แผนเศรษฐกิจพอเพียงเรื่อง อัตราส่วน (ฉบับแก้ไข)

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 16

ผู้จัดทำ : นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

1. ผังภาพวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้บูรณาการเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ อัตราส่วน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 11 ชั่วโมง

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ อัตราส่วน
(4 แผน 11 ชั่วโมง)
สาระสำคัญ
- ความสัมพันธ์ที่แสดงการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณซึ่งอาจมีหน่วยเดียวกันหรือหน่วยต่างกันก็ได้ เรียกว่า อัตราส่วน
- ประโยคทีแ่ สดงการเท่ากันของอัตราส่วนสองอัตราส่วน เรียกว่า สัดส่วน
- ในการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณโดยใช้อัตราส่วน ถ้าปริมาณของสิ่งหลังเป็น 100 เราเรียกเป็น ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์

แผนที่ 1 ( 2 ชัว่ โมง) แผนที่ 2 ( 3 ชัว่ โมง)


เรื่อง อัตราส่วน เรื่อง สัดส่วน
มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด ค 1.1 ม.1/3 มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด ค 1.1 ม.1/3
สาระการเรียนรู้ อัตราส่วนกับชีวติ ประจำวันและอัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน สาระการเรียนรู้ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน

แผนที่ 3 ( 3 ชัว่ โมง) แผนที่ 4 ( 3 ชั่วโมง)


เรื่อง การประยุกต์เกี่ยวกับร้อยละ เรื่อง การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด ค 1.1 ม.1/3 มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/3
สาระการเรียนรู้ การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละและการนำร้อยละไปใช้ในการแก้โจทย์ปัญหา สาระการเรียนรู้ เปลี่ยนหน่วยอุณหภูมิและอัตราทดของเกียร์
เกี่ยวกับของผสม

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึง ภาระงาน/ชิน้ งาน


1. การสื่อสาร ประสงค์ 1. ปฏิบัติกจิ กรรมกลุ่มศึกษาฐานการเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง (ฐานศาสตร์พระราชา และฐานกินอยู่รู้
2. การคิด 1. ใฝ่เรียนรู้ พอเพียง)
3. การแก้ปัญหา 2. มุ่งมั่นในการทำงาน 2. แบบฝึกหัด Live Worksheets เรื่อง สัดส่วน
4. การใช้ทักษะชีวิต 5. การใช้ 3. ความรับผิดชอบ 3. แบบฝึกหัด Live Worksheets เรื่อง การประยุกต์เกี่ยวกับร้อยละ
เทคโนโลยี 4. มีวินัย 4. แบบฝึกหัด Live Worksheets เรื่อง การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
ผู้จัดทำ : นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
2. การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (BwD)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง สัดส่วน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 3 ชั่วโมง

1. เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ
จำนวนผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้
ตัวชี้วัด ม.1/3 เข้าใจและประยุกต์ใช้อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาใน
ชีวติ จริง
สาระสำคัญ
ประโยคที่แสดงการเท่ากันของอัตราส่วนสองอัตราส่วน เรียกว่า สัดส่วน
การหาค่าตัวแปรในสัดส่วนทำได้ 3 วิธี คือ ใช้หลักการคูณทั้งเศษและส่วน ใช้หลักการหารทั้งเศษและส่วน ใช้
หลักการคูณไขว้
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกับสัดส่วนและการหาค่าตัวแปรจากสัดส่วน (K)
2. เขียนแสดงสัดส่วนและแสดงวิธีการหาค่าตัวแปรจากสัดส่วน (P)
3. เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการนำความรู้เรื่องสัดส่วนไปใช้ในชีวติ ประจำวัน (A)
สาระการเรียนรู้
สัดส่วนและการหาค่าตัวแปรจากสัดส่วน
สมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร (อธิบาย เขียน นำเสนอหน้าชั้นเรียน)
2. ความสามารถในการคิด (คิด วิเคราะห์ แปลความหมาย สรุปผล)
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา (แก้ปัญหาเชิงคณิตศาสตร์)
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ (ใช้กระบวนการกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม)
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี (ใช้เทคโนโลยีร่วมกับการจัดการเรียนการสอน)
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้ (แสวงหาความรูใ้ หม่ แล้วสรุปเป็นความรู้ของตนเอง / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ / นำเสนอ)
2. มุ่งมั่นในการทำงาน (ความตั้งใจและอดทนต่อกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายจนประสบความสำเร็จ)
ผู้จัดทำ : นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
2. หลักฐานการเรียนรู้
ภาระงาน/ชิ้นงาน 1) ปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มศึกษาฐานการเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่
ฐานศาสตร์พระราชา และฐานกินอยู่รู้พอเพียง
2) แบบฝึกหัด Live Worksheets เรื่อง สัดส่วน
https://www.liveworksheets.com/4-iz383479iv
การวัดและประเมินผล
ประเด็น วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ด้านความรู้ (K)
ตรวจแบบฝึกหัด แบบฝึกหัด ได้คะแนนแบบฝึกหัด Live
อ ธ ิ บ า ย เ ก ี ่ ย ว กั บ
Live Worksheets Live Worksheets Worksheets เรื่อง สัดส่วน
สั ด ส่ ว นและการหาค่ า ตั ว ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป
เรื่อง สัดส่วน เรื่อง สัดส่วน
แปรจากสัดส่วน
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
แบบประเมินทักษะ
เขี ย นแสดงสั ด ส่ ว น ตรวจใบกิจกรรม ฐานการ ผ่านเกณฑ์ระดับคุณภาพ
กระบวนการคิด และ
และแสดงวิธ ีก ารหาค่าตัว เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง 2
กระบวนการทำงานกลุ่ม
แปรจากสัดส่วน
ด้านคุณลักษณะ (A)
เห็นคุณค่าและ
ผ่านเกณฑ์ระดับคุณภาพ
ประโยชน์ของการนำ การสังเกตพฤติกรรม แบบประเมินการสังเกต
2
ความรู้เรื่องสัดส่วนไปใช้ใน
ชีวติ ประจำวัน

3. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
1. การทำแบบฝึกหัด Live Worksheets เรื่อง สัดส่วน
2. ปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มศึกษาฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
1. ฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง (ฐานศาสตร์พระราชา)
2. ฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง (ฐานกินอยู่รู้พอเพียง)
3. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 ของสำนักพิมพ์พัฒนาคุณภาพ
วิชาการ (พว.)
4. www.liveworksheets.com
เวลา 3 ชั่วโมง
ผู้จัดทำ : นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
3. กิจกรรมการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง สัดส่วน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 3 ชั่วโมง

ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
2 100
1. นักเรียนทบทวนความรู้ เรื่อง อัตราส่วนที่เท่า กัน โดยพิจารณาอัตราส่ว น และ ว่าเท่ากันหรือไม่
13 650
(นักเรียน : มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน และเงื่อนไขความรู้ คือ การใช้สติตริตรองอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจตอบ
คำถาม) จากนั้นผู้แทนนักเรียนออกมาแสดงวิธีตรวจสอบบนกระดาน (นักเรียน : พอประมาณและมิติสังคม)
เช่น
2 100
13 650

จากนั้นนักเรียนร่ว มกันตอบคำถามกระตุ้นความคิด ใช้ชุดคำถาม Q1 – Q2 (ครูและนักเรีย น : มี


เหตุผล, มีภูมิคุ้มกัน และมิติสังคม) นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพิ่มเติมว่า ประโยคที่แสดงการเท่ากันของอัตราส่วนสอง
อัตราส่วน เรียกว่า “สัดส่วน” (นักเรียน : พอประมาณและมิติสังคม)
2. นักเรียนพิจารณาบัตรอัตราส่วน แล้วร่วมกันบอกว่าประโยคใดเป็นสัดส่วน (นักเรียน : เงื่อนไขความรู้
และมิติสังคม)
เช่น
8 12 9 3
1) = 2) =
10 15 21 6

นักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง (นักเรียน : มีเหตุผล และเงื่อนไขความรู้)


ขั้นสอน
3. นักเรียนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสัดส่วนและการหาค่าตัวแปรจากสัดส่วน (นักเรียน : เงื่อนไขความรู้
และมิติสังคม) จากแหล่งเรียนรู้ฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง (ฐานศาสตร์พระราชา : โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่)
ใช้ชุดคำถาม Q3 – Q4 (ครูและนักเรียน : มีเหตุผล, มีภูมิคุ้มกัน และมิติสังคม)
4. นักเรียนพิจารณาสัดส่วนที่กำหนดบนกระดาน แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็น ใช้ชุดคำถาม Q5 – Q6 (ครู
และนักเรียน : เงื่อนไขความรู้ และมิติสังคม)
พิจารณาสัดส่วนต่อไปนี้
1 3 4 16 4 a 5 60
1) = 2) = 3) = 4) =
3 9 7 28 7 28 x 36
5. นักเรียนพิจารณาตัวอย่างวิธีการหาค่าตัวแปรในสัดส่วนและตอบคำถามกระตุ้นความคิด Q7 (ครูและ
นักเรียน : มีเหตุผล, เงื่อนไขความรู้ และมิติสังคม)
ผู้จัดทำ : นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

