Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 139

1

เอกสารประกอบการเรียน ครัง้ ที่ 1


ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา

สาระสาคัญ
จิต วิทยาเป็ นวิชาที่ศึก ษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมโดยใช้ว ิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ โดยมี
จุดมุ่งหมายเพื่ออธิบาย ทาความเข้าใจ ทานาย ควบคุมพฤติกรรมมนุ ษย์ ในปจั จุบนั จิตวิทยาได้
แตกออกเป็นสาขาต่าง ๆ มากมาย เพื่อให้เหมาะสมกับการประยุกต์ใช้ในวงการวิชาชีพต่าง ๆ

วัตถุประสงค์
เมือ่ ศึกษาบทเรียนนี้จบแล้ว ผูเ้ รียนสามารถ
1. อธิบายความหมายของจิตวิทยา และพฤติกรรมได้
2. อธิบายจุดมุง่ หมายของการศึกษาจิตวิทยาได้
3. อธิบายบทบาทและหน้าทีข่ องนักจิตวิทยาสาขาต่าง ๆ ได้

ความหมายของจิ ตวิ ทยา


ความเข้าใจค าว่า “จิ ตวิ ท ยา” ของคนทัวไปนั ่ น้ อาจเข้าใจในมุมมองที่แตกต่ างกัน
ออกไป บางคนเข้าใจว่าจิต วิทยาเป็ นเรื่อ งที่เกี่ยวกับเรื่องจิต วิญ ญาณ การสะกดจิต บางคน
อาจจะคิดว่าเป็ นเรื่องของการใช้เล่ห์เหลี่ยม หรือใช้อานาจควบคุมจิตใจบุคคลอื่ น สังให้ ่ เขาทา
อะไรก็ได้ตามที่ตนต้องการ บางคนก็อาจคิดว่าเป็ นศาสตร์ท่เี กี่ยวข้องกับคนบ้า คนโรคจิต โรค
ประสาท และมีไ ม่ น้ อ ยที่ค ิด ว่ า จิต วิท ยาเป็ น เรื่อ งการคาดเดาจิต ใจ การอ่ านจิต ใจคน จาก
พฤติกรรมทีเ่ ขาแสดงให้เห็นหรือผลกรรมทีเ่ ขาได้รบั และอื่นๆ แต่แท้ทจ่ี ริงแล้วความหมายของ
จิตวิทยาที่ถูกต้อง หมายถึง ศาสตร์ท่ศี ึกษาถึงพฤติกรรม (Behavior) คือ การกระทา (Action)
และการตอบสนอง (Response) ที่สงั เกตได้ กับ กระบวนการทางจิต (Mental Process) เช่น
การคิด (Thought) ความรูส้ กึ (Feeling) (Feldman. 2008: 5; Passer; & Smith. 2007: 2-3)
ในความหมายของ พฤติ ก รรม (Behavior) ตาม Encyclopedia Britannica (1997)
หมายถึง ศัก ยภาพ (Potential) และความสามารถ (Capacity) ของมนุ ษ ย์ท่แี สดงออกมาทาง
กาย ทางจิตใจ และกิจกรรมทางสังคม ส่วนในพจนานุ กรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถานระบุว่า
พฤติกรรม หมายถึง การกระทาหรืออาการทีแ่ สดงออกทางกล้ามเนื้อ ความคิด ความรูส้ กึ เพื่อ
ตอบสนองสิง่ เร้า (ราชบัณฑิตยสถาน. 2546: 768) พฤติกรรมของมนุษย์แบ่งประเภทได้ดงั นี้
1. พฤติ กรรมภายนอก (Overt Behavior) เป็ น พฤติก รรมที่ส ัง เกตได้ หรือ เป็ น
พฤติกรรมแบบเปิ ดเผย สามารถเข้าใจได้ง่าย การแสดงพฤติกรรมเป็ นไปอย่างตรงไปตรงมา
ตรงกับความต้องการทีแ่ ท้จริงของจิตใจ เช่น การกิน การเดิน การนัง่ การนอน การเล่น เป็นต้น
2

2. พฤติ กรรมภายใน (Covert Behavior) เป็ น พฤติ ก รรมที่ ไ ม่ แ สดงออกมาให้


บุคคลภายนอกสังเกตเห็นโดยตรง เช่น พฤติกรรมทีอ่ ยู่ในระบบความคิด ความจา ความฝนั และ
บางครัง้ เป็นพฤติกรรมทีซ่ ่อนเร้นหรือปิดบังไว้ และเป็นไปได้ว่าพฤติกรรมทีแ่ สดงออกมานัน้ อาจ
ไม่ตรงกับความรูส้ กึ ทีแ่ ท้จริง จึง พฤติกรรมของมนุ ษย์ท่คี ่อนข้างสลับซับซ้อน บางครัง้ ก็ยากแก่
การเข้าใจ เช่น ความคิด อารมณ์ ความตัง้ ใจ ความจริงใจ ความวิตกกังวล ความเครียด ฯลฯ
จึงต้องใช้วธิ กี ารสังเกตพฤติกรรม แล้ววิเคราะห์ตคี วามไปตามความสัมพันธ์ของพฤติกรรมกับ
ปจั จัยหรือ ปรากฏการณ์ ต่ างๆ ที่เกี่ยวข้อ งด้วยความรอบคอบ หรือ อาจต้อ งใช้เครื่อ งมือและ
อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์บางชนิดเข้าช่วย จึงจะทาให้เราสามารถรูแ้ ละเข้าใจถึงพฤติกรรมนัน้ ได้
ถูกต้องหรือใกล้เคียงกับความเป็ นจริงมากทีส่ ุด เช่น การจับโกหก ซึ่งคนที่โกหกจะปิดบังความ
จริงเพื่อ ป้อ งกันตัวเองเพื่อ หลีกเลี่ยงการเกิด ปญั หาทางกฎหมาย หรือผู้ท่มี อี านวจเหนือกว่า
บางครัง้ เราก็รวู้ ่าใครโกหกเราอยู่ แต่บางครัง้ ก็ยากทีจ่ ะจับให้ได้ว่าใครกาลังโกหก ในการสืบสวน
สอบสวนบางครัง้ จึงได้มกี ารนาเครื่องจับเท็จ (Polygraph) ใช้ในการตรวจสอบว่าผู้ถูกทดสอบ
กาลังพูดโกหกหรือไม่ การตรวจสอบผู้ต้องสงสัยด้วยเครื่องจับเท็จนี้สร้างขึน้ เพื่อวิเคราะห์การ
แสดงออกที่ไ ม่ ไ ด้ต ัง้ ใจ ในขณะที่ผู้ต้อ งสงสัย อยู่ใ นสภาวะที่ก ดดัน หรือ เคร่งเครีย ด เพราะ
พยายามจะปกปิดสิง่ ทีต่ วั เองซ่อนไว้ อันเป็ นสิง่ ทีส่ ะท้อนว่าขณะนัน้ เขากาลังโกหก เครือ่ งจับเท็จ
จะตรวจจับปฏิกิรยิ าทางสรีรศาสตร์หรือการทางานของร่างกายของแต่ ละบุคคล ขณะผู้ต้อ ง
สงสัยที่ถู กถามค าถามเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือสิง่ ที่เกิดขึ้น ผู้ต รวจจะดูอตั ราการต้นของหัวใจ
ความดันโลหิต อัตราการหายใจ และการเปลีย่ นแปลงกระแสคลื่นไฟฟ้าที่ชนั ้ ผิวหนัง (Galvanic
skin resistance : GSR) โดยเปรียบเทียบกับภาวะปกติ ถ้าเส้นกราฟที่ได้มกี ารแกว่งหรือขึน้ ๆ
ลงๆ ที่ต่างกันมาก นัน่ ก็อาจจะชี้ได้ว่าผู้ท่ถี ูกตรวจสอบในขณะนัน้ กาลังหลอกลวง อย่างไรก็ดี
ผลการตรวจสอบนัน้ ก็แล้วแต่ผทู้ ท่ี าหน้าทีต่ รวจสอบจะตีความว่ามีการโกหกเกิดขึน้ หรือไม่

ภาพการทดสอบด้วยเครื่องจับเท็จ
ปฏิ กิริยาตอบสนองต่ อเครื่องจับเท็จ
ปริ มาณน้ อย ปริ มาณมาก
3

