจัดการธุรกิจไซเบอร์
2) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่แสดงถึงคุณสมบัติตามข้อ 1) และ/หรือประสบการณ์ กิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับสาขาวิชา/วิชาเอก และผลงานด้ านธุรกิจออนไลน์ หรือธุรกิจ อิเล็กทรอนิ กส์ หรือการจัดการธุรกิจไซเบอร์
โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
TGAT ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขนั้ ต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

50 1 20 1 30 1
2.3 สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารสังคม (หลักสูตร 2 ภาษา) วิชาเอกนวัตกรรมคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
1) เป็นผู้มีทักษะและมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับวิชาเอกนวัตกรรมคอมพิวเตอร์เพื่อการสือ่ สาร อาทิ การพัฒนา
แอปพลิเคชัน เว็บไซต์ การออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ ฯลฯ
2) มี แ ฟ้ ม สะสมผลงาน (Portfolio) ที่ แ สดงถึ งคุ ณ สมบั ติ ต ามข้ อ 1) และ/หรื อ ประสบการณ์ กิ จ กรรมอื่ น ๆ
ที่เกีย่ วข้องกับสาขาวิชา/วิชาเอก โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบค่าน้าหนักร้อยละ วิชาเอก ดังนี้
TGAT ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า


(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

50 1 20 1 30 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-63- 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.4 สาขาวิชาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (หลักสูตร 2 ภาษา) วิชาเอกการผลิตภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล


1) เป็นผู้มีความสามารถพิเศษและมีประสบการณ์ด้านการผลิตภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
2) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ทางด้านภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล โดยนามาแสดงในวัน
สอบสัมภาษณ์
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-level ประจาปีการศึกษา 2567 และการสอบเฉพาะสาขาวิชา ตามองค์ประกอบ ค่า
น้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
การสอบเฉพาะสาขาวิชา
TGAT ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สอบข้อเขียนทฤษฎีเฉพาะ
สาขาวิชา
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

20 1 10 1 30 1 40 1
2.5 สาขาวิชาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (หลักสูตร 2 ภาษา) วิชาเอกการแสดงและกากับการแสดงภาพยนตร์
1) เป็นผู้มีความสามารถพิเศษด้านภาพยนตร์ ด้านการแสดง, การกากับการแสดง หรือการเขียนบท
2) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ทางด้านภาพยนตร์และสื่อดิจิทลั หรือด้านการแสดง
โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
3) มีผลการสอบเฉพาะสาขาวิชา ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ ดังนี้
การสอบเฉพาะสาขาวิชา
สอบข้อเขียนทฤษฎีเฉพาะสาขาวิชา
ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน)
100 1
2.6 สาขาวิชาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (หลักสูตร 2 ภาษา) วิชาเอกการออกแบบเพื่องานภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
1) เป็นผู้มีความสามารถพิเศษด้านภาพยนตร์ ด้านศิลปะการวาด การออกแบบเครื่องแต่งกาย การแต่งหน้าการออกแบบฉาก
หรือการออกแบบอื่นๆ
2) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ทางด้านภาพยนตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง โดยนามาแสดงในวัน
สอบสัมภาษณ์
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 และการสอบเฉพาะสาขาวิชา ตามองค์ประกอบ
ค่าน้าหนักร้อยละ ของสาขาวิชา/วิชาเอก ดังนี้
การสอบเฉพาะสาขาวิชา
TGAT ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สอบข้อเขียน
สอบปฏิบัติการ
ทฤษฎีเฉพาะสาขาวิชา
ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์
น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 1 10 1 30 1 20 1 20 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-64- 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

2.7 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการสื่อสาร (หลักสูตร 2 ภาษา)


วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการท่องเที่ยว / วิชาเอกการสื่อสารเพื่อสุขภาพ
วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการจัดการนวัตกรรม / วิชาเอกการสื่อสารเพื่อเศรษฐศาสตร์
1) เป็นผู้มีความสามารถพิเศษด้านทักษะการสื่อสารในรูปแบบต่างๆ การผลิตสื่อ การออกแบบสื่อ หรือทักษะที่
เกี่ยวเนื่องกับวิชาเอกที่สมัคร
2) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ทางด้านทักษะการสื่อสารรูปแบบต่างๆ ผลงานผลิตสื่อ
หรือประสบการณ์การร่วมกิจกรรมอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา/วิชาเอก โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
3) มี ผ ลการสอบ TGAT และ A-Level ประจ าปี ก ารศึ ก ษา 2567 ตามองค์ ป ระกอบค่ า น้ าหนั ก ร้ อ ยละ ของ
สาขาวิชา/วิชาเอก ดังนี้
TGAT ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า


(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

50 1 20 1 30 1
3. เกณฑ์การคัดเลือกของวิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
3.2 คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า
หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3.3 การสอบข้อเขียนวัดความรู้ทั่วไปและการสอบปฏิบัติการออกแบบ (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้คะแนนสอบข้อเขียน
วัดความรู้ทั่วไปเฉพาะสาขาวิชา / การสอบปฏิบัติการออกแบบ)
3.4 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
3.5 การสัมภาษณ์และสอบปฏิบตั ิ ตามเกณฑ์ทหี่ ลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-65- 1.2 โครงการผู้มีทักษะพิเศษ

4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
12 มีนาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบข้อเขียน
(เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนด)
การสอบข้อเขียนและการสอบปฏิบัติ
วิชาเอกการผลิตภาพยนตร์และสือ่ ดิจิทัล
วิชาเอกการแสดงและกากับการแสดงภาพยนตร์
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบฯ
24 มีนาคม 2567 09.00 – 11.00 น. สอบข้อเขียน
วิชาเอกการออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์และมัลติมีเดีย
วิชาเอกการออกแบบเพื่องานภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบฯ
09.00 – 11.00 น. สอบข้อเขียน
12.00 – 12.30 น. รายงานตัวสอบฯ
13.00 – 15.00 น. สอบปฏิบัติ สถานทีส่ อบ
2 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบทาง
เฉพาะวิชาเอกการแสดงและกากับการแสดงภาพยนตร์ อินเทอร์เน็ตที่
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
การสอบสัมภาษณ์
วิชาเอกการออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์และมัลติมีเดีย ให้นาวัสดุอุปกรณ์ตามทีแ่ ต่ละ
วิชาเอกการจัดการธุรกิจไซเบอร์ สาขาวิชา/วิชาเอกกาหนด
วิชาเอกนวัตกรรมคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร มาในวันสอบ
วิชาเอกการผลิตภาพยนตร์และสือ่ ดิจิทัล
27 เมษายน 2567 วิชาเอกการออกแบบเพื่องานภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการท่องเที่ยว
วิชาเอกการสื่อสารเพื่อสุขภาพ
วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการจัดการนวัตกรรม
วิชาเอกการสื่อสารเพื่อเศรษฐศาสตร์
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
วิชาเอกการแสดงและกากับการแสดงภาพยนตร์
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์
09.00 น. เป็นต้นไป สอบปฏิบัติ (ทดสอบการแสดง) และ
สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 - 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-66- 1.2 โครงการผู้มีทกั ษะพิเศษ
รายละเอียดแนบท้าย
วิทยาลัยอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ทุกชั้นปี เรียนที่
สาขาวิชาอัญมณีและเครื่องประดับ (หลักสูตร 2 ภาษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชาผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ (หลักสูตร 2 ภาษา)
สาขาวิชาแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องตกแต่ง (หลักสูตร 2 ภาษา)
1. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของสาขาวิชา
1.1 สาขาวิชาอัญมณีและเครื่องประดับ (หลักสูตร 2 ภาษา) / สาขาวิชาผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ (หลักสูตร 2 ภาษา)
1) สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตร
นานาชาติ หรือหลักสูตรอาชีวศึกษา หรือการศึกษาหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) หรือหลักสูตร GED และจะ
สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครจากหลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตร GED ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์
การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14
กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1
รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
- หลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.00
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลี่ยทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.00
ทั้งนีจ้ ะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
3) ต้องไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง โรคที่สังคมรังเกียจ โรคประจาตัว หรือความพิการต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
เล่าเรียนและการประกอบอาชีพ
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่นาเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาต้องไม่เกิน 3 ปีย้อนหลัง นับจากปีที่สมัคร
โดยสามารถออกแบบและสร้างสรรค์รูปแบบของแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ได้อย่างอิสระ (ดูรายละเอียด
การอัพโหลดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 67)
5) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level

1.2 สาขาวิชาแฟชัน่ สิ่งทอ และเครื่องตกแต่ง (หลักสูตร 2 ภาษา)


1) สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตร
นานาชาติ หรือหลักสูตรอาชีวศึกษา หรือการศึกษาหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) หรือหลักสูตร GED และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครจากหลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตร GED ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์
การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14
กันยายน 2566
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-67- 1.2 โครงการผู้มีทกั ษะพิเศษ
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1 รวม
5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
- หลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.00
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลี่ยทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.00
ทั้งนีจ้ ะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
3) ต้องไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง โรคที่สังคมรังเกียจ โรคประจาตัว หรือความพิการต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
เล่าเรียนและการประกอบอาชีพ
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดการอัพโหลดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน) ที่นาเสนอ
ให้ค ณะกรรมการพิ จารณาต้ องไม่ เกิ น 3 ปี ย้ อนหลัง นั บ จากปี ที่ สมั คร โดยให้ ระบุ วิชาโท และแสดงผลงานที่
เกี่ยวข้องกับแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องตกแต่ง ดังต่อไปนี้ ภายในแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
- ผู้ ส มั ค รที่ เลื อ กวิช าโทแฟชั่ น เครื่ อ งแต่ ง กาย ต้ อ งมี ผ ลงานแฟชั่ น เครื่ อ งแต่ งกายนั บ เป็ น สั ด ส่ ว น 100%
ของแฟ้มสะสมผลงาน
- ผู้สมัครที่เลือกวิชาโทสิ่งทอแฟชั่น ต้องมีผลงานสิ่งทอนับเป็นสัดส่วน 60% และ ผลงานแฟชั่นเครื่องแต่งกาย
นับเป็นสัดส่วน 40% ของแฟ้มผลงาน
- ผู้สมัครที่เลือกวิชาโทเครื่องตกแต่งแฟชั่น ต้องมีผลงานเครื่องตกแต่งแฟชั่นนับเป็นสัดส่วน 60% และผลงาน
แฟชั่นเครื่องแต่งกายนับเป็นสัดส่วน 40% ของแฟ้มผลงาน
นอกจากผลงานที่เกี่ยวข้องกับแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องตกแต่ง ที่สะสมมาก่อนหน้า ผู้สมัครจะต้องนาเสนอผลงาน
การออกแบบ อย่างน้อย 1 collection ตามกลุ่มวิชาโทที่ระบุ ภายใต้หัวข้อ BCG และ/หรือ ภูมิปัญญาไทย
ในแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ด้วย
5) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
2. การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF จานวน 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตั้งชื่อ
ไฟล์ เป็ น “ชื่ อตนเองเป็ นภาษาอังกฤษห้ามเว้นวรรค และห้ามมี อักขระพิเศษ” และอัพโหลดในระบบรับสมัครฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพั นธ์ 2567 (วันสุดท้ ายของการรับสมัคร) ระบบปิ ดเวลา
15.00 น. หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
3. เกณฑ์การคัดเลือกของวิทยาลัยอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
3.1 เป็นไปตามทีค่ ุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิส์ มัครและคุณสมบัตเิ ฉพาะของสาขาวิชากาหนด
3.2 แฟ้มประวัติและผลงาน (Portfolio)
3.3 ผลการสอบวิชาความถนัดทางด้านอัญมณีและเครื่องประดับ หรือ ความถนัดทางด้านผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ หรือ
ความถนัดทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องตกแต่ง (ตามสาขาวิชาที่สมัคร)
3.4 ผลการสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ทหี่ ลักสูตรกาหนด/สาขาวิชากาหนด
หมายเหตุ : ในการสอบข้อเขียนวิชาเฉพาะสาขาวิชาแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องตกแต่ง ขอให้ผู้สมัครสอบเตรียมอุปกรณ์
การวาดเขียน และสี ที่เหมาะสมกับงานออกแบบ ตามเทคนิคที่ตนเองถนัด
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-68- 1.2 โครงการผู้มีทกั ษะพิเศษ
4. เอกสารและหลักฐานประกอบการสอบสัมภาษณ์
4.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
4.2. ผลงาน (Portfolio) ที่รวบรวมผลงานทั้งหมดทีผ่ ่านมา เช่น ภาพสเก็ตช์ ผลงานจริง ผลงานภาพถ่าย งานสามมิติ VDO และ
ผลงานอืน่ ๆ ทีแ่ สดงให้เห็น ถึงความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์ ไม่จากัดรูปแบบและปริมาณ มหาวิทยาลัยขอสงวนสิทธิ์
ในการไม่คืนประวัติและผลงาน (Portfolio) แก่ผู้สมัครไม่ว่ากรณีใดๆ
หากผู้เข้าสอบไม่นาหลักฐานตามที่ โครงการ/สาขาวิชา/วิชาเอก กาหนด มาแสดงในวันสมัครและวันสอบจะถือว่า
ผู้สมัครขาดคุณสมบัติและจะถูกตัดสิทธิ์ในการสอบครั้งนี้
5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร ทางอินเทอร์เน็ตที่
12 มีนาคม 2567 ประกาศผลผู้สิทธิ์สอบข้อเขียน https://admission.swu.ac.th

สถานที่และวิธีการสอบจะแจ้งให้ทราบ
24 มีนาคม 2567 การสอบข้อเขียนวิชาเฉพาะสาขาวิชา
ภายหลัง
2 เมษายน 2567 ทางอินเทอร์เน็ตที่
ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
https://admission.swu.ac.th
การสอบสัมภาษณ์
สถานที่และวิธีการสอบจะแจ้งให้ทราบ
6 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์
ภายหลัง
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-69- 1.2 โครงการผู้มีทกั ษะพิเศษ
รายละเอียดแนบท้าย
คณะสังคมศาสตร์
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมสิ ารสนเทศ
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมสิ ารสนเทศ ทุกชั้นปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมสิ ารสนเทศ (โครงการพิเศษ) สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมสิ ารสนเทศ (โครงการพิเศษ)
ทุกชั้นปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
วันจันทร์ – วันศุกร์ เรียนเวลา 17.30 – 20.20 น.
วันเสาร์ หรือ วันอาทิตย์ เรียนเวลา 08.30 – 16.20 น.

1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1 กาลังศึกษาอยู่ในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
(ผู้ที่สาเร็จการศึกษาแล้วไม่มีสิทธิ์สมัคร)
1.2 จะต้องผ่านโครงการส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้า
พี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) ในสาขาวิชาภูมิศาสตร์ อย่างน้อย 1 ค่าย
หรือ ได้รับรางวัลจากเวทีการแข่งขันในระดับชาติ หรือ นานาชาติ ในหัวข้อที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาภูมิศาสตร์
1.3 มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
1.3.1 สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึ กษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1
รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.30 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
1.3.2 สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ (โครงการพิเศษ) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 –
6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.25 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
1.4 ต้องเป็นผู้มีสายตาปกติ : โดยจักษุแพทย์รับรองว่า “ไม่มีภาวะตาบอดสี พิการทางสายตา ข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสอง
ข้างอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา”
1.5 มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ที่แสดงคุณสมบัติตามข้อ 1.2 โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
1.6 ไมใชคะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะสังคมศาสตร์
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มสี ิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 แฟ้มประวัติและผลงาน (Portfolio)
2.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
2.4 ต้องเป็นผู้มสี ายตาปกติ ตาไม่บอดสี
3. เอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์
3.1 เอกสารตามประกาศฯ ข้อ 7 หน้า 5
3.2 แฟ้มประวัติและผลงาน (Portfolio)
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-70- 1.2 โครงการผู้มีทกั ษะพิเศษ
4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่
13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
การสอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-71- 1.2 โครงการผู้มีทกั ษะพิเศษ
รายละเอียดแนบท้าย
คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ทุกชั้นปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนา กรุงเทพมหานคร

1. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของสาขาวิชา
1.1 สาเร็จการศึ กษาหรือก าลั งศึ กษาในโรงเรียนหลักสู ตรแกนกลางการศึก ษาขั้น พื้ นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลัก สูต ร
นานาชาติ หรือหลักสูตรอาชีวศึกษา หรือหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) หรือหลักสูตร GED และจะสาเร็จการศึกษา
ในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครจากหลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตร GED ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง
เกณฑ์การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุด มศึกษา ประกาศ ณ
วันที่ 14 กันยายน 2566
1.2 มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้องรักษาระดับ
ผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรีย นหลักสู ตรอาชีว ศึกษา: มี คะแนนเฉลี่ยสะสมตั้ งแต่ ระดั บประกาศนี ยบั ตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1
รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษา
แล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้องรักษาระดับผล
การเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลี่ยทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.75
1.3 ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
1.4 ผู้สมัครต้องมีใบรับรองเกี่ยวกับประสบการณ์ในการทางานหรือฝึกประสบการณ์วิชาชีพกับสถานประกอบการทึ่เกี่ยวข้อง
กับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวโรงแรม หรือธุรกิจบริการอื่นๆ หรือ เคยประกวดแข่งขันทักษะด้านการท่องเที่ยวโรงแรม หรือ
อุตสาหกรรมบริการอื่นๆ และได้รับรางวัลหรือใบประกาศเกียรติคุณการรับรองการประกวดแข่งขันในระดับสถานศึกษา
ระดับจังหวัด ระดับเขต ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ หรือ ระดับนานาชาติ (โดยแสดงมาในแฟ้มสะสมผลงาน)
1.5 ต้องไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง โรคที่สังคมรังเกียจ โรคประจาตัว หรือความพิการต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษาเล่าเรียน
และการประกอบอาชีพ
1.6 ให้ผู้สมัครจัดทาและส่งแฟ้มประวัติและผลงาน (Portfolio) จานวนเอกสารไม่เกิน 10 หน้ากระดาษ A4 (ไม่รวมปกและ
เอกสารประกอบการสมัครอื่นๆ) โดยสามารถออกแบบและสร้างสรรค์รูปแบบของแฟ้มประวัติและผลงาน (Portfolio) ได้
อย่างอิสระ มหาวิทยาลัยขอสงวนสิทธิ์ในการไม่คืนแฟ้มประวัติและผลงาน (Portfolio) แก่ผู้สมัครไม่ว่ากรณีใดๆ ผลงาน
ที่นาเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาต้องไม่เกิน 3 ปีย้อนหลังนับจากปีที่สมัคร
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน ในรูปแบบ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตั้งชื่อไฟล์ เป็น “ชื่อตนเอง
เป็ น ภ าษ าอั งก ฤ ษ ห้ าม เว้ น ว รรค แ ล ะ ห้ าม มี อั ก ข ระ พิ เศ ษ ” แ ล ะ อั พ โห ล ด ใน ระ บ บ รั บ ส มั ค ร ฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวัน ที่ 29 กุ มภาพั นธ์ 2567 (วันสุ ดท้ ายของการรั บสมั คร) ระบบปิ ดเวลา
15.00 น. หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-72- 1.2 โครงการผู้มีทกั ษะพิเศษ
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
2.1 เป็นไปตามทีค่ ุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของสาขาวิชกาหนด
2.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
2.3 การสัมภาษณ์และทดสอบความรู้เฉพาะสาขาวิชา ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3. เอกสารที่ต้องนามาในวันสอบสัมภาษณ์
แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ควรระบุข้อมูล หรือเอกสาร หรือรูปถ่ายแสดงผลงานวิชาการ กิจกรรมและผลงานที่เกี่ยวกับ
สาขาวิชา และกิจกรรมเพื่อส่วนรวมหรือเพื่อสาธารณประโยชน์อื่นๆ คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่อง เที่ยวเชิงนิเวศ
ขอสงวนสิทธิ์ที่จะไม่คืนแฟ้มประวัติและผลงานแก่ผู้สมัครไม่ว่าในกรณีใดๆ ดังนั้นผู้สมัครควรส่งภาพถ่ายและเอกสาร
ฉบับสาเนาเท่านั้น พร้อมระบุข้อความ “ใช้เพื่อสมัครเข้าศึกษาที่ มศว ปีการศึกษา 2567 เท่านั้น” ทุกหน้า ให้เก็บข้อมูล
ที่เป็นตัวจริงไว้เป็นเกียรติประวัติของตนเอง
4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก

วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่


13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
2 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
การสอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
6 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-73- 1.2 โครงการผู้มีทกั ษะพิเศษ
รายละเอียดแนบท้าย
คณะมนุษยศาสตร์
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
ทุกชั้นปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ทุกชั้นปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ) วันจันทร์ – วันศุกร์ เรียนเวลา 17.30 – 20.20 น.
- วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาเยอรมัน (โครงการพิเศษ) วันเสาร์ หรือ วันอาทิตย์ เรียนเวลา 08.30 – 16.20 น.

1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1 สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน
1) สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้ นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรีย น
หลักสูตรนานาชาติ หรือหลักสูตรอาชีวศึกษา หรือหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) หรือหลักสูตร GED และจะ
สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครจากหลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตร GED ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศ
ไทย เรื่อ ง เกณฑ์ ก ารเที ย บวุ ฒิ ก ารศึ ก ษาเท่ า กั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายในระบบการคั ด เลื อ กกลางบุ ค คลเข้ า ศึ ก ษาใน
สถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1
รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จ
การศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.) : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษา
ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลี่ยทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.50
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 74)
4) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level

1.2 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ)


วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาเยอรมัน (โครงการพิเศษ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ: ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบ
วุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-74- 1.2 โครงการผู้มีทกั ษะพิเศษ
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม โดยจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนน
เฉลี่ยสะสมทั้งหมด) ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6): มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาค
เรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75
- โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาค
การศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75
3) เฉพาะผู้กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีคะแนนเฉลีย่ สะสมเฉพาะกลุ่มสาระ
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ไม่ต่ากว่า 3.00
4) มีผลการทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ อย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งนี้ผลคะแนนต้องมีอายุไม่เกิน 2 ปี นับจากวันที่
ทดสอบจนถึงวันสอบสัมภาษณ์ ดังนี้
ผลคะแนน TOEFL - Internet-based Test: (IBT) ไม่ต่ากว่า 61 คะแนน หรือ
- Computer-based Test: (CBT) ไม่ต่ากว่า 173 คะแนน หรือ
ผลคะแนน IELTS ไม่ต่ากว่า 5.0 คะแนน หรือ
ผลคะแนน TOEIC ไม่ต่ากว่า 500 คะแนน หรือ
ผลคะแนน SWU-SET ไม่ต่ากว่า 65 คะแนน
5) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน)
6) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
2. การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตั้งชื่อไฟล์ เป็น “ชื่อ
ตน เอ งเป็ น ภ าษ าอั งก ฤ ษ ห้ าม เว้ น วรรค แล ะห้ าม มี อั ก ข ระพิ เศษ ” แ ล ะอั พ โห ล ด ใน ระ บ บ รั บ ส มั ค รฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น.
หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
3. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะมนุษยศาสตร์
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
3.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
3.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
4. เอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์ เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่
13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
การสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์ ทางเว็บไซต์ ทปอ.
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-75- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
การคัดเลือกเข้าเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี ประจาปีการศึกษา 2567 TCAS รอบที่ 2 Quota
โครงการความร่วมมือ “โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และโรงเรียนในเครือข่ายฯ”
------------------------------------
เป็นโครงการที่เปิดโอกาสให้กับนักเรียนที่กาลังศึกษาในโรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
และโรงเรียนในเครือข่ายที่มีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย ได้แก่
1.โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม)
2.โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
3.โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์
4.โรงเรียนเทศบาล 5 เด่นหล้า จังหวัดเชียงราย
5.โรงเรียนเทศบาล 6 นครเชียงราย จังหวัดเชียงราย
6.โรงเรียนเทศบาลปลูกปัญญาในพระอุปถัมภ์ฯ จังหวัดภูเก็ต
7.โรงเรียนสหกรณ์ประชานุกูล จังหวัดชุมพร
8.โรงเรียนบ้านทับวัง จังหวัดชุมพร
9.โรงเรียนชิตใจชื่น จังหวัดปราจีนบุรี
รับสมัคร: ระหว่างวันที่ 13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 (ปิดระบบรับสมัครเวลา 15.00 น.)
1. โครงการความร่วมมือ “โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และโรงเรียนในเครือข่าย” (รหัสกลุ่มสาขา 163)
รหัส จานวนรับ
ที่ คณะ / หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก หน้า
สาขาวิชา (คน)
คณะมนุษยศาสตร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
1 สาขาวิชาจิตวิทยา 01001 6 79 - 81
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
2 สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา 01021 20 79 - 81
3 สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน 01131 3 79 - 81
คณะแพทยศาสตร์
4 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต 07001 3
รับผู้สมัครจากโรงเรียนสาธิต มศว องครักษ์ , โรงเรียนสาธิต มศว ปทุมวัน และโรงเรียนสาธิต มศว 82 - 84
ประสานมิตร เท่านั้น
คณะพยาบาลศาสตร์
5 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต 06001 10 85 - 92
ได้รับการรับรองมาตรฐานตามเกณฑ์ ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
รับผู้สมัครจากโรงเรียนสาธิต มศว องครักษ์ จานวน 5 คน
รับผู้สมัครจากโรงเรียนสาธิต มศว ปทุมวัน, ประสานมิตร และโรงเรียนในเครือข่ายอื่นฯ จานวน 5 คน
คณะกายภาพบาบัด
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
6 สาขาวิชากายภาพบาบัด 67001 1 93 - 94
ได้รับการรับรองมาตรฐานตามเกณฑ์ ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
7 สาขาวิชากิจกรรมบาบัด 67003 1 93 - 94
คณะทันตแพทยศาสตร์
8 หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต 11001 4 95 - 97
คณะเภสัชศาสตร์
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต
9 วิชาเอกเภสัชกรรมอุตสาหการ * 12010 2 98 - 99
ได้รับการรับรองมาตรฐานตามเกณฑ์ ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
รับผู้สมัครจากโรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร, องครักษ์, ปทุมวัน เท่านั้น
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-76- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รหัส จานวนรับ
ที่ คณะ / หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก หน้า
สาขาวิชา (คน)
คณะวิทยาศาสตร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
10 สาขาวิชาคณิตศาสตร์ 02001 5 100 - 104
11 สาขาวิชาเคมี 02002 2 100 - 104
12 สาขาวิชาชีววิทยา 02003 2 100 - 104
13 สาขาวิชาฟิสิกส์ 02004 2 100 - 104
14 สาขาวิชาสถิติ 02008 2 100 - 104
15 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 02030 1 100 - 104
16 สาขาวิชาจุลชีววิทยา 02014 1 100 - 104
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
17 สาขาวิชาชีววิทยา (กศ.บ) 02104 1 100 - 104
18 สาขาวิชาเคมี (กศ.บ) 02105 2 100 - 104
คณะสังคมศาสตร์
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
19 สาขาวิชาประวัติศาสตร์ 03001 3 105 - 108
สาขาวิชาสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา
20 วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง 03115 3 105 - 108
21 วิชาเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา 03116 3 105 - 108
22 หลักสูตรนิตศิ าสตรบัณฑิต 03117 8 105 - 108
หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต
23 วิชาเอกการเมืองการปกครอง 03110 1 105 - 108
24 วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์ 03108 1 105 - 108
25 วิชาเอกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 03109 1 105 - 108
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
26 สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมสิ ารสนเทศ 03102 7 105 - 108
คณะพลศึกษา
27 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาผู้นานันทนาการ 04007 3 109 - 110
28 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา (กศ.บ.) 04101 1 109 - 110
คณะวิศวกรรมศาสตร์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
29 สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 09002 3 111 - 114
30 สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา 09004 3 111 - 114
31 สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 09005 2 111 - 114
32 สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ 09011 2 111 - 114
33 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 09012 3 111 - 114
34 สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า วิชาเอกวิศวกรรมไฟฟ้ากาลัง 09013 1 111 - 114
35 สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า วิชาเอกวิศวกรรมโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ 09024 1 111 - 114
36 สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ (หลักสูตร 2 ภาษา) 09015 1 111 - 114
37 สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 09018 1 111 - 114
38 สาขาวิชาวิศวกรรมคอนเสิร์ตและมัลติมีเดีย (หลักสูตรนานาชาติ) 09019 1 111 - 114
39 สาขาวิชาวิศวกรรมด้านความปลอดภัยไซเบอร์ (หลักสูตรนานาชาติ) 09026 1 111 - 114
คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม
40 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต 68001 1 115 – 116
41 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ 68005 15 115 - 116
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-77- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รหัส จานวนรับ
ที่ คณะ / หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก หน้า
สาขาวิชา (คน)
คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
42 สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนา 66006 5 117
คณะเศรษฐศาสตร์
43 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต 49001 5 118 – 119
44 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) 49002 5 118 – 119
วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารสังคม (หลักสูตร 2 ภาษา)
45 วิชาเอกการออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์และมัลติมเี ดีย 30001 2 120 - 124
46 วิชาเอกการจัดการธุรกิจไซเบอร์ 30002 2 120 - 124
47 วิชาเอกนวัตกรรมคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร 30021 2 120 - 124
สาขาวิชาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (หลักสูตร 2 ภาษา)
ได้รับการรับรองมาตรฐานตามเกณฑ์ ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
48 วิชาเอกการผลิตภาพยนตร์และสื่อดิจิทลั 30016 2 120 - 124
49 วิชาเอกการแสดงและกากับการแสดงภาพยนตร์ 30013 2 120 - 124
50 วิชาเอกการออกแบบเพื่องานภาพยนตร์และสื่อดิจิทลั 30017 2 120 - 124
51 วิชาเอกการจัดการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล 30022 2 120 - 124
สาขาวิชานวัตกรรมการสื่อสาร (หลักสูตร 2 ภาษา)
52 วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการท่องเที่ยว 30009 2 120 - 124
53 วิชาเอกการสื่อสารเพื่อสุขภาพ 30010 2 120 - 124
54 วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการจัดการนวัตกรรม 30011 2 120 - 124
55 วิชาเอกการสื่อสารเพื่อเศรษฐศาสตร์ 30019 2 120 - 124
วิทยาลัยนานาชาติเพื่อศึกษาความยั่งยืน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
56 สาขาวิชาการจัดการภาคบริการและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (หลักสูตรนานาชาติ) 70008 5 125
วิทยาลัยอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
57 สาขาวิชาอัญมณีและเครื่องประดับ (หลักสุตร 2 ภาษา) 69001 2 126 - 127
ได้รับการรับรองมาตรฐานตามเกณฑ์ ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
58 สาขาวิชาผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ (หลักสุตร 2 ภาษา 69002 2 126 - 127
59 สาขาวิชาแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องตกแต่ง (หลักสุตร 2 ภาษา)
รับเฉพาะผู้สมัครจากโรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร แผนการเรียนแฟชั่น เท่านั้น 69003 5 126 - 127
รับผู้สมัครที่เลือกวิชาโทเครื่องแต่งกาย จานวน 3 คน , วิชาโทสิ่งทอแฟชั่น จานวน 1 คน
และวิชาโทเครื่องตกแต่งแฟชั่น จานวน 1 คน
วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการภูมสิ ังคมและวัฒนธรรม
60 วิชาเอกการจัดการภูมสิ ังคม 47001 3 128 - 129
61 วิชาเอกการจัดการภูมิวัฒนธรรม 47002 3 128 - 129
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชานวัตกรรมเกษตรและการจัดการลุ่มน้าอย่างยั่งยืน
62 วิชาเอกนวัตกรรมเกษตร 47005 5 128 - 129
63 วิชาเอกการจัดการลุ่มนาอย่างยั่งยืน 47006 5 128 - 129
รวม 201
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-78- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย

2. โครงการความร่วมมือ “โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และโรงเรียนในเครือข่าย" (โครงการพิเศษ) (รหัสกลุ่มสาขา210)


รหัส จานวนรับ
ที่ คณะ / หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก หน้า
สาขาวิชา (คน)
คณะมนุษยศาสตร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
1 สาขาวิชาจิตวิทยา (โครงการพิเศษ) 01001 3 79 - 81
สาขาวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ)
2 วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาเยอรมัน (โครงการพิเศษ) 01127 5 79 - 81
คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม
I3 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (โครงการพิเศษ) 68001 1 115 - 116
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
I4 วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ (โครงการพิเศษ) 68005 5 115 - 116
คณะสังคมศาสตร์
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
I5 สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (โครงการพิเศษ) 03001 3 105 - 108
สาขาวิชาสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา
I6 - วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง (โครงการพิเศษ) 03115 2 105 - 108
I7 - วิชาเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา (โครงการพิเศษ) 03116 2 105 - 108
I8 หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (โครงการพิเศษ) 03117 8 105 - 108
หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต
I9 วิชาเอกการเมืองการปกครอง (โครงการพิเศษ) 03110 1 105 - 108
10 วิชาเอกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (โครงการพิเศษ) 03109 1 105 - 108
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
11 สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมสิ ารสนเทศ (โครงการพิเศษ) 03102 4 105 - 108
รวม 35

3. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัคร
เป็นนักเรียนที่กาลังศึกษาในโรงเรียนสาธิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และโรงเรียนในเครือข่ายที่ทาความร่วมมือกับ
มหาวิทยาลัย ได้แก่
1.โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม)
2.โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
3.โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์
4.โรงเรียนเทศบาล 5 เด่นหล้า จังหวัดเชียงราย
5.โรงเรียนเทศบาล 6 นครเชียงราย จังหวัดเชียงราย
6.โรงเรียนเทศบาลปลูกปัญญาในพระอุปถัมภ์ฯ จังหวัดภูเก็ต
7.โรงเรียนสหกรณ์ประชานุกูล จังหวัดชุมพร
8.โรงเรียนบ้านทับวัง จังหวัดชุมพร
9.โรงเรียนชิตใจชื่น จังหวัดปราจีนบุรี
สาหรับคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละหลักสูตร/สาขาวิชา/วิชาเอก ให้เป็นไปตามรายละเอียดแนบท้าย
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-79- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
คณะมนุษยศาสตร์
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ทุกชันปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชาจิตวิทยา
สาขาวิชาจิตวิทยา (โครงการพิเศษ) ทุกชันปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต วันจันทร์ – วันศุกร์ เรียนเวลา 17.30 – 20.20 น.
สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วันเสาร์ หรือ วันอาทิตย์ เรียนเวลา 08.30 – 16.20 น.
สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน
สาขาวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ)
- วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาเยอรมัน (โครงการพิเศษ)

