Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 166

เอกเทศสัญญา II

สัญญาจํานอง

อ.ดร.วรภัทร รัตนาพาณิชย์
สัญญาจํานอง
1. ความหมายของสัญญาจํานอง
สั ญ ญาจํา นอง คื อ สั ญ ญาซึ/ ง บุ ค คลหนึ/ ง
ลน./บุคคลภายนอกก็ได มีการจทบ.กัยพนง.จนท.
เรียกว่าผูจ้ าํ นองเอาทรัพย์สินตราไว้แก่บุคคลอีกคน
หนึ/งเรียกว่าผูร้ บั จํานองเป็ นการประกันการชําระหนี I
โดยไม่สง่ มอบทรัพย์สนิ ให้แก่ผรู้ บั จํานอง(มาตรา702)
t
แตตองจทบ.วามีการจดจํานองในทบ.ที่แสดงกรรมสิทธิ์ในทรัพยนั้นๆ เชน จํานองที่ดินก็จดในโฉนดที่ดินวาติดจํานอง
จํานองเปนทรัพยสิทธิติดไปกับที่ดิน เวลาฟอง ฟองผูรับโอน แตผูรับโอนไมไดมีฐานะเปนผูจํานอง
และถาผูรับจํานองจะฟองที่ดินติดติดจํานองตามระยะเวลาที่กม.กําหนดในม.735

ข้ อสั งเกต (ม.735 > ผูรับจํานองตองบอกกลาวแกผูโอน ถาจะฟองบังคับจํานองตองฟองผูรับโอน)


*ผูรับโอน=บุคคลภายนอกที่ซื้อที่ดินติดจํานอง

•สัญญาประกันผูต้ อ้ งหาต่อศาล มิใช่เป็ นการจํานองตามมาตรา


702 จึงจะนํามาตรา 733 มาใช้บงั คับไม่ได้ ดูฎีกา
791/2531
•มาตรา 702 วรรคสอง เจ้าหนีFจาํ นองจะฟ้องผูร้ ับโอน
ทรัพย์สินให้รับผิดในฐานะเป็ นผูจ้ าํ นองไม่ได้ ผูจ้ าํ นองจึงไม่
อาจขอให้ยดึ ทรัพย์สินอืPนของผูร้ ับโอนทรัพย์สินกรณี ได้เงินไม่
พอชําระหนีFได้
702 ว.2 > จํานองตองเปนเจาของกรรมสิทธิ์ แตจํานองไมไดมีผลโอนกรรมสิทธิ์ไปยังเจาหนี้ ดังนั้นเจาของที่ดิน
ที่จํานองที่ดินไวกับธนาคาร สามารถขายที่ดินแบบติดจํานองใหกับบุคคลภายนอกได บุคคลภายนอกซื้อ
ที่ดิน=จํานองก็ติดมากับที่ดินนั้นดวย ธนาคารก็สามารถบังคับจํานองได ถาบุคคลภายนอกมีเงินก็จายเงินตามที่
ระบุไวในจํานอง (ไถจํานอง) แตเจาหนี้จํานองจะบังคับเหมือนบุคคลภายนอกเหมือนเปนผูจํานองไมได
!. ผู้จาํ นอง เจาของในขณะนั้น (705)

หมายถึ ง ผู้ เ อาทรั พ ย์ สิ น ของตนที9 เ ป็ น


สวนควบที่อยูติดกับที่ดินก็เปนอสังหาได

อสังหาริมทรัพย์ หรือ สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ


จดทะเบียนจํานองเพื9อประกันหนีกF บั เจ้าหนี F
ผู้จาํ นอง แบ่ งได้ 8 กรณี คือ
-ผูจ้ าํ นองเอาทรัพย์ประกันหนีFตนเอง
เช่น นายหนึPงกูเ้ งินนายสอง นายหนึPงจํานองทีPดินของตนประกันหนีF
-ผูจ้ าํ นองทีPเอาทรัพย์ของตนประกันหนีFของผูอ้ ืPน
เช่น นายดํากูเ้ งินนายขาว นายฟ้าจํานองทีPดินประกันหนีFนายดํา
-ผูร้ ับโอนทรัพย์สินซึPงมีจาํ นองซื้อที่ดินติดจํานอง (ราคาถูกกวาที่ดินที่ไมติดจํานอง แตก็ตองแบกรับความ
เสี่ยงในเรื่องที่ดินติดจํานอง)

เช่น นายจิงโจ้กเู้ งินนายอีกา นายทุเรี ยนจํานองทีPดินของตนประกันหนีF


ของนายจิงโจ้ ต่อมานายทุเรี ยนโอนทีPดินให้แก่นางมังกร
ผูรับโอน
ข้ อสั งเกต
ที่ตัวเองเปนลน. ลน.เปนคนละคนกับผูจํานอง
I
•การประกันหนีFนF ีอาจจะประกันหนีFของผูจ้ าํ นองเองหรื อบุคคล
±

อืPนก็ได้ แต่ทีPสาํ คัญคือผูร้ ับจํานองจะต้องเป็ นเจ้าหนีFในมูลหนีF


ประธานด้วย มิฉะนัFนสัญญาจํานองไม่ผกู พันผูจ้ าํ นอง
ดูฎีกาทีP 817/2521 ,4436/2545
หนี้กูยืมเงิน ถามีที่ดินมาจํานอง ลน.จะจํานองที่ดินตัวเองก็ได/ใหเพื่อนซึ่งเปนบุคคลภายนอกมาจํานองก็ได แตหนี้การกูยืมตอง
สมบูรณดวย
<. ทรัพย์ทสี> ามารถจํานอง(มาตรา 703)
(1) อสังหาริมทรัพย์
(2) สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ ซึง/ ได้แก่
ไ&

1) เรือมีระวางตังI แต่หา้ ตันขึนI ไป


บรร#ก

2) แพ → 'ห)บ อ+อา-ย

3) สัตว์พาหนะ
4) สังหาริมทรัพย์อ/ืนๆ ซึง/ มีกฎหมายเฉพาะเรือ/ งบัญญัตไิ ว้ ex เค1อง 3น

พระราชบัญญัตกิ ารเช่าอสังหาริมทรัพย์เพื7อพาณิชยกรรมและ

_
.

อุตสาหกรรม พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๖ ให้นาํ สิทธิการเช่าตาม


พระราชบัญญัตดิ งั กล่าวไปจํานองประกันการชําระหนีไN ด้ กรณีนีมN ี
ความเห็นของกรมที7ดนิ
ข้อสังเกต สวนควบเปนอสัังหาได

- มาตรา %&' คําว่า “อสังหาริมทรัพย์” ไว้วา่ หมายถึง ที>ดนิ และ


ทรัพย์อนั ติดอยูก่ บั ที>ดนิ ที>มีลกั ษณะเป็ นการถาวรหรือประกอบเป็ น
อันเดียวกับที>ดนิ นันM และหมายความรวมถึงทรัพยสิทธิอนั เกี>ยวกับ
ที>ดนิ หรือทรัพย์อนั ติดอยูก่ บั ที>ดนิ หรือประกอบเป็ นอันเดียวกับที>ดนิ
นันM ด้วย ซึง> ทรัพยสิทธิอนั เกี>ยวกับที>ดนิ ที>จะถือว่าเป็ น
อสังหาริมทรัพย์นนัM จะต้องก่อตังM ขึนM โดยกฎหมายเท่านันM บุคคลจะ
ก่อตังM ขึนM เองโดยนิตกิ รรมไม่ได้ตามนัยมาตรา %U'V
ถาที่ดินขุดทรายขึ้นมา แยกออกมา ทราย 1 คันรถ = สังหา เพราะขาดออกมาจากที่ดินแลว

? คําถาม : สิทธิการเช่าจะสามารถจํานองได้หรือไม่
คําตอบ
สิทธิการเช่าเป็ นสิทธิซง0ึ เกิดจากสัญญาที0ผใู้ ห้เช่าตกลงให้ผเู้ ช่าได้
ใช้ หรือได้รบั ประโยชน์ในทรัพย์สนิ และผูเ้ ช่าตกลงจะให้คา่ เช่าเพื0อ
การนันI (มาตรา ๕๓๗) เป็ นสิทธิท0ีบงั คับเอาแก่บคุ คลให้กระทํา
การ หรือมิให้กระทําการอย่างใดอย่างหนึง0 มิได้มงุ่ ถึงตัวทรัพย์สนิ ที0เช่า
สิทธิการเช่าจึงเป็ น บุคคลสิทธิ มิใช่ทรัพยสิทธิอนั เกี0ยวกับที0ดนิ ที0ถือ
ว่าเป็ นอสังหาริมทรัพย์ท0ีจะนําไปจด ทะเบียนจํานองได้ เว้นแต่มี
กฎหมายบัญญัตไิ ว้เป็ นการเฉพาะ เช่น พระราชบัญญัตกิ ารเช่า
อสังหาริมทรัพย์เพื0อพาณิชยกรรมและจํานองได

อุตสาหกรรม พ.ศ. Z[\Z มาตรา ] ที0บญ ั ญัติให้สทิ ธิการเช่า


อสังหาริมทรัพย์เพื0อพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมตามพระราชบัญญัติ
นี I สามารถนําไปจดทะเบียนจํานองได้ ดังนันI พนักงานเจ้าหน้าที0จงึ ไม่
สามารถรับจดทะเบียนจํานองสิทธิการเช่าที0ดนิ ที0ได้จดทะเบียนสิทธิการ
เช่าไว้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ได้
ข้อสังเกต
-อสังหาริมทรัพย์ เช่น ที/ดนิ โรงเรือน
-ที/ดนิ มีโฉนด หรือที/ดนิ ที/มีโฉนดตราจองว่าได้ทาํ ประโยชน์
แล้ว
-คําถามที/ดนิ ที/สทิ ธิครอบครองจะสามารถจํานองได้หรือไม่
-คําตอบพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที/ดิน มาตรา
X บัญญัติว่า “ทีด( ินทีไ( ด้ รับคํารับรองจากนายอําเภอ ว่า
ได้ ทําประโยชน์ แล้ วให้ โอนกันได้ ” จากผลของมาตรานี I
ทํา ให้ท/ี ดินที/ มี หนังสื อ รับ รองการทํา ประโยชน์เ ท่า นัIนที/ จะ
ทะเบียนจํานองได้ ดังนันI ที/ดินที/จาํ นองได้ตอ้ งเป็ นที/ดินที/มี
โฉนด หรือ น.ส.Z ที่ดินที่มีแคสิทธิครอบครอง ไมถึงกับเปนนส.3 = จํานองไมได (ที่ดินสค.1)
ข้อสังเกตทรัพย์ทส0ี ามารถจํานอง สังหาริมทรัพย์
อื/นๆ ซึง/ มีกฎหมายเฉพาะเรือ/ งบัญญัตไิ ว้
พระราชบัญญัตกิ ารเช่าอสังหาริมทรัพย์เพื/อ
พาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม พ.ศ. IJKI มาตรา L
ให้นาํ สิทธิการเช่าตามพระราชบัญญัตดิ งั กล่าวไป
จํานองประกันการชําระหนีไS ด้
สัญญาจํานองต้องระบุทรัพย์สนิ ที>จาํ นองและต้องมีจาํ นวน
เงินระบุไว้เป็ นเงินตราไทยเป็ นจํานวนแน่นอนหรือจํานวนขันM
สูงสุดที>ได้เอาทรัพย์สนิ จํานองนันM ตราไว้เป็ นประกัน
โดยทั>วไปผูท้ >ีจะนําทรัพย์สนิ ไปจํานองได้ตอ้ งเป็ นเจ้าของ
ทรัพย์สนิ นันM แต่อย่างไรก็ดี ลูกหนีอM าจนําทรัพย์สนิ ของตนไป
จํานองเป็ นประกันการชําระหนี M หรือจะมีบคุ คลภายนอกเอา
ทรัพย์สนิ มาจํานองประกันหนีขM องลูกหนีกM ็ได้
5.แบบของสัญญาจํานอง
สัญญาจํานองกฎหมายกําหนดไว้วา่ ต้องทําเป็ นหนังสือและจด
ทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที> ถ้าสัญญาจํานองใดไม่ทาํ ตาม
แบบ การจํานองนันM ย่อมตกเป็ นโมฆะ
ตัวอย่าง เช่น นายมกรา กูเ้ งิน นายกุมภา 100,000 บาท
โดยนายมกรา นําโฉนดที>ดนิ ของตนส่งมอบให้แก่นายกุมภา เป็ น
การจํานองที>ดนิ ประกันการชําระหนี M โดยไม่ไปจดทะเบียน เช่นนี M
การจํานองตกเป็ นโมฆะ
บรรดาข้อตกลงเกี/ยวกับการจํานองที/แตกต่างไปจาก
ผูรับโอน
มาตรา [\] มาตรา [\X และมาตรา [Z^ ข้อตกลงนันI
บังคับจํานอง

ย่อมตกเป็ นโมฆะ
6.ขอบเขตของการจํานอง
ทรัพย์สนิ ที>จาํ นองย่อมเป็ นประกันเพื>อการชําระหนีกM บั ทังM
ค่าอุปกรณ์ตอ่ ไปนีดM ว้ ย (มาตรา 715)
(1) ดอกเบียM
{
ผูจํา
นอง
ตองรัับ
ผิด (2) ค่าสินไหมทดแทนในการไม่ชาํ ระหนี M
ชอบ
(3) ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับจํานอง
ข้ อสั งเกต
(1)ดอกเบีย3 หมายถึงดอกเบียM ของต้นเงินตามสัญญาจํานอง
ที>ผูจ้ าํ นองจะต้องรับผิดซึ>งอัตราดอกเบียM ตามสัญญาจํานองอาจ
เท่าหรือตํ>ากว่าหนีปM ระธานก็ได้ แต่จะสูงกว่าหนีปM ระธานไม่ได้
(2) ค่ า สิ น ไหมทดแทนในการไม่ ชํ า ระหนี3 หมายถึ ง
ค่าเสียหายธรรมดาตามมาตรา U%&,U%c หรือค่าเสียหายอันเกิด
จากพฤติการณ์พิเศษตามมาตรา UUU
คาสินไหมทดแทนในการไมชําระหนี้ตามมาตรา 715 (2) เชน
คาประกันความเสียหายในการสงสินคา หรือคาเสียหายจาก
การไมปฏิบัติตามสัญญา

(3) ค่ า ฤชาธรรมเนี ย มในการบั ง คั บ จํ า นอง เช่ น


ค่าธรรมเนียมศาล ค่าธรรมเนียมในการยึดทรัพย์ขายทอดตลาด
(ฎีกาที> fVVg/Uc&' ค่าใช้จ่ายในการบอกกล่าวบังคับจํานองโดย
ประกาศทางหนังสือพิมพ์)
ข้ อสั งเกต (ต่ อ)

จําเลยเป็ นหนีโM จทก์ตามสัญญาขายลดเช็คและสัญญากู้


โดยได้จาํ นองที>ดนิ ไว้เป็ นประกัน สัญญาจํานองมีขอ้ ความว่าผู้
จํานองตกลงจํานองที>ดนิ เพื>อเป็ นประกันหนีกM ารกูย้ ืมเงินของผู้
จํานองที>มีตอ่ ผูร้ บั จํานองในเวลานีหM รือเวลาต่อไปในภายหน้า
คําว่า “ประกันหนีใM นเวลานี”M หมายถึงเป็ นประกันหนีโM จทก์อยู่
แล้วในขณะทําสัญญา ดังนันM สัญญาจํานองคลุมถึงหนีทM >ีเกิดขึนM
ก่อนวันทําสัญญาจํานองด้วย
ตัวอย่าง
นายดํากูเ้ งินนายขาว /,111,111 บาท อัตราดอกเบีย9 ร้อยละ /<
ต่อปี เป็ นเวลา / ปี โดยนําทีAดิน / แปลงจดทะเบียนไว้ ต่อมานายดําไม่
ชําระหนีน9 ายขาวจึงฟ้องคดีบงั คับจํานอง โดยเสียค่าฤชาธรรมเนียมใน
การบังคับจํานองจํานวน <,111 บาท โดยขายทีAดินได้ราคา O,111,111
บาท เช่นนี 9 เงินต้นจํานวน /,111,111 บาท ดอกเบีย9 /<1,111 บาท
และค่าฤชาธรรมเนี ยมในการบังคับจํานองจํานวน <,111 บาท รวม
/,/<<,111 บาท นายขาวบังคับเอากับเงินจํานวน O,111,111 บาทซึAง
เป็ นเงินทีAขายทีAดนิ ทีAจาํ นองได้
ถาจะบังคับจํานองก็เอาเอา 1,155,000 - 2,000,000 สวนตางคืนแกผูจํานอง
สิ ทธิจาํ นองครอบทรัพย์ สินซึ@งจํานองเพียงใด
จํานวนเงินกูนอย แตทรัพยสินที่เอามาจํานองเยอะ > ใชหนี้ยังไมหมด จํานองก็ยังอยูกับทรัพยสินที่เอามาจํานอง

*.สิทธิจาํ นองย่อมครอบไปถึงบรรดาทรัพย์สนิ ซึง? จํานองหมดทุกสิง?


แม้จะชําระหนีบH างส่วนแล้ว ตามม.716
ตัวอย่างเช่น ก.เอาทีAดนิ R แปลงมาจํานองไว้เจ้าหนีเ9 พืAอประกันหนีเ9 งินกู้
จํานวน R แปลง โดยผ่อนชําระแล้ว O11,111 บาท เหลือหนีอ9 ีก /11,111 บาท ถ้า
ไม่ได้ตกลงล้างจํานองเป็ นงวดๆและปลดทีAดนิ แปลงใดออกจากจํานอง จํานอง
ย่อมจะครอบไปถึงทีAดนิ ทัง9 R แปลงทีAนาํ มาจํานอง
แมจะเหลือหนี้แค 100,00 ก็ตาม
ฎ. Y/Z</O<R\ ก. เป็ นหนีบ9 ริษัท ข. โดยมีการจํานองทรัพย์สนิ หลายสิAงเป็ น
ประกันหนีด9 งั กล่าว บริษัท ข. ฟ้อง ก. ให้ชาํ ระหนี 9 เมืAอชนะคดีก็นาํ ยึดทรัพย์
จํานอง ซึงA มีทAีดนิ แปลงทีAโจทก์จะได้รบั โอนกรรมสิทธิ_ดว้ ย โจทก์ฟอ้ งบริษัท
ข. ให้รบั ไถ่ถอนจํานองเป็ นเงิน 1.Y ล้านบาท ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า หนีจ9 าํ นอง
ย่อมครอบไปถึงบรรดาทรัพย์สนิ ทีAจาํ นองหมดทุกสิAงแม้จะได้ชาํ ระหนีแ9 ล้ว
บางส่วนตาม ม.Z/c แม้จะมีการไถ่ถอนจํานองไปแล้วบางส่วน ทรัพย์สนิ ทีA
เหลืออยูจ่ ะต้องเป็ นประกันการชําระหนีท9 งั9 จํานวนเมืAอได้ความว่าหนีจ9 าํ นอง
ทีA ก. มีตอ่ จําเลยจํานวน <.Y ล้านบาท โจทก์ผรู้ บั โอนทีAพิพาทจึงไม่มีอาํ นาจ
ฟ้องบังคับจําเลยให้รบั ชําระหนีไ9 ถ่ถอนจํานองเพียง 1.Y ล้านบาท
2. จํานองครอบทรัพย์สนิ ทีจ? าํ นองทุกส่วน
มาตรา 717 แม้ทรัพย์สินทีAจาํ นองจะแบ่งออกเป็ นหลายส่วนก็
ตาม ท่านว่าจํานองยังคงครอบไปถึงส่วนเหล่านั9นทุกส่วนด้วยกันอยู่
นัAนเอง เชน มีที่ดิน1 แปลง แลวแบงที่ดินออกเปน 10 โฉนด > ที่ดินโฉนดที่ 1-10 ก็ยังติดจํานองอยูทุกสวน
ถึงกระนัน9 ก็ดี ถ้าผูร้ บั จํานองยินยอมด้วย ท่านว่าจะโอนทรัพย์สิน
ส่วนหนึAงส่วนใดไปปลอดจากจํานองก็ให้ทาํ ได้ แต่ความยินยอมดังว่านี 9
หากมิได้จดทะเบียน ท่านว่าจะยกขึน9 เป็ นข้อต่อสูบ้ คุ คลภายนอกไม่ได้
ข้ อสั งเกต
มาตรา Z/Z เป็ นเรืAองจํานองทรัพย์สAิงเดียวซึAงแบ่งได้หลายส่วน จํานอง
จะครอบทรัพย์ทกุ ส่วนทีAนาํ มาจํานอง เช่น จํานองรถบรรทุกสินค้า (นอกจาก
ตัวรถบรรทุกจะประกอบด้วยปั9 นจัAน และอุปกรณ์ต่างๆ) จํานองย่อมครอบไป
ทุกส่วนของรถบรรทุกหรือ ก.จํานองเรือกําปัA นขนสินค้าไว้กบั ข.เป็ นประกันหนี 9
เงิน O11,111 บาท เรือนัน9 มีส่วนประกอบอยู่หลายส่วนคือตัวเรือ เครืAองจักร
เดินเรือ ปั9 นจัAนสําหรับยกสินค้าลงเรือและอุปกรณ์ต่างๆ แม้ตัวเรือทีAจาํ นอง
แบ่งเป็ นหลายส่วน การจํานองก็ครอบไปหมดทุกส่วน ถ้า ก.ใช้หนี 9 ข.บางส่วน
ไม่ทงั9 หมด จะมาขอปลดทรัพย์บางส่วนออกจากการจํานองไม่ได้
บังคับจน.ไมได
(เว้นแต่ เจ้าหนีจ9 ะยินยอมด้วยเช่นยินยอมให้ปลดเฉพาะเครื
จํานองถึงจะระงับ
Aองจักรเดินเรือก็
กระทําได้ แต่การปลดจํานองนีจ9 ะต้องจดทะเบียนตามมาตรา ZYc มิฉะนัน9 จะ
ยกขึน9 ต่อสูบ้ คุ คลภายนอกไม่ได้)
ข้ อสั งเกต
-ตึกหรือโรงเรือนผูอ้ >ืนปลูกสร้างในที>ดินที>เช่าเหล่านีแM ม้จะติด
กับที>ดนิ ก็ไม่เป็ นส่วนควบ(ฎ.&gj-%/Uc%%)
-อ่ า งล้า งหน้า ท่ อ ประปา สายไฟฟ้ า ไม่ ใ ช่ ส่ ว นควบของ
โรงเรือน(ฎ.%cfg/Uf'f)
-เครื>องยนต์สีขา้ ว เครื>องจักรโรงสี เหล่านีเM ป็ นสังหาริมทรัพย์
ไม่ใช่สว่ นควบ(ฎ.cj&/Ucjf,&''/Ucj')
ข้ อสั งเกต

ฎ.Uf%j/UcUf บ้านซึง> ปลูกอยูใ่ นที>ดนิ แปลงใดย่อมเป็ นส่วนควบ


ของที>ดนิ แปลงนันM ดังนันM เมื>อมีการจํานองโดยไม่ปรากฏเงื>อนไข
ว่าจํานองโดยไม่รวมถึงบ้านอันเป็ นส่วนควบของที>ดนิ แล้วก็ถือ
ได้วา่ จํานองบ้านซึง> ปลูกในที>ดนิ นันM ด้วย โดยไม่จาํ เป็ นต้องระบุ
ว่าจํานองรวมไปถึงสิ>งปลูกสร้างในที>ดนิ ด้วย แต่บา้ นที>ปลูกบน
ที>ดนิ อันเป็ นส่วนควบที>ดนิ นันM จะต้องถูกบังคับจํานองด้วยนันM
ต้องปลูกอยู่ก่อนหรือขณะทีทI าํ สัญญาจํานองเท่านั3น หาก
เป็ นบ้านที>ปลูกในที>ดนิ จํานองภายหลังการจํานองย่อมไม่อยูใ่ น
บังคับของมาตรานี M
3. จํานองครอบไปถึงทรัพย์อันติดพันกับทรัพย์สนิ ทีจ? าํ นอง
มาตรา Z/h จํานองย่อมครอบไปถึงทรัพย์ทั9งปวงอันติดพันอยู่กับ
ทรัพย์สนิ ซึงA จํานอง แต่ตอ้ งอยูภ่ ายใต้บงั คับสามมาตราต่อไปนี 9

หลั ก จํา นองทรัพย์สAิง หนึAง แล้ว ผลของการจํา นองจะครอบไปถึง


ทรัพย์ทAี ดินติดพันอยู่กับทรัพย์จาํ นองนั9นด้วย สําหรับทรัพย์ใดจะติดกับ
ทรัพย์ใดเป็ นไปตามหลักส่วนควบเช่น ถ้าจํานองทีAดินก็ครอบไปถึงบ้านทีA
เป็ นส่วนควบของทีA ดินทีA ปลูกก่อนหรือขณะทําสัญญาจํานอง แต่ถา้ เป็ น
บ้านทีAปลูกภายหลังสัญญาจํานอง ต้องเป็ นไปตามมาตรา Z/\ ถ้าจํานอง
ทีAดนิ ทีAมีบา้ นของบุคคลอืAนปลูกอยู่ ต้องเป็ นไปตามมาตรา ZO1
ตัวอย่ าง
บ้านทีAมีอยู่ขณะจดจํานองทีAดิน การจํานองย่อมครอบไปถึงบ้านด้วย
แม้บคุ คลภายนอกจะซือ9 บ้านจากขายทอดตลาดตามคําสัAงศาลโดยสุจริต แต่
สิทธิ บุคคลภายนอกได้มาภายหลังผูร้ บั จํานองทีAได้รบั จํานองโดยชอบด้วย
กฎหมาย
เหตุทAีทาํ ให้สญ
ั ญาจํานองระงับต่อเมืAอมีเหตุตามมาตรา ZYY เท่านัน9
การทีAบุคคลภายนอกได้รือ9 ถอนบ้าน ไม่ทาํ ให้สิทธิ ของผูร้ บั จํานองทีAมีอยู่ใน
ทรัพย์จาํ นองระงับไป การจํานองยังคงมีอยู่ผูร้ บั จํานองยังคงมีสิทธิ บังคับ
จํานองบ้านตามมาตรา ZYYและมาตรา Z1Oวรรคสอง
เปนสวนควบ = ติดจํานองทั้งบานและที่ดิน
A