อัตราการหายใจ อัตราการหายใจ

เหงื่อ เหงื่อ

อัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการเต้นของหัวใจ

คาถาม คาถาม คาถาม คาถาม


กระตุน้ ทัวไป
่ กระตุน้ ทัวไป

ความรูส้ กึ ความรูส้ กึ
จุดมุ่งหมายของการศึกษาจิ ตวิ ทยา
นักจิตวิทยาได้กาหนดจุดมุง่ หมายของการศึกษา ดังนี้ (Coon; & Mitterer. 2007: 16)
1. การบรรยาย (Description) เป็ น การแสวงหาความรู้โดยอาศัย เครื่อ งมือ ทาง
จิตวิทยา เพื่อนามาบรรยายว่ามีอะไรเกิดขึน้ เป็นความรูใ้ นระดับเบือ้ งต้น เช่น กาหนดชื่อ นิยาม
จัดประเภท บรรยาสภาพการณ์ของพฤติกรรม ซึง่ ต้องทาด้วยความรอบคอบ เพื่อเป็นจุดเริม่ ต้น
ของการให้รายละเอียดพฤติกรรมได้อย่างถูกต้อง เช่น การสารวจทัศนคติของผูส้ ูงอายุในการใช้
สมุนไพรเป็ นอาหารและยารักษาโรค ผลที่ได้ คือ ทัศนคติของผูส้ ูงอายุอยู่ในระดับใด มาก ปาน
กลาง หรือ น้ อ ย อย่างไรก็ดี การบรรยายอย่า งเดีย ว อาจไม่เพีย งพอที่จ ะเข้า ใจสาเหตุ ข อง
พฤติกรรมหรือตอบคาถาม “ทาไม” ได้ เช่น ทาไมวัยรุ่นหญิงมีความพยายามฆ่าตัวตายพอๆ
กันกับวัยรุ่นชาย แต่วยั รุ่นชายมักจะประสบความสาเร็จในการพยายามที่จะฆ่าตัวตายมากกว่า
ทาไมคนส่วนมากเกิดความก้าวร้าวเมื่อมีความรูส้ กึ ไม่สบายหรืออึดอัด ทาไมบ่อยครัง้ ทีค่ นทีม่ า
มุงดูเหตุการณ์ (Bystander) จึงไม่สมัครใจทีจ่ ะช่วยเหลือคนขณะมีเหตุอนั ตราย
2. การทาความเข้าใจพฤติ กรรม (Understanding) เป็ นจุดมุ่งหมายประการถัดมา
เมื่อเราต้องการอธิบายสาเหตุของการเกิดพฤติกรรม เช่น คาถามทีว่ ่า “ทำไมวัยรุ่นหญิงมีควำม
พยำยำมฆ่ำตัวตำยพอๆ กันกับวัยรุน่ ชำย แต่วยั รุ่นชำยมักจะประสบควำมสำเร็จในกำรพยำยำม
ทีจ่ ะฆ่ำตัวตำยมำกกว่ำ” มีเหตุผลมากมายทีเ่ กี่ยวข้องกับความแตกต่างระหว่างเพศนี้ ประการที่
หนึ่ง เด็กชายมักจะใช้วธิ กี ารทีร่ ุนแรงกว่า ส่วนมากจะฆ่าตัวตายด้วยวิธกี ารใช้ปืน ในขณะทีเ่ ด็ก
สาวนิยมที่จะใช้วธิ กี ารกินยาพิษ ประการที่สอง ส่วนมากเด็ก สาวมักจะได้รบั การช่วยชีวติ ได้
ทันท่วงที เพราะบางครัง้ พวกเธอไม่ได้คดิ ที่จะฆ่าตัวตายอย่างจริงจัง พวกเธอมักจะทิ้งร่องรอย
เอาไว้ ตรงกันข้ามกับเด็กหนุ่ มที่พยายามจะฆ่าตัวตายอย่างแน่ นอน ประการที่สาม เด็กสาวมี
สังคมทีด่ กี ว่า เด็กสาวมีความสนิทสนมใกล้ชดิ กับเพื่อนๆ มากกว่าและมักจะไว้ใจปรึกษาปญั หา
ต่างๆ กับพวกเพื่อนๆ ของเธอ ในขณะทีเ่ ด็กหนุ่มเห็นว่าพวกเพื่อนๆ ของเขาเป็นเพียงเพื่อนกิน
4

หรือเพื่อนเที่ยวมากกว่า ดังนัน้ เด็กหนุ่ มจึงไม่มใี ครที่จะให้คาปรึก ษาเมื่อมีปญั หา เหล่านี้ค ือ


ตัว อย่ างของการศึก ษาพฤติก รรมที่ม ีค วามซับ ซ้อ นเพื่อ ที่ จ ะท าความเข้าใจถึงสาเหตุ ข อง
พฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้
3. การทานาย (Prediction) เป็ นความสามารถในการพยากรณ์ พฤติกรรมได้อย่าง
ถูกต้องแม่นยา เช่น จากตัวอย่าง The Bystander Effect นาไปสู่การทานายโอกาสของการให้
ความช่วยเหลือเมือ่ มีเหตุอนั ตราย
4. การควบคุม (Control) การอธิบาย ทาความเข้าใจ และทานายพฤติกรรมดูทาให้
จุดมุ่งหมายของการศึกษาพฤติกรรมดูเหมือนว่าจะเป็ นการชีแ้ จงเหตุผลของพฤติกรรมให้เข้าใจ
ได้ แต่จดุ มุง่ หมายประการสุดท้ายของการศึกษาพฤติกรรม คือ การควบคุม เป็นจุดมุง่ หมายเพื่อ
การน าความรู้ท่ีไ ด้ จ ากการศึก ษาไปใช้ การควบคุ ม นี้ มีค วามหมายง่ า ยๆ หมายถึง การ
เปลีย่ นแปลงเงื่อนไขที่มผี ลต่อพฤติกรรมที่คาดหมาย อย่างไรก็ดี การควบคุมทางจิตวิทยาต้อง
ใช้ความรอบรูไ้ ตร่ตรองด้วยความรอบคอบและมีความเมตตากรุณา

บทบาทของจิ ตวิ ทยาสาขาต่างๆ


จิตวิทยามีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาและแก้ไขปญั หาให้แก่คนในสังคมได้อย่างไร
นัน้ สิง่ ที่สามารถสังเกตได้อย่างชัดเจนในปจั จุบนั เรามักจะพบว่า เมื่อสังคมมีปญั หา ไม่ว่าจะ
เป็ นในด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ อาชญากรรม แทบจะ
ในทุกๆ ด้าน จะมีเรื่อง “จิ ตวิ ท ยา” ได้เข้าไปมีบทบาทในการจัดการกับปญั หาเหล่ านัน้ ด้วย
เสมอ ไม่ ท างตรง ก็ท างอ้อ ม ดังเช่ น บทบาทของจิต แพทย์ นั ก จิต วิท ยา ครูอ าจารย์ หรือ
นักวิชาการทางจิตวิทยาทีเ่ ริม่ มีมากขึน้ กว่าในอดีต โดยบุคลากรทางจิตวิทยาเหล่านี้จะให้ขอ้ มูล
และวิเ คราะห์ เ กี่ย วกับ พฤติก รรมที่เ กี่ย วข้ อ งกับ สถานการณ์ ห รือ เหตุ ก ารณ์ ต่ า งๆ เสมอ
นอกจากนี้ ยังมีการผลิตงานวิจยั ทางจิตวิทยาเพื่อสร้างองค์ความรูท้ างจิตวิทยามากมาย รวมทัง้
การวิจยั ในศาสตร์อ่นื ๆ บางครัง้ ก็จะให้ความสาคัญและนาตัวแปรทางจิตวิทยาไปวิเคราะห์ร่วม
ด้วย
จิต วิท ยาสาขาต่ า งๆ มีม ากมาย บางสาขาเป็ น จิต วิท ยาบริสุ ท ธิ ์ บางสาขาก็ เ ป็ น
จิตวิทยาประยุกต์ จึงขออธิบายเฉพาะจิตวิทยาสาขาสาคัญๆ มาพอสังเขป ดังนี้
1. จิ ตวิ ทยาการทดลอง (Experimental Psychology) เป็ นจิต วิ ท ยาที่ ศึ ก ษ า
พฤติกรรมเกี่ยวกับคนและสัตว์ โดยการประยุกต์วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์มาใช้ศกึ ษาพฤติกรรม
โดยทาการทดลองในเรือ่ งการเรียนรู้ การรับสัมผัส การรับรู้ การจา การคิด การจูงใจ เป็นต้น
2. จิ ตวิ ทยาสังคม (Social Psychology) เป็ นสาขาจิตวิทยาที่ศกึ ษาเกี่ยวกับบุคคล
ในสังคม ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของกลุ่มชนแต่ละกลุ่ม เช่น กลุ่ม ผู้นา การคล้อยตาม ความ
ก้าวร้าว ทัศนคติ เป็นต้น
5

