แผน 6 เลขยกกำลัง

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 12

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

รหัสวิชา ค 22101 ชื่อวิชา คณิตศาสตร์ 3


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
ปี การศึกษา 2562
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง เลขยกกำลัง
จำนวน 22 ชั่วโมง
เรื่อง เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็ นจำนวนตรรกยะ
เวลา 3 ชั่วโมง
ใช้สอนวันที่……….… เดือน ………………………… พ.ศ. 2562

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวน
และการใช้จำนวนในชีวิตจริง

ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.5/1 เข้าใจความหมายและใช้สมบัติเกี่ยวกับการบวก
การคูณ การเท่ากัน และการไม่
เท่ากันของจำนวนจริงในรูปกรณฑ์และจำนวนจริง
ในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลัง
เป็ นจำนวนตรรกยะ

2. สาระสำคัญ

บทนิยาม 1 เมื่อ เป็ นจำนวนจริง เป็ นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1


และ มีรากที่
บทนิยาม 2 เมื่อ เป็ นจำนวนจริง และ เป็ นจำนวนเต็มที่

และ เป็ นเศษส่วนอย่างต่ำ จะได้ว่า

3. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 ความรู้ (K) นักเรียนสามารถ
1. นักเรียนสามารถหาคำตอบของเลขยกกำลังได้
4.2 ทักษะกระบวนการ (P) นักเรียนเกิดทักษะ
ทักษะการแก้ปั ญหา
1. แสดงวิธีการกระจายเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็ น
จำนวนตรรกยะให้อยู่ในรูปคุณสมบัติของเลขยกกำลังได้
4.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ปลูกฝั งให้นักเรียน
1. มีวินัย
2. ใฝ่ เรียนรู้
3. มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5. สาระการเรียนรู้
บทนิยามของเลขยกกำลังอาศัยความหมายของรากที่ ของ เมื่อ
เป็ นจำนวนจริง โดยจะกล่าวถึงบทนิยามของเลยยกกำลังที่มีเลยชี้กำลัง

ที่มีเลยชี้กำลังอยู่ในรูป เมื่อ เป็ นจำนวนเต็มบวกก่อน ดังนี้

บทนิยาม เมื่อ เป็ นจำนวนจริง เป็ นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1


และ มีรากที่

บทนิยาม เมื่อ เป็ นจำนวนจริง และ เป็ นจำนวนเต็มที่

และ เป็ นเศษส่วนอย่างต่ำ จะได้ว่า

6. ชิ้นงาน/ภาระงาน
1. ใบกิจกรรม
2. แบบฝึ กคณิตศาสตร์
7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นสร้างความสนใจ (enggemen)
1. เสนอเนื้อหาที่จะสอนใหม่โดยการบอกว่าจากการที่เราทราบแล้ว
ว่าสมบัติของเลขยกกำลัง นั้นมีความสำคัญอย่างไร ซึ่งในคาบนี้เราจะได้
ศึกษาการหาค่าของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็ นจำนวนตรรกยะ
ขั้นสำรวจและค้นหา (exploration)
2. ครูทบทวนเรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง เพื่อสำรวจความเข้าใจ
3. เฉลยแบบฝึ กหัดที่ทำในชั้นเรียน
ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (explanation)
4. ครูอธิบายเนื้อหาของการหาค่าเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็ น
จำนวนตรรกยะพร้อมยกตัวอย่าง
บทนิยามของเลขยกกำลังอาศัยความหมายของรากที่ ของ เมื่อ
เป็ นจำนวนจริงโดยจะกล่าวถึงบทนิยามของเลยยกกำลังที่มีเลยชี้กำลัง

ที่มีเลยชี้กำลังอยู่ในรูป
บทนิยาม เมื่อ เมื่อ เป็ นจำนวนเต็มบวกก่อน
เป็ นจำนวนจริง ดังนี้
เป็ นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1
และ มีรากที่

จากนิยามจะเห็นว่า เป็ นค่าหลักของรากที่ ของ และจะเห็น

ได้ว่า
ขั้นขยายความรู้ (elaboration)
5. ครูยกตัวย่างเพิ่มเติม
ตัวอย่าง

1. และ
2. และ
นอกจากนี้เราสามารถนิยามจำนวนที่อยู่ในรูปเลยยกกำลังที่มี
เลขชี้กำลังเป็ นจำนวน
ตรรกยะ ได้ดังนี้