ข้อสังเกต /. บ้านทีAปลูกอยู่ก่อนหรือขณะทําสัญญาจํานองจึงจะเข้า
มาตรา Z/h แต่ถา้ ปลูกบ้านหลังจํานองใช้มาตรา Z/\แทน
O. จํานองทีAดิน บ้านเป็ นส่วนควบของทีAดินเท่ากับจํานองตัว
บ้านด้วย
ข้ อสั งเกต

มาตรา Z/h ทีAบญั ญัติ “........แต่ตอ้ งอยู่ภายในบังคับ ซึAงท่านจํากัดไว้


ใน R มาตราต่ อ ไปนี 9 ” หมายถึ ง อยู่ ภ ายใต้ บั ง คั บ ของมาตรา
Z/\,ZO1,ZO/ กล่ า วคื อ ทรั พ ย์ ทAี จ ะกล่ า วต่ อ ไปนี 9 (ตามมาตรา
Z/\,ZO1,ZO/) สิทธิจาํ นองครอบไปไม่ถงึ

หลักตามมาตรา Z/h ทีAว่า จํานองครอบไปถึงทรัพย์ทงั9 ปวงอันติด


พันอยูก่ บั ทรัพย์ทAีจาํ นอง มีขอ้ ยกเว้น คือ มาตรา Z/\,ZO1,ZO/
จํานองทีด@ นิ ไม่ ครอบไปถึงเรื อนโรงทีป@ ลูกสร้ างภายหลังวันจํานอง
ถาบานกับที่ดินเปนคนละเจาของกันใชม.720 บานที่อยูอาศััย (รานอาหาร /
โรงแรมก็ได ค.หมายเดียวกับ
บานกับที่ดินเปนเจาของเดียวกัน * โรงเรือน)

มาตรา g%' จํา นองที> ดิ น ไม่ ค รอบไปถึ ง เรื อ นโรงอัน ผู้


จํา นองปลูก สร้า งลงในที> ดิ น ภายหลัง วัน จํา นอง เว้น แต่ จ ะมี ตรง
ข้อความกล่าวโดยเฉพาะว่าให้ครอบไปถึง
-
ใหสิทธิจํานองครอบไปถึงบานที่ปลูกสรางขึ้น
ภายหลังวันจทบ.จํานอง =จํานองครอบไปถึง

แต่กระนันM ก็ดี ผูร้ บั จํานองจะให้ขายโรงเรือนรวมกับที>ดิน


ด้วยก็ได้ แต่ผูร้ บั จํานองอาจใช้บุริมสิทธิ ของตนเพียงแก่ราคา
ที>ดนิ เท่านันM ใหสิทธิผูรับจํานองขายบาน+ที่ดิน ไมตองสนใจวาผูจํานองจะยินยอมหรือไม
แตผูรับจํานองจะไดแคราคาที่ดิน ราคาบานตองคืนผูจํานอง
ตองดูสภาพกายภาพ ดูความเปนจริงวาเปนที่งอกริมตลิ่ง/ชายตลิ่ง

ข้ อสั งเกต ที่งอกริมตลิ่ง = ที่งอกที่ขึ้นมาจากทองนํ้า เวลานํ้าขึ้นมาปกตินํ้าทวมไมถึง (ใครเปนเจาของ


ทรัพยประธานก็เปเจาของที่งอกริมตลิ่ง) แตถาเวลาปกตินํ้าทวมถึง = เปนที่

/) ทีAดนิ ทีAจาํ นองมีทAีงอก การจํานองครอบไปถึงทีAงอกด้วย ริมตลิ่ง เอกชนเปนเจาของไมได >


สิทธิจํานองไมครอบไปถึง

2) แม้สญ ั ญาจํานองระบุว่า จํานองครอบไปถึงสิAงปลูกสร้างทีAปลูกในทีAดิน


จํานองหลังวันจํานอง แต่สิทธิ จาํ นองก็ไม่ครอบไปถึงสิAงปลูกสร้างผูอ้ AืนทีA ปลูก
สร้างลงในทีAดินจํานอง เพราะความทีAว่าให้รวมไปถึงสิAงปลูกสร้างทีAปลูกสร้างใน
ทีAดนิ จํานองหลังวัยจํานองนัน9 หมายถึงเฉพาะสิAงปลูกสร้างของผูจ้ าํ นองเท่านัน9
ฎ.O<O//O</c ล.มิใช่เจ้าของโรงหีบฝ้ายและโกดังเก็บฝ้ายพิพาท จึงไม่มี
สิทธิจะนําไปจํานองผูร้ อ้ ง แม้เอกสารต่อท้ายสัญญาจํานองจะมีขอ้ ความระบุว่า
ผูจ้ าํ นองได้จาํ นองสิAงปลูกสร้างซึงA ได้ปลูกสร้างขึน9 ภายหลังจํานองก็ตาม ข้อความ
ในเอกสารดังกล่าวก็ มีความหมายถึง สิAงปลูกสร้างซึAงกรรมสิทธิ_ ของผูจ้ าํ นอง
เท่านัน9 หารวมทัง9 ทรัพย์ซAึงเป็ นกรรมสิทธิ_ของบุคคลภายนอกไม่ จึงไม่รวมถึงโรง
หีบฝ้ายและโกดังเก็บฝ้ายพิพาท และเมืAอไม่ใช่ทรัพย์สนิ จํานอง ผูร้ อ้ งก็ไม่มีสทิ ธิทAี
จะได้รบั ชําระหนีจ9 ากเงินทีAขายโรงหีบฝ้าย และโกดังเก็บฝ้ายพิพาทก่อนเจ้าหนี 9
อืAน
จํานองโรงเรื อนทีป6 ลูกในทีด6 นิ ของผู้อื6นไม่ ครอบถึงทีด6 นิ
บานกับที่ดินคนละเจาของกัน
มาตรา PQR จํานองเรือนโรงหรือสิAงปลูกสร้างอย่างอืAนซึงA ได้ทาํ ไว้บนดิน
หรือใต้ดินในทีA ดินอันเป็ นของคนอืA นย่อมไม่ครอบไปถึงทีA ดินนั9นด้วย ฉันใด
กลับกันก็ฉนั นัน9
ฉันใดกลับกันก็ฉันนัHน หมายถึง จํานองทีAดนิ ของตนสิทธิจาํ นอง
ย่อมไม่ครอบไปถึงโรงเรือนทีAปลูกสร้างอยูบ่ นทีAดนิ ถ้าโรงเรือนเป็ นของผูอ้ Aืน
จํานองไม่ครอบไปถึงดอกผลของทรัพย์สนิ ทีAจาํ นอง
ของผู้อน?ื หมายถึงเป็ นของผูอ้ AืนทีAไม่ใช่ผจู้ าํ นอง
มาตรา ?@A
มาตรา 721 จํา นองไม่ ค รอบไปถึ ง ดอกผลแห่ ง ทรัพ ย์สิ น ซึ>ง
จํานอง เว้นแต่ในเมื>อผูร้ บั จํานองบอกล่าวผูจ้ าํ นองหรือผูร้ บั โอนแล้ว
ว่าตนจํานงจะบังคับจํานอง
ตัวอย่ างมาตรา OPQ

/) ก.จํา นองสวนทุเ รีย นไว้กับ ข.การจํา นองไม่ ค รอบไปถึ ง ผล


ทุเรียนอันเป็ นดอกผลธรรมดาด้วย ก.ผูจ้ าํ นองมีสิทธิเก็บกินและขายได้
แต่เ มืA อ ข.ผู้ร ับ จํา นองบอกกล่า วจะบัง คับ จํา นองแก่ ก.หรือ ผู้ร ับ โอน
ทรัพย์ทAีจาํ นอง ตัง9 แต่นนั9 มา การจํานองครอบไปถึงผลทุเรียนและเงินทีA
ขายทุเรียนได้ ก.จะต้องส่งให้ ข.ผูร้ บั จํานอง
2) ก.จํานองทีAดินกับ ข.ในทีAดินมีคนเช่าปลูกบ้านอยู่โดยเสียค่า
เช่าอันเป็ นดอกผลนิตินัย ก.ผูร้ บั จํานองมีสิทธิ เก็บค่าเช่าไปใช้ได้ แต่
เมืAอใด ข.ผูร้ บั จํานองบอกกล่าวจะบังคับจํานองแก่ ก.หรือผูร้ บั โอน การ
จํานองย่อมครอบไปถึงค่าเช่าด้วย
มาตรา 718 ขอสังเกต
1. จํานองที่ดิน สิทธิจํานองจะไมครอบไปถึงตนขาวในที่ดิน เพราะเปนไมลมลุก
2. จํานองบาน สิทธิจํานองไมครอบไปถึงแอร เพราะไมใชสวนควบ
3. จํานองที่ดิน สิทธิจํานองครอบไปถึงที่งอกริมตลิ่ง
4. จํานองโรงแรม สิทธิจํานองไมครอบถึงอาคารแสดงโชวละครเวทีที่แยกออกมาไมติดกับตัวโรงแรม
5. จํานองที่ดินแตในสัญญาจํานองไมกลาวถึงตัวบานที่ปลูกมากอนทําสัญญาจํานอง สิทธิจํานองครอบถึง
ตัวบาน

ขอสังเกต มาตรา 719


6. ทําสัญญาจํานองที่ดินเปลา แตจํานองไมครอบถึงบานที่ปลูกภายหลังจํานองได (ทําขอตกลงกันไว
ตอนทําสัญญาจํานองวาที่ดินเปลานี้ถาในอนาคตสรางบานจะใหครอบไปถึบานดวย= ทําได)
7. เวนแตจะมีขอความใหครอบไปถึง = ใหสิทธิจํานองครอบไปถึงบานที่สรางหลังจากวันที่จทบ.จํานอง
แลว
8. จํานองที่ดินเปลา แตปลูกบานภายหลังจํานอง ตอมาผูรับจํานองจะขายที่ดินพรอมบาน ทําไดโดยไม
ตองคํานึงวาผูจํานองจะยินยอมหรือไม เพราะเปนสิทธิของผูรับจํานองตาม 719 ว.2
9. ผูรับจํานองใชบุริมสิทธิไดเพียงราคาที่ดินเทานั้น สวนราคาบานตองคืนแกผูจํานอง

10. มาตรา 720 จํานองบานและสะพานในที่ดินของผูอื่น สิทธิจํานองไมครอบถึงที่ดินของผูอื่น

11 ขอสังเกต มาตรา 718 จํานองที่ดิน สิทธิจํานองไมครอบถึงที่ชายตลิ่ง


ข้ อสั งเกต
ขอสังเกต มาตรา 721 ฎีกา 247/2531 ดอกผลตองมีอยูกอนที่ผูรับจํานองจะบังคับจํานอง เชน มีคา
เชาอยูแลว แตตามฎีกานี้ยังไมมีคาเชาที่ดิน โจทกเรียกคาเชาที่โจทกคาดหมายวาถานําที่ดินออกให
เชาจะไดคาเชากี่บาท มันเปนคาเชาในอนาคตที่โจทกคาดหมายเอง ไมใชมาตรา 721

ในกรณี ผูร้ บั จํานองบอกกล่าวบังคับจํานอง จํานองย่อม


ครอบไปถึงดอกผลแห่งทรัพย์สินที>จาํ นองด้วยนีหM มายถึง ดอก
ผลที> มี อ ยู่กะ
่ อ นและขณะผู้ร ับ จํา นองบอกกล่ า วบัง คับ จํา นอง
ไมใชคาเชายอนหลัง

ไม่ใช่ดอกผลที>คาดหมายว่าจะได้ ดูฎีกา 247/2531


เชน มีการฟองขับไลออกจากบาน บอกวา ถาออกจากบาน ตอนนี้ก็คงเอาไปใหเชาได แตตอนนี้ยังไมมีคนเชา = คาเชาเปนดอกผล
ที่คาดหมายวาจะได
จํานอง ไมใชทรัพยสิทธิ เพราะกม.ใหจทบ.จํานองซอนกันได ตาม712 > ทรัพยสิทธิอันอื่นตองดูม.712 ดวย

สิ ทธิและหน้ าทีข@ องผู้รับจํานองและผู้จาํ นอง


ใช722 กับเรื่องกรรมสิทธิ์ไมได สิทธิ = ประโยชนที่กม.รับรองคุมครองให

*.การลบภาระจํายอมหรือทรัพยสิทธิทจ?ี ดทะเบียนหลังจํานอง I.
ถากอนจทบ.จํานอง ไมใช722

(=สิทธิจาํ นองเป็ นใหญ่กว่าทรัพยสิทธิอย่างอืAนทีAจดทะเบียนภายหลัง


การจํานอง) F.ไมลบได สามารถใชลบม.215 (บุริมสิทธิ)ได
แคทรัพยสิทธิตามบรรพ 4
ใครมีสิทธิดีกวาก็ดูวาใครจทบ.กอน ถาจน.บุริมสิทธิจทบ.กอน

จน.จํานอง =มีสิทธิดีกวา มีสิทธิไดรับชําระหนี้กอน

มาตรา 722 บัญญัติว่า “ถ้าทรัพย์สินได้จาํ นองแล้ว และภายหลังทีAได้


จดทะเบียนจํานองมีการจดทะเบียนภารจํายอมหรือทรัพยสิทธิอย่างอืAนโดย
ผูร้ บั จํานองมิได้ยินยอมด้วย ท่านว่าจํานองย่อมเป็ นใหญ่กว่าภารจํายอมหรือ
ทรัพยสิทธิอย่างอืAนนัน9 หากว่าเป็ นทีAเสืAอมเสียแก่สิทธิของผูร้ บั จํานองในเวลา
บังคับจํานองก็ให้ลบสิทธิดงั กล่าวเสียจากทะเบียน”
หนี้จํานองตองถึงเวลากําหนดชําระแลว

การลบภาระจํายอม/ทรัพยสิทธิที่จทบ.หลังจํานองจะเกิดขึ้นไดเมื่อ
ภาระจํายอมโดยอายุความลบไมได 1.ทรัพยสิทธิิอื่นจดทะเบียนหลังจทบ.จํานอง
722 ลบไดแคภาระจํายอมโดยนิติกรรม 2.ผูรับจํานองไมไดยินยอม
สัญญา 3.เปนที่เสื่อมเสียแกสิทธิของผูรับจํานองในเวลาบังคับจํานอง
ตัวอย่ างมาตรา OPP
โอบ---------กู้ %,jjj,jjj-------------ปิ> น
หนีถM งึ กําหนดชําระ UV ก.พ. o%
% มี.ค. oj โอบจํานองที>ดินของตน%jj ตารางวาราคา %,jjj,jjj
ประกันหนี M
c เม.ย.oj โอบจดทะเบียนภาระจํายอมให้ยะหยาเดินผ่านที>ดิน U ปี
โดยปิ> นมิได้ยินยอม
ผล: เมื>อมีการบังคับจํานองแล้วอาจทําให้ท>ีดนิ ขายทอดตลาดไม่ได้
หรือได้ราคาตํ>าไม่เพียงพอชําระหนี M เพราะภาระจํายอมติดไปกับที>ดิน
ปิ> นผูร้ บั จํานองมีสทิ ธิขอลบสิทธิภาระจํายอม
ตามม.722
กร7 ภาระ 9ยอม โดย
=>กรรม ?ญญา

p
คําถาม เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2561 นายจันทรทําสัญญากูยืมเงินนายอังคารจํานวน
1,000,000บาท หนี้ถึงกําหนดชําระ 31 ธันวาคม 2563 และนายจันทรลงลายเซ็นในสัญญากู สวน
นายอังคารไดสงมอบเงินสดจํานวน 1,000,000บาท และในวันเดียวกันนายจันทรจํานองที่ดินราคา
2,000,000 บาทโดยนายจันทรทําเปนหนังสือและจดทะเบียนจํานองที่ดินของตนเพื่อประกันหนี้กู
ยืมดังกลาว วันที่ 1 มีนาคม 2562 นายจันทรไดวาจางนายพุธสรางบานบนที่ดินของตน และคาง
ชําระคากอสรางบานจํานวน 500,000บาท โดยไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนเปนเจาหนี้
บุริมสิทธิ และตอมาวันที่ 1 มิถุนายน 2563 นายจันทรไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนภาระจํายอม
ใหนายพฤหัสเดินผานที่ดินดังกลาวเปนระยะเวลา 4 ป โดยไดรับเงินตอบแทนจํานวน 40,000บาท
เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2564 นายอังคารไดฟองบังคับจํานองดวยวิธีขายทอดตลาดถูกตองตาม
กฎหมายและลบทะเบียนบุริมสิทธิของนายพุธ และลบภาระจํายอมของนายพฤหัส แตนายจันทร
ใหการวา ก. นายอังคารไมมีอํานาจฟองเพราะหนี้ตามสัญญากูยืมไมสมบูรณ ข. นายอังคารไมมี
อํานาจลบบุริมสิทธิของนายพุธ ค นายอังคารไมมีอํานาจลบทะเบียนภาระจํายอมของนายพฤหัส ดังนี้
ถาทานเปนผูพิพากษาคดีนี้ทานจะวินิจฉัยอยางไรเพราะเหตุใด

คําตอบ ตามขอเท็จจริงปรากฏวา ก. นายอังคารมีอํานาจฟอง เพราะหนี้สมบูรณแลวเพราะการกูยืม


เงินนั้นนายอังคารไดสงมอบทรัพยใหแกนายจันทรแลว สัญญายอมบริบูรณ และนายอังคารมีหลัก
ฐานเปนหนังสือลงลายมือชื่อผูกู ยอมฟองรองคดีตอศาลไดตามมาตรา 653 ข. นายอังคารไมมี
อํานาจลบบุริมสิทธิเพราะไมใชทรัพยสิทธิตามบรรพ 4 แมวาจะจดทะเบียนบุริมสิทธิภายหลังจด
ทะเบียนจํานองโดยผูรับจํานองมิไดยินยอมก็ตาม นายอังคารไมสามารถลบทะเบียนบุริมสิทธิตาม
มาตรา 722 ค. นายอังคารมีอํานาจลบสิทธิภาระจํายอมเพราะจดทะเบียนภาระจํายอมภายหลังจด
ทะเบียนจํานอง โดยผูรับจํานองมิไดยินยอมและทําใหเสื่อมเสียแกสิทธิของผูรับจํานองในเวลาบังคับ
จํานองตามมาตรา 722

คําถาม เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2561 นายจันทรทําสัญญากูยืมเงินนายอังคารจํานวน 1,000,000บาท หนี้


ถึงกําหนดชําระ 31 ธันวาคม 2563 และนายจันทรลงลายเซ็นในสัญญากู สวนนายอังคารไดสงมอบ
เงินสดจํานวน 1,000,000บาท และในวันเดียวกันนายจันทรจํานองที่ดินราคา 2,000,000 บาทโดยนาย
จันทรทําเปนหนังสือและจดทะเบียนจํานองที่ดินของตนเพื่อประกันหนี้กูยืมดังกลาว วันที่ 1 มีนาคม 2562
นายจันทรไดวาจางนายพุธสรางบานบนที่ดินของตน และคางชําระคากอสรางบานจํานวน 500,000บาท
โดยไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนเปนเจาหนี้บุริมสิทธิ และตอมาวันที่ 1 มิถุนายน 2563 ศาล
พิพากษาใหนายพฤหัสไดรับภาระจํายอมโดยอายุความ ทําใหนายพฤหัสสามารถเดินผานที่ดินของนาย
จันทรไดตลอดไป เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2564 นายอังคารไดฟองบังคับจํานองดวยวิธีขายทอดตลาดถูก
ตองตามกฎหมายและลบทะเบียนบุริมสิทธิของนายพุธ และลบภาระจํายอมของนายพฤหัส แตนายจันทร
ใหการวา ก. นายอังคารไมมีอํานาจฟองเพราะหนี้ตามสัญญากูยืมไมสมบูรณ ข. นายอังคารไมมีอํานาจลบ
บุริมสิทธิของนายพุธ ค นายอังคารไมมีอํานาจลบทะเบียนภาระจํายอมของนายพฤหัส ดังนี้ถาทานเปนผู
พิพากษาคดีนี้ทานจะวินิจฉัยอยางไรเพราะเหตุใด

กรณีภาระจํายอมโดยอายุความปรับเขาม.722 ไมได การที่ผูรับจํานองจะลบทะเบียนภาระจํายอมภายหลังจทบ.จํานอง ตองเปนการจด


ภาระจํายอมโดยนิติกรรมสัญญา → ไมสามารถลบทบ.ภาระจํายอมนี้ได

ม.722 ไมรวมการลบทบ.ภาระจํายอมโดยอายุความ ***


ตัวอย่ างมาตรา OPP บุคคลสิทธิ เชน สิทธิการเชาทรัพย ไมสามารถขอลบ ทบ.ได

ฎ. 4230/2528 ผูร้ บั จํานองฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมสัญญาเช่า


ทรัพย์ ซึง> ผูจ้ าํ นองสมคบร่วมกับผูเ้ ช่ากระทําลงโดยรูอ้ ยูว่ า่ เป็ นการผิด
สัญญาจํานองและข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจํานอง ก่อให้เกิดความ
เสียหายต่อการบังคับคดีของผูร้ บั จํานองเอาแก่ทรัพย์สินที> จาํ นอง
กรณีเช่นนีไM ม่อาจนําประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา gUU
มาใช้ปรับแก่คดีได้ เพราะสัญญาเช่าทรัพย์เป็ นบุคคลสิทธิไม่ใช่ภาระ
จํายอมหรือทรัพย์สิทธิอย่างอื>น จึงต้องนําประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา U&g t
มาใช้ปรั
บ แก่ ค ดี
เพิกถอนกลฉอฉลเจาหนี้
ตัวอย่ างมาตรา OPP
ฎ. 10532/2551 จําเลยทีA / นําทีAดินโฉนดเลขที A /OhYY ไปจดทะเบียนจํานอง
ภาระจํายอมโดยนิติกรรมสัญญา ลบได
แก่จาํ เลยทีA O ภายหลังจําเลยทีA / ตกลงยินยอมจดทะเบียนภาระจํายอมให้แก่
โจทก์ โดยจําเลยทีA O มิได้รูเ้ ห็นยินยอม ซึAงการจะจดทะเบียนภาระจํายอมใน
ทีAดินได้ตอ้ งไม่ทาํ ให้เป็ นทีAเสืAอมเสียสิทธิของจําเลยทีA O ซึAงเป็ นผูร้ บั จํานองใน
เวลาบังคับจํานองตามมาตรา ZOO ข้อเท็จจริงปรากฏว่าทีAดินดังกล่าวเมืAอมี
การบังคับคดีขายทอดตลาดถึง \ ครัง9 ไม่สามารถขายได้ ทัง9 ๆ ทีAยงั ไม่มีการจด
ทะเบียนภาระจํายอมให้โจทก์ หากมีการจดทะเบียนภาระจํายอมทําให้ราคา
ทรัพย์จาํ นองลดลงเป็ นทีAเสืAอมเสียสิทธิ ของจําเลยทีA O ในเวลาบังคับจํานอง
สิทธิจาํ นองของจําเลยทีA O ทีAได้จดทะเบียนไว้ก่อนย่อมเป็ นใหญ่กว่าภาระจํา
ยอมของโจทก์
ฎ. 14595/2558 เมืAอวันทีA /Y พ.ย.O<R\ นาย ร.-----กู-้ -- ธนาคาร อ.
โดยนายร.นําทีAดนิ จํานองประกันหนี 9
วันทีA c ธ.ค.R\ นาย ร.ได้อทุ ิศทีAดนิ แปลงดังกล่าวให้แก่ อ.บ.ต.วัง เพืAอก่อสร้าง
ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก สาธารณสมบัติของแผนดิน
Mv

ต่อมา นาย ร.ผิดนัดไม่ชาํ ระหนีใ9 ห้แก่ธนาคาร อ.


ธนาคาร อ.ฟ้องนาย ร.และนําเจ้าพนักงานบังคับคดียดึ ทีAดนิ จํานองออกขาย
ทอดตลาด
เมืAอวันทีA /< ธ.ค.Yh ธนาคาร อ.เป็ นผูซ้ ือ9 ทีAดนิ แปลงดังกล่าวได้จากการขาย
ทอดตลาด
วันทีA h พ.ย.<1 นาง อ.ซือ9 ทีAดนิ แปลงดังกล่าวพร้อมอาคารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก
ซึงA ปลูกอยูใ่ นทีAดนิ (ต่อ)
จํานองไมรวมเรื่องกรรมสิทธิ์ ผูจํานองสามารถขายที่ดินแบบติดจํานองใหบุคคลภายนอกได

ใชมาตรา 722 กับเรื่องกรรมสิทธิ์ไมได


ในชัน9 ฎีกา นาง อ.ฎีกาว่า E ฟองตามม.722

/.นาย ร.อุทิศทีAดนิ พิพาทให้แก่ อ.บ.ต.วัง เป็ นทีAเสืAอมสิทธิของธนาคาร อ.ไม่ได้


ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า ผูจ้ าํ นองย่อมมีสทิ ธิโอนทรัพย์สนิ ซึงA จํานองไปยังหบุคคลอืAน
ได้ในฐานะทีAผจู้ าํ นองเป็ นเจ้าของกรรมสิทธิ_ในทรัพย์สนิ ทีAจาํ นอง...นาย ร.ผู้
จํานองจึงมีสทิ ธิอทุ ิศทีAดนิ พิพาทให้แก่ทางราชการได้ ทีAดนิ พิพาทจึงตกเป็ นสา
ธารณสมบัตขิ องแผ่นดินนับแต่วนั ทีAนาย ร.แสดงเจตนายกให้ โดยไม่จาํ ต้องจด
ทะเบียนการยกให้ตอ่ พนักงานเจ้าหน้าทีA ใช722 ลบทบ.กรรมสิทธิ์ไมได

O.นาง อ.ได้รบั ความคุม้ ครองตามกฎหมายเนืAองจากซือ9 ทีAดนิ มาจากธนาคาร อ.