3. จิ ตวิ ทยาพัฒนาการ (Development Psychology) เป็ นจิตวิทยาทีศ่ กึ ษาเกีย่ วกับ


พัฒ นาการด้านต่ างๆ ของมนุ ษ ย์ ตัง้ แต่ เริม่ ปฏิส นธิจ นกระทัง่ ถึงวัย ต่ างๆ ทัง้ ด้านร่า งกาย
สติปญั ญา อารมณ์ สังคม บุคลิกภาพ และจริยธรรม นักจิตวิทยาพัฒานการสามาถทางานด้าน
คลินิกในกรณีท่เี ด็กมีปญั หายุ่งยาก เป็ นที่ปรึกษาสถานดูแลเด็กก่อนวัยเรียน หรือจัดโครงการ
ผูส้ งู อายุและอื่นๆ
4. จิ ต วิ ท ย า อุ ต ส า ห ก รร ม แ ล ะ อ ง ค์ ก าร (Industrial and Organizational
Psychology) เป็ นจิตวิทยาทีศ่ กึ ษาวิธกี ารซึง่ ส่งผลต่อประสิทธิภาพต่อการทางาน นับตัง้ แต่การ
คัด เลือ กบุ ค ลากร การวิเคราะห์งาน การเสริม สร้างแรงจูงใจในการท างาน การสร้างมนุ ษ ย
สัมพันธ์ในการทางานร่วมกัน การประเมินผลการทางาน ฝึ กอบรม รวมทัง้ การจัดองค์การให้ม ี
ประสิทธิ ์ภาพ เป็ นต้น
5. จิ ตวิ ทยาการศึ กษา (Educational Psychology) เป็ นจิต วิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับ
พฤติกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน โดยเน้นถึงพฤติกรรมการเรียนรู้ การพัฒนา
ความสามารถของผู้เรียน ลักษณะธรรมชาติของผู้เรียน สถานการณ์และสิง่ แวดล้อมที่มผี ลต่อ
การเรีย นรู้ พัฒ นาแบบทดสอบทางการศึก ษา ประเมิน ผลโปรแกรมหลัก สู ต ร เพื่อ น าไป
ประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอนให้มปี ระสิทธิภาพ
6. จิ ต วิ ท ยาคลิ นิ ก (Clinical Psychology) เป็ น จิต วิท ยาที่ ศึก ษาเกี่ย วกับ ความ
ผิดปกติทางพฤติก รรมของมนุ ษ ย์ ศึกษามนุ ษ ย์เป็ นรายบุค คล โดยศึกษาทัง้ จากประวัติโดย
ละเอียดหรืออาศัยวิธกี ารต่างๆ ทางจิตวิทยา เพื่อค้นหาสาเหตุของความผิดปกติ และค้นหาวิธ ี
รักษาเพื่อให้ผทู้ ม่ี คี วามบกพร่องทางจิต มีอาการทุเลาลงและกลับคืนสู่สภาพปกติในทีส่ ุด
7. สรีรจิ ตวิ ทยา (Physiological Psychology) เป็ นจิตวิทยาทีศ่ กึ ษาพฤติกรรม เช่น
ความทรงจา อารมณ์ กระบวนการจูงใจ พฤติกรรมทางเพศ การนอน เป็ นต้น โดยวิเคราะห์
พฤติกรรมโดยอาศัยการทางานของระบบประสาทและต่อมไร้ท่อ ซึ่งจะนาไปสู่ความเข้าใจใน
อิทธิพลของกายและจิตทีม่ ตี ่อกันและกัน
8. การวัด ท างจิ ตวิ ท ยา (Psychometric Psychology) เป็ นจิต วิ ท ยาที่ ศึ ก ษ า
เกี่ยวกับการพัฒนาแบบวัดทางจิตวิทยา ซึ่งแบบวัดนี้ได้ถูกนาไปใช้ในหลายวงการ เช่น ระบบ
โรงเรียน การให้คาปรึกษา จิตวิทยาคลินิก จิตวิทยาอุตสาหกรรม เป็นต้น
9. จิ ต วิ ท ยาให้ ค าปรึก ษา (Counseling Psychology) เป็ น จิต วิท ยาประยุกต์ ท า
หน้ าที่เกี่ย วกับ การบ าบัด จิต และบริก ารปรึก ษาป ญ ั หาส่ ว นบุ ค คล ช่ ว ยในเรื่อ งป ญ
ั หาทาง
อารมณ์ พฤติกรรม ทาวิจยั ค้นคว้าปญั หาทางใจ และดูแลเกีย่ วกับสุขภาพชุมชน
10. จิ ตวิ ท ยาผู้บริ โภค (Consumer Psychology) เป็ นจิตวิทยาประยุกต์ ทาหน้ าที่
เกี่ยวกับ ทาวิจยั และทดสอบในเรื่องบรรจุภณ ั ฑ์ การโฆษณา การวิจยั ตลาดเพื่อศึกษานิสยั ของ
ผูบ้ ริโภคและผูใ้ ช้บริการ และสารวจประชามติเกีย่ วกับสินค้าและบริการ
6

11. จิ ต วิ ท ย าชุ ม ช น (Community Psychology) เป็ น สาขาวิ ช าที่ ศึ ก ษ าถึ ง


ปฏิสมั พันธ์ระหว่างบุคคลกับสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ กระแสทางสังคมทีส่ ่งผลกระทบต่อบุคคลและ
ชุมชน เน้นการศึกษาเรื่องราวทางสังคม สถาบันทางสังคมและหน่ วยทางสังคมที่มอี ทิ ธิพลต่อ
ความเคลื่อนไหวของบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์กรในชุมชน เงือ่ นไขต่าง ๆ ทีท่ าให้แต่ละบุคคล
ด าเนิ น ชี ว ิต อย่ า งอยู่ ดี ม ี สุ ข (well-being) แนวทางการเพิ่ ม พลัง ความเข้ ม แข็ ง ทางจิต ใจ
(empowerment) การป้องกันปญั หา (prevent disorders) และสร้างการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ไป (social change) ในทิศทางทีพ่ งึ ประสงค์
12. จิ ต วิ ท ยาสิ่ งแวดล้ อ ม(Environmental Psychology) เป็ น จิต วิท ยาบริสุ ท ธิ ์
ร่วมกับประยุกต์ ทาหน้าทีเ่ กีย่ วกับศึกษาผลกระทบของสิง่ แวดล้อมทีม่ ตี ่อมนุษย์ ศึกษามลภาวะ
ของเสียง ฝูงชนแออัด ทัศนคติของคนเมืองต่อสิง่ แวดล้อม การใช้พน้ื ทีข่ องคน เป็ นที่ปรึกษาใน
การออกแบบสิง่ แวดล้อมทางอุตสาหกรรม โรงเรียน บ้าน และสถาปตั ยกรรม
13. จิ ตวิ ทยาประจาศาล (Forensic Psychology) เป็ นจิตวิทยาประยุกต์ ทาหน้าที่
เกี่ย วกับ ศึก ษาป ญ ั หาคดีอ าชญากรรมและการป้ องกัน การฟื้ น ฟู พ ฤติก รรมนั ก โทษ การ
ปฏิบตั งิ านในศาล ศึกษาเกีย่ วกับจิตวิทยาและกฎหมาย รวมทัง้ การคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นตารวจ
14. ประสาทวิ ท ยาพฤติ ก รรม (Behavioral Neuroscience) มุ่งเน้ น ไปที่พ้ืน ฐาน
ทางชีวภาพของพฤติกรรม
15. จิ ตวิ ทยาการรู้คิด (Cognitive Psychology) ศึกษากระบวนการทางจิตที่สูงขึ้น
รวมถึง ความจา การรับรู้ การคิด การใช้เหตุผลการแก้ปญั หา การตัดสินใจ และภาษา
16. จิ ต วิ ท ยาบุ ค ลิ ก ภาพ (Personality Psychology) ศึก ษาความมัน่ คงและการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของแต่ละบุคคล รวมถึงความแตกต่างของแต่ละบุคคลที่แยกแยะบุคคล
หนึ่งคนออกไปจากคนอื่น ๆ
17. จิ ตวิ ทยาสุขภาพ (Health Psychology) ศึกษาปจั จัยทางจิตวิทยาที่มผี ลต่อโรค
ทางกายภาพ
18. จิ ตวิ ทยาข้ามวัฒนธรรม (Cross-cultural Psychology) ศึกษาความคล้ายคลึง
และความแตกต่ างทางคุ ณ ลัก ษณะและพฤติกรรมของบุค คล ภายใต้บริบ ททางวัฒ นธรรมที่
แตกต่างกัน
นอกจากนี้ ยังมีจติ วิทยาสาขาอื่นๆ อีกมากมาย อาทิเช่น จิตวิทยาประยุกต์ จิตวิทยา
การปกครอง จิตวิทยาภาษาศาสตร์ เป็ นต้น การแยกออกไปหลายสาขาอยูบ่ นพืน้ ฐานของความ
แตกต่างตามลักษณะงานทีม่ จี ติ วิทยาเข้าไปเกี่ยวข้อง
จากการสารวจของ The American Psychological Association หรือ APA (Coon; &
Mitterer. 2007:28 citing APA. 1998) เกีย่ วกับความเชีย่ วชาญพิเศษทางจิตวิทยา พบว่า ความ
7

เชี่ยวชาญทางคลินิคมีมากที่สุดถึง 48 % รองลงมา คือ ความเชี่ยวชาญทางการให้คาปรึกษา


11 % และ ความเชีย่ วชาญทางการทดลองและการวิจยั อื่นๆ 5%

ส่ ว นสถานที่ท่ีนั ก จิต วิท ยาเข้า ไปท างาน พบว่ า มากที่สุ ด คือ ท างานปฏิบ ัติใ น
ห้องทดลองพิเศษ 33 % รองลงมา คือ ทางานในวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย 28% และ 16%
ทางานในโรงพยาบาลหรือคลินิค

สาหรับงานทีน่ ักจิตวิทยาทาเป็นงานหลักนัน้ การบริการสุขภาพจิต มากทีส่ ุดถึง 53 %


รองลงมา คือ การให้บริการทางการศึกษา 19 % และ การบริหารจัดการ กับ การวิจยั เท่ากัน
คือ 10 %
8

