Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 196

กฎหมายครอบครัว

โดย อ.ดร.วรภัทร รัตนาพาณิ ชย์


ประโยชน์ของการหมั1นในสมัยโบราณ
1. เปิ ดโอกาสให้คหู่ มัน2 สร้างความสนิท
2. ประกาศให้ญาติและบุคคลทีAรูจ้ กั คูห่ มัน2
ทราบว่าได้มีการผูกพันกันตามประเพณี
3. คูห่ มัน2 มีโอกาสเตรียมสําหรับการเป็ นคู่
สมรส
คําถาม
1. การหมัน' คืออะไร
2. การหมัน' จะบังคับให้สมรสได้หรือไม่
3. ต้องมีการหมัน' เสมอไปหรือไม่
4. การหมัน' ต้องมีของหมัน' หรือไม่
การหมั'น
1. เงื$อนไขของการหมัน/
2. แบบของการหมัน/
3. สินสอด
4. การผิดสัญญาหมัน/ และค่าทดแทน
5. การเลิกสัญญาหมัน/ และค่าทดแทน
6. การเรียกค่าทดแทนจากชายอื$นที$มาล่วงเกินหญิง
คูห่ มัน/
7. อายุความ
การหมั/น
- การหมั1นหมายถึงการที;ฝ่ายชาย
และฝ่ ายหญิงตกลงกันว่าจะทํา
การสมรสกัน
ม.#$%&
- การหมั1นจะเป็ นเหตุร้องขอให้ศาล
บังคับให้สมรสไม่ได้หรื อจะเรี ยก
เบี1ยปรับเมื;อผิดสัญญาไม่ได้
องค์ประกอบของการหมั'น
1. อายุขนั' ตํ+า (มาตรา 0123)
2. ต้องขอความยินยอมจากบิดามารดา ผูร้ บั
บุตรบุญธรรมหรือผูป้ กครอง ในกรณีของ
ผูเ้ ยาว์ทาํ การหมัน'
3. ความยินยอมของเจ้าตัว
4. ต้องมีการส่งมอบของหมัน'
#. อายุ (มาตรา #$%/)
- ชายและหญิงต้องมีอายุอย่างตํCา EF
ปี บริบรู ณ์
- ถ้าฝ่ าฝื นเงืCอนไข ผล เป็ นโมฆะ
ตัวอย่างที; Q
-นายกึง/ อายุ EF ปี หมัน/ กับนางสาวหยาด อายุ HI ปี
- ผลการหมัน/ เป็ นโมฆะ หมายถึงเมื$อนายกึง/ ได้ให้แหวนทอง
แก่นางสาวหยาด นายกึง/ จึงมีสทิ ธิเรียกแหวนทองคืนได้ตาม
หลักกฎหมายลาภมิควรได้ แต่จะเรียกคืนได้ก็ตอ่ เมื$อนายกึง/
ไม่รูว้ า่ นางสาวหยาดอายุไม่ถงึ HT ปี แต่ถา้ รูว้ า่ อายุไม่ถงึ HT ปี
ถือว่านายกึง/ ได้ชาํ ระหนีอ/ นั ฝ่ าฝื นข้อห้ามตามกฎหมายตาม
มาตรา WHH ไม่มีสทิ ธิเรียกแหวนคืน
ตัวอย่างที7 9
- นายไมค์อายุ YF ปี ทาํ การหมัน
/ กับนางสาวเบเบ้อายุ HI
ปี และนายไมค์ให้ทองคําแท่งหนัก YF บาทเป็ นของหมัน/
โดยนายไมค์ทราบว่านางสาวเบเบ้อายุยงั ไม่ถงึ HT ปี แต่
ได้ทาํ การสมรสตามประเพณี และอยูก่ ินด้วยกันฉัน
สามีภริยาโดยไม่มีเจตนาจะจดทะเบียนสมรส ทองคํา
แท่งหนัก Y บาทไม่เป็ นของหมัน/ นายไมค์เรียกคืนไม่ได้
ข้อสังเกตกรณี ชายและหญิงอายุไม่ครบ => ปี
- แม้ชายและหญิงอายุ 01 ปี ทําการหมั9นกัน
ต่อมาชายและหญิงอายุครบ 0? ปี จะให้
สัตยาบันไม่ได้ หากจะให้การหมั9น
สมบูรณ์ตอ้ งทําการหมั9นใหม่อีกครั9ง
- ชายหรื อหญิงทีJอายุตJาํ กว่า 0? ปี จะขออนุญาต
ศาลทําการหมั9นไม่ได้ เพราะไม่มีกฎหมายให้
อํานาจไว้
R. เงื;อนไขความยินยอม (มาตรา QUVW)
ผูเ้ ยาว์จะทําการหมัน2 ได้ตอ้ งได้รบั ความยินยอมของ
1. บิดาและมารดา หรือ
2. บิดาหรือมารดาเพียงคนเดียว หรือ
3. ผูร้ บั บุตรบุญธรรม หรือ
4. ผูป้ กครอง
คําถาม
- นายแจ็คอายุ 0P ปี กับนางสาวโฟกัส อายุ 0S ปี
โดยบิดามารดาของทัง' สองฝ่ ายยินยอมดังนีก' ารหมัน'
ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่
คําตอบ
- การหมัน' ระหว่างนายแจ็คอายุ 0P ปี กับ
นางสาวโฟกัส อายุ 0S ปี ซึง+ เป็ นผูเ้ ยาว์ แม้บดิ า
มารดาของทัง' สองฝ่ ายยินยอม การหมัน' ตก
เป็ นโมฆะ เพราะนายแจ็คอายุไม่ถงึ 0S ปี
บริบรู ณ์ตามมาตรา 0123
ถ้าฝ่ าฝื นเงื*อนไขความยินยอม
ของบุคคล 7 ประเภท ผล เป็ นโมฆียะ
หมายถึง
- ผูเ้ ยาว์มีสทิ ธิบอกล้างการหมัน/ ได้ แม้ในระหว่างอายุ
ยังไม่ถงึ YF ปี บริบรู ณ์ ถ้าได้รบั ความยินยอมจาก
ผูแ้ ทนโดยชอบธรรม
- ผูเ้ ยาว์อาจให้สตั ยาบันในสัญญาหมัน/ ได้เมื$อตนบรรลุ
นิตภิ าวะแล้ว
ข้อสังเกต กรณี บิดามารดา ผูร้ ับบุตรบุญธรรม หรื อผูป้ กครอง
อาจจะให้สตั ยาบันสัญญาหมัBนทีDเป็ นโมฆียะ

ผล
-ทําให้การหมัน/ สมบูรณ์มาตัง/ แต่แรก แต่ตอ้ งเป็ นไปตามเงื$อนไข
ความยินยอม กล่าวคือ ถ้ากรณีเป็ นต้องให้ความยินยอมจาก
บิดามารดาทัง/ สองคน การให้สตั ยาบันก็ตอ้ งให้ทงั/ สองคน เป็ นต้น
(ถ้าเป็ นการบอกล้างสัญญาหมัน/ ที$เป็ นโมฆียะ บิดามารดา ผูร้ บั
บุตรบุญธรรม หรือผูป้ กครองคนใดคนหนึง$ มีสทิ ธิบอกล้างการหมัน/ ที$
เป็ นโมฆียะได้โดยลําพัง)
ตัวอย่าง กรณี บิดาและมารดาอาจจะให้
สัตยาบันสัญญาหมั1นที;เป็ นโมฆียะ
- นายอั`ตอายุ YT ปี และนางสาวเชียร์อายุ Ha ปี ทําสัญญาหมัน/ โดย
ปราศจากความยินยอมของบิดาและมารดาของฝ่ ายหญิงหลังจาก
การหมัน/ แล้ว H ปี บิดาของฝ่ ายหญิงได้รบั รองการหมัน/ แต่มารดา
ของหญิงต้องการบอกเลิกสัญญาการหมัน/ มารดาของฝ่ ายหญิงมี
สิทธิทาํ ได้ เพราะการหมัน/ ของผูเ้ ยาว์ตอ้ งได้รบั ความยินยอมจาก
บิดาและมารดาก่อน ตามมาตรา HWEI (H) การหมัน/ ดังกล่าวจึงเป็ น
โมฆียะ ตามมาตรา HWEI วรรคสอง เพราะขาดความยินยอมของ
มารดาหญิงคูห่ มัน/
%. ความยินยอมของเจ้าตัว
สัญญาหมัน/ ต้องบังคับตามหลักทั$วไปในเรือ$ งการแสดงเจตนาในการ
ทํานิตกิ รรม เช่น
- การทําสัญญาหมัน/ เพราะถูกข่มขู่ สัญญาหมัน/ เป็ นโมฆียะ
- สัญญาหมัน/ ที$มีวตั ถุประสงค์ขดั ต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน เช่น
ปู่ หมัน/ กับหลานสาว สัญญาหมัน/ เป็ นโมฆะ หรือ ชายทําการหมัน/
กับชาย สัญญาหมัน/ เป็ นโมฆะ
- สัญญาหมัน/ ที$มีวตั ถุประสงค์ขดั ต่อความสงบเรียบร้อย เช่น ชายมี
ภริยาอยูแ่ ล้วยังไปทําการหมัน/ กับหญิงอื$นอีก สัญญาหมัน/ เป็ นโมฆะ
%. ความยินยอมของเจ้าตัว
สัญญาหมัน2 ต้องบังคับตามหลักทัAวไปในเรือA งการ
แสดงเจตนาในการทํานิตกิ รรม เช่น
- การทําสัญญาหมัน2 เพราะถูกข่มขู่ สัญญาหมัน2 เป็ น
โมฆียะ
-การหมัน2 ทีAมีวตั ถุประสงค์ขดั ต่อความสงบเรียบร้อย
เช่น
• ชายบวชเป็ นพระภิกษุแล้วไปทําการหมัน2 กับหญิง
• ปู่ หมัน2 กับหลานสาว การหมัน2 เป็ นโมฆะ
• ชายทําการหมัน2 กับชาย การหมัน2 เป็ นโมฆะ
• การหมัน2 ทีAขดั เงืAอนไขเรือA งอายุของชายหรือหญิง
เป็ นโมฆะ
-ชายหรือหญิงไม่ยินยอมในการหมัน2 บิดามารดา
หรือผูป้ กครองของชายหรือหญิงทีAตกลงกัน ไม่ตอ้ ง
ผูกพันตามการหมัน2 และไม่ถือว่าชายหรือหญิงเป็ น
คูห่ มัน2
Q. ต้องมีการส่ งมอบของหมั9น
มาตรา EPQF ว.E บัญญัตวิ า่
การหมัน' จะสมบูรณ์เมืCอฝ่ ายชายได้สง่ มอบ
หรือโอนทรัพย์สนิ อันเป็ นของหมัน' ให้แก่
หญิง เพืCอเป็ นหลักฐานว่าจะสมรสกับหญิง
นัน' มิฉะนัน' การหมัน' ไม่สมบูรณ์
คําว่า “การหมั-นไม่สมบูรณ์”

- การหมั2น ต้อ งมี ข องหมั2น เป็ นองค์ป ระกอบ


สําคัญของการหมัน2
- ถ้าไม่มีของหมัน2 ย่อมไม่มีผลเป็ นการหมัน2
“การหมั-นไม่ตอ้ งมีแบบ”