พิจารณาการหาค่าตัวแปรในสัดส่วนต่อไปนี้
4 a
ตัวอย่างที่ 1 หาค่าของ a ในสัดส่วน =
7 28
วิธีทำ วิธีท่ี 1
➢ หาจำนวนที่คูณ 7 แล้วได้ 28
➢ นำจำนวนนั้นคูณทั้งเศษและส่วนของ
4 4×4
เนื่องจาก =
7 7×4
a 16
ดังนัน้ =
28 28
นั่นคือ a = 16
4 a
วิธีท่ี 2 เนื่องจาก =
7 28
ดังนัน้ 4  28 = 7  a
4×28 7×a
หารด้วย 7 ทั้งสองข้าง จะได้ =
7 7
นั่นคือ a = 16

5 60
ตัวอย่างที่ 2 หาค่าของ x ในสัดส่วน =
x 36
วิธีทำ วิธีท่ี 1
➢ หาจำนวนที่หาร 60 แล้วได้ผลหารเท่ากับ 5
➢ นำจำนวนนั้นหารทั้งเศษและส่วนของ
60 60÷12
เนื่องจาก =
36 36÷12
5 5
ดังนัน้ =
x 3
x = 3
5 60
วิธีท่ี 2 เนื่องจาก =
x 36
ดังนัน้ 5  36 = 60  x
5×36 60×x
หารด้วย 60 ทั้งสองข้างจะได้ =
60 60
นั่นคือ x = 3

6. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีในการหาค่าของตัวแปรในสัดส่วน โดยเชื่อมโยงกับคำตอบจากคำถาม
ข้างต้น (นักเรียน : พอประมาณ และมิติสังคม)
การหาค่าตัวแปรในสัดส่วนทำได้ 3 วิธี คือ
1. ใช้หลักการคูณทั้งเศษและส่วน
2. ใช้หลักการหารทั้งเศษและส่วน
ผู้จัดทำ : นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
3. ใช้หลักการคูณไขว้
7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยใช้คำถามกระตุ้นความคิด ใช้ชุดคำถาม Q8 (ครูและนักเรียน :
เงื่อนไขความรู้ และมิติสังคม)
ขั้นสรุป
8. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ปฏิบัติกิจกรรมในฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง (ฐานกินอยู่รู้พอเพียง
: การคำนวณหาสัดส่วนในการทำขนมถ้วยฟู) พร้อมตอบคำถามกระตุ้นความคิด ใช้ชุดคำถาม Q9 – Q11 (ครูและ
นักเรียน : มีเหตุผล, มีภูมิคุ้มกัน เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม และมิติสังคม)
9. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาแสดงการหาสัดส่วนพร้อมทั้งอธิบายประกอบ โดยนักเรียนและครูร่วมกัน
ตรวจสอบความถูกต้องจนครบทุกกลุ่ม (นักเรียน : เงื่อนไขความรู้ และมิติสังคม)
10. นักเรียนทำแบบฝึกหัด Live Worksheets เรื่อง สัดส่วน ครูสุ่มนักเรียนนำเสนอหน้าชั้นเรียน 3 – 4 คน (ครู
และนักเรียน : เงื่อนไขความรู้ และมิติสังคม)
11. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ใช้ชุดคำถาม Q12 – Q15 (ครูและนักเรียน : เงื่อนไข
ความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน และมิติสังคม)
ผู้จัดทำ : นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
4. ชุดคำถามกระตุ้นเพื่อปลูกฝังหลักคิดพอเพียงแผนการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง สัดส่วน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 3 ชั่วโมง