คาถามท้ายบท
1. จงอธิบายจุดมุ่งหมายของการศึกษาจิตวิทยา ได้แก่ การบรรยาย (Description) การทาความ
เข้าใจพฤติก รรม (Understanding) การท านาย (Prediction) และการควบคุ ม (Control) จาก
งานวิจยั ต่อไปนี้
ธีระชน พลโยธา (2559) วิจยั เชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วทิ ยา โดยมีวตั ถุประสงค์
เพื่อศึกษารูปแบบการดาเนินชีวติ รูปแบบการอบรมเลีย้ งดูความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ ครู และ
นัก เรียน ของนัก เรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาที่พ่ อ แม่ท างานในโรงงานอุ ต สาหกรรม รวมทัง้
ศึกษาผลกระทบที่เกิดแก่นักเรียนจากการทางานของพ่อแม่ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ บุคคลที่
เป็ นพ่ อแม่ท่ที างานในโรงงานอุต สาหกรรม จานวน 17 คน และผู้ให้ข้อมูล เสริม คือ ครู ผู้นา
ชุมชน พนักงานในโรงงาน นักเรียน รวมทัง้ สิ้น 17 คน ผลการวิจยั พบว่า พนักงานในโรงงานมี
รูปแบบการดาเนินชีวติ คือ ใช้เวลาในช่วงเช้าและหลังเลิกงานในการจัดการภาระงานบ้านใน
ครอบครัว ส่วนใหญ่เป็ นหน้าทีข่ องผูห้ ญิง ในบางครอบครัวทีแ่ ม่ทางานในโรงงานและพ่อทางาน
ทีบ่ ้าน มีการสลับบทบาทให้พ่อทางานบ้าน ผูท้ าหน้าที่ดูแลเด็กส่วนใหญ่ คือ แม่ รองลงมา คือ
พ่อ โดยในบางครอบครัวจะมีญ าติผู้ใหญ่ เป็ นผู้ช่วยเหลือในกรณีท่พี ่อแม่ไม่อยู่บ้านไปทางาน
ครอบครัวทีภ่ รรยาไปทางานในโรงงาน แล้วสามีทางานทีบ่ า้ น พ่อมีบทบาทหลักในการดูแลบุตร
และดูแลบ้าน โดยมีแม่คอยกากับ ด้านรูปแบบการอบรมเลีย้ งดูบุตร พบว่า มี 3 รูปแบบ ได้แก่
การอบรมเลีย้ งดูแบบรักสนับสนุน การอบรมเลีย้ งดูแบบใช้เหตุผล การอบรมเลีย้ งดูโดยมีตวั แบบ
นอกจากนี้ พ่อแม่มกี ารใช้เทคนิควิธกี ารลงโทษด้วย ด้านความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่กบั ลูก พ่อ
แม่จะสื่อสารกับเด็กเกี่ยวกับความคาดหวังและความวิตกกังวลทีพ่ ่อแม่มตี ่อลูก นอกจากนี้ พ่อ
แม่มกี ารเตรียมความพร้อมและการวางแผนการศึกษาให้แก่ลูก สนับสนุ นการทากิจกรรมทีเ่ ป็ น
ประโยชน์ รวมทัง้ จัดระบบระเบียบการทาการบ้านและการเรียนรูข้ องลูก สาหรับความสัมพันธ์
ระหว่างครูและนักเรียน ครูสร้างความสัมพันธ์ท่ดี กี บั นักเรียน ด้วยการให้ความอบอุ่น เอาใจใส่
เกื้อกูล ห่วงใย ทัง้ ในด้านวิชาการ ด้านพฤติกรรม ด้านอารมณ์เมื่ออยู่ในโรงเรียน และด้านการ
ดาเนินชีวติ ประจาวัน ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่กบั ครูจะเป็ นในรูปแบบของความร่วมมือ
ในการดูแลเด็ก พ่อแม่ได้รบั บันทึกจากทางโรงเรียน เมื่อครูรายงานพฤติกรรมของลูกให้ทราบ
พ่อแม่ส่วนใหญ่ จะเชื่อฟงั นอกจากนี้ ครูไปพบพ่อแม่ของเด็กเป็ นรายบุคคลด้วยการไปเยี่ยม
บ้าน และการประชุมผู้ปกครอง ซึ่งมีประชุมปี ละ 2 ครัง้ ผลกระทบที่เกิดแก่ นักเรียนที่พ่ อแม่
ทางานในโรงงานอุตสาหกรรม เด็กที่เป็ นกลุ่มเสี่ยงจะมีพฤติกรรมเบี่ยงเบน ได้แก่ ครอบครัวที่
พ่อแม่ทางานโรงงานทัง้ คู่และเด็กไม่มผี ู้ใหญ่ดูแล ครอบครัวที่พ่อแม่ทางานโรงงานและเป็ นคน
ต่างถิน่ ซึง่ จะส่งลูกไปให้ปยู่ ่าตายายทีต่ ่างจังหวัดเลีย้ งดู และครอบครัวทีบ่ า้ นพักอยู่ในโรงงานที่
พ่อแม่อบรมเลีย้ งดูแบบปล่อยปละละเลย
9

ข้อ เสนอแนะจากการวิจ ยั ควรส่ งเสริม ให้พ่ อ แม่ อ บรมเลี้ยงดูแบบรัก สนับ สนุ น ใช้
เหตุผลมากกว่าอารมณ์ และมีตวั แบบทีด่ สี าหรับเด็ก ให้พ่อแม่พยายามแบ่งเวลาสื่อสารกับลูก มี
การเตรียมความพร้อมและการวางแผนทางการศึกษาของเด็กในอนาคต จัดสิง่ แวดล้อมทางการ
เรียนรูท้ ่บี ้าน ส่งเสริมให้ครูให้ความอบอุ่นแก่เด็กและสร้างความเป็ นมิตรกับพ่อแม่ เพื่อสร้าง
ความร่วมมือในการดูแลเด็ก
2. จับคู่แต่ละสาขาย่อยของจิตวิทยากับประเด็นหรือคาถามที่กาหนด
a. ประสาทวิทยาเชิงพฤติกรรม b. จิตวิทยาการทดลอง c. จิตวิทยาการรูค้ ดิ
d. จิตวิทยาพัฒนาการ e. จิตวิทยาบุคลิกภาพ f. จิตวิทยาสุขภาพ
g. จิตวิทยาคลินิก h. จิตวิทยาการให้คาปรึกษา i. จิตวิทยาการศึกษา
j. จิตวิทยาโรงเรียน k. จิตวิทยาสังคม l. จิตวิทยาอุตสาหกรรม
1. แอนเป็ น นิ ส ิต ใหม่ เธอมีค วามวิต กกัง วลเรื่อ งผลการเรีย นของเธอ เธอมีค วาม
จาเป็ นต้องเรียนรูท้ กั ษะการทางานร่วมกับผูอ้ ่นื และการจัดการกับปญั หา
2. เด็ก ๆ โดยทัวไปช่่ วงวัยใด เริม่ รูส้ กึ ผูกพันทางอารมณ์กบั พ่อของพวกเขา
3. เป็ นทีเ่ ชื่อกันว่าภาพยนตร์ลามกอนาจารที่แสดงถึงความรุนแรงต่อผู้หญิง อาจกระตุ้น
ให้พฤติกรรมก้าวร้าวในผูช้ ายบางคนเกิดขึน้
4. สารเคมีในสมองอะไรบ้างที่ถู กปล่อยออกมาในร่างกายมนุ ษ ย์อ ันเป็ นผลมาจากการ
เผชิญเหตุการณ์ตงึ เครียด และสารเคมีเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมหรือไม่
5. จอนนี่มลี กั ษณะเฉพาะในการตอบสนองต่อสถานการณ์วกิ ฤตด้วยอารมณ์และมุมมอง
เชิงบวก
6. ครูของนักเรียนอายุ 8 ขวบ มีความกังวลว่า เมื่อเร็ว ๆ นี้ เขาพบนักเรียนคนหนึ่งมักมี
พฤติกรรมหลีกเลีย่ งทางสังคมและแสดงความสนใจในการเรียนเพียงเล็กน้อย
7. งานของเจนี่มมี ากและเครียด เธอสงสัยว่าการใช้ชวี ติ ของเธอ ทาให้เธอมีแนวโน้มทีจ่ ะ
เจ็บปว่ ยด้วยโรคบางอย่าง เช่น โรคมะเร็งและโรคหัวใจมากขึน้
8. นักจิต วิทยาค้นพบว่าบางคนมีความไวต่ อสิ่งเร้าที่ทาให้รู้สกึ เจ็บปวดมากกว่าสิง่ เร้า
อื่นๆ
9. ความหวาดกลัวต่อการอยู่ท่ามกลางฝูงชนอย่างมาก ทาให้ชายหนุ่ มพยายามหาทาง
รักษาปญั หาของเขา
10. กลยุทธ์ทางความคิดใดทีเ่ กีย่ วข้องกับการแก้ปญั หาคาศัพท์ทซ่ี บั ซ้อน
11. วิธ ีก ารจัด การเรีย นรู้แ บบใดที่ม ีป ระสิท ธิภ าพที่สุ ด ในการกระตุ้ น นั ก เรีย นระดับ
ประถมศึกษาประสบความสาเร็จทางวิชาการ
12. สมชายถูกขอร้องให้พฒ ั นากลยุทธ์การจัดการทีจ่ ะส่งเสริมการปฏิบตั งิ านในโรงงานให้
มีความปลอดภัยยิง่ ขึน้
10

เอกสารประกอบการเรียนรู้ ครัง้ ที่ 2


ประวัติและแนวคิดทางจิตวิทยา

สาระสาคัญ
จิตวิทยามีประวัตคิ วามเป็ นมาตัง้ แต่สมัยกรีก ต่อมาใช้วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์เข้ามา
ศึกษาจิตวิทยา ทาให้จติ วิทยาแยกจากปรัชญามาเป็ นวิทยาศาสตร์ กลุ่มแนวคิดทางจิตวิทยามี
หลายกลุ่ ม แต่ ล ะกลุ่ ม มีแ นวคิดในการอธิบ ายพฤติกรรมที่ต่ างกัน ท าให้ค วามรู้ค วามเข้าใจ
จิตวิทยามีความลึกซึง้ ยิง่ ขึน้