บทนิยาม เมื่อ เป็ นจำนวนจริง และ เป็ นจำนวนเต็มที่ และ

เป็ นเศษส่วน
อย่างต่ำ จะได้ว่า

จากบทนิยาม

และ
จากบทนิยามของ ถ้า แล้ว ต้องไม่เป็ น 0 เช่น
ให้ , และ

จะได้ = = = =

ซึ่ง ไม่มีความหมายทางคณิตศาสตร์

ตัวอย่าง 1 จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเลยยกกำลัง

1. 2. 3.
วิธีทำ
1. เขียนให้อยู่ในรูปยกกำลังได้เป็ น
2. เขียนให้อยู่ในรูปยกกำลังได้เป็ น

3. เขียนให้อยู่ในรูปยกกำลังได้เป็ น
ตัวอย่าง 2 จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปกรณฑ์
1. 2. 3.
วิธีทำ
1. =
2. =

3. = =

ตัวอย่าง 3 จงหาค่าของเลขยกกำลังต่อไปนี้
1. 2.
วิธีทำ
1. =
=
=

2. =
=

ขั้นประเมินผล (evaluation)
6. ครูสรุปเรื่องที่สอนในวันนี้ พร้อมกับเน้นถึงสิ่งที่ที่ได้เรียนและอธิ
บานเทคนิคที่น่าสนใจให้กับนักเรียน
7. ครูให้นักเรียนทำ แบบฝึ กหัด
8. ครูสังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกระหว่างการทำแบบฝึ กหัด
8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1. ห นั ง สื อ เ รี ย น ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ พื้ น ฐ า น ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เล่ม 1 (สสวท.)
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1. แหล่งข้อมูลที่นักเรียนไปสืบค้น เช่น อินเทอร์เน็ต ห้อง
สมุด เป็ นต้น

9. การวัดและประเมินผล
วิธีการวัดและประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์
ผล
ตรวจแบบฝึ กหัด/แบบ แบบฝึ กหัด/แบบ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80
ทดสอบ ทดสอบ
ประเมินทักษะและ แบบประเมินทักษะ ผ่านเกณฑ์การประเมิน
พฤติกรรมระหว่าง และพฤติกรรมระหว่าง อยู่ในระดับดีขึ้นไป
เรียน เรียน
สังเกตพฤติกรรมการ แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์การประเมิน
ทำงาน การทำงาน อยู่ในระดับดีขึ้นไป
10. บันทึกผลหลังการสอน
10.1 สรุปผลการเรียนการสอน
นักเรียนจำนวน...............................คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้................คน คิดเป็ นร้อย
ละ.................................
ไม่ผ่านจุดประสงค์............................คน คิดเป็ นร้อย
ละ.................................
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ( K)
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………… นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการ
(P)
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………… นักเรียนมีคุณลักษณะ (A)
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………… 10.2 ปั ญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
10.3 แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.................................................................
(นางสาวพิลาวรรณ
เตือนสติ)
ตำแหน่ง
ครู
............../...................
...../..............

บันทึกการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………

ลงชื่อ...........................................................
(นายศราวุธ
จามรเนียม)
หัวหน้ากลุ่มสาระ
การเรียนรู้
.............../.................../................
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………

ลงชื่อ......................................................
(นางสาวธิติ
มา สงวนเผ่า)
หัวหน้าฝ่ ายบริหาร
วิชาการ
........./........................../....................

 เห็นควรอนุญาตให้ใช้การสอนได้
 อื่น ๆ
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..................................................................................................................

ลงชื่อ.....................................................
(นายภัทร
นนท์ สุทธิเพียงคะ)
ผู้ช่วยผู้อำนวย
การโรงเรียน
........./........................../....................
 อนุญาตให้ใช้การสอนได้
 อื่น ๆ
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..................................................................................................................

ลงชื่อ.....................................................
(นายถวัลย์
วงษ์สาธุภาพ)
ผู้อำนวยการ
โรงเรียน
........../........................../....................

You might also like