Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 115

บทที่ 2

เคมีที่เป็ นพืน้ ฐาน


ของสิ่ งมีชีวติ
1
ถ้า

/
/
/

ิเลิกตร

↑ เลขอะตอม
·
-
-

<
-

เลขมวล

กลาง
*
+
& /

ไอ อออ

-

# &
เป ่ยนสถา

&
&

- น อวสสารผ
1 ม วล ข ต
มวล
กฎ ทรง
พิ
ลี่
ลิ
ตั้
+f
กลาย
-
เคมีที่เป็ นพืน้ ฐานของสิ่ งมีชีวติ
➢ ร่ างกายของ สิ่ งมีชีวต
ิ กับสารเคมี เกีย่ วข้องกันอย่างรร ?
ร่ างกายของสิ่ งมีชีวิตประกอบรปด้ วยหน่ วยพืน้ ฐานที่ เล็กที่สุดที่
เรียกว่ า “เซลล์ (cell)” โดยภายในเซลล์ ประกอบรปด้ วยโมเลกุล
ของสารเคมีหลายชนิด เข่ น น้า แร่ ธาตุ คาร์ โบรฮเดรต โปรตีน เป็ น
ต้ น

4
เคมีที่เป็ นพืน้ ฐานของสิ่ งมีชีวติ
➢ ร่ างกายของ สิ่ งมีชีวต
ิ กับสารเคมี เกีย่ วข้องกันอย่างรร ?
เซลล์ ซึ่ ง เป็ นหน่ ว ยพื้น ฐานที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ของสิ่ ง มี ชี วิ ต เกิ ด จาก
โมเลกุ ล ของสารเคมี ห ลายชนิ ด ทั้ ง ที่ เ ป็ นสารอนิ น ทรี ย์ และ
สารอิน ทรี ย์ โดยโมเลกุล เหล่ านั้ น จะเกิดจาการอะตอมของธาตุ
ต่ าง ๆ มายึดเหนี่ยวกันด้ วยพันธะเคมีจนเกิดเป็ นโมเลกุล

5
อะตอม ธาตุและสารประกอบ

7
อะตอม (atom)
อะตอม คือ เป็ นอนุภาคหรือสิ่ งทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดของธาตุ เช่ น ธาตุ
ออกซิเจนมีอะตอมของออกซิเจนเป็ นอนุภาคทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดของธาตุ
อะตอม ประกอบรปด้ วย โปรตอน (proton) และนิวตอน
(neutron) จัดเรียงอยู่บริเวณกึง่ กลางของอะตอมเป็ น นิวเคลียส
ส่ วนอิเล็กตรอนเคลือ่ นที่รอบนิวเคลียสในระดับพลังงานต่ าง ๆ โดย
อิเล็กตรอนทีอ่ ยู่ในระดับพลังงานนอกสุ ดเรียกว่ า เวเลนซ์ อเิ ล็กตรอน
(valence electron)
อะตอม (atom)

เวเลนซอิเล็กตรอน

=
อะตอม (atom)
➢ สั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ (nuclear symbol)
สั ญ ลั ก ษณ์ นิ ว เคลี ย ร์ คื อ เป็ นสั ญ ลั ก ษณ์ ข องธาตุ ที่ เ ขี ย นแสดง
รายละเอียดเกี่ยวกับเลขอะตอมและเลขมวล โดยเขียนเลขอะตอมรว้
มุมล่างซ้ ายและเลขมวลรส้ มุมบนซ้ ายของสั ญลักษณ์ ธาตุ
~โปรตอน+ วตรอ
-

-โปรตอน = &
นิ
สั ญลักษณ์ นิวเคลียร์

12 เลขมวล : 12

2 - เลข อะะตอมะ

จ น วนโ โปรต นอนะ


เ า
6

เ กตรอ น 2

วตรอน 12 -62
อิ
นิ

ท่
ล็
ตัวอย่ าง สั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ (อนุภาคมูลฐาน)

****
B=
·

C: 2
=
2

↑: /
2: 4
ห :5

↑2 8
22 8
n I g

P = =11
&: 17
n = 12

↑: 13

&: 13
-: 14

ตัวอย่ าง สั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ (อนุภาคมูลฐาน)


&

แบบที่มีรอออน (ion)
1. รอออนบวก คือ อะตอมมีการให้ อเิ ล็กตรอน (e− ) ต้ องลบ (e− ) ออก
2. รอออนลบ คือ อะตอมมีการรับอิเล็กตรอน (e− ) ต้ องบวก (e− ) เข้ า
+

-
& P

-P = 13 &23- 11
exp e= 10
ทะ 12
24- 12
↑= 12 :' 2
&210 -

=12

P=9 บ @ มา
:

2:1 &
ท = 18

บ 2 มา
-
27 P

&
P= &
2 : 18
↳: ·
รั
รั
419 21/ 06/ 65

ธาตุและสารประกอบ
ธาตุ (Element) คือ สารบริ สุทธิ์ที่ประกอบด้ วยธาตุหรือ
สารชนิดเดียว รม่ สามารถแยกหรือสลายออกเป็ นสารอื่นรด้ อนุภาคที่
เล็กทีส่ ุ ดของธาตุเรียกว่ า อะตอม
ธาตุ(Element)
ถ้ าแบ่ งธาตุจากตารางธาตุ สามารถออกรด้ เป็ นสาม
พวกใหญ่ ๆ คือ โลหะ อโลหะ และกึง่ โลหะ
1. ธาตุโลหะ (Metal Elements)
ธาตุโลหะ ส่ วนใหญ่ มีสถานะเป็ นของแข็ง ผิวเป็ นมันวาว
เหนียวดึงเป็ นเส้ นและทุบเป็ นแผ่ นบางๆรด้ นารฟฟ้ า นาความร้ อน
ส่ วนใหญ่ มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสู ง ยกเว้ นโลหะทีม่ ีสถานะ
เป็ นของเหลว คือ ปรอท (Hg) ซีเซียม (Cs) แฟรนเซียม (Fr)
ตัวอย่ างธาตุโลหะ เช่ น เหล็ก (Fe) ทองแดง (Cu) สั งกะสี (Zn)
2.ธาตุอโลหะ (Non-metal)
อโลหะ (Non-metal) อโลหะทีม่ ีสถานะเป็ นของแข็งจะ
เปราะ ผิวรม่ เป็ นมันวาวส่ วนใหญ่ มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่า
ยกเว้ น ธาตุคาร์ บอน มีจุดหลอมเหลวละจุดเดือดสู ง
ตัวอย่ างของธาตุอโลหะ เช่ น คาร์ บอน (C) กามะถัน (S)
ออกซิเจน (O) รฮโดรเจน (H) เป็ นต้ น
3.ธาตุกงึ่ โลหะ (Metalloid)
ธาตุกงึ่ โลหะ (Metalloid) เป็ นธาตุทมี่ ีท้งั โลหะและ
อโลหะ เป็ นของแข็งมันวาวเหมือนโลหะ แต่ เปราะเหมือนอโลหะ
และนารฟฟ้ารด้ เล็กน้ อย ธาตุกงึ่ โลหะจะนารฟฟ้ารด้ ดเี มื่อมี
อุณหภูมิสูงขึน้ เนื่องจากมีสมบัติเป็ นสารกึง่ ตัวนา
ตัวอย่ างธาตุกงึ่ โลหะ เช่ น โบรอน (B) ซิลกิ อน (Si) พลวง
(Sb) เทลลูเรียม (Te) อาร์ เซนิก (As) เป็ นต้ น
~

A mind map บท !