- ของหมัน2 ไม่ใช่แบบทีAกฎหมายกําหนดซึAงจะมี
ผลให้การหมัน2 เป็ นโมฆะตามมาตรา XYZ
การหมั1น
- จะเรียกการหมัน
' ต่อเมื+อนําของหมัน' ไปมอบให้แก่ฝ่าย
หญิง เมื+อมีการหมัน' แล้วถ้าฝ่ ายใดผิดสัญญาหมัน' ฝ่ าย
นัน' ต้องรับผิดใช้คา่ ทดแทน
- เมื+อฝ่ ายชายเพียงแต่ตกลงว่าจะสมรส โดยไม่มีการ
มอบของหมัน' ให้แก่หญิง มิใช่กรณีการหมัน' หากชายไม่
ปฏิบตั ติ ามที+ตกลงไว้ หญิงจะเรียกค่าทดแทนไม่ได้
ของหมั9น
1. ต้องเป็ นทรัพย์สนิ ทีAฝ่ายชายให้ไว้แก่หญิง
2. ต้องมีการส่งมอบหรือโอนของหมัน2 ให้เรียบร้อย
แล้ว
3. ก่อนหรือขณะหมัน2
4. เพืAอเป็ นหลักฐานว่าจะสมรสกับหญิงนัน2
5. ของหมัน2 ตกเป็ นกรรมสิทธิ]ของหญิงทันที
3. ต้องเป็ นทรัพย์สินที<ฝ่ายชายให้ไว้แก่หญิง
- ของหมัน2 ต้องเป็ นของชายคูห
่ มัน2
- ของหมัน2 อาจจะเป็ นของผูอ้ AืนทีAยินยอมให้นาํ มาใช้
เป็ นของหมัน2 ก็ได้
- ทรัพย์สนิ ทีAเป็ นกรรมสิทธิ]ของหญิง หากชายนํามา
มอบให้แก่หญิงไม่ถือว่าเป็ นของหมัน2 เพราะไม่ใช่การ
ให้ทรัพย์สนิ เพืAอประกันว่าชายจะสมรส
คําถาม ทรัพย์ใดเป็ นของหมั1นบ้าง
1. รถยนต์ H คัน โดยนํามาจอดหน้าบ้านของฝ่ ายหญิงในวันหมัน/
2. รถยนต์ H คัน โดยให้ฝ่ายหญิงรับรถได้ในวันรุง่ ขึน/ หลังทําพิธี
หมัน/ เสร็จแล้ว
3. มอบทะเบียนรถยนต์และสัญญาซือ/ ขายรถยนต์โดยมีช$ือของ
หญิงคูห่ มัน/ ในวันหมัน/
4. มอบโฉนดที$ดนิ ของฝ่ ายชายให้หญิงในวันหมัน/
5. ทําสัญญากูย้ ืมเงินจํานวน YFF,FFF บาทไว้ให้แก่ฝ่ายหญิง
สัญญาว่าจะใช้คืนวันหลัง
คําตอบ
1. รถยนต์ ( คัน โดยนํามาจอดหน้าบ้านของฝ่ ายหญิงในวันหมัน= เป็ นของ
หมัน=
2. รถยนต์ ( คัน โดยให้ฝ่ายหญิงรับรถได้ในวันรุง่ ขึน= หลังทําพิธีหมัน= เสร็จ
แล้ว ไม่เป็ นของหมัน= เพราะ เพราะส่งมอบหลังทําสัญญาหมัน=
3. มอบทะเบียนรถยนต์และสัญญาซือ= ขายรถยนต์โดยมีชOือของหญิง
คูห่ มัน= ในวันหมัน= เป็ นของหมัน=
4. มอบโฉนดทีOดนิ ของฝ่ ายชายให้หญิงในวันหมัน= ไม่เป็ นของหมัน= เพราะ
นอกจากของหมัน= ต้องให้วนั หมัน= แล้ว สิทธิในของหมัน= ต้องตกแก่หญิง
ทันทีการมอบโฉนดทีOดนิ ไม่ทาํ ให้ทOีดนิ ตกแก่หญิงทันที
5. ทําสัญญากูย้ ืมเงินจํานวน STT,TTT บาทไว้ให้แก่ฝ่ายหญิง สัญญาว่า
จะใช้คืนวันหลัง ไม่เป็ นของหมัน= เพราะหญิงไม่ได้รบั เงินในวันหมัน=
<. ต้องมีการส่ งมอบหรื อโอนของหมั-นแล้ว
- ของหมัน/ นัน/ ฝ่ ายชายจะต้องได้สง่ มอบหรือโอนให้แก่หญิงไว้
เป็ นกรรมสิทธิe
- ในกรณีท$ีของหมัน/ เป็ นอสังหาริมทรัพย์ จะต้องมีการโอน
กรรมสิทธิeให้ดว้ ย
คําถาม
- การที$ฝ่ายชายมอบของหมัน/ ส่วนหนึง$ (เงิน fFF,FFF)ให้แก่
ฝ่ ายหญิงอีกส่วนหนึง$ (ทองแท่งหนัก HF บาท)สัญญาจะ
นํามามอบให้ในอนาคต ทรัพย์สนิ ใดจะเป็ นของหมัน/
คําถามที7 <
-นายภูรไิ ปเอาแหวนทองของนายป้องมา โดยนายป้องไม่
อนุญาต แล้วนายภูรนิ าํ แหวนทองไปหมัน/ นางสาวแป้ง
แหวนทองจะเป็ นของหมัน/ หรือไม่
คําตอบ
- นายภูรไิ ปเอาแหวนทองของนายป้องมา โดยนายป้อง
ไม่อนุญาต แล้วนําไปหมัน/ นางสาวแป้งนัน/ นายป้อง
เป็ นเจ้าของแหวนทองมีสทิ ธิตดิ ตามเอาแหวนทองคืน
จากนางสาวแป้งได้ สําหรับแหวนทองไม่เป็ นของหมัน/
คําถามที7 9
- นายชาคริตยืมสร้อยทองจากนายชลิต โดยนายชลิต
ให้ยืมเงินเพื$อไปทําการหมัน/ โดยตกลงว่านายชาคริตจะ
ยืมไปชั$วคราว แล้วนายชาคริตนําไปหมัน/ นางสาวจักจั$น
โดยนางสาวจักจั$นซึง$ เป็ นหญิงคูห่ มัน/ ไม่รูเ้ รือ$ งด้วย ดังนี /
สร้อยทองจะเป็ นของหมัน/ หรือไม่
คําตอบ
- การที$เจ้าของทรัพย์ให้ยืมทรัพย์สนิ ของตนไปทําการ
หมัน/ แม้จะตกลงให้ยืมเป็ นของหมัน/ ชั$วคราว เมื$อหญิง
ไม่รูเ้ รือ$ งด้วยแล้ว ของหมัน/ นัน/ ตกเป็ นสิทธิแก่นางสาว
จักจั$น
3. ต้องให้ก่อนหรื อขณะหมั1น
-การสัญญาจะให้ทรัพย์สนิ เป็ นของหมัน/ ในอนาคต
ยังไม่ได้มีการมอบทรัพย์สนิ ให้แก่กนั อย่างแท้จริง
ไม่เป็ นของหมัน/
- ถ้าให้หลังการสมรสทรัพย์สนิ นัน/ ไม่เป็ นของหมัน/
4. เพื$อเป็ นหลักฐานว่าจะสมรสกับหญิงนั:น
-การให้ของหมัน' ต้องเป็ นการให้โดยมีเจตนา
จะสมรสกันตามกฎหมาย
5. ของหมั:นตกเป็ นกรรมสิ ทธิ?ของหญิงทันที
- ถ้าชายคูห
่ มัน' ยกให้แก่หญิงคูห่ มัน' ในฐานะอื+น
ไม่ใช่ในฐานะที+เป็ นของหมัน' ผล กรรมสิทธิaใน
ทรัพย์สนิ เป็ นของหญิงคูห่ มัน' ทันที แม้หญิง
คูห่ มัน' ผิดสัญญาหมัน' ก็เรียกคืนไม่ได้
คู่สญ
ั ญาที;จะต้องรับผิดตามสัญญาหมั1น
- คูส่ ญั ญาหมัน' ไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นเฉพาะตัวชายหรือหญิงคูห่ มัน'
เท่านัน' กฎหมายใช้คาํ ว่า “ฝ่ ายชาย” “ฝ่ ายหญิง” ดังนัน' บิดา
มารดา หรือผูป้ กครองของชายหรือหญิง หรือบุคคลอื+นซึง+ มี
ความสัมพันธ์กบั ตัวชายหรือหญิงคูห่ มัน' ในการทําสัญญาหมัน'
และจัดการสมรส อาจจะเป็ นผูท้ าํ สัญญาหมัน' และเข้ามาเป็ น
คูส่ ญั ญาหมัน' ได้
บุคคลที;จะเป็ นคู่สญ
ั ญาหมั1น มี V จําพวก
คือ
1. ชายหรือหญิงคูห่ มัน'
2. บิดามารดาของชายหญิงคูห่ มัน' ซึง+ เป็ นคูส่ ญ
ั ญาหมัน'
3. บุคคลผูก้ ระทําในฐานะเช่นบิดามารดาของชายหญิง
คูห่ มัน'
สิ นสอด (มาตรา ,-./ วรรคสาม)
- สินสอดเป็ นทรัพย์สน
ิ ซึงA ฝ่ ายชายให้แก่บดิ ามารดา
ผูร้ บั บุตรบุญธรรม หรือผูป้ กครองฝ่ ายหญิง แล้วแต่
กรณี เพืAอตอบแทนการทีAหญิงยอมสมรส ถ้าไม่มี
การสมรสโดยมีเหตุสาํ คัญเกิดขึน2 กับหญิงหรือโดยมี
พฤติการณ์ซงAึ ฝ่ ายหญิงต้องรับผิดชอบ ทําให้ชายไม่
สมควรหรือไม่อาจสมรสกับหญิงนัน2 ฝ่ ายชายเรียก
สินสอดคืนได้
ลักษณะของสิ นสอด
1. ต้องเป็ นทรัพย์สนิ
2. ต้องเป็ นของฝ่ ายชายให้แก่บดิ า
มารดา ผูร้ บั บุตรบุญธรรม หรือ
ผูป้ กครองฝ่ ายหญิง แล้วแต่กรณี
3. ให้เพืCอตอบแทนการทีCหญิงยอมสมรส
5. ต้องเป็ นทรัพย์สิน
- เช่น เงิน ทอง รวมถึงสิทธิเรียกร้องด้วย
- เมืCอได้สง่ มอบทรัพย์ทCีเป็ นสินสอดไปแล้วย่อ
มตกเป็ นกรรมสิทธิ[ของฝ่ ายหญิงทันที โดยไม่
ต้องรอให้มีการสมรส
ข้อสังเกต
- การตกลงจะให้สนิ สอดแก่กนั จะต้องตกลงให้กนั
ก่อนสมรส แต่ทรัพย์สนิ ทีAเป็ นสินสอดซึงA ตกลงจะให้
นัน2 จะมอบให้ฝ่ายหญิงก่อนหรือหลังสมรสก็ได้
- แตกต่างกับของหมัน2 ทีAจะต้องให้กนั ในเวลาหมัน2
คือก่อนสมรส
E. ต้องเป็ นของฝ่ ายชายให้แก่บิดามารดา ผูร้ ับบุตรบุญธรรม
หรื อผูป้ กครองฝ่ ายหญิง แล้วแต่กรณี
-บุคคลอืAนนอกจากนีไ2 ม่มีสทิ ธิเรียกหรือรับสินสอด
- ฐานะของบุคคลดังกล่าวต้องมีฐานะโดยชอบด้วย
กฎหมาย
- คําว่า “ให้แก่”แสดงว่ายังไม่ได้สง่ มอบก็สามารถ
ฟ้องได้หากฝ่ ายชายไม่ยอมส่งมอบให้เมืAอหญิงยอม
สมรส
- คําว่า “ให้แก่”แสดงว่ายังไม่ได้สง่ มอบก็สามารถ
ฟ้องได้หากฝ่ ายชายไม่ยอมส่งมอบให้เมืAอหญิงยอม
สมรส
- การตกลงทําสัญญากูถ้ ือว่ามีมลู หนีจ2 งึ สามารถ
ฟ้องร้องบังคับได้
คําถาม
- นางสาวอรปรียา อายุ bc ปี และไม่มีบด
ิ ามารดา
ผูร้ บั บุตรบุญธรรม หรือผูป้ กครองฝ่ ายหญิง
นางสาวอรปรียาได้รบั หมัน2 และตกลงจะสมรสกับ
นายหนุม่ ด้วยตนเองแล้วเรียกเงิน Xcc,ccc บาท
เป็ นสินสอดนายหนุม่ ได้มอบเงินดังกล่าวให้เป็ น
สินสอดตามทีAนางสาวอรปรียาเรียกร้อง เงิน
จํานวนนีเ2 ป็ นสินสอดหรือไม่
คําถาม
- บิดามารดาของนายพอลตกลงกับบิดามารดา
ของนางสาวซาร่าว่าเงินจํานวน X,ccc,ccc
บาท ฝ่ ายชายจะจัดหามาให้เพืAอแสดงในพิธี
หมัน2 แล้วฝ่ ายหญิงจะคืนให้ฝ่ายชาย เป็ น
สินสอดหรือไม่
3. ให้เพื*อตอบแทนการที*หญิงยอมสมรส
-ฝ่ ายชายต้องมอบให้โดยมีเจตนาเพืAอตอบแทน
การทีAหญิงยอมสมรสโดยชอบด้วยกฎหมาย
- การให้สนิ สอดเพืAอตอบแทนการอยูก่ ินฉันสามี
ภริยา ไม่เป็ นสินสอด แต่เป็ นสัญญาต่างตอบ
แทนอย่างหนึงA ซึงA สามารถบังคับกันได้ระหว่าง
คูก่ รณี หากไม่เป็ นการฝ่ าฝื นศีลธรรมอันดีตาม
ม.XYc
แบบของสิ นสอด
- กฎหมายมิได้กาํ หนดแบบของสินสอดไว้
เพียงตกลงด้วยวาจาก็ใช้บงั คับได้
ข้อสังเกต
-ชายหญิงอาจทําการหมัน/ หรือสมรสโดยไม่ตอ้ งมีสนิ สอดก็ได้
- ถ้าได้มีการตกลงว่าจะให้สนิ สอดแก่กนั แล้ว ฝ่ ายชายไม่ยอม
ให้ บิดามารดาหรือผูป้ กครองของฝ่ ายหญิงย่อมฟ้องเรียก
สินสอดได้
- แม้หญิงบรรลุนิตภิ าวะแล้วก็อาจจะให้สนิ สอดแก่กนั ได้ เพราะ
สินสอดไม่ได้ให้เพื$อตอบแทนการที$บดิ ามารดาอนุญาตให้หญิง
สมรส แต่เป็ นการมอบให้เพื$อตอบแทนการที$หญิงยอมสมรส
ฝ่ ายชายมีสิทธิเรี ยกสิ นสอดคืน มี R กรณี
คือ
1. ถ้าไม่มีการสมรสโดยมีเหตุสาํ คัญเกิดขึน' กับหญิง
2. ถ้าไม่มีการสมรสโดยพฤติการณ์ซง+ึ ฝ่ ายหญิงต้อง
รับผิดชอบ ทําให้ชายไม่สมควรหรือไม่อาจสมรส
กับหญิงนัน' ฝ่ ายชายเรียกสินสอดคืนได้
1. ถ้าไม่มีการสมรสโดยมีเหตุสาํ คัญเกิดขึ-นกับหญิง
“เหตุสาํ คัญเกิดขึน/ กับหญิงเหตุสาํ คัญเกิดขึน/ กับหญิง”
หมายถึง เหตุท$ีกระทบกระเทือนการสมรสใน
อนาคตระหว่างชายและหญิงที$จะก่อให้เกิดความไม่สงบ
สุขในชีวิตสมรส
ตัวอย่าง “มีเหตุสาํ คัญเกิดขึ9นกับหญิง”
- หญิงคูห่ มัน/ ร่วมประเวณีกบั ชายอื$น
- เป็ นโรคเอดส์
- ถูกจําคุก
- ประสบอุบตั เิ หตุเสียโฉมอย่างติดตัว
กรณีเหล่านีฝ/ ่ ายชายมีสทิ ธิเรียกสินสอดคืนโดยการบอกเลิก
สัญญาหมัน/ ได้
2.โดยพฤติการณ์ซJ ึงฝ่ ายหญิงต้องรับผิดชอบ