ซึงA ซือ9 ทีAดนิ มาจากการขายทอดตลาดตามคําสัAงของศาล ร อุทิศที่ดินใหอบต.กอนที่อ.จะซื้อที่ดินจาก
/ การขายทอดตลาด

ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า การขายทอดตลาดทีAดนิ พิพาทเป็ นการขายทรัพย์สนิ ทีA


ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย จึงตกเป็ นโมฆะ.....ธนาคาร อ.ผูซ้ ือ9 ทรัพย์ได้จาก
เพราะเปนการขายทอดตลาดที่สาธารณสมบัติของแผนดิน
A

การขายทอดตลาด ย่อมไม่ได้รบั ความคุม้ ครองและไม่ได้กรรมสิทธิ_ในทีAดนิ


พิพาท และไม่มีอาํ นาจโอนขายทีAดนิ ให้แก่นาง อ............แม้นาง อ.จะซือ9 ทีAดนิ
พิพาทโดยสุจริตและเสียค่าตอบแทน ผูร้ บั โอนย่อมไม่มีสทิ ธิดีกว่าผูโ้ อน
............พิพากษายืน
อ. ตองไปไลเบี้ยเอาคืนฐานลาภมิควรไดจาก ร.
****ฎ. 14595/2558 คดีนีไM ม่ได้มีการจดทะเบียนสิทธิการโอนที>ดนิ
พิพาทจาก ร. ให้แก่ทางราชการ และผูร้ บั จํานองได้ฟอ้ งบังคับจํานอง
และจดทะเบียนระงับจํานองไป กรณีไม่อาจปรับเข้ากับมาตรา gUU ซึง>
เป็ นเรือ> งขอให้ลบสิทธิท>ีจดทะเบียนออกจากทะเบียน หากผูร้ บั จํานอง
เสื>อมสิทธิได้รบั ความเสียหายอย่างใด ก็เป็ นเรือ> งที>ผรู้ บั จํานองต้องไป
ว่ากล่าวเอาแก่ผจู้ าํ นองต่อไป ร. ผูจ้ าํ นองจึงมีสทิ ธิอทุ ิศที>ดนิ พิพาท
ให้แก่ทางราชการได้ เมื>อ ร. ได้อทุ ิศที>ดนิ พิพาทให้แก่ทางราชการเพื>อ
ก่อสร้างศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก กรมพัฒนาชุมชน ซึง> ต่อมาโอนสิทธิและ
หน้าที>ให้แก่จาํ เลย ที>ดนิ พิพาทจึงตกเป็ นสาธารณสมบัตขิ องแผ่นดิน
ประเภททรัพย์สนิ ใช้เพื>อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะนับแต่วนั ที> ร.
แสดงเจตนายกให้ ตาม มาตรา %&jf (&) โดยไม่จาํ ต้องจดทะเบียน
การยกให้ตอ่ พนักงานเจ้าหน้าที>ตามมาตรา cUc (ต่อ)
การอุทิศที*ดนิ พิพาทของ ร. ให้แก่ทางราชการจึงชอบด้วย
กฎหมาย ที*ดนิ พิพาทเป็ นสาธารณสมบัตขิ องแผ่นดิน ตาม
มาตรา HIJK บัญญัตวิ า่ ทรัพย์สนิ ซึง* เป็ นสาธารณสมบัตขิ อง
แผ่นดินนันO จะโอนแก่กนั มิได้ เว้นแต่อาศัยอํานาจแห่งบทกฎหมาย
เฉพาะหรือพระราชกฤษฎีกา ดังนันO การขายทอดตลาดที*ดนิ
เฉพาะที*ดนิ พิพาท จึงเป็ นการขายทรัพย์สนิ ที*ตอ้ งห้ามชัดแจ้งโดย
กฎหมายจึงตกเป็ นโมฆะตามมาตรา HKJ ธนาคาร อ. ผูซ้ ือO ทรัพย์
ได้จากการขายทอดตลาด ย่อมไม่ได้รบั ความคุม้ ครองและไม่ได้
กรรมสิทธิ\ในที*ดนิ พิพาทและไม่มีอาํ นาจโอนขายที*ดนิ พิพาทให้แก่
โจทก์ โจทก์รบั โอนไว้ยอ่ มไม่ได้กรรมสิทธิ\เช่นเดียวกัน แม้โจทก์จะ
ซือO ที*ดนิ พิพาทต่อมาโดยสุจริต และเสียค่าตอบแทนก็ตาม เพราะ
ผูร้ บั โอนย่อมไม่มีสทิ ธิดีกว่าผูโ้ อน
ข้ อสั งเกต
ลบทรัพยสิทธิไดแตไมรวมกรรมสิทธิ์ักับจํานอง
F
1) เบือ9 งหลังมาตรา ZOO เพราะเล็งเห็นว่าภายหลังจํานอง ผูจ้ าํ นอง
อาจกระทําให้ทรัพย์สินทีAจาํ นองเสืAอมราคาลงโดยจดทะเบียนทรัพยสิทธิ
ใดๆเหนือทรัพย์สินนัน9 ย่อมเห็นได้ว่าเป็ นทีAเสียหายแก่สิทธิของผูร้ บั จํานอง
กม.จึงต้องให้ความคุม้ ครองแก่ผจู้ าํ นองในอันทีAจะขอให้ลบทรัพยสิทธินนั9 ๆ
ออกจากทรัพย์ทAีจาํ นอง
แตไมรวมกรรมสิทธิ์กับจํานอง

f A ว่า “สิทธิ จาํ นองย่อมเป็ นใหญ่ กว่าภาระจํายอมหรือ


2) ประโยคที
ทรัพยสิทธิ อย่างอืAน” ต้องเป็ นกรณี ทAีมีการจดทะเบียนภาระจํายอมหรือ
ทรัพยสิทธิ อย่างอืAน โดยผูร้ บั จํานองมิได้ยินยอมภายหลังทีAได้จดทะเบียน
จํานองแล้ว และการจดทะเบียนภาระจํายอมหรือทรัพยสิทธิอย่างอืAนทีAจะ
ถูกเพิ กถอนตามมาตรา ZOO ต้อ งเป็ น การจดทะเบี ยนหลังการทะเบี ยน
จํานอง
ข้ อสั งเกต (ต่ อ)
R) ผูร้ บั จํานองจะให้ลบสิทธิออกจากทะเบียนได้ ต่อเมืAอเขาจะใช้สิทธิ
บังคับจํานองคือหนีถ9 ึงกําหนดชําระแล้วเท่านัน9 หากหนีย9 งั ไม่ถึงกําหนดชําระ
ผูร้ บั จํานองยังไม่มีสทิ ธิบงั คับจํานอง ก็ไม่สามารถลบสิทธิดงั กล่าวได้
4) ทรัพยสิทธิ หมายถึง ทรัพยสิทธิ ตามบรรพ Y เช่น สิทธิ อาศัย สิทธิ
เก็บกิน สิทธิเหนือพืน9 ดิน ผูท้ รงบุรมิ สิทธิตามมาตรา O</ ทรงไว้ซAงึ สิทธิเหนือ
ทรัพย์สินของลูกหนีใ9 นการจะได้รบั ชําระหนีจ9 ากทรัพย์สินนัน9 ก่อนเจ้าหนีอ9 Aืน
เจ้า หนี ผ9 ู้ร ับ จํา นองจึง ไม่ มี สิ ท ธิ ล บบุริม สิ ท ธิ อ อกจากทะเบี ย นเพราะไม่ ใ ช่
ทรัพยสิทธิ ตามบรรพ Y ส่วนระหว่างเจ้าหนีจ9 าํ นองกับเจ้าหนีบ9 ุริมสิทธิ ใครมี
สิทธิได้รบั ชําระหนีก9 ่อนกันนัน9 ต้องดูวา่ ใครจดทะเบียนก่อน
ข้ อสั งเกต (ต่ อ)

5) สิทธิทAีผจู้ าํ นองจะขอให้ลบออกตามมาตรา ZOO ต้องเป็ น


ทรัพยสิทธิ ถ้าเป็ นบุคคลสิทธิเช่น สิทธิตามสัญญาเช่า แม้ผจู้ าํ นองจะ
นําทรัพย์ทAีจาํ นองไปจดทะเบียนให้ผอู้ Aืนเช่าระยะยาว ผูร้ บั จํานองจะขอ
ลบจากทะเบียนไม่ได้การเช่าไม่ใช่ทรัพยสิทธิหรือภาระจํายอม ผูร้ บั
จํานองจะอ้างว่าเป็ นการทําให้เสืAอมเสียสิทธิในการบังคับจํานองและขอ
ลบสิทธิการเช่าออกจากทรัพยสิทธิจาํ นองตามมาตรา ZOO ไม่ได้
แมลบตาม722 ไมไดแตถาผูจํานองสมรูรวมคิดกับบุคคลภายนอกที่เปนผูเชาเพื่อตองการโกงเจาหนี้อาจลบตาม 237 ได
ข้อสังเกต (ต่อ)

•ภาระจํายอมหรื อทรัพยสิ ทธิอย่างอืPนตามมาตรา 722 ต้อง


เกิดขึFนจากสัญญาทีPผจู ้ าํ นองตกลงจดทะเบียนให้แก่
บุคคลภายนอก ไม่รวมถึงภาระจํายอมหรื อทรัพยสิ ทธิทีPเกิดขึFน
โดยผลของกฎหมาย ภาระจํายอมโดยอายุความ/การครอบครองปรปกษทําใหมีการเปลี่ยนกรรมสิทธิ์ ถาศาลพิพากษาให
ครอบครองปรปกษ ใชม.722 ไมได

•สิ ทธิทีPผรู ้ ับจํานองจะขอให้ลบอกจากทะเบียนได้นF ีตอ้ งเป็ น


ภาระจํายอม หรื อ ทรัพยสิ ทธิอย่างอืPนเท่านัFน แต่การจด
ทะเบียนการเช่าไม่ถือเป็ นภาระจํายอมหรื อทรัพยสิ ทธิอย่างอืPน
ผูร้ ับจํานองจะขอให้ลบสิ ทธิการเช่าไม่ได้
ผู้รับจํานองบังคับจํานองได้ ทนั ทีเมื@อทรัพย์ สินซึ@งจํานองสู ญหาย
หรื อบุบสลาย
☐ สิทธิของผูรับจํานอง จะใช/ไมใชก็ได

มาตรา TUV บัญญัติว่า “ถ้าทรัพย์สินซึ>งจํานองบุบสลาย


หรือทรัพย์สินซึ>งจํานองสิ>งหนึ>งสิ>งใดสูญหายหรือบุบสลายเป็ น
เหตุให้ไม่เพียงพอแก่การประกัน ท่านว่าผูร้ บั จํานองจะบังคับ
จํานองเสียในทันทีก็ได้ เว้นแต่เมื>อเหตุนัMนมิใช่ความผิดของผู้
จํานองและผูจ้ าํ นองก็เสนอจะจํานองทรัพย์สนิ อื>นแทนให้มีราคา
เพียงพอหรือรับจะซ่อมแซมแก้ไขความบุบสลายนันM ภายในเวลา
อันสมควรแก่เหตุ”
ถาผูรับจํานองทําใหทรัพยจํานองเสียหาย สามารถใชม.697 เรื่องคํ้าประกัน มา
ปรับใชได = จะหลุดเฉพาะราคาทรัพยที่ผูรับจํานองทําใหเสียหายไป แตสวน
อื่นยังเหลืออยู

ข้ อสั งเกต
ภัยธรรมชาติ เชน
พายุ ไฟไหม
เชน เปนความผิดของผูรับจํานอง B
อาจเปนเหตุสุดวิสัยหรือเกิดจาก
หรือบุคคลภายนอกมาทําละเมิด ←
บุคคลภายนอกที่มาทําละเมิดตอ
ทําใหเกิดความเสียหายขึ้น
ทรัพย

/.ถ้าทรัพย์จาํ นองมีหลายสิAงและบางสิAงสูญหายหรือบุบสลาย ถ้าไม่เข้า


ตองเขาทั้ง 2 ขอ
ข้อยกเว้นตามมาตรา ZOR ทัง9 O ข้อ คือ /.ไม่ได้เป็ นความผิดผูจ้ าํ นอง และO.ผู้
จํา นองเสนอจะจํา นองทรัพ ย์สAิ ง อืA น แทน มี ร าคาเพี ย งพอ หรือ เสนอว่า จะ
ซ่อมแซมแก้ไขในเวลาอันควร
เอาทรัพยเดิมมาทําใหกลับสภาพใหใกลเคียงของเดิมเพื่อใหพอเปนหลักประกันภายในเวลาอันสมควร
หาทรัพยอันใหมมาให
*เขาขอยกเวนทั้งขอ 1และ2 =
ยังบังคับจํานองทันทีไมได

O.คําว่า “เป็ นเหตุให้ไม่เพียงพอแก่การประกัน” หมายถึง ราคาทรัพย์ทAี


จํานองทีAเหลืออยูไ่ ด้ราคาน้อยกว่าจํานองหนีท9 Aีจาํ นองเป็ นประกัน ราคาทรัพยที่เหลืออยูได
ราคานอยกวาหนี้ที่คางชําระ/
หนี้ที่จํานอง

R.คําว่า “ก็ได้” หมายถึง ให้สิทธิแก่ผรู้ บั จํานองว่าจะเลือกบังคับจํานอง


ทันทีหรือบังคับจํานองเมืAอหนีถ9 งึ กําหนดก็ได้
Y.คําว่า “เวลาอันสมควร” หมายถึง ให้ดเู ป็ นกรณีไป (กรณีซอ่ มแซม
หรือหาทรัพย์สนิ อืAนแทน)
ตัวอย่ างการบังคับจํานองในทันที

ก๊อต---------กู้ /,111,111---------------ไอซ์
ก๊อตจํานองเรือOลํา ราคาลําละ /,111,111ของตนประกันหนี 9
- ถ้าก๊อตจุดไฟสูบบุหรีAดบั ไฟไม่สนิทเมืAอลมพัดมาจึงเกิดไฟไหม้เรือ/ลํา
ยังไม่เข้ามาตรา ZOR ↳
เพราะมีเรือเหลืออีก 1 ลํา ราคา 1,000,000 (ยังพอชําระหนี้)
ตองไหมทั้ง 2 ลําถึงจะสามารถบังคับจํานองไดทันที (ถาไหม2 ลําอาจจะเอาซากทรัพยที่ยัง เปนความผิดของผูจํานอง
มีเศษเหล็ก/ไมไปจํานอง แตถาไหมจนไมเหลืออะไรเลย= สัญญาจํานองระงับเพราะไมมี

- ถ้าเรือถูกพายุพัดทําให้เสียหายไปทัง9 Oลํา เป็ นเหตุสุดวิสยั ก๊อตได้


ทรัพยที่จํานอง)

จัดหาบ้านมาจํานองแทน ไอซ์ไม่สามารถบังคับจํานองทันที
ขอสังเกต

-ม.723 ใหสิทธิบังคับจํานองไดทันที
กรณี 1. ถาทรัพยที่จํานองมีสิ่งเดียวและทรัพยนั้นบุบสลาย ผูรับจํานองมีสิทธิบังคับจํานองไดทันที เขาขอยกเวน เชน ทรัพยที่จํานองมีแคเรือ 1 ลํา แลวเรือมันบุบสลาย
บางสวน ผูรับจํานองบังคับจํานองไดทันที ถาไมเขาขอยกเวน 723
แตถาเรือถูกขโมย(เรือสูญหาย) = สัญญาจํานองระงับ เพราะไมมีทรัพยที่จํานอง
กรณี 2 ทรัพยที่จํานองมีหลายสิ่งและบางสิ่งสูญหาย สามารถบังคับจํานองทรัพยที่เหลืออยูไดทันที ถาไมเขาขอยกเวนม. 723 แตถาจํานองทรัพยหลายสิ่งแลวทรัพยทุก
สิ่งนั้นสูญหาย ไมเหลือทรัพย = สัญญาจํานองระงับไป เพเราะไมเหลือทรัพย

ในทางปฏิบัติการจํานองทรัพยที่เปนอสังหาพิเศษ ผูรับจํานองกลัวทรัพยที่จํานองไฟไหม/ถูกขโมย ผูรับจํานองจะใหผูจํานองทําประกัยภัยทรัพยที่จํานอง (ผูจํานองเปนคน


เสียคาใชจาย)
ผู้จาํ นองมีสิทธิชําระหนีลX ้ างจํานองเป็ นงวดได้
ถาในสญ.ตกลงหามชําระหนี้เปนงวด = ตองชําระหนี้ทั้งหมดในคราวเดียวกัน ขอตกลงนี้สามรถใชได

มาตรา Z/R ถ้ามิได้ตกลงกันไว้เป็ นอย่างอืAนในสัญญาจํานอง ท่านว่าผู้


จํานองจะชําระหนีล9 า้ งจํานองเป็ นงวด ๆ ก็ได้ จายกอนเดียว/หลายๆงวดก็ได แลวแตในสัญญาจํานอง

ข้อสังเกต การชําระหนีล9 า้ งจํานองตามมาตรา Z/R มีผลเพียงทําให้


หนีล9 ดลงเท่านัน9 แต่ภาระจํานองยังคงครอบไปถึงทรัพย์สินทีAจาํ นองทุกสิAง
และทุกส่วน 713 ใหสิทธิพิเศษแกผูจํานอง ชําระหนี้ลางจํานองเปนงวดได โดยจํานวนเงินในแตละงวดไมจําเปนตองเทากันทุกงวด แต
เมื่อชําระหนี้ไปแลวตองจทบ.ตาม 746

ฎ./Oh\/O</O มาตรา Z/R เป็ นเรืAองผูจ้ าํ นองจะชําระหนีล9 า้ งจํานอง


ไมชําระหนี้ทั้งหมดทรัพยก็ยังติดจํานองอยู
เป็ นงวด ๆ ก็ได้ ไม่ใช่เป็ นการไถ่ถอนจํานองบางส่วน ส่วนมาตรา Z/Z เป็ น
เรืAองทรัพย์สินทีAจาํ นองแบ่งออกเป็ นหลายส่วน แต่จาํ นองยังคงครอบไปถึง
ทรัพย์หมดทุกส่วน ก. จํานองทีA ดินและตึกแถว < คูหาแก่ จ าํ เลยทีA / ดังนี 9
ทรัพย์จาํ นองมิได้แบ่งออกเป็ นส่วน ทีAดินและตึกทีAจาํ นองเป็ นทรัพย์สว่ นเดียว
เท่านัน9 จําเลยทีA / จึงมีสิทธิปฏิเสธไม่ยอมให้ ก. ไถ่ถอนจํานองทีAดินและตึก
เพียง O คูหาได้ มาตรา 713 ใหสิทธิแกผูจํานองไวเปนพิเศษ คือใหสิทธิแกผูจํานองชําระหนี้ลางจํานองเปนงวดๆได โดยจํานวนเงินในแตละงวดไม
จําเปนตองเทากันทุกงวด เมื่อชําระหนี้ไปแลวจะตองจดทะเบียนตามมาตรา 746 ---ขอสังเกตมาตรา 713คําวา"ถามิไดตกลงกันไว
เปนอยางอื่น" หมายถึงตกลงหามชําระหนี้เปนงวด ถาในสัญญาตกลงหามชําระหนี้เปนงวด การชําระหนี้ก็ตองชําระหนี้ทั้งหมดในคราว
เดียวกัน ขอตกลงนี้สามารถใชได
สิ ทธิและหน้ าทีข@ องคู่สัญญากรณีจาํ นองประกันหนีขX องบุคคล
อื@น มาตรา 724 วรรคหนึ่ง เปนเรื่องผูจํานองสมัครใจชําระหนี้แทนลูกหนี้ วรรคหนึ่งเปนกรณียังไมถูกบังคับจํานอง ผูจํานองชําระหนี้แทนลูกหนี้ ผูจํานอง
ไดรับเงืนใชคืนตามจํานวนที่ตนชําระหนี้ (ผูจํานองจายไปเทาไหรผูจํานองก็เรียกไดเทานั้น) สวนมาตรา 724 วรรคสอง เปนเรื่องผูจํานองไมสมัครใจ
ชําระหนี้ วรรคสองเปนกรณีถูกบังคับจํานอง ผุจํานองไดรับเงินใชคืนจากลูกหนี้ตามจํานวนที่เจาหนี้ไดรับใชหนี้จากการบังคับจํานอง (เจาหนี้ผูรับ
จํานองไดไปเทาไหร ผูจํานองก็เรียกไดเทานั้น)

(ก) สิทธิของผู้จํานองที?ชําระหนีHแทนลูกหนีHหรือถูกบังคับ
จํานอง สมัครใจที่จะชําระหนี้เพราะไมอยากถูกบังคับจํานอง

มาตรา ZOY ผูจ้ าํ นองใดได้จาํ นองทรัพย์สินของตนไว้เพืAอประกัน


หนีอ9 นั บุคคลอืAนจะต้องชําระแล้วเข้าชําระหนีเ9 สียเองแทนลูกหนี 9 เพืAอปั ด I.
ป้องมิให้ตอ้ งบังคับจํานอง ท่านว่าผูจ้ าํ นองนัน9 ชอบทีAจะได้รบั เงินใช้คืน เชน ก กูเงิน ข 1 ลาน คิดดอกรอยละ 15 = 150,00 ค จํานองที่ดิน
จากลูกหนีต9 ามจํานวนทีAได้ชาํ ระไป วรรค 1 กรณียังไม 1 ลาน ประกันหนี้กูยืม = ถา ค ชําระหนี้แทน ก เพื่อใหตัวเองไมถูก
ถูกบังคับจํานอง
บังคับจํานอง ค ตองนําเงิน 1 ลาน + 150,00 ชําระหนี้ใหเจาหนี้ ข
ผล = ค ผูจํานองมีสิทธิเรียกจาก ก ลูกหนี้ได 1 ลาน+ 150,000

ถ้าว่าต้องบังคับจํานอง ท่านว่าผูจ้ าํ นองชอบทีAจะได้รบั เงินใช้คืน


จากลูก หนี ต9 ามจํา นวนซึA ง ผู้ร ับ จํา นองจะได้ร ับ ใช้ห นี จ9 ากการบัง คับ
จํานองนัน9 วรรค 2 เปนกรณีที่ผูจํานองไมสมัครใจชําระหนี้ ถาที่ดินขายทอดตลาดไดราคาตํ่า ทําใหเจาหนี้ผูรับจํานอง
ขาดทุนไดไมถึง1,1500,000 ผูจํานองเรียกไดเทาที่เจา
เพราะถูกบังคับจํานอง

↳ เจาหนี้ผูรับจํานองไดไปเทาไหร ผูจํานองก็เรียกไดเทานั้น
หนี้ไดจากการขายทอดตลาดนั้น เชน ขายทอดตลาดได 9
แสน แตราคาที่ดิน1 ลาน ผูจํานองขาดทุน
ข้ อสั งเกต

%.จํานองไม่ใช้คาํ ว่า “ไล่เบียM ”แต่ใช้คาํ ว่า “ชอบที>จะได้รบั


เงิน” เพราะคําว่าไล่เบียM เป็ นสิทธิ บุคคลจะเรียกคืน จากเหตุท>ี
ตนได้รบั ผิดในสิทธิเรียกร้องเหนือบุคคล
U.อายุค วามตามมาตรา gUf มี อ ายุค วาม %jปี เพราะ
กฎหมายไม่ได้เขียนไว้เป็ นพิเศษ
&.ถึ ง แม้ว่ า ความเสี ย หายเกิ ด จากการคํMา ประกั น แต่ ผู้
จํานองไม่ตอ้ งรับผิดแทนอย่างผูค้ าMํ ประกัน เพราะทรัพย์ของผูค้ าMํ
1.