ตารางเปรียบเทียบสมบัติบางประการของโลหะ อโลหะ และกึง่ โลหะ

ที
ตารางแสดงตัวอย่ างชื่อธาตุสัญลักษณ์ ของธาตุ
ธาตุและสารประกอบ
ร่ างกายของมนุ ษย์ ประกอบรปด้ วย
ธาตุหลายชนิดในปริ มาณที่แตกต่ างกัน
โดยธาตุที่พบมากที่สุดในร่ างกาย รด้ แก่
↳ ธาตุ อ อกซิ เ จน มี ป ระมาณร้ อยละ 65
=
65 %. รองลงมา คื อ ธาตุ ค าร์ บอนประมาณ

& =18 % ร้ อยละ 18.5 ธาตุรฮโดรเจนมีประมาณ


H = 19 ร้ อยละ 10 และธาตุ ร นโตรเจนมี
-

N= 3 ประมาณร้ อยละ 3 ตามลาดับ


อะตอม
↑ ↑
โมเล
ธาตุและสารประกอบ
<
- Na
➢ สารประกอบ
สารทีเ่ กิดจากอะตอมของธาตุต้งั แต่ ๒ ธาตุ (คนละชนิด)ขึน้ รปมา
รวมตัวกัน โดยอาศั ยปฏิกิริยาเคมี และมีอัตราส่ วนผสมคงที่ เสมอ
สารชนิ ด ใหม่ นี้จ ะมี ส มบั ติ แ ตกต่ า งจากสมบั ติ เ ดิม ของธาตุ ที่ เ ป็ น
องค์ ประกอบ
กุ
การเกิดสารประกอบ
สารประกอบเกิดจากการสร้ างพันธะเคมีของอะตอม
ต่ างชนิดกันเกิดเป็ นโมเลกุลของสารประกอบดังนี้
2
·
No
ตัวอย่ าง1 เช่ น นา้ มีสูตรเคมีคอื H2 Oซึ่งเป็ นสารที่
ประกอบด้ วย รฮโดรเจน 2 อะตอม และ ออกซิเจน 1 อะตอม

ตัวอย่ าง2 เช่ น แก๊ สคาร์ บอนรดออกรซด์ มีสูตรเคมีคอื CO2 ซึ่ง


เป็ นสารทีป่ ระกอบด้ วย คาร์ บอน 1 อะตอม และ ออกซิเจน 2
อะตอม

·
H+ H
สารประกอบจะมีสมบัติเฉพาะตัวที่แตกต่ างจากสมบัติของธาตุที่
เป็ นองค์ ประกอบ เช่ น ความสามารถในการละลายน้า ความเป็ นกรด-
เบส การเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าทางเคมี และสารประกอบเป็ นสารบริ สุ ท ธิ์
ประกอบด้ ว ยอะตอมต่ า งชนิ ด กั น ดั ง นั้ น จึ ง สามารถแยกสลายให้
องค์ ประกอบรด้ เมื่อรด้ รับพลังงาน

NaCl -> เก
ลื
ข้ อแตกต่ างระหว่ างธาตุและสารประกอบ
ธาตุ สารประกอบ
- ประกอบด้ วยอะตอมของ - สารประกอบ ประกอบด้ วย
ธาตุเพียงชนิดเดียว เช่ น อะตอมของธาตุมากกว่ า 1
N , C ,O ชนิด เช่ น H2O, CO2

- รม่ สามารถแยกสลายรด้ ทาง - สารประกอบสามารถ


เคมี แยกสลายรด้ ทางเคมี
โมเลกลุ
โมเลกุล คือเกิดจากอะตอมของธาตุต้งั แต่ 2 อะตอมขึน้ รป มา
รวมกันจะเป็ นชนิดเดียวกันหรือคนละชนิดก็รด้ โดยอะตอมของ
ธาตุจะยึดเหนี่ยวกันด้ วยแรงของพันธะเคมี (chemical
bond) เช่ น โมเลกุลของนา้ (ประกอบด้ วยอะตอมของธาตุ
รฮโดรเจนและออกซิเจน) หรือ โมเลกุลของแก๊ สออกซิเจน (O2 )
จะประกอบรปด้ วยอะตอมของธาตุออกซิเจน 2 อะตอมมารวมกัน
418 16/06/ 6

พันธะเคมี (chemical bond)


พันธะเคมี คือ แรงที่ใช้ ในการยึดเหนี่ยว ระหว่ างอะตอมของธาตุทา
ให้ อ ะตอมรวมกัน เป็ นโมเลกุล หรื อ เป็ นแรงที่ ใ ช้ ใ นการยึด เหนี่ ย ว
ระหว่ างอะตอมของสองโมเลกุล โดยพันธะเคมีที่เกิดนั้นจะ เกี่ยวข้ อง
กับเวเลนซ์ อิเล็กตรอนของคู่อะตอมที่ร่วมสร้ างพันธะกัน ซึ่ งพันธะ
เคมีมีหลายชนิด ดังนี้
พันธะเคมี (chemical bond)
1. แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล ใ -
บ Evat -EP↳> Nad
& - * H
1.1 พันธะรอออนิก (ionic bond)
1.2 พันธะโคเวเลนซ์ (covalent bond)
2. แรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุล & +28
2.1 พันธะรฮโดรเจน
รั
ห้
พันธะเคมี (chemical bond) 2) /19
1. แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล เป็ นแรงยึดเหนี่ ยวที่ เกิ ดระหว่าง
อะตอม กับอะตอมภายในโมเลกุลทาให้เกิดเป็ นพันธะเคมี ได้แก่
1.1 พันธะรอออนิก (ionic bond)
➢ เกิดจากอะตอม 2 อะตอมขึน้ รปให้ และรับอิเล็กตรอนกัน
➢ มักเกิดขึน้ ระหว่ างโลหะกับอโลหะ
➢ โลหะเมื่อให้ อเิ ล็กตรอนจะมีประจุบวก
➢ อโลหะเมื่อทีร่ ับอิเล็กตรอนจะมีประจุลบ
พันธะเคมี (chemical bond)
1. แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล เป็ นแรงยึดเหนี่ ยวที่ เกิ ดระหว่าง
อะตอม กับอะตอมภายในโมเลกุลทาให้เกิดเป็ นพันธะเคมี ได้แก่
1.1 พันธะรอออนิก (ionic bond)