หมายถึงพฤติการณ์ท+ีฝ่ายหญิงเป็ นฝ่ ายทําให้การสมรส


นัน' ไม่อาจมีขนึ ' เช่น
- หญิงทิง' ชายไปอยูท่ +ีอ+ืนแล้วไม่ตดิ ต่อกลับมา
- หญิงไม่ยอมสมรสโดยไม่มีเหตุอนั จะอ้างได้ตาม
กฎหมาย (ผิดสัญญาหมัน' )
- บิดามารดาเป็ นฝ่ ายขัดขวาง หรือไม่ยอมให้หญิงไป
จดทะเบียนสมรส
ข้อสังเกตเกี7ยวกับสิ นสอด
1. หนีเ/ กิดจากสินสอดสามารถแปลงเป็ นหนีต/ ามสัญญากูไ้ ด้
2. การให้สนิ สอดทําได้แม้หญิงจะยังไม่บรรลุนิตภิ าวะ
3. สัญญาจะให้สนิ สอดสามารถบังคับกันได้ ส่วนการหมัน/ จะต้อง
มีการส่งมอบหรือโอนของหมัน/ ให้แก่ฝ่ายหญิงในวันหมัน/
เรียบร้อยแล้ว มิฉะนัน/ จะบังคับกันไม่ได้
4. สินสอดต้องให้แก่บดิ ามารดาหรือผูป้ กครองที$ชอบด้วยกฎหมาย
ของหญิงเท่านัน/
กรณี ที7หญิงไม่ตอ้ งคืนของหมั'น
1. เมื$อชายผิดสัญญาหมัน/ ตามมาตรา HWEj (ไม่มี
เหตุสมควร)
2. ชายเสียชีวิตก่อนสมรส มาตรา HWWH
3. หญิงบอกเลิกสัญญาหมัน/ เมื$อมีเหตุสาํ คัญเกิด
ขึน/ กับชายมาตรา HWWE
4. กรณีตา่ งฝ่ ายต่างไม่ดาํ เนินการจดทะเบียนสมรส
หรือตกลงแต่งงานโดยมิได้มีเจตนาจะจดทะเบียน
สมรส
กรณี ที&หญิงต้องคืนของหมั4น
1. เมื$อหญิงเป็ นฝ่ ายผิดสัญญาหมัน/ ไม่ยอมสมรส (ไม่มี
เหตุสมควร) มาตรา HWEj
2. ชายบอกเลิกสัญญาหมัน/ เพราะมีเหตุสาํ คัญอันเกิด
จากหญิง มาตรา HWWY
3. หญิงคูห่ มัน/ ได้รว่ มประเวณีกบั ชายอื$น หรือ หญิงถูก
ข่มขืน หรือพยายามข่มขืนกระทําชําเรา แล้วชาย
บอกเลิกสัญญาหมัน/ หญิงต้องคืนของหมัน/ แก่ชาย
4. หญิงคูห่ มัน/ เป็ นฝ่ ายไม่ยอมไปจดทะเบียนสมรส
ผลของสัญญาหมั'น
1. การผิดสัญญาหมัน' ตามมาตรา 012f
2. การผิดสัญญาหมัน' ตามมาตรา 0111
3. ค่าทดแทนกรณีผิดสัญญาหมัน' มาตรา 011g
4. ค่าทดแทนจากผูอ้ +ืนที+ได้รว่ มประเวณีกบั คูห่ มัน' มาตรา 0113
5. ค่าทดแทนจากผูอ้ +ืนที+ได้ขม่ ขืนกระทําชําเราหรือ พยายาม
ข่มขืนกระทําชําเราคูห่ มัน' มาตรา 011P
6. การบอกเลิกสัญญาหมัน'
การบอกเลิกสัญญาหมั1นเนื;องจาก
มีเหตุสาํ คัญอันเกิดขึ1นแก่คู่หมั1น
1. ชายบอกเลิกสัญญาหมัน/ โดยมีเหตุสาํ คัญเกิดแก่หญิง
คูห่ มัน/ มาตรา HWWY
2. หญิงบอกเลิกสัญญาหมัน/ โดยมีเหตุสาํ คัญเกิดขึน/ กับชาย
คูห่ มัน/ มาตรา HWWE
มาตรา <II9
“ในกรณีมีเหตุสาํ คัญอันเกิดแก่หญิงคูห่ มัน/ ทําให้ชายไม่สมควร
สมรสกับหญิงนัน/ ชายมีสทิ ธิบอกเลิกสัญญาหมัน/ ได้และ
ให้หญิงคืนของหมัน/ แก่ชาย
องค์ประกอบของมาตรา <II9
1. มีเหตุสาํ คัญเกิดขึน/ กับหญิงคูห่ มัน/
2. เป็ นการกระทําภายหลังการหมัน/
3. ชายมีสทิ ธิจะบอกเลิกสัญญาหมัน/ และหญิงคูห่ มัน/ ต้อง
คืนของหมัน/ ให้แก่ชายด้วย
ตัวอย่าง “มีเหตุสาํ คัญเกิดขึ9นกับหญิง”
-หญิงคูห่ มัน/ ยินยอมให้ชายอื$นร่วมประเวณีในระหว่างการหมัน/
- หญิงคูห่ มัน/ วิกลจริต
- เป็ นโรคติดต่ออย่างร้ายแรง เช่น โรคเอดส์
- หญิงคูห่ มัน/ ทําร้ายร่างกายชายคูห่ มัน/ จนบาดเจ็บต้องรักษา
บาดแผล Hf วัน
ตัวอย่าง “ไม่เป็ นเหตุสาํ คัญเกิดขึ-นกับหญิง”
คําพิพากษาศาลฎีกาทีO (SYZ/SZT\ ชายคูห่ มัน= ตัง= รังเกียจหญิง
คูห่ มัน= โดยหญิงคูห่ มัน= นัOงซ้อนท้ายรถจักรยานซึงO ชายอืOนขีOเพืOอไปดูภาพยนตร์
ในเวลากลางคืน มีเพืOอนไปด้วยกันรวม ^ คน แล้วชาวบ้านคิดเดาและลือกัน
ว่าหญิงนัน= มีความสัมพันธ์ทางชูส้ าวกับชายทีOขOีจกั รยานนัน= การทีOหญิงคูห่ มัน=
กระทําเพียงเท่านี = แล้วต่อมาหญิงนัน= ไม่ยอมสมรสกับชายคูห่ มัน= ก็จะถือว่า
เพราะมีเหตุผลสําคัญอันเกิดแต่หญิงนัน= หาได้ไม่ หญิงนัน= จึงมิตอ้ งคืนของ
หมัน= เพราะเหตุเช่นนี = ชายคูห่ มัน= หมิOนประมาทหญิงคูห่ มัน= ซึงO เป็ นการ
ร้ายแรงตามความหมายในมาตรา (ZTT(S) แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ยอ่ มเป็ นเหตุผลอันสําคัญอันเกิดแต่ชายคูห่ มัน= ซึงO หญิงคูห่ มัน= จะไม่
ยอมสมรสกับชายนัน= โดยมิตอ้ งคืนของหมัน= ได้ ถ้อยคําทีOถือว่าเป็ นการหมิOน
ประมาทซึงO เป็ นการร้ายแรงตามความหมายในมาตรา (ZTT(S)
ตัวอย่าง “ไม่เป็ นเหตุสาํ คัญเกิดขึ-นกับหญิง”

HFEI/YfYW จําเลยแต่งงานและอยูก่ ินฉันสามีภรรยากับโจทก์


เป็ นเวลา E เดือนเศษแล้ว จะอ้างนิสยั อารมณ์ และความประพฤติ
ของโจทก์มาปฏิเสธไม่ยอมไปจดทะเบียนสมรสกับโจทก์ ย่อมไม่มี
เหตุผลรับฟั งพฤติการณ์ของโจทก์
ยังถือไม่ได้วา่ เป็ นเหตุสาํ คัญอันเกิดแต่โจทก์
ตัวอย่าง “ไม่เป็ นเหตุสาํ คัญเกิดขึ-นกับหญิง”
คําพิพากษาศาลฎีกาที$ IEaf/YffH หญิงคูห่ มัน/ ปลุกชาย
คูห่ มัน/ ให้ไปช่วยรดนํา/ ข้าวโพด แต่ชายคูห่ มัน/ หลบเข้าไปในห้องหญิง
คูห่ มัน/ จึงใช้มีดงัดกลอนประตูหอ้ งและตบหน้าชายคูห่ มัน/ ในกรณี
เช่นนี / ยังถือไม่ได้วา่ เป็ นเหตุสาํ คัญอันเกิดแต่หญิงคูห่ มัน/ อันจะเป็ น
เหตุให้ชายคูห่ มัน/ สามารถบอกเลิกสัญญาหมัน/ และเรียกคืนของ
หมัน/ คืนจากหญิงคูห่ มัน/ ได้ตามมาตรา HWWY
โจทก์ท$ี Y ตกลงหมัน/ หมายกับจําเลยที$ Y นัน/ แสดงว่าโจทก์ท$ี Y
ประสงค์ท$ีจะใช้ชีวิตคูร่ ว่ มกับจําเลยที$ Y และในฐานะคูห่ มัน/ โจทก์ท$ี Y ซึง$
เป็ นฝ่ ายหญิงย่อมต้องคาดหวังในตัวจําเลยที$ Y ว่า จะเป็ นผูท้ $ีสามารถ
นําพาครอบครัวที$จะเกิดขึน/ ในอนาคตไปสูค่ วามเจริญและมั$นคง การที$
โจทก์ท$ี Y พยายามปลุกจําเลยที$ Y ให้ต$ืนเพื$อให้ไปช่วยรดนํา/ ข้าวโพดอัน
เป็ นงานที$อยูใ่ นวัยที$จาํ เลยที$ Y จะช่วยเหลือได้ แต่จาํ เลยที$ Y กลับอิดออด
ซํา/ ยังหลบเข้าไปในห้อง เมื$อโจทก์ท$ี Y ตามเข้าไปก็กระโดดหนีออกทาง
ประตูหลังบ้าน แสดงให้เห็นว่าจําเลยที$ Y หาได้เอาใจใส่ชว่ ยเหลือคูห่ มัน/
ของตนตามที$ควรจะเป็ น จึงย่อมเป็ นธรรมดาที$โจทก์ท$ี Y จะรูส้ กึ ไม่พอใจ
และแสดงออกซึง$ ความรูส้ กึ ไม่พอใจดังกล่าว ส่วนการที$โจทก์ท$ี Y ใช้มีดงัด
กลอนประตูหอ้ ง รวมทัง/ การวิ$งไล่ตามและตบหน้าจําเลยที$ Y แม้จะเป็ น
เรือ$ งไม่เหมาะสมและเกินเลยไปบ้าง แต่ก็เชื$อว่าเป็ นเรือ$ งของอารมณ์ช$ วั
วูบเท่านัน/ หาใช่เป็ นนิสยั ที$แท้จริงของโจทก์ท$ี Y ไม่ (ต่อ)
ทัง/ นีเ/ พราะจําเลยที$ Y และโจทก์ท$ี Y รูจ้ กั กันมาตัง/ แต่ทงั/ สองฝ่ ายยัง
เป็ นเด็กย่อมต้องทราบนิสยั ใจคอของกันและกันเป็ นอย่างดี หาก
โจทก์ท$ี Y มีความประพฤติไม่ดีจาํ เลยที$ Y คงไม่ไปขอหมัน/ โจทก์ท$ี Y
เป็ นแน่ หลังเกิดเหตุจาํ เลยที$ Y ยังไปบ้านโจทก์ท$ี Y จําเลยที$ H
พยายามไกล่เกลี$ยให้จาํ เลยที$ Y สมรสกับโจทก์ท$ี Y แสดงว่าจําเลยทัง/
สองไม่ได้ถือเอาเรือ$ งดังกล่าวเป็ นสาระสําคัญและโกรธเคืองโจทก์ท$ี Y
การกระทําของโจทก์ท$ี Y ดังกล่าวจึงยังถือไม่ได้วา่ เป็ นเหตุสาํ คัญอัน
เกิดแก่หญิงคูห่ มัน/ อันทําให้ชายไม่สมควรสมรสกับหญิงนัน/ เมื$อ
จําเลยที$ Y ไม่ยอมสมรสกับโจทก์ท$ี Y จึงถือว่าจําเลยทัง/ สองเป็ นฝ่ าย
ผิดสัญญาหมัน/ (ต่อ)
โจทก์ทงั= สองจึงไม่ตอ้ งคืนของหมัน= และมีสทิ ธิเรียกให้จาํ เลยทัง= สองชําระ
ค่าใช้จา่ ยอันสมควรในการเตรียมการสมรสได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา (ddT (S)
และสาเหตุทOีจาํ เลยทีO S ไม่ยอมสมรสกับโจทก์ทOี S นัน= เนืOองจากจําเลยทัง= สอง
อ้างว่ามีเหตุสาํ คัญอันเกิดแก่โจทก์ทOี S ดังนัน= กําหนดวันสมรสจึงไม่ใช่ขอ้ สําคัญ
ทีOจะนํามาพิจารณาว่าฝ่ ายใดเป็ นฝ่ ายผิดสัญญาหมัน= จึงไม่จาํ ต้องวินิจฉัยว่า
การหมัน= ได้กาํ หนดวันสมรสไว้ลว่ งหน้าหรือไม่ ตาม ป.พ.พ. มาตรา (dY^
วรรคสาม...
ดังนัน= เมืOอจําเลยทัง= สองตกลงว่าจะให้สนิ สอดแก่โจทก์ทOี ( เพืOอเป็ นการตอบ
แทนทีOโจทก์ทOี S ยอมสมรสด้วยแต่การสมรสระหว่างโจทก์ทOี S กับจําเลยทีO
S ไม่ได้เกิดขึน= เพราะจําเลยทัง= สองเป็ นฝ่ ายผิดสัญญา โจทก์ทOี ( จึงมีสทิ ธิเรียก
สินสอดจากจําเลยทัง= สองได้
หญิงบอกเลิกสัญญาหมัBนโดยมีเหตุสาํ คัญเกิดขึBนกับชายคู่หมัBน
มาตรา MNNO
ตัวอย่างมีเหตุสาํ คัญเกิดขึน/ กับชายคูห่ มัน/
- ชายไร้สมรรถภาพทางเพศ
- ชายกลายเป็ นคนวิกลจริต
- ชายกลายเป็ นคนพิการ
- เป็ นนักโทษและกําลังรับโทษจําคุก
- ชายร่วมประเวณีกบั หญิงอื$น
- ชายข่มขืนกระทําชําเราหญิงอื$น
หญิงบอกเลิกสัญญาหมัBนโดยมีเหตุสาํ คัญเกิดขึBนกับชายคู่หมัBน
มาตรา MNNO
ข้อสังเกต
- ชายหมิ$นประมาทหญิงคูห่ มัน/ อย่างร้ายแรงตามความหมาย
ในเหตุฟอ้ งหย่า เป็ นเหตุสาํ คัญเกิดขึน/ แก่ชายหรือไม่
ข้อสังเกต
- มาตรา HWEj กําหนดไว้วา่ ฝ่ ายใดผิดสัญญาหมัน/ ให้
อีกฝ่ ายหนึง$ มีสทิ ธิเรียกค่าทดแทนได้
- มาตรา HWWF กําหนดรายละเอียดของค่าทดแทน
โดยแบ่งออกเป็ น E ประเภท เท่ากับว่ากฎหมายวาง
ขอบเขตเกี$ยวกับบุคคลที$จะต้องเข้ามารับผิดชอบและ
ขอบเขตที$จะเรียกค่าทดแทนได้
การผิดสัญญาหมัQนตามมาตรา 3RST

มาตรา 012f
“ เมื+อมีการหมัน' แล้ว ถ้าฝ่ ายใดผิดสัญญาหมัน'
อีกฝ่ ายหนึง+ มีสทิ ธิเรียกให้รบั ผิดใช้คา่ ทดแทน
ในกรณีท+ีฝ่ายหญิงเป็ นฝ่ ายผิดสัญญาหมัน' ให้
คืนของหมัน' แก่ฝ่ายชายด้วย”
ผลของการผิดสัญญาหมั1น
1. ฝ่ ายหนึง+ มีสทิ ธิเรียกร้องให้ฝ่ายที+ผิดสัญญาชดใช้
ค่าทดแทนตามาตรา 011g
h. ผลเกี+ยวกับของหมัน'
- ถ้าฝ่ ายหญิงเป็ นฝ่ ายผิดสัญญาหมัน' ไม่ยอมทําการ
สมรส หญิงต้องคืนของหมัน' แก่ฝ่ายชาย
- ถ้าฝ่ ายชายผิดสัญญาหมัน' ฝ่ ายหญิงไม่ตอ้ งคืน
ของหมัน'
การผิดสัญญาหมั'นตามมาตรา <III
“ถ้าเหตุอนั ทําให้คหู่ มัน/ บอกเลิกสัญญาหมัน/ เป็ นเพราะการ
กระทําชั$วอย่างร้ายแรงของคูห่ มัน/ อีกฝ่ ายหนึง$ ซี$งได้กระทํา
ภายหลังการหมัน/ คูห่ มัน/ ผูก้ ระทําชั$วอย่างร้ายแรงนัน/ ต้องรับ
ผิดใช้คา่ ทดแทนแก่คหู่ มัน/ ผูใ้ ช้สทิ ธิบอกเลิกสัญญาหมัน/ เสมือน
เป็ นผูผ้ ิดสัญญาหมัน/ ”
ค่าทดแทนทีNคู่หมั-นเรี ยกจากกันในกรณี บอกเลิก
สัญญาหมั-นเพราะการกระทําชัวN อย่างร้ายแรงของ
คู่หมั-น ม.TUUU
หลัก การเลิกสัญญาหมัน/ หรือการถอนหมัน/ มิใช่เรือ$ งผิด
สัญญาหมัน/ ไม่สามารถเรียกค่าทดแทน
ข้อยกเว้น การเลิกสัญญาหมัน/ เพราะการกระทําชั$วอย่าง
ร้ายแรง ม.HWWW
องค์ประกอบของมาตรา <III
1. ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง$ กระทําชั$วอย่างร้ายแรง
2. เป็ นการกระทําภายหลังการหมัน/
3. มีการบอกเลิกสัญญาหมัน/ ตามมาตรา HWWY หรือ HWWE
แล้วแต่กรณี
การกระทําชัวJ อย่างร้ายแรง