คำถามกระตุ้นคิดเพื่อปลูกฝังหลักคิดพอเพียงก่อนเรียน
Q1 นักเรียนจะมีวธิ ีการตรวจสอบว่าอัตราส่วนทีเ่ ท่ากันได้อย่างไร (เงื่อนไขความรู้)
Q2 ถ้าอัตราส่วนสองอัตราส่วนเท่ากันสามารถเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้หรือไม่ และเขียนได้อย่างไร
(มีเหตุผล, เงื่อนไขความรู้)
Q3 จากการศึกษาศาสตร์พระราชา โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ มีวธิ ีการแบ่งสัดส่วนพืน้ ที่ใช้สอยอย่างไร (มีเหตุผล
, เงื่อนไขความรู้, มีภูมิคุ้มกัน, มิติสิ่งแวดล้อม)
Q4 นักเรียนคิดว่าการศึกษาความรูจ้ ากแหล่งเรียนรูด้ ้วยตนเอง เรื่องสัดส่วน ฐานศาสตร์พระราชา โครงการเกษตร
ทฤษฎีใหม่ มีประโยชน์แก่นักเรียนอย่างไร (มีเหตุผล, เงื่อนไขความรู้)
Q5 นักเรียนจะมีวธิ ีการตรวจสอบสัดส่วนได้อย่างไร (เงื่อนไขความรู้)
Q6 หากสัดส่วนมีตัวไม่ทราบค่า หรือตัวแปร นักเรียนจะมีวธิ ีการหาตัวไม่ทราบค่าได้กี่วิธี อย่างไร (มีเหตุผล,
เงื่อนไขความรู้)
คำถามกระตุ้นคิดเพื่อปลูกฝังหลักคิดพอเพียงระหว่างเรียน
Q7 การหาค่าตัวแปรหรือตัวไม่ทราบค่า สามารถหาได้กี่วิธี และแต่ละวิธีแตกต่างกันอย่างไร (มีเหตุผล, เงื่อนไข
ความรู้)
Q8 นักเรียนคิดว่า เรื่องสัดส่วนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวันได้อย่างไร (มีเหตุผล)
Q9 การปฏิบัติกิจกรรมให้สำเร็จตามที่ได้รับมอบหมาย นักเรียนจำเป็นจะต้องปฏิบัติตนอย่างไร (มีคุณธรรม)
Q10 การทำงานกลุ่มและศึกษาร่วมกันในกลุ่ม นักเรียนต้องใช้คุณธรรมใดในการทำงานร่วมกัน (มีเหตุผล)
Q11 ในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มในครั้งนี้ นักเรียนแบ่งหน้าที่กันอย่างไรบ้าง มีความเหมาะสมหรือไม่อย่างไร (มี
เหตุผล, เงื่อนไขคุณธรรม)
คำถามกระตุ้นคิดเพื่อปลูกฝังหลักคิดพอเพียงหลังเรียน
Q12 ประโยคที่แสดงถึงการเท่ากันของอัตราส่วน เรียกว่าอะไร (เงื่อนไขความรู้)
Q13 นักเรียนคิดว่า นักเรียนสามารถพบเห็นการใช้สัดส่วนในชีวติ ประจำวันได้จากที่ใดอีกบ้าง (มีเหตุผล, มิติ
วัฒนธรรม, มิติสิ่งแวดล้อม)
Q14 นักเรียนคิดว่าการปฏิบัติกิจกรรมโดยการให้นักเรียนลงมือการคำนวณหาสัดส่วนจากการทำขนมถ้วยฟูมี
ประโยชน์อย่างไร (มีเหตุผล, มีภูมิคุ้มกัน)
Q15 นักเรียนคิดว่า การคำนวณหาสัดส่วนจากฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง : ฐานกินอยู่รู้พอเพียง นักเรียน
สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับอาชีพหรืองานใดในปัจจุบันได้บ้าง (มีเหตุผล, เงื่อนไขความรู้, มีภูมิคุ้มกัน, มิติสังคม,
มิติสิ่งแวดล้อม, มิติวัตถุ)
ผู้จัดทำ : นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
5. แนวทางการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง สัดส่วน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 3 ชั่วโมง
5.1 ผู้สอนนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้
ความรูท้ ี่ครูตอ้ งมีก่อนสอน คุณธรรมของครูที่ใช้ในการจัดกิจกรรมารเรียนรู้
1. มีความรอบรู้ในเนือ้ หาสาระ เรื่อง สัดส่วน 1. มีความรักเมตตาต่อศิษย์
2. มีความรอบรู้ในการออกแบบการสอนและเขียน 2. มีความรับผิดชอบ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่เสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่าง 3. มีความยุติธรรม
พอเพียง 4. มีความอดทน
3. การผลิตสื่อออนไลน์ และการใช้เทคโนโลยีในการ 5. ตรงต่อเวลา
จัดการเรียนการสอน
4. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประเด็น พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เนือ้ หา เนื้อหาและกิจกรรมมีความ เนื ้ อ หาสามารถจั ด กิ จ กรรม การจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี่
เหมาะสมกั บ นั ก เรี ย น และ บ ู ร ณ า ก า ร แ ล ะ ต อ บ โ จ ท ย์ สามารถตอบโจทย์ ตั ว ชี ้ วัด /
เป้าหมายตัวชีว้ ัด มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัดได้ จั ด ลำดั บ เนื ้ อ หา เพื ่ อ ให้
นักเรียนเกิดความเข้าใจจาก
เรื ่ อ งง่ า ยไปหาเรื ่ อ งที ่ ย าก
สามารถนำไปประยุก ต์ใ ช้ ใ น
ชีวติ ประจำวันได้
เวลา กำหนดเวลาให้เหมาะสมกับ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นไป สามารถวางแผนการ
เนือ้ หาและกิจกรรมการเรียนรู้ ต า ม เ ว ล า ท ี ่ ก ำ ห น ด ใ ห ้ บ ร ร ลุ จัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ
จุดประสงค์ก ารเรีย นรู้ (K, P และ เวลาที่กำหนด
A)
การจัด - จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ ให้ น ั ก เรี ย น เรี ย นรู ้ โ ดยผ่ า น ติ ด ต่ อ ประสานงานกั บ
กิจกรรม เหมาะสมกับนักเรียน โดยบูรณา กระบวนการ Active Learning แหล่ ง เรี ย นรู ้ จ ริ ง ที ่ จ ะพา
การฐานการเรี ย นรู ้ เ ศรษฐกิ จ นักเรียนไปศึกษา
พอเพียง ศึกษาแหล่งเรียนรู้จริง สำรวจแหล่งเรียนรู้
ได้ แ ก่ “ฐานศาสตร์ พ ระราชา
และฐานกินอยู่รู้พอเพียง”
- กำหนดภาระงาน / ชิน้ งาน
ให้ เ หมาะสมกั บ ศั ก ยภาพของ
นักเรียน
ผู้จัดทำ : นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ประเด็น พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี


สื่อ/ จำนวนแบบฝึ ก หั ด ใน Live เพื ่ อ เป็ น การลดภาระงาน มีการวางแผนการใช้สื่อ
อุปกรณ์ Worksheets มีความเหมาะสมกับ นักเรียน นักเรียนสามารถทำแล้ว อย่างเป็นลำดับขั้นตอน
ศักยภาพของนักเรียน ประเมินผลได้ทันที
ทำให้ น ั ก เรี ย นมี ค วามรู ้ แ ละ
ความเข้าใจ เรื่อง สัดส่วน
แหล่ง 1. ฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจ แหล่งเรียนรู้สามารถเชื่อมโยง ติดต่อประสานงานกับครู
เรียนรู้ พอเพียง เหมาะสมกับเวลาที่ใ ช้ เนือ้ หา ตอบโจทย์วัตถุประสงค์ ป ร ะ จ ำ ฐ า น ก า ร เ ร ี ย น ร ู้
ในการทำกิจกรรม ประหยัดเวลา และ ล่ ว งหน้ า เพื ่ อ เตรี ย มการ
- ฐานศาสตร์พระราชา งบประมาณ ปฏิบัติกิจกรรมจริง
- ฐานกินอยู่รู้พอเพียง
2. www.liveworksheets.com
3. ส่งเสริมให้นักเรียน
เลือกใช้แหล่งเรียนรู้ได้อย่าง
เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรู้
ประเมินผล การประเมินผลแบบฝึกหัด สามารถวั ด ผลประเมิ น ที่ - มีการตรวจสอบ
Live Worksheets ม ี ค ว า ม สะดวก รวดเร็ว ลดภาระงานของ คำตอบแบบฝึ ก หั ด ก่ อ นให้
เหมาะสมกับเวลา นักเรียน นักเรียนลงมือทำ
สามารถสะท้ อ นผลได้ ท ั น ที - นักเรียนสามารถ
หลังจากทำแบบฝึกหัด พัฒนาปรับปรุง ผลการเรียนรู้
ของตนเองจากผลการ
ประเมินได้ทันที
ผู้จัดทำ : นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

6. ผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง สัดส่วน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 3 ชั่วโมง
6.1 ผู้เรียนจะได้ฝึกคิดและฝึกปฏิบัตติ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้
ความรูท้ ี่ผเู้ รียนต้องมี คุณธรรมของผูเ้ รียนทีจ่ ะทำให้การเรียนรูส้ ำเร็จ
1. นักเรียนมีความรอบรู้ เรื่อง สัดส่วน 1. นักเรียนมีวนิ ัย มีความรับผิดชอบ
2. นักเรียนมีความรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. นักเรียนใฝ่เรียนรู้
3. นักเรียนมีความรูใ้ นการสืบค้นออนไลน์ 3. นักเรียนมุ่งมั่นในการทำงาน
4. นักเรียนมีความรูใ้ นการทำแบบฝึกหัดออนไลน์
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
1. นักเรียนมีพืน้ ฐานความรู้ทาง 1. นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น 1. นักเรียนรู้จักบทบาทหน้าที่ของ
คณิตศาสตร์ที่เหมาะสมกับเนื้อหา หรืออภิปรายได้อย่างมีเหตุผล ตนเอง สามารถแสดงความคิดเห็นได้
2. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มตามที่ 2. นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห์ในการ และรู้จักรับฟังความคิดเห็นของเพื่อน
ได้รับมอบหมายเหมาะสมกับเวลาที่ ปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มได้ 2. นักเรียนและครูสามารถทำงาน
กำหนดให้ ร่วมกับผูอ้ ื่นได้
3. นักเรียนสามารถนำความรูไ้ ป
ประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้