ประกันเป็ นเพียงการประกันหนีเM ท่านี M รับผิดเฉพาะเทาที่ทรัพยที่จํานอง ขายทอดตลาดเสร็จก็จบกัน


ข้ อสั งเกต (ต่ อ)

•ตามมาตรา 724 ให้สิทธิผจู ้ าํ นองทีPชาํ ระหนีFให้แก่ผรู ้ ับจํานอง


ฟ้องไล่เบีFยลูกหนีFได้ แต่ถา้ ลูกหนีFชาํ ระหนีFให้แก่ผรู ้ ับจํานอง
กฎหมายไม่ได้ให้สิทธิลูกหนีFทีPจะฟองไล่เบีFยแก่ผจู ้ าํ นองหรื อผู ้
คํFาประกัน ดูฎีกาทีP 9156/2538
ตัวอย่ าง
กรณี ตามวรรคหนึAง ก. กู้เงิ น ข. /11,111 บาท ค. จํานองทีA ดินเป็ น
ประกัน เมืAอ ค. ชําระหนีใ9 ห้ ข. แล้ว /11,111 บาท ค. มีสิทธิได้รบั ใช้คืนจาก
ก. ลูกหนี 9 /11,111 บาท
กรณี ต ามวรรคสอง ก. กู้เ งิ น ข. /11,111 บาท ค. จํานองทีA ดิน เป็ น
ประกัน หลังจากหนีถ9 ึงกําหนดชําระทัง9 ลูกหนีแ9 ละผูจ้ าํ นองไม่ชาํ ระหนี 9 ข. จึง
ตองฟอง

ฟ้องบังคับจํานอง ขายทอดตลาดได้เงิน /11,111 บาท การฟ้องและการ


บังคับคดีตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ยไป /1,111 บาท ข. จึงได้รบั ชําระหนีเ9 พียง \1,111
บาท ค.ผูร้ บั จํานองจึงมีสิทธิ ได้รบั คืนจาก ก. \1,111 บาทเท่านั9น ทัง9 ๆ ทีA
ทีAดนิ มีราคาถึง /11,111 บาท
สิ ทธิหน้ าทีรF ะหว่ างผู้จาํ นองด้ วยกัน

ไม่ระบุลาํ ดับการบังคับจํานอง ตองเปนบุคคลภายนอก 2 คนหรือ


กวานั้น ไมนับรวมลูกหนี้เปนผูจํานอง

มาตรา gUc เมื>อบุคคลสองคนหรือกว่านันM ต่างได้จาํ นอง


ทรัพย์สินของตนเพื>อประกันหนีแM ต่รายหนึ>งรายเดียวอันบุคคล
อื>นจะต้องชําระและมิได้ระบุลาํ ดับไว้ไซร้ ท่านว่าผูจ้ าํ นองซึง> เป็ น
ผูช้ าํ ระหนีหM รือเป็ นเจ้าของทรัพย์สินที>ถกู บังคับจํานอง หามีสิทธิ
ไล่เบียM เอาแก่ผจู้ าํ นองคนอื>นได้ไม่
ถาคนนึงจายไป จะไปเรียกจากผูจํานองคนอื่นไมได ตองเรียกจากลูกหนี้ เพราะผู
จํานองสองคนที่เปนบุคคลภายนอก ไมใชลูกหนี้รวม
ระบุลาํ ดับการบังคับจํานอง บุคคลภายนอกเปนผูจํานองอยางนอย 2

มาตรา gUo เมื>อบุคคลหลายคนต่างได้จาํ นองทรัพย์สิน คน ไมรวมลูกหนี้เปนผูจํานอง

ของตนเพื>อประกันหนีแM ต่รายหนึ>งรายเดียวอันบุคคลอื>นจะต้อง
ชําระและได้ระบุลาํ ดับไว้ไซร้ ท่านว่าการที>ผรู้ บั จํานองยอมปลด
หนีใM ห้แก่ผูจ้ าํ นองคนหนึ>งนันM ย่อมทําให้ผูจ้ าํ นองคนหลัง ๆ ได้
หลุดพ้นไปด้วยเพียงขนาดที>เขาต้องได้รบั ความเสียหายแต่การ
นันM เชน ถาปลดหนี้ใหผูรับจํานองลําดับแรกเอาไว 10,000 = ผูรับจํานองคนหลัง เสียหายแค 10,000 ไมไดหลุดพนทั้งหมด

จะหลุดพนเมื่อเปนผูจํานองคนหลังและการปลดหนี้ตองทําเปนหนังสือดวย

ปลดหนี้ใหผูจํานองลําดับแรก ทําใหผูจํานองลําดับหลังไดรับอนิสงคไป but ถาปลดหนี้ใหผูจํานองลําดับ


หลัง ผูจํานองคนแรกจะมาอางวาตนไมตองรับผิด/ไดรับการปลดหนี้ไมได ตองชําระเต็มจํานวน
ผู้จาํ นองหลุดพ้นความรับผิด** (กม.แก้ ไขใหม่ )

มาตรา [\[ บัญ ญัติว่า “ให้นาํ บทบัญ ญัติ ม าตรา


aXb มาตรา aX[ มาตรา [cc และมาตรา [cb มาใช้
บังคับกับกรณีท/ีบคุ คลจํานองทรัพย์สินเพื/อประกันหนีอI นั
บุคคลอื/นจะต้องชําระโดยอนุโลม”
คําถาม เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2564 นายจันทรทําสัญญากูเงินนายอังคารจํานวน 1,000,000บาทและคิดดอกเบี้ย
รอยละสิบหาตอป หนี้ถึงกําหนดชําระหนี้ 31 ธันวาคม 2564 โดยมีนายพุธจํานองที่ดินของตนราคา
1,000,000บาทประกันหนี้รายนี้ และมีนายพฤหัสจํานองเรือเฟอรี่ของตนราคา 1,000,000บาทประกันหนี้รายนี้
โดยมิไดระบุลําดับผูจํานอง โดยนายพุธและนายพฤหัสทําสัญญาจํานองและจดทะเบียนทําถูกตองตามกฎหมายแลว
ตอมาหนี้ถึงกําหนดชําระหนี้ แตนายจันทรไมชําระหนี้ นายพุธไมตองการถูกบังคับจํานอง นายพุธจึงชําระหนี้ใหแก
นายอังคารจํานวน 1,150,000 บาท นายพุธจึงมาปรึกษาทานวา ก.นายพุธตองการเรียกเงินจากนายพฤหัสจํานวน
570,000บาทในฐานะที่เปนผูจํานองหนี้ของนายจันทรรวมกันไดหรือไมเพราะเหตุใด ข. นายพุธจะเรียกเงินจาก
นายจันทรไดหรือไม ถาไดเรียกจํานวนเทาใดเพราะเหตุใด

คําตอบ ไมไดเพราะตามมาตรา 725 นายพุธและนายพฤหัสเปนบุคคลสองคนหรือกวานั้นตางไดจํานอง


ทรัพยสินแหงตนเพื่อประกันหนี้ของนายจันทรซึ่งเปนหนี้รายเดียวกัน และมิไดระบุลําดับ เมื่อนายพุธชําระหนี้
แลวนายพุธไมมีสิทธิไลเบี้ยจากนายพฤหัส 570,000บาท เพราะมิใชลูกหนี้รวม ข นายพุธมีสิทธิไดรับเงินใช
คืนจากนายจันทรตามจํานวนที่ตนชําระหนี้คือ1,150,000บาท ตามมาตรา 724 วรรคหนึ่ง

คําถาม เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2564 นายเอทําสัญญากูเงินนายบีจํานวน 1,000,000บาทและคิดดอกเบี้ยรอยละสิบ


หาตอป หนี้ถึงกําหนดชําระหนี้ 31 ธันวาคม 2564 โดยมีนายซีจํานองที่ดินของตนราคา 600,000บาทประกันหนี้
รายนี้ และมีนายดีจํานองเรือเฟอรี่ของตนราคา 1,000,000บาทประกันหนี้รายนี้ โดยระบุลําดับผูจํานอง ใหบังคับ
จํานองจากที่ดินของนายซีกอนแลวจึงบังคับจํานองจากเรือของนายดี โดยนายซีและนายดีทําสัญญาจํานองและจด
ทะเบียนทําถูกตองตามกฎหมายแลว ตอมานายบีปลดหนี้ใหนายซี 600,000บาท โดยทําเปนหนังสือและจด
ทะเบียนถูกตองตามกฎหมาย ตอมาหนี้ถึงกําหนดชําระหนี้ แตนายเอไมชําระหนี้ นายบีฟองบังคับจํานองเรือของนาย
ดี นายดีจึงมาปรึกษาทานวา นายดีไมตองรับผิดเพราะนายบีปลดหนีใหแกนายซีทําใหนายดีหลุดพนความรับผิด
ทั้งหมดไดหรือไม เพราะเหตุใด

คําตอบ ตามขอเท็จจริงปรากฏวาเมื่อนายซีและนายดีเปนบุคคลหลายคนตางไดจํานองทรัพยสินแหงตนเพื่อ
ประกันหนี้กูยืมของนายเอ ตนเงิน 1,000,000บาท และดอกเบี้ย 150,000บาทและไดระบุลําดับผูจํานอง เมื่อ
นายบีผูรับจํานองยอมปลดหนี้ใหแกนายซีผูจํานองคนกอนจํานวน600,000บาท ยอมทําใหนายดีผูจํานองคนหลัง
หลุดพนความรับผิดดวยเพียงขนาดที่เขาตองไดรับความเสียหายแตการนั้นคือจํานวน 600,000บาท ดังนั้นนายดี
ยังตองรับผิดจํานวน400,000บาทและดอกเบี้ย 150,000บาทรวมเปนเงิน 550,000บาทตามมาตรา 726

ถาเปลี่ยนขอเท็จจริงเปนทําเปนนส. ปลดหนี้ให ดี ผูจํานองลําดับหลัง > ซี ผููจํานองคนแรก จะอางวาตัวเองหลุดพนความรับผิดตาม 726


ไมได ตองชําระเต็มจํานวน
ข้ อสั งเกต

ระวัง มาตรา gUg ไว้ด ้ว ย เพราะกม.ให้น าํ เรื> อ งการคําM


ประกัน มาใช้ แม้ก ารจํา นองจะเป็ น การประกัน หนี อM ย่า งหนึ>ง
ทํานองคําM ประกัน แต่ผูจ้ าํ นองก็มิใช่ผูค้ าMํ ประกัน กม.ให้สิทธิ ผู้
จํา นองมี สิ ท ธิ เ หมื อ นผู้ค าMํ ประกัน เฉพาะ 4 กรณี ต ามมาตรา
691,697,700,701 เท่านันM แต่ไม่นาํ มาตรา oVV,oV' มาใช้
ตัวอย่ าง

นํามาตรา 691 มาใช้บงั คับ เช่น ก. กูเ้ งิน ข. /,111,111 บาท คิด
ดอกเบีย9 ร้อยละ /< ต่อปี (คิดเป็ นเงิน/<1,111บาท) โดย ค. จํานองทีAดิน
เป็ นประกันต่อมา ก.และข. ทําข้อตกลงอันมีผลเป็ นการลดจํานวนหนี 9
(ข้อตกลงปรับโครงสร้างหนี )9 โดย ลดต้นเงิ นให้เหลือ h11,111 บาท
บาท คิดดอกเบีย9 ร้อยละ /< ต่อปี (คิดเป็ นเงิน/O1,111บาท)
ค. ผู้จ าํ นองย่ อ มได้ร ับ ประโยชน์จ ากข้อ ตกลงดัง กล่ า ว หลัง จากมี
แมจะไมไดรวมตกลงดวย
ข้อตกลงดังกล่าว
ตัวอย่ าง

นํามาตรา abP มาใช้บงั คับ เช่น ก. กูเ้ งิน ข. /11,111 บาท โดย
ก. จํา นํา แหวนราคา <1,111 บาท เป็ น ประกัน ค. จํา นองทีA ดิ น เป็ น
ประกัน ต่อมา ข. คืนแหวนให้ ก. ไป ทําให้จาํ นําระงับ ค. ผูจ้ าํ นองหลุด
พ้นความรับผิดไป <1,111 บาท
นํามาตรา PRR มาใช้บงั คับตามตัวอย่างข้างต้น ถ้า ข. ผ่อนเวลา
ชําระหนีใ9 ห้ ก. โดย ค. มิได้ยินยอมด้วย ค. ย่อมหลุดพ้นจากความรับผิด
นํ า มาตรา PR* มาใช้บัง คับ ตามตัว อย่ า งข้า งต้น เมืA อ หนี ถ9 ึ ง
กําหนดชําระแล้ว ค. ผูจ้ าํ นองขอชําระหนีท9 งั9 หมดแทน ก. แต่ ข. เจ้าหนี 9
ไม่ยอมรับชําระ ค. จึงหลุดพ้นจากความรับผิด
ข้ อสั งเกต
/.การหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา ZOZ มีผลเฉพาะผูจ้ าํ นอง
เท่านัน9 ทีAหลุดพ้น ลูกหนีช9 นั9 ต้นยังคงต้องรับผิดอยู(่ ฎ.RhO/O<RZ)
O.การนํา มาตรา ZOZ มาปรับ ต้อ งเป็ น เรืAอ งบุค คลคนเดี ย วจํา นอง
ทรัพย์สินของตนเพืAอประกันหนีบ9 ุคคลอืAน เช่น ก. กูเ้ งิน ข. โดย ก. จํานอง
ทีAดินของตนประกันหนีแ9 ละมี ค. จํานองบ้านประกันหนีด9 ว้ ย ดังนี 9 ก็ถือว่า
บุคคลคนเดี ยวจํานองทรัพย์สินเพืA อประกันหนี บ9 ุคคลอืA น เพราะการทีA ก.
ลูก หนี จ9 าํ นองทีA ดิ น ไม่ ใ ช่ ป ระกัน หนี บ9 ุค คลอืA น แต่เ ป็ น การประกัน หนี ข9 อง
ตนเอง หรือ ก. กูเ้ งิน ข. โดยมี ค. ง. จ. จํานองทีAดินประกันหนี 9 ต่อมา ก.
เจ้าหนีป9 ลดหนีใ9 ห้ ค. กับ ง. ก็ถือว่า จ. บุคคลคนเดียวจํานองทรัพย์สินเพืAอ
ประกันหนีบ9 คุ คลอืAน 727 ใชกับบุคคลภายนอกเปนผูจํานอง ไมใชกับกรณีที่ลูกหนี้เปนผูจํานอง
ขอบเขตความรั บ ผิ ด ของผู้ จํา นองซึ?ง เป็ นบุ ค คลภายนอก
(มาตรา ZOZ//) *** กม.แก้ไขใหม่
ทีม? าของปั ญหา : ในทางปฏิบตั เิ มืAอบังคับจํานองแล้วได้เงินไม่
ครบจํานวน เจ้าหนีบ9 งั คับให้ผจู้ าํ นองซึงA เป็ นบุคคลภายนอกรับชําระหนี 9
ส่วนทีAเหลือจนครบจํานวน ทําให้ผจู้ าํ นองรับภาระหนักมาก
นอกจากนีเ9 จ้าหนีก9 าํ หนดให้ผูจ้ าํ นองซึAงเป็ นบุคคลภายนอกต้อง
รับผิดอย่างผูค้ า9ํ ประกัน
ดังนั9นจึงมี การเสนอมาตรา ZOZ// เพืA อแก้ปัญ หาดังกล่าวโดย
กําหนดขอบเขตความรับผิดของผูจ้ าํ นองมิให้รบั ผิดเกินกว่าราคาทรัพย์
ทีAจาํ นอง
ขอสังเกต มาตรา 727/1 วรรคหนึ่งถามีการตกลงใหผูจํานองตองรับผิดเกินกวาราคาทรัพยที่จํานองในเวลาบังคับจํานองหรือใหผูจํานองรับผิด
อยางผูคํ้าประกัน ขอความตกเปนโมฆะ ไมวาจะตกลงในสัญญาจํานองหรือทําความตกลงตางหากอีกฉบับ

ขอบเขตความรั บ ผิ ด ของผู้ จํา นองซึ?ง เป็ นบุ ค คลภายนอก


(มาตรา ZOZ//) *** กม.แก้ไขใหม่
หลั ก ข้อ ตกลงใดทีA ท าํ ให้ผู้จ าํ นอง รับ ผิ ด อย่ า งผู้ค า9ํ ประกัน
ข้อตกลงนัน9 เป็ นโมฆะ เชน ในสญ.จํานอง ผูจํานองมีขอตกลงวายินยอมใหชําระหนี้ในสวนที่ขาดจนครบ เฉพาะขอตกลงนี้เปนโมฆะ แต
สัญญาจํานองทั้งฉบับ สมบูรณ

ข้อยกเว้น นิติบคุ คลเป็ นลูกหนีแ9 ละเป็ นบุคคลผูม้ ีอาํ นาจในการ


จัดการตามกฎหมายและบุคคลนัน9 เป็ นผูจ้ าํ นองทรัพย์สินของตนไว้เพืAอ
เป็ นประกันหนีข9 องนิติบคุ คลและผูจ้ าํ นองได้ทาํ สัญญาคํา9 ประกันไว้เป็ น
สัญญาต่างหาก
ขอสังเกต มาตรา 727/1 วรรคสองตอนทาย มีหลักเกณฑ
1 นิติบุคคลเปนลูกหนี้
2 บุคคลผูมีอํานาจในการจัดการตามกฎหมาย เชน หุนสวนผูจัดการ กรรมการผูจัดการมีอํานาจลงนามแทนนิติบุคคล สวนบุคคลที่มีอํานาจในการควบคุมการ
ดําเนินงาน เชน กรรมการ ผูถือหุน
3 ผูจํานองทําสัญญาคํ้าประกันเปนสัญญาตางหากจากสัญญาจํานอง
ถาครบ3 ขอจะปรับใชมาตรา 727/1 วรรคสองตอนทายได ขอตกลงสามารถใชบังคับได
727/1 ว.2
แยกเปน 2 กรณี
1. กรณีไดมีการกําหนดขอตกลงที่ฝาฝนมาตรา 727/1 ไวในสญจํานอง เฉพาะขอตกลงที่ฝาฝน เปนโมฆะ
2. คูสัญญาตกลงทําสัญญาแยกตางหากจากสัญญาจํานองที่มีขอความฝาฝน
เชน ทําสัญญาคํ้าประกันอีกฉบับเพื่อประกันหนี้เงินคู มีผลทําใหสัญญาคํ้าประกันที่ผูจํานองที่เปนบุคคลภายนอกทํา เปนโมฆะทั้งฉบับ
แตสญ. จํานองยังสมบูรณ

“ไมวาขอวามนั้นจะมีอยูในสัญญาจํานองหรือทําเปนขอตกลงตางหาก” เชน ถาตกลงทําสัญญาตางหากไวจากสัญญาจํานอง เชน ทํา


สัญญาคํ้าประกันอีกฉบับเพื่อประกันหนี้ มีผลทําใหผูจํานองเปนทั้งผูคํ้าประกันและผูจํานองที่ดินประกันหนี้ดวย ดังนั้นในขอความที่
ตกลงตางหาก ใหรับผิดอยางผูคํ้าประกันตกเปนโมฆะ สวนสัญญาจํานองยังสมบูรณ
แบบฝึ กหัด
บริษัท-----กู้ 1,000,000 บาท----ธนาคาร
เอิรน์ เป็ นผูจ้ าํ นองทีAดนิ และเอิรน์ มีฐานะกรรมการผูจ้ ดั การ
ทําสัญญาคํา9 ประกันวันทีA 1 ก.พ. บังคับจํานอง
ธนาคารขายทอดตลาดทีAดนิ ได้เงิน 800,000 บาท
เอิรน์ ยังต้องรับผิดในหนีส9 ว่ นทีAขาด 200,000 บาท
ในฐานะผูค้ า9ํ ประกัน เขาขอยกเวน 727/1 ว.2 ตอนทาย

ขอสังเกต มาตรา 727/1 วรรคสองตอนทาย มีหลักเกณฑ


1 นิติบุคคลเปนลูกหนี้
2 บุคคลผูมีอํานาจในการจัดการตามกฎหมาย เชน หุนสวนผูจัดการ กรรมการผูจัดการมีอํานาจลงนามแทนนิติบุคคล สวนบุคคลที่มีอํานาจในการ
ควบคุมการดําเนินงาน เชน กรรมการ ผูถือหุน
3 ผูจํานองทําสัญญาคํ้าประกันเปนสัญญาตางหากจากสัญญาจํานอง
ถาครบ3 ขอจะปรับใชมาตรา 727/1 วรรคสองตอนทายได ขอตกลงสามารถใชบังคับได
A-----กู้ 1,000,000 บาท----ธนาคาร
บุคคลธรรมดา

C เป็ นผูค้ า9ํ ประกัน ธนาคารเห็นว่าควรจะเรียก
หลักประกันเพิAมให้ทาํ ข้อตกลงไว้ตา่ งหาก
C จดทะเบียนจํานองทีAดนิ ประกันหนีร9 ายเดียวกัน
ผลคือสัญญาคํา9 ประกันทีAทาํ ไว้ก่อน ตกเป็ นโมฆะ
เพราะเป็ นการหลีกเลีAยงกฎหมายให้ผจู้ าํ นองต้องรับผิดอย่างผูค้ า9ํ
ประกันอันเป็ นการกระทําฝ่ าฝื นมาตรา 727/1 ส่วนสัญญาจํานอง
ยังสมบูรณ์
การที่ใหผูจํานองรับผิดอยางผูคํ้าประกัน ขอความนี้ตกเปนโมฆะ แตสญ.จํานองยังใชไดอยู
Z. การบังคับจํานอง
/.เมืA อถึงกําหนดชําระหนี แ9 ล้ว ลูกหนี ไ9 ม่ชาํ ระหนี ห9 รือลูกหนี ผ9 ิ ด
สัญญา ผูร้ บั จํานองก็ฟ้องลูกหนีห9 รือผูจ้ าํ นองบังคับจํานองได้ กฎหมาย
กําหนดวิธีการบังคับจํานองไว้ R วิธี คือ
ผู้ร ับ จํา นอง(เจ้า หนี )9 ฟ้ อ งศาลขอให้บัง คับ เอาทรัพ ย์สิ น จํา นองขาย
ทอดตลาดแล้วนําเงินมาชําระหนี 9 (มาตรา ZOh)
U. ผูร้ บั จํานองฟ้องศาลเพื>อบังคับเอาทรัพย์จาํ นองหลุด
(คือการบังคับเอาทรัพย์สินจํานองโอนมาเป็ นกรรมสิทธิxของผูร้ บั
จํานอง โดยไม่มีการขายทอดตลาด) (มาตรา gU')
3. ผูร้ บั จํานองมีจดหมายบอกกล่าวแก่ผรู้ บั โอนล่วงหน้าไม่
น้อยกว่า oj วัน ผูร้ บั จํานองจึงจะบังคับจํานอง (มาตราg&c)
(/) มาตรา ZOh แก้ไขใหม่ เมืAอจะบังคับจํานองนัน9 ผูร้ บั จํานอง
ต้องมีหนังสือบอกกล่าวไปยังลูกหนีก9 ่อนว่าให้ชาํ ระหนีภ9 ายในเวลาอัน
สมควรซึงA ต้องไม่นอ้ ยกว่าหกสิบวันนับแต่วนั ทีAลกู หนีไ9 ด้รบั คําบอกกล่าว
นัน9 ถ้าและลูกหนีล9 ะเลยเสียไม่ปฏิบตั ติ ามคําบอกกล่าว ผูร้ บั จํานองจะ
ฟ้องคดีตอ่ ศาลเพืAอให้พิพากษาสัAงให้ยดึ ทรัพย์สนิ ซึงA จํานองและให้ขาย
ทอด ตลาดก็ได้
ในกรณีตามวรรคหนึงA ถ้าเป็ นกรณีผจู้ าํ นองซึงA จํานองทรัพย์สนิ
ของตนไว้เพืAอประกันหนีอ9 นั บุคคลอืAนต้องชําระ ผูร้ บั จํานองต้องส่ง
หนังสือบอกกล่าวดังกล่าวให้ผจู้ าํ นองทราบภายในสิบห้าวันนับแต่วนั ทีA
ส่งหนังสือแจ้งให้ลกู หนีท9 ราบ ถ้าผูร้ บั จํานองมิได้ดาํ เนินการภายใน
กําหนดเวลาสิบห้าวันนัน9 ให้ผจู้ าํ นองเช่นว่านัน9 หลุดพ้นจากความรับผิด
ในดอกเบีย9 และค่าสินไหมทดแทนซึงA ลูกหนีค9 า้ งชําระ ตลอดจนค่าภาระ
ติดพันอันเป็ นอุปกรณ์แห่งหนีร9 ายนัน9 บรรดาทีAเกิดขึน9 นับแต่วนั ทีAพน้
กําหนดเวลาสิบห้าวันดังกล่าว
หลักเกณฑ์ มาตรา ?@M
/.การบังคับจํานองต้องฟ้องต่อศาล
O.ก่อนฟ้อง ต้องมี “จดหมายบอกกล่าว” ไปยังลูกหนีก9 ่อน ว่าให้
ชําระหนีภ9 ายในเวลาอันสมควร โดยกําหนดให้ในจดหมายนัน9
หนังสือบอกกล่าวต้องมีสาระสําคัญ O ประการคือ บอกกล่าวให้
ชําระหนี 9 และ กําหนดเวลาให้ชาํ ระหนีภ9 ายในเวลาอันควร
R.ถ้าลูกหนีล9 ะเลยไม่ชาํ ระหนีต9 ามคําบอกกล่าว จึงจะฟ้องศาล
เพืAอให้ศาลพิพากษาให้ยดึ ทรัพย์ และขายทอดตลาด ก็ได้
Y. “ก็ได้” หมายความว่า เจ้าหนีม9 ีสทิ ธิ ฟ้องบังคับจํานองตาม
มาตรา ZOh นีห9 รือ ฟ้องอย่างเจ้าหนีส9 ามัญ
<. ผูบ้ อกกล่าวต้องมีอาํ นาจ และต้องบอกกล่าวไปยัง “ลูกหนี”9
ข้อสังเกต หนี้ตองถึงกําหนดแลว หนี้ยังไมถึงกําหนดไมมีสิทธิบอกกลาวบังคับจํานอง

คําว่า “เมืAอจะบังคับจํานองนัน9 ” มีความหมายว่า ผูร้ บั จํานองจะบังคับ


จํานองได้เมืAอใด เนืAองจากจํานองเป็ นหนีอ9 ปุ กรณ์ซAึงอาจประกันหนีท9 Aีตนหรือ
บุคคลอืAนจะต้องชําระตามมาตรา Z1O,Z1\ ดังนัน9 ผูร้ บั จํานองจะบังคับจํานอง
ได้ตอ่ เมืAอหนีท9 Aีประกันนัน9 ถึงกําหนดชําระแล้ว หากหนีท9 Aีประกันยังไม่ถงึ กําหนด
ชํา ระ ผู้ร ับ จํา นองก็ ยัง ไม่มี สิท ธิ บัง คับ จํา นองรวมทั9ง ไม่มี สิท ธิ ยAื น คํา ร้อ งขอ
บังคับชําระหนีจ9 าํ นองตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา Oh\ ซึAงถือว่าเป็ นการฟ้องบังคับ
จํานองด้วย
การบอกกล่าวเป็ นจดหมาย ทําเป็ นหนังสือ/เขียนข้อความถึงผูจ้ าํ นอง
บอกให้เขาชําระหนีภ9 ายในกําหนดระยะเวลาทีAกาํ หนด และลงชืAอผูร้ บั จํานอง
หรือตัวแทนก็เป็ นจดหมายบอกกล่าวบังคับจํานองแล้ว
ระบุเ วลาให้ช าํ ระหนี ภ9 ายในเวลาอัน ควรตามมาตรา ZOh ข้อ สัง เกต
เท่าใดจึงจะเป็ นเวลาอันควรต้องดูขอ้ เท็จจริงเป็ นเรืAองๆไป ดูจากจํานวนเงินทีA
เป็ นหนีแ9 ละพฤติการณ์ระหว่างคูก่ รณี
ข้อสังเกต
แม้ ค ํา บอกกล่ า วบั ง คั บ จํา นองระบุ ห นี Mท>ี จ ํา เลยต้อ งชํา ระ
คลาดเคลื>อนไป ก็ไม่ทาํ ให้การบอกกล่าวบังคับจํานองเสียไป
เจ้าหนีจM ะฟ้องบังคับจํานองหรือจะฟ้องบังคับเอาแก่ทรัพย์สินทั>วไปใน
ฐานะเจ้าหนีสM ามัญก็ได้
มาตรา gUV ตอนท้า ย ผู้ร ับ จํา นองจะฟ้ อ งคดี ต่อ ศาลเพื> อ ให้
พิพากษาสั>งให้ยดึ ทรัพย์สนิ ซึง> จํานองและให้ขายทอดตลาดก็ได้
คําว่า “ ก็ได้” ศาลฎีกาตีความว่า ผูร้ บั จํานองมีสทิ ธิ U อย่างคือ
%) ฟ้องบังคับจํานองตามมาตรา gUV และมาตรา gU'
U) ฟ้องบังคับชําระหนีจM ากทรัพย์สนิ ทั>วไปของลูกหนีตM ามมาตรา U%f
ข้อสังเกต