หมายถึง การที+คหู่ มัน' ฝ่ ายหนึง+ ไปกระทําชั+วอย่าง


ร้ายแรงแล้วมีผลกระทบต่ออีกฝ่ ายหนึง+ โดยตนเอง
อาจจะลงมือทําร้ายคูห่ มัน' อีกฝ่ ายหนึง+ หรือทําให้คหู่ มัน'
อีกฝ่ ายหนึง+ เสียชื+อเสียง หรือตนเองกระทําต่อบุคคลที+
สามหรือกระทําต่อตนเองก็ได้ (การกระทํานัน' อาจจะ
เป็ นความผิดทางอาญาหรือไม่ก็ได้)
การกระทําชัวN อย่างร้ายแรงตามมาตรา TUUU

- ชายคูห่ มัน' เป็ นชูก้ บั ภริยาคนอื+น


- เสพเฮโรอีน
- เล่นการพนันเป็ นอาจิณ
การกระทําชัวN อย่างร้ายแรงภายหลังการหมั-น

- การกระทําชั$วอย่างร้ายแรงต้องเกิดภายหลังการหมัน/
- ถ้ากระทําก่อนการหมัน/ จะเรียกค่าทดแทนไม่ได้ แต่บอกเลิก
สัญญาหมัน/ ซึง$ เป็ นกรณีบอกเลิกสัญญาหมัน/ ทั$วไปตามมาตรา
HWWY และ HWWE
- การพิจารณาว่าเป็ นการกระทําชั$วอย่างร้ายแรงหรือไม่ ต้อง
วินิจฉัยตามระดับวิญqูชน
ข้อสังเกต
- คําว่า “ผิดสัญญาหมัน
/ ” หมายถึงฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง$ ไม่ยอม
สมรสโดยไม่มีเหตุอนั จะอ้างกฎหมายได้
- คําว่า “บอกเลิกสัญญาหมัน/ ” หมายถึง ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง$
ไม่ยอมสมรสโดยมีเหตุอนั อ้างได้ตามกฎหมาย
- การเรียกค่าทดแทนตามมาตรา HWWF จะเรียกได้เฉพาะ
กรณีท$ีมีการหมัน/ แล้วเท่านัน/
องค์ประกอบของการเรี ยกค่าทดแทน

1. มีความผิด
2. มีความเสียหาย
3. ความเสียหายเป็ นผลมาจากการผิด
สัญญา
ค่าทดแทนกรณี ผดิ สัญญาหมั1น ม.QUU^
มี Y ประเภท
n ทดแทนความเสียหายแก่กายหรือชืOอเสียงแก่ชายหรือหญิงนัน=
n ทดแทนค่าใช้จา่ ยหรือต้องตกเป็ นลูกหนีเ= นืOองจากการเตรียมการ
สมรส
n ทดแทนความเสียหายในการจัดการทรัพย์สนิ หรือการอืOนเกีOยวกับ
อาชีพ
ค่าทดแทนจากชายอื&นหรื อหญิงอื&นที&ได้ร่วมประเวณี กบั
คู่หมั4นโดยคู่หมั4นยินยอม ม.FGGH
มาตรา HWWf มีองค์ประกอบ E ข้อ
n ต้องมีการร่วมประเวณีกบั คูห่ มัน/ ไม่รวมการกอดจูบ
ลูบคลํา
n ชายอื$นหรือหญิงอื$นนัน/ รูห้ รือควรรูว้ ห่ ญิงได้หมัน/ กับ
ชายคูห่ มัน/ แล้ว
n คูห่ มัน/ ต้องบอกเลิกสัญญาหมัน/ ตามมาตรา HWWY
หรือ มาตรา HWWE แล้ว
ข้อสังเกต ม.3RRU
- ชายอื$นต้องรูว้ า่ หรือควรรูว้ า่ คูห่ มัน/ ได้หมัน/ แล้วและรูว้ า่
ต้องรูว้ า่ คูห่ มัน/ เป็ นใคร เพียงแต่รูว้ า่ หญิงมีคหู่ มัน/ แต่ไม่รู ้
ว่าเป็ นใคร ยังไม่สามารถเรียกค่าทดแทนจากชายอื$นและ
สามารถเรียกค่าทดแทนจากหญิงคูห่ มัน/ โดยอ้างว่าเป็ น
การกระทําชั$วอย่างร้ายแรงตามม.HWWW ได้
- ถ้าเป็ นม.HWWI บุคคลที$ขม่ ขืนจะต้องรูห้ รือควรจะรูว้ า่ มี
คูห่ มัน/ แล้วแต่ไม่จาํ เป็ นต้องรูว้ า่ คูห่ มัน/ เป็ นใคร
ค่าทดแทนจากชายอื&นหรื อหญิงอื&นที&ได้ข่มขืนกระทําชําเรา
หรื อพยายามข่มขืนกระทําชําเราคู่หมั4น มาตรา 3RRV
มีองค์ประกอบ E ข้อ
n ต้องมีการข่มขืนหรือพยายามข่มขืนคูห่ มัน/ ไม่รวมการ
กอดจูบลูบคลํา
n ชายอื$นหรือหญิงอื$นนัน/ รูห้ รือควรรูถ้ งึ การหมัน/ แล้ว แต่
ไม่ตอ้ งรูว้ า่ คูห่ มัน/ เป็ นใคร
n คูห่ มัน/ ไม่จาํ ต้องบอกเลิกสัญญาหมัน/
ค่าทดแทน

1. กรณีท$ีเป็ นสิทธิเฉพาะตัว
2. กรณีท$ีไม่เป็ นสิทธิเฉพาะตัว
3. อายุความเรียกร้อง
ค่าทดแทนกรณี ทีDเป็ นสิ ทธิเฉพาะตัว
-สิทธิเรียกร้องความเสียหายต่อกายและชื+อเสียงของชายหรือ
หญิงคูห่ มัน' ตามมาตรา 011g (0)
- สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนเพื+อความเสียหายที+คหู่ มัน' ไปจัดการ
ทรัพย์สนิ หรืออาชีพหรือทางทํามาหาได้แก่ตนตามมาตรา
1440 (2)
ค่าทดแทนกรณี ที&ไม่เป็ นสิ ทธิเฉพาะตัว

- ค่าทดแทนความเสียหายที+คหู่ มัน' บิดามารดา หรือบุคคล


ผูก้ ระทําการในฐานะเช่นบิดามารดาได้ใช้จา่ ยหรือต้อง
ตกเป็ นลูกหนีเ' นื+องจากการเตรียมการสมรสโดยสุจริต
และใช้จา่ ยไปตามสมควร ตามาตรา 011g (h)
อายุความเรี ยกร้องค่าทดแทน

- สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนตามมาตรา 6789 : : เดือนนับแต่วนั ที?


ผิดสัญญาหมันC
- สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนตามมาตรา 6777 : : เดือนนับแต่วนั ที?
รูห้ รือควรรูถ้ งึ การกระทําชั?วอย่างร้ายแรงอันเป็ นเหตุให้บอกเลิก
สัญญาหมันC แต่ตอ้ งไม่เกิน P ปี นบั แต่วนั กระทําการดังกล่าว
- สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนตามมาตรา 677Pและ 677: : : เดือน
นับแต่วนั ที?ชายคูห่ มันC รูห้ รือควรรูถ้ งึ การกระทําของชายอื?นอัน
เป็ นเหตุให้เรียกค่าทดแทนและรูต้ วั ผูจ้ ะพึงใช้คา่ ทดแทน แต่
ต้องไม่เกิน P ปี นับแต่วนั ที?ชายอื?นได้กระทําการดังกล่าว
การสิ1 นสุ ดสัญญาหมั1น

- ผิดสัญญาหมัน/
- บอกเลิกสัญญาหมัน/
- ความตาย
- การบอกล้างสัญญาหมัน/ ที$เป็ นโมฆียะ
- การตกลงเลิกสัญญาหมัน/ ระหว่างกันเอง
การสมรส
1. เงืAอนไขแห่งการสมรส
2. แบบแห่งการสมรส
3. การเพิกถอนการสมรส
การสมรส
- การสมรสคือการทีAชายและหญิงตกลงใช้ชีวิต
ร่วมกัน โดยกฎหมายกําหนดเงืAอนไข ผล การ
สิน2 สุดการสมรส
- คูส่ มรสต้องมีตา่ งเพศกัน
การสมรส
ในต่างประเทศยอมรับให้บคุ คลเพศเดียวกันจดทะเบียน
เพื$ออยูก่ ินด้วยกันฉันสามีภริยา แต่ไม่เรียกว่าการสมรส แต่
เรียกหุน้ ส่วนทางแพ่ง (Civil Partner)

ตัวอย่างประเทศที$ให้บคุ คลเพศเดียวกันสมรส เช่น


เดนมาร์ค นอร์เวย์ สวีเดน อาร์เจนตินา เบลเยี$ยม
แคนาดา ไอซ์แลน์ เนเธอร์แลนด์ สเปน สหรัฐอเมริกา
เป็ นต้น
หลักเกณฑ์การสมรส
1. คูส่ มรสฝ่ ายหนึง+ จะต้องเป็ นชายและอีกฝ่ ายหนึง+
จะต้องเป็ นหญิง

คําพิพากษาฎีกา 03S/h3h1
เพศของบุคคลต้องถือเอาเพศตามเพศกําเนิดมาเพศเปลี+ยนไม่ได้
หลักเกณฑ์การสมรส
2. การสมรสจะต้องเป็ นการกระทําโดยใจสมัครของ
ชายและหญิง
3. การอยูก่ ินฉันสามีภริยาจะต้องเป็ นระยะเวลาชั+วชีวิต
4. การสมรสจะต้องมีคสู่ มรสเพียงคนเดียว
หลักฐานที*ตอ้ งนําไปแสดง
6. คูส่ มรสต้องไปปรากฏตัวต่อหน้านายทะเบียนทังC V คน
V. บัตรประจําตัวประชาชน หรือบัตรประจําตัวข้าราชการของคูส่ มรส
8. พยานบุคคล V คน
7. ถ้าคูส่ มรสทังC V ฝ่ ายหรือฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง? เป็ นผูเ้ ยาว์
(อายุไม่ครบ VZ ปี บริบรู ณ์) ถ้าบิดามารดาไม่ให้ความยินยอมด้วยตนเอง
ให้นาํ หนังสือแสดงความยินยอมของบิดามารดาไปด้วย
P. คูส่ มรสอาจขอให้นายทะเบียนแห่งท้องที?ท?ีจะประกอบพิธีสมรสไปจด
ทะเบียนสมรสนอกสถานที?ได้ โดยยื?นคําร้องต่อนายทะเบียนพร้อมแจ้ง
ความประสงค์และรายละเอียด กรณีนีตC อ้ งเสียค่าธรรมเนียม VZZ บาท
ข้อสังเกตการสมรส
- ปั ญหาว่าชายหญิงจะเป็ นสามีภริยากันได้ตาม
กฎหมายหรือไม่นนั' เป็ นปั ญหาเกี+ยวกับความสงบ
เรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
เงืCอนไขแห่งการสมรส
1. เงื+อนไขที+อาจทําให้การสมรสเป็ นโมฆะ
2. เงื+อนไขที+อาจทําให้การสมรสเป็ นโมฆียะ
เงื$อนไขที$อาจทําให้การสมรสเป็ นโมฆะ
มี W ประการ
• สมรสกับบุคคลวิกลจริตหรือคนไร้ความสามารถ
(ม.HWWj)
• สมรสกับญาติสบื สายโลหิต (ม.HWfF)
• สมรสในขณะที$ตนมีคสู่ มรสอยู่ (ม.HWfY)
• สมรสโดยปราศจากความยินยอม (ม.HWfa)
เงืJอนไขทีJอาจทําให้การสมรสเป็ นโมฆียะ
• สมรสขณะอายุตAาํ กว่าสิบเจ็ดปี บริบรู ณ์ (ม. Xhhi)
• ผูเ้ ยาว์สมรสโดยไม่ได้รบั ความยินยอม (ม. XYck)
• สมรสโดยสําคัญผิดตัวคูส่ มรส (ม. XYcY)
• สมรสโดยถูกกลฉ้อฉล (ม. XYcl)
• สมรสโดยถูกข่มขู่ (ม. XYcm)
สมรสกับบุคคลวิกลจริ ตหรื อคนไร้ความสามารถ
(ม.0QQ`)
• บุคคลวิกลจริต คือ บุคคลทีAมีอาการทาง
จิตไม่ปกติอย่างหนักและอาการนีจ2 ะต้องมี
อยูป่ ระจํา
• คนไร้ความสามารถคือบุคคลวิกลจริตตาม
คําสัAงของศาล
• บุคคลวิกลจริตย่อมไม่รูส้ าํ นึกในการทีAตนเอง
กระทํา ในทางนิตกิ รรมจึงต้องมีผอู้ นุบาลคิด
และทําแทนเพืAอปกป้องผลประโยชน์ของ
บุคคลวิกลจริต
• การสมรสกับบุคคลวิกลจริตหรือคนไร้
ความสามารถเป็ นโมฆะ
สมรสกับญาติสืบสายโลหิ ต (ม.,-=>)
• ญาติสนิทสมรสกันไม่ได้ มี P ประเภท
E. ญาติสบื สายโลหิตโดยตรงขึน' ไป
^. ญาติสบื สายโลหิตโดยตรงลงมา
Q. พีCนอ้ งร่วมบิดามารดาเดียวกัน
P. พีCนอ้ งร่วมแต่บดิ าหรือมารดา
• ญาติทCีกฎหมายห้ามสมรสถือตามความเป็ น
จริง
• ญาติโดยการสมรสหรือญาติโดยการจด
ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม กฎหมายไม่หา้ ม
• การสมรสกับญาติสบื สายโลหิต เป็ นโมฆะ
• ผูม้ ีสว่ นได้เสีย คือ ตัวคูส่ มรส บิดามารดา
ผูส้ บื สันดานของคูส่ มรสนัน' มีสทิ ธินาํ คดีมา
ฟ้องศาลขอให้มีคาํ พิพากษาแสดงว่าการ
สมรสนัน' เป็ นโมฆะได้
สมรสในขณะที+ตนมีคู่สมรสอยู่ (ม.5678)
ข้อสังเกต : ผูร้ ับบุตรบุญธรรมและ
บุตรบุญธรรมจะสมรสกันไม่ได้
• ผูร้ บั บุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมจะสมรส
กันไม่ได้ (ม.XhYX)
• ถ้าฝ่ าฝื น การสมรสมีผลสมบูรณ์
• การรับบุตรบุญธรรมย่อมเป็ นอันยกเลิกเมืAอมี
การสมรสฝ่ าฝื นม.XhYX (ม.XYki/bZ)
สมรสในขณะทีJตนมีคู่สมรสอยู่ (ม.0Qbc)