~ Nat ci


-

โลหะ อะ โลหะ บ
:
รั
ห้
พันธะเคมี (chemical bond)
1.1 พันธะรอออนิก (ionic bond)

+ -

➢ ธาตุทใี่ ห้ อเิ ล็กตรอนจะมีประจุบวก (+)


➢ ธาตุทรี่ ับอิเล็กตรอนจะมีประจุลบ (-)
พันธะเคมี (chemical bond)
1. แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล เป็ นแรงยึดเหนี่ ยวที่ เกิ ดระหว่าง
อะตอม กับอะตอมภายในโมเลกุลทาให้เกิดเป็ นพันธะเคมี ได้แก่
1.1 พันธะรอออนิก (ionic bond)
พันธะเคมี (chemical bond)
1. แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล เป็ นแรงยึดเหนี่ ยวที่ เกิ ดระหว่าง
อะตอม กับอะตอมภายในโมเลกุลทาให้เกิดเป็ นพันธะเคมี ได้แก่
1.1 พันธะรอออนิก (ionic bond)

พันธะเคมี (chemical bond)


1. แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล เป็ นแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดระหว่าง
อะตอม กับอะตอมภายในโมเลกุลทาให้เกิดเป็ นพันธะเคมี ได้แก่
1.2 พันธะโคเวเลนซ์ (covalent bond)

➢ เกิดจากอะตอม 2 อะตอมมีการใช้ อเิ ล็กตรอนวงนอกสุ ดหรือ


valence electron ร่ วมกัน
➢ พันธะโควาเลนต์ แข็งแรงกว่ าพันธะรฮโดรเจน และมีความ
แข็งแรงพอๆ กับพันธะรอออนิก
พันธะเคมี (chemical bond)
1. แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล เป็ นแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดระหว่าง
อะตอม กับอะตอมภายในโมเลกุลทาให้เกิดเป็ นพันธะเคมี ได้แก่
1.2 พันธะโคเวเลนซ์ (covalent bond)
พันธะเคมี (chemical bond)
1. แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล เป็ นแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดระหว่าง
อะตอม กับอะตอมภายในโมเลกุลทาให้เกิดเป็ นพันธะเคมี ได้แก่
1.2 พันธะโคเวเลนซ์ (covalent bond)
พันธะเคมี (chemical bond)
1. แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล เป็ นแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดระหว่าง
อะตอม กับอะตอมภายในโมเลกุลทาให้เกิดเป็ นพันธะเคมี ได้แก่
1.2 พันธะโคเวเลนซ์ (covalent bond)
พันธะเคมี (chemical bond)
2. แรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุล เป็ นแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้น
ระหว่างโมเลกุล กับโมเลกุล โดยจะเป็ นโมเลกุลชนิดเดียวกันหรื อ
โมเลกุลต่างชนิดกันก็ได้ ได้แก่
2.1 พันธะรฮโดรเจน คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลใน
สารประกอบโคเวเลนต์ ซึ่งพันธะไฮโดรเจนจะเกิดได้กต็ ่อเมื่อธาตุ
ไฮโดรเจน (H) สร้างพันธะกับธาตุอื่น ๆ
พันธะเคมี (chemical bond)
2. แรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุล เป็ นแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้น
ระหว่างโมเลกุล กับโมเลกุล โดยจะเป็ นโมเลกุลชนิดเดียวกันหรื อ
โมเลกุลต่างชนิดกันก็ได้ ได้แก่
2.1 พันธะรฮโดรเจน
H

พันธะโค พันธะรฮโดรเจน
เวเลนซ์ +

I
พันธะเคมี (chemical bond)
2.1 พันธะรฮโดรเจน

ูคเ
วาเลน

#
&

+ ชะไฮโดรเ
-

&
-
H
ั้
พั
สารเคมีทเี่ ป็ นพืน้ ฐานของสิ่ งมีชีวติ
จากการศึ กษาพบว่ า เซลล์ ใ นร่ างกายของคนประกอบด้ วยสาร
หลายชนิด และสารเหล่ านีม้ ีปริมาณทีแ่ ตกต่ างกัน ดังนี้

4 18
สารเคมีที่เป็ นพืน้ ฐานของสิ่ งมีชีวติ

➢ สารอนินทรีย์ (inorganic
substance)
➢ สารอินทรีย์ (organic
substance)
เคมีในสิ่ งมีชีวติ ไ ม
ี 2 เ เ นประ
2. /
สารอินทรีย์ (inorganic substance)
&
สารอนินทรีย์
# (organic
คาร์ โบรฮเดรต
substance)
โปรตีน นา้
ลิพดิ แร่ ธาตุ
กรดนิวคลิอกิ
ป็
ม่
สารเคมีทเป็
ี นพืนฐานของ
สิงมีชวี ต

➢ สารอนิ นทรีย ์ (inorganic
-
สารประกอบที
substance)ไม่มธี าตุคาร ์บอน (C) เป็ น
องค ์ประกอบหลั ก
-

ได้แก่ นํ า และ แร่ธาตุตา +


่ ง ๆ (Na ,
K+ ,Mg2+ , Ca2+

อ นท >ไ ม
นท ์
อิ
นิ
รี
ย์
รี
ย์
สารเคมีที่เป็ นพืน้ ฐานของสิ่ งมีชีวติ
➢ สารอินทรีย์ (organic substance)
สารประกอบทีม่ ีธาตุคาร์ บอน (C) และธาตุรฮโดรเจน (H)
เป็ นองค์ ประกอบหลัก ส่ วนใหญ่ มักจะอยู่ในรู ปโมเลกุลขนาด
ใหญ่ (Polymer) โดยจะมีหน่ วยย่ อยเล็ก ๆ เรียนว่ า
Monomer เช่ น คาร์ โบรฮเดรต , โปรตีน , รขมัน , และ
#

กรดนิวครีอกิ (สารพันธุกรรม)
สารอนินทรีย์ (inorganic substance)