1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา / สาขาวิชาจิตวิทยา (โครงการพิเศษ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปี การศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT เลือก คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
หรือ คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
50 30 10 20 10 20 10 20 20 20
1.2 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT
สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
30 1 30 1 20 1 20 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-80- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย

1.3 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปี การศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน)
4) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
1.4 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ)
วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาเยอรมัน (โครงการพิเศษ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และมี
คะแนนเฉลีย่ สะสมในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้องรักษาระดับ
ผลการเรียนจนจบการศึกษา
3) มีผลการทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ อย่างใดอย่างหนึ่ง ทังนีผลคะแนนต้องมีอายุไม่เกิน 2 ปี นับจากวันที่
ทดสอบจนถึงวันสอบสัมภาษณ์ ดังนี
ผลคะแนน TOEFL - Internet-based Test: (IBT) ไม่ต่ากว่า 61 คะแนน หรือ
- Computer-based Test: (CBT) ไม่ต่ากว่า 173 คะแนน หรือ
ผลคะแนน IELTS ไม่ต่ากว่า 5.0 คะแนน หรือ
ผลคะแนน TOEIC ไม่ต่ากว่า 500 คะแนน หรือ
ผลคะแนน SWU-SET ไม่ต่ากว่า 65 คะแนน
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน)
5) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
2. การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้แฟ้มสะสมผลงาน)
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตังชื่อไฟล์ เป็น “ชื่อ
ต น เอ งเป็ น ภ าษ าอั งก ฤ ษ ห้ าม เว้ น วรรค แ ล ะ ห้ าม มี อั ก ข ระพิ เศ ษ ” แ ล ะอั พ โห ล ด ใน ระบ บ รั บ ส มั ค รฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น.
หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
3. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะมนุษยศาสตร์
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
3.2 คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า
ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้คะแนน)
3.3 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ส่งแฟ้มสะสมผลงาน)
3.4 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
4. เอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์
4.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
4.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ฉบับจริง (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้แฟ้มสะสมผลงาน)
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-81- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่
13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
27 เมษายน 2567 การสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-82- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
คณะแพทยศาสตร์
สถานที่เรียนคณะแพทยศาสตร์ มี 2 แห่ง ดังนี้
1) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตังอยู่ที่ถนนสุขุมวิท 23 (ประสานมิตร) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ
2) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ ตังอยู่ที่ อาเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก
ผู้สอบผ่านการคัดเลือกและรายงานตัวเข้าเป็นนิสิตมีสถานที่เรียน ดังนี
ชันปีที่ 1-3 เรียนที่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร กรุงเทพฯ
ชันปีที่ 4-6 เรียนที่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ อาเภอองครักษ์
จังหวัดนครนายก และศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน จังหวัดนนทบุรี
1. คุณสมบัติเฉพาะของหลักสูตรแพทยศาสตร์
1.1 เป็นนักเรียนที่มสี ัญชาติไทย ที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) จากโรงเรียนดังต่อไปนี
- โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ (ฝ่ายมัธยม)
- โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม)
- โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
1.2 มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.25 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
1.3 ต้องผ่านการเข้าร่วมโครงการรับนักเรียนมัธยมศึกษาชันปีที่ 6 ฝึกประสบการณ์ในโรงพยาบาล เพื่อเตรียมความพร้อมเข้า
ศึกษาต่อหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ประจาปี 2566
1.4 มีผลการสอบ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 เคมี ชีววิทยา สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์
นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 30 20 30 20 30 10 30 10 30 20 30
1.5 คุณสมบัติทั่วไป ตามประกาศของ กสพท. เรื่องคุณสมบัติเฉพาะของผู้สมัครเข้าศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับ
พ.ศ. 2559 (ตามเอกสารแนบท้าย)
ก่ อ นเข้ า ศึ ก ษาต้ อ งสามารถท าสั ญ ญาผู ก พั น ฝ่ า ยเดี ย วหรื อ สั ญ ญาปลายเปิ ด ตามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี เมื่ อ วั น ที่
21 กั น ยายน 2564 ที่ ก าหนดให้ “นั ก ศึ ก ษาแพทย์ ทุ ก คนต้ อ งท าสั ญ ญาเป็ น ข้ อ ผู ก พั น ว่า เมื่ อ ส าเร็จ การศึ ก ษาตามหลั ก สู ต ร
แพทยศาสตรบัณฑิ ตและได้รับใบอนุญ าตประกอบวิชาชีพเวชกรรม จึงจัดสรรให้ไปปฏิบัติงานชดใช้ทุน และต้องทางานให้แก่
ราชการเป็นเวลา 3 ปี” ตามระเบียบและเงื่อนไขของรัฐบาลกับมหาวิทยาลัย แต่ไม่ได้ผูกพันให้ส่วนราชการต้องบรรจุเข้ารับราชการ
หรือเป็นพนักงานในหน่วยงานของรัฐและต้องไม่มีโรค ความพิการ หรือปัญหาต่อไปนี
1) ความพิกลพิการของร่างกายที่ทาให้เสียบุคลิกลักษณะ
2) ปัญหาทางสุขภาพจิตและบุคลิกภาพ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาและการเป็นแพทย์ในอนาคต
3) ภาวะติดสารเสพติดให้โทษหรือโรคพิษสุราเรือรัง
4) โรคติดเชือในระยะติดต่อและอันตรายอันเป็ นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงานในการเป็นแพทย์ เช่น วัณโรค โรค
เรือน โรคเท้าช้าง โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง เป็นต้น
5) โรคไม่ ติ ด ต่ อ ที่ ยั ง ไม่ ส ามารถควบคุ ม ด้ ว ยการรั ก ษาได้ ซึ่ ง เป็ น อุ ป สรรคต่ อ การศึ ก ษาและการปฏิ บั ติ ง าน
ในการเป็นแพทย์ เช่น โรคลมชัก โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง โรคไต โรคเบาหวาน เป็นต้น
6) โรคหรือความพิการอื่นๆ ซึ่งมิได้ระบุไว้ ที่คณะกรรมการแพทย์ตรวจร่างกายเห็นว่าเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-83- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย

2. เอกสาร/หลักฐานประกอบการสมัคร
2.1 ผู้สมัครต้องจัดทาเป็น แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ในรูปแบบไฟล์ pdf ประกอบด้วยหัวข้อดังต่อไปนี (ความยาวไม่เกิน
10 หน้ากระดาษ A4)
- ประวัติส่วนตัว
- ประวัติการศึกษา
- จดหมายแนะนาตัวเองที่ใช้แสดงความมุ่งมั่นตังใจที่จะเข้ามหาวิทยาลัย (statement of purpose)
- ผลงานด้านการวิจัย การสร้างสรรค์นวัตกรรม หรือรางวัลที่ได้รับในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา สาเนาผลงานในอดีต เกียรติบัตร
หรือใบประกาศเกียรติคุณด้านการเรียนและด้านอื่นๆ ผู้สมัครลงลายมือชื่อ-สกุลรับรองเอกสารถูกต้องทุกฉบับ
- ความรู้ความสามารถพิเศษ สาเนาหนังสือหรือเอกสารรับรองการเข้าร่วมกิจกรรมทางการแพทย์ หรือจิตสาธารณะ
กิจกรรมวิชาการอื่น ๆ ผู้สมัครลงลายมือชื่อ-สกุลรับรองเอกสารถูกต้องทุกฉบับ
2.2 หนังสือรับรองการผ่านโครงการรับสมัครนักเรียนมัธยมศึกษาชันปีที่ 6 ฝึกประสบการณ์ในโรงพยาบาล เพื่อเตรียมความ
พร้อมเข้าศึกษาต่อหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2.3 สาเนาบัตรประจาตัวประชาชนด้านหน้าที่มีรูปผู้สมัคร บนกระดาษ A4 ผู้สมัครลงลายมือชื่อ-สกุลรับรองเอกสารถูกต้อง
แล้วแสกนเป็นไฟล์นามสกุล .jpg หรือ .pdf ขนาดภาพเท่ากับ A4 ขนาดไฟล์ไม่เกิน 2 MB
2.4 สาเนาทะเบียนบ้าน บนกระดาษ A4 ผู้สมัครลงลายมือชื่อ-สกุลรับรองเอกสารถูกต้อง แล้วแสกนเป็นไฟล์นามสกุล .jpg
หรือ .pdf ขนาดภาพเท่ากับ A4 ขนาดไฟล์ไม่เกิน 2 MB
2.5 สาเนาใบรับรองการศึกษาหรือใบระเบียนการศึกษา (transcript) ระดับชันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่สถานศึกษาออกให้ พร้อม
ทังมีข้อความหรือเอกสารที่ระบุคะแนนเฉลี่ยสะสม บนกระดาษ A4 ผู้สมัครลงลายมือชื่อ-สกุลรับรองเอกสารถูกต้องทุก
หน้า แล้วแสกนเป็นไฟล์นามสกุล .jpg หรือ .pdf ขนาดภาพเท่ากับ A4 ขนาดไฟล์ไม่เกิน 2 MB
2.6 รูปถ่ายดิจิทัลของผู้สมัคร (ถ่ายมาไม่เกิน 6 เดือน) เป็นภาพเดี่ยว พืนหลังสี ขาวหรือสีนาเงิน หน้าตรงเต็มหน้า สวมชุด
สุภาพ ไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่น และจะต้องไม่ถูกปรับแต่งทางดิจิทัล เป็นไฟล์นามสกุล .jpg โดยมีขนาดความกว้าง 180-
500 พิกเซล ความสุง 200-600 พิกเซล ขนาดของไฟล์ไม่เกิน 240 KB
2.7 รูปหลักฐานการชาระเงินค่าสมัครสอบ (Slip โอนเงิน) พร้อมลงลายมือชื่อ-สกุลรับรองเอกสารถูกต้อง แล้วแสกนเป็นไฟล์
นามสกุล .jpg หรือ .pdf ขนาดภาพเท่ากับ A4 ขนาดไฟล์ไม่เกิน 2 MB
ผู้สมัครต้องแนบส่งเอกสาร/หลักฐานประกอบการสมัครทั้งหมด ข้อ 2.1) – 2.7) ในรูปแบบไฟล์ดิจิทัล
(PDF) ผ่านทางหน้าเว็บไซด์ คณะแพทยศาสตร์ www.med.swu.ac.th ภายในวันที่ 4 มีนาคม 2567
หากมีข้อสงสัยสามารถสอบถามเพิ่มเติมทางโทรศัพท์หมายเลข 037 395 451-5 ต่อ 60414-5
3. เกณฑ์การคัดเลือก
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัคร และคุณสมบัติเฉพาะของหลักสูตรแพทยศาสตร์
3.2 การพิจารณาแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
3.3 คะแนนการประเมินการเข้าร่วมโครงการรับสมัครนักเรียนมัธยมศึกษาชันปีที่ 6 เตรียมความพร้อมเข้าศึกษาต่อหลักสูตร
แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อฝึกประสบการณ์ในโรงพยาบาล ประจาปี 2566
3.4 คะแนน A-level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่าที่กาหนด
3.5 การสอบสัมภาษณ์ตามหลักเกณฑ์ที่หลักสูตรกาหนด
4. เอกสารที่ต้องนาไปในวันสอบสัมภาษณ์
บัตรประจาตัวประชาชน หรือ หนังสือเดินทาง (Passport) หรือ บัตรที่มีรูปถ่ายที่ทางราชการออกให้ กรณีผู้เข้าสอบไม่นา
เอกสารดังกล่าวข้างต้น มาแสดงในวันสอบ มหาวิทยาลัยจะไม่อนุญาตให้เข้าสอบไม่ว่ากรณีใด ๆ ทังสิน และจะถูกตัดสิทธิ์ในการ
สอบครังนี
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-84- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย

5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
การสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
08.00 – 08.30 น. รายงานตัว https://admission.swu.ac.th
25 เมษายน 2567
09.00 น. เป็นต้นไป ทดสอบทัศนคติทางการแพทย์ และ
ตรวจร่างกาย สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-85- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
คณะพยาบาลศาสตร์
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ทุกชันปี เรียนที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดนครนายก

1. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัคร
ผู้สมัครจะต้องกาลังศึกษาในโรงเรียนสาธิตมหาวิท ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน โรงเรียนเทศบาล 5 เด่นหล้า โรงเรียนเทศบาล 6
นครเชียงราย โรงเรียนเทศบาลปลูกปัญญาในพระอุปถัมภ์ฯ โรงเรียนสหกรณ์ประชานุกูล โรงเรียนบ้านทับวัง และโรงเรียนชิตใจชื่น
โดยรั บ ผู้ ส มั ค รจากโรงเรี ย นสาธิ ต มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โรฒ องครั ก ษ์ จ านวน 5 คน และจากโรงเรี ย นสาธิ ต
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน, ประสานมิตร และโรงเรียนในเครือข่ายอื่นๆ จานวน 5 คน
2. คุณสมบัติเฉพาะหลักสูตรพยาบาลศาสตร์
2.1 กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2.2 จะต้ อ งมี ค ะแนนเฉลี่ ย สะสมตลอดหลั ก สู ต ร (GPAX) ไม่ ต่ ากว่ า 2.50 และต้ อ งมี ค ะแนนเฉลี่ ย สะสมในแต่ ล ะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ากว่า 2.50
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ากว่า 2.50
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ากว่า 2.50
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ากว่า 2.50
2.3 มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT
คณิตศาสตร์ประยุกต์1 ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ประยุกต์
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (%) (%) (%) (%) (%) (%) (%)
30 1 20 1 20 25 30 1
และมีผลรวมของคะแนนรวมทังหมดต้องไม่น้อยกว่า 35 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน)
วิชาชีพการพยาบาล เป็นวิชาชีพเพื่อบริการด้านสุขภาพต่อบุคคล ครอบครัว กลุ่มคนและชุมชน โดยยึดหลักองค์รวม
ครอบคลุมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและปัญหาสุขภาพ การรักษาพยาบาลในภาวะเจ็บป่วย และการฟื้นฟูสภาพ
การศึกษาวิชาชีพการพยาบาลจึงประกอบด้วยการศึกษาภาคทฤษฎีในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ และการศึกษาภาคฝึกปฏิบัติใน
สถานการณ์จริง ทังในชุมชนและในหอผู้ป่วยในสถานบริการสุขภาพ ทังยังต้องฝึกปฏิบัติครอบคลุมสถานการณ์จริงนอกเวลา
ราชการในภาคบ่ายและดึกเพื่อให้ครอบคลุมภารกิจซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์จะต้องปฏิบัติจริงเมื่อสาเร็จ
การศึกษา จึงเป็นการศึกษาที่ต้องใช้เวลามากและหนัก ผู้ศึกษาวิชาชีพการพยาบาลจึงต้องมีคุณสมบัติสาคัญ คือ นอกจากจะต้อง
เป็นผู้มีสติปัญญาความสามารถในการคิด การตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมแล้ว ยังต้องมีบุคลิกน่าเชื่อถือ มีจิตใจอ่อนโยน มีความ
เมตตา มีความรับผิดชอบสูง มีความสามารถในการสื่อสาร และมนุษยสัมพันธ์ดี มีความสมบูรณ์ทังร่างกายและจิตใจ จึงจะสามารถ
ช่วยเหลือและให้บริการต่อผู้รับบริการได้อย่างถูกต้อง มีคุณภาพและเหมาะสม ฉะนันเพื่อจะให้ได้พยาบาลในอนาคตที่มีคุณภาพ
สาหรับปฏิบัติหน้าที่สนองความต้องการของสังคมและประเทศชาติอย่างมีประสิทธิภาพ
ทั้งนี้ เมื่อผู้สมัครได้รับคัดเลือกเข้าศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตแล้ว จะต้องปฏิบัติตามแนวทางการเตรียม
ตัวด้านสุขภาพก่อนการศึกษาภาคปฏิบัติตามที่แหล่งฝึกภาคปฏิบัติกาหนด
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จึงจาเป็นต้องมีการทดสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ
ตรวจร่างกาย และสอบสัมภาษณ์ เพื่อดาเนินการตรวจคัดเลือกผู้ประสงค์จะเข้าศึกษาที่ผ่านการคัดเลือกเป็นผู้มีสิทธิ์เข้าสอบ
สัมภาษณ์ และจะนาผลดังกล่าวมาประกอบในการตัดสินด้วย โดยกาหนดเกณฑ์ดังนี้
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-86- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
1. ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกมีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์จะต้องทดสอบทางจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ (ผู้เข้าสอบจะต้อง
รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการทดสอบทางจิตวิทยาและสอบทักษะทางวิชาชีพ โดยให้เตรียมดินสอดา HB และยางลบ)
2. ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกมีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์จะต้องตรวจร่างกายมาล่วงหน้า ให้นาใบรับรองแพทย์แสดงผลการ
ตรวจร่างกาย และผลการอ่านฟิล์มเอ็กซเรย์ทรวงอก (ที่ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน นับถึงวันสอบสัมภาษณ์) ที่ลงนามรับรองโดยแพทย์
โรงพยาบาลรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน มายื่นในวันสอบว่าเป็นผู้ที่มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทังร่างกายและจิตใจ ปราศจากโรค
หรืออาการของโรค และ/หรือความพิการ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
และการผดุงครรภ์ ดังนี
1) ไม่มีปัญ หาทางจิตเวชอันอาจเป็นอันตรายต่อตนเอง และ/หรือผู้อื่น ได้แก่ โรคจิต (psychotic disorders)
โรคอารมณ์ ผิดปกติ (mood disorders) โรคประสาทรุนแรง (severe neurotic disorders) บุคลิกภาพผิดปกติ (personality
disorders) โรคอารมณ์ผิดปกติสองขัว (Bipolar) รวมถึงปัญหาทางจิตเวชอื่นๆ
2) ไม่เป็นโรคติดต่อในระยะติดต่ออันตราย (ตามที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องโรคติดต่อและ
อาการสาคัญ)
3) ไม่เป็นโรคไม่ติดต่อในระยะรุนแรงหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- โรคลมชักที่ไม่สามารถควบคุมได้ โรคลมชักที่ไม่มีอาการชักมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี โดยมีการรับรองจาก
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ถือเป็นโรคลมชักที่ควบคุมได้
- โรคหัวใจระดับรุนแรงจนเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- โรคความดันโลหิตสูงรุนแรง และมีภาวะแทรกซ้อนทาให้เกิดพยาธิสภาพต่ออวัยวะอย่างถาวร
- ภาวะไตวายเรือรัง
- โรคติดสารเสพติดให้โทษ
3. การสอบสัมภาษณ์พิจารณาในด้านต่างๆ ดังนี
1) ด้านทักษะทางสารสนเทศและเทคโนโลยี
2) ทั ก ษะชี วิ ต และอาชี พ (ประกอบด้ ว ย บุ ค ลิ ก ภาพทั่ ว ไป ไหวพริ บ สติ ปั ญ ญาและความเชื่ อ มั่ น ในตนเอง
ความสามารถในการสื่ อ สาร เจตคติ แ ละความสนใจในวิ ช าชี พ และสถาบั น การมี ส่ ว นร่ ว มในสั ง คม
ความรับผิดชอบ การมีนาใจ และจิตสานึกสาธารณะ)
3. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะพยาบาลศาสตร์
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของหลักสูตรพยาบาลศาสตร์
3.2 คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่าที่
หลักสูตร/สาขาวิชาที่กาหนด
3.3 ผลการตรวจร่างกายผ่านตามเกณฑ์คุณสมบัติที่กาหนด ดังนี
3.3.1 ไม่มีความพิการอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
3.3.2 โรคติดต่อในระยะติดต่ออันตราย (ตามที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องโรคติดต่อและอาการสาคัญ)
3.3.3 โรคไม่ติดต่อในระยะรุนแรงหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
1) โรคลมชักที่ไม่สามารถควบคุมได้ (โรคลมชักที่ไม่มีอาการชักมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี โดยมีการรับรองจาก
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ถือเป็นโรคลมชักที่ควบคุมได้)
2) โรคหัวใจระดับรุนแรงจนเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
3) โรคความดันโลหิตสูงรุนแรง และมีภาวะแทรกซ้อนทาให้เกิดพยาธิสภาพต่ออวัยวะอย่างถาวร
4) ภาวะไตวายเรือรัง
5) โรคติดสารเสพติดให้โทษ
3.4 การทดสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ ต้องปกติหรือผ่าน
3.5 การสอบสัมภาษณ์ผ่านตามเกณฑ์ที่หลักสูตรกาหนด
ทั้งนี้ มติของคณะกรรมการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตถือเป็นที่สิ้นสุด
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-87- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย

4. เอกสารที่ต้องนาไปในวันสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ/สอบสัมภาษณ์
4.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
4.2 ผู้เข้าสอบจะต้องชาระค่าทดสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ คนละ 200 บาท
4.3 ผู้เข้าสอบสัมภาษณ์ต้องตรวจร่างกายมาล่วงหน้า ให้นาผลการตรวจร่างกายจากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน
ระบุผลการตรวจร่างกายตามเกณฑ์ที่กาหนด (ตามแบบฟอร์ม : รายงานการตรวจสุขภาพของผู้มีสิทธิ์สอบคัดเลือกบุคคลเข้า
ศึกษาต่อหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ประจาปีก ารศึกษา 2567) พร้อมแนบหลักฐานทางห้องปฏิบัติการต่างๆ ตามที่ระบุไว้
ในแบบฟอร์ม : รายงานตรวจสุขภาพฯ
ทั้งนี้ ผู้เข้าสอบคัดเลือก และ/หรือ ผู้ผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาที่ให้ข้อมูลอันเป็นเท็จ หรือจงใจปกปิดข้อมูลหรือแม้
ปรากฏเป็นความเท็จขึน้ ภายหลังจะต้องถูกตัดสิทธิ์การศึกษาในคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567
ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
ทดสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
และส่งเอกสารหลักฐาน ทางอินเทอร์เน็ตที่
25 เมษายน 2567
09.00 น.- 12.00 น. ทดสอบจิตวิทยา https://admission.swu.ac.th
และทัศนคติต่อวิชาชีพ
13.00 น. เป็นต้นไป ส่งผลการตรวจร่างกาย
การสอบสัมภาษณ์
26 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบสัมภาษณ์
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th

หมายเหตุ : หากผูส้ มัครมีข้อสังสัยเกี่ยวกับข้อมูลหรือปัญหาอื่นๆ ที่ไม่ระบุใว้ในประกาศฯ สามารถติดต่อสอบถามที่


งานบริการการศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ โทร. 02-649-5000 ต่อ 21800 , 21821 หรือ 089-9222549
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-88- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย

รายงานการตรวจสุขภาพของผู้มสี ิทธิ์สอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อ
หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ประจาปีการศึกษา 2567
ข้อมูลส่วนที่ 1 ผู้เข้าสอบคัดเลือกเป็นผู้กรอก (กรอกด้วยตัวบรรจง)
1. ประวัติส่วนตัว
ชื่อ-สกุล (นาย, นาง, นางสาว) .......................................................................................................................................
เกิดวันที่ ....... เดือน .......................... พ.ศ. ............ อายุ ....... ปี ...... เดือน จังหวัดที่เกิด ...........................................
เลขประจาตัวประชาชน....................................................................................................................................................
ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ ...................................................................................................................................................
2. ประวัติการเจ็บป่วยของผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา (ทาเครื่องหมาย  และให้ข้อมูล)
ท่านเคยมี หรือมีโรค/ อาการ หรือภาวการณ์เจ็บป่วย ดังต่อไปนีหรือไม่ (ให้ระบุอาการ พ.ศ.ที่เป็น และรักษาอย่างไร)
มี ไม่มี อธิบายรายละเอียด มี ไม่มี อธิบายรายละเอียด
  หัด .....................................................   เลือด ...................................................
  วัณโรค ...............................................   เบาหวาน .............................................
  ตับอักเสบ ..........................................   หัวใจ ....................................................
  ลมชัก .................................................   ไต ........................................................
  สุกใส ..................................................   ความดันโลหิตสูง .................................
  หอบหืด ..............................................   ต่อมไทรอยด์ .......................................
  ภูมิแพ้ ................................................   ไส้เลื่อน ...............................................
  แพ้ยา .................................................   โรคเรือน .............................................
  ตัวเหลือง ตาเหลือง   โรคติดต่อร้ายแรง................................
  ปัญหาทางด้านสุขภาพจิต ..............................................................................................................
  หูหนวก หูตึงจากปราสาท แม้แต่ขา้ งเดียว .....................................................................................
  กระดูกหัก / บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ .................................................................................................
  ผ่าตัดเกี่ยวกับ  สมอง  หัวใจ  กระดูก  อื่นๆ ระบุ ..............................................
  โรคผิวหนังที่เป็นที่รังเกียจแก่ผู้อื่น ..................................................................................................
  โรคเท้าช้างในระยะที่ปรากฏอาการเป็นที่รังเกียจแก่สังคม .............................................................
  ความพิการของร่างกายที่ทาให้เสียบุคลิกลักษณะ ..........................................................................
  ติดยาเสพติดทุกชนิด และโรคพิษสุราเรือรัง ...................................................................................
  อื่นๆ ................................................................................................................................................
ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลประวัติดังกล่าวข้างต้นเป็นจริงทุกประการ และรับทราบว่าหากตรวจพบภายหลังว่ามีข้อมูลที่
ไม่เป็นจริง หรือมีการปิดบังข้อมูล ข้าพเจ้าจะถูกตัดสิทธิ์ในการคัดเลือกครังนี แม้จะได้รับการคัดเลือกเข้าศึกษาแล้วก็ยินยอมให้
ถอนสภาพจากการเป็นนิสิต
ลงชื่อ …………….………………………………………. ผูส้ อบคัดเลือก ลงชื่อ …………….………………………………………. ผูร้ ับรอง
(..............................................................) (..............................................................)
วันที่ ...... เดือน ..................... พ.ศ. ........... บิดา หรือมารดา หรือผู้ปกครอง
วันที่ ...... เดือน ..................... พ.ศ. ...........
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-89- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย

ข้อมูลส่วนที่ 2 แพทย์เป็นผู้กรอก (จะต้องตรวจทุกรายการ)


ผู้ที่ ผ่ านการคั ด เลือ กมี สิท ธิ์เข้าสอบสั ม ภาษณ์ ให้ ไปตรวจร่างกายและเอกซเรย์ ท รวงอกที่ โรงพยาบาลของรั ฐหรื อ
โรงพยาบาลของเอกชน โดยน าเอกสารฉบั บนีให้แพทย์ผู้ตรวจกรอกผลการตรวจร่างกายตามแบบฟอร์มนี และลงนามเป็ น
หลักฐานพร้อมทั้งประทับตราโรงพยาบาลตรงลายมือชื่อแพทย์ผู้ตรวจ
ข้าพเจ้า (นายแพทย์, แพทย์หญิง) ....................................................................................................................................
เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม ............................................ ออกให้ ณ วันที่ ...... เดือน ...................... พ.ศ. ...............
ชื่อโรงพยาบาลที่เข้ารับการตรวจ ..............................................................................................................................................
แขวง/ตาบล ........................................... เขต/อาเภอ ................................................จังหวัด....................................................
ได้ทาการตรวจร่างกาย (นาย, นาง, นางสาว) ...........................................................................................................................
เลขที่ผู้ป่วย (H.N.) .......................................... วัน/เดือน/ ปีที่เข้าตรวจร่างกาย .............................................. แล้วได้ผล ดังนี
ผลการตรวจร่างกายทั่วไป
นาหนัก ........... กิโลกรัม ส่วนสูง ........... เซนติเมตร อุณหภูมิ ........... OC
ความดันโลหิต .................................. มม. ปรอทชีพจร ........... ครัง/ นาที อัตราการหายใจ ........... ครัง/ นาที

ลักษณะรูปร่าง บุคลิกภาพ  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................


ลักษณะแขนและมือ  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ลักษณะขาและเท้า  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
กระดูกและกล้ามเนือ  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การออกเสียงพูด  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ลักษณะในช่องปาก  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ลักษณะผิวหนัง  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การเคลื่อนไหวของร่างกาย  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ระบบประสาท  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การมองเห็น (VA) ตาขวา  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การมองเห็น (VA) ตาซ้าย  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ตาบอดสี (โดยเฉพาะแม่สี)  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ใบหู และลักษณะภายนอกของหูขวา  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ใบหู และลักษณะภายนอกของซ้าย  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การได้ยินหูขวา  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การได้ยินหูซ้าย  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
จมูก  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ต่อมไทรอยด์  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ต่อมนาเหลือง  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การทางานของหัวใจ  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ปอด  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-90- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Urine analysis (UA) (แนบรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการมาด้วย)
Albumin  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Sugar  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Sediments  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
สารเสพติด (มอร์ฟีน, แอมเฟตามีน ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
หรืออื่นๆ อย่างน้อย 1 ประเภท)
Complete blood count (CBC) (แนบรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการมาด้วย)
Hemoglobin  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Hematocrit  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Red blood cell Morphology
Anisocytosis  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Poikilocytosis  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Hypochromia  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Microcytosis  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Macrocytosis  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
White blood cell count
Neutrophil  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Basophil  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Eosinophil  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Lymphocyte  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Monocyte  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Platelets  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
ผลการตรวจไวรัสตับอักเสบบี และ/หรือได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกัน (แนบรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือ
หลักฐานการรับวัคซีนมาด้วย)
HBsAg  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Anti-HBs  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
ได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกัน ........................................................................................................................
ผลการตรวจภูมิคุ้มกันโรคสุกใส และ/หรือได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกัน (แนบรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือ
หลักฐานการรับวัคซีนมาด้วย)
ภูมิคุ้มกันโรคสุกใส  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
ได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกัน .....................................................................................................................
ผลการตรวจทางรังสีวิทยา (หากผลการตรวจปกติไม่ต้องนาฟิล์มเอกซเรย์ทรวงอกมา และผิดปกติให้นาฟิล์มเอกซเรย์
ทรวงอกมาด้วย)
Chest X-rays  ปกติ  ผิดปกติ หากผิดปกติ โปรดระบุ ……………………………….
…………………………..………………………………………
 เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
 ไม่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-91- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย

ผลการวินิจฉัย
โรคเรือน  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ..................................................
โรคเท้าช้าง  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ..................................................
โรคลมชัก  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ..................................................
โรคคนเผือก  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ..................................................
โรคหัวใจระดับรุนแรง  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ..................................................
โรคความดันโลหิตสูงรุนแรงและ  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ..................................................
มีภาวะแทรกซ้อน
ภาวะไตวายเรือรัง  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ..................................................
วันโรคในระยะแพร่เชือ  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ..................................................
โรคที่เกิดจากสารเสพติด  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ..................................................
โรคพิษสุราเรือรัง  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ..................................................
โรคจิต สุขภาพจิต  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ...................................................
ความพิการอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ..................................................
ความผิดปกติอื่นๆ ที่ตรวจพบ ระบุ ..................................................................................................................
……………………..…………………………………………..........………………………………….

ข้าพเจ้ามีความเห็นว่า (นาย, นาง, นางสาว) ...................................................................................................................


มีสุขภาพอยู่ในประเภท  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ....................................................................................................................