6.2 ผู้เรียนจะได้เรียนรู้การใช้ชีวติ ที่สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง 4 มิติ ตามหลัก ปศพพ. ดังนี้


ด้าน สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ

องค์ประกอบ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม


ความรู้ มีความรู้ใ นการ รู ้ จ ั ก สื บ เสาะ แสวง มีความรู้ เรื่อง ที่มา มี ค วามรู ้ ใ นการ
คำนวณหาสั ด ส่ ว น หาความรู้ เรื่อง สัดส่วน ของสั ด ส่ ว นจากการ นำสัดส่วนมา
และการหาค่ า ตั ว จากแหล่งเรียนรู้อื่น หรือ เรียใช้นรู ้ในฐานการเรี
ซองขนมน ำเข้ำสู่ ยนรู้ ประยุกต์ใช้กับการทำ
แปรจากสัดส่วน ผู้อื่น และทำงานร่ วมกั บ เศรษฐกิ
บทเรียนจ(เอำไป
พอเพียง ฐาน ขนมถ้วยฟู ในฐานกิน
(เพิ่มเติมเรื่องสื่อ) ผู ้ อ ื ่ น ได้ มี ภ าวะผู ้ น ำ ผู้ ศาสตร์
เพิ่มเติพมระราชา
) อยู ่ ร ู ้ พ อเพี ย ง เพื่ อ
ตาม พั ฒ นาภู ม ิ ป ั ญ ญ า
ท้องถิ่น
ทักษะ มี ท ั ก ษะในการ เรี ย นรู ้ ก ระบวนการ มีทักษะในการ
เขี ย นแสดงสั ด ส่ ว น ปฏิ บ ั ต ิ ก ิ จ กรรมกลุ ่ ม ใน วิเคราะห์ สังเคราะห์
และการคิ ด คำนวณ การคำนวณสั ด ส่ ว นทำ -
สัดส่วน ขนมถ้ ว ยฟู ฐ านกิ น อยู ่ ร ู้
พอเพียง
ผู้จัดทำ : นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ด้าน สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ

องค์ประกอบ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม


ค่านิยม ตระหนั ก /เห็ น ยอมรับฟังความ เห็นคุณค่าของการ
คุณค่าและประโยชน์ คิ ด เห็ น ของผู ้ อ ื ่ น และมี คำนวณปริมาณสัดส่วน
ของการนำความรู้ ทัศนคติที่ดีในการทำงาน ของส่วนผสมจาก
-
เรื่องสัดส่วนไปใช้ใ น ร่วมกับผูอ้ ื่น ธรรมชาติที่ใช้ในการทำ
ชีวติ ประจำวัน ขนมถ้วยฟู เพื่อให้ เ ป็ น
มิตรกับสิ่งแวดล้อม