นา้ (H2 O)
~<- นจะโตเวเลน

/- นธะไฮโดรเจ
พั
พั
/

สารอนินทรีย์ (inorganic substance)


1. นา้ (H2 O)
➢ เป็ นสารประกอบทีพ่ บมากในสิ่ งมีชีวติ ร่ างกายของมนุษย์ มีนา้ ประมาณ
65% หรือ 2 ใน 3 ของนา้ หนักตัว
➢ มีบทบาทสาคัญในการรักษาดุลยภาพของร่ างกาย
➢ นา้ 1 โมเลกุล ประกอบด้ วย

for รฮโดรเจน 2 อะตอม


ออกซิเจน 1 อะตอม
!อด
พันธะโคเวเลนซ์
32500 g
*ห
/
สารอนินทรีย์ (inorganic substance)

1. นา้ (H2 O)
สารอนินทรีย์ (inorganic substance)

1. น้า (H2 O)
สารอนินทรีย์ (inorganic substance)
1. นา้ (H2 O)
➢ น้าเป็ นสารมีข้ัว เนื่องจากอิเล็กตรอนภายในโมเลกุลมีความหนาแน่ นที่รม่
เท่ า โดยที่อะตอมออกซิเจน (O) มีอิเล็กตรอนที่หนาแน่ นมากกว่ า มีประจุ
ลบ (-) ส่ วนอะตอมรฮโดรเจน (H) มีความหนาแน่ นที่น้อยกว่ า จึงมีประจุ
-

<

+Na
-

เป็ นบวก (+) -


-

+
นา้ กับการเป็ นตัวทาละลาย
➢ สมบัตกิ ารมีข้วั และการเกิดพันธะรฮโดรเจนของนา้ ทาให้
สารมีข้วั สามารถละลายนา้ รด้ ดี และแตกตัวให้ รอออน
➢ ประโยชน์ :

- การนาสารเข้ าและออกจากเซลล์ If
-

#t
+++T
#
+

- การกาจัดของเสี ย
- การลาเลียงสารต่ าง ๆ รปยังเซลล์ ของสิ่ งมีชีวติ
สารอนินทรีย์ (inorganic substance)

1. นา้ (H2 O)
➢ นา้ มีสมบัตเิ ป็ นของเหลวทีอ่ ุณหภูมิห้อง
นา้ กับสารที่มีสมบัติรฮโดรฟิ ลิก และรฮโดรโฟบิก
อไ ช
• รฮโดรฟิ ลิก ⚫รฮโดรโฟบิก
-

(Hydrophilic) หมายถึง (Hydrophobic)


ชอบนา้ → สารมีข้วั ละลายนา้ หมายถึง รม่ ชอบนา้ → สาร
รด้ ดี รม่ มีข้วั ละลายนา้ รด้ น้อย

Nask -Strate d
-

-
-

* *
ถื
ม่
สารในชีวติ ประจาวันที่มีสมบัติ รฮโดรฟิ ลิก และสารที่มี
สมบัติ รฮโดรโฟบิก มีอะรรบ้ าง ยกตัวอย่ าประกอบ??
*น
➢ สารทีม่ ีสมบัติรฮโดรฟิ ลิก เช่ น นา้ ตาลทราย เกลือแกง
นา้ ผึง้ ด่ างทับทิม สารส้ ม
➢ สมบัตริ ฮโดรโฟบิก เช่ น นา้ มันพืช รขมันสั ตว์ เนย ขีผ้ งึ้
มาร์ การีน
3 &
/
5 kg + =- 34.5XINDA
/
E

#gre
2188 ↳3 go
นา้ กับการดูดซับพลังงานความร้ อน
➢ นา้ มีความจุความร้ อนจาเพาะ (specific heat capacity)สู ง

1ก

1ke i

นา้ จึงดูดซับพลังงานความร้ อนรด้ ดี

ในสิ่ งมีชีวติ น้ าเป็ นองค์กระกอบส่ วนใหญ่ อุณหภูมิภายในร่ างกายจึง


เปลี่ยนแปลงน้อย
<

<
้ำ
น้ากับแรงโคฮีชันและแรงแอดฮีชัน
• เป็ นการลาเลียงนา้ ในพืช เกิดจากแรงดึงจากการคายนา้
• เกิดแรงยึดเหนี่ยวด้ วยพันธะรฮโดรเจน
- ระหว่ างโมเลกุลนา้ เรียกว่ า แรงโคฮีชัน(cohesion)
- ระหว่ างโมเลกุลนา้ กับพืน้ ผิว เรียกว่ า แรงแอดฮีชัน
(adhesion)

-> นธะไฮโดรเจ
พั
+
-

Hel == H + ·H

ประโยชน์ ของน้า
โต - วมก

1.เป็ นตัวกลางในการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี


2.เป็ นตัวทาละลาย (solvent) เลนส
/โ
ตรว

3.ช่ วยในการลาเลียงสารต่ าง ๆ ในร่ างกาย


4.ช่ วยควบคุมอุณหภูมิ ↳- ม ความ ความร ไฮโดรเจ
เร
5.ช่ วยในการขับถ่ ายของเสี ย จ เพา ะ

จุ
มี
ร่

สารอนินทรีย์ (inorganic substance)

แร่ ธาตุ (minerals)


แร่ ธาตุ (minerals)
สิ่ งมีชีวติ ต้องการแร่ ธาตุซ่ ึ งเป็ นสารอนินทรี ย ์ เพื่อนาไปใช้
เป็ นส่ วนประกอบของสารอินทรี ย ์ โปรตีนต่าง ๆ ที่จาเป็ นต่อการ
ทางานของร่ างกาย การขาดแร่ ธาตุก่อให้เกิดความผิดปกติของการ
ทางาน