(ลงนาม)...........................................................................
(.........................................................................)
แพทย์ผู้ตรวจประจาโรงพยาบาล
วันที่ ........ เดือน .................... พ.ศ. .............
(ประทับตราโรงพยาบาล)

หมายเหตุ รายงานการตรวจสุขภาพฯ ที่สมบูรณ์ต้องมีตราประทับของโรงพยาบาล และลายเซ็นแพทย์ผู้ตรวจกากับ


TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-92- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย

ส่วนที่ 3 คุณลักษณะด้านสุขภาพของผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา ต้องเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ ปราศจาก


โรคหรืออาการของโรค และ/หรือความพิการ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพการ
พยาบาลและการผดุงครรภ์ ดังนี้
1) ไม่มีปัญหาทางจิตเวชอันอาจเป็นอันตรายต่อตนเอง และ/หรือผู้อื่น ได้แก่ โรคจิต (psychotic disorders) โรค
อารมณ์ ผิ ด ปกติ (mood disorders) โรคประสาทรุ น แรง (severe neurotic disorders) บุ ค ลิ ก ภาพผิ ด ปกติ (personality
disorders) โรคอารมณ์ผิดปกติสองขัว (Bipolar) รวมถึงปัญหาทางจิตเวชอื่นๆ
2) ไม่เป็นโรคติดต่อในระยะติดต่ออันตราย (ตามที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง โรคติดต่อและ
อาการสาคัญ)
3) ไม่เป็นโรคไม่ติดต่อในระยะรุนแรงหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- โรคลมชักที่ไม่สามารถควบคุมได้ โรคลมชักที่ไม่มีอาการชักมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี โดยมีการรับรองจาก
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ถือเป็นโรคลมชักที่ควบคุมได้
- โรคหัวใจระดับรุนแรงจนเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- โรคความดันเลือดสูงรุนแรง และมีภาวะแทรกซ้อนทาให้เกิดพยาธิสภาพต่ออวัยวะอย่างถาวร
- ภาวะไตวายเรือรัง
- โรคติดสารเสพติดให้โทษ

พร้อมทัง เมื่อได้รับคัดเลือกเข้าศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตแล้ว จะต้องปฏิบัติตามแนวทางการเตรียมตัวด้าน


สุขภาพก่อนการศึกษาภาคปฏิบัติตามที่แหล่งฝึกภาคปฏิบัติกาหนด ดังนี
1. ตรวจร่างกายโดยแพทย์และขอใบรับรองแพทย์ 5 โรค
2. เอกซเรย์ภาพทรวงอก (Chest x-ray) พร้อมผลอ่าน
3. ผลการตรวจ Complete blood count (CBC)
4. ผลการตรวจภูมิโรค Hepatitis B
5. การได้รับภูมิคุ้มกัน
1) มีภูมิคุ้มกัน และ/หรือ ได้รับวัคซีนไวรัสตับอักเสบ เอ
2) มีภูมิคุ้มกัน และ/หรือ ได้รับวัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี (ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม)
3) มีภูมิคุ้มกัน และ/หรือ ได้รับวัคซีนโรคสุกใส
4) มีภูมิคุ้มกัน และ/หรือ ได้รับวัคซีนโรคโควิด-19
5) รับวัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม MMR (ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม)
6) รับวัคซีนคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก (ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม)
7) รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (แนะนาให้ฉีดปีละ 1 ครัง)
6. ผลการตรวจอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตพิจารณาแล้วเห็นสมควร
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-93- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
คณะกายภาพบาบัด
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบาบัด ทุกชันปี เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชากิจกรรมบาบัด จังหวัดนครนายก

1. คุณสมบัติเฉพาะของสาขาวิชา
1.1 กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
1.2 มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
1.3 มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
1.3.1 สาขาวิชากายภาพบาบัด
A-level
TGAT
ภาษาไทย ฟิสิกส์ ชีววิทยา
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
40 1 10 1 25 1 25 1
1.3.2 สาขาวิชากิจกรรมบาบัด
A-level
TGAT
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ชีววิทยา
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
40 1 20 1 20 1 20 1

สาขาวิชากายภาพบาบัดและสาขาวิชากิจกรรมบาบัด เป็นสาขาวิชาที่ผู้เข้ารับการศึกษาจะต้องทาการศึกษาอย่างหนัก
แม้เมื่อเป็นนักกายภาพบาบัดและนักกิจกรรมบาบัดแล้วก็ต้องรับภาระในการปฏิบัติหน้าที่หนักต่อไป ด้วยเหตุนีสุขภาพของผู้ที่จะ
เข้ารับการศึกษาจึงเป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่ง ฉะนันเพื่อจะให้ได้นักกายภาพบาบัด และนักกิจกรรมบาบัดในอนาคตที่มีความสมบูรณ์
ทังร่างกายและจิตใจ สาหรับปฏิบัติหน้าที่สนองความต้องการของประเทศชาติตามสภาพของสังคมและชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ
คณะกายภาพบาบัด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จึงจาเป็นต้องสอบสัมภาษณ์ และมีใบรับรองแพทย์ว่าผ่านตามเกณฑ์คุณสมบัติ
ทั่วไปของผู้มีสิทธิ์สมัครตามประกาศฯ และเกณฑ์คุณสมบัติเฉพาะสาขา พร้อมผลการอ่า นฟิล์มเอ็กซเรย์ทรวงอก (ถ่ายไว้ไม่เกิน 6
เดือน นับถึงวันสัมภาษณ์) ที่ลงนามรับรองโดยแพทย์ ไปยื่นในวันสอบสัมภาษณ์
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะกายภาพบาบัด
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ ขันต่าที่
หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
2.3 ผลการตรวจร่างกายต้องปกติหรือผ่าน
2.4 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-94- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย

3. เอกสารที่ต้องนามาในวันสอบสัมภาษณ์
3.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
3.2 ผู้เข้าสอบต้องตรวจร่างกายมาล่วงหน้า ให้นาผลการตรวจร่างกายดังต่อไปนีมาด้วย
1) ใบรับรองแพทย์แสดงผลการตรวจร่างกายจากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน ใช้แบบฟอร์มการตรวจ
ร่างกายตามรูปแบบของโรงพยาบาล
2) ผลการอ่านฟิล์มเอ็กซเรย์ทรวงอก (ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน นับถึงวันสัมภาษณ์) ที่ลงนามรับรองโดยแพทย์จาก
โรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน
4. เอกสารการรายงานตัว
เฉพาะหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบาบัด ที่ผ่านการสอบสัมภาษณ์ต้องยื่นหนังสือหรือเอกสารรับรอง
การได้รับวัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบ บี กับฝ่ายวิชาการ คณะกายภาพบาบัด ในวันเปิดภาคการศึกษา
5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
การสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
หมายเหตุ หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับข้อมูลหรือปัญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ หลักสูตร/สาขาวิชา/วิชาเอก ให้ติดต่อที่
นายอนุศักดิ์ สวัสดี สาขากายภาพบาบัด คณะกายภาพบาบัด โทร. 0-2649-5000 ต่อ 27332 หรือเข้าร่วม
กลุ่มไลน์แชท ตามQR Code ด้านล่างนี

นางสาวศุภสิ รา วรรณบวร สาขากิจกรรมบาบัด คณะกายภาพบาบัด โทร. 0-2649-5000 ต่อ 27348


หรือเข้าร่วม กลุ่มไลน์แชท ตามQR Code ด้านล่างนี
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-95- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
คณะทันตแพทยศาสตร์
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต ทุกชันปี เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร

1. คุณสมบัติเฉพาะหลักสูตร
1.1 กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
1.2 มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาค การศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.50 และจะต้องรักษา
ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
1.3 มีผลการสอบ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
คณิตศาสตร์
เคมี ชีววิทยา สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ประยุกต์ 1
ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์
นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 30 20 30 20 30 10 30 10 30 20 30

1.4 ต้องมีคุณ สมบัติที่จะปฏิบั ติงานในส่วนราชการหรือหน่วยงานต่างๆ ของรัฐได้ หลังจากจบการศึกษาแล้ว โดยต้อง


สามารถท าสั ญ ญาผู ก พั น ฝ่ า ยเดี ย ว หรื อ สั ญ ญาปลายเปิ ด กั บ รั ฐ บาล ตามระเบี ย บและเงื่อ นไขของรั ฐ บาล และ
มหาวิทยาลัย
1.5 ไม่เป็นผู้ได้รับการคัดเลือกเข้าศึกษาในหลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณ ฑิตในมหาวิทยาลัย หรือสถาบันของรัฐในปี
การศึกษา 2566 ตามโควตาพืนที่โครงการพิเศษต่างๆ และการรับตรงที่เคยได้ยืนยันสิทธิ์กับมหาวิทยาลัย หรือสถาบันที่
คัดเลือกไว้เรียบร้อยแล้ว มิฉะนันจะถูกตัดสิทธิ์ทังหมด
1.6 ต้องมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง และปราศจากโรค อาการของโรค หรือความพิการอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การ
ปฏิบัติงานและการประกอบวิชาชีพทันตกรรม ดังต่อไปนี
1) มีปัญหาทางจิตเวชขันรุนแรงอั นอาจเป็นอันตรายต่อตนเอง และ/หรือผู้อื่น เช่น โรคจิต (psychotic disorders)
โรคอารมณ์ผิดปกติ (mood disorders) โรคประสาทรุนแรง (severe neurotic disorders) บุคลิกภาพผิดปกติ
(personality disorders) ชนิ ด antisocial personality disorders หรื อ borderline personality disorders
รวมถึงปัญหาทางจิตเวชอื่นๆ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงานและการประกอบวิชาชีพทันตกรรม
2) เป็นโรคติดต่อในระยะติดต่ออันตรายที่อาจเกิดอันตรายต่อตนเอง ต่อผู้ป่วย หรือส่งผลให้เกิดความพิการอย่างถาวร
อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพทันตกรรม
3) เป็นโรคไม่ติดต่อหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา ที่อาจเกิดอันตรายต่อตนเองต่อผู้ป่วยและการประกอบ
วิชาชีพทันตกรรม
3.1) โรคลมชักที่ยังไม่สามารถควบคุมได้ (โรคลมชักที่ไม่มีอาการชักมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี โดยมีการรับรอง
จากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ถือเป็นโรคลมชักที่ควบคุมได้)
3.2) โรคติดสารเสพติดให้โทษ
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-96- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
4) มีความพิการทางร่างกายหรือข้อบกพร่องอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาการปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพทัน
ตกรรม เช่น ตาบอด เป็นใบ้ หรือหูหนวกทังสองข้าง ความผิดปกติของการใช้มือในการทาหัตถการ จนเป็นอุปสรรคต่อ
การศึกษาและการทางาน หรือภาวะพิการอื่นใด ซึ่งมิได้ระบุไว้ในระเบียบนีที่คณะกรรมการสอบคัดเลือกเห็นว่าเป็น
อุปสรรคต่อการศึกษา
5) มีความผิดปกติในการได้ยินทังสองข้าง โดยมีระดับการได้ยินเฉลี่ยที่ความถี่ 500 – 2,000 เฮิรตซ์สูงกว่า 40 เดซิเบล และ
ความสามารถในการแยกแยะคาพูด (speech discrimination score) น้อยกว่าร้อยละ 70 จากความผิดปกติของประสาท
และเซลล์ประสาทการได้ยิน (sensorineural hearing loss) อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และ
การประกอบวิชาชีพทันตกรรม
6) มีความผิดปกติในการเห็นภาพ โดยมีระดับการมองเห็นในตาข้างดี เมื่ อแก้ไขด้วยแว่นสายตาแล้ว แย่ กว่า 6/12
หรือ 20/40 ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพทันตกรรม
7) มีภาวะตาบอดสีระดับรุนแรง หรือ ภาวะตาพร่องสีระดับรุนแรง อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และ
การประกอบวิชาชีพทันตกรรม
8) โรคหรือความพิการอื่นๆ ซึ่งมิได้ระบุไว้ ซึ่งคณะกรรมการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาฯ เห็นว่าอาจจะเป็นอุปสรรคต่อ
การศึกษา การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพทันตกรรม
ทั้ ง นี้ ส าหรับ ปั ญ หาสุ ข ภาพหรือ โรคในข้ อ 1.6 เมื่ อ คณะทั น ตแพทยศาสตร์ มหาวิท ยาลั ย ศรี น คริน ทรวิโรฒ
พิจารณาตัดสินให้ถือว่าผลการพิจารณาเป็นที่สิ้นสุดเงื่อนไข
หมายเหตุ - ผู้สาเร็จการศึกษาต้องสอบเพื่อขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบการวิชาชีพทันตกรรมจากทันตแพทยสภา
โดยที่นิสิตจะต้องสอบในระหว่างที่กาลังศึกษาอยู่และรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการสอบเอง
- ก่อนเข้าศึกษาจะต้องทาสัญญาเข้ารับราชการ/เป็นพนักงานของรัฐหลังจากสาเร็จการศึกษาตามระเบียบและ
เงื่อนไขของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะทันตแพทยศาสตร์
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละหลักสูตรกาหนด
2.2 คะแนนสอบ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่าที่กาหนด
2.3 การตรวจร่างกายผ่านตามเกณฑ์คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัคร
2.4 การทดสอบทัศนคติต่อวิชาชีพต้องปกติหรือผ่าน
2.5 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3. เอกสารที่ต้องนามาในวันทดสอบทัศนคติต่อวิชาชีพ/สัมภาษณ์
3.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
3.2 ผู้เข้าสอบจะต้องชาระค่าทดสอบทัศนคติต่อวิชาชีพ คนละ 200 บาท
3.3 ผู้เข้าสอบต้องตรวจร่างกายมาล่วงหน้า ให้นาผลการตรวจร่างกายดังต่อไปนีมาด้วย
3.3.1 ใบรับ รองแพทย์แสดงผลการตรวจร่างกายที่ออกโดยโรงพยาบาลของรัฐหรื อโรงพยาบาลเอกชนที่แสดงว่า
ผู้สมัครไม่มีปัญหาด้านสุขภาพตามที่ระบุใน ข้อ 1.6
3.3.2 ผลการอ่านฟิล์มเอ็กซเรย์ทรวงอก (ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน นับถึงวันสอบสัมภาษณ์) ที่ลงนามรับรองโดยแพทย์
โรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลเอกชน
3.3.3 ผลการทดสอบตาบอดสีตรวจโดยจักษุแพทย์จากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลเอกชน
3.3.4 ผลการตรวจสุขภาพจิตโดยจิตแพทย์จากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลเอกชน
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-97- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย

4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
ทางอินเทอร์เน็ตที่
การสอบสัมภาษณ์
https://admission.swu.ac.th
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวและส่งผลตรวจร่างกาย
09.00 – 12.00 น. ทดสอบทัศนคติต่อวิชาชีพ
13.00 – 16.00 น. สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-98- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
คณะเภสัชศาสตร์
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต วิชาเอกเภสัชกรรมอุตสาหการ ทุกชันปี เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
จังหวัดนครนายก
1. คุณสมบัติเฉพาะหลักสูตร
1.1 ต้องมีสัญชาติไทย
1.2 กาลังศึกษาในชันมัธยมศึกษาปีที่ 6 และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566 จากโรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร,
องครักษ์, ปทุมวัน เท่านั้น
1.3 มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาค การศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้องรักษา
ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
1.4 มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ภาษาอังกฤษ
(คิดค่าน้าหนัก และเกณฑ์ขั้นต่า 3 วิชารวมกัน)
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
ค่านาหนัก (%) เกณฑ์ขันต่า (คะแนน)
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 1 20 20 40 20 20 20

วิชาชีพเภสัชกรรม เป็นสาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่ ผู้เข้ารับการศึกษาจะต้องทุ่มเทแรงกายแรงใจ ตล อด


ระยะเวลาการศึกษา 6 ปี ไปจนถึงการปฏิบัติงานในหน้าที่เภสัชกรเมื่อจบการศึกษาแล้ว ด้วยเหตุนี สุขภาพกายและใจของผู้เข้ารับ
การศึกษาจึงเป็นพืนฐานสาคัญ เพื่อให้ได้เภสัชกรที่พร้อมปฏิบัติหน้าที่รับใช้สาธารณชนและเป็นส่วนหนึ่งของระบบสาธารณสุขของ
ประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จึงได้จัดให้ผู้ที่มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์แล้ว เข้ารับการ
ทดสอบทัศนคติต่อวิชาชีพ การตรวจร่างกาย และสอบสัมภาษณ์ ดังนั้น จึงขอให้ผู้ผ่านการคัดเลือกเป็นผู้มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์
นาผลการตรวจร่างกายที่ได้รับการรับรองจากแพทย์ว่าผ่านเกณฑ์คุณสมบัติทั่วไปของผู้มีสิทธิ์สมัคร ผลการอ่านฟิล์มเอ็กซเรย์
ทรวงอก (ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน นับถึงวันสัมภาษณ์) ที่ลงนามรับรองโดยแพทย์ และผลการทดสอบตาบอดสี จากจักษุแพทย์ ไปยื่น
ในวัน สอบทั ศนคติ ต่อ วิชาชี พ โดยการตรวจร่างกายดังกล่าวจะต้อ งได้ รับ การรั บ รองจากแพทย์ โรงพยาบาลของรัฐ หรือ
โรงพยาบาลของเอกชนเท่านั้น
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต วิชาเอกเภสัชกรรมอุตสาหการ เน้นด้านการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เกี่ยวข้อง
รวมถึงการผลิตและควบคุมคุณภาพยา โดยสามารถปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมยา สถาบันวิจัยต่างๆ และบริษัทยา เป็นต้น
หมายเหตุ ผู้สาเร็จการศึกษาต้องสอบความรู้เพื่อขอขึนทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมของ
สภาเภสัชกรรม และต้องทาสัญญาการเป็นนิสิตเพื่อศึกษาหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ด้วยคณะรัฐมนตรีมีมติให้คงการทาสัญญา
สาหรับนิสิตนักศึกษาที่ศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐ โดยเป็นสัญญาผูกพันฝ่ายเดียวตังแต่ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะเภสัชศาสตร์
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มสี ิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละหลักสูตรกาหนด
2.2 คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ
ทีห่ ลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
2.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-99- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย

3. เอกสารที่ต้องนามาในวันทดสอบทัศนคติต่อวิชาชีพ/สัมภาษณ์
3.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
3.2 ผู้เข้าสอบจะต้องชาระค่าทดสอบทัศนคติต่อวิชาชีพ คนละ 200 บาท (กาหนดวันทดสอบทัศนคติต่อวิชาชีพ แจ้ง
ภายหลัง)
3.3 ผู้เข้าสอบต้องตรวจร่างกายมาล่วงหน้า ให้นาผลการตรวจร่างกายดังต่อไปนี้มาด้วย
3.3.1 ใบรับรองแพทย์แสดงผลการตรวจร่างกายจากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน
3.3.2 ผลการทดสอบตาบอดสีตรวจโดยจักษุแพทย์จากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน
3.3.3 ผลการอ่านฟิล์มเอ็กซเรย์ทรวงอก (ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน นับถึงวันสอบสัมภาษณ์) ที่ลงนามรับรองโดยแพทย์จาก
โรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน
4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
การสอบฯ ทางอินเทอร์เน็ตที่
https://admission.swu.ac.th
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวและส่งผลตรวจร่างกาย
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์

2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก


ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-100- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
คณะวิทยาศาสตร์
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ / สาขาวิชาเคมี ทุกชันปี เรียนที่
สาขาวิชาชีววิทยา / สาขาวิชาฟิสกิ ส์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชาจุลชีววิทยา / สาขาวิชาสถิติ กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาเคมี (กศ.บ.) / สาขาวิชาชีววิทยา (กศ.บ.)

1. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัคร
1.1 กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2566
1.2 ตองไมเปนโรคติดตอรายแรง โรคที่สังคมรังเกียจ โรคประจาตัว หรือความพิการตางๆ ที่เปนอุปสรรคตอการศึกษาเลาเรียน
และการประกอบอาชีพ
2. คุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา
2.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์
1) มีจานวนหนวยกิตรวมในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรไมนอยกวา 12 หนวยกิต กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรไมนอยกวา
22 หนวยกิต กลุมสาระการเรียนรูภาษาต่างประเทศไมนอยกวา 9 หนวยกิต (จานวนหนวยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
2) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 3 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 103)
3) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปการศึกษา 2567 ตามองคประกอบ คานาหนักรอยละ และเกณฑ์ขนต่ ั า ดังนี
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1
ค่านาหนัก (%) เกณฑ์ขันต่า (คะแนน) ค่านาหนัก (%) เกณฑ์ขันต่า(คะแนน) ค่านาหนัก (%) เกณฑ์ขันต่า(คะแนน)

20 1 30 1 50 1
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ pisuttaw@g.swu.ac.th

2.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี


1) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแตชันมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไมต่ากวา 2.75 และมีคะแนน
เฉลี่ ย สะสมกลุ มสาระการเรี ย นรู ค ณิ ตศาสตรไมต่ ากวา 2.50 และกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์
ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะตองรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
2) มี จ านวนหนวยกิ ตรวมในกลุ มสาระการเรี ยนรู ค ณิ ตศาสตรไมนอยกวา 12 หนวยกิ ต และกลุ่ ม สาระการเรี ยนรู้
วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหนวยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 3 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 103)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT ประจาปการศึกษา 2567 ตามองคประกอบ คานาหนักรอยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
TGAT TPAT 3
ค่านาหนัก (%) เกณฑ์ขันต่า (คะแนน) ค่านาหนัก (%) เกณฑ์ขันต่า (คะแนน)
25 1 75 1
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ https://www.facebook.com/ChemistrySWU/
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-101- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
2.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา
1) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะตอง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
2) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รวมกันไม่น้อย
กว่า 34 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 3 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 103)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT ประจาปการศึกษา 2567 ตามองคประกอบ คานาหนักรอยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
TGAT TPAT 3
ค่านาหนัก (%) เกณฑ์ขันต่า (คะแนน) ค่านาหนัก (%) เกณฑ์ขันต่า (คะแนน)
30 1 70 1
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ montreem@g.swu.ac.th
2.4 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์
1) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะตอง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
2) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และในกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 3 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 103)
4) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ suwanp@g.swu.ac.th
2.5 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถิติ
1) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแตชันมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไมต่ากวา 2.00 มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมมในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร์ ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะตองรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
2) มีจานวนหนวยกิตรวมในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรไมนอยกวา 12 หนวยกิต (จานวนหนวยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
3) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ karnchan@g.swu.ac.th
2.6 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
1) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแตชันมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไมต่ากวา 3.00 มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรไมต่ากวา 3.00 และจะตองรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
2) มีจานวนหนวยกิตกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรไมนอยกวา 15 หนวยกิต (จานวนหนวยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) โดยแนบผลงานการประกวดด้านการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับชาติขึนไป (ถ้ามี)
หรือ ได้รับรางวัลในการแข่งขันการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับชาติขึนไป (ถ้ามี) หรือ สอบผ่านการสอบคัดเลือก
เข้าโครงการโอลิมปิกวิชาการ (ถ้ามี) (ดูรายละเอียดการส่งแฟ้มที่ ข้อ 3 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 103)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปการศึกษา 2567 ตามองคประกอบ คานาหนักรอยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ภาษาอังกฤษ
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

40 45 40 45 10 20 10 20
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ruangsak@g.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-102- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย

2.7 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา


1) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.25 และจะตอง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
2) มี จ านวนหนวยกิ ต รวมในกลุ ม สาระการเรี ยนรู ค ณิ ตศาสตรไมนอยกวา 12 หนวยกิ ตและกลุ่ ม สาระการเรี ยนรู้
วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต (จานวนหนวยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) และ infographic แสดงรายละเอียดโครงงานวิทยาศาสตร์ที่ทาสาเร็จแล้ว โดยนามา
แสดงในวันสอบสัมภาษณ์
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปการศึกษา 2567 ตามองคประกอบ คานาหนักรอยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 เคมี ชีววิทยา

ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

10 20 20 20 15 20 25 20 30 20
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ sukhumaporn@g.swu.ac.th
2.8 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา (กศ.บ)
1) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะตอง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
2) มีจานวนหนวยกิตรวมในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรไมนอยกวา 12 หนวยกิต กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ไม่ น้ อยกว่ า 22 หน่ วยกิ ต และกลุ่ มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาต่ างประทศ(ภาษาอั งกฤษ) ไม่ น้ อยกว่ า 9 หน่ วยกิ ต
(จานวนหนวยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปการศึกษา 2567 ตามองคประกอบ คานาหนักรอยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT TPAT 5
ชีววิทยา ภาษาอังกฤษ
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

10 1 30 30 40 30 20 20
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ kongkeat@g.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-103- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
2.9 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาเคมี (กศ.บ)
1) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรไมต่ากวา 2.75 และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่ต่ากว่า 2.75
และจะตองรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
2) มี จ านวนหนวยกิ ตรวมในกลุ มสาระการเรี ยนรู คณิ ตศาสตรไมนอยกวา 12 หนวยกิ ต และกลุ่ มสาระการเรี ยนรู้
วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหนวยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 3 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปการศึกษา 2567 ตามองคประกอบ คานาหนักรอยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT TPAT 5
เคมี ภาษาอังกฤษ
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

10 1 30 30 40 20 20 20
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ratchanok@g.swu.ac.th
3. การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้อัพโหลดแฟ้มสะสมผลงานในระบบรับสมัคร)
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตังชื่อไฟล์ เป็น “ชื่อ
ตน เอ งเป็ น ภ าษ าอั งก ฤ ษ ห้ าม เว้ น วรรค แ ล ะห้ าม มี อั ก ข ระพิ เศษ ” แ ล ะอั พ โห ล ด ใน ระบ บ รั บ ส มั ค รฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น.
หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
4. เกณฑ์การคัดเลือกคณะวิทยาศาสตร์
4.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิส์ มัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
4.2 คะแนนสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขัน
ต่าที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้คะแนน)
4.3 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้แฟ้มสะสมผลงาน)
4.4 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
5. เอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์
5.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
5.2 แฟ้มสะสมผลงานฉบับจริง (Portfolio) (เฉพาะสาขาที่กาหนดให้ใช้แฟ้มสะสมผลงาน)
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-104- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
6. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
การสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์ ทางเว็บไซต์ ทปอ.
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-105- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
คณะสังคมศาสตร์
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ทุกชันปีเรียนที่
สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (โครงการพิเศษ)
สาขาวิชาสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา (โครงการพิเศษ) ทุกชันปีเรียนที่
- วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
- วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง (โครงการพิเศษ) วันจันทร์ – วันศุกร์ เรียนเวลา 17.30 – 20.20 น.
- วิชาเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา วันเสาร์ หรือ วันอาทิตย์ เรียนเวลา 08.30 – 16.20 น.
- วิชาเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา (โครงการพิเศษ)
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต
หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต
- วิชาเอกการเมืองการปกครอง
- วิชาเอกการเมืองการปกครอง (โครงการพิเศษ)
- วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร
- วิชาเอกความสัมพันธระหวางประเทศ
- วิชาเอกความสัมพันธระหวางประเทศ (โครงการพิเศษ)
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมสิ ารสนเทศ
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมสิ ารสนเทศ (โครงการพิเศษ)

1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร / สาขาวิชาประวัติศาสตร (โครงการพิเศษ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแตชันมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไมต่ากวา 2.50 และจะตอง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) ไมใชคะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-106- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
1.2 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา
- วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง / วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง (โครงการพิเศษ)
- วิชาเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา / วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง (โครงการพิเศษ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแตชันมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไมต่ากวา 2.30 และจะตอง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 107)
4) ไมใชคะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
1.3 หลักสูตรนิตศิ าสตรบัณฑิต / หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (โครงการพิเศษ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแตชันมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไมต่ากวา 2.50 และจะตอง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 107)
4) ไมใชคะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
1.4 หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต - วิชาเอกการเมืองการปกครอง
- วิชาเอกการเมืองการปกครอง (โครงการพิเศษ)
- วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร
- วิชาเอกความสัมพันธระหวางประเทศ
- วิชาเอกความสัมพันธระหวางประเทศ(โครงการพิเศษ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแตชันมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไมต่ากวา 2.50 และ
จะตองรักษา ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 95)
4) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปการศึกษา 2567 ตามองคประกอบ คานาหนักรอยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT
สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่านาหนัก เกณฑ์ขัต่า ค่นาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
30 1 30 1 20 1 20 1

1.5 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.30 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) ต้องเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์ มีสายตาปกติ (ตาไม่บอดสี) ที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
5) ไมใชคะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-107- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย

1.6 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ (โครงการพิเศษ)


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.25 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) ต้องเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์ มีสายตาปกติ (ตาไม่บอดสี) ที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
5) ไมใชคะแนน TGAT/TPAT และ A-Level

หมายเหตุ : หากผู้สมัครมีข้อสงสัยเกี่ยวกับข้อมูลหรือปัญหาอื่น ๆ ที่ไม่ระบุไว้ในประกาศฯ สามารถติดต่อสอบถามได้ที่


ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ โทร. 0-2649-5000 ต่อ 11765 หรือเข้าร่วม open chat ของภาควิชาภูมิศาสตร์

2. การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้อัพโหลดแฟ้มสะสมผลงานในระบบรับสมัคร)
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ ผู้ สมั ครจั ดท าแฟ้ มสะสมผลงาน (portfolio) ในรูป แบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่ เกิ น 25 MB โดยตังชื่อไฟล์ เป็ น
“ชื่ อ ตนเองเป็ นภาษ าอั ง กฤษ ห้ ามเว้ น วรรค และห้ า มมี อั ก ขระพิ เศษ ” และอั พ โหลดในระบบรั บ สมั ค รฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น.
หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
3. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะสังคมศาสตร์
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
3.2 คะแนนสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน าหนักร้อยละ และ
เกณฑ์ขันต่าที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3.3 ต้องเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์ มีสายตาปกติ (ตาไม่บอดสี) ที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา (เฉพาะสาขาวิชาภูมิศาสตร์
และภูมิสารสนเทศ)
3.4 การสอบสัมภาษณ์ / การสอบสัมภาษณ์และทดสอบความรู้เฉพาะสาขาวิชา ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
4. เอกสารที่ต้องนามาในวันสอบสัมภาษณ์
4.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
4.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ฉบับจริง (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้แฟ้มสะสมผลงาน)
4.3 ผลการทดสอบตาบอดสี เฉพาะหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ / สาขาวิชา
ภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ (โครงการพิเศษ)
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-108- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก

วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่


13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ตรวจสอบความถูกต้องของคะแนนฯ
(เฉพาะสาขาวิชาที่ใช้คะแนน TGAT / TPAT / A-Level) รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
27 เมษายน 2567 การสอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์ ทางเว็บไซต์ ทปอ.
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-109- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
คณะพลศึกษา
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
ทุกชันปี เรียนที่
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาผู้นานันทนาการ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา (กศ.บ.)
จังหวัดนครนายก
1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาผู้นานันทนาการ
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาค การศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีความประพฤติดี อยู่ในศีลธรรม มีระเบียบวินัย
4) ต้องเป็นผู้มีร่างกายสมบูรณ์ ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง ไม่มีโรคประจาตัว หรือไม่มีความพิการทางร่างกาย
ความพิการทางสายตา (ตาบอด) หรือความพิการทางการได้ยิน อันจะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
5) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 110)
6) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปการศึกษา 2567 ตามองคประกอบ คานาหนักรอยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
30 1 25 1 25 1 20 1

1.2 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา (กศ.บ.)