• ห้ามชายหรือหญิงทําการสมรสในขณะทีCตน
มีคสู่ มรสอยู่ (ม.EPc^)
• ฝ่ าฝื น ผลการสมรสเป็ นโมฆะ
• ผูม้ ีสว่ นได้เสียอาจจะกล่าวอ้างว่าการสมรส
นัน' เป็ นโมฆะได้หรือจะนําคดีมาฟ้องศาล
ขอให้มีคาํ พิพากษาแสดงว่าการสมรสซ้อน
นัน' เป็ นโมฆะก็ได้ (ม.EPfc)
• เมืCอมีการกล่าวอ้างหรือมีคาํ พิพากษาต้อง
ถือว่าการสมรสซ้อนเสียเปล่ามาตัง' แต่แรก
• แต่ถา้ ไม่มีการกล่าวอ้างหรือคําพิพากษา
ต้องถือว่าการสมรสซ้อนยังคงเป็ นสามี
ภริยากันตามกฎหมาย
สมรสโดยปราศจากความยินยอม (ม.RSTU)
• ความยินยอมของชายหญิง หมายถึง การทีAชาย
หญิงจะต้องรูแ้ ละเข้าใจว่าตนเองกําลังแสดง
เจตนาโดยมีวตั ถุประสงค์ทAีจะอยูก่ ินเป็ นสามี
ภริยากับอีกฝ่ ายหนึงA
• ชายหญิงต้องแสดงความยินยอมด้วยตนเอง จะ
มอบให้บคุ คลอืAนทําแทนไม่ได้
ถ้าสมรสกันโดยมีเงื่อนไขจ้างให้ภรรยาตั้งครรภ์โดยการผสมเทียม และจะไม่มีเพศสัมพัธ์กัน
= ไม่ได้มีความยินยอมของชายและหญิงตามม.1458 ไม่ได้ประสงค์จะอยู่กินด้วยกัน เป็นเรื่องการสมรสโดยปราศจาก
ความยินยอม = โมฆะ
• ชายหญิงต้องแสดงความยินยอมนัน2 โดย
เปิ ดเผยต่อหน้านายทะเบียน และนาย
ทะเบียนต้องบันทึกความยินยอมนัน2 ไว้ดว้ ย
เพืAอให้เจ้าหน้าทีAของรัฐรับทราบและบันทึก
ความยินยอมไว้เป็ นหลักฐาน
คําพิพากษาศาลฎีกาที$ HFIT/YfWf การสมรสจะทําได้
ต่อเมื$อชายและหญิงยินยอมเป็ นสามีภริยากัน โดยทัง/ สองคนตกลง
จะเป็ นบุคคลในครอบครัวเดียวกัน ต้องอยูก่ ินด้วยกันฉันสามีภริยาทัง/
ในทางธรรมชาติและกฎหมาย ได้ดแู ลความทุกข์สขุ เจ็บป่ วยซึง$ กัน
และกันต้องช่วยเหลืออุปการะเลีย/ งดูกนั ตามความสามารถและฐานะ
ของตน การที$จาํ เลยจดทะเบียนสมรสกับ ช. แต่ไม่ได้พกั อาศัยอยู่
ด้วยกัน เมื$อ ช. ป่ วย โจทก์เป็ นผูพ้ า ช. ไปโรงพยาบาลและเสียค่า
รักษาพยาบาลให้ และยังให้ ช. ไปพักอาศัยอยูด่ ว้ ย ส่วนจําเลยยังคง
พักอาศัยอยูก่ บั น้องสาวและไม่เคยออกค่ารักษาพยาบาลทัง/ ไม่เคยมา
เยี$ยมเยียน ช. เลย เห็นได้ชดั ว่าจําเลยกับ ช. มิได้อยูก่ ินด้วยกันฉัน
สามีภริยาแต่อย่างใด จําเลยเองก็ยงั รับว่าไม่อยากไปจดทะเบียน
สมรส (ต่อ)
แต่ ช. เป็ นผูพ้ าไปโดยบอกว่าถ้าไม่จดทะเบียนสมรสแล้วจะไม่มีผใู้ ด
มีสทิ ธิรบั เงินบําเหน็จตกทอด ซึง$ ก็ปรากฏว่าเมื$อ ช. ถึงแก่กรรม
จําเลยเป็ นผูไ้ ด้รบั เงินบําเหน็จตกทอดมาจริง แสดงว่าจําเลยจด
ทะเบียนสมรสกับ ช. โดยมิได้มีเจตนาที$จะเป็ นสามีภริยากันมาแต่
แรก หากแต่เป็ นการกระทําเพื$อให้มีสทิ ธิรบั เงินบําเหน็จตกทอด
เท่านัน/ การสมรสของจําเลยจึงฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัตแิ ห่งป.พ.พ.
มาตรา HWfa ตกเป็ นโมฆะตามมาตรา HWjf
เงืJอนไขทีJอาจทําให้การสมรสเป็ นโมฆียะ

• สมรสขณะอายุตAาํ กว่าสิบเจ็ดปี บริบรู ณ์ (ม. Xhhi)


• ผูเ้ ยาว์สมรสโดยไม่ได้รบั ความยินยอม (ม. XYck)
• สมรสโดยสําคัญผิดตัวคูส่ มรส (ม. XYcY)
• สมรสโดยถูกกลฉ้อฉล (ม. XYcl)
• สมรสโดยถูกข่มขู่ (ม. XYcm)
สมรสขณะอายุต*าํ กว่าสิ บเจ็ดปี บริ บูรณ์
(ม. RSSU)

• ถ้ามีเหตุสมควร เช่น ได้เสียก่อนหญิงมี


อายุครบ Xm ปี บริบรู ณ์ และหญิงตัง2 ครรภ์
เช่นนีศ2 าลอาจอนุญาตให้ทาํ การสมรส
ก่อนอายุครบเกณฑ์ก็ได้
• แต่ถา้ ศาลมิได้สงัN ให้เพิกถอนการสมรสทีNเป็ น
โมฆียะเพราะฝ่ าฝื นเกณฑ์อายุของชายหญิง
หรื อเมืNอหญิงตั-งครรภ์ก่อนอายุครบ ให้ถือว่า
การสมรสสมบูรณ์มาตั-งแต่เวลาสมรส แม้ใน
เวลาทีNชายหญิงอายุไม่ครบ T^ ปี ก็ตาม
ผูเ้ ยาว์สมรสโดยไม่ได้รับความยินยอม (ม. 0bd`)
• ผูเ้ ยาว์จะต้องได้รบั ความยินยอมจาก
บุคคลตาม ม. Xhbl
• ถ้าฝ่ าฝื น การสมรสเป็ นโมฆียะ
สมรสโดยสําคัญผิดตัวคู่สมรส (ม. 0bdb)
- สมรสโดยสําคัญผิดตัว หมายถึง การทีNต- งั ใจ
จะสมรสกับบุคคลหนึNงแต่กลับไปสมรส
กับอีกบุคคลหนึNงโดยเข้าใจว่าเป็ นบุคคล
เดียวกัน
- เฉพาะคู่สมรสทีNสาํ คัญผิดเท่านั-นทีNมีสิทธิ
ขอให้ศาลเพิกถอนการสมรสได้
- หากไม่ใช้สิทธิภายใน ab วันนับแต่วนั
สมรส การสมรสเป็ นอันสมบูรณ์
สมรสโดยถูกกลฉ้อฉล (ม. RT[\)

- กลฉ้อฉลต้องถึงขนาดว่าถ้าไม่มีกลฉ้อฉลจะ
ไม่มีการสมรส
- เฉพาะคูส่ มรสทีAถกู กลฉ้อฉลเท่านัน2 ทีAมีสทิ ธิ
ขอให้ศาลเพิกถอนการสมรสได้
- หากไม่ใช้สทิ ธิภายใน kc วันนับแต่วนั สมรส
การสมรสเป็ นอันสมบูรณ์
ex. ฉ้อฉลเรื่องสุขภาพ เรื่องการติดการพนัน เป็นหมัน มีภาวะมีบุตรยาก หรือเป็น
โรคร้าย
ถ้าชาย/หญิงเห็นว่าเรื่องอะไรสำคัญต่อนเองแล้วอีกฝ่ายจงใจปกปิด ex.ญ.เป็นนักเคลื่อนไหวทางสิทธิมนุษยชน แต่ชายเคยเป็น
ทหารนาซี แต่หลอกว่าไม่เคยเป็นมาก่อน = สมรสโดยถูกฉ้อฉล = โมฆียะ
สมรสโดยถูกข่มขู่ (ม. 3UYZ)

- การข่มขูต่ อ้ งถึงขนาดว่า ถ้าไม่มีการถูกข่มขูจ่ ะ


ไม่มีการสมรส
- เฉพาะคูส่ มรสทีAถกู ข่มขูเ่ ท่านัน2 ทีAมีสทิ ธิขอให้ศาล
เพิกถอนการสมรสได้
- หากไม่ใช้สทิ ธิภายในหนึงA ปี นบั แต่วนั ทีAพน้ จาก
การข่มขู่
ผลของการสมรสทีJเป็ นโมฆะ

1. ผลเกีCยวกับความสัมพันธ์สว่ นตัว
2. ผลเกีCยวกับความสัมพันธ์ในทางทรัพย์สนิ
ผลเกี;ยวกับความสัมพันธ์ส่วนตัว
เมื+อศาลมีคาํ พิพากษาถึงที+สุดแสดงว่าการสมรสเป็ นโมฆะ
แล้ว ความสัมพันธ์ส่วนตัวระหว่างคู่สมรสจะเป็ นไปใน
ลักษณะดังนี '
§ หน้าที+ตอ้ งอยูก่ ินด้วยกันฉันสามีภริยาย่อมสิน' สุดลง
§ หน้าที+ตอ้ งช่วยเหลืออุปการะเลีย' งดูยอ่ มสิน' สุดลง
§ หน้าที+เป็ นผูอ้ นุบาลหรือผูพ้ ิทกั ษ์ยอ่ มสิน' สุดลง
§ การใช้คาํ นําหน้านามและชื+อสกุลของหญิงมีสามี
§ ภูมิลาํ เนาของสามีภริยา
ความสัมพันธ์ในทางทรัพย์สิน
1. สัญญาก่อนสมรสในเรื< องทรัพย์สิน (ม.3RVU)
- เป็ นการยกเว้นระบบทรัพย์สินตามที<กม.กําหนดไว้ก่อนที<
ชายหญิงจะจดทะเบียนสมรส (ยกเว้นไม่ปฏิบตั ิตาม ม.4567 - ม.459:)
- แบบ : ต้องจดแจ้งไว้ในทะเบียนสมรส
- ต้องไม่ขดั ความสงบฯหรื อระบุให้ใช้กม.ของประเทศอื<น
- ฝ่ าฝื นเป็ นโมฆะ
- ห้ามเปลี<ยนแปลงสัญญาก่อนสมรสภายหลังที<ทาํ การ
สมรสแล้ว เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากศาล (ม.3RVZ)
- ฝ่ าฝื น ไม่มีผลเปลี<ยนแปลง
- สัญญาก่อนสมรสมีผลระหว่างสามีภริ ยาเท่านัQน แต่
สําหรับบุคคลภายนอกแล้วระบบทรัพย์สินของสามีภริ ยา
ต้องถือตามระบบทรัพย์สินตามกฎหมาย
- แม้ศาลอนุญาตให้เปลี<ยนแปลง ก็ไม่มีผลกระทบ
บุคคลภายนอกผูท้ าํ การโดยสุ จริ ต ยังคงมีสิทธิเหนือ
ทรัพย์สินของสามีภริ ยาตามระบบท.ส.ตามกม.(ม.3RVe)
2.สัญญาระหว่างสมรสในเรื< องทรัพย์สิน
§ เป็ นสัญญาเกี<ยวกับทรัพย์สิน เช่น ให้ ซืBอขาย แลกเปลีDยน เช่า
§ สัญญาที<สามีภริ ยาทําการแบ่งสิ นสมรสทัQงหมดหรื อบางส่ วน
ก็ได้ สัญญานีQสมบูรณ์
§ ไม่มีแบบ
§ ม.3RZV/3 ห้ามทําสัญญาระหว่างสมรสในส่ วนที<เกี<ยวกับการ
จัดการสิ นสมรสที<สามีภริ ยาต้องจัดการร่ วมกัน ถ้าฝ่ าฝื นสัญญา
นัBนใช้บงั คับไม่ได้
§ ม.MNXY บอกล้างได้ในเวลาทีDเป็ นสามีภริ ยากันอยู่ หรื อภายใน M ปี
คําถาม
เป๊ก---จดทะเบียนสมรส---นิววันที4 14 ก.พ. 61 เวลา 10.00 น.
ต่ อมาอีกหนึ4งชั4วโมงในวันเดียวกัน เป๊กและนิวกลับมาทีอ4 าํ เภอแล้ วแจ้ งว่ าทัKงสองคนตกลงจะ
ทําข้ อตกลงว่ า “เป๊กจะไม่ เข้ าไปเกีย4 วข้ องหรื อเรียกร้ องสิ ทธิใดในทรัพย์ สินทีน4 ิวมีอยู่ใน
ปัจจุบันหรื อทีจ4 ะมีในอนาคต” ต่ อมาในระหว่ างสมรสนิวได้ เปิ ดร้ านเฮือนนิว ซึ4งมีกาํ ไรจาก
การขายอาหารจํานวน 100,000 บาท โดยเป๊กไม่ เคยยกเลิกข้ อตกลงนีK
ต่ อมาเป๊กถึงแก่ ความตาย นายดําบิดาของเป๊กจึงมาเรียกร้ องขอส่ วนแบ่ งในกรรมสิ ทธิZ
ร้ านอาหารและกําไรจากการขายจํานวน 100,000 บาท
นายดําบิดาของเป๊กมาปรึกษาท่ านซึ4งเป็ นผู้เชี4ยวชาญกฎหมายครอบครัวว่ า
1.ข้ อตกลงระหว่ างเป๊กกับนิวเป็ นสั ญญาก่ อนสมรสทีไ4 ม่ สามารถบังคับได้ เพราะไม่ ได้ ทาํ ตาม
แบบ
2.ทรัพย์ สินทีไ4 ด้ มาเป็ นสิ นสมรสต้ องนําเรื4 องสิ นสมรสตามกฎหมายมาใช้ บังคับ ได้ หรื อไม่
เพราะเหตุใด
ป็ อก--จดทะเบียนสมรส--มาร์กี4 14 ก.พ. 61
วันรุ่งขึน4 บิดาของป็ อกทําเป็ นหนังสือและจดทะเบียนยก
ทีดH นิ พร้อมบ้านทีรH ะบุให้เป็ นสินสมรสหนึHงเดือนต่อมาทัง4
สองคนตกลงจะทําสัญญามีข้อตกลงว่า “ป็ อกทําเป็ น
หนังสือและจดทะเบียนยกทีดH นิ พร้อมบ้านให้มาร์ก”ี4
>> เป็ นสัญญาระหว่างสมรส
จูเนียร์ --จดทะเบียนสมรส—หญิงจูเนียร์ หึงหญิงทีไ5 ป
เทีย5 วผับแล้ วกลับดึกเลยเอามีดกรีดรถยนต์ ของหญิง เสี ย
ค่ าซ่ อมจํานวน 100,000 บาทหนึ5งสั ปดาห์ ต่อมาทัLงสอง
คนตกลงจะทําสั ญญามีข้อตกลงว่ า “จูเนียร์ ยอมชดใช้ ค่า
ซ่ อมจํานวน 100,000 บาท
>> ไม่ เป็ นสั ญญาระหว่ างสมรส
เพชรจ้ า--จดทะเบียนสมรส—นิวเคลียร์ หนึ5งปี ต่ อมา
ในวันฉลองครบรอบแต่ งงานทัLงสองคนตกลงทํา
สั ญญามีข้อตกลงว่ า “เพชรจ้ าตกลงว่ าจ่ ายค่ าขนมราย
เดือนให้ แก่ นิวเคลียร์ จาํ นวน 30,000 บาท และจะจ่ าย
เพิม5 ขึนL ปี ละ10,000 บาท จนกว่ าจะหย่ ากัน
>> เป็ นสั ญญาระหว่ างสมรส
ตุลย์ --จดทะเบียนสมรส—ดีเจเหมียววันรุ่งขึนL ทัLงสองคนตก
ลงกันว่ าตุลย์ จ่ายเงินค่ าขนมเดือนละ 10,000 บาท ให้ แก่
เหมียวตุลย์ --กําลังเจราจาจดทะเบียนหย่ า—เหมียวตุลย์ ฟ้อง
หย่ า และระบุขอยกเลิกการจ่ ายค่ าขนมดังกล่ าว
>> เป็ นการบอกล้ างตามมาตรา 1469
ความสัมพันธ์ในทางทรัพย์สิน
ม. 01f3 บัญญัตวิ า่ “การสมรสที+เป็ นโมฆะ ไม่ก่อให้เกิด
ความสัมพันธ์ทางทรัพย์สนิ ระหว่างสามีภริยาในกรณีท+ี
การสมรสเป็ นโมฆะ ทรัพย์สนิ ที+ฝ่ายใดมีหรือได้มาไม่วา่
ก่อนหรือหลังการสมรส รวมทัง' ดอกผลคงเป็ นของฝ่ าย
นัน' ส่วนบรรดาทรัพย์สนิ ที+ทาํ มาหาได้รว่ มกันให้แบ่งคน
ละครึง+ เว้นแต่ศาลจะเห็นสมควรสั+งเป็ นประการอื+น เมื+อ
ได้พิเคราะห์ถงึ ภาระในครอบครัว ภาระในการหาเลีย' ง
ชีพ และฐานะของคูก่ รณีทงั' สองฝ่ าย...”
เมืNอการสมรสเป็ นโมฆะ
ผลเกีNยวกับความสัมพันธ์ในทางทรัพย์สินมีดงั นี-