เช่น กรณี พืชขาดแร่ ธาตุแมกนีเซียม


ใบแก่จะมีสีเหลืองระหว่างเส้นใบ
ที่ปลายใบและขอบใบม้วนรู ปถ้วย
แร่ ธาตุ (minerals)
เช่น กรณี มนุษย์ขาดแร่ ธาตุไอโอดีน ที่ใช้สร้างฮอร์โมนไทรรอกซิน
ของต่อมไทรอยด์ทาให้ต่อมนี้ทางานหนัก ต่อมจึงมีขนาดโตขึ้น
ปั จจุบนั มีการรณรงค์ให้มีบริ โภคอาหารที่เติมแร่ ธาตุไอโอดีนเพื่อ
ป้ องกันโรคคอพอก เช่น น้ าปลาไอโอดีน ไข่เค็มไอโอดีน เกลือ
ไอโอดีน เป็ นต้น
แร่ ธาตุ (minerals)
แร่ ธาตุแบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท
➢ 1. แร่ ธาตุหลัก (major / macro minerals) แร่ ธาตุที่
ร่ างกายต้ องการมากกว่ า 100 มิลลิกรัมต่ อวัน รด้ แก่ แคลเซียม
(Ca) ฟอสฟอรัส (P) โซเดียม (Na) โปตัสเซียม (K) คลอรีน
(Cl) แมกนีเซียม (Mg) และกามะถัน (S)
แร่ ธาตุ (minerals)
แร่ ธาตุแบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท
➢ 2. แร่ ธาตุรองหรือแร่ ธาตุปลีกย่ อย (minor / micro
minerals) แร่ ธาตุทรี่ ่ างกายต้ องการน้ อยกว่ า 100 มิลลิกรัมต่ อ
วัน รด้ แก่ เหล็ก (Fe) ทองแดง (Cu) แมงกานิส (Mn) รอโอดีน
(I) สั งกะสี (Zn) ฟลูออลีน (F) โคบอลท์ (Co) โมลิบดีนัม
(Mo) ซีลเี นียม (Se) ซิลกิ อน (Si) และนิเกิล (Ni) เป็ นต้ น
หน้ าที่ของแร่ ธาตุ
➢1 เป็ นส่ วนประกอบของโครงสร้ างร่ างกายสั ตว์ ในสั ตว์ ที่กาลังเจริญเติบโต
แคลเซียมมีความจาเป็ นในการสร้ างกระดูก ในรก่แคลเซียมจาเป็ นในการ
สร้ างเปลือกรข่
➢2 เป็ นตัวเร่ งปฏิกริ ิยาชีวเคมี โดยเป็ นองค์ ประกอบของนา้ ย่ อย
➢3 เป็ นองค์ ประกอบของของเหลวในร่ างกาย
➢4 มีความจาเป็ นต่ อระบบการทางานของประสาท
➢5 เป็ นส่ วนประกอบของฮอร์ โมนและวิตามิน
➢6 รักษาสมดุลของนา้ ในร่ างกายและความเป็ นกรดเป็ นด่ างในร่ างกาย
➢7 ควบคุมการหดรัดตัวของกล้ามเนือ้
➢8 ช่ วยในการแข็งตัวของเลือด
I

สารเคมีที่เป็ นพืน้ ฐานของสิ่ งมีชีวติ


➢ สารอินทรีย์ (organic substance)
สารประกอบที่มีธาตุคาร์ บอน (C) และธาตุรฮโดรเจน (H) เป็ น
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ห ลั ก เ รี ย ก ว่ า ส า ร ป ร ะ ก อ บ ร ฮ โ ด ร ค า ร์ บ อ น
( hydrocarbon) ที่ มี ก า ร ร ว ม ตั ว กั บ ห มู่ ฟั ง ก์ ชั่ น ต่ า ง ๆ
(functional group) ส่ วนใหญ่ มักจะอยู่ในรู ปโมเลกุลขนาดใหญ่
(Polymer) ที่เกิดจากหน่ วยย่ อยเล็ก ๆ (Monomer) ซึ่ งจะ
เรียกว่ า สารชีวโมเลกุล (macromolecules)
สารประกอบรฮโดรคาร์ บอน (hydrocarbon)
< เ
<
&
-

&
&

=- สาม
ดี่
ลแค ลคา-
ลด
1
=2 C C
-C- 2-

/
double triple
single
หมู่ฟังก์ชั่น (functional group)
หมายถึง อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมทีอ่ ยู่ในภายใน
โมเลกุลของสารอินทรีย์ ซึ่งจะทาให้ คุณสมบัตทิ างเคมีของ
สารอินทรีย์เปลีย่ นแปลงรป
อั
อั
อั
หมู่ฟังก์ ชั่น (functional
=สารประกอบไฮโดรคา บอ
group)
-

R- สาร รประะถวบ 4 /8 21/ 06 /56


- นธ ะเ
ไฮโดรคา บอ = นธะ

กรด

-&H
ฟ กโทสไ ร โ

ก โคส ส ไรโ บ

กาแ กโท

ซิสเ ท

&-
POR - ATR

#งาน mind
map
เ อ ง สารประกอบคา บอ นใน งม ว
น.75
บู
มี
พั
รื่
พั
ดี
รั
ลู
ชี
ล็
ร์
สิ่
ร์
ร์
ปฏิกริ ิยาเคมีของสารชีวโมเลกุล รด้ แก่
1. Condensation เป็ นปฏิกริ ิยาสั งเคราะห์ macromoleculer
จาก monomers เล็ก ๆ จานวนมาก และจะรด้ ผลผลิต H2 O เรียก
ปฏิกริ ิยาดังกล่าวนีว้ ่ า dehydration
-

107 ออก

&

dehydration
ปฏิกริ ิยาเคมีของสารชีวโมเลกุล รด้ แก่
2. Hydrolysis เป็ นปฏิกิริยาย่ อยสลาย macromoleculers ให้
เล็กลง เพือ่ ให้ สามารถผ่ านเข้ าสู่ เซลล์รด้

Hydrolysis
ปฏิกริ ิยาเคมีของสารชีวโมเลกุล รด้ แก่
2. Hydrolysis เป็ นปฏิกริ ิยาย่ อยสลาย macromoleculers ให้
เล็กลง เพือ่ ให้ สามารถผ่ านเข้ าสู่ เซลล์รด้
คาร์ โบรฮเดรต
(Carbohydrate)
คาร์ โบรฮเดรต (Carbohydrate)
➢ คาร์ โบรฮเดรต เป็ นคาร์ บอนทีอ่ มิ่ ตัวด้ วยนา้
➢ ประกอบด้ วย C,H,O มีอตั ราส่ วนของอะตอม H ต่ อ O เท่ ากับ
2 :1 และมี สู ตรโมเลกุลทัว่ รปเป็ น (CH2O)n โดย n มีค่าตั้งแต่
3 ขึน้ รป
➢ คาร์ โบรฮเดรต เป็ นสารอาหารสาคัญที่ให้ พลังงาน และทาหน้ าที่
เป็ นองค์ ประกอบของเซลล์ ต่าง
➢ คาร์ โบรฮเดรต เป็ นสารอาหารทีใ่ ห้ พลังงานตัวแรก (1 กรัม
ให้ พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่)
คาร์ โบรฮเดรต (Carbohydrate)
➢ คาร์ โบรฮเดรต (Carbohydrate) แบ่ งตามขนาดโมเลกุล
สามารถแบ่ งรด้ 3 ประเภท คือ
1.นา้ ตาลโมเลกุลเดีย่ ว (MONOSACCHARIDE)
มีคาร์ บอนเป็ นองค์ ประกอบ 3-7 อะตอม มีรสหวาน เป็ น
ผลึกสี ขาว ละลายนา้ รด้ แก่ รรโบส ดีออกซีรรโบส กลูโคส ฟรักโทส
และ กาแลกโทส
2.โอลิโกแซคคารรด์ (OLIGOSACCHARIDE)
นา้ ตาลโมเลกุลเล็ก ประกอบด้ วยนา้ ตาลโมเลกุลเดีย่ ว
2-10
& โมเลกุ ล พบบ่ อ ยมากที ส
่ ุ ด
เย ล a disacchar