วัตถุประสงค์
เมือ่ ศึกษาบทเรียนนี้จบแล้ว ผูเ้ รียนสามารถ
1. อธิบายประวัตคิ วามเป็นมาของจิตวิทยาได้
2. อธิบายสาระสาคัญของแต่ละกลุ่มแนวคิดทางจิตวิทยาได้
3. น ำควำมรู้ค วำมเข้ำใจแนวคิด ทำงจิต วิท ยำกลุ่ ม ต่ ำง ๆ ไปอธิบ ำยพฤติก รรมใน
ชีวติ ประจำวันของตนได้

ประวัติความเป็ นมาของจิ ตวิ ทยา


“จิ ตวิ ท ยา” มีประวัติความเป็ นมาชัวเวลาไม่
่ นานนักหากเทียบกับศาสตร์แขนงอื่น
โดยจิตวิทยานัน้ เริม่ ต้นโดยการสืบทอดตามแบบปรัชญาตัง้ แต่สมัยกรีก นักปรัชญา เช่น เพลโต
อริสโตเติ้ล ได้กล่าวถึงธรรมชาติของมนุ ษย์และพฤติกรรมทางจิตใจของมนุ ษย์ไว้หลายแห่ง คา
สอนของท่านเหล่านัน้ อยู่ในรูปของปรัชญา แต่การศึกษาเป็ นไปในลักษณะของการนัง่ ขีดเขียน
กับโต๊ะ (Armchair Method) มากกว่าเป็นวิทยาศาสตร์ (Science)
จิตวิทยาเกิดขึน้ ในช่วงศตวรรษที่ 16 ยุคกรีกโบราณ เมือ่ สองพันกว่าปีมาแล้ว มีบุคคล
สาคัญทีเ่ กีย่ วข้องได้แก่
เพลโต (Plato, 427-347 ก่ อ นคริสตกาล) กล่าวว่า มนุ ษ ย์เกิดมาพร้อ มพื้นฐานด้าน
ความคิดและการหาเหตุผ ล ทาให้สามารถค้นพบความจริงอย่างสมบูรณ์ เกี่ยวกับตัวเอง และ
สรรพสิง่ ต่าง ๆ ในโลกนี้ได้จากการทีม่ นุ ษย์เป็ นผู้ทส่ี ามารถจะชี้แนะแนวทางให้กบั ตนเองให้มุ่ง
ไปสู่ ค วามสมบู ร ณ์ แห่ ง ตนอย่ า งมีป ระสิท ธิ ภ าพได้ มนุ ษย์ จ ีง ไม่ จ าเป็ นต้ อ งเรีย นรู้จ าก
ประสบการณ์ใด
อริส โตเติล (Aristotle, 384-322 ก่ อ นคริส ตกาล) ได้ท าการศึก ษาโดยการสังเกต
ความคิดของตนเองและได้ขอ้ สรุปว่า มนุ ษย์มคี วามจาซึง่ เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างความคิด
ทีเ่ ชื่อมโยงกับวัตถุสงิ่ ของ รวมทัง้ สถานการณ์และผูค้ น อินทรียข์ องมนุ ษย์เป็นชีวภาพทีเ่ ป็นวัตถุ
11

ธาตุขน้ึ อยูก่ บั กฎของธรรมชาติและอิทธิพลของสิง่ แวดล้อม และประสบการณ์ จิตของมนุษย์เป็ น


เพียงระบบทางานส่วนหนึ่งของร่างกายเท่านัน้
ในสมัยคริส ต์ศ ตวรรษที่ 17 อัน เป็ น ระยะเริม่ ต้น ของปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ นัก
ปรัชญาสนใจเรื่องจิตกับกายเป็ นอย่างมาก นักปรัชญาเชื่อว่า มนุ ษย์แบ่งออกเป็ น 2 ภาค คือ
กาย (body) กับจิต (mind) กาย สามารถจับต้องได้สมั ผัส มองเห็น และแสดงกิรยิ าต่างๆ ได้ แต่
จิ ต ไม่มตี วั ตน อาศัยอยู่ในกาย มีหน้าที่ควบคุมการทางานของร่างกาย ฉะนัน้ การศึกษาระยะ
นัน้ จึงมุ่งศึก ษาเรื่องของจิต เพราะเชื่อ ว่าจิตมีผ ลต่ อ กาย (ความหมายของค าว่า Psyche จึง
หมายถึง จิตใจ หรือ Mind ความหมายของจิตวิทยาในขณะนัน้ จึงหมายถึงการศึกษาเกี่ยวกับ
เรื่อ งของจิต ใจ หรือ "A study of mind") เรอเน เดสคาร์ต (Rene’ Descartes, ค.ศ. 1596-
1650) นักปรัชญาชาวฝรังเศส ่ ซึ่งได้รบั การยกย่องให้เป็ นบิดาแห่งปรัชญาสมัยใหม่ ได้พฒ ั นา
แนวคิดแบบทวินิยม (Dualism) ขึน้ โดยเขาได้ปฏิเสธแนวคิดทีว่ ่าจิตและกายเป็ นหนึ่งเดียวกัน
(Monism) เดสคาร์ตเชื่อว่าจิตและกายแยกจากกัน เขาเป็ นเจ้าของปรัชญาทีโ่ ด่งดังทีว่ ่า “I think,
therefore I am.” ฉันคิดฉันจึงมีตวั ตน หมายความว่า จิตใจคือตัวตนทีแ่ ท้จริงของมนุ ษย์ ในขณะ
ทีร่ ่างกายเป็ นเพียงวัตถุ อย่างไรก็ดี เดสคาร์ตไม่ได้ปฏิเสธว่าทัง้ ร่างกายและจิตใจมีปฏิสมั พั นธ์
กัน และได้ให้ขอ้ คิดว่า ถ้าศึกษาร่างกายมนุ ษย์และระบบสมองอย่างละเอียดลึกซึง้ ก็อาจจะสร้าง
หุ่ น ยนต์ ใ ห้ ม ีค วามรู้ส ึก นึ ก คิ ด เหมือ นมนุ ษ ย์ ไ ด้ ต่ อ มาภายหลัง ได้ เ กิ ด วิช าสรีร จิต วิท ยา
(Physiological Psychology) โดยศึกษาว่าพฤติกรรมที่แสดงออกเกี่ยวข้อ งกับการทางานของ
สมองและระบบประสาทอย่างไร มีขอ้ โต้แย้งจากการศึกษาเกีย่ วกับเรือ่ งจิตกับกายเป็นอย่างมาก
ปญั หาหาข้อยุตไิ ม่ได้ มีผลกระทบโดยตรงต่อความรูท้ างจิตวิทยาด้วยเช่นกัน ทาให้เนื้อหาของ
จิตวิทยามีการเปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา กล่าวคือ ทาให้ลกั ษณะเนื้อ หาวิชาจิตวิทยาแปรรูปไป
เป็ นความรูแ้ บบกายภาพ ซึง่ เชื่อว่าเป็ นความรูท้ ส่ี ามารถทดสอบได้ว่าถูกหรือผิดมากยิง่ ขึน้ คือ
จากวิชาจิตวิทยาเริม่ ต้นจากความรูท้ ว่ี ่าด้วยวิญญาณ (Soul) มาเป็นความรู้ ว่าด้วยความรูส้ กึ ตัว
(Consciousness) และต่ อ มาเป็ นความรู้ ว่ า ด้ ว ยพฤติ ก รรม (Behavior) ตามแนวคิ ด ของ
พฤติกรรมนิยม (Behaviorism) (สมบูรณ์ พรรณาภพ. 2539: 79)
จอห์น ล็อค (John Locke, ค.ศ. 1632-1704) นักปรัชญาและนักการเมืองชาวอังกฤษ
ให้ขอ้ คิดอันเป็ นการวางรากฐานของจิตวิทยาสมัยใหม่ เช่น เชื่อว่าจิตมนุ ษย์แรกเกิดมีความว่าง
เปล่าเหมือนกระดาษที่ไร้รอยขีดข่วน เมื่อโตขึน้ ก็จะจดจาประสบการณ์ไว้ในจิต และเชื่อว่าการ
เรียนรูเ้ ป็ นสิง่ จาเป็ นสาหรับมนุ ษย์ พร้อมทัง้ เชื่อว่าความคิดเห็น และการเรียนรูท้ ผ่ี ่านมาแล้วจะ
สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน และจะจารึกไว้ในดวงจิตของมนุษย์
โจแฮน มุลเลอร์ (Johannes Muller, ค.ศ. 1801-1858) นักสรีรวิทยาชาวเยอรมัน เป็ น
บิดาของการทดลองทางสรีรวิทยา และวางหลัก การต่ าง ๆ ทางสรีรวิทยาที่น ามาใช้กับ วิช า
จิตวิทยา และแต่งหนังสือชื่อ “Handbook of Human Psychology” กล่าวถึง ระบบประสาท การ
12

เคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ และปจั จัยทางด้านสรีรวิทยาเกี่ยวข้องกับการฟงั การมองเห็น และ