•ข้อตกลงที*เกี*ยวกับการจํานองที*ต่างไปจากมาตรา 728 เป็ นโมฆะ


(ตามมาตรา 714/1)
•ตามมาตรา 728 ที*แก้ไขใหม่ แตกต่างจากบทบัญญัติเดิมที*กาํ หนดให้
ผูร้ ับจํานองต้องมีหนังสื อบอกกล่าวให้ลูกหนีชาํ ระภายในระยะเวลาอัน
ควร โดยไม่ได้กาํ หนดระยะเวลาไว้ แต่ตามบทบัญญัติที*แก้ไขใหม่
บัญญัติให้ลูกหนีชาํ ระหนีKภายในเวลาอันสมควร โดยกําหนด
ระยะเวลาว่าต้องไม่นอ้ ยกว่า 60 วัน และกรณี จาํ นองทรัพย์สินเพื*อ
ประกันหนีKของบุคคลอื*นว่าต้องส่ งคําบอกกล่าวให้ผจู ้ าํ นองทราบ
ภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที*ส่งหนังสื อแจ้งให้ลูกหนีK
ข้อสังเกต

•การบอกกล่าวจํานองถือเป็ นเงื*อนไขที*ผรู ้ ับจํานองจะต้องกระทําก่อน


ฟ้องบังคับจํานอง มิฉะนัKนยังไม่มีอาํ นาจฟ้องบังคับจํานอง
•ถ้าผูจ้ าํ นองถึงแก่ความตายก่อนมีหนังสื อบอกกล่าว แม้มีผอู ้ ื*นรับ
หนังสื อนัKนไว้ ก็ถือไม่ได้วา่ เป็ นการบอกกล่าวทีชอบด้วยกฎหมาย กรณี
เช่นนีK ผูร้ ับจํานองต้องปฏิบตั ิตามมาตรา 735 โดยต้องมีจดหมายบอก
กล่าวไปยังทายาทหรื อผูจ้ ดั การมรดกซึ*งเป็ นเสมือนผูร้ ับโอนทรัพย์สิน
ล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือนจึงจะมีอาํ นาจฟ้องบังคับจํานอง ดูฎีกา
5553/2542
ข้อสังเกต

•กรณี ทีผรู ้ ับจํานองกําหนดเวลาไว้ในคําบอกกล่าวบังคับจํานองแล้ว ก็ตอ้ ง


รอให้ครบกําหนดเวลาในคําบอกกล่าว หากผูจ้ าํ นองไม่ชาํ ระหนีK จึงอาจมี
อํานาจฟ้องบังคับจํานองได้ แต่ถา้ ผูจ้ าํ นองไม่ถือเอาประโยชน์จาก
ระยะเวลาดังกล่าว ผูร้ ับจํานองก็ฟองบังคับจํานองได้โดยไม่ตอ้ งรอให้ครบ
กําหนดเวลาในคําบอกกล่าวนัKน ดูฎีกาที* 1133/2520
•การบอกกล่าวบังคับจํานอง ไม่จาํ ตองบอกวิธีการบังคับจํานองไปในคํา
บอกกล่าว ดูฏีกา 977/2535
•การบอกกล่าวบังคับจํานองจําต้องกระทําต่อผูจ้ าํ นองเท่านัKน ไม่จาํ ต้องบอก
กล่าวลูกหนีKร่วมอื*นที*ไม่ได้เป็ นผูจ้ าํ นองด้วย ดูฎีกา 8843/2544
ฟ้องบังคับจํานองแก่ผรู ้ ับโอนทรัพย์สินซึDงจํานองตามมาตรา FGH

มาตรา ZR< เมืAอผูร้ บั จํานองคนใดจํานงจะบังคับจํานองเอาแก่


ผูร้ บั โอนทรัพย์สนิ ซึงA จํานอง ท่านว่าต้องมีจดหมายบอกกล่าวแก่ผรู้ บั
โอนล่วงหน้า เดือนหนึงA ก่อนแล้ว จึงA จะบังคับจํานองได้
แนวคิด
จํานองเป็ นทรัพยสิทธิยอ่ มติดไปกับตัวทรัพย์ ดังนัน9 ถ้าผูร้ บั
จํานองมีความประสงค์ จะบังคับจํานองแก่ผรู้ บั โอน ต้องมีจดหมายบอก
กล่าวแก่ผรู้ บั โอนล่วงหน้า / เดือนก่อน แล้วจึงจะบังคับจํานองได้ ถ้าไม่
มีการบอกกล่าวหรือบอกกล่าวยังไม่พน้ กําหนดจะบังคับจํานองไม่ได้
เชน ที่ดิน 1 ลานบาท จํานองเพื่อประกันหนี้โดยที่หนี้มีราคา 1,500,000 ผูรับโอนขอไถถอนจํานองดวยการชําระราคาที่ดินจํานวน 1 ลานบาท หนี้จํานองก็จะระงับ
ตามม.744 (4) / ผู็โอนจะชําระหนี้เต็ม 1,500,000 บาท ก็จะทําใหหนี้ระงับ ตามม.744 (1)
การไถถอนจํานองอาจจะจายจํานวนเงินนอยกวาจํานวนหนี้ก็ได แตเปนสิทธิของเจาหนี้ วาจะรับ/ไมรับ ถึงผูรับโอนจะขอไถถอนจํานองแตถาเเจาหนี้ผูรับจํานองไม
ยินยอมใหไถถอนจํานอง ก็เปนสิทธิของเจาหนี้ผูรับจํานอง ถาปฏิเสธ เจาหนี้ผูรับจํานองก็ยังมีสิทธิบังคับจํานอง
ผูจํานองยังเปนเจาของกรรมสิทธิ์ ยังสามารถโอนกรรมสิทธิ์ไปใหบุคคลภายนอกได

สิทธิของผูรับโอนไถถอนจํานองโดยสมัครใจตามมาตรา 736 ผูรับโอนไมตองชําระหนี้ทั้งหมด


ของลูกหนี้ เพียงขอไถถอนจํานองโดยเสนอราคาอันสมควร
แบบฝกหัด นายเกงกูเงินนางขมิ้นจํานวน 1,000,000บาท โดยนายเกงจํานองที่ดินราคา 900,000บาทเพื่อ
ประกันหนี้ ตอมานายเกงโอนขายที่ดินใหแกนายคม แลวนายคมโอนขายที่ดินใหแกนายจรัส แลวนายจรัสโอนขาย
ที่ดินใหนายเกง ดังนี้นายเกงจะสามารถขอไถถอนจํานองที่ดินไดหรือไมเพราะเหตุใด

ตามม.736 ผูรับโอนทรัพยสิซึ่งจํานอง จะไถถอนจํานองก็ได เปนสิทธิของูรับโอนที่จะไถถอน/ไมไถถอนจํานองก็ได การ


ไถถอนจํานองคือ เปนการไถถอนจํานองที่จายจํานวนหนี้ไมครบ แตจายบางสวน ถาเจาหนี้ผูรับจํานองยินยอม ก็สามารถ
ไถถอนจํานองได แตผูรับโอนจะตองไมใชลูกหนี้/ผูคํ้าประกัน/ทายาทของลน./ผูคํ้าประกัน
ตามขอเท็จจริงปรากฏวา นายเกงเปนลูกหนี้เงินกู 1 ลานบาท และเปนผูจํานองที่ดินดวย จึงตองหามตามมาตรา 736 ไม
สามารถไถถอนจํานองได

แบบฝกหัดที่ 2 วันที่ 1 มกราคม 2563 นายจันทรกูเงินนายอังคาร 5,000,000บาท หนี้ถึงกําหนด 31 ธันวาคม 2563


โดยมีนายพุธจํานองที่ดินของตนราคา1,000,000บาทเพื่อประกันหนี้ นายพุธขายที่ดินใหแกนายพฤหัส นายพฤหัสขาย
ที่ดินใหแกนายศุกร แลวนายศุกรขายที่ดินใหแกนายพุธ วันที่ 1 มีนาคม 2563 นายพุธมีจดหมายบอกกลาวไถถอนจํานอง
ที่ดินไปถึงนายอังคาร ดังนี้นายพุธมีสิทธิไถถอนจํานองไดหรือไมเพราะเหตุใด

แมผูจํานองจะเปนผูนําทรัพยเขามาผูกพันเพื่อชําระหนี้ แตผลของการจํานองทําใหจํานองครอบทุกสิ่งและทุกสวนจนกวาจะไดมีการ
ชําระหนี้เต็มจํานวน ตามม. 716 และ 717 การที่ผูจํานองจะใชสิทธิไถถอนตามมาตรา 736 เปนการหลีกเลี่ยงกม. ทําใหผูจํานองไม
ตองชําระหนี้เต็มจํานวน และไมสอดคลองกับเจตนารมณของกม.จํานอง จะใหทรัพยเปนหลักประกันการชําระหนี้เต็มจํานวน แมผู
จํานองเปนบุคคลภายนอก ม.736 ไมไดบัญญัติไวก็ยังตองรับผิดตามสญ.จํานองในหนี้ประธานยังไมระงับ หนี้จํานองก็ยังมีอยู จะขอ
ไถถอนทรัพยที่จํานองไมได นายพุธผูจํานองตองใชมาตรา 724
(O) มาตรา ZO\ แก้ไขใหม่ ในการบังคับจํานองตามมาตรา ZOh
ถ้าไม่มีการจํานองรายอืA นหรือบุริมสิทธิ อAื นอันได้จดทะเบี ยนไว้เหนื อ
ทรัพย์สนิ อันเดียวกันนี 9 ผูร้ บั จํานองจะฟ้องคดีตอ่ ศาลเพืAอเรียกเอาทรัพย์
จํานองหลุดภายในบังคับแห่งเงืAอนไขดังจะกล่าวต่อไปนีแ9 ทนการขาย
ทอดตลาดก็ได้ ตามสัญญาจํานอง

(/) ลูกหนีไ9 ด้ขาดส่งดอกเบีย9 มาแล้วเป็ นเวลาถึงห้าปี และ


t

(O) ผู้ ร ั บ จํา นองแสดงให้ เ ป็ นทีA พ อใจแก่ ศ าลว่ า ราคา


ทรัพย์สนิ นัน9 น้อยกว่าจํานวนเงินอันค้างชําระ ตามสัญญาจํานอง

หลักเกณฑมาตรา 729 มี3 ขอ


1 ตองไมมีการจํานองรายอื่นหรือบุริมสิทธิรายอื่นเหนือทรัพยเดียวกัน
2 ดอกเบี้ยคางชําระหาป และ
3 ผูรับจํานองมีหนาที่นําสืบวาราคาทรัพยที่จํานองนอยกวาจํานวนหนี้ที่คางชําระ > ตองไปฟองบังคับขายทอดตลาดเทานั้น ไมสามารถใชม.729
เ"อ$น& ๕ มกราคม ๒๕๖๔ นายทศธร45ญญา7เ8นจากธนาคาร:;นท<=นวน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาทและEด
ดอกเGยHอยละ IบJาKอL โดยใJOระหQใน$น& ๓๑ Sนวาคม ๒๕๖๔ โดยTนายUฒนพงY45ญญา=นอง
Zบธนาคาร:;นท<T[อความ\า “]กหQ7เ8นเ^าหQ=นวน๑,๐๐๐,๐๐๐และดอกเGยHอยละIบJาKอLและ_
=นองไa=นอง&bนราคา๑,๐๐๐,๐๐๐เcอประZนหQรายQ และหากหQeงfหนดแgว]กหQไhOระหQ _
=นองiนยอมใJjองkงlบ=นองaวยmnขายทอดตลาด และหากขายทอดตลาดไaเ8นไhครบ _=นอง
iนยอมqบrดในหQ&เsนราคาทqพtIน&=นองในเวลาkงlบ=นอง” Kอมาเ"อหQeงfหนดแKนายทศธร
ไhOระหQ $น&๑ uมภาUนw ๒๕๖๕ ธนาคารxงจดหมายลงทะเyยนEMSeงนายUฒนพงY\าใJOระหQ
=นวน๑,๐๐๐,๐๐๐พHอมดอกเGยHอยละIบJาภายในเวลา๓๐zย๖๕ zฉะ|นธนาคารจะkงlบ=นอง แK
ธนาคารzไaxงห}ง~อแ^งใJนายทศธรทราบแKอ•างใด €งQหาก•านเ‚น&ปƒกษากฎหมายของนายUฒน
พงY •านจะใJ†แนะ‡อ•างไร เพราะเหˆใด

†ตอบ [อเ‰จจŠงปรากฏ\านายUฒนพงY_=นอง&bนของตนประZนหQการ7Œมเ8นระห\างนายทศธรและ
ธนาคาร:;นท<=นวน๑,๐๐๐,๐๐๐บาทพHอมดอกเGยHอยละIบJาKอLเ‚นเ8น ๑๕๐,๐๐๐ บาท รวม•ง
Žน๑,๑๕๐,๐๐๐บาท |น Tประเ•น&•อง‘จารณา€งKอไปQ ประเ•น&ห“ง การkงlบ=นองชอบaวยกฎหมาย
ห•อไh เ"อ[อเ‰จจŠงปรากฏ\าเ"อหQeงfหนดOระ แKนายทศธร]กหQไhOระหQ ธนาคาร:;นท<_qบ
=นอง•องการkงlบ=นอง ธนาคารจะ•องxงห}ง~อบอกก–าวใJ_=นองทราบภายในIบJา$น}บแK$น&
xงห}ง~อแ^งใJ]กหQทราบ —า_qบ=นองzไa˜เ;นการภายในเวลาfหนดIบJา$น ใJ_=นองห™ดšน
ความqบrดในดอกเGยและ›าIนไหมทดแทน&]กหQœางOระ&เsด•น}บแK$น&šนfหนดIบJา$นตาม
มาตรา 728 อ•างไรžตามแŸ\าธนาคารจะTการบอกก–าวเ‚นห}ง~อไปeง_=นอง แKไhTการxงจดหมาย
ไปeง]กหQ การบอกก–าวkงlบ=นองไhชอบaวยกฎหมาย ธนาคาร งไhTIท¡kงlบ=นอง ประเ•น&สอง
เ"อ5ญญา=นองT[อความการตกลงใJ_=นองqบrดในหQ&เsนราคาทqพt&=นองในเวลาkงlบ=นอง|น
เ‚นการตกลง£นTผลใJ_=นองqบrดเsนก\า&kญ¥¦ไ§ในมาตรา 727/1วรรค ห“ง เฉพาะ[อตกลงตกเ‚น
โมฆะ ตามมาตรา 727/1วรรคสอง
€ง|นหากนายUฒนพงYมาปƒกษาb©นจะแนะ‡\าประการ&ห“งการkงlบ=นองไhชอบaวยกฎหมาย
ตามมาตรา 728 เพราะธนาคาร:;นท< งไhไaบอกก–าวkงlบ=นองใJ]กหQทราบ ธนาคาร งไhTIท¡
jองkงlบ=นอง และประการ&สอง [อตกลงใJ_=นองqบrดเsนราคาทqพt&=นองในเวลา&kงlบ=นอง
|นตกเ‚นโมฆะแK5ญญา=นอง งสมªร«ตามมาตรา 727/1วรรคห“งประกอบวรรคสอง
ถากําหนดกอนจะเขาม.711

(R) มาตรา ZO\// แก้ไขใหม่ เวลาใดๆ หลังจากทีAหนีถ9 ึงกําหนด


ชําระ ถ้าไม่มีการจํานองรายอืAนหรือบุริมสิทธิ อAืนอันได้จดทะเบียนไว้
เหนือทรัพย์สินอันเดียวกันนี 9 ผูจ้ าํ นองมีสิทธิแจ้งเป็ นหนังสือไปยังผูร้ บั
จํานองเพืAอให้ผรู้ บั จํานองดําเนินการให้มีการขายทอดตลาดทรัพย์สินทีA
จํานองโดยไม่ตอ้ งฟ้องเป็ นคดีต่อศาลโดยผูร้ บั จํานองต้องดําเนินการ
ขายทอดตลาดทรัพย์สินทีAจาํ นองภายในเวลาหนึAงปี นับแต่วันทีAได้รบั
หนัง สื อ แจ้ง นั9น ทั9ง นี 9 ให้ถื อ ว่ า หนัง สื อ แจ้ง ของผู้จ าํ นองเป็ น หนัง สื อ
ยินยอมให้ขายทอดตลาด
ในกรณีทAีผรู้ บั จํานองไม่ได้ดาํ เนินการขายทอดตลาดทรัพย์สนิ
ทีAจาํ นองภายในระยะเวลาทีAกาํ หนดไว้ในวรรคหนึAง ให้ผจู้ าํ นองหลุดพ้น
จากความรับผิดในดอกเบีย9 และค่าสินไหมทดแทนซึAงลูกหนีค9 า้ งชําระ
ตลอดจนค่าภาระติดพันอันเป็ นอุปกรณ์แห่งหนีร9 ายนัน9 บรรดาทีAเกิดขึน9
ภายหลังวันทีAพน้ กําหนดเวลาดังกล่าว
ข้ อสั งเกต

การเอาทรัพย์จาํ นองหลุดเป็ นการบังคับจํานองอย่างหนึ>ง


ดังนันM ก่อนฟ้องเอาทรัพย์จาํ นองหลุด จะต้องมีการบอกกล่าว
ตาม ม.gUV ก่อนด้วย
•(R) มาตรา ZO\// แก้ไขใหม่ เวลาใดๆ หลังจากทีAหนีถ9 ึงกําหนดชําระ
ถ้าไม่มีการจํานองรายอืAนหรือบุริมสิทธิ อAืนอันได้จดทะเบียนไว้เหนือ
ทรัพ ย์สิ น อัน เดี ย วกัน นี 9 ผู้จ าํ นองมี สิ ท ธิ แ จ้ง เป็ น หนัง สื อ ไปยัง ผู้ร ับ
จํานองเพืAอให้ผรู้ บั จํานองดําเนินการให้มีการขายทอดตลาดทรัพย์สนิ ทีA
จํานองโดยไม่ตอ้ งฟ้องเป็ นคดีต่อศาลโดยผูร้ บั จํานองต้องดําเนินการ
ขายทอดตลาดทรัพย์สินทีAจาํ นองภายในเวลาหนึAงปี นบั แต่วนั ทีAได้รบั
หนัง สื อ แจ้ง นั9น ทั9ง นี 9 ให้ถื อ ว่า หนัง สื อ แจ้ง ของผูจ้ าํ นองเป็ น หนัง สื อ
ยินยอมให้ขายทอดตลาด
• ในกรณี ทAี ผู้ร ับ จํา นองไม่ ไ ด้ด าํ เนิ น การขายทอดตลาด
ทรัพย์สิน ทีA จ าํ นองภายในระยะเวลาทีA กาํ หนดไว้ใ นวรรคหนึAง ให้ผู้
จํานองหลุดพ้นจากความรับผิดในดอกเบีย9 และค่าสินไหมทดแทนซึAง
ลูกหนีค9 า้ งชําระตลอดจนค่าภาระติดพันอันเป็ นอุปกรณ์แห่งหนีร9 ายนัน9
บรรดาทีAเกิดขึน9 ภายหลังวันทีAพน้ กําหนดเวลาดังกล่าว
ข้อสังเกต สิทธิของผูจํานองจะชสิทธินี้/ไมใชก็ได

•บทบัญญัติ มาตรา 729/1 เป็ นหลักเกณฑ์ทAีกาํ หนดขึน9 ใหม่โดยไม่ตอ้ งฟ้อง


บังคับจํานองต่อศาล
•ต้องเป็ นกรณีทAีไม่มีการจํานองรายอืAนหรือบุรมิ สิทธิอAืนอันได้จดทะเบียนไว้
กล่าวคือ ต้องเป็ นการจํานองรายเดียว
ลูกหนี้/คนภายนอกก็ได

•เป็ นสิทธิของผูจ้ าํ นองทีAจะขอให้ผรู้ บั จํานองขายทอดตลาดทรัพย์สนิ ทีAจาํ นอง


โดยไม่ตอ้ งฟ้องคดีตอ่ ศาล โดยอาจเป็ นผูจ้ าํ นองประกันหนีต9 นเอง หรือเพืAอ
ประกันหนีอ9 นั บุคคลอืAนต้องชําระก็ได้ แต่ผจู้ าํ นองอาจไม่ใช้สทิ ธิก็ได้ ส่วนผูร้ บั
จํานองไม่มีสทิ ธิดงั กล่าว
•ผูจ้ าํ นองต้องแจ้งเป็ นหนังสือไปยังผูร้ บั จํานอง เพืAอให้ผรู้ บั จํานองดําเนินการให้
มีการขายทอดตลาดทรัพย์สนิ ทีAจาํ นอง
•เมืAอได้รบั หนังสือแจ้งจากผูจ้ าํ นองแล้ว เป็ นหน้าทีAของผูร้ บั จํานองต้อง
ดําเนินการขายทอดตลาดทรัพย์สนิ ทีAจาํ นองภายใน 1 ปี นับแต่วนั ทีAได้รบั
หนังสือแจ้ง
•เมื>อผูร้ บั จํานองขายทอดตลาดทรัพย์สินที>จาํ นองได้เงินสุทธิ
จํานวนเท่าใด ผูร้ บั จํานองต้องจัดสรรชําระหนีแM ละอุปกรณ์ให้
เสร็จสินM ไป ถ้ายังมีเงินเหลือก็ตอ้ งส่งคืนให้แก่ผูจ้ าํ นอง หรือ
แก่บคุ คลผูค้ วรจะได้เงินนันM แต่ถา้ ได้เงินน้อยกว่าจํานวนที>คา้ ง
ชําระ ให้เป็ นไปตามที>กาํ หนดไว้ในมาตรา g&& และในกรณี
ถาผูจํานองเปนบุคคลภายนอก

ที> ผู้จ าํ นองเป็ น บุค คลซึ>ง จํา นองทรัพ ย์สิ น เพื> อ ประกัน หนี อM ัน

บุคคลอื>นจะต้องชําระ ผูจ้ าํ นองย่อมรับผิดเท่าที> มาตรา gUg/%


กําหนดไว้
ขอสังเกตมาตรา 729/1 วรรคหนึ่ง เชน
- ประการที่หนึ่งสิทธิของผูจํานองจะเกิดขึ้นทันทีเมื่อหนี้ถึงกําหนดแลว ผูจํานองสามารถดําเนินการตามมาตรา 729/1ได โดยไมตองคํานึงวาเจาหนี้จะไดเริ่มบอก
กลาวบังคับจํานองตามมาตรา 728 หรือไม
- ประการที่สอง ถาผูรับจํานองไดดําเนินการบังคับจํานองตามมาตรา 728หรือ 729 จนกระทั่งฟองคดีตอศาลแลว ผูจํานองไมอาจใชสิทธิบังคับใหผูรับจํานองดําเนิน
การขายทอดตลาดภายในหนึ่งปตามมาตรา 729/1
- ประการที่สาม กรณีทรัพยที่จํานองมีการจดทะเบียนจํานองมากกวาหนึ่งราย ตองใชมาตรา 728
- ประการที่สี่ ถาผูรับจํานองไดรับหนังสือรองขอจากผูจํานองแลวแตไมดําเนินการขายทอดตลาดภายในเวลาที่กฎหมายกําหนด ผูจํานองหลุดพนจากหนี้อุปกรณที่
เกิดหลังเวลาที่กฎหมายกําหนด

แมผูจํานองใชสิทธิ ตามม.729/1 ผูรับจํานองก็ยังไดรับชําระหนีี้กอนเจาหนี้สามัญ


การบังคับจํานองกรณีจาํ นองทรัพย์ สินสิ< งเดียวประกันหนีห@ ลายราย
ผู้รับจํานองคนก่ อนมีสิทธิได้ รับชําระหนีก@ ่ อนผู้รับจํานองคนหลัง