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาค การศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 110)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปการศึกษา 2567 ตามองคประกอบ คานาหนักรอยละ และ
เกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT TPAT 5 สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

30 1 30 30 15 1 15 1 10 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-110- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
2. การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตังชื่อไฟล์ เป็น “ชื่อ
ตน เอ งเป็ น ภ าษ าอั งก ฤ ษ ห้ าม เว้ น วรรค แ ล ะห้ าม มี อั ก ข ระพิ เศษ ” แ ล ะอั พ โห ล ด ใน ระบ บ รั บ ส มั ค รฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น.
หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
3. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะพลศึกษา
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
3.2 คะแนนสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขัน
ต่าที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3.3 การตรวจร่างกายต้องปกติหรือผ่าน
3.4 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3.5 การสอบภาคปฏิบัติ (ทดสอบสมรรถภาพทางกาย) เฉพาะสาขาวิชาพลศึกษา
3.6 การสอบภาคปฏิบัติ (ทดสอบความสามารถทางผู้นานันทนาการ) ทักษะการสื่อสาร และความสามารถพิเศษที่เกี่ยวข้อง
ทางนันทนาการ เฉพาะสาขาวิชาผู้นานันทนาการ
4. เอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์
4.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
4.2 ใบรับรองแพทย์แสดงผลการตรวจร่างกายจากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน ว่าผ่านตามเกณฑ์คุณสมบัติ
เฉพาะสาขาวิชา และเกณฑ์คุณสมบัติทั่วไปของผู้มีสิทธิ์สมัคร ตามประกาศฯ
4.3 หลักฐานแสดงความสามารถหรือผลงานด้านต่างๆ (ถ้ามี)
5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
สาขาวิชาพลศึกษา
08.00 – 08.30 น รายงานตัวเข้าสอบฯ
08.30 – 12.00 น สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
13.00 น. เป็นต้นไป สอบภาคปฏิบัติ ทางอินเทอร์เน็ตที่
26 เมษายน 2567 (ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ให้ผู้สมัครนาชุดกีฬามาด้วย) https://admission.swu.ac.th
สาขาวิชาผู้นานันทนาการ
08.00 – 08.30 น รายงานตัวเข้าสอบฯ
08.30 – 12.00 น สอบสัมภาษณ์
13.00 น. เป็นต้นไป สอบภาคปฏิบัติ
(ทดสอบความสามารถทางผู้นานันทนาการ ใช้ชุด
แต่งกายตามความเหมาะสม)
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-111- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
คณะวิศวกรรมศาสตร์
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ทุกชันปี เรียนที่
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ จังหวัดนครนายก
สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์
สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า วิชาเอกวิศวกรรมไฟฟ้ากาลัง
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า วิชาเอกวิศวกรรมโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ (หลักสูตร 2 ภาษา)
สาขาวิชาวิศวกรรมคอนเสิรตและมัลติมีเดีย (หลักสูตรนานาชาติ)
สาขาวิชาวิศวกรรมด้านความปลอดภัยไซเบอร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
1. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา
1.1 สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ ไม่น้ อยกว่า 12 หน่วยกิต และในกลุ่ม สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 4 30 4 20 4 30 4
และผลรวมของคะแนนรวมทังหมดต้องไม่น้อยกว่า 20 คะแนน
1.2 สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) /และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่ มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ ไม่น้ อยกว่า 12 หน่วยกิ ต และในกลุ่ มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 1 30 1 20 1 30 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-112- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
1.3 สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่ มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ ไม่น้ อยกว่า 12 หน่วยกิ ต และในกลุ่ มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 15 30 15 25 15 25 15
และผลรวมของคะแนนรวมทังหมดต้องไม่น้อยกว่า 15 คะแนน
1.4 สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 มีคะแนน
เฉลี่ยสะสมกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรไมต่ากวา 3.00 และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่ต่ากว่า 3.00
และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่ มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ ไม่น้ อยกว่า 12 หน่วยกิ ต และในกลุ่ มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 30 30 30 25 30 25 30
และผลรวมของคะแนนรวมทังหมดต้องไม่น้อยกว่า 20 คะแนน
1.5 สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และมีคะแนนเฉลี่ย
สะสมกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรไมต่ากวา 2.50 และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่ต่ากว่า 2.50
และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่ มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ ไม่น้ อยกว่า 12 หน่วยกิ ต และในกลุ่ มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีผลการสอบ TGAT และ TPAT ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
TGAT TPAT 3
ค่านาหนัก (%) เกณฑ์ขันต่า (คะแนน) ค่านาหนัก (%) เกณฑ์ขันต่า (คะแนน)
40 10 60 15
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-113- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย

1.6 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.60 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่ มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ ไม่น้ อยกว่า 12 หน่วยกิ ต และในกลุ่ มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน ((portfolio) โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
5) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 1 30 25 25 15 25 15
และผลรวมของคะแนนรวมทังหมดต้องไม่น้อยกว่า 30 คะแนน
1.7 สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า วิชาเอกวิศวกรรมไฟฟ้ากาลัง/วิชาเอกวิศวกรรมโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
TGAT TPAT 3
ค่านาหนัก (%) เกณฑ์ขันต่า (คะแนน) ค่านาหนัก (%) เกณฑ์ขันต่า (คะแนน)
30 1 70 1
และผลรวมของคะแนนรวมทังหมดต้องไม่น้อยกว่า 20 คะแนน
1.8 สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ (หลักสูตร 2 ภาษา)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่ มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ ไม่น้ อยกว่า 12 หน่วยกิ ต และในกลุ่ มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT TPAT 3 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 1 30 15 25 10 25 10
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-114- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย

1.9 สาขาวิชาวิศวกรรมคอนเสิรตและมัลติมีเดีย (หลักสูตรนานาชาติ)


สาขาวิชาวิศวกรรมด้านความปลอดภัยไซเบอร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ถามคณะ) คณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีผลการทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ: IELTS ไมต่ํากวา 5.0 ทังนีผลคะแนนตองมีอายุไมเกิน 2 ปี นับจาก
วันที่ทดสอบจนถึงวันสอบสัมภาษณ
5) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 1 30 1 25 1 25 1
2. เกณฑ์การคัดเลือกคณะวิศวกรรมศาสตร์
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิส์ มัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 คะแนนสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่าที่กาหนด
2.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3. เอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์
3.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
3.2 แฟ้มสะสมผลงาน (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้แฟ้มสะสมผลงาน)
3.3 ผลการทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้ผลการทดสอบ)
4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
ทางอินเทอร์เน็ตที่
การสอบสัมภาษณ์
https://admission.swu.ac.th
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบสัมภาษณ์
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-115- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรบัญชีบัณฑิต / หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (โครงการพิเศษ) ทุกชันปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต – วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ วันจันทร์ – วันศุกร์ เรียนเวลา 08.30 – 17.20 น.
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต - วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ (โครงการพิเศษ)ทุกชันปีเรียนที่
(โครงการพิเศษ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
วันจันทร์ – วันศุกร์ เรียนเวลา 16.30 – 20.20 น.
วันเสาร์ หรือ วันอาทิตย์ เรียนเวลา 08.30 – 16.20 น.
1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต / หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (โครงการพิเศษ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชัน มัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ดังนี
- หลักสูตรบัญชีบณ
ั ฑิต ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- หลักสูตรบัญชีบณั ฑิต (โครงการพิเศษ) ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
4) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่าดังนี
A-Level
TGAT
คณิตศาสตร์
ประยุกต์ 1 สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์
นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
30 1 20 1 10 1 10 1 30 1

1.2 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ/ วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ (โครงการพิเศษ)


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชัน มัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ดังนี
- วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ (โครงการพิเศษ) ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
4) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ ดังนี

A-Level
TGAT คณิตศาสตร์ เลือก ภาษาฝรั่งเศส
ประยุกต์ 2 สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ หรือ ภาษาญี่ปุ่น
หรือ ภาษาเกาหลี
หรือ ภาษาจีน
ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์
นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า นาหนัก ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
30 1 10 1 10 1 10 1 30 1 10 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-116- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ ทีห่ ลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
2.3 แฟ้มสะสมผลงาน (portfolio)
2.4 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3. เอกสารที่ต้องนามาในวันสอบสัมภาษณ์
3.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
3.2 แฟ้มสะสมผลงาน (portfolio)
4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการสอบคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
ทางอินเทอร์เน็ตที่
การสอบสัมภาษณ์
https://admission.swu.ac.th
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบสัมภาษณ์
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-117- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ทุกชันปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนา กรุงเทพมหานคร
1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1. กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
1.2. มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
1.3. ต้องไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง โรคที่สังคมรังเกียจ โรคประจาตัว หรือความพิการต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษาเล่าเรียน
และการประกอบอาชีพ
1.4. มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ควรระบุข้อมูล หรือเอกสารหรือรูปถ่ายแสดงผลงานวิชาการ กิจกรรมและผลงานที่เกี่ยวกับ
สาขาวิชา และกิจกรรมเพื่อส่วนรวมหรือเพื่อสาธารณประโยชน์อื่นๆ
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ ผู้ สมั ครอั พโหลดแฟ้ มสะสมผลงาน ในรู ปแบบ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่ เกิ น 25 MB โดยตั งชื่ อไฟล์ เป็ น “ชื่ อตนเองเป็ น
ภาษาอังกฤษห้ามเว้นวรรค และห้ามมีอักขระพิเศษ” ในระบบรับสมัครฯ https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567
(วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น. หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
1.5. ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
2.3 การสัมภาษณ์และทดสอบความรู้เฉพาะสาขาวิชา ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3. เอกสารที่ต้องนามาในวันสอบสัมภาษณ์
3.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
3.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ขอสงวนสิทธิ์ที่จะไม่คืนแฟ้มประวัติและ
ผลงานแก่ผู้สมัครไม่ว่าในกรณีใดๆ ดังนั้นผู้สมัครควรส่งภาพถ่ายและเอกสารฉบับสาเนาเท่านั้น พร้อมระบุข้อความ
“ใช้เพื่อสมัครเข้าศึกษาที่ มศว ปีการศึกษา 2567 เท่านัน” ทุกหน้า ให้เก็บข้อมูลที่เป็นตัวจริงไว้เป็นเกียรติประวัติของตนเอง
4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่
13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
2 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
การสอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
6 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-118- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
คณะเศรษฐศาสตร์
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต ทุกชันปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) กรุงเทพมหานคร

1 คุณสมบัติเฉพาะหลักสูตร
1.1 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.50 และมี
คะแนนเฉลี่ยสะสมกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรไมต่ากวา 3.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จ
การศึกษา
3) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 16 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่
สาเร็จการศึกษา)
4) มีบุคลิกภาพ ทัศนคติ และคุณลักษณะที่เหมาะสมกับการเรียนหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต
5) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 119)
6) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปการศึกษา 2567 ตามองคประกอบ คานาหนักรอยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ภาษาอังกฤษ
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
50 1 30 1 20 1
1.2 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีบุคลิกภาพ ทัศนคติ และคุณลักษณะที่เหมาะสมกับการเรียนหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 119)
4) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปการศึกษา 2567 ตามองคประกอบ คานาหนักรอยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
A-Level
TGAT เลือก คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1
ภาษาอังกฤษ
หรือ คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
60 1 20 1 20 1
ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) จะต้องเข้าเรียนปรับพืนฐานวิชาคณิตศาสตร์และ
ภาษาอังกฤษ ก่อนเปิดภาคการศึกษา ค่าธรรมเนียมการเรียนปรับพืนฐาน 8,000 บาท
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-119- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
2. การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตังชื่อไฟล์ เป็น
“ชื่อตนเองเป็นภาษาอังกฤษห้ามเว้นวรรค และห้ามมีอักขระพิเศษ” ในระบบรับสมัครฯ https://admission.swu.ac.th
ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น. หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่
กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
3. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะเศรษฐศาสตร์
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละหลักสูตรกาหนด
3.2 คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่าที่
หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
4. เอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์
เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
ทางอินเทอร์เน็ตที่
การสอบสัมภาษณ์
https://admission.swu.ac.th
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบสัมภาษณ์
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-120- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารสังคม (หลักสูตร 2 ภาษา) ทุกชันปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วิชาเอกการออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์และมัลติมเี ดีย กรุงเทพมหานคร
วิชาเอกการจัดการธุรกิจไซเบอร์
วิชาเอกนวัตกรรมคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
สาขาวิชาภาพยนตร์และสื่อดิจิทลั (หลักสูตร 2 ภาษา)
วิชาเอกการผลิตภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
วิชาเอกการออกแบบเพื่องานภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
วิชาเอกการแสดงและกากับการแสดงภาพยนตร์
วิชาเอกการจัดการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
สาขาวิชานวัตกรรมการสื่อสาร (หลักสูตร 2 ภาษา)
วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการท่องเที่ยว
วิชาเอกการสื่อสารเพื่อสุขภาพ
วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการจัดการนวัตกรรม
วิชาเอกการสื่อสารเพื่อเศรษฐศาสตร์
1. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัคร
1.1 กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
1.2 มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผล
การเรียนจนสาเร็จการศึกษา
1.3 จะต้องเป็นผู้มีความสามารถพิเศษ หรือโดดเด่นและมีความสอดคล้องในสาขาต่างๆ และมีประสบการณ์ในสาขาวิชาที่
สมัคร ตังแต่ระดับสถานศึกษาขึนไป
2. คุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา/วิชาเอก
2.1 สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารสังคม (หลักสูตร 2 ภาษา) วิชาเอกการออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์และมัลติมีเดีย
1) เป็นผู้มีทักษะด้านการวาดภาพ การออกแบบสื่อในรูปแบบต่างๆ
2) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่แสดงถึงคุณสมบัติตามข้อ 1) และ/หรือประสบการณ์ กิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
สาขาวิชา/วิชาเอก และผลงานด้านศิลปะอื่นๆ โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-level ประจาปีการศึ กษา 2567 และการสอบเฉพาะสาขาวิชา ตามองค์ป ระกอบ
ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
การสอบเฉพาะสาขาวิชา
TGAT ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สอบข้อเขียน
สอบปฏิบัติ
ทฤษฎีเฉพาะสาขาวิชา
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 1 10 1 30 1 20 1 20 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-121- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
2.2 สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารสังคม (หลักสูตร 2 ภาษา) วิชาเอกการจัดการธุรกิจไซเบอร์
1) เป็นผู้มีทักษะและมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับวิชาเอกการจัดการธุรกิจไซเบอร์
2) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่แสดงถึงคุณสมบัติตามข้อ 1) และ/หรือประสบการณ์ กิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับสาขาวิชา/วิชาเอก และผลงานด้านธุรกิจออนไลน์ หรือธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ หรือการจัดการธุรกิจไซเบอร์ โดย
นามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
TGAT ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
50 1 20 1 30 1
2.3 สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารสังคม (หลักสูตร 2 ภาษา) วิชาเอกนวัตกรรมคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
1) เป็นผู้มีทักษะและมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับวิชาเอกนวัตกรรมคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร อาทิ การพัฒนา
แอปพลิเคชัน เว็บไซต์ การออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ ฯลฯ
2) มี แ ฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่ แ สดงถึ งคุ ณ สมบั ติ ต ามข้ อ 1) และ/หรื อ ประสบการณ์ กิ จ กรรมอื่ น ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา/วิชาเอก โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
TGAT ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
50 1 20 1 30 1
2.4 สาขาวิชาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (หลักสูตร 2 ภาษา) วิชาเอกการผลิตภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
1) เป็นผู้มีความสามารถพิเศษและมีประสบการณ์ด้านการผลิตภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
2) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ทางด้านภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล โดยนามาแสดงในวัน
สอบสัมภาษณ์
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-level ประจาปีการศึกษา 2567 และการสอบเฉพาะสาขาวิชา ตามองค์ประกอบ
ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่า ดังนี
การสอบเฉพาะสาขาวิชา
TGAT ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สอบข้อเขียน
ทฤษฎีเฉพาะสาขาวิชา
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 1 10 1 30 1 40 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-122- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
2.5 สาขาวิชาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (หลักสูตร 2 ภาษา) วิชาเอกการแสดงและกากับการแสดงภาพยนตร์
1) เป็นผู้มีความสามารถพิเศษด้านภาพยนตร์ ด้านการแสดง, การกากับการแสดง หรือการเขียนบท
2) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ทางด้านภาพยนตร์และสื่อดิจิทลั หรือด้านการแสดง
โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
3) มีผลการสอบเฉพาะสาขาวิชา ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ ดังนี
การสอบเฉพาะสาขาวิชา
สอบข้อเขียนทฤษฎีเฉพาะสาขาวิชา

ค่านาหนัก (%) เกณฑ์ขันต่า (คะแนน)


100 1
2.6 สาขาวิชาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (หลักสูตร 2 ภาษา) วิชาเอกการออกแบบเพื่องานภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
1) เป็นผู้มีความสามารถพิเศษด้านภาพยนตร์ ด้านศิลปะการวาด การออกแบบเครื่องแต่งกาย การแต่งหน้าการออกแบบ
ฉาก หรือการออกแบบอื่นๆ
2) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ทางด้านภาพยนตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง โดยนามาแสดงในวัน
สอบสัมภาษณ์
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 และการสอบเฉพาะสาขาวิชา ตามองค์ประกอบ
ค่านาหนักร้อยละ ของสาขาวิชา/วิชาเอก ดังนี
การสอบเฉพาะสาขาวิชา
TGAT ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สอบข้อเขียน
สอบปฏิบัติการ
ทฤษฎีเฉพาะสาขาวิชา
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

20 1 10 1 30 1 20 1 20 1
2.7 สาขาวิชาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (หลักสูตร 2 ภาษา) วิชาเอกการจัดการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
1) เป็นผู้มีความสามารถพิเศษด้านทักษะการสื่อสารในรูปแบบต่างๆ การผลิตสื่อ การออกแบบสื่อ การจัดการสื่อ หรือทักษะ
ที่เกี่ยวเนื่องกับวิชาเอก
2) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ ทางด้านทักษะการสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ผลงานผลิตสื่ อ
การบริหารจัดการ หรือประสบการณ์ กิจกรรมอื่นๆ เช่น Youtuber ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา/วิชาเอก โดยนามาแสดงในวัน
สอบสัมภาษณ์
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ ดังนี

TGAT ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า


(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
50 1 20 1 30 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-123- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
2.8 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการสื่อสาร (หลักสูตร 2 ภาษา)
วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการท่องเที่ยว / วิชาเอกการสื่อสารเพื่อสุขภาพ
วิชาเอกการสื่อสารเพื่อการจัดการนวัตกรรม / วิชาเอกการสื่อสารเพื่อเศรษฐศาสตร์
1) เป็นผู้มีความสามารถพิเศษด้านทักษะการสื่อสารในรูปแบบต่างๆ การผลิตสื่อ การออกแบบสื่อ หรือทักษะที่
เกี่ยวเนื่องกับวิชาเอกที่สมัคร
2) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ทางด้านทักษะการสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ผลงานผลิตสื่อ
หรือประสบการณ์ กิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา/วิชาเอก โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
3) มี ผ ลการสอบ TGAT และ A-Level ประจ าปี ก ารศึ ก ษา 2567 ตามองค์ ป ระกอบค่ า น าหนั ก ร้ อ ยละ ของ
สาขาวิชา/วิชาเอก ดังนี
TGAT ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่านาหนัก เกณฑ์ขันต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
50 1 20 1 30 1
3. เกณฑ์การคัดเลือกของวิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
3.2 คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่านาหนักร้อยละ และเกณฑ์ขันต่าที่
หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3.3 การสอบข้อเขียนวัดความรู้ทั่วไปและการสอบปฏิบัติการออกแบบ (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้คะแนนสอบข้อเขียน
วัดความรู้ทั่วไปเฉพาะสาขาวิชา / การสอบปฏิบัติการออกแบบ)
3.4 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
3.5 การสัมภาษณ์และสอบปฏิบตั ิ ตามเกณฑ์ทหี่ ลักสูตร/สาขาวิชากาหนด

หมายเหตุ - กาหนดการการสอบคัดเลือกอยู่ที่หน้าถัดไป
- หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับหลักสูตร/สาขาวิชา/วิชาเอก ติดต่อสอบถามได้ที่ วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
โทร. 0-2649-5000 ต่ อ 11268, 11269, 11270 ในวัน และเวลาราชการ หรื อ ส่ ง E-mail มาได้ ที่
prcosciswu@gmail.com หรือ Facebook : COSCI SWU
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-124- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
12 มีนาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบข้อเขียน
(เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนด)
การสอบข้อเขียนและการสอบปฏิบัติ
วิชาเอกการผลิตภาพยนตร์และสือ่ ดิจิทัล
วิชาเอกการแสดงและกากับการแสดงภาพยนตร์
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบฯ
24 มีนาคม 2567 09.00 – 11.00 น. สอบข้อเขียน
วิชาเอกการออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์และมัลติมีเดีย
วิชาเอกการออกแบบเพื่องานภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบฯ สถานทีส่ อบ
09.00 – 11.00 น. สอบข้อเขียน รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบทาง
12.00 – 12.30 น. รายงานตัวสอบฯ อินเทอร์เน็ตที่
13.00 – 15.00 น. สอบปฏิบัติ https://admission.swu.ac.th
2 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
เฉพาะวิชาเอกการแสดงและกากับการแสดงภาพยนตร์ ให้นาวัสดุอุปกรณ์ตามทีแ่ ต่ละ
19 - 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน สาขาวิชา/วิชาเอกกาหนด
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ มาในวันสอบ
การสอบสัมภาษณ์
ทุกสาขาวิชา
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์
27 เมษายน 2567 09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
วิชาเอกการแสดงและกากับการแสดงภาพยนตร์
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์
09.00 น. เป็นต้นไป สอบปฏิบัติ (ทดสอบการแสดง)
และสอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 - 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-125- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
วิทยาลัยนานาชาติเพื่อศึกษาความยั่งยืน
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ทุกชันปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชาการจัดการภาคบริการและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน กรุงเทพมหานคร
(หลักสูตรนานาชาติ)
1. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัคร
1.1 กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
1.2 มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
1.3 มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ในรูปแบบ ไฟล์ PDF ส่งมายัง htmtcas.swuic@gmail.com โดยประกอบด้วย
- เรียงความในหัวข้อ “Why am I applying for Bachelor of Arts Program in Sustainable Hospitality and
Tourism Management? และ “ Why Should I be accepted into the program? รวมกัน 1 ฉบับ ภาษาอังกฤษ
ความยาวไม่เกิน 2 หน้ากระดาษ A4 หรือ 500-600 คา โดยใช้อักษร Times New Roman ขนาด 12
- ผลการทดสอบภาษาอังกฤษ (ถ้ามี) โดยไม่กาหนดเกณฑ์ขันต่า และไม่ใช่เป็นเกณฑ์การคัดเลือก
1.4 ไม่มีปญ
ั หาสุขภาพที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าร่วมโครงการศึกษาภาคสนาม ทังในและต่างประเทศ
1.5 ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
2. เกณฑ์การคัดเลือกของวิทยาลัยนานาชาติเพื่อศึกษาความยั่งยืน
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
2.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่
13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
2 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
การสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
6 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th

หมายเหตุ * ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกมีสิทธิ์เข้าศึกษา จะต้องเรียน Pre-college ในช่วงเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม 2567


โดยมีคา่ ใช้จ่ายไม่เกิน 20,000 บาท
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-126- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
วิทยาลัยอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 2 ภาษา) ทุกชันปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชาอัญมณีและเครื่องประดับ กรุงเทพมหานคร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 2 ภาษา)
สาขาวิชาผลิตภัณฑสรางสรรค
สาขาวิชาแฟชั่น สิ่งทอ และเครือ่ งตกแต่ง
1. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัคร
1.1 สาขาวิชาอัญมณีและเครื่องประดับ (หลักสูตร 2 ภาษา) / สาขาวิชาผลิตภัณฑสรางสรรค (หลักสูตร 2 ภาษา)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแตชันมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ำกว่า 2.00 และ จะ
ต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) ต้องไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง โรคที่สังคมรังเกียจ โรคประจาตัว หรือความพิการต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
เล่าเรียนและการประกอบอาชีพ
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ที่นาเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาต้องไม่เกิน 3 ปีย้อนหลัง นับจากวั นที่สมัคร
โดยสามารถออกแบบและสร้างสรรค์ รูปแบบของแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ได้อย่างอิสระ (ดูรายละเอียดที่
ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 127)
5) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
1.2 สาขาวิชาแฟชัน่ สิ่งทอ และเครื่องตกแต่ง (หลักสุตร 2 ภาษา)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
ในโรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร แผนการเรียนแฟชั่น
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแตชันมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ตาํ่ กว่า 2.00 และ จะ
ต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) ต้องไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง โรคที่สังคมรังเกียจ โรคประจาตัว หรือความพิการต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
เล่าเรียนและการประกอบอาชีพ
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดการอัพโหลดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 127)
ที่นาเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาต้องไม่เกิน 3 ปีย้อนหลัง นับจากปีที่สมัคร โดยให้ระบุวิชาโท และแสดงผลงาน
ที่เกี่ยวข้องกับแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องตกแต่ง ดังต่อไปนี ภายในแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
- ผู้สมัครที่เลือกวิชาโทแฟชั่นเครื่องแต่งกาย ต้องมีผลงานแฟชั่นเครื่องแต่งกายนับเป็นสัดส่วน 100% ของแฟ้ม
สะสมผลงาน
- ผู้สมัครที่เลือกวิชาโทสิ่งทอแฟชั่น ต้องมีผลงานสิ่งทอนับเป็นสัดส่วน 60% และ ผลงานแฟชั่นเครื่องแต่งกาย
นับเป็นสัดส่วน 40% ของแฟ้มผลงาน
- ผู้สมัครที่เลือกวิชาโทเครื่องตกแต่งแฟชั่น ต้องมีผลงานเครื่องตกแต่งแฟชั่นนับเป็นสัดส่วน 60% และ ผลงาน
แฟชั่นเครื่องแต่งกายนับเป็นสัดส่วน 40% ของแฟ้มผลงาน
นอกจากผลงานที่เกี่ยวข้องกับแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องตกแต่ง ที่สะสมมาก่อนหน้า ผู้สมัครจะต้องนาเสนอผลงาน
การออกแบบ อย่างน้อย 1 collection ตามกลุ่มวิชาโทที่ระบุ ภายใต้หัวข้อ BCG และ/หรือ ภูมิปัญญาไทย ใน
แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ด้วย
5) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-127- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
2. การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตังชื่อไฟล์ เป็น
“ชื่อตนเองเป็นภาษาอังกฤษห้ามเว้นวรรค และห้ามมีอักขระพิเศษ” ในระบบรับสมัครฯ https://admission.swu.ac.th
ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น. หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่
กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
3. เกณฑ์การคัดเลือกของวิทยาลัยอุตสาหกรรมสรางสรรค
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
3.2 แฟ้มประวัติและผลงาน (Portfolio)
3.3 ผลการสอบข้อเขียนวิชาความถนัดตามสาขาวิชาที่สมัคร
3.4 ผลการสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ทหี่ ลักสูตรกาหนด/สาขาวิชากาหนด
หมายเหตุ : ในการสอบข้อเขียนวิชาเฉพาะสาขาวิชาแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องตกแต่ง ขอให้ผู้สมัครสอบเตรียมอุปกรณ์การ
วาดเขียนและสีที่เหมาะสมกับงานออกแบบ ตามเทคนิคที่ตนเองถนัด
4 เอกสาร /หลักฐานประกอบการการสอบสัมภาษณ์
4.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
4.2 ผลงาน (Portfolio) ที่รวบรวมผลงานทังหมดที่ผ่านมา เช่น ภาพสเก็ตช์ ผลงานจริง ผลงานภาพถ่าย งานสามมิติ VDO และ
ผลงานอื่นๆ ที่แสดงให้เห็น ถึงความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์ ไม่จากัดรูปแบบและปริมาณ มหาวิทยาลัยขอสงวน
สิทธิ์ในการไม่คืนประวัติและผลงาน (Portfolio) แก่ผู้สมัครไม่ว่ากรณีใดๆ
หากผู้เข้าสอบไม่นาหลักฐานตามที่ โครงการ/สาขาวิชา/วิชาเอก กาหนด มาแสดงในวันสมัครและวันสอบจะถือว่า
ผู้สมัครขาดคุณสมบัติและจะถูกตัดสิทธิ์ในการสอบครั้งนี้

5 กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร ทางอินเทอร์เน็ตที่
12 มีนาคม 2567 ประกาศผลผู้สิทธิ์สอบข้อเขียน https://admission.swu.ac.th

สถานที่และวิธีการสอบจะแจ้งให้
24 มีนาคม 2567 การสอบข้อเขียนวิชาเฉพาะสาขาวิชา
ทราบภายหลัง
2 เมษายน 2567 ทางอินเทอร์เน็ตที่
ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
https://admission.swu.ac.th
การสอบสัมภาษณ์
สถานที่และวิธีการสอบจะแจ้งให้
6 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์
ทราบภายหลัง
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-128- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
รายละเอียดแนบท้าย
วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย
สาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต - ทุกชันปีเรียนที่มหาวิทยาลัย
สาขาวิชาการจัดการภูมสิ ังคมและวัฒนธรรม ศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดนครนายก
วิชาเอกการจัดการภูมสิ ังคม - เฉพาะบางรายวิชาเรียนที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วิชาเอกการจัดการภูมิวัฒนธรรม จังหวัดสระแก้ว และ อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชานวัตกรรมเกษตรและการจัดการลุมน้าอยางยั่งยืน
วิชาเอกนวัตกรรมเกษตร
วิชาเอกการจัดการลุมนาอยางยั่งยืน
1. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัคร
1.1 สาขาวิชาการจัดการภูมสิ ังคมและวัฒนธรรม วิชาเอกการจัดการภูมิสังคม / วิชาเอกการจัดการภูมิวฒ ั นธรรม
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) ไมใชคะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) เชน กิจกรรม ความสามารถพิเศษ รางวัลที่เคยไดรับ โดยอัพโหลดตามขั้นตอนดังนี้
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตังชื่อไฟล์
เป็ น “ชื่ อตนเองเป็ นภาษาอั ง กฤษ ห้ า มเว้ น วรรค และห้ า มมี อั ก ขระพิ เศษ ” ในระบบรั บ สมั ค รฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา
15.00 น. หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
1.2 สาขาวิชานวัตกรรมเกษตรและการจัดการลุมน้าอยางยั่งยืน วิชาเอกนวัตกรรมเกษตร / วิชาเอกการจัดการลุมนาอยางยั่งยืน
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตังแต่ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) ไมใชคะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
2. เกณฑ์การคัดเลือกของวิทยาลัยโพธิวิชชาลัย
2.1 เปนไปตามคุณสมบัติของผูมีสทิ ธิ์สมัครและคุณสมบัตเิ ฉพาะของแตละสาขาวิชากาหนด
2.2 แฟมบันทึกประวัติสวนตัว เฉพาะสาขาวิชาการจัดการภูมสิ ังคมและวัฒนธรรม
2.3 ผลการสอบสัมภาษณตามเกณฑที่หลักสูตรกาหนด/สาขาวิชากาหนด
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-129- 1.3 โครงการ ร.ร.สาธิตฯ และโรงเรียนเครือข่าย
3. เอกสาร/หลักฐานประกอบการสมัครและการสอบสัมภาษณ์
3.1 เอกสารตามประกาศฯ ในขอ 7 หนา 5
3.2 แฟมบันทึกประวัติสวนตัว เฉพาะสาขาวิชาการจัดการภูมสิ ังคมและวัฒนธรรม
4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัครทางอินเทอร์เน็ต
2 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
สอบสัมภาษณ์
ทางอินเทอร์เน็ตที่
6 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบฯ
https://admission.swu.ac.th
09.00 – เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์

2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก


ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษาภคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
- 130 - TCAS 2 ปีการศึกษา 2567
1.4 โครงการรับผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล

การคัดเลือกเข้าเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี ประจาปีการศึกษา 2567 TCAS รอบที่ 2 Quota


โครงการรับผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล
(รหัสกลุ่มสาขา 036)
-------------------------------------
เป็นโครงการที่ส่งเสริมให้ผู้ที่สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาลได้ต่อยอดความรู้
และมีคุณวุฒิที่สูงขึ้น
รับสมัคร: ระหว่างวันที่ 13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 (ปิดระบบรับสมัครเวลา 15.00 น.)
1. คณะ / หลักสูตร /สาขาวิชา / จานวนรับ
คณะ / หลักสูตร รหัสสาขาวิชา จานวนรับ สถานที่เรียน

คณะพยาบาลศาสตร์ รับจานวนทั้งหมด 5 คน โดยแบ่งเป็น ทุกชั้นปีเรียนที่


หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต 06001 1. รับผูส้ มัครทีส่ าเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร มหาวิทยาลัย
ได้รับการรับรองมาตรฐานตามเกณฑ์ ผู้ช่วยพยาบาล จาก มศว จานวน 2 คน ศรีนครินทรวิโรฒ
ASEAN University Network Quality 2. รับผูส้ มัครทีส่ าเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร จังหวัดนครนายก
Assurance (AUN-QA) ผู้ช่วยพยาบาล จากสถาบันอื่น จานวน 3 คน

2. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัคร
2.1 สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (ระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 1 ปี) โดยมีคะแนน
เฉลี่ยสะสม ไม่ต่ากว่า 2.50 และ
2.2 สาเร็จการศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ากว่า 2.50
และต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ากว่า 2.50
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ากว่า 2.50
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ากว่า 2.50
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาต่างประเทศ มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ากว่า 2.50
ทั้งนี้ ให้ผู้สมัครส่งหลักฐานแสดงคุณสมบัติเฉพาะ ดังต่อไปนี้
1. สาเนาบัตรประชาชน พร้อมระบุข้อความ “ใช้เพื่อสมัครเข้าศึกษาที่ มศว ปีการศึกษา 2567 เท่านั้น” จานวน 1 ฉบับ
2. สาเนาหลักฐานการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล พร้อมระบุข้อความ “ใช้เพื่อสมัครเข้าศึกษาที่
มศว ปีการศึกษา 2567 เท่านั้น” จานวน 1 ฉบับ
3. สาเนาหลักฐานการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมระบุข้อความ “ใช้เพื่อสมัครเข้าศึกษาที่ มศว ปี
การศึกษา 2567 เท่านั้น” จานวน 1 ฉบับ
ให้ส่งเอกสารตามข้อ 1 – 3 โดยวิธีการดังนี้
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตั้งชื่อไฟล์ เป็น
“ชื่อตนเองเป็นภาษาอังกฤษห้ามเว้นวรรค และห้ามมีอักขระพิเศษ” ในระบบรับสมัครฯ https://admission.swu.ac.th
ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น. หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่
กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
- 131 - TCAS 2 ปีการศึกษา 2567
1.4 โครงการรับผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล

2.3 มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT
คณิตศาสตร์ประยุกต์1 ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ประยุกต์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (%) (%) (%) (%) (%) (%) (%)
30 1 20 1 20 25 30 1
และมีผลรวมของคะแนนรวมทั้งหมดต้องไม่น้อยกว่า 35 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน)

วิช าชีพการพยาบาล เป็นวิชาชีพเพื่อบริการด้านสุขภาพต่ อบุ คคล ครอบครัว กลุ่มคนและชุมชน โดยยึดหลักองค์รวม


ครอบคลุมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและปัญหาสุขภาพ การรักษาพยาบาลในภาวะเจ็บป่วย และการฟื้นฟูสภาพ การศึกษา
วิชาชีพการพยาบาลจึงประกอบด้วยการศึกษาภาคทฤษฎีในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ และการศึกษาภาคฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริง
ทั้งในชุมชนและในหอผู้ป่วยในสถานบริการสุขภาพ ทั้งยังต้องฝึกปฏิบัติครอบคลุมสถานการณ์จริงนอกเวลาราชการในภาคบ่ายและดึก
เพื่อให้ครอบคลุมภารกิจซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์จะต้องปฏิบัติจริงเมื่อสาเร็จการศึกษา จึงเป็นการศึกษาที่
ต้องใช้เวลามากและหนัก ผู้ศึกษาวิชาชีพการพยาบาลจึงต้องมีคุณสมบัติสาคั ญ คือ นอกจากจะต้องเป็นผู้มีสติปัญญาความสามารถใน
การคิ ด การตั ด สิ น ใจได้ อ ย่ า งเหมาะสมแล้ ว ยั งต้ อ งมี บุ ค ลิ ก น่ า เชื่ อ ถื อ มี จิ ต ใจอ่ อ นโยน มี ค วามเมตตา มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบสู ง มี
ความสามารถในการสื่อสาร และมนุษยสัมพันธ์ดี มีความสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ จึงจะสามารถช่วยเหลือ และให้บริการต่อ
ผู้รับบริการได้อย่างถูกต้อง มีคุณภาพและเหมาะสม ฉะนั้นเพื่อจะให้ได้พยาบาลในอนาคตที่มีคุณภาพสาหรับปฏิบัติหน้าที่สนองความ
ต้องการของสังคมและประเทศชาติอย่างมีประสิทธิภาพ
ทั้งนี้ เมื่อผู้สมัครได้รับคัดเลือกเข้าศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตแล้ว จะต้องปฏิบัติตามแนวทางการเตรียมตัว
ด้านสุขภาพก่อนการศึกษาภาคปฏิบัติตามที่แหล่งฝึกภาคปฏิบัติกาหนด
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จึงจาเป็นต้องมีการทดสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ ตรวจ
ร่างกาย และสอบสัมภาษณ์ เพื่อดาเนินการตรวจคัดเลือกผู้ประสงค์จะเข้าศึกษาที่ผ่านการคัดเลือกเป็นผู้มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์
และจะนาผลดังกล่าวมาประกอบในการตัดสินด้วย โดยกาหนดเกณฑ์ดังนี้
1. ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกมีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์จะต้องทดสอบทางจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ (ผู้เข้าสอบจะต้อง
รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการทดสอบทางจิตวิทยาและสอบทักษะทางวิชาชีพ โดยให้เตรียมดินสอดา HB และยางลบ)
2. ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกมีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์จะต้องตรวจร่างกายมาล่วงหน้า ให้นาใบรับรองแพทย์แสดงผลการตรวจ
ร่างกาย และผลการอ่ านฟิ ล์ ม เอ็ ก ซเรย์ ท รวงอก (ที่ ถ่ า ยไว้ ไม่ เกิ น 6 เดื อ น นั บ ถึ งวัน สอบสั ม ภาษณ์ ) ที่ ลงนามรับ รองโดยแพทย์
โรงพยาบาลรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน มายื่นในวันสอบว่าเป็นผู้ที่มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ ปราศจากโรคหรือ
อาการของโรค และ/หรือความพิการ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ
การผดุงครรภ์ ดังนี้
- 132 - TCAS 2 ปีการศึกษา 2567
1.4 โครงการรับผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล

1) ไม่มีปัญหาทางจิตเวชอันอาจเป็นอันตรายต่อตนเอง และ/หรือผู้อื่น ได้แก่ โรคจิต (psychotic disorders) โรค


อารมณ์ผิดปกติ (mood disorders) โรคประสาทรุนแรง (severe neurotic disorders) บุคลิกภาพผิดปกติ (personality disorders)
โรคอารมณ์ผิดปกติสองขั้ว (Bipolar) รวมถึงปัญหาทางจิตเวชอื่นๆ
2) ไม่เป็นโรคติดต่อในระยะติดต่ออันตราย (ตามที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องโรคติดต่อและอาการสาคัญ)
3) ไม่เป็นโรคไม่ติดต่อในระยะรุนแรงหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- โรคลมชักที่ไม่สามารถควบคุมได้ โรคลมชักที่ไม่มีอาการชักมาแล้ว อย่างน้อย 3 ปี โดยมีการรับรองจาก
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ถือเป็นโรคลมชักที่ควบคุมได้
- โรคหัวใจระดับรุนแรงจนเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- โรคความดันโลหิตสูงรุนแรง และมีภาวะแทรกซ้อนทาให้เกิดพยาธิสภาพต่ออวัยวะอย่างถาวร
- ภาวะไตวายเรื้อรัง
- โรคติดสารเสพติดให้โทษ
3. การสอบสัมภาษณ์พิจารณาในด้านต่างๆ ดังนี้
1) ด้านทักษะทางสารสนเทศและเทคโนโลยี
2) ทักษะชีวิตและอาชีพ (ประกอบด้วย บุคลิกภาพทั่วไป ไหวพริบสติปัญญาและความเชื่อมั่นในตนเอง ความสามารถ
ในการสื่อ สาร เจตคติ และความสนใจในวิชาชีพ และสถาบั น การมี ส่วนร่วมในสังคม ความรับ ผิด ชอบ การมีน้ าใจ และจิ ตส านึ ก
สาธารณะ)
3. เกณฑ์การคัดเลือก
3.1 คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่าที่หลักสูตร/
สาขาวิชาที่กาหนด
3.2 ผลการตรวจร่างกายผ่านตามเกณฑ์คุณสมบัติที่กาหนด ดังนี้
3.2.1 ไม่มีความพิการอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
3.2.2 โรคติดต่อในระยะติดต่ออันตราย (ตามที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องโรคติดต่อและอาการสาคัญ)
3.2.3 โรคไม่ติดต่อในระยะรุนแรงหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
1) โรคลมชักที่ไม่สามารถควบคุมได้ (โรคลมชักที่ไม่มีอาการชักมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี โดยมี
การรับรองจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ถือเป็นโรคลมชักที่ควบคุมได้)
2) โรคหัวใจระดับรุนแรงจนเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
3) โรคความดันโลหิตสูงรุนแรง และมีภาวะแทรกซ้อนทาให้เกิดพยาธิสภาพต่ออวัยวะอย่างถาวร
4) ภาวะไตวายเรื้อรัง 5) โรคติดสารเสพติดให้โทษ
3.3 การทดสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ ต้องปกติหรือผ่าน
3.4 การสอบสัมภาษณ์ผ่านตามเกณฑ์ที่หลักสูตรกาหนด
ทั้งนี้ มติของคณะกรรมการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตถือเป็นที่สิ้นสุด
4. เอกสารที่ต้องนาไปในวันสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ/สอบสัมภาษณ์
4.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 3
4.2 ผู้เข้าสอบจะต้องชาระค่าทดสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ คนละ 200 บาท
4.3 ผู้เข้าสอบสัมภาษณ์ต้องตรวจร่างกายมาล่วงหน้า ให้นาผลการตรวจร่างกายจากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน
ระบุผลการตรวจร่างกายตามเกณฑ์ที่กาหนด (ตามแบบฟอร์ม : รายงานการตรวจสุขภาพของผู้มสี ิทธิส์ อบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อ
หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ประจาปีการศึกษา 2567) พร้อมแนบหลักฐานทางห้องปฏิบัติการต่างๆ ตามที่ระบุไว้ในแบบฟอร์ม :
รายงานตรวจสุขภาพฯ
ทั้งนี้ ผู้เข้าสอบคัดเลือก และ/หรือ ผู้ผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาที่ให้ข้อมูลอันเป็นเท็จ หรือจงใจปกปิดข้อมูลหรือแม้
ปรากฏเป็นความเท็จขึน้ ภายหลังจะต้องถูกตัดสิทธิก์ ารศึกษาในคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
- 133 - TCAS 2 ปีการศึกษา 2567
1.4 โครงการรับผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล

5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
ทดสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ
รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
25 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบและส่งเอกสารหลักฐาน
ทางอินเทอร์เน็ตที่
09.00 น.- 12.00 น. ทดสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ
https://admission.swu.ac.th
13.00 น. เป็นต้นไป ส่งผลการตรวจร่างกาย
26 เมษายน 2567 การสอบสัมภาษณ์
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบสัมภาษณ์
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 - 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
หมายเหตุ : หากผู้สมัครมีข้อสังสัยเกี่ยวกับข้อมูลหรือปัญหาอื่นๆ ทีไ่ ม่ระบุใว้ในประกาศฯ สามารถติดต่อสอบถามที่
งานบริการการศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ โทร. 02-649-5000 ต่อ 21800 , 21821 หรือ 089-9222549
- 134 - TCAS 2 ปีการศึกษา 2567
1.4 โครงการรับผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล

รายงานการตรวจสุขภาพของผู้มีสิทธิส์ อบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อ
หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ประจาปีการศึกษา 2567
ข้อมูลส่วนที่ 1 ผู้เข้าสอบคัดเลือกเป็นผู้กรอก (กรอกด้วยตัวบรรจง)
1. ประวัติส่วนตัว
ชื่อ-สกุล (นาย, นาง, นางสาว) .......................................................................................................................................
เกิดวันที่ ....... เดือน .......................... พ.ศ. ............ อายุ ....... ปี ...... เดือน จังหวัดที่เกิด ...........................................
เลขประจาตัวประชาชน....................................................................................................................................................
ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ ...................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
2. ประวัติการเจ็บป่วยของผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา (ทาเครื่องหมาย  และให้ข้อมูล)
ท่านเคยมี หรือมีโรค/ อาการ หรือภาวการณ์เจ็บป่วย ดังต่อไปนี้หรือไม่ (ให้ระบุอาการ พ.ศ.ที่เป็น และรักษาอย่างไร)
มี ไม่มี อธิบายรายละเอียด มี ไม่มี อธิบายรายละเอียด
  หัด .....................................................   เลือด ...................................................
  วัณโรค ...............................................   เบาหวาน .............................................
  ตับอักเสบ ..........................................   หัวใจ ....................................................
  ลมชัก .................................................   ไต ........................................................
  สุกใส ..................................................   ความดันโลหิตสูง .................................
  หอบหืด ..............................................   ต่อมไทรอยด์ .......................................
  ภูมิแพ้ ................................................   ไส้เลื่อน ...............................................
  แพ้ยา .................................................   โรคเรื้อน .............................................
  ตัวเหลือง ตาเหลือง   โรคติดต่อร้ายแรง................................
  ปัญหาทางด้านสุขภาพจิต ..............................................................................................................
  หูหนวก หูตึงจากปราสาท แม้แต่ขา้ งเดียว .....................................................................................
  กระดูกหัก / บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ .................................................................................................
  ผ่าตัดเกี่ยวกับ  สมอง  หัวใจ  กระดูก  อื่นๆ ระบุ ..............................................
  โรคผิวหนังที่เป็นที่รังเกียจแก่ผู้อื่น ..................................................................................................
  โรคเท้าช้างในระยะที่ปรากฏอาการเป็นที่รังเกียจแก่สังคม .............................................................
  ความพิการของร่างกายที่ทาให้เสียบุคลิกลักษณะ ..........................................................................
  ติดยาเสพติดทุกชนิด และโรคพิษสุราเรื้อรัง ...................................................................................
  อื่นๆ ................................................................................................................................................
ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลประวัติดังกล่าวข้างต้นเป็นจริงทุกประการ และรับทราบว่าหากตรวจพบภายหลังว่ามีข้อมูลที่ไม่
เป็นจริง หรือมีการปิดบังข้อมูล ข้าพเจ้าจะถูกตัดสิทธิ์ในการคัดเลือกครั้งนี้ แม้จะได้รับการคัดเลือกเข้าศึกษาแล้วก็ยินยอม ให้ถอน
สภาพจากการเป็นนิสิต
ลงชื่อ …………….………………………………………. ผูส้ อบคัดเลือก ลงชื่อ …………….………………………………………. ผูร้ ับรอง
(..............................................................) (..............................................................)
วันที่ ...... เดือน ..................... พ.ศ. ........... บิดา หรือมารดา หรือผู้ปกครอง
วันที่ ...... เดือน ..................... พ.ศ. ...........
- 135 - TCAS 2 ปีการศึกษา 2567
1.4 โครงการรับผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล

ข้อมูลส่วนที่ 2 แพทย์เป็นผู้กรอก (จะต้องตรวจทุกรายการ)


ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกมีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์ ให้ไปตรวจร่างกายและเอกซเรย์ทรวงอกที่โรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาล
ของเอกชน โดยนาเอกสารฉบับนี้ให้แพทย์ผู้ตรวจกรอกผลการตรวจร่างกายตามแบบฟอร์มนี้ และลงนามเป็นหลักฐานพร้อมทั้ง
ประทับตราโรงพยาบาลตรงลายมือชื่อแพทย์ผู้ตรวจ
ข้าพเจ้า (นายแพทย์, แพทย์หญิง) ..................................................................................................................................
เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม ............................................ ออกให้ ณ วันที่ ...... เดือน ...................... พ.ศ. ...............
ชื่อโรงพยาบาลที่เข้ารับการตรวจ ...................................................................................................................................................
แขวง/ตาบล ........................................... เขต/อาเภอ .....................................................จังหวัด....................................................
ได้ทาการตรวจร่างกาย (นาย, นาง, นางสาว) ................................................................................................................................
เลขที่ผู้ป่วย (H.N.) .......................................... วัน/เดือน/ ปีที่เข้าตรวจร่างกาย .............................................. แล้วได้ผล ดังนี้
ผลการตรวจร่างกายทั่วไป
น้าหนัก ........... กิโลกรัม ส่วนสูง ........... เซนติเมตร อุณหภูมิ ........... OC
ความดันโลหิต .................................. มม. ปรอทชีพจร ........... ครั้ง/ นาที อัตราการหายใจ ........... ครั้ง/ นาที

ลักษณะรูปร่าง บุคลิกภาพ  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................


ลักษณะแขนและมือ  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ลักษณะขาและเท้า  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
กระดูกและกล้ามเนื้อ  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การออกเสียงพูด  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ลักษณะในช่องปาก  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ลักษณะผิวหนัง  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การเคลื่อนไหวของร่างกาย  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ระบบประสาท  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การมองเห็น (VA) ตาขวา  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การมองเห็น (VA) ตาซ้าย  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ตาบอดสี (โดยเฉพาะแม่สี)  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ใบหู และลักษณะภายนอกของหูขวา  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ใบหู และลักษณะภายนอกของซ้าย  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การได้ยินหูขวา  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การได้ยินหูซ้าย  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
จมูก  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ต่อมไทรอยด์  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ต่อมน้าเหลือง  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การทางานของหัวใจ  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ปอด  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
- 136 - TCAS 2 ปีการศึกษา 2567
1.4 โครงการรับผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล

ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Urine analysis (UA) (แนบรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการมาด้วย)
Albumin  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Sugar  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Sediments  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
สารเสพติด (มอร์ฟีน, แอมเฟตามีน  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
หรืออื่นๆ อย่างน้อย 1 ประเภท)
Complete blood count (CBC) (แนบรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการมาด้วย)
Hemoglobin  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Hematocrit  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Red blood cell Morphology
Anisocytosis  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Poikilocytosis  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Hypochromia  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Microcytosis  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Macrocytosis  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
White blood cell count
Neutrophil  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Basophil  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Eosinophil  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Lymphocyte  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Monocyte  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Platelets  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
ผลการตรวจไวรัสตับอักเสบบี และ/หรือได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกัน (แนบรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือหลักฐาน
การรับวัคซีนมาด้วย)
HBsAg  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Anti-HBs  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
ได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกัน ........................................................................................................................
ผลการตรวจภูมิ คุ้ม กันโรคสุ กใส และ/หรือได้รับ วัคซี นภู มิคุ้ม กัน (แนบรายงานผลการตรวจทางห้ องปฏิบั ติการ หรือ
หลักฐานการรับวัคซีนมาด้วย)
ภูมิคุ้มกันโรคสุกใส  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
ได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกัน .....................................................................................................................
ผลการตรวจทางรังสีวิทยา (หากผลการตรวจปกติไม่ต้องนาฟิล์มเอกซเรย์ทรวงอกมา และผิดปกติให้นาฟิล์มเอกซเรย์ทรวง
อกมาด้วย)
Chest X-rays  ปกติ  ผิดปกติ หากผิดปกติ โปรดระบุ ……………………………….
…………………………..………………………………………
 เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
 ไม่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- 137 - TCAS 2 ปีการศึกษา 2567
1.4 โครงการรับผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล

ผลการวินิจฉัย

โรคเรื้อน  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................


โรคเท้าช้าง  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคลมชัก  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคคนเผือก  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคหัวใจระดับรุนแรง  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคความดันโลหิตสูงรุนแรงและ  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
มีภาวะแทรกซ้อน
ภาวะไตวายเรื้อรัง  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
วันโรคในระยะแพร่เชื้อ  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคที่เกิดจากสารเสพติด  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคพิษสุราเรื้อรัง  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคจิต สุขภาพจิต  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ความพิการอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ความผิดปกติอื่นๆ ที่ตรวจพบ ระบุ ......................................................................................................................
……………………..……………………………………………………………………………….

ข้าพเจ้ามีความเห็นว่า (นาย, นาง, นางสาว) ...................................................................................................................


มีสุขภาพอยู่ในประเภท  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ....................................................................................................................

(ลงนาม)...........................................................................
(.........................................................................)
แพทย์ผู้ตรวจประจาโรงพยาบาล
วันที่ ........ เดือน .................... พ.ศ. .............
(ประทับตราโรงพยาบาล)

หมายเหตุ รายงานการตรวจสุขภาพฯ ที่สมบูรณ์ต้องมีตราประทับของโรงพยาบาล และลายเซ็นแพทย์ผู้ตรวจกากับ


- 138 - TCAS 2 ปีการศึกษา 2567
1.4 โครงการรับผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล

ส่วนที่ 3 คุณลักษณะด้านสุขภาพของผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา ต้องเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ ปราศจากโรค


หรืออาการของโรค และ/หรือความพิการ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ
การผดุงครรภ์ ดังนี้
1. ไม่มีปัญหาทางจิตเวชอันอาจเป็นอันตรายต่อตนเอง และ/หรือผู้อื่น ได้แก่ โรคจิต (psychotic disorders) โรค
อารมณ์ผิดปกติ (mood disorders) โรคประสาทรุนแรง (severe neurotic disorders) บุคลิกภาพผิดปกติ (personality disorders)
โรคอารมณ์ผิดปกติสองขั้ว (Bipolar) รวมถึงปัญหาทางจิตเวชอื่นๆ
2. ไม่เป็นโรคติดต่อในระยะติดต่ออันตราย (ตามที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง โรคติดต่อและอาการ
สาคัญ)
3. ไม่เป็นโรคไม่ติดต่อในระยะรุนแรงหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- โรคลมชักที่ไม่สามารถควบคุมได้ โรคลมชักที่ไม่มีอาการชักมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี โดยมีการรับรองจากแพทย์
ผู้เชี่ยวชาญ ถือเป็นโรคลมชักที่ควบคุมได้
- โรคหัวใจระดับรุนแรงจนเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- โรคความดันเลือดสูงรุนแรง และมีภาวะแทรกซ้อนทาให้เกิดพยาธิสภาพต่ออวัยวะอย่างถาวร
- ภาวะไตวายเรื้อรัง
- โรคติดสารเสพติดให้โทษ

พร้อมทั้ง เมื่อได้รับคัดเลือกเข้าศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตแล้ว จะต้องปฏิบัติตามแนวทางการเตรียมตัวด้าน


สุขภาพก่อนการศึกษาภาคปฏิบัติตามที่แหล่งฝึกภาคปฏิบัติกาหนด ดังนี้
1. ตรวจร่างกายโดยแพทย์และขอใบรับรองแพทย์ 5 โรค
2. เอกซเรย์ภาพทรวงอก (Chest x-ray) พร้อมผลอ่าน
3. ผลการตรวจ Complete blood count (CBC)
4. ผลการตรวจภูมิโรค Hepatitis B
5. การได้รับภูมิคุ้มกัน
1) มีภูมิคุ้มกัน และ/หรือ ได้รับวัคซีนไวรัสตับอักเสบ เอ
2) มีภูมิคุ้มกัน และ/หรือ ได้รับวัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี (ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม)
3) มีภูมิคุ้มกัน และ/หรือ ได้รับวัคซีนโรคสุกใส
4) มีภูมิคุ้มกัน และ/หรือ ได้รับวัคซีนโรคโควิด-19
5) รับวัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม MMR (ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม)
6) รับวัคซีนคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก (ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม)
7) รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (แนะนาให้ฉีดปีละ 1 ครั้ง)
6. ผลการตรวจอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตพิจารณาแล้วเห็นสมควร
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-139- 1.5 โครงการบัณฑิตคืนถิ่น โพธิวิชชาลัย

การคัดเลือกเข้าเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี ประจาปีการศึกษา 2567 TCAS รอบที่ 2 Quota


โครงการบัณฑิตคืนถิ่น โพธิวิชชาลัย (รหัสกลุม่ สาขา 183)
-------------------------------------
เป็นโครงการที่เปิดโอกาสให้กับนักเรียนผู้ที่มีปณิธานที่จะกลับไปประกอบอาชีพยังภูมิลาเนาของตนเอง
รับสมัคร: ระหว่างวันที่ 13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 (ปิดระบบรับสมัครเวลา 15.00 น.)
1. คณะ / หลักสูตร /สาขาวิชา / จานวนรับ
รหัส จานวนรับ
ที่ คณะ / หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก สถานที่เรียน
สาขาวิชา (คน)
วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย - ทุกชั้นปีเรียนที่มหาวิทยาลัย
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชาการจัดการภูมสิ ังคมและวัฒนธรรม จังหวัดนครนายก
1 วิชาเอกการจัดการภูมสิ ังคม 47001 2 - เฉพาะบางรายวิชาเรียนที่
2 วิชาเอกการจัดการภูมิวัฒนธรรม 47002 2 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต จังหวัดสระแก้ว และ อาเภอแม่สอด
สาขาวิชานวัตกรรมเกษตรและการจัดการลุ่มนาอย่างยั่งยืน จังหวัดตาก
3 วิชาเอกนวัตกรรมเกษตร 47005 2
4 วิชาเอกการจัดการลุ่มน้าอย่างยั่งยืน 47006 2
รวม 8

2. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัคร
2.1 มีสัญชาติไทยหรือเป็นผู้อาศัยอยู่ในประเทศไทยอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
2.2 เป็นผู้มีความประพฤติดี มีความมุ่งมั่นในการศึกษาเรียนรูเ้ พื่อท้องถิ่น ถิ่นเกิด มีความรับผิดชอบ มีความอดทน
และหนักเอาเบาสู้
2.3 สาเร็จการศึกษาหรือกาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ
หรื อ หลั ก สู ต รอาชี ว ศึ ก ษา หรื อ หลั ก สู ต รตามอั ธ ยาศั ย (กศน.) หรื อ หลั ก สู ต ร GED และจะส าเร็ จ การศึ ก ษา
ในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครจากหลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตร GED ต้องมีคณ
ุ สมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การ
เทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-140- 1.5 โครงการบัณฑิตคืนถิ่น โพธิวิชชาลัย

3. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
3.1 สาขาวิชาการจัดการภูมสิ ังคมและวัฒนธรรม วิชาเอกการจัดการภูมิสังคม / วิชาเอกการจัดการภูมิวฒ ั นธรรม
1) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1
รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.): มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.00
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลี่ยทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.00
ทั้งนี้จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คดิ คะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
2) จะต้องมีภมู ิลาเนาอยู่ในจังหวัดทีก่ าหนด ดังนี
- วิชาเอกการจัดการภูมิสังคม
จะต้องมีภูมิลาเนาอยู่ในจังหวัดสระแก้วหรือจังหวัดชายแดนที่มีเขตติดต่อกับประเทศกัมพูชา ได้แก่ อุบลราชธานี ศรี
สะเกษ สุรินทร์ บุรีรมั ย์ หรือจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย ได้แก่ จันทบุรี ระยอง ตราด ชลบุรี
ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และ นครนายก
- วิชาเอกการจัดการภูมิวัฒนธรรม
จะต้องมีภมู ิลาเนาอยู่ในจังหวัดตาก หรือจังหวัดชายแดนที่มีเขตติดต่อกับประเทศเมียนมา ได้แก่ กาญจนบุรี
ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง หรือจังหวัดในภาคเหนือของประเทศไทย ได้แก่ เชียงราย
เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง ลาพูน และ อุตรดิตถ์
3) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
3.2 สาขาวิชานวัตกรรมเกษตรและการจัดการลุ่มนาอย่างยั่งยืน วิชาเอกนวัตกรรมเกษตร / วิชาเอกการจัดการลุม่ น้าอย่างยั่งยืน
1) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
- โรงเรีย นหลั ก สู ต รอาชี ว ศึ กษา: มี ค ะแนนเฉลี่ ย สะสมตั้ งแต่ ร ะดั บ ประกาศนี ย บั ต รวิ ชาชี พ 1 - 3 ภาคเรี ย นที่ 1
รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
- โรงเรียนหลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.): มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียน ไม่ต่ากว่า 2.00
- หลักสูตร GED : มีคะแนนเฉลีย่ ทั้งหมด ไม่ต่ากว่า 2.00
ทั้งนีจ้ ะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
2) จะต้องมีภูมิลาเนาอยู่ในจังหวัดสระแก้วหรือจังหวัดชายแดนที่มเี ขตติดต่อกับประเทศกัมพูชา ได้แก่ อุบลราชธานี ศรีสะ
เกษ สุรินทร์ บุรีรัม ย์ หรือจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย ได้แก่ สระแก้ว จันทบุรี ระยอง ตราด ชลบุ รี
นครนายก ฉะเชิงเทรา และ ปราจีนบุรี หรือต้องมีภูมิลาเนาอยู่ในจังหวัดตาก หรือจังหวัดชายแดนที่มีเขตติดต่อกับ
ประเทศเมียนมา ได้แก่ กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร และ ระนอง หรือจังหวัดในภาคเหนือของ
ประเทศไทย ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง ลาพูน และ อุตรดิตถ์
3) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
4. การสมัคร สามารถสมัครได้ 1 ช่องทางคือ การสมัครทางอินเตอร์เน็ต (online) ได้ที่ http://admission.swu.ac.th ระหว่างวันที่
13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 โดยผู้สมัครไม่ต้องชาระค่าธรรมเนียมการสมัคร
หมายเหตุ : - ผู้สมัครต้องรับผิดชอบในการตรวจสอบและรับรองตนเองว่า เป็นผู้มคี ุณสมบัติครบถ้วนทุกประการ เป็นไปตาม
ประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง การรับสมัครคัดเลือกเข้าเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี ประจาปีการศึกษา 2567 TCASi2
(โครงการบัณฑิตคืนถิ่น วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย) แล้วจึงสมัคร
- หากตรวจสอบพบภายหลังว่าขาดคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่งตามที่ระบุไว้ในประกาศฯ แม้จะผ่านกระบวนการคัดเลือก
เข้าเป็นนิสิตแล้วก็ตาม ให้ถือว่าผู้สมัครสอบเป็นผู้ขาดคุณสมบัติจะถูกตัดสิทธิ์ในการคัดเลือกครั้งนี้
และจะคัดชื่อออกจากการเป็นนิสิต โดยไม่ได้รับเงินค่าธรรมเนียมที่ชาระไว้แล้วคืนไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-141- 1.5 โครงการบัณฑิตคืนถิ่น โพธิวิชชาลัย

5. เอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร
5.1 รูปถ่ายหน้าตรง ไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่นดา ขนาด 1 นิ้ว จานวน 3 รูป รูปถ่ายแต่ละชุด จะต้องเป็นรูปที่ถ่ายครั้งเดียวกัน และ
ถ่ายภายในระยะเวลาไม่เกิน 6 เดือน นับถึงวันสมัคร (ให้เขียนชื่อ นามสกุล ไว้ด้านหลังรูปด้วย)
5.2 สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน หรือบัตรประจาตัวนักเรียน หรือบัตรที่มีรูปถ่ายที่ทางราชการออกให้
5.3 สาเนาทะเบียนบ้านเฉพาะหน้าแรกและหน้าที่มีชื่อผูส้ มัคร
5.4 สาเนาหลักฐานการเปลีย่ นชื่อ/นามสกุล (เฉพาะกรณีที่ชื่อ/นามสกุลในเอกสารการสมัครไม่ตรงกัน)
5.5 สาเนาใบระเบียนแสดงผลการเรียนฯ (ปพ.1 สาหรับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ รบ.1 สาหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ)
หรือ สาเนาใบประกาศนียบัตรอื่นที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่า พร้อมทั้งมีข้อความหรือเอกสารทีร่ ะบุคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา (กรณีสาเร็จการศึกษาชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6 แล้วใช้คะแนนเฉลี่ยสะสม 6 ภาคการศึกษา)
ให้ส่งเอกสารตามข้อ 5.1 – 5.5 โดยวิธีการดังนี
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครัง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ ผู้ สมั ครอั พโหลดแฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio) ในรู ป แบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่ เกิ น 25 MB โดยตั้ งชื่ อ ไฟล์ เป็ น
“ชื่อตนเองเป็นภาษาอังกฤษห้ามเว้นวรรค และห้ามมีอักขระพิเศษ” ในระบบรับสมัครฯ https://admission.swu.ac.th ภายใน
วัน ที่ 29 กุ มภาพั นธ์ 2567 (วันสุ ดท้ ายของการรับสมั คร) ระบบปิ ดเวลา 15.00 น. หากส่ งเอกสารเกิ นระยะเวลาที่ ก าหนด
มหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
6. เอกสารที่ต้องนามาในวันสอบสัมภาษณ์
6.1 เอกสารตามข้อ 5 (ฉบับจริง)
6.2 แฟ้มบันทึกประวัตสิ ่วนตัว เช่น กิจกรรม ความสามารถพิเศษ รางวัลที่เคยได้รับ และทุนการศึกษา (ถ้ามี)
กรณีผู้เข้าสอบไม่นาบัตรประจาตัวประชาชน หรือเอกสารแสดงตัวตนที่ทางราชการออกให้ มาแสดงในวันสอบ มหาวิทยาลัยจะ
ไม่อนุญาตให้เข้าสอบไม่ว่ากรณีใดๆ ทังสิน และจะถูกตัดสิทธิ์ในการสอบครังนี
7. เกณฑ์การคัดเลือก
การสอบสัมภาษณ์ ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร / สาขาวิชากาหนด
8. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัครทางอินเทอร์เน็ต
2 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
สอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
6 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบฯ https://admission.swu.ac.th
09.00 – เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษาภคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
9 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
9. ทุนอุดหนุนการศึกษา
สาขาวิชาการจัดการภูมสิ ังคมและวัฒนธรรม / สาขาวิชานวัตกรรมเกษตรและการจัดการลุ่มนาอย่างยั่งยืน
ผู้ที่รายงานตัวเข้าเป็นนิสิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒแล้วสามารถสมัครเข้ารับการสนับสนุนทุนการศึกษาของวิทยาลัยฯ (โดย
ไม่มสี ัญญาชดใช้ทุน) ซึ่งจะพิจารณาโดยคณะกรรมการพิจารณาทุน
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-142- 1.5 โครงการบัณฑิตคืนถิ่น โพธิวิชชาลัย

แบบตรี 9
ใบสมัครเข้าศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒระดับปริญญาตรี ประจาปีการศึกษา 2567
โครงการบัณฑิตคืนถิ่น โพธิวิชชาลัย
ข้อปฏิบัติ
เลขที่นั่งสอบ
1. ผู้สมัครต้องกรอกใบสมัครด้วย ติดรูปถ่าย
ลายมือตนเอง และเขียนตัวบรรจง 1 นิ้ว
2. ก่อนส่งใบสมัครให้ตรวจสอบ เลขที่ใบสมัคร (โปรดติดให้แน่น)
ความถูกต้องของเอกสารต่าง ๆ
วิชาเอกที่สมัคร วิชาเอกการจัดการภูมิสังคม  รหัสสาขาวิชา 47001 รหัสกลุ่มสาขา 183
วิชาเอกการจัดการภูมิวัฒนธรรม  รหัสสาขาวิชา 47002 รหัสกลุ่มสาขา 183
วิชาเอกนวัตกรรมเกษตร  รหัสสาขาวิชา 47005 รหัสกลุ่มสาขา 183
วิชาเอกการจัดการลุ่มนาอย่างยั่งยืน  รหัสสาขาวิชา 47006 รหัสกลุ่มสาขา 183
1. ชื่อ – นามสกุล (นาย/นางสาว)................................................................................................................................
2. อายุ..................ปี เลขประจาตัวประชาชน 
3. หมายเลขโทรศัพท์มือถือ................................................. อีเมล................................................................................
4. วัน/เดือน/ปีเกิด (ระบุเป็นปี พ.ศ.)........./.............../........... สัญชาติ.............. เชื้อชาติ............... ศาสนา.................
5. ภูมิลาเนาบ้านเลขที่............หมู่ที่.........หมู่บ้าน............................................ ถนน....................................ซอย...........
ตาบล/แขวง.........................อาเภอ/เขต..............................จังหวัด...............................รหัสไปรษณีย์ …………….….…
(โดยอาศัยอยู่ไม่น้อยกว่า 2 ปี นับตั้งแต่วันที่.................เดือน.....................................................พ.ศ. ......................)
อยู่ในเขตการปกครอง................................................................................................................. ...............................
6. ที่อยู่ ของผู้สมัครที่ติดต่อได้รวดเร็วที่สุดขณะรอฟังผลการสอบ
บ้านเลขที่..............หมู่ที่..........หมู่บ้าน...............................................ถนน................................................ซอย..........
ตาบล/แขวง............................อาเภอ/เขต............................จังหวัด.............................รหัสไปรษณีย์ ……………………
บิดา ชื่อ.............................................................................นามสกุล..................................... .................................
มารดา ชื่อ.............................................................................นามสกุล......................................................................
ผู้ปกครอง................................................................................นามสกุล......................................................................
หมายเลขโทรศัพท์มือถือ ของผู้ปกครอง.......................................................................................................
7. สถานภาพการศึกษา
 กาลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6  กาลังศึกษาเทียบเท่าชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
คะแนนเฉลี่ยสะสมถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 (รวม 5 ภาคการศึกษา).............................................
 สาเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา................ คะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด ..................................
 สาเร็จการศึกษาเทียบเท่าชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา................ คะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด ....................
โรงเรียน.................................................................................................จังหวัด...............................................................
แผนการเรียน............................................................................................................................... ....................................
ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ข้อความข้างต้นเป็นความจริงและข้าพเจ้ามีคุณสมบัติครบตามที่ประกาศรับสมัครทุกประการ
หากตรวจสอบในภายหลังพบว่าขาดคุณสมบัติ ข้าพเจ้ายินดีให้ตัดสิทธิ์ในการเข้าศึกษาโดยไม่มีขอ้ โต้แย้งใดๆ ทั้งสิ้น
ลงชื่อผู้สมัคร............................................................................
(.........................................................................)
วันที่.............เดือน.......................................พ.ศ. .
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-143- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

การคัดเลือกเข้าเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี ประจาปีการศึกษา 2567 TCAS รอบที่ 2 Quota