1. ไม่มีความสัมพันธ์ในฐานะสามีภริ ยาเกีNยวกับ
ทรัพย์สินทีNได้มาในช่วงเวลาจดทะเบียนสมรส
ถึงวันทีNการสมรสเป็ นโมฆะ (ม.TUae)
2. แต่หากชายหญิงได้ทรัพย์สินมาก่อนหรื อ
ระหว่างการอยูก่ ินด้วยกัน ทรัพย์สินเป็ นของฝ่ าย
ใดก็เป็ นของคนนั-น
3. เมืNอทรัพย์สินนั-นไม่เป็ นสิ นส่ วนตัวหรื อสิ นสมรส
(ม. TUah) ถ้าดอกผลของทรัพย์สินนั-นเป็ นของ
ฝ่ ายใด ฝ่ ายนั-นก็เป็ นเจ้าของ
U. ทรัพย์สินทีNท- งั สองฝ่ ายทํามาหาได้ร่วมกันให้แบ่ง
คนละครึN ง เว้นแต่ศาลจะสังN เป็ นอย่างอืNน
การคุม้ ครองคู่สมรสทีNเป็ นฝ่ ายสุ จริ ต (ม. TUah)

-คู่สมรสโดยสุจริต หมายถึง ผูท้ AีเชืAอโดยสุจริตว่า


ตนเองมี สิ ท ธิ ต ามกฎหมายทีA จ ะทํา การสมรส
หรือไม่ทราบข้อเท็จจริงอันจะมีผลให้การสมรส
เป็ นโมฆะ
- เช่น ไม่ทราบว่าบุคคลทีAตนสมรสด้วยเป็ นพีAนอ้ ง
ร่วมบิดาหรือไม่ทราบว่ามีคสู่ มรสอยูแ่ ล้ว
ข้อสังเกต
วิธีการทีAผมู้ ีสว่ นได้เสียจะทําลายการสมรสทีAเป็ น
โมฆะ ม. XhkY กําหนดให้ศาลเท่านัน2 ทีAจะแสดงว่า
การสมรสเป็ นโมฆะ มีขอ้ ยกเว้นประการเดียวคือ
การสมรสซ้อนทีAอาจจะกล่าวอ้างโมฆะกรรมของ
การสมรสเหมือนการกล่าวอ้างว่านิตกิ รรมเป็ น
โมฆะได้
ข้อสังเกต
-การสมรสระหว่างผูร้ บั บุตรบุญธรรมกับบุตรบุญธรรม
ม. XYki/bZ “ให้การรับบุตรบุญธรรมเป็ นอันยกเลิกไป
เมืAอมีการสมรสระหว่างบุคคลทัง2 สอง คงเหลืออยูเ่ พียง
ฐานะเดียวคือสามีภริยา”
- หญิงทีAสมรสเดิมสิน2 สุดลงไม่เกิน bXc วันจะสมรสใหม่
ข้อสังเกต : หญิงหม้ายสมรส (ม. 3RUS)
- หญิงทีAสามีตายหรือการสมรสสิน2 สุดลง จะสมรส
ใหม่ได้ตอ่ เมืAอพ้น bXc วันนับแต่วนั สิน2 สุดการ
สมรส เว้นแต่
1. คลอดบุตร
2. สมรสกับคูส่ มรสเดิม
3. มีใบรับรองแพทย์วา่ ไม่ตงั2 ครรภ์
4. มีคาํ สัAงศาลให้สมรส
ผลของการฝ่ าฝื น:
การสมรสนั-น มี ผ ลสมบู ร ณ์ สํา หรั บ กรณี ทีN ค ลอดเด็ ก
ภายใน iTb วันนับแต่การสมรสสิ- นสุ ด ม.Tei^ ให้
สัน นิ ษ ฐานว่า เด็ก เป็ นบุ ต รชอบด้ว ยกฎหมายของ
สามีคนใหม่
แบบแห่งการสมรส
ต้องมีการจดทะเบียนสมรส
ทรัพย์สินระหว่างสามีภริ ยา
- สินส่วนตัว
- สินสมรส
สิ นส่ วนตัว (ม. 5DE5)
1. ทรัพย์สนิ ที+ฝ่ายหนึง+ มีอยูก่ ่อนสมรส
2. ทรัพย์สนิ ที+เป็ นเครือ+ งใช้สอยส่วนตัว เครือ+ งแต่งกาย หรือ
เครือ+ งประดับตามควรแก่ฐานะหรือเครือ+ งมือเครือ+ งใช้ท+ี
จําเป็ นในการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพ
3. ทรัพย์สนิ ที+ฝ่ายหนึง+ ได้มาระหว่างสมรสโดยรับมรดกหรือ
การให้โดยเสน่หา
4. ของหมัน'
แบบฝึ กหัด

หมื+นสุนทรเทวา-----หมัน' ------การะเกด
มารดาของหมื+นฯให้เงินจํานวน h,ggg,ggg บาท
หมื+นฯปลูกบ้านร่วมกับการะเกด
การะเกดออกเงินจํานวน h,ggg,ggg บ้านที+ปลูกขึน' หลัง
หมัน'
>> บ้านเป็ นสินส่วนตัว คนละครึง+
เบส-----หมัน/ ------เฌอปราง
เฌอปรางมีบา้ นส่วนตัว หลังสมรสเบสนําเงินสดหนึง$ ในสาม
มาช่วยออกค่าซ่อมบ้าน บ้านเป็ นสินส่วนตัวของเฌอปราง
เบส(สามี)นําทรัพย์สนิ อื$นมาระคนปนกับสินส่วนตัว
ของเฌอปราง(ภริยา)หลังสมรส
>> บ้านยังเป็ นสินส่วนตัวของภริยา
สิ นสมรส (ม. 5DED)
1. ทรัพย์สนิ ทีAคสู่ มรสได้มาระหว่างสมรส
2. ทรัพย์สนิ ทีAฝ่ายใดฝ่ ายหนึงA ได้มาระหว่างสมรส
โดยพินยั กรรมหรือการให้เป็ นหนังสือ เมืAอ
พินยั กรรมหรือหนังสือยกให้ระบุวา่ เป็ นสินสมรส
3. ทรัพย์สนิ ทีAเป็ นดอกผลของสินส่วนตัว
แบบฝึ กหัด

โอบ-----คนรัก------แบมแบม
ทําสัญญาจะซือ/ คอนโดมิเนียมและวางมัดจําไว้ เมื$อสมรส
แล้วทําเป็ นหนังสือและจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิeในคอนโด
>> เป็ นสินสมรส