มาตรา ZR1 เมืAอทรัพย์สินอันเดียวจํานองแก่รบั ผูจ้ าํ นองหลายคน


ท่านให้ถือลําดับผูร้ บั จํานองเรียงตามวันและเวลาจดทะเบียนและผูร้ บั
จํานองคนก่อนจักได้รบั ชําระหนีก9 ่อนผูร้ บั จํานองคนหลัง
หลักเกณฑ์
/) ต้องเป็ นกรณีทรัพย์จาํ นองมีอนั เดียว
O) มีผรู้ บั จํานองหลายคนต่างกัน
R) จัด ลํา ดับ เพืA อ ให้ไ ด้ร บั ชํา ระหนี ก9 ่ อ น-หลัง โดยถื อ เอาวัน -เวลาจด
ทะเบียนเป็ นหลักในการพิจารณา ถ้าจดทะเบียนวันเดียวกัน ถื อตาม
เวลาก่อน-หลังเช่นกัน
ตัวอย่ างมาตรา JKL
วันทีA / มี.ค. c/ เค้ก------กู/้ ,111,111------นํา9
เค้กนําทีAดนิ ของตน/แปลงจดทะเบียนจํานอง
วันทีA O มี.ค. c/ เค้ก------กู<้ 11,111------ ฝน
เค้กนําทีAดนิ ของตน/แปลงจดทะเบียนจํานอง
วันทีA R มี.ค. c/ เค้ก------กูR้ 11,111------ มินนีA
เค้กนําทีAดนิ ของตน/แปลงจดทะเบียนจํานอง
ต่อมาขายทอดตลาดทีAดินแปลงดังกล่าวได้เงิน/,R11,111บาท จะต้องนําเงิน
/,111,111ชําระหนีแ9 ก่นา9ํ เพราะเป็ นผูร้ บั จํานองลําดับแรก ส่วนทีAเหลือR11,111
บาทชําระหนีแ9 ก่ฝนเพราะเป็ นเจ้าหนีล9 าํ ดับทีAO ส่วนทีAขาดไปO11,111 บาทโดย
หลักแล้วฝนจะเรียกจากเค้กลูกหนีไ9 ม่ได้ตามม.ZRR เว้นแต่จะได้มีการตกลง
ยกเว้นม.ZRR ส่วนมินนีAไม่ได้รบั ชําระหนี 9 แต่มินนีAสามารถเรียกให้เค้กชําระหนี 9
ได้เพราะมินนีAเป็ นเจ้าหนีส9 ามัญ
ข้ อสั งเกต

%.เมื> อ ผู้ร ับ จํา นองรายแรกบัง คับ จํา นองแล้ว ต้อ งถื อ ว่า
จํานองแก่ทรัพย์สนิ เป็ นอันระงับไปหมดทุกราย
U.ผูร้ บั จํานองไม่จาํ เป็ นต้องใช้สิทธิ บงั คับจํานองเสมอไป
อาจสละสิทธิจาํ นองและเลือกใช้สทิ ธิบงั คับอย่างเจ้าหนีสM ามัญก็
ย่อมได้
ผู้รับจํานองคนหลังจะบังคับจํานองให้ เป็ นทีเ@ สี ยหายแก่ ผู้รับ
จํานองคนก่ อนไม่ ได้
มาตรา [Zb อันผูร้ บั จํานองคนหลังจะบังคับตาม
สิทธิของตนให้เป็ นที/เสียหายแก่ผรู้ บั จํานองคนก่อนนันI
ท่านว่าหาอาจทําได้ไม่
ข้ อสั งเกต
/.ผูร้ บั จํานองก่อนมีสิทธิ ตาม มาตรา ZR1 ได้รบั ชําระหนีก9 ่อน และมี
สิทธิตามมาตรา ZR/ หากเห็นว่าการบังคับจํานองของผูร้ บั จํานองภายหลัง
ทําให้ตนเสียหาย มีสทิ ธิไม่ให้ผรู้ บั จํานองภายหลังบังคับจํานองในขณะนัน9 ได้
หลักของมาตรา ZR/ ผูร้ บั จํานองคนหลังจะบังคับตามสิทธิของตนให้เสียหาย
แก่ผรู้ บั จํานองคนก่อนไม่ได้ โดยถือตามหลักทีAว่า การใช้สิทธิของตนต้องไม่
เป็ นทีAเสียหายแก่ผอู้ Aืน
O.เมืAอมีการบังคับจํานองรายแรกแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากภาระจํานอง
รายหลัง ๆ ไปทัง9 หมด
R.ทรัพย์ทAีมีการจํานองหลายราย เมืAอผูร้ บั จํานองรายแรกขอให้ศาล
ขายทอดตลาดอย่างปลอดจํานองแล้ว ต้องถื อว่าปลอดจํานองไปถึงผูร้ บั
จํานองรายถัดไปด้วย ผูร้ บั จํานองลําดับหลังจะขอให้ขายโดยยังติดจํานอง
ของตนแย้งกับผูร้ บั จํานองรายแรกไม่ได้ เพราะเป็ นการบังคับตามสิทธิ ของ
ตนให้เป็ นทีAเสียหายแก่ผรู้ บั จํานองคนก่อน เชน เมื่อขายทอดตลาดแบบติดจํานอง จะทําใหที่ดินราคาตก
ลําดับการชําระหนีแX ก่ ผู้รับจํานองและเงินทีเ@ หลือ

มาตรา g&U ทรัพย์สนิ ที>จาํ นองขายทอดตลาดได้เงินสุทธิ


เท่าใด ท่านให้จดั ใช้ผรู้ บั จํานองเรียงตามลําดับ และถ้ายังมีเงิน
เหลืออยูอ่ ีกให้สง่ มอบแก่ผจู้ าํ นอง
ข้ อสั งเกต

คําว่า “เรียงตามลําดับ” หมายถึง ลําดับผูร้ บั จํานองตาม


วันและเวลาจํานองตามมาตรา g&j
การคืนเงินที>เหลือให้ผจู้ าํ นองตามมาตรานี M ต้องมีการขาย
ทอดตลาดทรัพย์จาํ นองแล้วเงินเหลือ
X. ผลการบังคับจํานอง
เมื>อมีการบังคับขายทอดตลาดทรัพย์สินที>จาํ นอง เงินที>
ได้จากการขายทอดตลาดภายหลังจากหักค่าฤชาธรรมเนี ยม
แล้วเหลือเป็ นจํานวนเท่าใดจะต้องจัดสรรชําระหนีใM ห้แก่เจ้าหนี M
ถ้าเจ้าหนีไM ด้รบั ชําระหนีคM รบถ้วนแล้ว เหลือเงินเท่าใดก็ตอ้ งคืน
ให้แก่ผูจ้ าํ นองแต่ถา้ ขายทอดตลาดไม่พอชําระหนี ลM ูกหนี กM ็ ไม่
ต้องรับผิดในเงินนันM อีก(มาตรา g&&) แต่อย่างไรก็ตามถ้ามี
ข้อตกลงในสัญญาจํานองว่าถ้าบังคับจํานองขายทอดตลาดได้
เงินไม่พอชําระหนี M เจ้าหนีมM ีสิทธิเรียกร้องส่วนที>ขาดได้ ข้อตกลง
นีใM ช้บงั คับได้เพราะไม่ขดั ต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอัน
ดีของประชาชน
เมื*อบังคับจํานองแล้วลูกหนี<ไม่ตอ้ งรับผิดเกินกว่าตัวทรัพย์
ที*จาํ นอง
มาตรา g&& ถ้าเอาทรัพย์จาํ นองหลุดและราคาทรัพย์สินมี
ประมาณตํ>ากว่าจํานวนเงินอันค้างชําระก็ดี หรือถ้าเอาทรัพย์
จํานองขายทอดตลาดใช้หนีไM ด้เงินสุทธินอ้ ยกว่าจํานวนหนีทM >ีคา้ ง
ชําระก็ดี เงินยังขาดอยูเ่ ท่าใดลูกหนีไM ม่ตอ้ งรับผิดในเงินนันM
สรุป มาตรา 733 โดยหลักถาคูสัญญามิไดตกลงยกเวนมาตรา 733 ไวเปนอยางอื่น หากผูรับจํานองบังคับจํานองไดเงินยังไมพอ ลูกหนี้ไมมีหนาที่ตอง
ชําระในสวนที่ขาด ไมวาจะเปนกรณีลูกหนี้ชนตนหรือกรณีผูจํานองเปนบุคคลภายนอก
ขอสังเกตมาตรา 733 เชน 1 มาตรา 733 ไมมีขอจํากัดวาตองใชบังคับเฉพาะกรณีลูกหนี้จํานองทรัพยของตน จึงสามารถใชกับกรณีผูจํานองเปน
บุคคลภายนอกได 2 สรุปจากแนวคําพิพากษาศาลฎีกา มีสองแนวทาง (1)ถาสัญญาจํานองไมไดจํากัดจํานวนหนี้ ลูกหนี้ชั้นตนไมตองรับผิดในสวนที่
ขาด ฎ 575/2549, 8851/2551 แนวทางที่ (2) ถาสัญญาจํานองมีการจํากัดจํานวนหนี้ ในสวนที่เกินกวาวงเงินจํานอง ลูกหนี้ชั้นตนยังตองรับผิดชําระ
หนี้ประธานตอเจาหนี้จนครบจํานวน ฎ 15363/2557

ขอสังเกต
1 ถาผูจํานองถึงแกความตาย เจาหนี้ตองบอกกลาวแกทายาทหรือผูจัดการมรดกกอนฟอง
2 กรณีผูจํานองตาย เจาหนี้ไมฟองภายในหนึ่งป ขาดอายุความมรดก แตเจาหนี้บังคับจํานองได
3 การเปลี่ยนแปลงขอตกลงในการจํานอง ตองจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่เทานั้น มิฉะนั้นยกขึ้นตอสูบุคคลภายนอกไมได
ข้อสังเกต
/) ความหมายของ “ลูกหนี”9 ในมาตรา ZRR หมายถึงลูกหนีช9 ัน9 ต้นหรือ
ลูกหนีใ9 นหนีป9 ระธาน เพราะไม่ว่ากรณีทAีลกู หนีจ9 าํ นองทรัพย์สินเพืAอประกันหนี 9
ตนเองหรือผูจ้ าํ นองจํานองทรัพย์สินเพืAอเป็ นประกันการชําระหนีข9 องบุคคลอืAน
ความรับ ผิ ด ตามสัญ ญาจํา นองก็ จ าํ กัด อยู่เ พี ย งเฉพาะทรัพ ย์สิ น ทีA ต นนํา มา
จํานองหรือตราไว้แก่ผรู้ บั จํานองตามมาตรา Z1O เท่านัน9 นัAนคือ มาตรา ZRR นี 9
ใช้บงั คับทัง9 กรณีทAีลกู หนีเ9 ป็ นผูจ้ าํ นองเองหรือบุคคลอืAนจํานอง กล่าวคือไม่ว่า
ลูกหนีจ9 ะเป็ นผูจ้ าํ นองเอง หรือมีบคุ คลอืAนจํานองทรัพย์สนิ เป็ นประกันของลูกหนี 9
เมืAอมีการบังคับจํานองตามมาตรา ZOh,ZO\ แล้วหนีข9 าดอยู่เท่าใด ลูกหนีก9 ็ไม่
ต้องรับผิดในจํานวนเงินทีAขาดอยู่
ข้อสังเกต (ต่อ)

2) การบังคับจํานองทีAลกู หนีไ9 ม่ตอ้ งรับผิดในเงินส่วนทีAขาดนัน9 หมายถึง


การบังคับจํานองตามมาตรา ZOh , ZO\ หรือ ZR< แต่การทีAผจู้ าํ นองเข้าชําระ
หนีแ9 ทนลูกหนีต9 ามมาตรา ZOY หรือการทีAผรู้ บั โอนทรัพย์สินทีAจาํ นองใช้สิทธิไถ่
ถอนตาม มาตรา ZRc , ZRh หรื อ การทีA ผู้จ าํ นองโอนทรัพ ย์จ าํ นองตี ใ ช้ห นี 9
บางส่วน ไม่ใช่การบังคับจํานอง ลูกหนีย9 งั คงต้องรับผิดในส่วนทีAขาด
R) การบังคับจํานองต้องเสร็จสมบูรณ์ การบังคับจํานองทีAจะมีผลทําให้
ลูกหนี พ9 น้ ความรับผิ ด ในหนี ท9 Aี ยังขาดจํา นวนจะต้องเป็ นการบังคับจํา นองทีA
สมบูรณ์แล้วคือมีการฟ้องคดียดึ ทรัพย์สินทีAจาํ นองและขายทอดตลาดแล้ว (ใน
กรณีบงั คับจํานองตามมาตรา ZOh) ลูกหนีจ9 ึงจะพ้นความรับผิด ถ้าการบังคับ
จํานองยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ลูกหนีย9 งั ไม่พน้ ความรับผิด
ข้อสังเกต (ต่อ)
Y) มาตรา ZRR ไม่ใช่บทบัญญัติอนั เกีAยวด้วยความสงบเรียบร้อยดังนัน9
คูส่ ญ ั ญาจึงอาจตกลงกันเป็ นอย่างอืAนได้คือตกลงกันว่า ถ้าบังคับจํานองแล้ว
ไม่พอชําระหนี 9 ลูกหนีย9 งั คงต้องรับผิดในหนีท9 Aีเหลือ ข้อตกลงนีใ9 ช้บงั คับกันได้
และข้อตกลงนีอ9 าจจะตกลงกันในสัญญาจํานองหรือในสัญญาอีกฉบับหนึAงก็
ได้
<) เนืAองจากข้อตกลงทีAให้ผูจ้ าํ นองต้องรับผิดในเงินส่วนทีAขาดอยู่ซAึง
เป็ นข้อยกเว้นมาตรา ZRR เป็ นความตกลงนอกเหนือไปจากทีAกม.กําหนดไว้
ดังนัน9 ในการมอบอํานาจให้บุคคลไปทําสัญญาจํานองแทน หากผูร้ บั มอบ
อํานาจทําสัญญาจํานองและมีขอ้ ตกลงยกเว้นมาตรา ZRR โดยมิได้รบั มอบ
อํานาจจากผูจ้ าํ นอง การนัน9 ย่อมไม่ผลผูกพันผูจ้ าํ นองซึAงเป็ นตัวการ แต่ถา้
ผูร้ บั มอบอํานาจได้รบั มอบอํานาจ ข้อตกลงยกเว้นมาตรา ZRR ย่อมมี ผล
ผูกพันผูม้ อบอํานาจ
เ"อ$น& ๑ มกราคม ๒๕๖0นาย1น2ไ456ญญา8เ9นนายห;ง =กรวาล @นวน๑,000,000บาท ดอกเDย
EอยละGบHาIอJ โดยตกลงMระหN$น& ๓๑ Pนวาคม ๒๕๖๐ 6ญญา8RSอความTา “Sอห;ง การ8Uม
คVงNนาย1น2@นองโฉนด&XนYงRราคาตามZองตลาด ๒,000,000บาท 5เ[นห\ง]อและจดทะเ`ยน
เaอประ1นการMระหN
Sอสอง หากหNdงeหนดMระ แIนาย1น2ไfสามารถMระหN นาย1น2hนยอมใHนายห;ง =กรวาลไ4
กรรมGทj&Xน&@นอง โดยนายห;ง=กรวาลไfkองlองคmIอศาลเaอขายทอดตลาด พEอม1บมอบใบ
มอบqนทะโอนกรรมGทjrานใHแsนายห;ง=กรวาล 5ใHนายห;ง=กรวาลสามารถโอนกรรมGทj&Xน
ไ4ในtนu&นาย1น2ไfMระหN” IอมาหNdงeหนดนาย1น2ไfสามารถMระหN นาย1น2ขอโฉนด
&Xนvน แIนายห;ง=กรวาลwางTาตนRกรรมGทxในด&Xน นาย1น2มาปyกษา{านTา
1.Sอตกลง&eหนดใHนายห;ง=กรวาลสามารถโอนกรรมGทj&Xนไ4ในtนu&นาย1น2ไfMระหN|นR
ผล~ง•บใ€ไ4ห•อไf เพราะเห‚ใด
2. หากนาย1น2จะRGทxแƒงห\ง]อใHนายห;งจะกรวาลขายทอดตลาด&XนโดยไfkองlองคmIอศาล
ไ4ห•อไfเพราะเห‚ใด
„งN{านจะแนะ…นาย1น2Tาอ†างไรเพราะเห‚ใด

คําตอบ ประการที่หนึ่ง เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวาวันที1


่ มกราคม 2560 นายกันตไดทําสัญญากูเงินนายหนึ่ง จักรวาล
จํานวน1,000,000บาทและคิดดอกเบี้ยรอยละสิบหาตอป โดยกําหนดชําระหนี้31 ธันวาคม 2560 โดยนายกันตจํานองที่ดิน
ของตนเพื่อประกันหนี้ และทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตามมาตรา 714 และมีการตกลงใหนายหนึ่งไดกรรมสิทธิ์กอนหนี้ถึง
กําหนดชําระ ถาไมชําระหนี้ใหผูรับจํานองเขาเปนเจาของกรรมสิทธิ์ที่ดินที่จํานอง ขอตกลงไมสมบูรณตามมาตรา 711 ประการที่
สอง ในเวลาหลังหนี้ถึงกําหนดชําระ และไมมีจํานองหรือบุริมสิทธิอื่นที่ไดจดทะเบียนเหนือทรัพยสินเดียวกัน นายกันตผูจํานองมี
สิทธิแจงเปนหนังสือไปยังนายหนึ่งดําเนินการใหมีการขายทอดตลาดโดยไมตองฟองคดีตอศาลโดยนายหนึ่งตองขายทอด
ตลาดภายในหนึ่งปนับแตวันที่ไดรับหนังสือตามมาตรา 729/1วรรคหนึ่ง ใหถือวาหนังสือแจงเปนหนังสือยินยอมใหขายทอด
ตลาดและหากนายหนึ่งไดรับหนังสือรองขอจากนายกันตแลวแตไมดําเนินการขายทอดตลาดภายในเวลาหนึ่งปนับแตวันที่ไดรับ
หนังสือแจง นายกันตหลุดพนจากหนี้อุปกรณที่เกิดหลังเวลาที่กฎหมายกําหนดตามมาตรา 729/1วรรคสอง
การจํานองทรัพย์ สินหลายสิ6 ง มาตรา 734

•หลักเกณฑ์วรรคแรก : บังคับจํานองเอากับทรัพย์หลายสิ* งโดยไม่ระบุลาํ ดับ

1. ผูร้ ับจํานองจะใช้สิทธิของตนบังคับแก่ทรัพย์สินนัKนทัKงหมด หรื อ เพียง


บางสิ* งก็ได้ คือ สามารถเลือกจะบังคับเอากับทรัพย์ทK งั หมดที*นาํ มาจํานอง
หรื อ บังคับเอากับทรัพย์บาง ชิKนที*นาํ มาจํานองก็ได้ แต่ไม่สามารถบังคับเอา
กับทรัพย์สิ*งใดสิ* งหนึ*งแต่เพียงบางส่ วน ได้ หมายความว่า หากจะบังคับเอา
กับทรัพย์สิ*งใดก็ตอ้ งบังคับเอากับทรัพย์ทK งั ชิKนนัKน เช่น มีทรัพย์ที*นาํ มาจํานอง
เป็ นที*ดิน ] แปลง ก็ตอ้ งบังคับจํานองที*ดินทัKงแปลงจะ บังคับเฉพาะที*ดิน
บางส่ วนหาได้ไม่
การจํานองทรัพย์ สินหลายสิ6 ง มาตรา JKL

^. การบังคับจํานองกรณี ทรัพย์สินที*จาํ นองมีหลายสิ* งนัKน ห้ามไม่ให้บงั คับ


เอากับทรัพย์สิน เกินกว่าที*จะนํามาใช้หนีK เช่น ก น าที*ดินมาจํานองประกัน
หนีKเงินกูจ้ าก ข โดยมี ค น า ที*ดินมาประกันการชําระหนีKรายนีKดว้ ย และ ง
นําบ้านมาจํานองประกันการชําระหนีK รายนีKเช่นกัน กรณี นK ีหาก ข จะบังคับ
จํานองก็สามารถบังคับจํานองบ้าน และ ที*ดิน ทัKงหมดไปพร้อมกันได้ หรื อ
จะเลือกบังคับเอาทรัพย์อย่างใดอย่างหนึ*ง แล้วเมื*อไม่พอก็ บังคับเอากับ
ทรัพย์อย่างอื*นต่อได้แต่ถา้ บังคับเอากับทรัพย์ชิKนใดชิKนหนึ*งแล้วพอกับ การ
ชําระหนีKกไ็ ม่สามารถบังคับเอากับทรัพย์ชิKนอื*นที*จาํ นองประกันการชําระ
หนีKได้อีก
การจํานองทรัพย์ สินหลายสิ6 ง มาตรา JKL
ใชสิทธิบังคับจํานองพรอมกัน

•หลักเกณฑ์วรรคที* ^ : การกระจายภาระหนีK

1. กรณี ไม่ได้มีการระบุจาํ นวนว่าทรัพย์สินชิKนใดรับภาระหนีKเท่าใด


ให้มีการกระจายภาระ หนีKตามเงินที*ได้มาจากการขายทอดตลาดแห่งทรัพย์
แต่ละสิ* งนัKน ทรัพย์ใดขาย ทอดตลาดได้เงินสุ ทธินอ้ ยก็รับภาระหนีKนอ้ ย
ทรัพย์ใดขายทอดตลาดได้เงินสุ ทธิมากก็ รับภาระมาก ข้อสังเกต หากเงิน
ได้สุทธิของทรัพย์สินนัKนพอดีกบั หนีK หรื อ น้อยกว่าหนีK ไม่ตอ้ งมีการ
กระจายภาระหนีKแต่อย่างใด เพราะ ต้องนําเอาเงินทัKงหมดไปชําระหนีKอยู่
แล้ว
การจํานองทรัพย์ สินหลายสิ6 ง มาตรา JKL
เช่น ก กูเ้ งิน ข เป็ นจํานวน ] ล้านบาท โดยมี ค นําที*ดินมาจดทะเบียนจํานอง
ประกันการชําระหนีKและ มี ง นําบ้านของตนมาจํานองประกันการชําระหนีK
ต่อมามี การขายทอดตลาดทรัพย์สินทุกอย่างพร้อม ๆ กัน โดยขายที*ดินได้เป็ น
เงินสุ ทธิ ` แสน a หมื*นบาท ขายบ้านได้เงินสุ ทธิจาํ นวน a แสนบาท ดังนัKนจะได้
เงินรวมทัKงสิK น ] ล้าน ^ แสน a หมื*นบาท ซึ*งเกินกว่าจํานวนหนีKเงินกู้
กรณีเช่ นนีจ@ งึ ต้ องมีการกระจายภาระหนี@
เงินรวม ],^ac,ccc บาท เพื*อชําระหนีK],ccc,ccc โดยที*ดินขายได้เป็ นเงินสุ ทธิ
`ac,ccc บาท (ต่อ)
ตองกระจายตามภาระแหงหนี้ เพราะการขายทอดตลาด เอาบานกับที่ดินรวมกันมีเงินเหลือ ตองใชสูตร ราคาทรัพยแตละสิ่ง x จํานวนหนี้
ราคาทรัพยทั้งหมด
ออ °
ของ
ๆ 50.000×1,0
การจํานองทรัพย์ สินหลายสิ6 ง มาตรา JKL
60 ˆ ooo

p 1,250,00 o

ดังนัน9 ภาระหนีท9 AีทAีดนิ ต้องรับ = Z<1,111//,O<1,111 x 1,000,000 =


600,000 บาท
จึงต้องคืนเงินจํานวน /<1,111 บาท แก่ ค
เงินรวม /,O<1,111 บาท เพืAอชําระหนี 9 /,111,111 บาท โดยบ้านขายได้เป็ นเงิน
สุทธิ <11,111 บาท
ดังนัน9 ภาระหนีท9 Aีบา้ นต้องรับ = <11,111//,O<1,111 x 1,000,000 =
400,000 บาท จึงต้องคืนเงินจํานวน /11,111 บาท แก่ ง
การจํานองทรัพย์ สินหลายสิ6 ง มาตรา JKL

2. กรณี มีการระบุจาํ นวนเงินที*จาํ นองไว้กบั ทรัพย์เฉพาะสิ* งแล้ว ก็ให้


กระจายภาระหนีKตาม ส่ วนของเงินที*ระบุแก่ทรัพย์นK นั ( ดังนัKนหากขายทอดตลาด
แล้วได้ไม่เต็มจํานวนที* ประกันการชําระหนีKไว้กไ็ ม่สามารถเรี ยกเกินกว่าเงินที*ได้
จากการขายทอดตลาดมา) เช่น ก กูเ้ งิน ข จํานวน ] ล้านบาท ค จ านองที*ดินโดย
กําหนดไว้ในสัญญาว่าจํานอง ประกันหนีKจาํ นวน ` แสนบาท ส่ วน ง น าที*ดินมา
จํานองประกันหนีKจาํ นวน e แสน บาท เมื*อบังคับจํานองขายที*ดินได้เงินสุ ทธิ
จํานวน `ac,ccc บาท และ เมื*อบังคับ จํานวนที*ดินของ ง ได้เงินเป็ นจํานวน
^cc,ccc บาท ดังนีKจะได้รับเงินจาก ค จํานวน ` แสน และ ค ได้รับเงินคืน ac,ccc
บาท และ ได้รับเงินจาก ง จํานวน ^cc,ccc บาท โดยส่ วนที*เหลือ ]cc,ccc บาท
ไม่สามารถเรี ยกได้อีกไม่วา่ จะกับผูจ้ าํ นอง หรื อ ลูกหนีKชK นั ต้นก็ตาม
การจํานองทรัพย์ สินหลายสิ@ ง มาตรา O\]
ทรัพยที่บางสิ่งที่จํานองเปนประกันหนี้ของเจาหนี้ มีจํานองรายอื่นดวย เลยตอองบังคับจํานอง แตใหผูรับจํานองคนที่ 2 สามารถรับชวงสิทธิของผูรับจํานองคนที่ 1 ได