โครงการ “โรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล”
-------------------------------------
เป็ น โครงการที่เปิ ดโอกาสให้ กับ นั กเรียนที่กาลั งศึกษาในโรงเรียนมัธ ยมศึกษาเขตพื้น ที่มหาวิท ยาลั ยและ
ปริมณฑล ได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดนครนายก จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดสระแก้ว จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัด
นนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครปฐม ในจังหวัดใดจังหวัดหนึ่ง ตั้งแต่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จนถึงปัจจุบัน ไม่จาเป็นต้องเป็นจังหวัดเดียวกัน รายละเอียดดังนี้
รับสมัคร: ระหว่างวันที่ 13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 (ปิดระบบรับสมัครเวลา 15.00 น.)
1. โครงการ “โรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล” (รหัสกลุม่ สาขา 194)
รหัส จานวนรับ
ที่ คณะ / หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก หน้า
สาขาวิชา (คน)
คณะแพทยศาสตร์
1 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต 07001 2 147 - 149
คณะพยาบาลศาสตร์
2 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต 06001 40 150 - 157
ได้รับการรับรองมาตรฐานตามเกณฑ์ ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
คณะมนุษยศาสตร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
3 สาขาวิชาจิตวิทยา 01001 7 158 - 162
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
4 สาขาวิชาภาษาเพื่ออาชีพ (หลักสูตรนานาชาติ) 01124 5 158 - 162
สาขาวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ)
5 วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาฝรั่งเศส 01126 4 158 - 162
6 วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาเยอรมัน 01127 2 158 - 162
7 วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน 01132 2 158 - 162
8 สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน 01131 3 158 - 162
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
9 สาขาวิชาภาษาไทย (กศ.บ) 01026 10 158 - 162
คณะวิทยาศาสตร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
10 สาขาวิชาคณิตศาสตร์ 02001 5 163 - 167
11 สาขาวิชาเคมี 02002 5 163 - 167
12 สาขาวิชาชีววิทยา 02003 7 163 - 167
13 สาขาวิชาฟิสิกส์ 02004 2 163 - 167
14 สาขาวิชาสถิติ 02008 10 163 - 167
15 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 02030 7 163 - 167
16 สาขาวิชาจุลชีววิทยา 02014 8 163 - 167
17 สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ 02107 8 163 - 167
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
18 สาขาวิชาชีววิทยา (กศ.บ.) 02104 1 163 - 167
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-144- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รหัส จานวนรับ
ที่ คณะ / หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก หน้า
สาขาวิชา (คน)
คณะเภสัชศาสตร์
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต
19 วิชาเอกเภสัชกรรมอุตสาหการ 12010 5 168 - 169
รับเฉพาะผู้สมัครจากโรงเรียนในเขตพื้นทีจ่ ังหวัดนครนายก ปราจีนบุรี และสระแก้ว เท่านั้น
คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์การเกษตร
หลักสูตรวิทยาศาสตบัณฑิต
20 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ 71001 10 170 - 172
21 สาขาวิชานวัตกรรมพอลิเมอร์และการจัดการ 71005 5 170 - 172
(อยู่ระหว่างปรับหลักสูตรเปลี่ยนชือ่ เป็น “สาขาวิชาเทคโนโลยีวสั ดุพอลิเมอร์)
22 สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพและผลิตภัณฑ์การเกษตร 71003 5 170 - 172
23 สาขาวิชานวัตกรรมอาหารและธุรกิจ 71004 5 170 - 172
คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม
24 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต 68001 44 173 - 177
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
25 วิชาเอกการตลาด 68002 25 173 - 177
26 วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ 68005 50 173 - 177
27 สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม 68004 20 173 - 177
28 สาขาวิชาธุรกิจเพื่อสังคม 68006 15 173 - 177
วิทยาลัยนานาชาติเพื่อศึกษาความยั่งยืน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
29 สาขาวิชาการจัดการภาคบริการและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (หลักสูตรนานาชาติ) 70008 5 178
คณะกายภาพบาบัด
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
30 สาขาวิชากายภาพบาบัด 67001 10 179 - 181
ได้รับการรับรองมาตรฐานตามเกณฑ์ ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
31 สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ 67002 5 179 - 181
32 สาขาวิชากิจกรรมบาบัด 67003 1 179 - 181
คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
33 สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนา 66006 5 182 - 183
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
34 สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร 66005 10 182 - 183
คณะสังคมศาสตร์
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
35 สาขาวิชาประวัติศาสตร์ 03001 3 184 - 185
สาขาวิชาสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา
36 วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง 03115 3 184 - 185
37 วิชาเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา 03116 3 184 - 185
คณะเศรษฐศาสตร์
38 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) 49002 5 186 - 187
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-145- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รหัส จานวนรับ
ที่ คณะ / หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก หน้า
สาขาวิชา (คน)
คณะวิศวกรรมศาสตร์
39 สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี 09001 5 188 - 193
40 สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 09002 2 188 - 193
41 สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า - วิชาเอกวิศวกรรมไฟฟ้ากาลัง 09013 2 188 - 193
42 สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า - วิชาเอกวิศวกรรมโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ 09024 2 188 - 193
43 สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา 09004 3 188 - 193
44 สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 09005 1 188 - 193
45 สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ 09011 3 188 - 193
46 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 09012 2 188 - 193
47 สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ (หลักสูตร 2 ภาษา) 09015 3 188 - 193
48 สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 09018 2 188 - 193
49 สาขาวิชาวิศวกรรมคอนเสิร์ตและมัลติมีเดีย (หลักสูตรนานาชาติ) 09019 1 188 - 193
50 สาขาวิชาวิศวกรรมด้านความปลอดภัยไซเบอร์ (หลักสูตรนานาชาติ) 09021 1 188 - 193
คณะพลศึกษา
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต 194 - 198
51 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย 04121 5
ได้รับการรับรองมาตรฐานตามเกณฑ์ ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
ได้รับการรับรองมาตรฐานตามเกณฑ์ ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
52 - อนามัยสิ่งแวดล้อม 04123 5 194 - 198
53 - สาธารณสุขชุมชน 04124 5 194 - 198
54 - อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 04125 5 194 - 198
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
55 สาขาวิชาผู้นานันทนาการ 04007 2 194 - 198
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
56 สาขาวิชาพลศึกษา (กศ.บ.) 04101 1 194 - 198
ได้รับการรับรองมาตรฐานตามเกณฑ์ ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
57 สาขาวิชาสุขศึกษา (กศ.บ.) 04102 3 194 - 198
58 สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (กศ.บ.) 04100 3 194 - 198
วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการภูมสิ ังคมและวัฒนธรรม
59 วิชาเอกการจัดการภูมสิ ังคม 47001 10 199 - 200
60 วิชาเอกการจัดการภูมิวัฒนธรรม 47002 10 199 - 200
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชานวัตกรรมเกษตรและการจัดการลุ่มน้าอย่างยั่งยืน
61 วิชาเอกนวัตกรรมเกษตร 47005 5 199 - 200
62 วิชาเอกการจัดการลุ่มน้าอย่างยั่งยืน 47006 5 199 - 200
รวม 448
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-146- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

2. โครงการ “โรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล” (โครงการพิเศษ) (รหัสกลุ่มสาขา 217)


รหัส จานวนรับ
ที่ คณะ / หลักสูตร / สาขาวิชา / วิชาเอก หน้า
สาขาวิชา (คน)
คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม
1 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (โครงการพิเศษ) 68001 24 173 - 177
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
2 วิชาเอกการตลาด (โครงการพิเศษ) 68002 10 173 - 177
3 วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ (โครงการพิเศษ) 68005 25 173 - 177
4 สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม (โครงการพิเศษ) 68004 10 173 - 177
คณะสังคมศาสตร์
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
5 สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (โครงการพิเศษ) 03001 3 184 - 185
สาขาวิชาสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา
6 วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง (โครงการพิเศษ) 03115 2 184 - 185
7 วิชาเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา (โครงการพิเศษ) 03116 2 184 - 185
คณะมนุษยศาสตร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
8 สาขาวิชาจิตวิทยา (โครงการพิเศษ) 01001 12 158 - 162
9 สาขาวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ)
วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาเยอรมัน (โครงการพิเศษ) 01127 5 158 - 162
รวม 93

3. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัคร
จะต้องกาลังศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล ได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดนครนายก จังหวัด
ปราจีนบุรี จังหวัดสระแก้ว จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัด
นครปฐม ในจังหวัดใดจังหวัดหนึ่ง ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จนถึงปัจจุบัน ไม่จาเป็นต้องเป็นจังหวัดเดียวกัน และจะสาเร็จการศึกษาใน
ปีการศึกษา 2567
สาหรับคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละหลักสูตร/สาขาวิชา/วิชาเอก ให้เป็นไปตามรายละเอียดแนบท้าย
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-147- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รายละเอียดแนบท้าย
คณะแพทยศาสตร์
หลักสูตรแพทยศาสตร์มีสถานที่เรียน 2 แห่ง ดังนี้
1) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งอยู่ที่ถนนสุขุมวิท 23 (ประสานมิตร) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ
2) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ ตั้งอยู่ที่ อาเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก
ผู้สอบผ่านการคัดเลือกและรายงานตัวเข้าเป็นนิสิตมีสถานที่เรียน ดังนี้
ชั้นปีที่ 1-3 เรียนที่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร กรุงเทพฯ
ชั้นปีที่ 4-6 เรียนที่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ อาเภอองครักษ์
จังหวัดนครนายก และศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน จังหวัดนนทบุรี
1. คุณสมบัติเฉพาะของหลักสูตร
1.1 เป็นนักเรียนที่มสี ัญชาติไทย ที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6)
1.2 เป็นนักเรียนจากโรงเรียนมัธยมในจังหวัดนครนายก โดยผู้สมัครจากโรงเรียนมัธยมในจังหวัดนครนายก ผู้สมัครและบิดา
หรือมารดา หรือผู้ปกครองตามกฎหมาย ต้องมีภมู ิลาเนาในจังหวัดนครนายก ต่อเนื่องกันไม่น้อยกว่า 5 ปี จนถึงวัน
สุดท้ายของการรับสมัคร โดยมีทะเบียนบ้านเป็นหลักฐาน)
1.3 มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.25 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
1.4 ต้องผ่านการเข้าร่วมโครงการรับนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ฝึกประสบการณ์ในโรงพยาบาล เพื่อเตรียมความพร้อม
เข้าศึกษาต่อหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ประจาปี 2566
1.5 มีผลการสอบ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
คณิตศาสตร์
เคมี ชีววิทยา สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ประยุกต์ 1
ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์
น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 30 20 30 20 30 10 30 10 30 20 30
1.6 คุณสมบัติทั่วไป ตามประกาศของ กสพท. เรื่องคุณสมบัติเฉพาะของผู้สมัครเข้าศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
ฉบับ พ.ศ. 2559 (ตามเอกสารแนบท้าย)
ก่ อ นเข้ า ศึ ก ษาต้ อ งสามารถท าสั ญ ญาผู ก พั น ฝ่ า ยเดี ย วหรื อ สั ญ ญาปลายเปิ ด ตามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี เมื่ อวั น ที่
21 กั น ยายน 2564 ที่ ก าหนดให้ “นั ก ศึ ก ษาแพทย์ ทุ ก คนต้ อ งท าสั ญ ญาเป็ น ข้ อ ผู ก พั น ว่ า เมื่ อ ส าเร็จ การศึ ก ษาตามหลั ก สู ต ร
แพทยศาสตรบัณฑิตและได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม จึงจัดสรรให้ไปปฏิบัติงานชดใช้ทุน และต้องทางานให้แก่
ราชการเป็นเวลา 3 ปี” ตามระเบียบและเงื่อนไขของรัฐบาลกับมหาวิทยาลัย แต่ไม่ได้ผูกพันให้ส่วนราชการต้องบรรจุเข้ารับราชการ
หรือเป็นพนักงานในหน่วยงานของรัฐและต้องไม่มีโรค ความพิการ หรือปัญหาต่อไปนี้
1) ความพิกลพิการของร่างกายที่ทาให้เสียบุคลิกลักษณะ
2) ปัญหาทางสุขภาพจิตและบุคลิกภาพ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาและการเป็นแพทย์ในอนาคต
3) ภาวะติดสารเสพติดให้โทษหรือโรคพิษสุราเรื้อรัง
4) โรคติดเชื้อในระยะติดต่อและอันตรายอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงานในการเป็นแพทย์ เช่น วัณโรค โรค
เรื้อน โรคเท้าช้าง โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง เป็นต้น
5) โรคไม่ ติ ด ต่ อ ที่ ยั ง ไม่ ส ามารถควบคุ ม ด้ ว ยการรั ก ษาได้ ซึ่ ง เป็ น อุ ป สรรคต่ อ การศึ ก ษาและการปฏิ บั ติ ง าน
ในการเป็นแพทย์ เช่น โรคลมชัก โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง โรคไต โรคเบาหวาน เป็นต้น
6) โรคหรือความพิการอื่นๆ ซึ่งมิได้ระบุไว้ ที่คณะกรรมการแพทย์ตรวจร่างกายเห็นว่าเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-148- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

2. เอกสาร/หลักฐานประกอบการสมัคร
2.1 ผู้สมัครต้องจัดทาเป็น แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ในรูปแบบไฟล์ pdf ประกอบด้วยหัวข้อดังต่อไปนี้ (ความยาวไม่
เกิน 10 หน้ากระดาษ A4)
- ประวัติส่วนตัว
- ประวัติการศึกษา
- จดหมายแนะนาตัวเองที่ใช้แสดงความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะเข้ามหาวิทยาลัย (statement of purpose)
- ผลงานด้านการวิจัย การสร้างสรรค์นวัตกรรม หรือรางวัลที่ได้รับในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา สาเนาผลงานในอดีต เกียรติ
บัตรหรือใบประกาศเกียรติคุณด้านการเรียนและด้านอื่นๆ ผู้สมัครลงลายมือชื่อ-สกุลรับรองเอกสารถูกต้องทุกฉบับ
- ความรู้ความสามารถพิเศษ สาเนาหนังสือหรือเอกสารรับรองการเข้ าร่วมกิจกรรมทางการแพทย์ หรือจิตสาธารณะ
กิจกรรมวิชาการอื่น ๆ ผู้สมัครลงลายมือชื่อ-สกุลรับรองเอกสารถูกต้องทุกฉบับ
2.2 หนังสือรับรองการผ่านโครงการรับสมัครนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ฝึกประสบการณ์ในโรงพยาบาล เพื่อเตรียมความ
พร้อมเข้าศึกษาต่อหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2.3 สาเนาบัตรประจาตัวประชาชนด้านหน้าที่มีรูปผู้สมัคร บนกระดาษ A4 ผู้สมัครลงลายมือชื่อ-สกุลรับรองเอกสารถูกต้อง
แล้วแสกนเป็นไฟล์นามสกุล .jpg หรือ .pdf ขนาดภาพเท่ากับ A4 ขนาดไฟล์ไม่เกิน 2 MB
2.4 สาเนาทะเบียนบ้าน บนกระดาษ A4 ผู้สมัครลงลายมือชื่อ-สกุลรับรองเอกสารถูกต้อง แล้วแสกนเป็นไฟล์นามสกุล .jpg
หรือ .pdf ขนาดภาพเท่ากับ A4 ขนาดไฟล์ไม่เกิน 2 MB
2.5 สาเนาใบรับรองการศึกษาหรือใบระเบียนการศึกษา (transcript) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่สถานศึกษาออกให้ พร้อม
ทั้งมีข้อความหรือเอกสารที่ระบุคะแนนเฉลี่ยสะสม บนกระดาษ A4 ผู้สมัครลงลายมือชื่อ-สกุลรับรองเอกสารถูกต้องทุก
หน้า แล้วแสกนเป็นไฟล์นามสกุล .jpg หรือ .pdf ขนาดภาพเท่ากับ A4 ขนาดไฟล์ไม่เกิน 2 MB
2.6 รูปถ่ายดิจิทัลของผู้สมัคร (ถ่ายมาไม่เกิน 6 เดือน) เป็นภาพเดี่ยว พื้นหลังสีขาวหรือสีน้าเงิน หน้ าตรงเต็มหน้า สวมชุด
สุภาพ ไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่น และจะต้องไม่ถูกปรับแต่งทางดิจิทัล เป็นไฟล์นามสกุล .jpg โดยมีขนาดความกว้าง
180-500 พิกเซล ความสุง 200-600 พิกเซล ขนาดของไฟล์ไม่เกิน 240 KB
2.7 รูปหลักฐานการชาระเงินค่าสมัคร (Slip โอนเงิน) พร้อมลงลายมือชื่อ-สกุลรับรองเอกสารถูกต้อง แล้วแสกนเป็นไฟล์
นามสกุล .jpg หรือ .pdf ขนาดภาพเท่ากับ A4 ขนาดไฟล์ไม่เกิน 2 MB
ผู้สมัครต้องแนบส่งเอกสาร/หลักฐานประกอบการสมัครทั้งหมด ข้อ 2.1 – 2.7 ในรูปแบบไฟล์ดิจิทัล
(PDF) ผ่านทางหน้าเว็บไซด์ คณะแพทยศาสตร์ www.med.swu.ac.th ภายในวันที่ 4 มีนาคม 2567
หากมีข้อสงสัยสามารถสอบถามเพิ่มเติมทางโทรศัพท์หมายเลข 037 395 451-5 ต่อ 60414-5
3. เกณฑ์การคัดเลือก
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของหลักสูตร
3.2 การพิจารณาแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
3.3 คะแนนการประเมินการเข้าร่วมโครงการรับสมัครนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 เตรียมความพร้อมเข้าศึกษาต่อหลักสูตร
แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อฝึกประสบการณ์ในโรงพยาบาล ประจาปี 2566
3.4 คะแนน A level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่าที่กาหนด
3.5 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตรกาหนด
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-149- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

4. เอกสารที่ต้องนาไปในวันสอบสัมภาษณ์
บัตรประจาตัวประชาชน หรือ หนังสือเดินทาง (Passport) หรือ บัตรที่มีรูปถ่ายที่ทางราชการออกให้ กรณี ผู้เข้าสอบไม่นา
เอกสารดังกล่าวข้างต้น มาแสดงในวันสอบ มหาวิทยาลัยจะไม่อนุญาตให้เข้าสอบไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น และจะถูกตัดสิทธิ์ในการ
สอบครั้งนี้
5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
การสอบฯ
ทางอินเทอร์เน็ตที่
25 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัว
https://admission.swu.ac.th
09.00 น. เป็นต้นไป ทดสอบทัศนคติทางการแพทย์
และตรวจร่างกาย สอบ
สัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-150- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

คณะพยาบาลศาสตร์
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ทุกชั้นปี เรียนที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดนครนายก
1. คุณสมบัติเฉพาะของหลักหสูตร
1.1 กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
1.2 จะต้ องมี ค ะแนนเฉลี่ย สะสมตลอดหลั ก สูต ร (GPAX) ไม่ ต่ากว่า 2.50 และต้ อ งมี คะแนนเฉลี่ ยสะสมในแต่ ล ะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ากว่า 2.50
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ากว่า 2.50
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ากว่า 2.50
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ากว่า 2.50
1.3 มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT
คณิตศาสตร์ประยุกต์1 ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ประยุกต์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (%) (%) (%) (%) (%) (%) (%)
30 1 20 1 20 25 30 1
และมีผลรวมของคะแนนรวมทั้งหมดต้องไม่น้อยกว่า 35 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน)
วิชาชีพการพยาบาล เป็นวิชาชีพเพื่อบริการด้านสุขภาพต่อบุคคล ครอบครัว กลุ่มคนและชุมชน โดยยึดหลักองค์รวม
ครอบคลุมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้ องกัน โรคและปั ญ หาสุขภาพ การรักษาพยาบาลในภาวะเจ็บป่ วย และการฟื้น ฟูสภาพ
การศึกษาวิชาชีพการพยาบาลจึงประกอบด้วยการศึกษาภาคทฤษฎีในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ และการศึกษาภาคฝึกปฏิบัติใน
สถานการณ์จริง ทั้งในชุมชนและในหอผู้ป่วยในสถานบริการสุขภาพ ทั้งยังต้องฝึกปฏิบัติครอบคลุมสถานการณ์จริงนอกเวลาราชการ
ในภาคบ่ายและดึกเพื่อให้ครอบคลุมภารกิจซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์จะต้องปฏิบัติจริงเมื่อสาเร็จการศึกษา
จึงเป็น การศึกษาที่ ต้องใช้เวลามากและหนั ก ผู้ศึกษาวิชาชีพการพยาบาลจึงต้องมีคุณ สมบั ติสาคัญ คือ นอกจากจะต้องเป็น ผู้มี
สติปัญญาความสามารถในการคิด การตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมแล้ว ยังต้องมีบุคลิกน่าเชื่อถือ มีจิตใจอ่อนโยน มีความเมตตา มี
ความรับผิดชอบสูง มีความสามารถในการสื่อสาร และมนุษยสัมพันธ์ดี มี ความสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ จึงจะสามารถช่วยเหลือ
และให้บริการต่อผู้รับบริการได้อย่างถูกต้อง มีคุณภาพและเหมาะสม ฉะนั้นเพื่อจะให้ได้พยาบาลในอนาคตที่มีคุณภาพสาหรับปฏิบัติ
หน้าที่สนองความต้องการของสังคมและประเทศชาติอย่างมีประสิทธิภาพ
ทั้งนี้ ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกและเข้าศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต จะต้องปฏิบัติตามแนวทางการเตรียมตัว
ด้านสุขภาพก่อนการศึกษาภาคปฏิบัติตามที่แหล่งฝึกภาคปฏิบัติกาหนด
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จึงจาเป็นต้องมีการสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ ตรวจ
ร่างกาย และสอบสัม ภาษณ์ เพื่ อดาเนิ นการตรวจคัดเลือกผู้ประสงค์จะเข้าศึกษาที่ ผ่านการคัดเลือกเป็น ผู้มีสิท ธิ์เข้ าสอบ
สัมภาษณ์ และจะนาผลการสอบดังกล่าวมาประกอบในการตัดสินด้วย โดยกาหนดเกณฑ์ดังนี้
1. ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกมีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์จะต้องทดสอบทางจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ (ผู้เข้าสอบจะต้อง
รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการทดสอบทางจิตวิทยาและสอบทักษะทางวิชาชีพ) โดยให้เตรียมดินสอดา HB ยางลบ และปากกา)
2. ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกมีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์จะต้องตรวจร่างกายมาล่วงหน้า ให้นาใบรับรองแพทย์แสดงผลการ
ตรวจร่างกาย ตามแบบฟอร์มที่กาหนด และผลการอ่านฟิล์มเอ็กซเรย์ทรวงอก (ที่ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน นับถึงวันสอบสัมภาษณ์) ที่
ลงนามรับรองโดยแพทย์ โรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน มายื่นในวันสอบว่าเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้ง
ร่างกายและจิตใจ ปราศจากโรคหรืออาการของโรค และ/หรือความพิการอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และการ
ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ดังนี้
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-151- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1) ไม่มีปั ญ หาทางจิตเวชอันอาจเป็นอันตรายต่อตนเอง และ/หรือผู้อื่น ได้แก่ โรคจิต (psychotic disorders)


โรคอารมณ์ ผิดปกติ (mood disorders) โรคประสาทรุนแรง (severe neurotic disorders) บุคลิกภาพผิดปกติ (personality
disorders) โรคอารมณ์ผิดปกติสองขั้ว (Bipolar) รวมถึงปัญหาทางจิตเวชอื่นๆ
2) ไม่เป็นโรคติดต่อในระยะติดต่ออันตราย (ตามที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง โรคติดต่อและ
อาการสาคัญ)
3) ไม่เป็นโรคไม่ติดต่อในระยะรุนแรงหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- โรคลมชักที่ไม่สามารถควบคุมได้ โรคลมชักที่ไม่มีอาการชักมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี โดยมีการรับรองจากแพทย์
ผู้เชี่ยวชาญ ถือเป็นโรคลมชักที่ควบคุมได้
- โรคหัวใจระดับรุนแรงจนเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- โรคความดันเลือดสูงรุนแรง และมีภาวะแทรกซ้อนทาให้เกิดพยาธิสภาพต่ออวัยวะอย่างถาวร
- ภาวะไตวายเรื้อรัง
- โรคติดสารเสพติดให้โทษ
3. การสอบสัมภาษณ์พิจารณาในด้านต่างๆ ดังนี้
1) ด้านทักษะทางสารสนเทศและเทคโนโลยี
2) ทั ก ษะชี วิ ต และอาชี พ (ประกอบด้ ว ย บุ ค ลิ ก ภาพทั่ ว ไป ไหวพริ บ สติ ปั ญ ญาและความเชื่ อ มั่ น ในตนเอง
ความสามารถในการสื่อสาร เจตคติและความสนใจในวิชาชีพและสถาบัน การมี ส่วนร่วมในสังคม ความรับผิดชอบ การมีน้ าใจ และ
จิตสานึกสาะรณะ)
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะพยาบาลศาสตร์
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 ผลคะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่าที่
หลักสูตร/สาขาวิชาที่กาหนด
2.3 ผลการตรวจร่างกายผ่านตามเกณฑ์คุณสมบัติที่กาหนด ดังนี้
2.3.1 ไม่มีความพิการอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
2.3.2 โรคติดต่อในระยะติดต่ออันตราย (ตามที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องโรคติดต่อและอาการสาคัญ)
2.3.3 โรคไม่ติดต่อในระยะรุนแรงหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
1) โรคลมชักที่ไม่สามารถควบคุมได้ (โรคลมชักที่ไม่มีอาการชักมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี โดยมีการรับรองจาก
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ถือเป็นโรคลมชักที่ควบคุมได้)
2) โรคหัวใจระดับรุนแรงจนเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
3) โรคความดันโลหิตสูงรุนแรง และมีภาวะแทรกซ้อนทาให้เกิดพยาธิสภาพต่ออวัยวะอย่างถาวร
4) ภาวะไตวายเรื้อรัง
5) โรคติดสารเสพติดให้โทษ
2.4 การทดสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ ต้องปกติหรือผ่าน
2.5 การสอบสัมภาษณ์ผ่านตามเกณฑ์ที่หลักสูตรกาหนด
ทั้งนี้ มติของคณะกรรมการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตถือเป็นที่สิ้นสุด
3. เอกสารที่ต้องนาไปในวันสอบทางจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ/สอบสัมภาษณ์
3.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
3.2 ผู้เข้าสอบจะต้องชาระค่าทดสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ คนละ 200 บาท
3.3 ผู้เข้าสอบสัมภาษณ์ต้องตรวจร่างกายมาล่วงหน้า ให้นาผลการตรวจร่างกายจากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาล
ของเอกชน ระบุผลการตรวจร่างกายตามเกณฑ์ที่กาหนด (ตามแบบฟอร์ม : รายงานการตรวจสุขภาพของผู้มีสิทธิ์สอบ
คั ด เลื อ กบุ ค คลเข้ า ศึ ก ษาต่ อ หลั ก สู ต รพยาบาลศาสตรบั ณ ฑิ ต ประจ าปี ก ารศึ ก ษา 256 7) พร้ อ มแนบหลั ก ฐาน
ทางห้องปฏิบัติการต่างๆ ตามที่ระบุไว้ในแบบฟอร์ม : รายงานตรวจสุขภาพฯ
ทั้งนี้ ผู้เข้าสอบคัดเลือก และ/หรือ ผู้ผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาที่ให้ข้อมูลอันเป็นเท็จ หรือจงใจปกปิดข้อมูลหรือ
แม้ปรากฏเป็นความเท็จขึน้ ภายหลังจะต้องถูกตัดสิทธิ์การศึกษาในคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-152- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการสอบคัดเลือก

วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ


13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567
ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์

ทดสอบจิตวิทยาและทัศนคติต่อวิชาชีพ
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
25 เมษายน 2567 และส่งเอกสารหลักฐาน ทางอินเทอร์เน็ตที่
09.00 น.- 12.00 น. ทดสอบจิตวิทยา https://admission.swu.ac.th
และทัศนคติต่อวิชาชีพ
13.00 น. เป็นต้นไป ส่งผลการตรวจร่างกาย
26 เมษายน 2567 การสอบสัมภาษณ์
08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบสัมภาษณ์
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th

หมายเหตุ : หากผูส้ มัครมีข้อสังสัยเกี่ยวกับข้อมูลหรือปัญหาอื่นๆ ที่ไม่ระบุใว้ในประกาศฯ สามารถติดต่อสอบถามที่


งานบริการการศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ โทร. 02-649-5000 ต่อ 21800 , 21821 หรือ 089-9222549
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-153- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รายงานการตรวจสุขภาพของผู้มสี ิทธิ์สอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อ
หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ประจาปีการศึกษา 2567
ข้อมูลส่วนที่ 1 ผู้เข้าสอบคัดเลือกเป็นผู้กรอก (กรอกด้วยตัวบรรจง)
1. ประวัติส่วนตัว
ชื่อ-สกุล (นาย, นาง, นางสาว) .......................................................................................................................................
เกิดวันที่ ....... เดือน .......................... พ.ศ. ............ อายุ ....... ปี ...... เดือน จังหวัดที่เกิด ...........................................
เลขประจาตัวประชาชน....................................................................................................................................................
ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ ...................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
2. ประวัติการเจ็บป่วยของผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา (ทาเครื่องหมาย  และให้ข้อมูล)
ท่านเคยมี หรือมีโรค/ อาการ หรือภาวการณ์เจ็บป่วย ดังต่อไปนี้หรือไม่ (ให้ระบุอาการ พ.ศ.ที่เป็น และรักษาอย่างไร)
มี ไม่มี อธิบายรายละเอียด มี ไม่มี อธิบายรายละเอียด
  หัด .....................................................   เลือด ...................................................
  วัณโรค ...............................................   เบาหวาน .............................................
  ตับอักเสบ ..........................................   หัวใจ ....................................................
  ลมชัก .................................................   ไต ........................................................
  สุกใส ..................................................   ความดันโลหิตสูง .................................
  หอบหืด ..............................................   ต่อมไทรอยด์ .......................................
  ภูมิแพ้ ................................................   ไส้เลื่อน ...............................................
  แพ้ยา .................................................   โรคเรื้อน .............................................
  ตัวเหลือง ตาเหลือง   โรคติดต่อร้ายแรง................................
  ปัญหาทางด้านสุขภาพจิต ..............................................................................................................
  หูหนวก หูตึงจากปราสาท แม้แต่ขา้ งเดียว .....................................................................................
  กระดูกหัก / บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ .................................................................................................
  ผ่าตัดเกี่ยวกับ  สมอง  หัวใจ  กระดูก  อื่นๆ ระบุ ..............................................
  โรคผิวหนังที่เป็นที่รังเกียจแก่ผู้อื่น ..................................................................................................
  โรคเท้าช้างในระยะที่ปรากฏอาการเป็นที่รังเกียจแก่สังคม .............................................................
  ความพิการของร่างกายที่ทาให้เสียบุคลิกลักษณะ ..........................................................................
  ติดยาเสพติดทุกชนิด และโรคพิษสุราเรื้อรัง ...................................................................................
  อื่นๆ ................................................................................................................................................
ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลประวัติดังกล่าวข้างต้นเป็นจริงทุกประการ และรับทราบว่าหากตรวจพบภายหลังว่ามีข้อมูลที่
ไม่เป็นจริง หรือมีการปิดบังข้อมูล ข้าพเจ้าจะถูกตัดสิทธิ์ในการคัดเลือกครั้ งนี้ แม้จะได้รับการคัดเลือกเข้าศึกษาแล้วก็ยินยอมให้
ถอนสภาพจากการเป็นนิสิต
ลงชื่อ …………….………………………………………. ผูส้ อบคัดเลือก ลงชื่อ …………….………………………………………. ผูร้ ับรอง
(..............................................................) (..............................................................)
วันที่ ...... เดือน ..................... พ.ศ. ........... บิดา หรือมารดา หรือผู้ปกครอง
วันที่ ...... เดือน ..................... พ.ศ. ...........
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-154- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

ข้อมูลส่วนที่ 2 แพทย์เป็นผู้กรอก (จะต้องตรวจทุกรายการ)


ผู้ที่ ผ่ านการคั ด เลือ กมีสิ ท ธิ์ เข้ าสอบสัม ภาษณ์ ให้ ไปตรวจร่ างกายและเอกซเรย์ท รวงอกที่ โรงพยาบาลของรั ฐหรื อ
โรงพยาบาลของเอกชน โดยนาเอกสารฉบับ นี้ให้แพทย์ผู้ตรวจกรอกผลการตรวจร่างกายตามแบบฟอร์มนี้ และลงนามเป็ น
หลักฐานพร้อมทั้งประทับตราโรงพยาบาลตรงลายมือชื่อแพทย์ผู้ตรวจ
ข้าพเจ้า (นายแพทย์, แพทย์หญิง) ..................................................................................................................................
เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม ............................................ ออกให้ ณ วันที่ ...... เดือน ...................... พ.ศ. ...............
ชื่อโรงพยาบาลที่เข้ารับการตรวจ ...................................................................................................................................................
แขวง/ตาบล ........................................... เขต/อาเภอ .....................................................จังหวัด....................................................
ได้ทาการตรวจร่างกาย (นาย, นาง, นางสาว) ................................................................................................................................
เลขที่ผู้ป่วย (H.N.) .......................................... วัน/เดือน/ ปีที่เข้าตรวจร่างกาย .............................................. แล้วได้ผล ดังนี้
ผลการตรวจร่างกายทั่วไป
น้าหนัก ........... กิโลกรัม ส่วนสูง ........... เซนติเมตร อุณหภูมิ ........... OC
ความดันโลหิต .................................. มม. ปรอทชีพจร ........... ครั้ง/ นาที อัตราการหายใจ ........... ครั้ง/ นาที

ลักษณะรูปร่าง บุคลิกภาพ  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................


ลักษณะแขนและมือ  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ลักษณะขาและเท้า  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
กระดูกและกล้ามเนื้อ  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การออกเสียงพูด  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ลักษณะในช่องปาก  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ลักษณะผิวหนัง  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การเคลื่อนไหวของร่างกาย  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ระบบประสาท  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การมองเห็น (VA) ตาขวา  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การมองเห็น (VA) ตาซ้าย  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ตาบอดสี (โดยเฉพาะแม่สี)  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ใบหู และลักษณะภายนอกของหูขวา  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ใบหู และลักษณะภายนอกของซ้าย  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การได้ยินหูขวา  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การได้ยินหูซ้าย  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
จมูก  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ต่อมไทรอยด์  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ต่อมน้าเหลือง  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
การทางานของหัวใจ  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ปอด  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-155- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Urine analysis (UA) (แนบรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการมาด้วย)
Albumin  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Sugar  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Sediments  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
สารเสพติด (มอร์ฟีน, แอมเฟตามีน ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
หรืออื่นๆ อย่างน้อย 1 ประเภท)
Complete blood count (CBC) (แนบรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการมาด้วย)
Hemoglobin  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Hematocrit  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Red blood cell Morphology
Anisocytosis  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Poikilocytosis  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Hypochromia  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Microcytosis  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Macrocytosis  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
White blood cell count
Neutrophil  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Basophil  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Eosinophil  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Lymphocyte  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Monocyte  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Platelets  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................

ผลการตรวจไวรัสตับอักเสบบี และ/หรือได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกัน (แนบรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือ


หลักฐานการรับวัคซีนมาด้วย)
HBsAg  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
Anti-HBs  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
ได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกัน ........................................................................................................................
ผลการตรวจภูมิคุ้มกันโรคสุกใส และ/หรือได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกัน (แนบรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือ
หลักฐานการรับวัคซีนมาด้วย)
ภูมิคุ้มกันโรคสุกใส  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ .................................................................
ได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกัน .....................................................................................................................