เกณฑ์การให้คะแนน แบบประเมินทักษะกระบวนการคิด และกระบวนการทำงานกลุ่ม


ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง)
1. ทักษะด้านการ สามารถแสดงการ อธิบายการวิเคราะห์ แสดงการวิเคราะห์ ไม่แสดงการวิเคราะห์
แสวงหาคำตอบ วิเคราะห์แนวคิดและ แนวคิด และสร้าง แนวคิด อธิบายได้ แนวคิด
อธิบายวิธีคิดได้อย่าง วิธีการใหม่เพื่อ อย่างชัดเจนและ
ชัดเจนและถูกต้อง ประยุกต์ใช้ได้อย่าง ถูกต้อง
พร้อมทั้งสามารถสร้าง ถูกต้อง
วิธีการใหม่ เพื่อมา
ประยุกต์ใช้ให้รวดเร็ว
แม่นยำและถูกต้อง
ยิ่งขึ้น
2. ทักษะความสามารถ มีความกระตือรือร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ขาดความ
ในการทำงาน ทำงานสำเร็จถูกต้อง ทำงานสำเร็จถูกต้อง กระตือรือร้น แต่ กระตือรือร้นต่อการ
ตามกำหนด แต่ช้ากว่ากำหนด ทำงานสำเร็จถูกต้อง ทำงาน งานไม่เสร็จ
ช้ากว่ากำหนด ตามกำหนด
3. ทักษะการวิเคราะห์ สามารถวิเคราะห์โจทย์ สามารถวิเคราะห์ สามารถวิเคราะห์ ไม่สามารถวิเคราะห์
โจทย์ ปัญหาที่กำหนดให้แล้ว โจทย์ปัญหาที่ โจทย์ปัญหาที่ โจทย์ปัญหาที่
เข้าใจปัญหาได้ถูกต้อง กำหนดให้แล้วเข้าใจ กำหนดให้แล้วเข้าใจ กำหนดให้แล้วเข้าใจ
ตรงประเด็น ชัดเจน ปัญหาบางส่วนไม่ ปัญหาบางส่วนไม่ ปัญหาน้อยมาก
ถูกต้องตรงประเด็น ถูกต้อง ตรงประเด็น หรือไม่เข้าใจปัญหา
ผู้จัดทำ : นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ครอบคลุมกับสิ่งที่ต้อง ครอบคลุมกับสิ่งที่ เล็กน้อยบางส่วน
ศึกษาได้ ต้องศึกษาได้ ครอบคลุมกับสิ่งที่
ต้องศึกษา

ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง)
4. ทักษะการทำงาน มีการกำหนดบทบาท มีการกำหนดบทบาท มีการกำหนดบทบาท ไม่มีการกำหนด
ร่วมกัน สมาชิกชัดเจน สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
และมีการชี้แจง มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจง และไม่มีการชี้แจง
เป้าหมาย อย่างชัดเจนและ เป้าหมาย เป้าหมาย สมาชิก
การทำงาน ปฏิบัติงานร่วมกัน อย่างชัดเจน ต่างคนต่างทำงาน
มีการปฏิบัติงานร่วมกัน แต่ไม่มีการประเมิน ปฏิบัติงานร่วมกัน
อย่างร่วมมือร่วมใจ เป็นระยะ ๆ ไม่ครบทุกคน
พร้อมกับการประเมิน
เป็นระยะ ๆ
ผู้จัดทำ : นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
เรื่อง ...................................................................
________________________________________________________________________________
ชื่อ-สกุลนักเรียน...................................................................................................................ห้อง................เลขที่………….
คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องว่างที่ตรงกับ
ระดับคะแนน
คุณลักษณะ ระดับคะแนน
รายการประเมิน
อันพึงประสงค์ 3 2 1 0
1. ใฝ่เรียนรู้ 1.1 ตั้งใจเรียน
1.2 เอาใจใส่ในการเรียน และมีความเพียรพยายามในการเรียน
1.3 เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ
1.4 ศึกษาค้นคว้า หาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ
เทคโนโลยีต่างๆแหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก
โรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม
1.5 บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบบางสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็น
องค์ความรู้
1.6 แลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยวิธีการต่างๆ และนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน
2. มุ่งมั่นใน 2.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
การทำงาน 2.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสำเร็จ
รวมคะแนน
คะแนนเฉลี่ย
ผู้จัดทำ : นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ลงชื่อ...............................................ผู้ประเมิน
(นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี)
ครูผู้สอน
............./............./.............

เกณฑ์การประเมิน คะแนน 2.5 – 3.0 ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม (3)


คะแนน 1.5 – 2.4 ระดับคุณภาพ ดี (2)
คะแนน 1.0 – 1.4 ระดับคุณภาพ ผ่าน (1)
คะแนน 0 – 0.9 ระดับคุณภาพ ไม่ผ่าน (0)

สรุปผลการประเมิน  ดีเยี่ยม  ดี  ผ่าน  ไม่ผ่าน

ระดับ เกณฑ์การพิจารณา
ดีเยี่ยม (3) 1. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยมทุกตัวชี้วัด
ดี (2) 1. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จำนวน 1 ตัวชี้วัดและระดับดี
จำนวน 1 ตัวชีว้ ัด หรือ
2. ได้ผลการประเมินระดับดีทุกตัวชี้วัด
ผ่าน (1) 1. ได้ผลการประเมินระดับผ่านทุกตัวชี้วัด หรือ
2. ได้ผลการประเมินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป จำนวน 1 ตัวชี้วัด และ
ระดับผ่าน จำนวน 1 ตัวชี้วัด
ไม่ผ่าน (0) ได้ผลการประเมินระดับไม่ผ่าน ตั้งแต่ 1 ตัวชี้วัดขึ้นไป