•หลักเกณฑ์วรรคที* e : การเข้ารับช่วงสิ ทธิของผูร้ ับจํานองคนก่อน


1. กรณี มีทรัพย์สินที*จาํ นองมีหลายสิ* ง ไม่ได้ระบุลาํ ดับ ผูร้ ับ
จํานองใช้สิทธิบงั คับจํานองกับ ทรัพย์สินสิ* งใดสิ* งหนึ*งเพียงสิ* งเดียว และ
ทรัพย์สิ*งนัKนติดจํานองซ้อน
ดํา กูเงินแดง 1 ลาน ดําจํานองที่ดิน เขียวก็จํานองบาน ดํากูเงินขาว ก็ิเอาที่ดินแปลงเดียวกับที่จํานองกับแดงมาจํานองกับขาว (จํานองซอน) เมื่อหนี้ถึงกําหนด แดงผูรับจํานองคนแรกมีสิทธิบังคับ
จํานองทั้งที่ดินของดํา และบานของเขียว แทนที่แดงจะบังคับกับที่ดินอยางเดียวแลวขายทอดตลาด แตวาแดงบังคับจํานองทั้งบานและที่ดิน ขาวผูรับจํานองลําดับที่ 2 ปกติจะไมมีสิทธิไดรับชําระ
หนี้จากที่ดินที่ตนรับจํานอง เพราะไมเหลือแลว แตม.734 ว.3 ใหขาวสามารถรับชวงสิทธิของแดงไปบังคับจํานองได > ขาวรับชวงสิทธิของแดงบังคับจํานองบานได เหมือนกับที่แดงมีสิทธิ
บังคับจํานองบานและที่ดินพรอมกัน แดงบังคับจํานองบานไดเงิน 250,000 ก็ตองเอา 1,000,0000 x 250,000 = 200,000 ที่ขาวจะรับชวงสิทธิได

^. ผูร้ ับจํานองที*จดทะเบียนคนแรกสามารถให้ทรัพย์สิ*งนัKนชําระ
1,250,0000

หนีKทK งั หมดของตนก็ได้ (หมายความว่าเงินสุ ทธิที*ได้มานําไปชําระหนีK


ของผูร้ ับจํานองคนแรกทัKงหมดทําให้ ผูร้ ับ จํานองลําดับถัดมาไม่สามารถ
เข้าบังคับจํานองได้อีกต่อไป จํานองซ้อนจะเข้ามาตรา `]c)
การจํานองทรัพย์ สินหลายสิ@ ง มาตรา O\]
e. ผูร้ ับจํานองลําดับถัดไป (จํานองซ้อน) ในทรัพย์สิ*งนัKน สามารถเข้ารับ
ช่วงสิ ทธิของผูร้ ับ จ านองคนก่อน และ จะเข้าบังคับจํานองแทนที*ได้
เพียงเท่าจํานวนซึ* งผูร้ ับจํานองคน ก่อนจะได้รับจากทรัพย์อื*น ๆ ที*จาํ นอง
ตามบทบัญญัติวรรคก่อนนัKน (ก็คือวรรค ^ ) สังเกตว่าการเข้ารับช่วงสิ ทธิ
นีKเป็ นผลทางกฎหมาย เนื*องจากผูร้ ับจํานองลําดับถัดไป ไม่ได้รับจํานอง
ทรัพย์สินอื*น นอกจากที*ได้ถูกบังคับจํานองไปแล้ว
3.1 ต้องคิดว่าหากขายทอดตลาดทรัพย์สินทุกสิ* งพร้อมกันจะได้
เงินสุ ทธิเป็ น จํานวนเท่าใด และ ทรัพย์สิ*งที*เหลือจะรับภาระหนีKเป็ น
จํานวนเท่าใด
3.2เมื*อพิจารณาคํานวณภาระหนีKตาม e.] ได้ จะเป็ นจํานวนเงินที*
ผูร้ ับจํานอง ลําดับหลังจะเข้ารับช่วงสิ ทธิได้ โดยเข้าบังคับจํานองได้เท่าที*
ตนเองสามารถ รับช่วงสิ ทธิได้
การจํานองทรัพย์ สินหลายสิ@ ง มาตรา O\]

เช่น นาย ก กูเ้ งินนาย ข จํานวน ] ล้านบาท โดยนาย ก เอาที*ดิน


ตนเองมาจํานองเป็ น ประกันหนีKเงินกู้ และ มีนาย ค น าบ้านของตนมา
ประกันหนีKเงินกูร้ ายเดียวกันนีKดว้ ย ต่อมา ภายหลังนาย ก ได้ไปกูย้ มื เงิน
จากนาย ง อีกเป็ นจํานวน g แสนบ้าน โดยนําที*ดินผืน เดียวกันกับที*
ประกันหนีKเงินกูก้ บั ข มาจํานองเป็ นประกันการชําระหนีK

จะเห็นได้วา่ หนีKเงินกูร้ ะหว่างนาย ก และ นาย ข เป็ นหนีKรายเดียว


มีทรัพย์ที*จาํ นองหลายสิ* ง คือ ที*ดินของ ก และ บ้านของ ค ส่ วน หนีKเงินกู้
ระหว่างนาย ก และ นาย ง เป็ นทรัพย์สิ*ง เดียวจํานองประกันหนีKหลาย
เปนทรัพยสิ่งเดียวกับที่ติดจํานองรายแรกไวอยูแลว

ราย คือ ทรัพย์ของนาย ก ประกันหนีK ของ ก กับ ข และ ก กับ ง


การจํานองทรัพย์ สินหลายสิ@ ง มาตรา O\]

เมื*อหนีKของ ก และ ข ถึงกําหนดชําระ นาย ข เจ้าหนีK และ ผูร้ ับ


จํานอง สามารถบังคับเอากับ ทรัพย์สิ*งใดสิ* งหนึ*ง (ที*ดิน หรื อ บ้าน) หรื อ
ทุกสิ* งพร้อมกัน (ที*ดิน และ บ้าน) กรณี ตาม วรรค e นีK เป็ นกรณี ที*นาย ข
บังคับเอากับทรัพย์สิ*งเดียวที*มีจาํ นองซ้อน ได้แก่ ที*ดิน
หากนาย ข บังคับจํานองเอากับที*ดินอย่างเดียว ได้เงินจํานวน ]
ล้านบาท ซึ*งตามมาตรา `eg วรรค e นาย ข สามารถนําเงินจํานวนนีK
ชําระหนีKตนเพียงคนเดียวจนหมดได้ ทําให้ ผูร้ ับจํานองรายหลังไม่
สามารถได้รับชําระหนีKกบั ทรัพย์ที*ดินดังกล่าวได้ และ ก็ไม่อาจจะบังคับ
เอากับบ้านได้ เพราะ ไม่ได้เป็ นผูร้ ับจํานองในทรัพย์รายนัKน
การจํานองทรัพย์ สินหลายสิ@ ง มาตรา O\]

ดังนัKนมาตรา `eg ในวรรคที* e จึง ให้สิทธิในการรับช่วงสิ ทธิใน


การจํานอง ของผูร้ ับจํานอง รายหลัง คือ ง ที*จะไปบังคับจํานองเอากับ
บ้านของ ค ซึ*งเป็ นทรัพย์ที* ข (ผูร้ ับจํานองคนก่อน ง มีสิทธิบงั คับจํานอง
ได้) เท่าที*ตนเองมีสิทธิ ซึ*งหมายความว่า “หาก” ข บังคับจํานองทรัพย์
ทุกสิ* งพร้อมกัน (ตามวรรค ^ ) ทรัพย์สิ*งที*เหลือนัKนจะรับภาระหนีKเท่าใด
ก็เป็ นส่ วนที*ผรู ้ ับ จ านองคนก่อน (ข) ควรจะได้ และ ตัวของ ง ผูร้ ับ
จํานองคนหลังจะได้รับช่วงสิ ทธิตามจํานวน ดังกล่าวไป
การจํานองทรัพย์ สินหลายสิ@ ง มาตรา O\]
กรณี ตามปั ญหา ข ได้บงั คับจํานองเอากับที*ดินแล้ว และ ขาย
ทอดตลาดได้เงินสุ ทธิ ] ล้าน บาท พอดีกบั หนีKของตน จึงนําไปชําระหนีK
ของตนทัKงหมดก่อน มีผลให้นาย ง ไม่ได้รับชําระ หนีKจากที*ดินนัKน แต่
อาศัยอํานาจของมาตรา `eg วรรค e นาย ง สามารถรับช่วงสิ ทธิไป
บังคับจํานองเอากับทรัพย์อื*นที*อยูภ่ ายใต้การบังคับจํานองของนาย ข ได้
เท่าที*นาย ข มีสิทธิ
หมายความว่า “ต้องคํานวณว่าหาก ข บังคับจํานองทรัพย์ทุกสิ* งพร้อมกัน
ทรัพย์แต่ละสิ* งจะ รับภาระหนีKเท่าใด” หาก ข บังคับทรัพย์จาํ นองทรัพย์
ทุกสิ* ง ได้แก่ ที*ดิน และ บ้าน โดย บังคับจํานองบ้านได้เงิน ^ac,ccc บาท
โดยบังคับพร้อม ๆ กัน ได้เงินสุ ทธิมาจํานวน ],^ac,ccc บาท เพื*อชําระ
หนีKของ ข ] ล้านบาท
ท‰พŠ แIละ ‹ง
หN
การจํานองทรัพย์ สินหลายสิ@ ง มาตรา O\]
x @นวน
ราคา
ราคา ท‰พŠ Œงหมด

250,000 1,000,000
=

1 า 250,000

เท่ากับว่าบ้านรับภาระการกระจายหนีKเป็ นเงิน ^ac,ccc/],^ac,ccc x


1,000,000 = 200,000 บาท เพราะฉะนัKนสิ ทธิของ ข ที*จะบังคับ
จํานองเอากับบ้านของ ค เป็ นเงิน ^ แสน เมื*อพิจารณาประกอบมาตรา `eg
วรรคท้าย จึงพบว่า ง สามารถรับช่วงสิ ทธิบงั คับจํานองเอา กับทรัพย์สิ*งอื*น
ที*อยูภ่ ายใต้การบังคับจํานองของ ข ได้เท่าที* ข จะมีสิทธิหากมีการบังคับ
จํานอง ทรัพย์ทุกสิ* งพร้อมกันตาม วรรค ^ นัน* เอง คือ ^ แสนบาท นัน* เอง
(ดังนัKนหากมีการ กําหนดจํานวนการรับภาระหนีKไว้ก่อนแล้ว ก็เป็ นไปตาม
ตัวเลขที*กาํ หนดในสัญญาจํานอง ตาม วรรค ^ อีกเช่นกัน)
เมื*อการรับช่วงสิ ทธินK ีเป็ นผลทางกฎหมายผูร้ ับจํานองลําดับหลังจึงสามารถ
รับช่วงสิ ทธิของผูร้ ับ จ านองคนแรกได้ไม่วา่ จะมีขอ้ ตกลงในการรับช่วง
สิ ทธิหรื อไม่กต็ าม
9.ผู้รับโอนทรัพย์สนิ ทีจI าํ นอง
สัญญาจํานองเป็ นการนําทรัพย์สินไปเป็ นประกันการชําระ
หนีกM รรมสิทธิxในทรัพย์สินที>จาํ นองยังคงเป็ นของผูจ้ าํ นอง ดังนันM
ในระหว่างสัญญาจํานอง ผูจ้ าํ นองย่อมโอนทรัพย์สินที>จาํ นองให้
บุคคลอื>นได้ แต่ทงัM นีผM รู้ บั โอนทรัพย์สินนันM ต้องผูกพันตามสัญญา
จํานองด้วย เพราะได้มีการจดทะเบียนจํานองไว้แล้ว
ผูร้ บั โอนทรัพย์สินซึ>งจํานองจะไถ่ถอนจํานองก็ได้ ถ้าหาก
มิได้เป็ นตัวลูกหนีหM รือผูค้ าMํ ประกัน หรือเป็ นทายาทของลูกหนีหM รือ
ผูค้ าMํ ประกัน โดยผูร้ บั โอนจะไถ่ถอนจํานองเมื>อใดก็ได้ แต่ถา้ ผูร้ บั
จํา นองได้บ อกกล่ า วว่ า จะบัง คับ จํา นอง ผู้ร ับ โอนต้อ งไถ่ ถ อน
ภายใน 1 เดือน นับแต่วนั ที>รบั คําบอกกล่าว (มาตรา g&o)
ผูร้ บั โอนซึง> ประสงค์จะไถ่ถอนจํานองต้องบอกความประสงค์
นันM แก่ผเู้ ป็ นลูกหนีชM นัM ต้น และต้องส่งคําเสนอไปยังบรรดาเจ้าหนี M
ที>ได้จดทะเบียน ไม่วา่ ในทางจํานองหรือประการอื>นว่าจะรับใช้
เงินให้เป็ นจํานวนสมควรกับราคาทรัพย์สนิ นันM เมื>อเจ้าหนี M
ทังM หลายได้สนองรับคําเสนอทุกคนแล้ว จํานองนันM ก็เป็ นอันไถ่
ถอน แตการไถถอจํานองก็เปนสิทธิของเจาหนี้ผูรับจํานองวาจะรับ/ไมรับ
1 มกราคม 2564 นายจันทรกูเงินนายอังคาร 2,000,000บาท หนี้ถึงกําหนด 31 ธันวาคม 2564 โดยมีนายพุธ
จํานองที่ดินราคา 5,000,000 เพื่อประกันหนี้ และมีนายพฤหัสจํานองเรือราคา 3,000,000 เพื่อประกันหนี้ราย
เดียวกันโดยมิไดระบุลําดับและเมื่อหนี้ถึงกําหนด นายจันทรไมชํารหนี้ นายอังคารบังคับจํานองที่ดินและเรือโดย
ขายทอดตลาดที่ดิน 4,000,000 และขายทอดตลาดเรือ2,000,000 ดังนี้นายอังคารมาปรึกษาทานซึ่งเปนผู
เชี่ยวชาญดานกฎหมายวาายอังคารมีสิทธิจะไดรับชําระหนี้จากที่ดินและเรือกี่บาท โปรดแสดงวิธีคํานวณ และนาย
อังคารจะตองคืนเงินที่เหลือใหแกนายพุธและนายพฤหัสกี่บาทเพราะเหตุใด

กลุม 8 เงินรวมจากการขายทอดตลาด 6,000,000 บาท จํานวนหนี้ทั้งหมด 2,000,000 บาท ดังนั้น


ที่ดิน 4,000,000/6,000,000 x 2,000,000 = 1,333,333.33
จึงตองคืนเงินจํานวน 4,000,000 - 1,333,333.33 = 2,666,666.67 บาทใหแก นายพุธ
เรือ 2,000,000/6,000,000 x 2,000,000 = 666,666.67
จึงตองคืนเงินจํานวน 2,000,000 - 666,666.67 = 1,333,333.33 บาทใหแก นายพฤหัส

กลุมที่ 3
กรณีตามปญหาเปนการจํานองทรัพยสินหลายสิ่ง นายอังคาร ผูรับจํานองสามารถบังคับแกทรัพยสินทั้งหมดหรือ
เพียงบางสิ่งก็ได แตจะไมสามรถบังคับบางสวนได เมื่อนายอังคารเลือกที่จะบังคับจํานองทั้งที่ดินและเรือ ซึ่งมี
มูลคารวมไมเกินกวาทรัพยสินที่นํามาใชหนี้ โดยการขายทอดตลาด ไดที่ดินราคา 4 ลานบาท และเรือราคา 2
ลานบาท รวมสุทธิราคาทรัพยที่ขายทอดตลาดไดทั้งหมด 6 ลานบาท เมื่อเปนการจํานองที่ไมไดระบุลําดับ จึง
ตองกระจายภาระหนี้ โดยคํานวณไดจาก (ราคาทรัพยสินแตละสิ่ง x จํานวนหนี)้ / ราคาทรัพยทุกสิ่งที่ชายทอด
ตลาด ไดดังนี้ 1. ภาระหนี้ที่ดินที่ตองรับ = (4,000,000/6,000,000) x 2,000,000 = 1,333,333.33 จึง
ตองคืนเงินจํานวน 4,000,000 – 1,333,333.33 = 2,666,666.67 บาท แกนายอังคาร 2. ภาระหนี้เรือที่ตอง
รับ = (2,000,000/6,000,000) x 2,000,000 = 666,666.67 บาท จึงตองคืนเงินจํานวน 2,000,000 –
666,666.67 = 1,333,333.33 บาท แกนายพฤหัส ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 734 วรรค
แรกและวรรคสอง
10. ความระงับสิน3 ไปของสัญญาจํานอง
สัญญาจํานองอาจจะระงับเพราะมีเหตุการณ์ ดังต่อไปนี M
(1) เมื>อหนีทM >ีประกันระงับสินM ไปด้วยเหตุประการอื>นใดไม่ใช่เหตุ
อายุความ
(2) เมื>อปลดจํานองให้แก่ผจู้ าํ นองด้วยหนังสือเป็ นสําคัญ
(3) เมื>อผูจ้ าํ นองหลุดพ้น
(4) เมื>อถอนจํานอง
(5) เมื>อขายทอดตลาดทรัพย์สนิ ซึง> จํานองตามคําสั>งศาลอัน
เนื>องมาแต่การบังคับจํานองหรือถอนจํานอง หรือมีการขาย
ทอดตลาดทรัพย์สนิ ตามมาตรา 729/1
(6) เมื>อเอาทรัพย์สนิ ซึง> จํานองนันM หลุด
ข้อสังเกต
%) หนีปM ระธานระงับ
เหตุท>ีทาํ ให้หนีรM ะงับมี c กรณี คือ ชําระหนี,M ปลดหนีมM าตรา
&fj หักกลบลบหนี มM าตรา &f%-&fV,แปลงหนี ใM หม่มาตรา &f'-
&cU,หนีเM กลื>อนกลืนกันมาตรา &c& หนีจM าํ นองจะระงับสินM ไปตาม
มาตรา gff (%) เมื>อมีการชําระหนีปM ระธานครบถ้วน ในกรณีจาํ นอง
ประกันหนีปM ระธานบางส่วน ผูจ้ าํ นองอาจขอรับชําระหนีเM ฉพาะตาม
ความรับผิดของตนและเจ้าหนีตM อ้ งปลดหนีจM าํ นองให้ตามมาตรา
744 (2) หนีปM ระธานขาดอายุความไม่ทาํ ให้จาํ นองระงับ
ข้อสังเกต (ต่อ)
U) ปลดจํานอง
การปลดจํา นอง คื อ การที> เ จ้า หนี Mแ สดงเจตนาว่ า ไม่
ต้องการเอาทรัพย์สินนันM เป็ นหลักประกันหนีอM ีกต่อไป การปลด
จํานองต้องทําเป็ นหนังสือลงลายมื อชื> อผูร้ บั จํานอง เมื> อปลด
จํานองแล้วเฉพาะหนีจM าํ นองเท่านันM ที>ระงับไปตามมาตรา gff
(U) ส่ ว นหนี ปM ระธานยัง อยู่ แต่ ห ากเจ้า หนี ปM ลดหนี ใM ห้ลูก หนี M
ชัMนต้นแล้ว หนี ปM ระธานระงับไปตามมาตรา &fj จํานองย่อม
ระงับไปด้วยตามมาตรา gff (%) การปลดจํานองต้องทําเป็ น
หนังสือทุกกรณีโดยไม่ตอ้ งคํานึงว่าหนีปM ระธานเป็ นหนีอM ะไร
ข้อสังเกต (ต่อ)
&) ผูจ้ าํ นองหลุดพ้น หมายถึง หลุดพ้นตาม มาตรา gUg คือ
บุคคลคนเดียวจํานองทรัพย์สินแห่งตนเพื>อประกันหนีอM นั บุคคลอื>น
ต้องชําระโดยให้นาํ มาตรา o'g , gjj และ gj% ว่าด้วยคําM ประกัน
มาใช้บงั คับโดยอนุโลม
4) ถอนจํานอง หมายถึง การที>ผรู้ บั โอนทรัพย์สินที>จาํ นองขอ
ไถ่ถอนจํานองโดยเสนอจะใช้ราคาอันสมควรกับทรัพย์จาํ นองตาม
มาตรา g&V
5) เมื> อขายทอดตลาดทรัพย์สินที>จาํ นอง ตามมาตรา gUV
หรือ มาตรา g&c
6) เมื>อเอาทรัพย์จาํ นองหลุดเป็ นสิทธิ ตามมาตรา gU'
สัญญาจํานํา
จํานํา คือ สัญญาซึง> บุคคลหนึง> เรียกว่าผูจ้ าํ นํา ส่งมอง
ทรัพย์สนิ สิ>งหนึง> ให้แก่บคุ คลอีกคนหนึง> เรียกว่าผูร้ บั จํานํา เพื>อ
เป็ นประกันการชําระหนี M (มาตรา 747)
1.หลักเกณฑ์ของการจํานํา ผูจํานําตองเปนเจาของทรัพย

สาระสําคัญของการจํานํามีอยู่ 3 ประการ คือ


1) ต้องมีหนีสM นิ ก่อนจึงจะมีจาํ นํา
2) การจํานําเป็ นเพียงการประกันหนี M ประกันหนี้ประธานเทานั้น

3) จะจํานําได้เฉพาะสังหาริมทรัพย์เท่านันM
4) ผูจ้ าํ นําต้องส่งมอบทรัพย์สนิ ที>จาํ นําให้แก่ผรู้ บั จํานํา
ไมสงมอบ = สัญญาจํานําไมบริบูรณ = ไมเกิดสิทธิหนาที่ตอกัน / ผลผูกพันทางกม.
ข้อสังเกต
•การจํานําไม่กฎหมายบังคับว่าต้องทําเป็ นหนังสื อ
•ทรัพย์สินทีPจะจํานําได้มีเฉพาะสังหาริ มทรัพย์เท่านัFน สิ ทธิการ
เช่าอสังหาริ มทรัพย์ไม่ใช่สงั หาริ มทรัพย์ จึงจํานําไม่ได้ ดูฎีกา
2643/2531
•สาระสําคัญของสัญญาจํานําคือ ต้องมีการส่ งมอบ
สังหาริ มทรัพย์ทีPจาํ นําให้ผรู ้ ับจํานํายึดถือไว้ ถ้าทําสัญญาโดย
ระบุวา่ เป็ นการจํานําแต่ไม่ส่งมอบทรัพย์สินนัFนให้ผรู ้ ับจํานําก็
ไม่เป็ นการจํานํา ดูฎีกา 4278/2534, 1441/2505,
2448/2551
ข้อสังเกต

•การจํานําสังหาริมทรัพย์เพื>อประกันหนี M อาจจะประกันหนีขM อง
ตนเองหรือของบุคลอื>นก็ได้ แต่ผจู้ าํ นําต้องเป็ นเจ้าของ
สังหาริมทรัพย์นนัM ถ้าผูท้ >ีไม่ใช่เจ้าของนําของมาจํานํา
ผูท้ >ีเป็ นเจ้าของติดตามเอาคืนได้
ดูฎีกา 1115/2497, 449/2519
2.ขอบเขตของสั ญญาจํานํา
การจํานําเป็ นการประกันการชําระหนีตM น้ เงิน และเป็ น
ประกันต่อสิ>งเหล่านีดM ว้ ย คือ
1) ประกันดอกเบียM ที>เกิดจากหนีนM นัM
2) ประกันค่าสินไหมทดแทน
3) ประกันค่าธรรมเนียมในการบังคับจํานํา
4) ประกันค่าใช้จา่ ยเพื>อรักษาทรัพย์สนิ ที>จาํ นํา ถ้าทรัพย์สนิ
ต้องมีคา่ ใช้จา่ ยดูแลเชน จํานองปลาคราฟ

5) ประกันค่าสินไหมทดแทนอันเกิดจากความชํารุดบกพร่อง
ของทรัพย์สนิ ซึง> ไม่เห็นประจักษ์
3.สิทธิของผู้รับจํานํา
ผูร้ บั จํานํามีสทิ ธิตามกฎหมายดังต่อไปนี 9
1) สิทธิในการทีAจะยึดทรัพย์สนิ ทีAจาํ นําไว้จนกว่าจะได้รบั ชําระหนี(9 ม.758)
2) สิทธิทAีจะเอาดอกผลนิตนิ ยั ชําระหนี 9 (ม.761)
3) มีสิทธิไดรับชดใชคาใชจายอันควรแกการบํารุงรักษาทรัพยที่จํานํา ม.762
4) มีสิทธิไดรับชําระหนี้กอนเจาหนี้อื่น = ผูรับจํานํายอมมีบุริมสิทธิเทากับเจาหนี้บุริมสิทธิ
5) มีสิทธิที่จะเรียกรองเอาจากผูรับประกันภัย เมื่อเกิดภัยแกทรัพยที่จํานํา ม.231

4.หน้าทีข? องผู้รับจํานํา
ผูร้ บั จํานํามีหน้าทีAตามกฎหมายดังต่อไปนี 9
1) เก็บรักษาทรัพย์สนิ ทีAจาํ นําอย่างเช่นวิญzูชน (ม.759)
2) ไม่นาํ เอาทรัพย์สนิ ทีAจาํ นําออกไปใช้เองหรือเอาไปให้บคุ คลภายนอกใช้
(ม.760)
ถาเอาทรัพยที่จํานําไปใหบุคคลภายนอกไปเก็บรักษา โดยที่ผูจํานําไมไดยินยอม = ฝาฝน

ถาเกิดความเสียหายขึ้น แมจะเกิดจากสุดวิสัย ผูรับจํานําก็ตองรับผิดชอบ ถาเอาไปใหคนอื่นเก็บ


5.หน้าทีข? องผู้จาํ นํา
กฎหมายมีหน้าทีAให้ผจู้ าํ นํามีหน้าทีAเสียค่าใช้จา่ ยในการบํารุงรักษา
ทรัพย์สนิ ทีAจาํ นําซึงA ผูร้ บั จํานําได้ใช้จา่ ยไป
6.การบังคับจํานํา
เมืAอลูกหนีไ9 ม่ชาํ ระหนี 9 ผูร้ บั จํานํามีสทิ ธิบงั คับจํานํา คือต้องแจ้งคํา
บอกกล่าวทวงหนีแ9 ละค่าอุปกรณ์ภายในเวลาอันสมควร(มาตรา 764)
เพืAอเปิ ดโอกาสให้ลกู หนีช9 าํ ระหนีใ9 ห้เสร็จสิน9 ไป ในกรณีเช่นนีผ9 จู้ าํ นําอาจ
การไถถอนนี้เปนสิทธิของผูจํานํา วาจะใหหรือไมให
ไถ่ถอนจํานําทําให้ทรัพย์จาํ นํากลับคืนไปหาผูจ้ าํ นํา ซึงA ผูจ้ าํ นํานีอ9 าจจะ
เป็ นลูกหนีด9 ว้ ยหรืออาจจะเป็ นบุคคลทีAสามก็ได้หากลูกหนีไ9 ม่อาจชําระหนี 9
ตามคําบอกกล่าวนัน9 ผูร้ บั จํานําก็มีสทิ ธินาํ ทรัพย์สนิ ทีAจาํ นําออกขาย
ทอดตลาดได้ อนึ่ง ผูรับจํานําตองสงจดหมายบอกกลาวไปยังผูจํานํา บอกเวลาและสถานที่ ซึ่งจะขายทอดตลาดดวย

ขอสังเกต
วิธีบังคับจํานํา มีแคการขายทอดตลาด แตไมมีวิธีเอาทรัพยจํานําหลุดเปนสิทธิของผูรับจํานํา
สิทธิของผูจํานํา
1. ถาเจาหนี้บังคับจํานําไดเงินไมพอชําระหนี้ ผูจํานําไมตองรับผิด แตถาผูจํานําไมตองการถูกบังคับจํานํา สามารถปดปองทรัพยที่
ถูกจํานําไดโดยขอไถถอนจํานํา จําม.724 มาใชโดยนุโลม
2. สิทธิที่จะไดรับเงินคืนจากลูกหนี้

ม.750 กําหนดวิธีการในการจํานําสิทธิซึ่งมีตราสาร 2 ประการ


1. ผูจํานําตองสงมอบตราสงใหแกผูรับจํานํา
และ
2. บอกกลาวเปนหนังสือ แจงการจํานําแกลูกหนี้แหงสิทธิตามตราสาร

ขั้นตอนบังคับจํานํา มาตรา 764 คือ


1. หนี้ประธานถึงกําหนด
2 ผูรับจํานําบอกกลาวเปนหนังสือไปยังลูกหนี้ภายในเวลาอันสมควร
3 ลูกหนี้ไมชําระหนี้
4ผูรับจํานํามีหนังสือบอกกลาวไปยังผูจํานําเพื่อใหโอกาสผูจํานําสูราคา
ข้ อสั งเกต เรื่องจํานนํานี้ ไมใชกับโรงรับจํานํา
(โรงรับจํานํามีพรบ.เฉพาะ)

•เมืPอผูบ้ งั คับจํานํายังไม่บงั คับจํานํา ผูจ้ าํ นําย่อมมีสิทธิไถ้ถอนได้


เสมอ แม้จะพ้นกําหนดเวลาตามสัญญาก็ตาม ดูฎีกา
3697/2528
•ผูร้ ับจํานําอาจนําคดีมาฟ้องต่อศาลอย่างเจ้าหนีFสามัญโดยบังคับ
แก่ทรัพย์สินทัวP ไปของลูกหนีFโดยสละสิ ทธิเหนือทรัพย์สินทีP
จํานําได้ ดูฎีกา 485/2513 3599/2530
เมื0อบังคับจํานําได้เงินจํานวนเท่าใด ผูร้ บั จํานําต้องจัดสรรชําระหนี I
และอุปกรณ์เพื0อให้เสร็จสินI ไป และถ้ายังมีเงินเหลือก็ตอ้ งส่งคืนให้แก่ผู้
จํานําหรือแก่บคุ คลผูค้ วรจะได้เงินนันI แต่ถา้ ได้เงินน้อยกว่าจํานวนค้าง
ชําระลูกหนียI งั คงต้องรับใช้ในส่วนที0ขาดอยูน่ นัI
กม 767.