ประสาทสัม ผัส อื่ น ๆ เป็ น ต้ น และยัง ได้ พ ยายามอธิบ ายถึ ง กระบวนการทางจิต วิท ยาที่
สลับซับซ้อน เช่น ความจา (Memory) จินตนาการ (Imagination) และความรูส้ กึ (Feeling) เป็ น
ต้น
กุสตาฟ เธียโอดอร์ เฟคเนอร์ (Gustav Theodor Fechner, 1801-1887) นักจิตวิทยา
ชาวเยอรมัน ได้ศึก ษาความสัม พันธ์ระหว่างคุ ณ สมบัติของสิ่งเร้าที่กระตุ้นทางกายภาพและ
ปฏิกริ ยิ าโต้ตอบเชิงจิตวิทยาที่มตี ่อสิง่ เร้าเหล่านัน้ เรียกว่า จิตฟิ สกิ ส์ (Psychophysics) โดยได้
ค้ น พ บ ใน ปี ค .ศ . 1860 เข าตี พิ ม พ์ เผ ย แ พ ร่ ใ น ต าราค ล าส สิ ค ชื่ อ ว่ า “Elemente der
Psychophysik” ทีแ่ สดงถึงความต้องการพัฒนาทฤษฎี โดยอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ เร้า
ทีอ่ ยู่รอบๆ ตัว กับความรูส้ กึ ที่มตี ่อสิง่ เร้า (Snodgrass. 1975) เขาได้วางรากฐานการศึกษาทาง
จิตวิทยาให้เป็นเช่นเดียวกับการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ และเป็ นจุดเริม่ ต้นของการพัฒนาวิธกี าร
วัดสติปญั ญา เจตคติ บุคลิกภาพ เป็ นต้น
เซอร์ ชาลส์ ดาร์ว ิน (Charles Darwin, ค.ศ. 1809-1882) ตัง้ ทฤษฎีว ิว ัฒ นาการขึ้น
โดยกล่าวถึงการกาเนิดของสิง่ มีชวี ติ และการเปลีย่ นแปลงทีละน้อยจากสัตว์ชนั ้ ต่ าไปสู่สตั ว์ชนั ้ สูง
และมาเป็ นมนุ ษย์ตามลาดับ จากทฤษฎีววิ ฒ ั นาการของมนุ ษย์ทาให้ความเชื่อเรือ่ งวิญญาณหรือ
จิต เริ่ม น้ อ ยลง และทฤษฎีว ิว ัฒ นาการท าให้เกิด สาขาจิต วิท ยาเปรีย บเทีย บ (Comparative
Psychology) ขึน้ โดยศึกษาในสัตว์ เช่น ลิง หนู เป็นต้น
เซอร์ ฟรานซิ ส แกลตัน (Francis Galton, ค.ศ. 1822-1911) ศึ ก ษาพัน ธุ ศ าสตร์
(Genetic) และได้ตงั ้ กฎขึน้ มาว่า ความโง่ ความฉลาดของคนเราเป็ นสิง่ ทีถ่ ่ายทอดกันได้จากพ่อ
แม่และบรรพบุรุษ และแกลตันได้ให้ความคิดเรื่องกรรมพันธุ์แก่จติ วิทยาแผนใหม่ และเป็ นผู้
คิดค้นสูตรสถิติการหาค่าสหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) เพื่อวัดความแตกต่างระหว่าง
บุคคล
บุคคลทีเ่ ป็นนักจิตวิทยาคนแรกทีไ่ ด้บุกเบิกและใช้วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์เข้ามาศึกษา
จิต วิท ยา ท าให้จติ วิท ยาแยกจากปรัช ญามาเป็ น วิทยาศาสตร์ คือ วิล เฮล์ม วุ้น ดต์ (Wilhelm
Wundt) ชาวเยอรมัน โดยในปี ค.ศ. 1879 วุน้ ดต์สร้างห้องทดลองทางจิตวิทยาขึน้ เป็นแห่งแรกที่
เมืองไลพ์ซกิ (Leipzig) ประเทศเยอรมัน เป็ นห้องทดลองที่เขาสร้างขึน้ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการ
เห็น การได้ยนิ และการสัมผัส (Kalat. 1990: 8) วุน้ ดต์ใช้เครื่องมือในการทดลองและตรวจสอบ
ข้อมูล เช่นเดียวกับวิทยาศาสตร์แขนงอื่นๆ เขาได้รบั การยกย่อ งว่าเป็ นบิดาแห่งจิตวิทยาการ
ทดลอง ต่อมานักจิตวิทยาอเมริกนั หลายคน ก็ได้ไปศึกษาจากวุ้นดต์ และนาความรูพ้ ร้อมทัง้ วิธ ี
การศึกษาของเขาไปเผยแพร่ในเยอรมันและสหรัฐอเมริกา สถานที่ทดลองทางจิต วิทยาของ
สหรัฐอเมริกานัน้ เปิ ดเป็ นแห่ งแรกที่มหาวิทยาลัยจอห์น ฮ็อ พกินส์ (John Hopkins) ใน ค.ศ.
1883 โดยมี จี.สแตนลีย์ ฮอลล์ (G. Stanley Hall) บิดาแห่งจิตวิทยาเด็กซึง่ เป็ นศิษย์คนหนึ่งของ
วุน้ ต์เป็ นผูก้ ่อตัง้ ต่อมา ฮอลล์ได้เริม่ จัดพิมพ์วารสารทางจิตวิทยาขึน้ เป็ นฉบับแรก ใน ค.ศ. 1887
13

วารสารฉบับนัน้ ชื่อ The American of Psychology ศิษย์คนอื่นๆ ของวุ้นดต์ก็ได้ตงั ้ ห้องทดลอง


ขึน้ ตามมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เช่น แคลิฟอร์เนีย , คอร์เนล, ฮาร์วาร์ด, เยล ทาให้ จิตวิทยาได้รบั
การศึกษาอย่างกว้างขวาง
เจมส์ แมคคีน แคทเทลล์ (James McKeen Cattell, ค.ศ. 1860-1944) ชาวอเมริกัน
ได้ศกึ ษาจิตวิทยาร่วมกับวุ้นท์ในประเทศเยอรมันโดยศึกษาถึงจิตสานึกของบุคคลที่มตี ่อภาพที่
เร้าขึน้ มาอย่างทันทีทนั ใด แต่แคทเทลล์ มคี วามเห็นแตกต่างว่า ควรจะทาการวัดระยะเวลาที่ผู้
เข้ารับการทดลองได้แสดงการตอบสนองแก่ภาพที่มาเร้า เรียกว่า การทดลองปฏิกริ ยิ ากับเวลา
(Reaction – Time – Experience) ซึ่งในชีวติ ประจาวันของมนุ ษย์จะมีบ่อยครัง้ ที่ต้องเผชิญกับ
เวลาที่ต้อ งแสดงปฏิกิรยิ าออกมาทันที เช่ น เวลาที่ผู้ขบั รถยนต์ต้อ งเหยียบห้ามล้อ เมื่อ เห็น
สัญญาณไฟสีแดงปรากฏขึน้ หรือเวลาทีน่ ักวิง่ ออกวิง่ เมื่อกรรมการให้สญ ั ญาณ และพยายามที่
จะค้นคว้าว่าบุคคลจะมีอตั ราความเร็วของการตอบสนองต่อภาพของสิง่ เร้าทีป่ รากฏแตกต่างกัน
และภายหลัง แคทเทลได้ ร ับ การแต่ ง ตั ้ง ให้ เ ป็ น ศาสตราจารย์ ท างจิต วิท ยาคนแรกของ
สหรัฐอเมริกา
เฮอร์แมน แอบบิงเฮาส์ (Hermann Ebbinghaus, ค.ศ. 1850-1909) นักจิตวิทยาชาว
เยอรมัน ได้ศกึ ษาเรือ่ งความจา (Memory) โดยได้แนวคิดมาจากเฟคชเนอร์ทเ่ี ขียนเรือ่ งเกี่ยวกับ
ความจา และนามาปรับปรุงการทดลองในห้องปฏิบตั ิการเกี่ยวกับ การเรียนรูแ้ ละความจาของ
มนุษย์
ส่วนในด้านการทดสอบทางจิตวิทยานัน้ อัลเฟรด บิเนต์ (Alfred Binet, ค.ศ. 1857-
1911) นักจิตวิทยาชาวฝรังเศส ่ และ เธียวดอร์ ซิมอนด์ (Theodore Simon, ค.ศ. 1872-1961)
ได้ช่วยกันสร้างแบบทดสอบเชาวน์ปญั ญาขึน้ เป็ นฉบับแรกของโลก (Binet-Simon Scale) ทาให้
การทดสอบทางจิตวิทยาเป็ นทีย่ อมรับอย่างกว้างขวางมากยิง่ ขึน้ และบิเนต์ได้ปรับปรุงแบบวัด
เชาวน์ปญั ญาอีก 2 ครัง้ คือ ในปี ค.ศ. 1908 และ ปี ค.ศ. 1911
การเกิดประเด็นต่ างๆ ในการศึกษาจิตวิทยานัน้ นับว่าเป็ นผลดีท่ที าให้ค วามรู้ทาง
จิตวิทยามีความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง การศึกษาจิตวิทยาจึงได้พฒ ั นามาเป็ น
ลาดับ ทาให้มแี นวคิดและทฤษฎีถอื กาเนิดขึน้ มาอย่างมากมาย และแต่ละแนวคิดทฤษฎีกม็ กี าร
อธิบายรายละเอียดรวมทัง้ วิธกี ารศึกษาทีแ่ ตกต่างกัน อย่างไรก็ดี วิธกี ารศึกษาจิตวิทยาทีเ่ ป็ นที่
ยอมรับ ในป จั จุบนั คือ วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ และเป็ นการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรม แทน
การศึกษาเรื่องจิต ดังนัน้ นิยามของจิตวิทยาในปจั จุบนั ที่ใช้กนั อย่างกว้างขวาง คือ ศาสตร์ท่ี
ศึกษาพฤติกรรมและกระบวนการทางจิตอย่างเป็นระบบ (Kalat. 1990:5)
สาหรับการศึกษาจิตวิทยาในประเทศไทยนัน้ มีผู้ท่ไี ด้ไปศึกษาจากต่างประเทศ และ
นาเอาความรูใ้ นวิชาจิตวิทยานัน้ มาแต่งตาราเป็ นภาษาไทยจานวนมาก เช่น พระยาเมธาธิบดี
ซึง่ มีผลงานในด้านการวัดผล ท่านเป็ นผู้สร้างข้อสอบเชาวน์ เพื่อวัดระดับเชาวน์ ปญั ญาของคน
ไทย
14