จ๊ะ-----สมรส------เอิรน์
เอิรน์ ปลูกบ้านบนที$ดนิ ของจ๊ะ โดยได้รบั ความยินยอมจากจ๊ะ
>> บ้านไม่เป็ นส่วนควบ บ้านเป็ นสินสมรส
อํานาจจัดการทรัพย์สิน
- อํานาจจัดการสินส่วนตัว
- อํานาจจัดการสินสมรส
อํานาจจัดการสิ นส่ วนตัว
- เจ้าของสินส่วนตัวเป็ นผูจ้ ดั การสินส่วนตัว
นัน' เอง
อํานาจจัดการสิ นสมรส
- ถ้ามีสญั ญาก่อนสมรสกําหนดไว้เป็ นอย่างอื$น (ม. HWTI/H)
- สามีภริยาต้องจัดการสินสมรสร่วมกัน หรือต้องได้รบั ความยินยอม
จากอีกฝ่ ายหนึง$ ในกรณีดงั ต่อไปนี /
- หากคูส่ มรสฝ่ ายหนึง$ ทํานิตกิ รรมไปเพียงฝ่ ายเดียว หรือไม่ได้รบั
ความยินยอมจากคูส่ มรสอีกฝ่ ายหนึง$ คูส่ มรสอีกฝ่ ายหนึง$ ฟ้องให้
ศาลเพิกถอนนิตกิ รรมนัน/ ได้ (ม.HWaF)
สามีภริ ยาต้องจัดการสิ นสมรสร่ วมกัน หรื อต้องได้รับ
ความยินยอมจากอีกฝ่ ายหนึ*ง ในกรณี ดงั ต่อไปนี`
(1) ขาย แลกเปลี$ยน ขายฝาก ให้เช่าซือ/ จํานอง ปลดจํานอง
(2) ก่อตัง/ หรือกระทําให้สนิ / สุดลงทัง/ หมดหรือบางส่วนซึง$ ภาระจํา
ยอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพืน/ ดิน สิทธิเก็บกิน ภาระติดพันใน
อสังหาริมทรัพย์
(3) ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์เกิน E ปี
(4) ให้กยู้ ืมเงิน
(5) ให้โดยเสน่หา เว้นแต่ให้พอควรแก่ฐานานุรูปของ
ครอบครัว เพืAอการกุศล เพืAอสังคม หรือตามหน้าทีA
ธรรมจรรยา
(l) ประนีประนอมยอมความ
(m) มอบข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการวินิจฉัย
(i) นําทรัพย์สนิ เป็ นประกันหรือหลักประกันต่อเจ้า
พนักงานหรือศาล
หนีNทีCสามีภริ ยามีต่อบุคคลภายนอก
1. กรณีเป็ นหนีส' นิ ส่วนตัว
2. กรณีเป็ นหนีร' ว่ มกัน
กรณี เป็ นหนีNสินส่ วนตัว
- หนีท' +ีสามีหรือภริยาได้ก่อไว้ก่อนหรือระหว่างสมรส
แล้ว ในการชําระหนี ต' ่อบุคคลภายนอกให้ชาํ ระหนี '
นัน' ด้วยสินส่วนตัวของฝ่ ายนัน' ก่อน เมื+อไม่พอจึงให้
ชําระหนีด' ว้ ยสินสมรสที+เป็ นส่วนของฝ่ ายนัน' ก่อน
กรณี เป็ นหนีNร่วมกัน
- หนีร' ว่ ม หมายถึง หนีท' +ีสามีภริยาได้ก่อขึน' ร่วมกัน
- สามีภริยาต้องร่วมรับผิดชอบในหนีส' นิ นัน' โดย
สิน' เชิง จะแบ่งแยกความรับผิดเป็ นส่วน ๆ ไม่ได้
- ให้ชาํ ระหนีร' ว่ มนัน' จากสินสมรสและสินส่วนตัวของ
ทัง' สองฝ่ าย
หนีIร่วม
รวมถึงหนีท= Oีสามีหรือภริยาได้ก่อให้เกิดขึน= ในระหว่างสมรสดังต่อไปนี =
1. หนีเ= กีOยวแก่การจัดการบ้านและจัดหาสิOงจําเป็ นสําหรับครอบครัว การ
อุปการะเลีย= งดู การรักษาพยาบาลบุคคลในครอบครัว และการศึกษา
ของบุตรโดยสมควรแก่อตั ภาพ
2. หนีเ= กีOยวกับสินสมรส
3. หนีท= Oีเกิดขึน= เนืOองจากงานซึงO สามีภริยาทําด้วยกัน
4. หนีท= Oีสามีหรือภริยาก่อขึน= เพืOอประโยชน์ของตนฝ่ ายเดียว แต่อีกฝ่ าย
ได้ให้สตั ยาบันหนีน= นั= แล้ว
5. หนีอ= นั เกิดแต่การฟ้อง ต่อสู้ หรือดําเนินคดีเกีOยวกับการสงวนหรือ
บํารุงรักษาสินสมรสหรือเพืOอประโยชน์แก่สนิ สมรส
การสิN นสุ ดแห่งสมรส
1. ความตาย
2. ศาลมีคาํ พิพากษาเพิกถอนการสมรส
3. การหย่า
1. ความตาย
- ตายโดยธรรมชาติ
- ตายโดยกฎหมาย
c. ศาลมีคาํ พิพากษาเพิกถอนการสมรส
1. การสมรสที$ฝ่าฝื นเงื$อนไขอายุ
2. การสมรสที$เกิดจากสําคัญผิดตัวคูส่ มรส
3. การสมรสที$เกิดจากกลฉ้อฉล
4. การสมรสที$เกิดจากการข่มขู่
5. การสมรสที$เกิดขึน/ โดยไม่ได้รบั ความยินยอมจากบิดา
มารดาหรือผูป้ กครอง
ข้อสังเกตการสมรสที<เป็ นโมฆียะ
1. ศาลเท่านัน' เป็ นผูเ้ พิกถอน โดยบุคคลตาม
มาตรา 0S3 ต้องร้องขอให้ศาลเพิกถอน
2. การเพิกถอนการสมรสเป็ นโมฆียะมีผลในวันที+
ศาลพิพากษาถึงที+สดุ ให้เพิกถอน
3. แม้เพิกถอนการสมรสยังให้ถือว่าบุตรที+คลอด
ในระหว่างการสมรสที+เป็ นโมฆียะนัน' ยังเป็ น
บุตรชอบด้วยกฎหมาย
ผลของการเพิกถอนการสมรส
1. ผลเกี+ยวกับคูส่ มรส
2. ผลเกี+ยวกับบุตร
3. ผลต่อบุคคลภายนอก
0. ผลเกีJยวกับคู่สมรส
• ทําให้การสมรสสิ- นสุ ดลง (ม.TeTT,TeT<)
• อํานาจปกครองบุตร ให้คู่สมรสฝ่ ายทีNขอให้ศาล
เพิกถอนเป็ นผูป้ กครองบุตร เว้นแต่ศาลจะชี-ขาด
ให้อีกฝ่ ายหนึNงหรื อบุคคลภายนอกเป็ นผูป้ กครอง
(ม.Te<b)
• การแบ่งทรัพย์สินระหว่างสามีภริ ยาให้มีผล
ย้อนหลังไปถึงวันทีNขอให้ศาลสังN เพิกถอนการ
สมรส (ม.Tei< (ข))
• การแบ่งสิ นสมรสให้ชายหญิงได้เท่ากัน
(ม.Teii,TeiU)
• ให้รับผิดในหนี-ทีNจะต้องรับผิดด้วยกันตามส่ วน
เท่ากัน(ม.Teie)
• คู่สมรสฝ่ ายทีAสจุ ริตมีสิทธิในการเรียกค่าทดแทน
(ม.XYXb) ในกรณีทAีผถู้ กู ฟ้องต้องรับผิดใช้ ค่า
ทดแทนเมืAอเหตุแห่งโมฆียะนัน2 ตนเป็ นผูก้ ่อหรือรู ้
เห็นเป็ นใจทําให้อีกฝ่ ายหนึAงหลงเชืAอยอมสมรส
ด้วย มีผลทําให้เกิดความสัมพันธ์ในทางส่วนตัว
และทรัพย์สินซึAงอาจทําให้เกิดความเสียหายต่อ
กาย ชืAอเสียง หรือทรัพย์สนิ ได้
• หากการเพิกถอนการสมรสทําให้ชายหรือหญิงทีA
ฟ้องขอให้ศาลเพิกถอนต้องยากจนลงและไม่มี
รายได้เพียงพอจากทรัพย์สินหรืองานทีAเคยทําใน
ระหว่างสมรส กฎหมายให้สิทธิ เรียกค่าเลีย2 งชีพ
ได้ (ม.XYXb)
c. ผลเกีJยวกับบุตร
• บุตรทีNเกิดมาระหว่างการสมรสทีNเป็ นโมฆียะ
ซึNงศาลเพิกถอนในภายหลังให้ถือว่าเป็ นบุตร
ชอบด้วยกฎหมายของชายและหญิงนั-น
(ม.Teob)
f. ผลต่อบุคคลภายนอก
• กฎหมายคุม้ ครองสิทธิของบุคคลภายนอกผูส้ จุ ริต
มิ ใ ห้ช ายหรือ หญิ ง ยกเอาเหตุท+ี ศ าลเพิ ก ถอนการ
สมรสมาอ้างเพื+อให้เสื+อมสิทธิ ของบุคคลภายนอก
แม้ว่าจะได้ทาํ นิติกรรมกับชายหรือหญิ งหลังจาก
ศาลเพิกถอนแล้วก็ ตาม เว้นแต่จะได้จดทะเบียน
การเพิกถอนการสมรสนัน' แล้ว
%. การหย่า
1. การหย่าโดยความยินยอม
2. การหย่าโดยคําพิพากษาของศาล
หย่าโดยความยินยอม
- ต้องยินยอมทัง/ สองฝ่ าย
- ต้องทําเป็ นหนังสือและมีพยานลงลายมือชื$อ
อย่างน้อยสองคน
- ถ้าทําหนังสือหย่าแล้ว หากฝ่ ายหนึง$ ไม่ยอมไป
จดทะเบียนหย่า อีกฝ่ ายหนึง$ มีสทิ ธิฟอ้ งขอให้ศาล
บังคับให้มีการจดทะเบียนหย่าได้
การหย่าโดยคําพิพากษาของศาล
(1) สามีหรือภริยาอุปการะเลีย/ งดูหรือยกย่องผูอ้ $ืนฉันภริยาหรือ
สามี เป็ นชูห้ รือมีชหู้ รือร่วมประเวณีกบั ผูอ้ $ืนเป็ นอาจิณ
(2) สามีหรือภริยาประพฤติช$ วั ...
(3) สามีหรือภริยาทําร้ายหรือทรมานร่างกายหรือหมิ$นประมาท
อีกฝ่ ายหนึง$ หรือบุพการีของอีกฝ่ ายหนึง$
(4) สามีหรือภริยาจงใจทิง/ ร้างอีกฝ่ ายหนึง$ ไปเกินหนึง$ ปี
(5) สามีหรือภริยาต้องคําพิพากษาถึงที$สดุ ให้จาํ คุกเกิน H ปี ใน
ความผิดที$อีกฝ่ ายมิได้มีสว่ นผิดหรือยินยอมหรือยินยอม
(6) สามีหรือภริยาสมัครใจแยกกันอยูเ่ กิน E ปี
(T) สามีหรือภริยาถูกศาลสั$งให้เป็ นคนสาบสูญ หรือไปจากภูมิลาํ เนา
เป็ นเวลาเกิน E ปี โดยไม่มีใครทราบแน่วา่ เป็ นตายร้ายดีอย่างไร
(a) สามีหรือภริยาไม่ให้ความช่วยเหลืออุปการะเลีย/ งดูอีกฝ่ ายตาม
สมควรหรือทําการอันเป็ นปฏิปักษ์ตอ่ การเป็ นสามีภริยาอย่างร้ายแรง
(j) สามีหรือภริยาวิกลจริตตลอดมาเกิน E ปี และยากที$จะหายได้
(HF) สามีหรือภริยาทําผิดทัณฑ์บนความประพฤติท$ีทาํ เป็ นหนังสือ
(HH) สามีหรือภริยาเป็ นโรคติดต่ออย่างร้ายแรงอันอาจเป็ นภัยแก่อีก
ฝ่ ายหนึง$ และเป็ นโรคเรือ/ รังไม่มีทางที$จะหายได้
(HY) สามีหรือภริยามีสภาพแห่งกายทําให้อีกฝ่ ายไม่สามารถร่วม
ประเวณีได้ตลอดกาล
ตัวอย่างฟ้องหย่า
ผูห้ ญิงชาวไต้หวันชนะคดีฟอ้ งหย่า อ้างฟั งชันก์ "อ่านแล้ว"
(Read) ในแอปพลิเคชันสนทนา "ไลน์" (Line) เป็ น
หลักฐานว่าสามีไม่สนใจ อ่านข้อความเธอแล้วไม่ยอมตอบ
ผูพ้ ิพากษาศาลครอบครัวในเขตซิงจู ของไต้หวัน ตัดสินให้นาง
ลิน ฝ่ ายภรรยาวัย fF ปี เศษ ชนะคดีฟอ้ งหย่าเมื$อต้นเดือนนี /
โดยระบุวา่ การไม่ตอบไลน์เป็ นหลักฐานชิน/ สําคัญที$แสดงว่า
ชีวิตสมรสของเธอและสามี "แย่เกินจะแก้ไข" และเธอมีสทิ ธิeจะ
ขอฟ้องหย่าได้ (ต่อ)
ผูพ้ ิพากษา ระบุวา่ ตลอดช่วงเวลา I เดือน นางลินได้สง่ ข้อความหา
สามีเธอหลายต่อหลายครัง/ รวมถึงข้อความที$เธอส่งไปบอกว่าเธอ
ต้องเข้าโรงพยาบาลเพราะประสบอุบตั เิ หตุทางรถยนต์ แม้วา่ สามี
จะไปเยี$ยมเธอที$โรงพยาบาลหนึง$ ครัง/ แต่ศาลมองว่าการที$เขาไม่
สนใจตอบข้อความเธอหลังจากนัน/ มีนา/ํ หนักพอที$จะใช้เป็ นเหตุให้
เธอขอฟ้องหย่าได้ นางลินแต่งงานกับสามี ซึง$ อยูใ่ นวัย WF ปี เศษ
เมื$อปี YFHY เธอระบุวา่ นอกจากสามีจะไม่สนใจตอบข้อความแล้ว
เธอยังต้องเผชิญปั ญหาอื$น ๆ อีกหลังจากย้ายเข้าไปอยูบ่ า้ นสามี ที$มี
ทัง/ แม่ น้องชาย และน้องสะใภ้สามี อาศัยอยูด่ ว้ ย เธอต้องรับผิดชอบ
ค่าใช้จา่ ยในบ้านแทบทัง/ หมด และฝ่ ายแม่สามียงั ขอให้เธอกูเ้ งินมา
จ่ายภาษี ให้พอ่ สามีอีกด้วย เอกสารศาลยังเปิ ดเผยว่า ครอบครัว
สามีไม่เป็ นมิตรกับเธอนัก ทัง/ ยังจํากัดเวลาอาบนํา/ หรือแม้กระทั$ง
การปรับอุณหภูมินา/ํ อุน่ ที$เธออาบด้วย (ต่อ)
ผูพ้ ิพากษากล่าวว่า การไม่ตอบไลน์เป็ นเหมือนฟางเส้นสุดท้าย
"คูร่ กั ทั$วไปไม่ควรจะปฏิบตั ติ อ่ กันแบบนัน/ ...ข้อความทางไลน์เป็ น
หลักฐานชิน/ สําคัญ ...มันแสดงให้เห็นถึงสภาพชีวิตสมรส ...ว่าเขา
และเธอไม่ส$อื สารกันเป็ นอย่างดี"
ชายหนุม่ ไต้หวันยื$นฟ้องหย่าเมียรัก ข้างหลังทนมานาน HE ปี ภรรยา
อาบนํา/ เพียงแค่ปีละครัง/ อ้างทําอย่างงี / เนื$องจากไม่ได้อยากมีเซ็กซ์
ด้วย ในที$สดุ ความทรหดอดทนจบ ด้วยเหตุวา่ ภรรยายังไม่ยินยอมให้
ปฏิบตั งิ าน ทัง/ ๆที$ผา่ นมาได้แม้กระนัน/ แบมือขอเงินแม่ภรรยา
เมื$อ HY มกราคมIH เว็บ Shanghaiist รายงานอ้างข่าวสารจาก
ไทเป ไทม์ส สื$อในไต้หวันเปิ ดเผยเรือ$ งพิศดาร เมียอาบนํา/ เพียงแค่ปี
ละที กระทั$งผัวชาวไต้หวันที$ทรหดอดทนมานานถึง HE ปี ตกลงใจเป็ น
โจทก์ ยื$นฟ้องหย่านางหลิน ผูเ้ ป็ นเมียมาตัง/ แต่เมื$อปี Yffa โดยชาย
ไต้หวันที$หวานอมขมกลืนมานานขนาดนี / ให้การต่อศาลนิว ไทเป สิตี /
อ้างถึงว่าเมียของตัวเอง อาบนํา/ แค่เพียงปี ละครัง/ รวมถึงไม่ยินยอม
แปรงฟั น รวมทัง/ สระผม เพื$อไม่ตอ้ งการร่วมเพศกับตน และไม่
ต้องการมีลกู ซึง$ จัดว่าไม่อยากสร้างครอบครัว (ต่อ)