2 โมเล
ดี่
กุ
คาร์ โบรฮเดรต (Carbohydrate)
➢ คาร์ โบรฮเดรต (Carbohydrate) แบ่ งตามขนาดโมเลกุล
สามารถแบ่ งรด้ 3 ประเภท คือ
3.นา้ ตาลโมเลกุลใหญ่ (POLYSACCHARIDE)
ประกอบด้ วยกลูโคส 100-1,000 โมเลกุล มาต่ อกันเป็ น
+

สาย รด้ แก่ แป้ง เซลลูโลส และ รกลโคเจน เป็ นต้ น


1. นา้ ตาลโมเลกุลเดีย่ ว (Monosaccharide)
➢ Monosaccharide เป็ นนา้ ตาลโมเลกุลเดี่ยว ทีป่ ระกอบด้ วย
C , H, O มีสูตรคือ (CH2O)n
➢ มีอะตอมของ C ต่ อกันเป็ นสายตั้งแต่ 3-7 อะตอม
H:&
2: 1
Monosaccharide (ที่มีจานวนคาร์ บอน 5 อะตอม)
เพนโทส (pentose) สู ตรโมเลกุล C5 H10 O5
• รรโบส (ribose)
พบใน RNA , ADP และ ATP
สู ตรโมเลกุล C5 H10 O5 /

moor:
• ดีออกซีรรโบส (deoxyribose)
พบใน DNA *คล้ ายกับ รรโบสแต่
ออกซิเจนจะหายรป 1 อะตอม
สู ตรโมเลกุล C5 H10 O4
Monosaccharide (ที่มีจานวนคาร์ บอน 6 อะตอม) หรือ
เฮ็กโซส (hexose) สู ตรโมเลกุล C6 H12 O6

• กลูโคส (Glucose) หรือ Dextrose


เป็ นนา้ ตาลทีม่ ีอยู่ในอาหารทัว่ รป พบมาก
ใน ผักและผลรม้ สุก โดยเฉพาะองุ่น(นา้ ตาล
องุ่น) และ ในกระแสเลือด (blood
sugar)
มีความสาคัญมากทีส่ ุ ดเนื่องจากเป็ น
ศูนย์ กลางทีใ่ ห้ พลังงานแก่ ร่างกาย(พบมาสุ&ก
ในร่ างกาย)
กลูโคส (Glucose) หรือ Dextrose
➢ สู ตรโครงสร้ างของนา้ ตาลกลูโคส

า บน

- ~

แอล เบ
ล่
ต้
ฟ่
Monosaccharide (ที่มีจานวนคาร์ บอน 6 อะตอม) หรือ
เฮ็กโซส (hexose) สู ตรโมเลกุล C6 H12 O6

• ฟรักโทส (Fructose)
ละลายรด้ ดีมากในน้า จึงทาให้ ตก
ผลึกรด้ ยาก เป็ นนา้ ตาลที่มี
รสหวานมากกว่ านา้ ตาลชนิดอื่น
พบใน นา้ ผึง้ และอสุ จิ (sperm)
Monosaccharide (ทีม่ ีจานวนคาร์ บอน 6 อะตอม) หรือ
เฮ็กโซส (hexose) สู ตรโมเลกุล C6 H12 O6

• กาแล็กโทส (Galactose)
รด้ มาจากการย่ อยนม ในร่ างกายรด้
จากการย่ อยแล็กโทส (lactose) และ
อาจพบรด้ ในปัสสาวะของหญิงมีครรภ์
(รม่ พบเป็ นอิสระในธรรมชาติ)
1. นา้ ตาลโมเลกุลเดีย่ ว (Monosaccharide)
➢ Monosaccharide (นา้ ตาลโมเลกุลเดีย่ ว) สามารถแบ่ ง
ออกรด้ เป็ น 2 กลุ่ม ตามหมู่ฟังก์ ชัน

Carbonyl R
group R R

aldehydes -> ไร โลส ฟ กโ


ketones
ไฮโบส ·ค
ส กา แ กโท
ล็
บู
รั
นา้ ตาลโมเลกุลเดีย่ วสามารถแบ่ งรด้ เป็ น 2 ประเภท ตามหมู่ฟังก์ ชัน
• นา้ ตาลอัลโดส (aldose) มีหมู่คาร์ บอนิลกลุ่ม อัลดีรฮด์ อยู่ที่ปลาย
โมเลกุล เช่ น นา้ ตาลกลูโคส ,นา้ ตาลกาแล็กโทส , รรโบส

&

aldehydes
• นา้ ตาลคีโตส (ketose) มีหมู่คาร์ บอนิลกลุ่ม คีโตน อยู่ทปี่ ลายโมเลกุล
เช่ น นา้ ตาลฟรักโทส ,รรบูโลส

R & สาร ประก ไอ


มน โคร คาร บพา

ketones 4 - -" #
H
/
H
รั
นา้ ตาลโมเลกุลเดีย่ วสามารถแบ่ งรด้ เป็ น 2 ประเภท ตามหมู่ฟังก์ ชัน

* *--H

& R -- R

*
87
2. นา้ ตาลโมเลกุลเล็ก (Oligosaccharide)
➢ นา้ ตาลโมเลกุลเล็กประกอบขึน้ จากนา้ ตาลโมเลกุลเดีย่ ว
ตั้งแต่ 2-10 โมเลกุล
➢ นา้ ตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharide) เป็ นนา้ ตาลโมเลกุลเล็ก
ที่พบมากในธรรมชาติ
• นา้ ตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharide) ประกอบด้ วยนา้ ตาลโมเลกุล
เดี่ยว (Monosaccharide) 2 โมเลกุล เชื่อมต่ อกันด้ วย
พันธะโคเวเลนต์ ที่เรียกว่ า รกลโคซิดิก (Glycosidic bond)
• นา้ ตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharide) รด้ แก่ ซูโครส (sucrose)
มอลโทส (maltose) และ แล็กโทส (lactose)
2. นา้ ตาลโมเลกุลเล็ก (Oligosaccharide)
➢ นา้ ตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharide)
2