7.ความระงับสิน3 ไปของสัญญาจํานํา ม 769


.

สัญญาจํานําจะระงับสินI ไปในกรณี ดังต่อไปนี I


(1) เมื0อหนีปI ระธานระงับ
(2) เมื0อผูร้ บั จํานํายอมให้ทรัพย์สนิ ที0จาํ นํากลับคืนไปสูค่ รอบครองของผู้
จํานําตามกฎหมายเป็ นสิ0งจําเป็ นอย่างยิ0งที0ผจู้ าํ นําจะต้องไม่ยดึ ถือ
เอาทรัพย์สนิ ที0จาํ นําไว้ ถ้าหากผูจ้ าํ นําได้กลับเข้าครอบครองที0
จํานําแล้ว การจํานําก็สนิ I สุดลง
กรณีลูกหนี้หลอกลวงเจาหนี้ผูรับจํานําวายืมไปใชงานเลี้ยงรุน แลวจะนํามาคืนให แลวไมยอเอามาคืน = จํานําระงับ
ผูรับจํานํา เอาทรัพยที่จํานําไปฝากไวกับผูจํานํา = สิทธิจํานําระงับ
8.ข้อแตกต่างระหว่างสัญญาจํานองกับสัญญาจํานํา
สัญญาจํานอง สัญญาจํานํา
ได้แก่อสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์ท7ี ได้แก่ สังหาริมทรัพย์เท่านันG
กฎหมายอนุญาตไว้เป็ นพิเศษให้จาํ นองได้

ทรัพย์ท7ีจาํ นองยังอยูใ่ นการครอบครองของผู้ ทรัพย์ท7ีจาํ นําต้องเปลี7ยนมือจากผูจ้ าํ นํามา


จํานอง อยูใ่ นครอบครองของผูร้ บั จํานํา
การจํานองต้องทําเป็ นหนังสือและจดทะเบียน การจํานําต้องส่งมอบทรัพย์ท7ีจาํ นําให้ผรู้ บั
จึงจะสมบูรณ์ จํานําครอบครองเพื7อประกันการชําระหนี G
ดอกผลของทรัพย์ท7ีจาํ นองเป็ นของผูจ้ าํ นอง ดอกผลนิตนิ ยั ของทรัพย์ท7ีจาํ นําเป็ นของ
แต่เมื7อบังคับจํานองแล้วดอกผลเป็ นของผูร้ บั ผูร้ บั จํานําทุกระยะเวลาแต่ตอ้ งนําดอกผล
จํานอง มาชําระหนีสG ว่ นหนึง7
ผูร้ บั จํานองจะบังคับจํานองต้องฟ้องต่อ ไม่ตอ้ งฟ้องศาล ผูร้ บั จํานํา นําทรัพย์สนิ
ศาล ที>จาํ นําขายทอดตลาดได้
คําถาม วันที่ 1 มกราคม 2564 นายเอทําสัญญากูเงินนายบีจํานวน 100,000บาท โดยคิดดอกเบี้ยรอยละสิบหา และได
รับเงินตามสัญญาแลว หนี้ถึงกําหนด 31 ธันวาคม 2564 โดยนายเอนําสรอยทองราคา40,000บาทมอบใหแกนายบีเพื่อ
ประกันหนี้รายนี้ แตไมไดมีการทําสัญญาจํานํา เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2565 จดหมายของนายบีไปถึงนายเอโดยมี
ขอความใหชําระหนี้ 100,000บาทและดอกเบี้ย15,000บาท ใหชําระหนี้ภายในสิบหาวันนับแตไดรับจดหมาย มิฉะนั้นจะ
ดําเนินการขายทอดตลาดสรอยทองโดยไมฟองคดีตอศาล ลงชื่อนายบี นายเออางวา ก สัญญาจํานําไมบริบูรณ เพราะไม
ไดทําสัญญาจํานํา ข นายบีไมมีสิทธิบังคับจํานําเพราะใหเวลาเพียงสิบหาวัน ทําใหการบอกกลาวไมชอบดวยกฎหมาย ค
การบังคับจํานําไมชอบดวยกฎหมายเพราะไมไดฟองคดีตอศาล ดังนี้นายบีมาปรึกษาทานซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญกฎหมาย
ทานจะแนะนํานายบีวาขออางของนายเอฟงขึ้นหรือไมเพราะเหตุมด

คําตอบ ก. สัญญาจํานําไมตองทําเปนหนังสือเมื่อนายเอผูจํานําสงมอบสังหาริมทรัพยใหแกผูรับจํานําเพื่อประกันการชําระหนี้
สัญญาจํานํายอมบริบูรณตามมาตรา 747 ขออางประการที่หนึ่งของนายเอฟงไมขึ้น ข. เมื่อนายบีจะบังคับจํานํา ผูรับจํานําตอง
บอกกลาวเปนหนังสือไปยังลูกหนี้กอนวาใหชําระหนี้และอุปกรณภายในเวลาสิบหาวันเปนเวลาอันสมควรซึ่งกําหนดใหในคํา
บอกกลาวนั้น ถาลูกหนี้ละเลยไมปฏิบัติตามคําบอกกลาว ผูรับจํานําชอบที่จะเอาทรัพยที่จํานําออกขายไดโดยขายทอดตลาด
ตามมาตรา 764วรรคหนึ่งประกอบวรรคสอง ขออางประการที่สองของนายเอฟงไมขึ้น ค. เมื่อนายเอละเลยไมปฏิบัติตามคํา
บอกกลาว นายบีผูรับจํานําชอบที่จะเอาทรัพยที่จํานําออกขายไดโดยไมตองฟองคดีตอศาล แตตองเปนการขายทอดตลาดตาม
มาตรา 764วรรคสอง การกระทําของนายบีจึงเปนการบังคับจํานําชอบดวยกฎหมาย ขออางประการที่สามของนายเอฟงไมขึ้น
สั ญญาฝากทรัพย์
n สัญญาฝากทรัพย์ทวั, ไป (มาตรา 456 – มาตรา 467)
n วิธีการเฉพาะฝากเงิน (มาตรา 46A – มาตรา 46B)

n วิธีการเฉพาะเจ้าสํานักโรงแรม (มาตรา 46H – มาตรา 46I)

1
สั ญญาฝากทรัพย์ ทวั, ไป
n ลักษณะฝากทรัพย์ตามมาตรา 123
“ อันว่ าฝากทรั พย์ นั0น คือ สั ญญาซึ7 งบุคคลหนึ7งเรี ยกว่ า
ผู้ฝาก ส่ งมอบทรั พย์ สินให้ แก่ บุคคลอี กคนหนึ7 ง เรี ยกว่ า
ผู้รับฝาก และผู้รับฝากตกลงว่ าจะเก็บรั กษาทรั พย์ สินนั0น
ไว้ ในอารั กขาแห่ งตนแล้ วจะคืนให้ ”

2
ลักษณะของสั ญญาฝากทรัพย์
n เป็ นสัญญาที+ต้องมีการ “ส่ งมอบ” ทรั พย์ สิน
- ส่ งมอบโดยตรงหรื อโดยปริ ยาย
- เป็ นการโอนการครอบครอง
- ผูฝ้ ากจําเป็ นต้องเป็ นเจ้าของทรัพย์สินทีKส่งมอบหรื อไม่ ?

3
ลักษณะของสั ญญาฝากทรัพย์
n วัตถุประสงค์ ของสัญญา คือ การเก็บรักษาทรัพย์สินทีKฝากไว้เพืKอผูฝ้ าก
แล้วผูร้ ับฝากจะคืนทรัพย์สินให้
- ต้องมีขอ้ ตกลงให้ผรู ้ ับฝากเก็บรักษาทรัพย์สิน
- ผูร้ ับฝากต้องเก็บรักษาทรัพย์สินทีKได้รับไว้ใน “อารักขาแห่งตน”
- การจอดรถในสถานทีKต่าง ๆ เช่น ห้างสรรพสิ นค้า ร้านอาหาร สวนสัตว์
สวนสนุก

4
ลักษณะของสั ญญาฝากทรัพย์
n เป็ นสัญญาที+อาจมีหรื อไม่ มคี ่ าตอบแทนก็ได้
- ค่าตอบแทนหรื อบําเหน็จค่าฝาก อาจเกิดได้โดยการตกลงกันหรื อโดย
พฤติการณ์ทีKวญิ Yูชนอาจพึงคาดหมายได้

n เป็ นสัญญาที+ไม่ มกี ารโอนกรรมสิ ทธิE


- ผูฝ้ าก (เจ้าของทรัพย์สิน) ต้องรับผลในภัยพิบตั ิทีKเกิดขึ^นกับทรัพย์ทีKฝาก
(กรณี ผรู ้ ับฝากไม่ได้กระทําผิดหน้าทีK)

5
ลักษณะของสั ญญาฝากทรัพย์
n วัตถุแห่ งสั ญญาฝากทรั พย์ คือ ทรั พย์ สิน
สังหาริ มทรัพย์
ทรัพย์ มรี ู ปร่ าง

อสังหาริ มทรัพย์

ทรัพย์ ทไี. ม่ มรี ู ปร่ าง

6
ความแตกต่ างระหว่ าง
สั ญญาฝากทรัพย์ กบั สั ญญายืมใช้ คงรู ป

n วัตถุประสงค์ของสัญญา : n วัตถุประสงค์ของสัญญา :
เพืKอการเก็บรักษาตามสภาพ เพืKอการใช้ทรัพย์สินทีKยมื
ของทรัพย์ทีKฝาก ตามข้อตกลงและการอันเป็ นปกติ
แก่ทรัพย์น^ นั

7
ความแตกต่ างระหว่ าง
สั ญญาฝากทรัพย์ กบั สั ญญาเช่ าทรัพย์

n ผูร้ ับฝากไม่ได้ใช้สอยหรื อใช้ n ผูเ้ ช่าได้ใช้สอย ใช้ประโยชน์


ประโยชน์ในทรัพย์ทีKรับฝาก และครอบครองทรัพย์สินทีKเช่า
เพียงแต่ดูแลรักษาและจะคืน (การคืนทรั พย์ สินที0เช่ าจะเกิดขึน9 เมื0อ
ให้แก่ผฝู ้ าก สั ญญาเช่ าสิ 9นสุดลง)

8
หน้ าทีข, องผู้รับฝาก
n หน้าทีKในการเก็บรักษาทรัพย์สินทีKฝาก
n หน้าทีKทีKจะไม่เอาทรัพย์สินทีKฝากออกใช้สอย/ให้บุคคลภายนอกใช้สอย/
ให้บุคคลภายนอกเก็บรักษา
n หน้าทีKสงวนรักษาทรัพย์สินทีKรับฝาก
n หน้าทีKบอกกล่าวแก่ผฝู ้ ากเมืKอมีบุคคลภายนอกอ้างว่า มีสิทธิเหนือ
ทรัพย์สินทีKฝาก
n หน้าทีKคืนทรัพย์สินทีKฝาก

9
>. หน้ าทีใ, นการเก็บรักษาทรัพย์ สินทีฝ, าก
n เก็บไว้ในอารักขาของตนเอง

10
2. หน้ าทีท' จี' ะไม่ เอาทรัพย์สินทีฝ' ากออกใช้ สอย/ให้ บุคคลภายนอก
ใช้ สอย/ให้ บุคคลภายนอกเก็บรักษา (ม.EEF)
n การกระทําต้องห้ามตามมาตรา 11a : ห้ามผูร้ ับฝากทํา
- เอาทรัพย์สินออกใช้สอยเอง หรื อ
หากทรัพย์สินเสี ยหาย
- เอาทรัพย์สินไปให้บุคคลภายนอกใช้ หรื อ ผูร้ ับฝากต้องรับผิด
- เอาทรัพย์สินไปให้บุคคลภายนอกเก็บรักษา
n ข้อยกเว้น
- ผูฝ้ ากอนุญาต

11
ความรับผิดเมื,อฝ่ าฝื นมาตรา KKL
n หากทรัพย์สินซึKงฝากเสี ยหายหรื อบุบสลาย

ผู้รับฝากต้ องรั บผิด แม้ เกิดจากเหตุสุดวิสัย

เว้นแต่พิสูจน์ได้วา่ ถึงอย่างไร
ทรัพย์สินนั@นก็จะต้องสู ญหายหรื อบุบสลายอยูน่ นัG เอง

12
M. หน้ าทีส, งวนรักษาทรัพย์ สินทีฝ, าก (ม.KOP)

ดูแลในระดับปกติที1
n ฝากทรัพย์แบบไม่มีบาํ เหน็จ ประพฤติปฏิบัติในกิจการของตนเอง

Cast study
- นายเรี ยนดีฝาก lecture note กับนางสาวเรี ยนเก่ง
- นายเรี ยนดีฝาก lecture note กับนายโดดร่ ม

13
M. หน้ าทีส, งวนรักษาทรัพย์ สินทีฝ, าก (ม.KOP)

ใช้ ความระมัดระวัง
n ฝากทรัพย์แบบมีบาํ เหน็จค่าฝาก และฝี มือระดับวิญCูชน
รวมทัDงฝี มืออันพิเศษเฉพาะการด้ วย

Case study
- การฝากรถจักรยานยนต์
- การฝากดูแลสัตว์เลี^ยง/ต้นไม้

14
M. หน้ าทีส, งวนรักษาทรัพย์ สินทีฝ, าก (ม.KOP)

ใช้ ความระมัดระวังและฝี มือ


n ฝากทรัพย์แบบผูม้ ีวชิ าชีพเฉพาะ เท่ าที1เป็ นธรรมดาจะต้ องใช้
ในกิจการค้ าขายหรื ออาชีวะนัDน

Cast study
- ธนาคาร
- บริ การรับฝากรถยนต์
- กิจการห้องเย็น

15
H. หน้ าที' บ อกกล่ า วเมื' อ มี บุ ค คลภายนอกอ้ า งว่ า มี สิ ท ธิ เ หนื อ
ทรัพย์ สินทีฝ' าก (ม.EEM)
เงืKอนไขตามมาตรา 11d

ยื1นฟ้องผู้รับฝากหรื อ
บุคคลภายนอกกล่ าวอ้ างสิ ทธิ และ ยึดทรั พย์ สินนัDน

ต้ องบอกกล่ าว
โดยพลัน
(gist)

16
O. หน้ าทีค, ืนทรัพย์ สินทีฝ, าก
n คืนเมื&อใด
- คืนก่อนครบกําหนดเวลาไม่ได้ เว้ นแต่ มเี หตุจาํ เป็ นอันมิอาจก้ าวล่ วงเสีย
ได้ (ม.NNO)
- หากผูร้ ับฝากทรัพย์เรี ยกคืนทรัพย์ก่อนเวลาทีKกาํ หนด ผูร้ ับฝากก็ตอ้ งคืน
ให้ (ม.11f)
- หากไม่ได้กาํ หนดระยะเวลาไว้ ผูฝ้ ากจะเรี ยกคืน/ผูร้ ับฝากจะคืนทรัพย์
เมืKอใดก็ได้ (ม.11g)

17
O. หน้ าทีค, ืนทรัพย์ สินทีฝ, าก
n คืนแก่ ผู้ใด (ม.334)
- ผูฝ้ ากทรัพย์
- บุคคลทีKผฝู ้ ากทรัพย์ฝากในนามบุคคลนั^น
- ผูท้ ีKผรู ้ ับฝากได้รับคําสังK จากผูฝ้ าก
- ทายาทของผูฝ้ าก (กรณี ผฝู ้ ากถึงแก่ความตาย)
n คืนทรัพย์ สินใด
- ฝากทรัพย์ใด คืนทรัพย์น^ นั

18
O. หน้ าทีค, ืนทรัพย์ สินทีฝ, าก
n คืน ณ สถานทีใ& ด
- ตามทีKได้ตกลงกัน
- ถ้าไม่ได้ตกลงกัน ให้คืน ณ สถานทีKทีKทรัพย์อยูใ่ นเวลาทีKรับฝาก

n การคืนดอกผลของทรัพย์ ทฝี& าก
- ผูฝ้ ากเป็ นเจ้าของดอกผลทีKเกิดจากทรัพย์ทีKฝาก

19
หน้ าทีข, องผู้ฝาก
n หน้ าทีจ& ่ ายบําเหน็จค่ าฝาก
- กรณี ทีKมีการตกลงชัดแจ้ง หรื อกรณี พึงคาดหมายได้ตามม.12h
- จ่ายตามเวลาทีKกาํ หนดไว้ หรื อถ้าไม่มีการตกลงกันให้จ่ายตามจารี ต
ประเพณี หรื อถ้าไม่มีจารี ตประเพณี ให้จ่ายเมืKอมีการคืนทรัพย์ทีKฝาก
- กรณี ผฝู ้ ากทรัพย์ไม่ยอมจ่ายบําเหน็จ

20
หน้ าทีข, องผู้ฝาก
n หน้ าทีจ& ่ ายค่ าคืนทรัพย์ สินทีฝ& าก (ม.33K)
- ผูฝ้ ากเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่าย
- คู่สญั ญาอาจตกลงเป็ นอย่างอืKนได้
n หน้ าทีอ& อกค่ าใช้ จ่ายอันควรแก่ การบํารุงรักษาทรัพย์ สินทีฝ& าก (ม.33P)
- ผูฝ้ ากเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่าย
- เว้นแต่มีการตกลงกันเป็ นอย่างอืKน

21
ความระงับของสั ญญาฝากทรัพย์
1. เมื$อครบกําหนดตามสัญญา
2. เมื$อทรัพย์สินที$ฝากสู ญหายไปหมด
3. เมื$อมีการส่ งคืนทรัพย์สินที$ฝาก
4. เมื$อมีการบอกเลิกสัญญา
5. เมื$อผูร้ ับฝากถึงแก่ความตาย

22
วิธีการเฉพาะการฝากเงิน
n ลักษณะทัว( ไปของการฝากเงิน

n ความแตกต่างระหว่างการฝากเงินกับการฝากทรัพย์ทวั( ไป

n การฝากเงินกับการกูย้ ม
ื เงิน
n การส่ งมอบเงินที(ฝาก

23
หลักกฎหมายเกีย, วกับการฝากเงิน
n ผูร้ ับฝากไม่ตอ้ งคืนเงินอันเดียวกับทีKฝาก แต่ตอ้ งคืนให้ครบจํานวนตามทีK
ฝาก (ม.672 วรรคหนึKง)
n ผูร้ ับฝากสามารถนําเงินออกไปใช้ได้ (ม.672 วรรคสอง)

กรรมสิ ทธิL ในเงินโอนไปยังผู้รับฝาก


ผู้รับฝากต้ องคืนให้ ครบตามจํานวนที0รับฝาก

24
หลักกฎหมายเกีย, วกับการฝากเงิน
n กรณี การฝากเงินที+มกี าํ หนดระยะเวลา : ผูร้ ับฝากจะส่ งเงินคืนและผูฝ้ าก
จะเรี ยกเงินคืนก่อนกําหนดเวลาไม่ได้
- แม้จะเป็ นการขอคืนบางส่ วนก็ไม่สามารถทําได้
- ถ้าคู่สญ
ั ญาทําความตกลงกันใหม่ ?

25
วิธีเฉพาะสํ าหรับเจ้ าสํ านักโรงแรม
n ความหมายของโรงแรม/โฮเต็ล/สถานทีKอืKนทํานองเช่นว่านั^น
- พิจารณาคําจํากัดความตามมาตรา g แห่งพระราชบัญญัติโรงแรม
พ.ศ. n2g3
n ความหมายของเจ้าสํานัก

n ความหมายของคนเดินทางหรื อแขกอาศัย

26
ความรับผิดของเจ้ าสํ านักโรงแรม
n หลักเกณฑ์ แห่ งความรับผิด
- รับผิดเพื$อความสู ญหายหรื อบุบสลายอันเกิดแก่ทรัพย์สินของ
คนเดินทาง/แขกที$เข้าพักอาศัยได้นาํ พามา (ม.NOP)
- แม้ความเสี ยหายจะเกิดจากผูค้ นเข้าออกไปมา ณ โรงแรม/
โฮเต็ล/สถานที$เช่นนัYน ก็ตาม

27
ความรับผิดของเจ้ าสํ านักโรงแรม
n ข้ อยกเว้ นความรับผิด: หากความเสี ยหายเกิดจาก
- เหตุสุดวิสยั
- สภาพแห่งทรัพย์สิน
- ความผิดของคนเดินทาง/แขกอาศัย/บริ วาร/บุคคลซึ$งคน
เดินทางหรื อแขกอาศัยได้ตอ้ นรับ

28
ข้ อจํากัดความรับผิดของเจ้ าสํ านักโรงแรม
n กรณี เงินทองตรา ธนบัตร ตัวo เงิน พันธบัตร ใบหุน้ ใบหุน้ กู้ ประทวน
สิ นค้า อัญมณี หรื อของมีค่าอืKนๆ

จํากัดความรับผิด แต่ถา้ ฝากไว้แก่เจ้าสํานัก


เพียง K,MMM บาท และบอกราคาอย่างชัดแจ้ง
(ห้าพันบาทถ้วน) ต้องชดใช้เท่ามูลค่าราคาจริ ง

29
หน้ าทีข, องคนเดินทางหรื อแขกอาศัย
คนเดินทาง/แขกอาศัย
ทรัพย์เกิดการสู ญหาย
หรื อบุบสลาย แจ้งต่อเจ้าสํานักทันที
เจ้าสํานักต้องรับผิด

เป็ นทรั พย์ ซึ-งมิได้ นาํ ฝาก


บอกราคาชัดแจ้ ง หากไม่แจ้งทันที
เจ้าสํานักหลุดพ้นจากความรับผิด

30
ข้ อตกลงยกเว้ นและจํากัดความรับผิด
n คําแจ้งความปิ ด ข้อความยกเว้นหรื อจํากัดความรับผิด เป็ น
โมฆะ
n เว้นแต่คนเดินทางหรื อแขกอาศัยจะได้ตกลงอย่างชัดแจ้ง

31
สิ ทธิยดึ หน่ วงของเจ้ าสํ านักโรงแรม
n พิจารณามาตรา 13p
- ยึดได้จนกว่าจะได้รับเงินค้างชําระ เพืKอการพักอาศัยหรื อการอืKนๆ
- ต้องเป็ นการยึดเครืK องเดินทางหรื อทรัพย์สินของคนเดินทางหรื อแขก
อาศัยเท่ านัVน
- สามารถนําขายทอดตลาดได้ หากครบตามกําหนดเวลาและเงืKอนไขทีK
กฎหมายกําหนด

32

You might also like