สถาบัน อุ ด มศึก ษาที่ไ ด้ม ีก ารจัด ตัง้ หลัก สู ต รระดับ ปริญ ญาตรีข้ึน เป็ น แห่ ง แรกใน
ประเทศไทย คือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถาปนาเป็ นภาควิชาหนึ่งในคณะศิลปศาสตร์
(Faculty of Liberal Arts) ในปี พ.ศ. 2507 โดยได้รบั การสนับ สนุ น ด้านบุ ค ลกรในการจัด ท า
หลักสูตรการเรียนการสอนจากสมาคมฟุ ลไบรท์ไทย (Thai Fulbright Association : TFA) เพื่อ
ทาหลักสูตรให้มคี วามทันสมัยทัดเทียมต่างประเทศ
ม.ล ตุ้ ย ชุ ม สาย ซึ่ง เป็ น ผู้ บุ ก เบิก งานด้ า นจิต วิท ยาทดลอง งานด้ า นการสร้า ง
แบบทดสอบ และวิชาสถิติศาสตร์ แต่งานวิจยั ทางจิตวิทยาในช่วงนัน้ ยังมิได้เริม่ อย่างชัดเจน
กระทัง่ ในปี พ.ศ. 2495 สถานวิจยั ทางจิต วิทยาก็ได้เริม่ ต้น อย่างเป็ นทางการขึ้นที่ วิทยาลัย
วิช าการศึ ก ษาประสานมิต ร โดยมีช่ื อ ว่ า สถาบัน ระหว่ า งชาติ ส าหรับ ค้ น คว้ า เรื่อ งเด็ ก
(International Institute for Child Study) สถานบัน แห่ งนี้ เปิ ด ขึ้น โดยอาศัย ความร่ว มมือ ของ
UNESCO กับรัฐบาลไทย ปจั จุบนั คือ สถาบันวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ
โรฒ ซึง่ มีบทบาททัง้ ด้านการวิจยั และการผลิตบัณฑิตสาขาพฤติกรรมศาสตร์

กลุ่มแนวคิ ดทางจิ ตวิ ทยาที่สาคัญ


แม้ว่าแนวคิดของนักจิตวิทยาแต่ละกลุ่มจะแตกต่างกัน ใช้วธิ กี ารศึกษาแตกต่างกัน
และมองพฤติกรรมไปคนละประเด็น แต่ก็ เกิดประโยชน์ ทาให้แนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยา
เกิดขึน้ มากมาย นอกจากนี้ยงั ได้มกี ารแตกแขนงออกไปอีกหลายกลุ่ม กลุ่มแนวคิดทางจิตวิทยา
ทีส่ าคัญดังนี้ (Coon & Mitterer. 2007; Kalat. 1990; Lerner et al. 1986)

กลุ่มโครงสร้างทางจิ ต (Structuralism)
ผู้นากลุ่มที่สาคัญ คือ วิลเฮล์ม วุ้นดต์ (Wilhelm Wundt,1832 - 1920) กลุ่มนี้ให้ความ
สนใจศึกษาองค์ประกอบของจิตสานึก (Consciousness) ทีไ่ ด้นาเอาวิชาเคมีมาใช้อธิบายในเชิง
จิตวิทยา โดยเทียบกับองค์ประกอบของธาตุต่างๆ ซึ่งกลุ่มคิดว่าเป็ นโครงสร้างทางจิต เรียกว่า
จิ ตธาตุ (Mental Elements) นัน่ คือ พยายามทีจ่ ะค้นหาให้พบว่าจิตประกอบด้วยอะไรบ้าง และ
พบว่าจิตธาตุประกอบด้วย
1. การรับสัมผัส (Sensation) คือ การทางานของอวัยวะรับสัมผัสทัง้ 5
2. ความรู้สึก (Feeling) คือ การตีความหรือแปลความหมายของการสัมผัสตาม
การรับรู้
ต่ อ มา เอ็ด เวิร์ด ทิช เนอร์ (Edward B. Tichener) ผู้น ากลุ่ ม โครงสร้างทางจิต
ศิษย์ของวิลเฮล์ม วุ้นต์ ที่นาความคิดของกลุ่มนี้ไปเผยแพร่ท่สี หรัฐอเมริการ ได้เพิม่ เติมอีก 1
อย่าง คือ
15

3. มโนภาพ หรือ จิ นตภาพ (Image) คือการคิดและการวิเคราะห์ ตลอดจนการ


จดจา ประสบการณ์ ต่างๆ ทีไ่ ด้รบั จากการสัมผัสและรูส้ กึ
เมื่อ จิต ธาตุ ทงั ้ 3 มาสัมพันธ์กันในสถานการณ์ ใดสถานการณ์ หนึ่งที่เหมาะสม ก็จะ
ก่อให้เกิดรูปจิตผสมขึน้ เช่น ความคิด อารมณ์ ความจา ความเป็ นเหตุเป็นผล ฯลฯ เช่นเดียวกับ
ทางเคมีท่อี งค์ประกอบของธาตุ อะตอมของธาตุ เหล่ านี้เวลาทาปฏิกิรยิ าเคมีกันจะมีโมเลกุ ล
(molecule) ใหม่เกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่น โมเลกุลน้ า ทุกโมเลกุลจะประกอบด้วย ไฮโดรเจน 2
อะตอม และออกซิเจน 1 อะตอม เป็นต้น
ในการวัดและบันทึกกระบวนการต่างๆ เกี่ยวกับโครงสร้างทางจิตที่กล่าวมาเหล่านัน้
กลุ่มนี้ใช้วธิ กี ารศึกษาด้วยการตรวจสอบตนเองหรือพินิจภายใน (Introspection) ซึ่งวิธนี ้ีจะให้
บุคคลได้สงั เกตตนเอง และบรรยายความรูส้ กึ หรือ ปฏิกิรยิ าของตนต่อสิง่ ที่มากระตุ้นประสาท
สัมผัสให้ทราบ เพราะเชื่อว่าบุคคลย่อมเข้าใจ ความรูส้ กึ ความคิด การตัดสินใจของตนเองได้ดี
ทีส่ ุด
อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่า วิล เฮล์ม วุ้น ต์ ซึ่งเป็ น ผู้ให้ก าเนิ ดห้อ งปฏิบ ัติการทดลองทาง
จิต วิท ยา (Psychological Laboratory) แห่ ง แรกจนได้ ช่ือ ว่ า เป็ น “บิ ด าแห่ ง จิ ต วิ ท ยาการ
ทดลอง” ก็ตาม แต่กลุ่มนี้ยงั ไม่ได้เป็ นที่ยอมรับว่าเป็ นวิทยาศาสตร์อย่างสมบูรณ์นัก เพียงแต่
ยอมรับว่าเป็ นกลุ่มแรกที่มแี นวคิดแบบวิทยาศาสตร์ แต่ยงั อิงแนวคิดและระเบีย บวิธกี ารศึกษา
แบบปรัชญา การใช้วธิ พี นิ ิจภายในเป็ นเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้าหาความจริง อาจไม่ได้ผลดี
นัก เพราะผู้รบั การทดสอบอาจตอบตามลัก ษณะของสิ่ง เร้า ตามประสบการณ์ เดิม ของเขา
มากกว่าตามความรูส้ กึ ทีเ่ ขาได้สมั ผัสจริงๆ

กลุ่มหน้ าที่ทางจิ ต (Functionalism)


ผู้รเิ ริม่ แนวคิดนี้คอื วิลเลี่ยม เจมส์ (William James, 1842 - 1910) อาจารย์สอนวิชา
สรีรศาสตร์ และวิชาจิต วิท ยา แห่ งมหาวิทยาลัยฮาร์ว าร์ด เขามีค วามสนใจศึกษาอย่างมาก
เกี่ยวกับเรื่อ ง “จิต มนุ ษ ย์ทางานอย่างไร” จึงศึกษาค้นคว้าเรื่อ ยมา หนังสือ เล่มแรกของเขาที่
ตีพ ิมพ์ในปี ค.ศ. 1890 คือ The Principle of Psychology ประสบความสาเร็จอย่างสูงและใช้
เป็ นต าราประกอบการเรียนการสอนจิต วิท ยาในหลายสถาบัน และต่ อ มา หนังสือ เรื่อ ง The
Varieties of Religious Experience ซึง่ เป็ นเรื่องของการสารวจเกี่ยวกับประสบการณ์ซง่ึ มีผลต่อ
พฤติกรรมของมนุ ษย์ ก็ไ ด้รบั ความนิยมสูงไม่แพ้กนั และ จอห์น ดิวอี้ (John Dewey, 1859 -
1952) นักปรัชญาและนักการศึกษาคนสาคัญคนหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ทฤษฎีการศึกษาของดิว
อี้ มีอิท ธิพ ลอย่า งมากต่ อ การจัด การศึก ษาของสหรัฐ อเมริก าและเผยแพร่ไปเกือ บทัว่ โลก
จนกระทังได้ ่ รบั สมญาว่า บิดาแห่งการศึก ษาแผนใหม่ หรือ เรียกกันอีกอย่างหนึ่งว่า บิดาแห่ง
การศึกษาลัทธิพฒ ั นานิยม (วรวิทย์ วศินสรากร. 2542: 70-72) กลุ่มแนวคิดหน้าที่ทางจิตนี้ได้รบั
16