• ซู โครส (sucrose) สู ตรโมโลกุล C12 H22 O11


24 .: 12

น้า ตาลกลู โ คส + น้าตาลฟรั ก โทส


เชื่ อ มด้ ว ยพั น ธะรกลโคซิ ดิ ก แบบ
𝜶 – 1,2 (คาร์ บอนตาแหน่ งที่ 1 &

ของกลู โ คส เชื่ อมกั บ คาร์ บอน


ตาแหน่ งที่ 2 ของฟรักโทส )
ฟ ก ->
ก +
ไกลโด ซิ ีม
ก แบบ
รั
ดิ
ลู
2. นา้ ตาลโมเลกุลเล็ก (Oligosaccharide)
➢ นา้ ตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharide)
• ซู โครส (sucrose) พบรด้ ในผลรม้ และพืชต่ าง ๆ
เช่ น อ้ อย มะพร้ าว ตาลโตนด (นา้ ตาลทราย)
2. นา้ ตาลโมเลกุลเล็ก (Oligosaccharide)
➢ นา้ ตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharide)
• มอลโทส (maltose) สู ตรโมโลกุล C&
12 H22 O11
1

น้ า ตาลกลู โ คส + น้ า ตาลกลู โ คส
เชื่อมด้ วยพันธะรกลโคซิดิกแบบ & I

𝛂 – 1,4 (คาร์ บอนตาแหน่ งที่ &


1 ของกลูโคส เชื่อมกับคาร์ บอน
ตาแหน่ งที่ 4 ของกลูโคส )

ก +ก -> ม
ไกลโค ซ ิ ก G -1
ติ
ลู
ลู
2. นา้ ตาลโมเลกุลเล็ก (Oligosaccharide)
➢ นา้ ตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharide)
• มอลโทส (maltose) พบรด้ ในเมล็ดข้ าวมอลต์ ที่กาลังงอก
และรด้ จาการย่ อยสลายแป้งด้ วยนา้ ย่ อยอะรมเลส
2. นา้ ตาลโมเลกุลเล็ก (Oligosaccharide)

➢ นา้ ตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharide)


• แล็กโทส (lactose) สู ตรโมโลกุล C12 H22 O11

นา้ ตาลกาแล็กโทส + นา้ ตาลกลูโคส


&
เชื่อมด้ วยพันธะรกลโคซิดิกแบบ
𝜷 – 1,4 (คาร์ บอนตาแหน่ งที่ 1
ของกาแล็กโทส เชื่อมกับคาร์ บอน
ตาแหน่ งที่ 4 ของกลูโคส )
ก +กา -> แล
ไกล โคซ ิ ก 1-1 ,
กิ
ลู
ก +ฟ ก> ๆ กล + กา -> ป


7
ก > มอล ไซ
2. นา้ ตาลโมเลกุลเล็ก (Oligosaccharide)
➢ นา้ ตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharide)
418
• แล็กโทส (lactose) พบรด้ ในนา้ นมของสั ตว์ เลีย้ งลูก
6 ก.ค. 6
ด้ วยนม

นธ ะไก ลโค
!
รั
ชิ
พั
ลู
ลู
ลู
ชู
3.นา้ ตาลโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide)
➢ เป็ นคาร์ โบรฮเดรตที่มขี นาดใหญ่ ประกอบด้ วย
monosaccharides (นา้ ตาลโมเลกุลเดีย่ ว) ตั้งแต่ 11 - 1,000
โมเลกุล เชื่อมต่ อกันด้ วยพันธะรกลโคซิดกิ (glycosidic bone)
➢ มีสูตรโมเลกุล (C6 H10 O5 )n
➢ Polysaccharide สามาแบ่ งรด้ เป็ น 2 กลุ่ม รด้ แก่ พอลิแซคคารรด์
สะสม (Storage polysaccharides) เช่ น แป้ง (starch) ,
ต รกลโคเจน (glycogen) และ พอลิแซคคารรด์โครงสร้ าง
-

(Structural polysaccharides) เช่ น เซลลูโลส


(cellulose) รคทิน (chitin) -รา "ป
➢ รม่ มีรสหวาน รม่ ละลายนา้ (รม่ เป็ นผลึก)
สั
3.นา้ ตาลโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide)
3.นา้ ตาลโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide)
➢ พอลิแซคคารรด์ สะสม (Storage polysaccharides)
1. แป้ง (starch) เป็ นอาหารทีส่ ะสมอยู่ในพืช แหล่งทีพ่ บ เมล็ดธัญพืช
มันฝรั่ง มันสาปะหลัง ข้ าวจ้ าว ข้ าวโพด เป็ นต้ น
แบ่ งออกเป็ น 2 แบบ
• อะรมโลส (amylose) ประกอบด้ วย กลูโคส เรียงต่ อกันเป็ นสายยาวรม่ มี
การแตกแขนงเชื่อมกันด้ วยพันธะ α – 1, 4 รกลโคซิดิก
พบในแป้งข้ าวจ้ าว แป้งจากพืชมีหัว
3.นา้ ตาลโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide)
➢ พอลิแซคคารรด์ สะสม
1. แป้ง (starch)
3.นา้ ตาลโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide)

1.แป้ง (starch) อาหารทีส่ ะสมอยู่ในพืช แหล่ งที่พบ เมล็ดธัญพืช


มันฝรั่ง มันสาปะหลัง ข้ าวจ้ าว ข้ าวโพด เป็ นต้ น
แบ่ งออกเป็ น 2 แบบ
• อะรมโลเพกติน (amylopectin) ประกอบด้ วยกลูโคส
เรียงต่ อกันเป็ นสายยาว ด้ วยพันธะ α – 1, 4 รกลโคซิดกิ
และแตกแขนงเป็ นกิง่ ก้ าน สาขาด้ วยพันธะ α – 1,6
พบในแป้ งข้ าวโพด และแป้งข้ าวเหนียว
3.นา้ ตาลโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide)
3.นําตาลโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide)
 พอลิแซคคาไรด์ สะสม (Storage polysaccharides)
2. ไกลโคเจน (glycogen) แหล่ งทีพบ ตับสั ตว์ กล้ ามเนือลาย
• โครงสร้ างทางเคมี ประกอบด้ วยกลูโคสทีต่ อกันเป็ นสายยาวมี
แขนงแตกกิงก้ านออกไปเป็ นสายสั นๆ จํานวน (มีความถี)
มากกว่ า อะไมโลเพกทิน (สะสมไว้ ใช้ ในยามขาดแคลน)
3.นําตาลโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide)
 พอลิแซคคาไรด์ สะสม (Storage polysaccharides)
2. ไกลโคเจน (glycogen) แหล่ งทีพบ ตับสั ตว์ กล้ ามเนือลาย
3.นําตาลโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide)

