Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

ความปลอดภัยในการทางานกับสารเคมี

1. สัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายของสารเคมี
- ระบบ GHS
- ระบบ NFPA
2. ข้อควรปฏิบัติในการทาปฏิบัติการเคมีเพื่อให้เกิดความปลอดภัย
- ข้อควรปฏิบัติในการทาปฏิบัติการเคมี
- อุปกรณ์ป้องกัน
- การกาจัดสารเคมี
สัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายของสารเคมี

บนฉลากสารเคมีจะต้องมี “สัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตราย”
นักเรียนควรรู้จัก 2 แบบ ได้แก่
1) สัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายของสารเคมี ระบบ GHS
2) สัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายของสารเคมี ระบบ NFPA
สัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายของสารเคมี
ระบบ GHS
 GHS: The Globally Harmonized System
of Classification and Labeling of Chemicals
 แสดงอันตรายของสารเคมี เป็นระบบสากลทั่วโลกโดย
สหประชาชาติ (2546 – ปัจจุบัน)
 แสดงสัญลักษณ์ในสี่เหลี่ยมกรอบแดง พื้นสีขาว
สัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายของสารเคมี
ระบบ NFPA
 NFPA: The National Fire Protection Association
 ใช้รหัสสีในรูปทรงไดมอนด์ มีตัวเลขและอักษรระบุระดับความ
รุนแรงของอันตรายที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี
 สีแดง = ระดับความไวไฟ
สีเหลือง = ระดับความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สีน้าเงิน = ระดับความเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
สีขาว = สมบัติความเป็นอันตรายด้านอื่นๆ
หากต้องการข้อมูลอื่นๆ เกี่ยวกับสารเคมี สามารถสืบค้น
ได้จาก “เอกสารความปลอดภัย” (Safety data sheet หรือ SDS)
ของสารเคมีนั้น โดยอาจสืบค้นจากอินเตอร์เน็ต ในแหล่งอ้างอิง
ที่เชื่อถือได้ เช่น http://www.chemtrack.org

SDS ของ HCl จาก www.chemtrack.org


ข้อควรปฏิบัติในการทาปฏิบัติการเคมีเพื่อให้เกิดความปลอดภัย
- ศึกษาข้อควรปฏิบัตใิ นการทาปฏิบัติการเคมี จากหนังสือเรียนหน้า 8-10
- เครือ่ งมือและอุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากสารเคมี
- แนวทางในการกาจัดสารเคมี
ของเสียอันตราย (Hazardous waste)
- สิ่งเหลือใช้ในห้องปฏิบัติการเคมี
- สารเคมีไม่ทราบชื่อ
- สารเคมีหมดอายุ หรือเสื่อมสภาพ
- ตัวทาละลายอินทรีย์
- สารเคมีหกรั่วไหลและเก็บกลับคืน

เทสารใส่ถังบรรจุของเสีย (Waste) ที่วางไว้บริเวณที่กาหนด


ในห้องปฏิบัติการ พร้อมติดฉลากของเสียให้เรียบร้อย
สรุปข้อควรรู้
ความปลอดภัยในการทางานกับสารเคมี
ระบุความเป็นอันตรายของ ทาปฏิบัติการเคมีอย่างเหมาะสม
สารเคมีจากสัญลักษณ์ โดยตระหนักถึงความปลอดภัย
แสดงความเป็นอันตราย ต่อตนเอง ผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม

GHS NFPA การใช้งาน อุปกรณ์ป้องกัน


การกาจัด

You might also like