ชายไต้หวันรายนี / ซึง$ ข่าวสารไม่เปิ ดเผยชื$อ พูดว่า ความประพฤติ
ของเมีย ส่งผลให้ตนมีความทุกข์รอ้ นทรมาทรกรรมทางจิตใจ
นอกจากนีแ/ ล้ว เมียผูน้ ี / ยังไม่ยินยอมปฏิบตั งิ าน รวมถึงไม่ยินยอม
ให้เขาปฏิบตั งิ านด้วย เนื$องจากอยากได้ให้เขาอยูแ่ ต่วา่ บ้านและก็
ดูแลบิดาของคุณที$ลม้ ป่ วย ซึง$ จากการที$เขารวมทัง/ เมียมิได้
ดําเนินการ โน่นซึง$ ก็คือ จําต้องพึง$ เงินจากแม่ของเมีย
จนถึงความทรหดอดทนของเขาสิน/ สุดลงกระทั$งตกลงใจฟ้องหย่า
เมียเมื$อปี fa ภายหลังจากเขาได้งานทําที$เมือง Hsinchu แม้
กระนัน/ แล้ว หนึง$ เดือนถัดมา เมียได้มาตามถึงที$ปฏิบตั งิ าน (ต่อ)
รวมทัง/ เรียกร้องให้เขาลาออกจากงาน เพื$อกลับบ้านกับคุณตาม
เคย ซึง$ ทําให้ชายคนนี / หมดความทรหดอดทน เริม$ ขัน/ ตอนตาม
กฎหมาย ยื$นฟ้องขอหย่ากับเมีย อย่างไรก็ดี ด้านนางหลิน ยืน
กรานไม่ยอมรับข้อกล่าวหากลุม่ นีข/ องผัว แต่วา่ ศาลได้ตรึกตรอง
แล้ว มีความคิดเห็นว่าสองผัวเมียคูน่ ี / ‘ถูกกันมิได้’ รวมทัง/ ได้
แยกกันอยูม่ านานถึง Y ปี ก็เลยวินิจฉัยให้ขา้ งชายชนะคดี
สามารถหย่าจากเมียได้ ที$มาของเนือ/ หา :
www.thairath.co.th
ข้อสังเกต มาตรา 1516(4)
สามีภริ ยามีความประสงค์แยกทางกัน (แต่ยงั ไม่ถึงสามปี )
โดยทําบันทึกแยกทาง ภายหลังทําบันทึกแยกทางกันสามีไม่
เคยพูดเรื< องจดทะเบียนหย่า สามีลงลายมือชื<อในบันทึกแยก
ทางกันเพราะกลัวว่าจะไม่ได้พบบุตรอีก แม้สามีออกจากบ้าน
ของภริ ยาไปเอง
>> ไม่ใช่เหตุฟ้องหย่า 1516 (4)
สามีไปทํางานทีDญีDปุ่นสองปี ภริ ยาขอให้สามีกลับมาอยูด่ ว้ ยกันทีD
ไทยหลายครัBง สามียนื ยันไม่กลับไทย ไม่สนใจกลับมาดูแลบุตร
ร่ วมกับภริ ยาเป็ นเวลาแปดปี
>> เป็ นเหตุฟ้องหย่า 1516 (4)
บูบ้ B ีกบั ชูกา้ จดทะเบียนสมรสและอยูก่ ินทีDบา้ นมารดาของบูบ้ B ี ต่อมา
มารดาของบูบ้ B ีทะเลาะกับชูกา้ ชูกา้ กับลูกสาวออกจากบ้านไปอาศัย
ทีDอืDนโดยบูบ้ B ีตามไปอยูด่ ว้ ย
ต่อมาทะเลาะกันหลายครัBงบูบ้ B ีกลับไปอยูบ่ า้ นมารดาบูบ้ B ีแล้วไม่
กลับไปดูแลชูกา้ และลูกเป็ นเวลาสามปี
>> เป็ นเหตุฟ้องหย่า 1516 (4)
ข้ อสั งเกต มาตรา [\[] (_)
สามีเคยเป็ นคนรักลูกรักเมีย แต่กลายเป็ นคนติดเหล้า พอเมาก็ข: ี
โมโหชอบเตะภริ ยาเป็ นประจํา ภริ ยาอายญาติ 1 มีนาคม 2560 สามีภริ ยา
เดินทางไปโรงพักเพืMอตกลงเลิกกันแต่มีตาํ รวจช่วยเกลี:ยกล่อมไว้ จน
ภริ ยาใจอ่อน จึงได้แค่ลงบันทึกประจําวันไว้ทีMโรงพัก แต่ผา่ นไป 3 เดือน
ก็เหมือนเดิม บันทึกประจําวันทีMโรงพักซึMงสามีลงชืMอไว้น: นั ถือเป็ น
หนังสื อทัณฑ์บน อย่างหนึMง ทีMสามีลงชืMอว่าจะไม่ทาํ หรื อ ประพฤติ
เช่นนั:นอีก เมืMอมีการผิดทัณฑ์บนดังกล่าวจึงนํามาเป็ นเหตุฟ้องหย่าได้ แต่
ผูฟ้ ้องจะต้องแสดงให้ศาลเห็นด้วยว่าความประพฤติของสามีดงั กล่าว
ไม่ใช่เหตุเล็กน้อย หรื อความประพฤติดงั กล่าวถือเป็ นเรืM องสําคัญของผู ้
ฟ้องในการอยูร่ ่ วมกันฉันสามีภริ ยาโดยปกติสุข
ข้ อสั งเกต มาตรา [\[] (_)
-ทัณฑ์บนทีDสามีภริ ยาทําไว้ต่อกันนัBนจะต้องทําเป็ นหนังสื อ
จะตกลงกันด้วยวาจาไม่ได้ ทัBงนีBเพราะการตกลงกันเอง เฉย ๆ ย่อม
เห็นได้วา่ คู่สมรสไม่มุ่งหมายให้มีผลผูกพันกันหรื อเห็นว่าไม่ใช่ทีD
เป็ นสาระสําคัญ และคู่สมรสฝ่ ายไหนเป็ นคนทําทัณฑ์บน คู่สมรส
ฝ่ ายนัBนก็จะเป็ นผูล้ งชืDอไว้แต่ฝ่ายเดียว หรื ออาจจะทําเป็ นข้อตกลง
หรื อสัญญาโดยลงชืDอทัBงสองฝ่ ายก็ได้
-ถ้าศาลเห็นว่าความประพฤติ ของสามี อันเป็ นเหตุให้ทาํ
ทัณฑ์บนนัBนเป็ นเหตุเล็กน้อย หรื อไม่สาํ คัญเกีDยวแก่การอยูร่ ่ วมกัน
ฉันสามีภริ ยาโดยปกติสุข ศาลจะไม่พิพากษาให้หย่าก็ได้
คําถาม นายจิBงโจ้และนางกวางเป็ นสามีภริ ยา นายจิBงโจ้ไม่เคยออก
ค่าใช้จ่ายภายในบ้าน นางกวางต้องเป็ นผูร้ ับภาระค่าใช้จ่ายทัBงหมด
วันทีD1 มีนาคม 2560 นายจิBงโจ้ไปเทีDยวหญิงโสเภณี ทาํ ให้ทB งั
สองคนทะเลาะกันแล้วในวันรุ่ งขึBนนายจิBงโจ้ออกจากบ้านเรื อนหอ
แล้วย้ายไปอยูท่ ีDบา้ นมารดาของตนเป็ นเวลาหกเดือน โดยจิงใจ้
ติดต่อขอคืนดีแต่นางกวางปฏิเสธ หลังจากนัBน1 กันยายน
2560 นายจิBงโจ้สาํ นึกผิดจึงไปบวชทีDวดั โดยไม่มีกาํ หนดสึ ก
นายจิBงโจ้และนางกวางไม่เคยติดต่อกันอีกเลยตัBงแต่นายจิBงโจ้บวช
ดังนีBวนั ทีD 1กุมภาพันธ์ 2564 นางกวางต้องการฟ้องหย่าได้
หรื อไม่เพราะเหตุใด
คําตอบนายจิ+งโจ้ไม่เคยออกค่าใช้จ่ายภายในบ้าน นางกวางต้องเป็ นผูร้ ับภาระ
ค่าใช้จ่ายทั+งหมดเป็ นการไม่ช่วยเหลืออุปการะเลี+ยงดูตามมาตรา 1516(6)
เป็ นเหตุฟ้องหย่า วันทีH1 มีนาคม 2560 นายจิ+งโจ้ไปเทีHยวหญิงโสเภณี ทาํ ให้
ทั+งสองคนทะเลาะกันแล้วในวันรุ่ งขึ+นนายจิ+งโจ้ออกจากบ้านเรื อนหอแล้วย้ายไปอยู่
ทีHบา้ นมารดาของตนเป็ นเวลาหกเดือน เป็ นชูต้ ามมาตรา 1516(1) และนาง
กวางไม่เคยยินยอม จึงไม่เข้าข้อยกเว้นตาม1517 แต่ไม่เป็ นการจงใจละทิ+งร้าง
ตามมาตรา 1516(4) 1 กันยายน 2560 นายจิ+งโจ้สาํ นึกผิดจึงไปบวช
ทีHวดั โดยไม่มีกาํ หนดสึ ก ถือเป็ นหน้าทีHพทุ ธศาสนิกชนจึงไม่เป็ นการจงใจละทิ+งร้าง
ตามมาตรา 1516(4) แต่ฟ้องหย่าได้เนืHองจากมีพฤติการณ์ทีHแสดงให้เห็นว่า
ต่างฝ่ ายต่างอยูจ่ ึงเป็ นสมัครใจแยกกันอยูเ่ กินสามปี ตามมาตรา 1516(4/2)
คําถาม วันทีD 1 กุมภาพันธ์ 2560 นายดําและนางแดงเป็ น
สามีภริ ยา นายดําเป็ นคนเจ้าชู ้ นางแดงไม่คาดคิดว่านายดําจะจริ งจัง
กับนางฟ้าเพราะขณะนัBนนายดํายังมีหญิงอืDนอีกหลายคน จนเมืDอ1
มีนาคม 2563 นางแดงทราบว่านายดํากับนางฟ้าอยูก่ ินด้วยกัน
จนมีบุตรด้วยกันหนึDงคนและนายดําได้ให้บุตรใช้นามสกุลของนาย
ดํานางแดงจึงต้องการหย่า นางแดงมีเหตุฟ้องหย่าได้หรื อไม่เพราะ
เหตุใดและมีเหตุใดทีDฟ้องหย่าไม่ได้หรื อไม่ เพราะเหตุใด
คําตอบ การยินยอมและการให้อภัยหมายถึงคู่สมรสอีกฝ่ ายทีD
ยินยอมหรื อให้อภัยได้ทราบข้อเท็จจริ งทัBงหมดเกีDยวกับการกระทํา
อันเป็ นเหตุให้ก่อให้เกิดสิ ทธิฟ้องหย่า แต่แสดงเจตนาปรากฏอย่าง
ชัดแจ้งว่าอนุญาตให้กระทําหรื อไม่ใช้สิทธิฟ้องหย่า
เมืDอนางแดงไม่ทราบแน่ชดั และนางแดงไม่คาดคิดว่านายดําจะ
จริ งจังกับนางฟ้าเพราะขณะนัBนนายดํายังมีหญิงอืDนอีกหลายคน จน
เมืDอ1มีนาคม 2563 นางแดงทราบว่านายดํากับนางฟ้าอยูก่ ิน
ด้วยกันจนมีบุตรด้วยกันหนึDงคนและนายดําได้ให้บุตรใช้นามสกุล
ของนายดํา นางแดงต้องการฟ้องหย่า ส่ วนเหตุทีDไม่ได้ฟ้องหย่าแต่
แรกเพราะไม่ทราบความสัมพันธ์ระหว่างนายดํากับนางฟ้า ถือว่าไม่
ยินยอมหรื อให้อภัยในเรืD องอุปการะเลีBยงดูหรื อยกย่องหญิงอืDนฉัน
ภริ ยา มีสิทธิฟ้องหย่าตาม1516(1)
คําถาม วันทีD 1 กุมภาพันธ์ 2560 นายแดนกับนางบีเป็ นสามีภริ ยา
วันทีD 1 มีนาคม 2561 นางบีใช้มีดแทงนายแดนเป็ นบาดแผลรักษา
ตัว 7วันในตอนทีDนางบีตB งั ครรภ์ได้2เดือนเนืDองจากมีนิสยั ขีB
หึ ง แต่นายแดนเห็นว่านางบีตB งั ครรภ์อยูอ่ าจอารมณ์
แปรปรวน นายแดนจึงไม่ได้ดาํ เนินคดีฐานทําร้ายร่ างกาย วันทีD 5
สิ งหาคม 2562 นายแดนและนางบีทะเลาะกันเนืDองจากนางบีด่า
มารดาของนายแดนว่าเป็ นข้าราชการรับสิ นบน เลวทัBงโคตร ทําให้นาย
แดนโกรธมาก นางบีขอคืนดีแต่นายแดนปฏิเสธ นายแดนจึงพาบุตรไปอยู่
บ้านมารดาของตนตัBงแต่วนั ทีD1 มกราคม 2563จนถึง1 กุมภาพันธ์
2564 นายแดนจึงต้องการหย่า นายแดนมีเหตุฟ้องหย่าได้หรื อไม่
เพราะเหตุใดและมีเหตุใดทีDฟ้องหย่าไม่ได้หรื อไม่ เพราะเหตุใด
คําตอบ นางบีใช้มีดแทงนายแดนตอนทีDตB งั ครรภ์ได้สองเดือน
เนืDองจากมีนิสยั ขีBหึง เป็ นการทําร้ายร่ างกายนายแดนตามมาตรา
1516(3) แต่นายแดนเห็นว่านางบีตB งั ครรภ์อยูอ่ าจอารมณ์
แปรปรวน นายแดนจึงไม่ได้ดาํ เนินคดีฐานทําร้ายร่ างกาย เป็ นการ
ให้อภัยตามมาตรา 1518 นายแดนฟ้องหย่าตามเหตุนB ีไม่ได้
นางบีหมิDนประมาทบุพการี ของคู่สมรสอย่างร้ายแรง เป็ นเหตุฟ้อง
หย่าได้ตามมาตรา 1516(3) นายแดนจึงพาบุตรไปอยูบ่ า้ น
มารดาของตนตัBงแต่วนั ทีD1 มกราคม 2563จนถึง1
กุมภาพันธ์ 2564 เป็ นจงใจละทิBงร้างโดยอ้อมเนืDองจากนางบี
เป็ นต้นเหตุ เป็ นเหตุฟ้องหย่าได้ตามมาตรา 1516(4)
ข้อยกเว้นในเหตุฟ้องหย่า
1. การยินยอมหรือรูเ้ ห็นเป็ นใจของฝ่ ายที$มีสทิ ธิฟอ้ งหย่า
2. การกระทําของฝ่ ายที$มีสทิ ธิฟอ้ งหย่าเป็ นเหตุให้เกิด
การหย่านัน/
3. เหตุหย่าเป็ นเหตุเล็กน้อย
4. ฝ่ ายที$ฟอ้ งหย่าได้ให้อภัยแล้ว
ผลของการหย่าโดยคําพิพากษา
1. มีผลเมืAอคําพิพากษาถึงทีAสดุ แม้จะยังไม่ได้
จดทะเบียนหย่าก็ตาม แต่กฎหมายคุม้ ครอง
บุคคลภายนอก ผูส้ จุ ริต(ไม่รูว้ า่ คูส่ มรสหย่า
แล้ว) ฝ่ ายหนึงA จะอ้างผลของคําพิพากษา
ไม่ได้ เว้นแต่ได้มีการจดทะเบียนหย่าแล้ว
2. ผลเกีAยวกับตัวบุตร
h.0 การใช้อาํ นาจปกครองบุตรหลังการหย่า
- เหตุหย่าเกิดขึน' เพราะฝ่ ายใด เมื+อคูส่ มรสอีกฝ่ าย
ฟ้องหย่าและชนะคดีก็เป็ นผูป้ กครอง แต่ศาล
อาจจะตัดสินให้ฝ่ายหนึง+ หรือบุคคลภายนอกเป็ น
ผูป้ กครองก็ได้
- ถ้าศาลเห็นว่ามีเหตุท+ีจะถอนอํานาจปกครอง
(ม.03xh) ศาลจะถอนอํานาจปกครองของคูส่ มรส
และสั+งให้บคุ คลภายนอกเป็ นผูป้ กครองก็ได้
เหตุท+ีจะถอนอํานาจปกครอง
1. การเป็ นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้
ความสามารถตามคําสั+งศาล
2. การใช้อาํ นาจปกครองเกี+ยวกับตัวผูเ้ ยาว์โดยมิ
ชอบ
หรือประพฤติช+ วั ร้าย
h.h การอุปการะเลีย' งดูบตุ รหลังการหย่า
*. ผลต่อคูส่ มรส
b.X การเรียกค่าทดแทน (ม.XYZb-XYZY)
b.Z การเรียกค่าเลีย2 งชีพ (ม.XYZl)
ค่าอุปการะเลี9ยงดูเป็ นเงินดํารงชีพทีJจ่ายให้แก่กนั
ในระหว่างชายหญิงทีJมีฐานะเป็ นสามีภริ ยากันอยู่

ค่าเลีย' งชีพเป็ นเงินทีCจา่ ยให้แก่กนั เฉพาะ


เมืCอชายหญิงขาดจากการเป็ นสามีภริยา
แล้วเท่านัน'
การแบ่งทรัพย์สินของสามีภริ ยา
-เมื$อหย่ากันแล้วให้แบ่งสินสมรสโดยให้ชายและ
หญิงมีสว่ นได้เท่า ๆ กัน (ม. HfEE)
- ถ้ามีหนีท/ $ีจะต้องรับผิดร่วมกันให้แบ่งแยกความ
รับผิดนัน/ ออกเป็ นส่วน ๆ เท่ากัน (ม. HfEf)

You might also like