 พอลิแซคคาไรด์ โครงสร้ าง (Structural polysaccharides)

3. เซลลูโลส (cellulose) มี glucose เป็ นองค์ ประกอบเช่ นเดียวกับ แป้ง


โดยทีผนังเซลล์ของพืชจะพบเป็ นจํานวนมาก

• โครงสร้ างทางเคมี ประกอบด้ วยกลูโคสเรียงกันด้ วยพันธะ


β – 1,4 ไกลโคซิดิก เป็ นเส้ นใยยาวและเหนียว
ไม่ มีกงก้
ิ านสาขา ซึงต่ างจากอะไมโลส (แป้ง) ทีประกอบด้ วย
กลูโคส ต่ อกันด้ วยพันธะ α – 1 ,4 ไกลโคซิดิก
3.นําตาลโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide)
 พอลิแซคคาไรด์ โครงสร้ าง
3. เซลลูโลส (cellulose)
(Structural polysaccharides)

4
* 1-
3.นําตาลโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide)
 พอลิแซคคาไรด์ โครงสร้ าง (Structural polysaccharides)
4. ไคทิน (chitin) มีโครงสร้ างคล้ายกับ Cellulose ต่ างกันทีว่ า
หน่ วยย่ อยเป็ น N-acetylglucosamine ต่ อกันเป็ นโมเลกุล
สายยาว ไม่ มีกงก้
ิ าน พบในผนังเซลล์รา กระดองปู
เปลือกกุ้ง แมลง ร่ างกายย่ อยสลายไม่ ได้
3.นําตาลโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide)
 พอลิแซคคาไรด์ โครงสร้ าง
(Structural polysaccharides) อืน ๆ ได้ แก่
• เพกติน (pectin) พบในผลไม้ สุก หัวผักกาด
ต้ นอ่อนของพืชสี เขียว และ ด้ านในของเปลือกส้ มโอ

106
3.นําตาลโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide)
 พอลิแซคคาไรด์ โครงสร้ าง
(Structural polysaccharides) อืน ๆ ได้ แก่
• เพปทิโดไกลแคน (peptidoglycan) พบเฉพาะในผนังเซลล์
ของแบคทีเรียเท่ านัน

107

การทดสอบคาร์ โบไฮเดรต (ทดสอบนําตาล) &


II

 นําตาลโมเลกุลเดียว (Monosaccharide) &- C - St


ูโ ตส:ไไรโบส, กา! กร
กล ล
• นําตาลอัลโดส (aldose) มีหมู่คาร์ บอนิลกลุ่ม อัลดีไฮด์ อยู่ทปลาย

โมเลกุล เช่ น นําตาลกลูโคส ,นําตาลกาแล็กโทส , ไรโบส
• นําตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharide) ยกเว้ นนําตาลซุโครส
+ฟ
ลโด
-

 เมือนําไปทดสอบกับสารละลายเบเนดิกซ์ จะเกิดเป็ นตะกอนสี แดง ·ฐ


รัวั
การทดสอบคาร์ โบไฮเดรต (ทดสอบนําตาล)
นําตาลโมเลกุลเดียว (Monosaccharide) กลุ่ม
(aldose) และนําตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharide) ยกเว้ น
-

นําตาลซุโครส
สารละลายเบเนดิกซ์ (Cu2 O) สี ฟ้า เมือนําไปทดสอบนําตาล จะเปลียนจากสี
ฟ้า เป็ น สี ส้มหรือตะกอนสี แดงอิฐ
+ตะกอน เรียกนําตาลเหล่านีว่ า reducing sugar
&
1 - of
ก บ
โต

อิ
ลู
การทดสอบคาร์ โบไฮเดรต (ทดสอบนําตาล)
 นําตาลซูโครส (non – reducing sugar) จะทําปฏิกริ ิยากับ
สารละลายเบเนดิกซ์ (Cu2 O) ได้ เมือนําไปต้ มกับกรดเจือจางก่อน
จากนันจะให้ ผลเป็ น ตะกอนอิฐสี แดง
การทดสอบคาร์ โบไฮเดรต (ทดสอบแป้ง)
 สารละลายไอโอดีนมีสีนําตาลเหลือง ถ้ านําไปทดสอบแป้ง
(อะไมโลส) สารนันเปลียนจากสี นาตาลเหลื
ํ อง เป็ นสี นําเงินเข้ มหรือ
สี ม่วงแกมนําเงิน
การทดสอบคาร์ โบไฮเดรต (ทดสอบแป้ ง)
 สารละลายไอโอดีนมีสีนําตาลเหลือง ถ้ านําไปทดสอบแป้ง
(อะไมโลเพกติน) สารนันเปลียนจากสี นําตาลเหลือง
เป็ นสี ม่วงแดง

 สารละลายไอโอดีนมีสีนําตาลเหลือง ถ้ านําไปทดสอบ
ไกโคเจน สารนันเปลียนจากสี นําตาลเหลือง เป็ นสี แดง
หน้ าทีของ คาร์ โบไฮเดรต
• Sugars :
–ทําหน้ าทีให้ พลังงานและเป็ นแหล่ งคาร์ บอนแก่ สิงมีชีวติ
–ribose และ deoxyribose เป็ นองค์ ประกอบของ nucleic acid( กรด
นิวคลีอกิ )
• Polysaccharide :
–เป็ นแหล่ งสะสมพลังงานของสิ งมีชีวติ โดยพืชเก็บสะสมพลังงาน
ในรู ปของ starch ส่ วนสั ตว์ เก็บสะสมพลังงานในรู ปของ glycogen
–Cellulose และ chitin เป็ นโครงสร้ างของพืชและสั ตว์
หน้ าทีของ คาร์ โบไฮเดรต
• Sugars :
–ทําหน้ าทีให้ พลังงานและเป็ นแหล่ งคาร์ บอนแก่ สิงมีชีวติ
–ribose และ deoxyribose เป็ นองค์ ประกอบของ nucleic acid( กรด
นิวคลีอกิ )
• Polysaccharide :
–เป็ นแหล่ งสะสมพลังงานของสิ งมีชีวติ โดยพืชเก็บสะสมพลังงาน
ในรู ปของ starch ส่ วนสั ตว์ เก็บสะสมพลังงานในรู ปของ glycogen
–Cellulose และ chitin เป็ นโครงสร้ างของพืชและสั ตว์

You might also like