เกณฑ์การให้ระดับคะแนน
รายการประเมิน ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
1.2 เอาใจใส่และมี ตั้งใจเรียน เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
ความเพียรพยายาม มีความเพียรพยายามใน และมีความเพียร ในการเรียน มีส่วน
ในการเรียนรู้ การเรียนรู้ มีส่วนร่วมใน พยายามในการ ร่วมใน
1.3 สนใจเข้าร่วม การเรียนรู้ และเข้าร่วม เรียนรู้มีส่วนร่วมใน การเรียนรู้ และเข้า
กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง การเรียนรู้ และเข้า ร่วมกิจกรรมการ
ๆ ๆ ทั้งภายใน และภาย ร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ เป็น
นอกโรงเรียนเป็นประจำ บางครั้ง
ผู้จัดทำ : นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เรียนรู้ต่าง ๆ
บ่อยครั้ง
1.4 ศึกษาค้นคว้าหา ศึกษาค้นคว้าหา ศึกษาค้นคว้าหา ศึกษาค้นคว้า ไม่ศึกษาค้นคว้าหา
ความรู้จากหนังสือ ความรู้จากหนังสือ ความรู้จากหนังสือ ความรู้จากหนังสือ ความรู้
เอกสารสิ่งพิมพ์ สื่อ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ เอกสาร สิ่งพิมพ์
เทคโนโลยีต่างๆ แหล่ง เทคโนโลยี และ เทคโนโลยีและ สื่อเทคโนโลยี
เรียนรู้ทั้งภายใน และ สารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ สารสนเทศแหล่ง แหล่ง เรียนรู้ ทั้ง
ภายนอกโรงเรียน และ ทั้งภายใน และภาย นอก เรียนรู้ ทั้งภายในและ ภายในและภาย
เลือกใช้สื่อ ได้อย่าง โรงเรียน เลือกใช้สื่อได้ ภายนอกโรงเรียน นอกโรงเรียน
เหมาะสม อย่างเหมาะสม มีการ และเลือกใช้สื่อได้ เลือกใช้สื่อได้อย่าง
1.5 บันทึกความรู้ บันทึกความรู้ อย่างเหมาะสม เหมาะสม และมี
วิเคราะห์ข้อมูลจากสิ่ง วิเคราะห์ข้อมูล มีการบันทึกความรู้ การบันทึกความรู้
ที่เรียนรู้สรุปเป็น องค์ สรุปเป็นองค์ความรู้ และ วิเคราะห์ข้อมูล สรุป
ความรู้ แลก เปลี่ยนเรียนรู้ ด้วย เป็นองค์ความรู้ และ
1.6 แลกเปลี่ยน วิธีการที่หลาก หลาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ
เรียนรู้ ด้วยวิธีการ และนำไป ใช้ในชีวิต ผู้อื่นได้
ต่างๆ และนำไปใช้ใน ประจำวันได้
ชีวิตประจำวัน

เกณฑ์การให้ระดับคะแนน (ต่อ)
รายการประเมิน ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
2.1 มีความตั้งใจและ ตั้งใจและ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิด ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
พยายามในการทำงาน รับผิดชอบในการ ในการปฏิบัติหน้าที่ที่ ชอบ ในการปฏิบัติ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบตั ิหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมายให้ หน้าที่ที่
ได้รับมอบหมาย สำเร็จ มีการปรับปรุง ได้รับมอบหมายให้
ให้สำเร็จ มีการปรับปรุง และพัฒนาการ สำเร็จ มีการ
และ ทำงานให้ดีขึ้น ปรับปรุง การ
พัฒนาการทำงาน ทำงานให้ดีขึ้น
ให้ดีขึ้นด้วยตนเอง
2.2 มีความอดทนและ ทำงานด้วยความ ทำงานด้วยความขยัน ทำงานด้วยความ ไม่ขยัน อดทน
ไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรค ขยันอดทน และ อดทน และพยายาม ขยันอดทน และ ในการทำงาน
เพื่อให้งานสำเร็จ พยายามให้งาน ให้งานสำเร็จตาม พยายาม ให้งาน
ผู้จัดทำ : นายณัฐภูมิ มณฑายงทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
สำเร็จตาม เป้าหมาย ไม่ย่อท้อ สำเร็จตาม
เป้าหมายภายใน ต่อปัญหาในการ เป้าหมาย และ
เวลาที่กำหนด ทำงาน และชื่นชม ชื่นชม ผลงานด้วย
ไม่ย่อท้อต่อปัญหา ผลงานด้วยความ ความ
แก้ปัญหาอุปสรรค ใน ภาคภูมิใจ ภาคภูมิใจ
การทำงาน และ ชื่นชม
ผลงานด้วย
ความภาคภูมิใจ

You might also like