ผลการตรวจทางรังสีวิทยา (หากผลการตรวจปกติไม่ต้องนาฟิล์มเอกซเรย์ทรวงอกมา และผิดปกติให้นาฟิล์มเอกซเรย์


ทรวงอกมาด้วย)
Chest X-rays  ปกติ  ผิดปกติ หากผิดปกติ โปรดระบุ ……………………………….
…………………………..………………………………………
 เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
 ไม่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-156- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

ผลการวินิจฉัย

โรคเรื้อน  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................


โรคเท้าช้าง  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคลมชัก  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคคนเผือก  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคหัวใจระดับรุนแรง  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคความดันโลหิตสูงรุนแรงและ  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
มีภาวะแทรกซ้อน
ภาวะไตวายเรื้อรัง  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
วันโรคในระยะแพร่เชื้อ  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคที่เกิดจากสารเสพติด  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคพิษสุราเรื้อรัง  ไม่เป็น  เป็น ระบุ ......................................................
โรคจิต สุขภาพจิต  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ความพิการอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ......................................................
ความผิดปกติอื่นๆ ที่ตรวจพบ ระบุ ......................................................................................................................
……………………..……………………………………………………………………………….

ข้าพเจ้ามีความเห็นว่า (นาย, นาง, นางสาว) ...................................................................................................................


มีสุขภาพอยู่ในประเภท  ปกติ  ผิดปกติ ระบุ ....................................................................................................................

(ลงนาม)...........................................................................
(.........................................................................)
แพทย์ผู้ตรวจประจาโรงพยาบาล
วันที่ ........ เดือน .................... พ.ศ. .............
(ประทับตราโรงพยาบาล)

หมายเหตุ รายงานการตรวจสุขภาพฯ ที่สมบูรณ์ต้องมีตราประทับของโรงพยาบาล และลายเซ็นแพทย์ผู้ตรวจกากับ


TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-157- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

ส่วนที่ 3 คุณลักษณะด้านสุขภาพของผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา ต้องเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ ปราศจาก


โรคหรืออาการของโรค และ/หรือความพิการ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพการ
พยาบาลและการผดุงครรภ์ ดังนี้
1) ไม่มีปัญหาทางจิตเวชอันอาจเป็นอันตรายต่อตนเอง และ/หรือผู้อื่น ได้แก่ โรคจิต (psychotic disorders) โรค
อารมณ์ ผิ ด ปกติ (mood disorders) โรคประสาทรุ น แรง (severe neurotic disorders) บุ ค ลิ ก ภาพผิ ด ปกติ (personality
disorders) โรคอารมณ์ผิดปกติสองขั้ว (Bipolar) รวมถึงปัญหาทางจิตเวชอื่นๆ
2) ไม่เป็นโรคติดต่อในระยะติดต่ออันตราย (ตามที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง โรคติดต่อและ
อาการสาคัญ)
3) ไม่เป็นโรคไม่ติดต่อในระยะรุนแรงหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- โรคลมชักที่ไม่สามารถควบคุมได้ โรคลมชักที่ไม่มีอาการชักมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี โดยมีการรับรองจาก
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ถือเป็นโรคลมชักที่ควบคุมได้
- โรคหัวใจระดับรุนแรงจนเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- โรคความดันเลือดสูงรุนแรง และมีภาวะแทรกซ้อนทาให้เกิดพยาธิสภาพต่ออวัยวะอย่างถาวร
- ภาวะไตวายเรื้อรัง
- โรคติดสารเสพติดให้โทษ
พร้อมทั้ง เมื่อได้รับคัดเลือกเข้าศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตแล้ว จะต้องปฏิบัติตามแนวทางการเตรียมตัวด้าน
สุขภาพก่อนการศึกษาภาคปฏิบัติตามที่แหล่งฝึกภาคปฏิบัติกาหนด ดังนี้
1. ตรวจร่างกายโดยแพทย์และขอใบรับรองแพทย์ 5 โรค
2. เอกซเรย์ภาพทรวงอก (Chest x-ray) พร้อมผลอ่าน
3. ผลการตรวจ Complete blood count (CBC)
4. ผลการตรวจภูมิโรค Hepatitis B
5. การได้รับภูมิคุ้มกัน
1) มีภูมิคุ้มกัน และ/หรือ ได้รับวัคซีนไวรัสตับอักเสบ เอ
2) มีภูมิคุ้มกัน และ/หรือ ได้รับวัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี (ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม)
3) มีภูมิคุ้มกัน และ/หรือ ได้รับวัคซีนโรคสุกใส
4) มีภูมิคุ้มกัน และ/หรือ ได้รับวัคซีนโรคโควิด-19
5) รับวัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม MMR (ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม)
6) รับวัคซีนคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก (ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม)
7) รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (แนะนาให้ฉีดปีละ 1 ครั้ง)
6. ผลการตรวจอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตพิจารณาแล้วเห็นสมควร
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-158- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รายละเอียดแนบท้าย
คณะมนุษยศาสตร์
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ทุกชั้นปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชาจิตวิทยา
สาขาวิชาจิตวิทยา (โครงการพิเศษ) (โครงการพิเศษ) ทุกชั้นปีเรียนที่
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน วันจันทร์ – วันศุกร์ เรียนเวลา 17.30 – 20.20 น.
สาขาวิชาภาษาเพื่ออาชีพ (หลักสูตรนานาชาติ) วันเสาร์ หรือ วันอาทิตย์ เรียนเวลา 08.30 – 16.20 น.
สาขาวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ)
- วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาฝรั่งเศส
- วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาเยอรมัน
- วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาเยอรมัน (โครงการพิเศษ)
- วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย (กศ.บ)
1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา / สาขาวิชาจิตวิทยา (โครงการพิเศษ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ หรือโรงเรียน
หลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผูสมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ตองมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดี แหงประเทศไทย เรือ่ ง เกณฑการ
เทียบวุฒิการศึกษาเทากับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่
ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
4) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT เลือก คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1
สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
หรือ คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2
ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า
(%) (คะแนน)
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
50 30 10 20 10 20 10 20 20 20
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-159- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.2 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาเพื่ออาชีพ (หลักสูตรนานาชาติ)


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะ
สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การ
เทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) ผู้สมัครที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ จะต้อง
มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีผลการทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษอย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งนี้ผลคะแนนต้องมีอายุไม่เกิน 2 ปี นับจาก
วันทีท่ ดสอบ จนถึงวันสอบสัมภาษณ์ ดังนี้
ผลคะแนน TOEFL - Internet-based Test: (IBT) ตั้งแต่ 60 คะแนนขึ้นไป หรือ
ผลคะแนน IELTS ที่ระดับคะแนน 4.5 ขึ้นไป หรือ
ผลคะแนน TOEIC ไม่ต่ากว่า 550 คะแนน หรือ
ผลคะแนน SWU-SET ไม่ต่ากว่า 65 คะแนน หรือ
ผลคะแนน CU-TEP ไม่ต่ากว่า 60 คะแนน
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 161)
5) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปการศึกษา 2567 ตามองคประกอบ คาน้าหนักรอยละ และเกณฑขั้นต่า ดังนี้
TGAT ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นตา(%) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นตา(%)
50 40 50 40
1.3 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ)
วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาฝรั่งเศส / วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาเยอรมัน / วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติและจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การ
เทียบวุฒกิ ารศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) ผู้สมัครที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ
จะต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75
และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ไม่ต่ากว่า 3.00
4) มีผลการทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษอย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งนี้ผลคะแนนต้องมีอายุไม่เกิน 2 ปี นับจาก
วันที่ทดสอบจนถึงวันสอบสัมภาษณ์ ดังนี้
ผลคะแนน TOEFL - Computer-based Test: (CBT) ไม่ต่ากว่า 173 คะแนน หรือ
- Internet-based Test: (IBT) ไม่ต่ากว่า 61 คะแนน หรือ
ผลคะแนน IELTS ที่ระดับคะแนน 5.0 ขึ้นไป หรือ ผลคะแนน TOEIC ที่ระดับคะแนน 500 ขึ้นไป หรือ
ผลคะแนน SWU-SET ไม่ต่ากว่า 65 คะแนน
5) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
TGAT ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นตา (คะแนน)
50 50 50 50
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-160- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.4 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ)


วิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาเยอรมัน (โครงการพิเศษ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ: ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบ
วุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) ผู้สมัครที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ
จะต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีคะแนนเฉลีย่ สะสมเฉพาะกลุ่มสาระ
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ไม่ต่ากว่า 3.00
4) มีผลการทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ อย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งนี้ผลคะแนนต้องมีอายุไม่เกิน 2 ปี นับจากวันที่
ทดสอบจนถึงวันสอบสัมภาษณ์ ดังนี้
ผลคะแนน TOEFL - Internet-based Test: (IBT) ไม่ต่ากว่า 61 คะแนน หรือ
- Computer-based Test: (CBT) ไม่ต่ากว่า 173 คะแนน หรือ
ผลคะแนน IELTS ไม่ต่ากว่า 5.0 คะแนน หรือ
ผลคะแนน TOEIC ไม่ต่ากว่า 500 คะแนน หรือ
ผลคะแนน SWU-SET ไม่ต่ากว่า 65 คะแนน
5) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 161)
6) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
1.5 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (กศ.บ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้องรักษาระดับ
ผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปการศึกษา 2567 ตามองคประกอบ คาน้าหนักรอยละ และ เกณฑขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 5
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
10 50 30 40 50 50 10 30
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-161- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.6 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ หรือโรงเรียนหลักสูตร
อาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง
เกณฑ์การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14
กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษาระดับ
ผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้ งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาค
การศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน)
4) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
2. การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้แฟ้มสะสมผลงาน)
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตั้งชื่อไฟล์ เป็น “ชื่อ
ต น เอ งเป็ น ภ าษ าอั งก ฤ ษ ห้ าม เว้ น ว รรค แล ะ ห้ าม มี อั ก ข ระพิ เศ ษ ” แ ล ะอั พ โห ล ด ใน ระ บ บ รั บ ส มั ค รฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น.
หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
3. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะมนุษยศาสตร์
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
3.2 คะแนนสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้น
ต่าที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3.3 แฟ้มสะสมผลงาน (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้แฟ้มสะสมผลงาน)
3.4 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
4. เอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์
4.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
4.2 เอกสารแสดงความสามารถทางภาษาอังกฤษ
เฉพาะสาขาวิชาภาษาเพื่ออาชีพ (หลักสูตรนานาชาติ) / สาขาวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ)
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-162- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่
13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
การสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์ ทางเว็บไซต์ ทปอ.
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-163- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รายละเอียดแนบท้าย
คณะวิทยาศาสตร์
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ / สาขาวิชาเคมี ทุกชั้นปี เรียนที่
สาขาวิชาชีววิทยา / สาขาวิชาฟิสกิ ส์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชาจุลชีววิทยา / สาขาวิชาวัศดุศาสตร์ กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ / สาขาวิชาสถิติ
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา (กศ.บ.)

1. คุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา
1.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มี จ านวนหน่ ว ยกิ ต รวมในกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ ไม่ น้ อ ยกว่ า 12 หน่ ว ยกิ ต กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้
วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต และในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ไมนอยกวา 9
หนวยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 167 )
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1
ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า(คะแนน) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า(คะแนน)
20 1 30 1 50 1
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ pisuttaw@g.swu.ac.th
1.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75
3) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่ต่ากว่า 2.50 และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่ต่ากว่า
2.50 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
4) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และในกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
5) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 167 )
6) มีผลการสอบ TGAT/TPAT ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
TGAT TPAT 3
ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน)
25 1 75 1
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ https://www.facebook.com/ChemistrySWU/
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-164- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาชีววิทยา


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
3) มีจานวนหน่วยกิตในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์รวมกัน ไม่น้อยกว่า 34 หน่วยกิต (จานวน
หน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 167 )
5) มีผลการสอบ TGAT/TPAT ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
TGAT TPAT 3
ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน)
30 1 70 1
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ montreem@g.swu.ac.th
1.4 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
3) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และในกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 167 )
5) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ suwanp@g.swu.ac.th
1.5 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถิติ
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปการศึกษา2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแตชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไมต่ากวา 2.00 มีคะแนน
เฉลี่ยสะสมในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ไมต่ากวา 2.50 และจะตองรักษาผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีจานวนหนวยกิตรวมในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ไมนอยกวา 12 หนวยกิต
4) ไมใชคะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ karnchan@g.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-165- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.6 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และมี
คะแนนเฉลี่ยสะสมกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่ต่ากว่า 3.00 จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีจานวนหน่ วยกิ ตรวมในกลุ่ มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ ไม่ น้ อยกว่า 15 หน่ วยกิต (จานวนหน่ วยกิตนั บถึงวันที่ สาเร็จ
การศึกษา)
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) โดยแนบผลงานการประกวดด้านการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับชาติขึ้นไป
(ถ้ามี) หรือ ได้รับรางวัลในการแข่งขันการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับชาติขึ้นไป (ถ้ามี) หรือ สอบผ่านการสอบ
คัดเลือกเข้าโครงการโอลิมปิกวิชาการ (ถ้ามี) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 167 )
5) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
40 45 40 45 10 20 10 20
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ruangsak@g.swu.ac.th
1.7 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา
1) กาลั งศึ กษาในโรงเรียนหลั กสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้ นฐาน (ม.6) หรื อ โรงเรียนหลั กสู ตรนานาชาติ และจะส าเร็ จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมทีป่ ระชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์
การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14
กันยายน 2566
2) ผู้สมัครที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ
จะต้องมีมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.25
และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้ที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
(จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) และ infographic แสดงรายละเอียดโครงงานวิทยาศาสตร์ที่ทาสาเร็จแล้ว โดยนามาแสดง
ในวันสอบสัมภาษณ์
5) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 เคมี ชีววิทยา
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
10 20 20 20 15 20 25 20 30 20
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ sukhumaporn@g.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-166- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.8 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวัสดุศาสตร์


1) กาลั งศึ ก ษาในโรงเรียนหลัก สู ตรแกนกลางการศึก ษาขั้น พื้ น ฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลั กสู ต รนานาชาติ หรื อ
หลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒิ
การศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษาระดับ
ผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1รวม
5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้ที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 20 หน่วยกิต
(จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
5) มีเรียงความ 1 หน้ากระดาษ A4 แสดงเหตุผลว่าทาไมถึงมีความตั้งใจที่จะเรียนสาขาวิชาวัสดุศาสตร์ (ให้อัพโหลด
เรียงความในระบบรับสมัคร ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 167 )
6) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
1.9 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา (กศ.บ.)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มี จ านวนหน่ ว ยกิ ต รวมในกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ ไม่ น้ อ ยกว่า 12 หน่ วยกิ ต กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้
วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ไม่น้อยกว่า 9 หน่วย
กิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
5) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 5
ชีววิทยา ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
10 1 30 30 40 30 20 20
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการรับสมัครสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ kongkeat@g.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-167- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

2. การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้อพั โหลดแฟ้มสะสมผลงานในระบบรับสมัคร)


➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตั้งชื่อไฟล์ เป็น
“ชื่อตนเองเป็นภาษาอังกฤษห้ามเว้นวรรค และห้ามมีอักขระพิ เศษ” ในระบบรับสมัครฯ https://admission.swu.ac.th
ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น. หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่
กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
3. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะวิทยาศาสตร์
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิส์ มัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
3.2 คะแนนสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้น
ต่าที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3.3 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้แฟ้มสะสมผลงาน)
3.4 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
4. เอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์
4.1 เอกสารตามประกาศ ในข้อ 7 หน้า 5
4.2 แฟ้มสะสมผลงานฉบับจริง (Portfolio) (เฉพาะสาขาที่กาหนดให้ใช้แฟ้มสะสมผลงาน
5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
การสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์ ทางเว็บไซต์ ทปอ.
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-168- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รายละเอียดแนบท้าย
คณะเภสัชศาสตร์
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ทุกชั้นปี เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วิชาเอกเภสัชกรรมอุตสาหการ จังหวัดนครนายก
1. คุณสมบัติเฉพาะของหลักสูตร
1.1 ต้องมีสัญชาติไทย
1.2 กาลังศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566 จากโรงเรียนในเขตพื้นที่จังหวัด
นครนายก ปราจีนบุรี และสระแก้ว เท่านั้น
1.3 มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
1.4 มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนัก ร้อยละ ดังนี้
A-Level
TGAT
ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (คิดค่าน้าหนัก และเกณฑ์ ภาษาอังกฤษ
ขั้นต่า 3 วิชารวมกัน)
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

20 1 20 20 40 20 20 20

วิชาชีพเภสัชกรรม เป็นสาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่ ผู้เข้ารับการศึกษาจะต้องทุ่มเทแรงกายแรงใจ ตลอด


ระยะเวลาการศึกษา 6 ปี ไปจนถึงการปฏิบัติงานในหน้าที่เภสัชกรเมื่อจบการศึกษาแล้ว ด้วยเหตุนี้ สุขภาพกายและใจของผู้เข้ารับ
การศึกษาจึงเป็นพื้นฐานสาคัญ เพื่อให้ได้เภสัชกรที่พร้อมปฏิบัติหน้าที่รับใช้สาธารณชนและเป็นส่วนหนึ่งของระบบสาธารณสุขของ
ประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จึงได้จัดให้ผู้ที่มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์แล้ว เข้ารับการ
ทดสอบทัศนคติต่อวิชาชีพ การตรวจร่างกาย และสอบสัมภาษณ์ ดังนั้น จึงขอให้ผู้ผ่านการคัดเลือกเป็นผู้มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์
นาผลการตรวจร่างกายที่ได้รับการรับรองจากแพทย์ว่าผ่านเกณฑ์คุณสมบัติทั่วไปของผู้มีสิทธิ์สมัคร ผลการอ่านฟิล์มเอ็กซเรย์
ทรวงอก (ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน นับถึงวันสัมภาษณ์) ที่ลงนามรับรองโดยแพทย์ และผลการทดสอบตาบอดสี จากจักษุแพทย์ ไปยื่น
ในวัน สอบทั ศนคติ ต่อ วิช าชี พ โดยการตรวจร่างกายดั งกล่ าวจะต้ องได้รับ การรับ รองจากแพทย์ โรงพยาบาลของรัฐ หรือ
โรงพยาบาลของเอกชนเท่านั้น
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต วิชาเอกเภสัชกรรมอุตสาหการ เน้นด้านการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เกี่ยวข้อง
รวมถึงการผลิตและควบคุมคุณภาพยา โดยสามารถปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมยา สถาบันวิจัยต่างๆ และบริษัทยา เป็นต้น
หมายเหตุ ผู้สาเร็จการศึกษาต้องสอบความรู้เพื่อขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ เภสัชกรรมของ
สภาเภสัชกรรม และต้องทาสัญญาการเป็นนิสิตเพื่อศึกษาหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ด้วยคณะรัฐมนตรีมีมติให้คงการทาสัญญา
สาหรับนิสิตนักศึกษาที่ศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐ โดยเป็นสัญญาผูกพันฝ่ายเดียวตั้งแต่ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะเภสัชศาสตร์
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
2.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-169- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

3. เอกสารที่ต้องนามาในวันทดสอบทัศนคติต่อวิชาชีพ/สัมภาษณ์
3.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
3.2 ผู้เข้าสอบจะต้องชาระค่าทดสอบทัศนคติต่อวิชาชีพ คนละ 200 บาท (กาหนดวันทดสอบทัศนคติต่อวิชาชีพ แจ้งภายหลัง)
3.3 ผู้เข้าสอบต้องตรวจร่างกายมาล่วงหน้า ให้นาผลการตรวจร่างกายดังต่อไปนี้มาด้วย
3.3.1 ใบรับรองแพทย์แสดงผลการตรวจร่างกายจากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน
3.3.2 ผลการทดสอบตาบอดสีตรวจโดยจักษุแพทย์จากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน
3.3.3 ผลการอ่านฟิล์มเอ็กซเรย์ทรวงอก (ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน นับถึงวันสอบสัมภาษณ์) ที่ลงนามรับรองโดยแพทย์จาก
โรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน
4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
การสอบฯ ทางอินเทอร์เน็ตที่
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวและส่งผลตรวจร่างกาย https://admission.swu.ac.th
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์

2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก


ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-170- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รายละเอียดแนบท้าย
คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์การเกษตร
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ ทุกชั้นปี เรียนที่
สาขาวิชานวัตกรรมพอลิเมอร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
(อยู่ระหว่างปรับหลักสูตรเปลี่ยนชือ่ เป็น สาขาวิชา จังหวัดนครนายก
เทคโนโลยีวัสดุพอลิเมอร์)
สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพและผลิตภัณฑ์การเกษตร
สาขาวิชานวัตกรรมอาหารและธุรกิจ

1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ หรือโรงเรียน
หลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์
การเที ยบวุฒิ การศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14
กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ : มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษา
ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1
รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต และ
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) ต้องไม่มีความพิการต่างๆ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาเล่าเรียนและการประกอบอาชีพ
5) มีความมุ่งมั่น/สนใจเกี่ยวกับสาขาวิชาที่สมัคร
6) เป็ น ผู้ มี ทั กษะหรือมี ป ระสบการณ์ ด้ านการพั ฒ นาผลิ ตภั ณ ฑ์ อาหาร นวัต กรรมอาหาร บรรจุ ภั ณ ฑ์ อ าหาร ความ
ปลอดภัยในอาหาร การทาธุรกิจด้านอาหาร
7) มีผลการสอบ TGAT/TPAT ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ ดังนี้
TGAT TPAT 3
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
40 1 60 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-171- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมพอลิเมอร์และการจัดการ (อยู่ระหว่างปรับหลักสูตรเปลี่ยนชื่อเป็น


สาขาวิชาเทคโนโลยีวสั ดุพอลิเมอร์)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒิการศึกษา
เท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) ผู้สมัครที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ
จะต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50
และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ไม่ต่ากว่า 2.00 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่ต่ากว่า 2.00
4) เฉพาะผู้กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) จะต้องมีจานวนหน่วยกิตในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต และ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จ
การศึกษา)
5) ต้องไม่มีความพิการต่างๆ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาเล่าเรียนและประกอบอาชีพ
6) มีความมุ่งมั่น/ สนใจเกี่ยวกับสาขาวิชาที่สมัคร
7) มีผลการสอบ TGAT/TPAT ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ ดังนี้
TGAT TPAT 3
ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า(คะแนน) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า(คะแนน)
50 1 50 1
1.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพและผลิตภัณฑ์การเกษตร
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒิการศึกษา
เท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) ผู้สมัครที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ
จะต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) จะต้องมีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุม่ สาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และในกลุม่
สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) ต้องไม่มีความพิการต่างๆ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาเล่าเรียนและประกอบอาชีพ
5) มีความมุ่งมั่น/ สนใจเกี่ยวกับสาขาวิชาที่สมัคร
6) มีความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือมีโครงงานด้านวิทยาศาสตร์ หรือประสบการณ์การทดลอง
วิทยาศาสตร์ ที่ได้ดาเนินการในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ถ้ามี)
7) มีผลการสอบ TGAT ประจาปีการศึกษา 2567 และคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละและ
เกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
TGAT GPAX
ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน) ค่าน้าหนัก (%)
50 1 50
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-172- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.4 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมอาหารและธุรกิจ


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6
ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา : มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1
รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) ต้องไม่มีความพิการต่างๆ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาเล่าเรียนและประกอบอาชีพ
4) มีความมุ่งมั่น/ สนใจเกี่ยวกับสาขาวิชาที่สมัคร
5) มีความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือมีโครงงานด้านวิทยาศาสตร์ หรือประสบการณ์
การทดลองวิทยาศาสตร์ ที่ได้ดาเนินการในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ถ้ามี)
6) มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
7) มีผลการสอบ TGAT/TPAT ประจาปีการศึกษา 2567 และคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อย
ละและเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
TGAT TPAT 3 GPAX

ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน) ค่าน้าหนัก (%)

35 1 40 1 25

2. เกณฑ์การคัดเลือกคณะเทคโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์การเกษตร
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
3.2 คะแนนสอบ TGAT/TPAT ประจาปีการศึกษา 2567 และคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อย
ละ และเกณฑ์ขั้นต่าที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3. เอกสารที่ต้องนาไปในวันสอบสัมภาษณ์
4.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
4.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (เฉพาะสาขาวิชาที่ใช้แฟ้มสะสมผลงาน)
4.3 โครงงานวิทยาศาสตร์ หรือผลงานนวัตกรรม (ถ้ามี) เฉพาะสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพและผลิตภัณฑ์การเกษตร
4.4 ผลการทดสอบตาบอดสีตรวจโดยจักษุแพทย์จากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน เฉพาะสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
การอาหารและโภชนาการ
4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการสอบคัดเลือก

วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่


13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
การสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์ ทางเว็บไซต์ ทปอ.
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-173- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รายละเอียดแนบท้าย
คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรบัญชีบัณฑิต ทุกชั้นปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (โครงการพิเศษ) วันจันทร์ – วันศุกร์ เรียนเวลา 08.30 – 17.20 น.
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
- วิชาเอกการตลาด / วิชาเอกการตลาด (โครงการพิเศษ) (โครงการพิเศษ) ทุกชั้นปีเรียนที่
- วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
- วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ (โครงการพิเศษ) วันจันทร์ – วันศุกร์ เรียนเวลา 16.30 – 20.20 น.
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต วันเสาร์ หรือ วันอาทิตย์ เรียนเวลา 08.30 – 16.20 น.
สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม (เอกคู่)
สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม (เอกคู่) (โครงการพิเศษ)
สาขาวิชาธุรกิจเพื่อสังคม
1. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัคร
1.1 หลักสูตรหลักสูตรบัญชีบัณฑิต / หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (โครงการพิเศษ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม. 6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ หรือ
โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่องเกณฑ์การเทียบวุฒิ
การศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กีนยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
หลักสูตรหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่
1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (โครงการพิเศษ)
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่
1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
4) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ ดังนี้
A-Level
TGAT
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

30 1 20 1 10 1 10 1 30 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-174- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.2 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ /วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ (โครงการพิเศษ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ หรือโรงเรียน
หลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง
เกณฑ์การเทียบวุฒกิ ารศึกษาเท่ากับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 23
สิงหาคม 2565
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่
1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ (โครงการพิเศษ)
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่
1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
4) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
เลือกสอบ ภาษาฝรั่งเศษ
TGAT คณิตศาสตร์ หรือ ภาษาญี่ปุ่น
สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ประยุกต์ 2 หรือ ภาษาเกาหลี
หรือ ภาษาจีน
ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์
น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
30 1 10 1 10 1 10 1 30 1 10 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-175- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.3 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
วิชาเอกการตลาด / วิชาเอกการตลาด (โครงการพิเศษ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ หรือโรงเรียน
หลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒิ
การศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
วิชาเอกการตลาด
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1
รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
วิชาเอกการตลาด (โครงการพิเศษ)
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1
รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
4) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
50 1 20 1 10 1 20 1
1.4 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจเพื่อสังคม
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ หรือโรงเรียน
หลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่องเกณฑ์การ เทียบ
วุฒกิ ารศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กีนยายน
2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้องรักษาระดับ
ผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1
รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ ดังนี้
A-Level
TGAT
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน)
50 1 30 1 20 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-176- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.5 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม
สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม (โครงการพิเศษ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ หรือโรงเรียน
หลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์
การเทียบวุฒกิ ารศึกษาเท่ากับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14
กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
สาขาวิชาเอกการท่องเที่ยวและการโรงแรม
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.30 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่
1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.30 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
สาขาวิชาเอกการท่องเที่ยวและการโรงแรม (โครงการพิเศษ)
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่
1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
เลือกสอบ ภาษา
TGAT ฝรั่งเศสหรือ
คณิตศาสตร์
สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น
ประยุกต์ 2
หรือ ภาษาเกาหลี
หรือ ภาษาจีน
ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์
น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
30 1 10 1 10 1 10 1 30 1 10 1
2. เกณฑ์การคัดเลือกคณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 คะแนนสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้น
ต่าที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
2.3 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (เฉพาะสาขาวิชาที่ใช้แฟ้มสะสมผลงาน)
2.4 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-177- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

3. เอกสารที่ต้องนามาในวันสอบสัมภาษณ์
3.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
3.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (เฉพาะสาขาวิชาทีใ่ ช้แฟ้มสะสมผลงาน)
4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการสอบคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
ทางอินเทอร์เน็ตที่
การสอบสัมภาษณ์
https://admission.swu.ac.th
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบสัมภาษณ์
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-178- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รายละเอียดแนบท้าย
วิทยาลัยนานาชาติเพื่อศึกษาความยั่งยืน
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ทุกชั้นปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชาการจัดการภาคบริการและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน กรุงเทพมหานคร
(หลักสูตรนานาชาติ)
1. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัคร
1.1 กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การ
เทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
1.2 ผู้สมัครที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติจะต้องมี
คะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษา
ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
1.3 มีแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ในรูปแบบ ไฟล์ PDF ส่งมายัง htmtcas.swuic@gmail.com โดยประกอบด้วย
- เรียงความในหัวข้อ “Why am I applying for Bachelor of Arts Program in Sustainable Hospitality and
Tourism Management? และ “ Why Should I be accepted into the program? รวมกัน 1 ฉบับ ภาษาอังกฤษ
ความยาวไม่เกิน 2 หน้ากระดาษ A4 หรือ 500-600 คา โดยใช้อักษร Times New Roman ขนาด 12
- ผลการทดสอบภาษาอังกฤษ (ถ้ามี) โดยไม่กาหนดเกณฑ์ขั้นต่า และไม่ใช่เป็นเกณฑ์การคัดเลือก
1.4 ไม่มีปญั หาสุขภาพที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าร่วมโครงการศึกษาภาคสนาม ทั้งในและต่างประเทศ
1.5 ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
2. เกณฑ์การคัดเลือกของวิทยาลัยนานาชาติเพื่อศึกษาความยั่งยืน
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
2.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3. เอกสารที่ต้องนามาในวันสอบสัมภาษณ์
เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่
13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
2 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
การสอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
6 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th

หมายเหตุ * ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกมีสิทธิ์เข้าศึกษา จะต้องเรียน Pre-college ในช่วงเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม 2567


โดยมีคา่ ใช้จ่ายไม่เกิน 20,000 บาท
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-179- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รายละเอียดแนบท้าย
คณะกายภาพบาบัด
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบาบัด /สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ ทุกชั้นปี เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชากิจกรรมบาบัด จังหวัดนครนายก
1. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัคร
1.1 สาขาวิชากายภาพบาบัด
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้ ส มั ค รที่ ส าเร็ จ การศึ ก ษาจากหลั ก สู ต รนานาชาติ ต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ ต ามประกาศสมาคมที่ ป ระชุ ม อธิ ก ารบดี แ ห่ ง ประเทศไทย
เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) ผู้สมัครที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติจะต้องมี
คะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษา
ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ ดังนี้
A-Level
TGAT
ภาษาไทย ฟิสิกส์ ชีววิทยา
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
40 1 10 1 25 1 25 1
1.2 สาขาวิชากิจกรรมบาบัด
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้ ส มั ค รที่ ส าเร็ จ การศึ ก ษาจากหลั ก สู ต รนานาชาติ ต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ ต ามประกาศสมาคมที่ ป ระชุ ม อธิ ก ารบดี แ ห่ ง ประเทศไทย
เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) ผู้สมัครที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติจะต้องมี
คะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษา
ระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ ดังนี้
A-Level
TGAT
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ชีววิทยา
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
40 1 20 1 20 1 20 1
สาขาวิชากายภาพบาบัดและสาขาวิชากิจกรรมบาบัด เป็นสาขาวิชาที่ผู้เข้ารับการศึก ษาจะต้องทาการศึก ษาอย่างหนัก แม้เมื่อเป็นนัก
กายภาพบาบัดและนักกิจกรรมบาบัดแล้วก็ต้องรับภาระในการปฏิบัติหน้าที่หนักต่อไป ด้วยเหตุนี้สุขภาพของผู้ที่จะเข้ารับการศึกษาจึงเป็ นเรื่องสาคัญอย่างยิ่ง
ฉะนั้นเพื่อจะให้ได้นักกายภาพบาบัดและนักกิจกรรมบาบัดในอนาคตที่มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ สาหรับปฏิบัติหน้าที่สนองความ ต้องการของ
ประเทศชาติตามสภาพของสังคมและชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ คณะกายภาพบาบัด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จึงจาเป็นต้องสอบสัมภาษณ์ และมี
ใบรับรองแพทย์ว่าผ่านตามเกณฑ์คุณสมบัติทั่วไปของผู้มีสิทธิ์สมัครตามประกาศฯ และเกณฑ์คุณสมบัติเฉพาะสาขา พร้อมผลการอ่านฟิล์มเอ็กซเ รย์ทรวงอก
(ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน นับถึงวันสัมภาษณ์) ที่ลงนามรับรองโดยแพทย์ ไปยื่นในวันสอบทัศนคติต่อวิชาชีพ เพื่อดาเนินการตรวจคัดเลือกผู้ประสงค์จะเข้าศึกษา
ที่ผ่านการคัดเลือกเป็นผู้มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-180- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.3 สาขาวิชาส่งเสริมสุขภาพ
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้ ส มั ค รที่ ส าเร็ จ การศึ ก ษาจากหลั ก สู ต รนานาชาติ ต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ ต ามประกาศสมาคมที่ ป ระชุ ม อธิ ก ารบดี แ ห่ ง ประเทศไทย
เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) ผู้สมัครที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ
จะต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ ดังนี้
A-Level
TGAT
ภาษาไทย เคมี ชีววิทยา
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
40 1 25 1 10 1 25 1
สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ เป็นสาขาวิชาที่ผู้เข้ารับการศึกษาจะต้องทาการศึกษาภาคทฤษฎีในห้องเรียน การฝึก
ปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ และในสถานการณ์จริงโดยเน้นชุมชน ซึ่งผู้เรียนต้องทาการศึกษาอย่างหนัก แม้เมื่อเป็นนักส่งเสริมสุขภาพ
แล้ วก็ต้องรับ ภาระหนั กในการดาเนินงานด้านการส่ งเสริมสุขภาพประชาชน ผู้ศึกษาวิชาการส่งเสริมสุ ขภาพจึงต้องเป็ นผู้ที่ มี
สติปัญญา ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีความสามารถในการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี บุคลิกภาพน่าเชื่อถือ และมีความ
สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ เพื่อให้เป็นนักส่งเสริมสุขภาพที่มีคุณภาพตอบสนองความต้องการของสังคม และประเทศชาติ
อย่างมีประสิทธิภาพ คณะกายภาพบาบัด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จึงจาเป็นต้องสอบสัมภาษณ์ และมีใบรับรองแพทย์ว่า
ผ่านตามเกณฑ์คุณสมบัติทั่วไปของผู้มีสิทธิสมัคร ตามประกาศฯ และเกณฑ์คุณสมบัติเฉพาะสาขา พร้อมผลการอ่านฟิล์ม
เอ็กซเรย์ทรวงอก (ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือนนับถึงวันสอบสัมภาษณ์) ที่ลงนามรับรองโดยแพทย์ เพื่อดาเนินการตรวจคัดเลือกผู้
ประสงค์จะเข้าศึกษาที่ผ่านการคัดเลือกเป็นผู้มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะกายภาพบาบัด
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 คะแนนสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้น
ต่าที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
2.3 ผลการตรวจร่างกายต้องปกติหรือผ่าน
2.4 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3. เอกสารที่ต้องนามาในวันสอบสัมภาษณ์
3.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
3.2 ผู้เข้าสอบต้องตรวจร่างกายมาล่วงหน้า ให้นาผลการตรวจร่างกายดังต่อไปนี้มาด้วย
1) ใบรับรองแพทย์แสดงผลการตรวจร่างกายจากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน ใช้แบบฟอร์มการ
ตรวจร่างกายตามรูปแบบของโรงพยาบาล
2) ผลการอ่านฟิล์มเอ็กซเรย์ทรวงอก (ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน นับถึงวันสัมภาษณ์) ที่ลงนามรับรองโดยแพทย์จาก
โรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน
4. เอกสารการรายงานตัว
เฉพาะหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบาบัด ที่ผ่านการสอบสัมภาษณ์ต้องยื่นหนังสือหรือเอกสารรับรอง
การได้รับวัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบ บี กับฝ่ายวิชาการ คณะกายภาพบาบัด ในวันเปิดภาคการศึกษา
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-181- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
การสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์ ทางเว็บไซต์ ทปอ.
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th

หมายเหตุ หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับข้อมูลหรือปัญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ หลักสูตร/สาขาวิชา/วิชาเอก


ให้ติดต่อที่ คณะกายภาพบาบัด โทร. 0-2649-5000
นายอนุศักดิ์ สวัสดี สาขากายภาพบาบัด ต่อ 27332 หรือเข้าร่วม กลุ่มไลน์แชท ตามQR Code ด้านล่างนี้

นายปกครอง แดนนอก สาขาการส่งเสริมสุขภาพ ต่อ 27307 หรือเข้าร่วม กลุ่มไลน์แชท ตามQR Code ด้านล่างนี้

นางสาวศุภสิ รา วรรณบวร สาขากิจกรรมบาบัด ต่อ 27348 หรือเข้าร่วม กลุ่มไลน์แชท ตามQR Code ด้านล่างนี้
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-182- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รายละเอียดแนบท้าย
คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ทุกชั้นปี เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนา
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ทุกชั้นปี เรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดนครนายก
สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร

1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1 สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนา
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ หรือ
โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1
รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) ต้องไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง โรคที่สังคมรังเกียจ โรคประจาตัว หรือความพิการต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
เล่าเรียน และการประกอบอาชีพ
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ควรระบุข้อมูล หรือเอกสารหรือรูปถ่ายแสดงผลงานวิชาการ กิจกรรมและผลงานที่
เกี่ยวกับสาขาวิชา และกิจกรรมเพื่อส่วนรวมหรือเพื่อสาธารณประโยชน์อื่นๆ (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้ม
สะสมผลงาน หน้า 171)
5) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
1.2 สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมในกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 2.25 และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ไม่น้อยกว่า 2.25
4) มี จ านวนหน่ วยกิ ต ในกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ ไม่ น้ อ ยกว่า 6 หน่ ว ยกิ ต และกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้
วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
5) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ควรระบุข้อมูล หรือเอกสารหรือรูปถ่ายแสดงผลงานวิชาการ กิจกรรมและผลงานที่
เกี่ยวกับสาขาวิชา และกิจกรรมเพื่อส่วนรวมหรือเพื่อสาธารณประโยชน์อื่นๆ (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้ม
สะสมผลงาน หน้า 183 )
6) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-183- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

2. การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตั้งชื่อไฟล์ เป็น “ชื่อ
ตน เอ งเป็ น ภ าษ าอั งก ฤ ษ ห้ าม เว้ น วรรค แล ะ ห้ าม มี อั ก ข ระพิ เศ ษ ” แ ล ะ อั พ โห ล ด ใน ระบ บ รั บ ส มั ค รฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น.
หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
2.3 การสอบสัมภาษณ์และทดสอบความรู้เฉพาะสาขาวิชา ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3. เอกสารที่ต้องนามาในวันสอบสัมภาษณ์
3.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
3.2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่อง เที่ยวเชิงนิเวศ ขอสงวนสิทธิ์ที่จะไม่คืนแฟ้ม
ประวัติและผลงานแก่ผู้สมัครไม่วา่ ในกรณีใดๆ ดังนั้นผู้สมัครควรส่งภาพถ่ายและเอกสารฉบับสาเนาเท่านั้น พร้อม
ระบุข้อความ “ใช้เพื่อสมัครเข้าศึกษาที่ มศว ปีการศึกษา 2567 เท่านั้น” ทุกหน้า ให้เก็บข้อมูลที่เป็นตัวจริงไว้เป็น
เกียรติประวัติของตนเอง
4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก

วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่


13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
2 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
การสอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
6 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-184- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รายละเอียดแนบท้าย
คณะสังคมศาสตร์
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
ทุกชั้นปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
สาขาวิชาประวัติศาสตร์
สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (โครงการพิเศษ)
(โครงการพิเศษ) ทุกชั้นปีเรียนที่
สาขาวิชาสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
- วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง
วันจันทร์ – วันศุกร์ เรียนเวลา 17.30 – 20.20 น.
- วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง (โครงการพิเศษ)
วันเสาร์ หรือ วันอาทิตย์ เรียนเวลา 08.30 – 16.20 น.
- วิชาเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา
- วิชาเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา (โครงการพิเศษ)
1. คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
1.1 สาขาวิชาประวัติศาสตร์ / สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (โครงการพิเศษ)
1) จะต้องกาลังศึกษาในโรงเรียนมัธยมหลักสูตรแกนกลาง (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และ
จะต้อง รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
1.2 สาขาวิชาสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา
- วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง / วิชาเอกการพัฒนาชุมชนเมือง (โครงการพิเศษ)
- วิชาเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา / วิชาเอกการวิจัยสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา (โครงการพิเศษ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) ผู้สมัครที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ
จะต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.30
และจะต้อง รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) โดยอัพโหลดในระบบรับสมัครตามขั้นตอนดังนี้
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตั้งชื่อไฟล์
เป็ น “ชื่ อตนเองเป็ นภาษาอังกฤษห้ ามเว้นวรรค และห้ ามมี อั กขระพิ เศษ” และอั พโหลดในระบบรั บสมั ครฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา
15.00 น. หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
4) ไม่ใช้คะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะสังคมศาสตร์
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (เฉพาะสาขาวิชาสังคมวิทยาเพื่อการพัฒนา)
2.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ทหี่ ลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3. เอกสารที่ต้องนามาในวันสอบสัมภาษณ์
เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-185- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่
13 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
การสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์ ทางเว็บไซต์ ทปอ.
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-186- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รายละเอียดแนบท้าย
คณะเศรษฐศาสตร์
สาขาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) ทุกชั้นปีเรียนที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
กรุงเทพมหานคร

1 คุณสมบัติเฉพาะสาขาวิชา
หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์
การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14
กันยายน 2566
2) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio)
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตั้งชื่อ
ไฟล์ เป็น “ชื่อตนเองเป็นภาษาอังกฤษห้ามเว้นวรรค และห้ามมีอักขระพิเศษ” และอัพโหลดในระบบรับสมัครฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา
15.00 น. หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
3) มีบุคลิกภาพ ทัศนคติ และคุณลักษณะที่เหมาะสมกับการเรียนหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต
4) มีผลการสอบ GAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT เลือก คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1
ภาษาอังกฤษ
หรือ คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
60 1 20 1 20 1
ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) จะต้องเข้าเรียนปรับพื้นฐานวิชาคณิตศาสตร์
และภาษาอังกฤษ ก่อนเปิดภาคการศึกษา ค่าธรรมเนียมการเรียนปรับพื้นฐาน 8,000 บาท
2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะเศรษฐศาสตร์
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่าที่
หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
2.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3. เอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์
เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-187- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
ทางอินเทอร์เน็ตที่
การสอบสัมภาษณ์
https://admission.swu.ac.th
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบสัมภาษณ์
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-188- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รายละเอียดแนบท้าย
คณะวิศวกรรมศาสตร์
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี / สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล /สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ทุกชั้นปี เรียนที่
สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ / สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ / สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม จังหวัดนครนายก
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า วิชาเอกวิศวกรรมไฟฟ้ากาลัง
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า วิชาเอกวิศวกรรมโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ (หลักสูตร 2 ภาษา)
สาขาวิชาวิศวกรรมคอนเสิรตและมัลติมีเดีย (หลักสูตรนานาชาติ)
สาขาวิชาวิศวกรรมด้านความปลอดภัยไซเบอร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
1. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา
1.1 สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และในกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
TGAT TPAT 3
ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขันต่า (คะแนน)
30 1 70 1
และผลรวมของคะแนนรวมทั้งหมดต้องไม่น้อยกว่า 20 คะแนน
1.2 สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และในกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

20 4 30 4 20 4 30 4
และผลรวมของคะแนนรวมทั้งหมดต้องไม่น้อยกว่า 20 คะแนน
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-189- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.3 สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒิ
การศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
3) ผู้สมัครที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติจะต้อง
มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
(จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 1 30 1 20 1 30 1
1.4 สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
1) กาลั งศึก ษาในโรงเรียนหลักสูต รแกนกลางการศึกษาขั้ นพื้ นฐาน หรือโรงเรียนหลักสู ตรนานาชาติ หรือ โรงเรีย น
หลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒิ
การศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียน
จนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5
ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
(จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 15 30 15 25 15 25 15
และผลรวมของคะแนนรวมทั้งหมดต้องไม่น้อยกว่า 15 คะแนน
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-190- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.5 สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรไมต่ากวา 3.00 และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ไม่ต่ากว่า 3.00
4) เฉพาะผู้ที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
(จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
5) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 30 30 30 25 30 25 30
และผลรวมของคะแนนรวมทั้งหมดต้องไม่น้อยกว่า 20 คะแนน

1.6 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.60 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และในกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน ((portfolio) โดยนามาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์
5) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขันต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 1 30 25 25 15 25 15
และผลรวมของคะแนนรวมทัง้ หมดต้องไม่น้อยกว่า 30 คะแนน
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-191- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.7 สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า วิชาเอกวิศวกรรมไฟฟ้ากาลัง/วิชาเอกวิศวกรรมโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้

TGAT TPAT 3

ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน)


30 1 70 1
และผลรวมของคะแนนรวมทั้งหมดต้องไม่น้อยกว่า 20 คะแนน

1.8 สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ (หลักสูตร 2 ภาษา)


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์
การเทียบวุฒิ การศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคั ดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบั นอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14
กันยายน 2566
2) ผู้สมัครที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติจะต้อง
มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.75 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้ที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
(จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 1 30 15 25 10 25 10
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-192- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.9 สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรไมต่ากวา 2.50 และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่ต่ากว่า 2.50
4) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และในกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
5) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้

TGAT TPAT 3

ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน) ค่าน้าหนัก (%) เกณฑ์ขั้นต่า (คะแนน)

40 10 60 15
1.10 สาขาวิชาวิศวกรรมคอนเสิรตและมัลติมีเดีย (หลักสูตรนานาชาติ)
สาขาวิชาวิศวกรรมด้านความปลอดภัยไซเบอร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ หรือโรงเรียน
หลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒิ
การศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษาระดับผล
การเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5
ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) มีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
(จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีผลการทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ: IELTS ไม่ต่ากว่า 5.0 ทั้งนี้ผลคะแนนต้องมีอายุไม่เกิน 2 ปี
นับจากวันที่ทดสอบจนถึงวันสอบสัมภาษณ์
5) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฟิสิกส์
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 1 30 1 25 1 25 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-193- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

2. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะวิศวกรรมศาสตร์
2.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิส์ มัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
2.2 คะแนนสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่าที่กาหนด
2.3 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3. เอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์
3.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
3.2 ผลการทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ (เฉพาะสาขาวิชาที่กาหนดให้ใช้ผลการทดสอบ)

4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
ทางอินเทอร์เน็ตที่
การสอบสัมภาษณ์
https://admission.swu.ac.th
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวสอบสัมภาษณ์
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-194- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รายละเอียดแนบท้าย
คณะพลศึกษา
สาขาวิชาที่รับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย ทุกชั้นปี เรียนที่
สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
- วิชาเอกอนามัยสิ่งแวดล้อม จังหวัดนครนายก
- วิชาเอกสาธารณสุขชุมชน
- วิชาเอกอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาผู้นานันทนาการ
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา (กศ.บ.)
สาขาวิชาสุขศึกษา (กศ.บ.)
สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (กศ.บ.)
1. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัคร
1.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย
1) กาลังศึ กษาในโรงเรียนหลั กสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้ นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสู ตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์
การเทียบวุฒิ การศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบัน อุดมศึกษา ประกาศ ณ วัน ที่ 14
กันยายน 2566
2) ผู้สมัครที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติจะต้อง
มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.25 และจะต้องรักษาระดับ
ผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) เฉพาะผู้กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) ต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสม ในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ คณิ ต ศาสตร์ ไม่ น้ อ ยกว่า 2.00 กลุ่ ม สาระการเรีย นรู้ วิทยาศาสตร์ไม่ น้ อยกว่า 2.00 กลุ่ ม สาระการเรีย นรู้
ภาษาต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า 2.00
4) มีความประพฤติดี อยู่ในศีลธรรม มีระเบียบวินัย
5) ต้องเป็นผู้มีร่างกายสมบูรณ์ ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง ไม่มีโรคประจาตัว หรือไม่มีความพิการทางร่างกาย ความพิการ
ทางสายตา (ตาบอด) หรือความพิการทางการได้ยิน อันจะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
6) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 197)
7) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
40 1 10 1 40 1 10 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-195- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์


วิชาเอกอนามัยสิ่งแวดล้อม / วิชาเอกสาธารณสุขชุมชน / วิชาเอกอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
1) กาลังศึ กษาในโรงเรียนหลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้ นพื้ นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลั กสูตรนานาชาติ และจะสาเร็จ
การศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมทีป่ ระชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์การเทียบ
วุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) ผู้สมัครที่กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ
จะต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.80
และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) ผู้สมัครต้องมีจานวนหน่วยกิตรวมในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต (จานวนหน่วยกิตนับถึงวันที่สาเร็จการศึกษา)
4) มีความประพฤติดี อยู่ในศีลธรรม มีระเบียบวินัย
5) ต้องเป็นผู้มรี ่างกายสมบูรณ์ ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง ไม่มีโรคประจาตัว หรือไม่มีความพิการทางร่างกาย ความพิการ
ทางสายตา (ตาบอด) หรือความพิการทางการได้ยิน อันจะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
และการประกอบอาชีพ
6) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 197)
7) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ ดังนี้
A-Level
TGAT
ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
20 1 20 1 30 1 30 1
1.3 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาผู้นานันทนาการ
1) กาลั งศึ กษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึ กษาขั้ นพื้ นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลั กสู ตรนานาชาติ หรื อโรงเรียน
หลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่องเกณฑ์ การเทียบวุฒิ
การศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ยสะสม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับ
ผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1รวม
5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีความประพฤติดี อยู่ในศีลธรรม มีระเบียบวินัย
4) ต้องเป็นผู้มีร่างกายสมบูรณ์ ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง ไม่มีโรคประจาตัว หรือไม่มีความพิการทางร่างกาย ความพิการ
ทางสายตา (ตาบอด) หรือความพิการทางการได้ยิน อันจะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
5) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 197)
6) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ ดังนี้
TGAT A-Level
สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)

30 1 25 1 25 1 20 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-196- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.4 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีความประพฤติดี อยู่ในศีลธรรม มีระเบียบวินัย
4) ต้องเป็นผู้มีร่างกายสมบูรณ์ ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง ไม่มีโรคประจาตัว หรือไม่มีความพิการทางร่างกาย ความพิการ
ทางสายตา (ตาบอด) หรือความพิการทางการได้ยิน อันจะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
5) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 197)
6) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT TPAT 5 สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์ ค่า เกณฑ์
น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า น้าหนัก ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
30 1 30 30 15 1 15 1 10 1
1.5 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา
1) กาลั งศึ กษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึ กษาขั้ นพื้ นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลั กสู ตรนานาชาติ หรื อโรงเรียน
หลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติช ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง
เกณฑ์การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14
กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1
รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00
และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
2) มีความประพฤติดี อยู่ในศีลธรรม มีระเบียบวินัย
3) ต้องเป็นผู้มีร่างกายสมบูรณ์ ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง ไม่มีโรคประจาตัว หรือไม่มีความพิการทางร่างกาย ความพิการ
ทางสายตา (ตาบอด) หรือความพิการทางการได้ยิน อันจะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน หน้า 197)
5) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี
A-Level
TGAT TPAT 5
สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
30 1 30 30 15 1 15 1 10 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-197- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.6 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาค การศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และ
จะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) มีความประพฤติดี อยู่ในศีลธรรม มีระเบียบวินัย
4) ต้องเป็นผู้มีร่างกายสมบูรณ์ ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง ไม่มีโรคประจาตัว หรือไม่มีความพิการทางร่างกาย ความพิการ
ทางสายตา (ตาบอด) หรือความพิการทางการได้ยิน อันจะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
5) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) (ดูรายละเอียดที่ ข้อ 2 การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน)
6) มีผลการสอบ TGAT/TPAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และ
เกณฑ์ขั้นต่า ดังนี
A-Level
TGAT TPAT 5
สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า
(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
30 1 30 30 15 1 15 1 10 1

2. การอัพโหลดแฟ้มสะสมผลงาน
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตั้งชื่อไฟล์ เป็น “ชื่อ
ต น เอ งเป็ น ภ าษ าอั งก ฤ ษ ห้ าม เว้ น วรรค แ ล ะ ห้ าม มี อั ก ข ระพิ เศ ษ ” โด ย อั พ โห ล ด ใน ระ บ บ รั บ ส มั ค รฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา 15.00 น.
หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
3. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะพลศึกษา
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
3.2 คะแนนสอบ TGAT/TPAT/A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่าที่
หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3.3 การตรวจร่างกายต้องปกติหรือผ่าน
3.4 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
3.5 การสอบภาคปฏิ บั ติ (ทดสอบสมรรถภาพทางกาย) เฉพาะสาขาวิช าพลศึ ก ษา สาขาวิช าสุ ข ศึก ษาและพลศึ กษา
และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย
3.6 การสอบภาคปฏิบัติ ทดสอบความสามารถทางผู้นานันทนาการ ทักษะการสื่อสาร และความสามารถพิเศษที่เกี่ยวข้องทาง
นันทนาการ เฉพาะสาขาวิชาผู้นานันทนาการ
4. เอกสารที่ต้องนามาในวันสัมภาษณ์
4.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
4.2 ใบรับรองแพทย์แสดงผลการตรวจร่างกายจากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน ว่าผ่านตามเกณฑ์คุณสมบัติ
เฉพาะสาขาวิชา และเกณฑ์คุณสมบัติทั่วไปของผู้มีสิทธิ์สมัคร ตามประกาศฯ
4.3 หลักฐานแสดงความสามารถหรือผลงานด้านต่างๆ (ถ้ามี)
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-198- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
การสอบสัมภาษณ์
สาขาวิชาสุขศึกษา
สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
– อนามัยสิ่งแวดล้อม
– สาธารณสุขชุมชน
– อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
08.00 – 08.30 น รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์
08.30 น เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย ทางอินเทอร์เน็ตที่
26 เมษายน 2567 สาขาวิชาพลศึกษา https://admission.swu.ac.th
สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา
08.00 – 08.30 น รายงานตัวเข้าสอบฯ
08.30 – 12.00 น สอบสัมภาษณ์
13.00 น. เป็นต้นไป สอบภาคปฏิบัติ
(ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ให้ผู้สมัครนาชุดกีฬามาด้วย)
สาขาวิชาผู้นานันทนาการ
08.00 – 08.30 น รายงานตัวเข้าสอบฯ
08.30 – 12.00 น สอบสัมภาษณ์
13.00 น. เป็นต้นไป สอบภาคปฏิบัติ
(ทดสอบความสามารถทางผู้นานันทนาการ ใช้ชุด
แต่งกายตามความเหมาะสม)
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
หมายเหตุ หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับข้อมูลหรือปัญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ หลักสูตร/สาขาวิชา/วิชาเอก
ให้ติดต่อที่ งานบริการการศึกษา คณะพลศึกษา โทร. 037 395-162 หรือ 0-2649-5000 ต่อ 22509 และ 22516
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-199- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

รายละเอียดแนบท้าย
วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย
สาวิชาที่เปิดรับสมัคร สถานที่เรียน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต - ทุกชั้นปีเรียนที่มหาวิทยาลัย
สาขาวิชาการจัดการภูมสิ ังคมและวัฒนธรรม ศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดนครนายก
วิชาเอกการจัดการภูมสิ ังคม - เฉพาะบางรายวิชาเรียนที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วิชาเอกการจัดการภูมิวัฒนธรรม จังหวัดสระแก้ว และ อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชานวัตกรรมเกษตรและการจัดการลุมน้าอยางยั่งยืน
วิชาเอกนวัตกรรมเกษตร
วิชาเอกการจัดการลุมน้าอยางยั่งยืน

1. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัคร
1.1 สาขาวิชาการจัดการภูมสิ ังคมและวัฒนธรรม วิชาเอกการจัดการภูมิสังคม / วิชาเอกการจัดการภูมวิ ัฒนธรรม
1) กาลั งศึ กษาในโรงเรียนหลั กสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้ นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลั กสู ตรนานาชาติ หรือโรงเรียน
หลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง เกณฑ์
การเทียบวุฒิ การศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14
กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดั บประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1
รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) ไมใชคะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
4) มีแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) เชน กิจกรรม ความสามารถพิเศษ รางวัลที่เคยไดรับ โดยอัพโหลดตามขั้นตอนดังนี้
➢ ไฟล์ PDF อัพโหลดได้ 1 ครั้ง (ไม่สามารถแก้ไขไฟล์ได้) ผู้สมัครควรตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วนก่อนแนบไฟล์
➢ ควรจัดทาไฟล์ PDF ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนกดเลือกสาขาวิชา (หากไม่แนบไฟล์ PDF จะกดสมัครไม่ได้)
ให้ผู้สมัครจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) ในรูปแบบไฟล์ PDF 1 ไฟล์ ขนาดไม่เกิน 25 MB โดยตั้งชื่อไฟล์ เป็น
“ชื่ อ ตนเองเป็ น ภาษาอั ง กฤษห้ า มเว้ น วรรค และห้ า มมี อั ก ขระพิ เศษ” และอั พ โหลดในระบบรั บ สมั ค รฯ
https://admission.swu.ac.th ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 (วันสุดท้ายของการรับสมัคร) ระบบปิดเวลา
15.00 น. หากส่งเอกสารเกินระยะเวลาที่กาหนดมหาวิทยาลัยจะไม่รับพิจารณาใบสมัคร
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-200- 1.6 โครงการโรงเรียนในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยและปริมณฑล

1.2 สาขาวิชานวัตกรรมเกษตรและการจัดการลุมน้าอยางยั่งยืน วิชาเอกนวัตกรรมเกษตร / วิชาเอกการจัดการลุมน้าอยางยั่งยืน


1) กาลังศึกษาในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรือโรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ หรือโรงเรียน
หลักสูตรอาชีวศึกษา และจะสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้สมัครที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนานาชาติ ต้องมีคุณสมบัติตามประกาศสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย เรื่อง
เกณฑ์การเทียบวุฒิการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ
วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้
- โรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) และ โรงเรียนหลักสูตรนานาชาติ: มีคะแนนเฉลี่ย
สะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
- โรงเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา: มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 - 3 ภาคเรียนที่
1รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.00 และจะต้องรักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา
3) ไมใชคะแนน TGAT/TPAT และ A-Level
2. เกณฑ์การคัดเลือกของวิทยาลัยโพธิวิชชาลัย
2.1 เปนไปตามคุณสมบัติของผูมีสทิ ธิ์สมัครและคุณสมบัตเิ ฉพาะของแตละสาขาวิชากาหนด
2.2 แฟมบันทึกประวัติสวนตัว
2.3 ผลการสอบสัมภาษณตามเกณฑที่หลักสูตรกาหนด/สาขาวิชากาหนด
3. เอกสาร/หลักฐานประกอบการสมัครและการสอบสัมภาษณ์
3.1 เอกสารตามประกาศฯ ในขอ 7 หนา 5
3.2 แฟมบันทึกประวัติสวนตัว เฉพาะสาขาวิชาการจัดการภูมสิ ังคมและวัฒนธรรม
4. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี รายการ หมายเหตุ
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัครทางอินเทอร์เน็ต
2 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
สอบสัมภาษณ์
ทางอินเทอร์เน็ตที่
6 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบฯ
https://admission.swu.ac.th
09.00 – เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์

2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก


ทางเว็บไซต์ ทปอ.
2 – 3 พฤษาภคม 2567 ยืนยันสิทธิ์
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-201- 1.7 โครงการเขตบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข

การคัดเลือกเข้าเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี ประจาปีการศึกษา 2567 TCAS รอบที่ 2 Quota


โครงการ “เขตบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข คณะกายภาพบาบัด”
-------------------------------------
ปการศึกษา 2567 คณะกายภาพบาบัดเปดโอกาสใหกับนักเรียนที่มีภูมิลาเนาและกาลังศึก ษาในระดับ
มัธยมศึกษาของโรงเรียนที่ตั้งอยูในเขตสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข เขตที่ 8 ประกอบดวย 7 จังหวัด (จังหวัด
อุดรธานี สกลนคร นครพนม เลย หนองบัวลาภู หนองคาย บึงกาฬ) เขตที่ 9 ประกอบดวย 4 จังหวัด (จังหวัด
ชัยภูมิ นครราชสี มา บุรีรัมย สุริน ทร) และเขตที่ 10 ประกอบดวย 5 จังหวัด (จังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ
ยโสธร อานาจเจริ ญ มุ ก ดาหาร) เพื่ อ เปนการเพิ่ มโอกาสทางการศึ กษา สงเสริม การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิต ของ
ประชาชนไดอยางตอเนื่อง
รับสมัคร: ระหว่างวันที่ 13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 (ปิดระบบรับสมัครเวลา 15.00 น.)
1. โครงการ “เขตบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข” (รหัสกลุ่มสาขา 225)
คณะ / หลักสูตร รหัสสาขาวิชา จานวนรับ สถานที่เรียน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต รับจานวนทั้งหมด 3 คน โดยรับนักเรียน ทุกชั้นปีเรียนที่มหาวิทยาลัย
สาขาวิชากิจกรรมบาบัด 67003 จากโรงเรียนที่อยูในเขตบริการสุขภาพ ศรีนครินทรวิโรฒ
ของกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนครนายก
เขตที่ 8 จานวน 1 คน
เขตที่ 9 จานวน 1 คน
เขตที่ 10 จานวน 1 คน

2. คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีสิทธิ์สมัคร
สาขาวิชากิจกรรมบาบัด
1) สาเร็จการศึกษา หรือ กาลังศึกษา ในโรงเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6) หรื อ โรงเรียนหลักสูตร
นานาชาติ ที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองและเปนโรงเรียนที่อยูในเขตบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุขเขต 8,9,10
ตั้งแตมัธยมศึกษาชั้นปที่ 4 จนถึงปจจุบัน โดยภูมิลาเนาไมจาเปนตองเปนจังหวัดเดียวกัน แตตองอยูในเขตสุขภาพ
เดียวกันกับโรงเรียน และจะสาเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2566
หมายเหตุ : ผู้ ส มั ค รที่ ส าเร็ จ การศึ ก ษาจากหลั ก สู ต รนานาชาติ ต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ ต ามประกาศสมาคมที่ ป ระชุ ม อธิ ก ารบดี แ ห่ ง ประเทศไทย
เรื่อง เกณฑ์การเทียบวุฒการศึกษาเท่ากับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2566
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ภาคเรียนที่ 1 รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ากว่า 2.50 และจะต้อง
รักษาระดับผลการเรียนจนสาเร็จการศึกษา (ถ้าสาเร็จการศึกษาแล้วให้คิดคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมด)
3) มีผลการสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่า ดังนี้
A-Level
TGAT
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ชีววิทยา

ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า ค่าน้าหนัก เกณฑ์ขั้นต่า


(%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน) (%) (คะแนน)
40 1 20 1 20 1 20 1
TCAS รอบที่ 2 ปีการศึกษา 2567
-202- 1.7 โครงการเขตบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข

สาขาวิชากิจกรรมบาบัด เป็นสาขาวิชาที่ผู้เข้ารับการศึกษาจะต้องทาการศึกษาอย่างหนักแม้เมื่อเป็นนักกิจกรรมบาบัด
แล้วก็ต้องรับภาระในการปฏิบัติหน้าที่หนักต่อไป ด้วยเหตุนี้สุขภาพของผู้ที่จะเข้ารับการศึกษาจึงเป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่ง ฉะนั้น
เพื่อจะให้ได้นักกิจกรรมบาบัดในอนาคตที่มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ สาหรับปฏิบัติหน้าที่สนองความต้องการของ
ประเทศชาติ ต ามสภาพของสั งคมและชุ ม ชนอย่ างมี ป ระสิ ท ธิภ าพ คณะกายภาพบ าบั ด มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โรฒ
จึงจาเป็นต้องสอบสัมภาษณ์ และมีใบรับรองแพทย์ว่าผ่านตามเกณฑ์คุณสมบัติทั่วไปของผู้มีสิทธิ์สมัครตามประกาศฯ และ
เกณฑ์คุณสมบัติเฉพาะสาขา พร้อมผลการอ่านฟิล์มเอ็กซเรย์ทรวงอก (ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน นับถึงวันสัมภาษณ์) ที่ลงนาม
รับรองโดยแพทย์ ไปยื่นในวันสอบทัศนคติต่อวิชาชีพ เพื่อดาเนินการตรวจคัดเลือกผู้ประสงค์จะเข้าศึกษาที่ผา่ นการคัดเลือกเป็น
ผู้มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์
3. เกณฑ์การคัดเลือกของคณะกายภาพบาบัด
3.1 เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาขาวิชากาหนด
3.2 คะแนนสอบ TGAT และ A-Level ประจาปีการศึกษา 2567 ตามองค์ประกอบ ค่าน้าหนักร้อยละ และเกณฑ์ขั้นต่าที่
สาขาวิชากาหนด
3.3 ผลการตรวจร่างกายต้องปกติหรือผ่าน
3.4 การสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ที่หลักสูตร/สาขาวิชากาหนด
4. เอกสารที่ต้องนามาในวันสอบสัมภาษณ์
4.1 เอกสารตามประกาศฯ ในข้อ 7 หน้า 5
4.2 ผู้เข้าสอบต้องตรวจร่างกายมาล่วงหน้า ให้นาผลการตรวจร่างกายดังต่อไปนี้มาด้วย
1) ใบรับรองแพทย์แสดงผลการตรวจร่างกายจากโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน ใช้แบบฟอร์มการ
ตรวจร่างกายตามรูปแบบของโรงพยาบาล
2) ผลการอ่านฟิล์มเอ็กซเรย์ทรวงอก (ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน นับถึงวันสัมภาษณ์) ที่ลงนามรับรองโดยแพทย์จาก
โรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลของเอกชน
5. กาหนดการต่างๆ เกี่ยวกับการคัดเลือก
วัน เดือน ปี กิจกรรม สถานที่
13 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 รับสมัคร
19 – 20 เมษายน 2567 ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของคะแนน
22 เมษายน 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบ
การสอบสัมภาษณ์ ทางอินเทอร์เน็ตที่
27 เมษายน 2567 08.00 – 08.30 น. รายงานตัวเข้าสอบสัมภาษณ์ https://admission.swu.ac.th
09.00 น. เป็นต้นไป สอบสัมภาษณ์
2 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก
2 – 3 พฤษภาคม 2567 ยืนยันสิทธิ์ ทางเว็บไซต์ ทปอ.
7 พฤษภาคม 2567 ประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา https://admission.swu.ac.th
แจ้งให้ทราบภายหลัง รายงานตัวเข้าเป็นนิสิต https://istart.swu.ac.th

หมายเหตุ : หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับข้อมูลหรือปัญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ หลักสูตร/สาขาวิชา


ให้ติดต่อที่ คณะกายภาพบาบัด สาขากิจกรรมบาบัด นางสาวศุภิสรา วรรณบวร
โทร. 0-2649-5000 ต่อ 27348 หรือเข้าร่วม กลุ่มไลน์แชท ตามQR Code นี้

You might also like