อิทธิพลทางความคิดมาจากลัทธิปรัชญากลุ่มปฏิบตั ินิยม (Pragmatism) และทฤษฎีของชาร์ล


ดาร์วนิ (Darwinian theory) “หลักการคัดเลือกตามธรรมชาติ (Natural Selection)” ทฤษฎี
วิวฒั นาการทีว่ ่าด้วยสัตว์ทด่ี ารงพันธ์อยู่ได้ ต้องต่อสูแ้ ละปรับตัวเองให้เข้ากับสิง่ แวดล้อม โดยมี
ความเชื่อว่า พฤติกรรมของมนุ ษย์นนั ้ เป็ นผลมาจากความคิดซึง่ เกิดจากการทาหน้าที่ทางจิต ซึง่
ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ นัน้ เป็นเพราะการทางานทีส่ มั พันธ์กนั ระหว่างร่างกายและการทางานของจิตใจ
ในการปรับตัวให้เข้ากับสิง่ แวดล้อ มอย่างเหมาะสม ดังนัน้ การศึกษาจิตใจคนต้องศึกษาการ
แสดงออกของบุคคลในสถานการณ์ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเรียนรูเ้ พื่อใช้สติปญั ญาในการ
แก้ไขปญั หาต่ างๆ ที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์ ของตนเอง กลุ่ มนี้ จะเน้ นว่า ความรู้เกิดขึ้น ได้
เนื่องจากความสัมพันธ์โดยตรงระหว่างมนุษย์กบั สิง่ แวดล้อม บุคคลจะได้รบั ความรูต้ ่อเมือ่ ตนเอง
เป็ น ผู้ล งมือ กระท าเอง (Learning by doing) ไม่ ใช่ ค อยรับ ความรู้จ ากผู้อ่ืน และความรู้ท่ีจ ะ
ยอมรับได้ว่าเป็ นความจริง จะต้องเป็ นผลสรุปที่สามารถสนับสนุ นได้จากหลักฐานการค้นคว้า
ต่างๆ เท่านัน้ โดยวิธกี ารศึกษาของกลุ่มนี้ จะใช้วธิ กี ารสังเกตกับการบันทึกพฤติกรรม

กลุ่มพฤติ กรรมนิ ยม (Behaviorism)


กลุ่มนี้แยกตัวมาจากกลุ่ม Functionalism เนื่องจากมีความคิดที่คดั ค้านกัน โดยกลุ่ม
พฤติกรรมนิยมมีความคิดทีว่ ่า การศึกษาเรื่องจิตแต่ละคนนัน้ เป็ นสิง่ ทีอ่ ยู่ภายใน ยากแก่การทา
ความเข้าใจ และไม่อาจระบุชช้ี ดั ลงไปได้ว่าตาแหน่ งหน้าทีข่ องจิตอยู่ตรงไหนกันแน่ อีกทัง้ ยังมี
ความคิดคัดค้านกับกลุ่มโครงสร้างทางจิตเกีย่ วกับวิธกี ารศึกษาแบบพินิจภายใน (Introspection)
ว่าผู้ทร่ี ายงานสภาพจิตใจ อารมณ์ ความรูส้ กึ นึกคิดของตนเองนัน้ อาจรายงานไม่ตรงกับความ
เป็ นจริงหรืออาจบิดเบือนไปได้ ดังนัน้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม โดยผูน้ าของกลุ่มคือ จอห์น บี. วัต
สัน (John B. Watson, 1878 - 1958) จึง หัน มาศึก ษาพฤติก รรมที่ป รากฏและสังเกตเห็น ได้
เท่ า นั น้ โดยเน้ น ศึก ษาด้ว ยวิธ ีก ารทางวิท ยาศาสตร์ ได้ป ระกาศแนวคิด ของตนในหนั ง สือ
Psychology as the Behaviorist View It ในปี ค.ศ. 1913 ว่า พฤติกรรมของมนุ ษย์ทุกอย่างต้อง
มีส าเหตุ (All behaviors are caused.) คือ สิ่ งเร้ า (Stimulus) หมายถึง สิ่ง ที่ม ากระตุ้ น ให้
ร่างกาย ทาให้เกิด การตอบสนอง (Response) หมายถึง ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ โดยสิง่ กระตุน้ โดย
พิจารณาองค์ประกอบหรือตัวแปรที่สาคัญ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม จากนัน้ ก็ รวบรวมและ
ตีค วามข้อ มูล ที่ไ ด้ม าจากการด าเนิ น การสังเกตอย่างมีระบบ คือ ความพยายามที่จะก าจัด
อิทธิพลของอคติหรือความลาเอียงของผูส้ งั เกต และสามารถรับรองได้ว่า การสังเกตนัน้ สามารถ
กระท าซ้ า ได้ วิ ธ ีก ารสัง เกตอย่ า งมี ร ะบบ ที่ ก ลุ่ ม พฤติ ก รรมนิ ย มใช้ คื อ วิ ธ ีก ารทดลอง
(Experimental method) โดยสร้างสถานการณ์ขน้ึ มา เช่น การวางเงือ่ นไขพฤติกรรม การให้การ
17

เสริมแรงแก่พฤติกรรมทีพ่ งึ ปรารถนา แล้ว สังเกตและบันทึกปฏิกริ ยิ าต่างๆ ที่เกิดขึน้ ที่พบเห็น


จริงๆ เท่านัน้ ไม่บนั ทึกความรูส้ กึ ลงไปด้วย
ดังนัน้ นักจิตวิทยาตามแนวคิดของกลุ่มพฤติกรรมนิยม จะต้องสามารถเสนอข้อมูลที่
ได้จากการศึกษาค้นคว้าต่างๆ ต่อผู้คนได้เช่นเดียวกับศาสตร์แขนงอื่น กลุ่มพฤติกรรมนิยมจึง
สนใจเฉพาะพฤติกรรมทีส่ งั เกตได้ (Overt behavior) หรือ สามารถวัดได้ เท่านัน้ ส่วนจิตสานึก
หรือจิตไร้สานึกเป็ นสิง่ ที่ไม่อาจสังเกตเห็นได้ (Covert Behavior) กลุ่มนี้ยอมรับระเบียบวิธแี บบ
ปรนั ย (Objective Method) แบบเดีย วกับ วิท ยาศาสตร์แ ขนงอื่น ที่ใ ช้กัน ไม่ ย อมรับ วิธ ีพินิ จ
ภายใน (Introspection Method) หรือ ระเบียบวิธแี บบอัตนัย (Subjective Method) อย่างไรก็ดี
กลุ่มพฤติกรรมนิยมก็ใช่ว่าจะถูกต้องไปทัง้ หมด กลุ่มนี้ถูกโจมตีว่าเห็นมนุ ษย์เป็ นเครื่องจักรกล
จะให้แสดงพฤติกรรมอะไรก็ป้อนโปรแกรมไปตามที่กาหนดไว้ โดยไม่คานึงถึงความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล แต่แนวคิดกลุ่มพฤติกรรมนิยมก็มปี ระโยชน์ มาก เช่น การสร้างนิสยั ที่ดแี ก่เด็ก
ปรับปรุงพฤติกรรมทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ดว้ ยวิธกี ารให้รางวัลหรือการลงโทษ เป็นต้น

กลุ่มจิ ตวิ เคราะห์ (Psychoanalysis)


ผู้น าคนส าคัญ คือ ซิก มัน ด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud, 1856- 1939) จิต แพทย์ช าว
เวียนนา ทีไ่ ด้เสนอทฤษฎีจติ วิเคราะห์ (Psychoanalytic theory) ฟรอยด์ได้ขอ้ มูลจากการสังเกต
และรวบรวมประวัติคนไข้ท่มี ารับการบาบัดรักษา วิธกี ารศึกษาของกลุ่มจิตวิเคราะห์ ใช้วธิ ีท่ี
เรียกว่า การเชื่อมโยงเสรี (Free associate) ซึง่ เป็ นวิธกี ารทีใ่ ห้บุคคลมีความผ่อนคลาย แล้วพูด
ระบายความรูส้ กึ หรือประสบการณ์ท่อี ยู่ในใจอย่างอิสระเป็ นไปอย่างต่อเนื่อง จะพูดอะไรก็ได้ท่ี
อยากพูดถึง คิดสิง่ ใดก็ให้พูดออกมา ไม่ตอ้ งกลันกรอง
่ แล้วพยายามสังเกตสิง่ ทีผ่ ปู้ ่วยวิตกกังวล
และวิเคราะห์ว่าเขาพูดอะไรบ้าง เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุบางประการที่อยู่ในจิตใต้สานึกที่ทาให้
คนเกิดความเจ็บปว่ ยทางจิต ผูป้ ว่ ยบางคนสามารถราลึกถึงประสบการณ์ทส่ี ร้างความหวาดวิตก
ในอดีตและช่วยให้เขาเข้าใจอะไรๆ ได้ดขี น้ึ จากความเข้าใจตัวเองนี้เองทาให้อาการเจ็บป่วยทาง
จิตของผูป้ ว่ ยทุเลาลงและหายไปในทีส่ ุด นอกจากนี้กลุ่มจิตวิเคราะห์น้จี ะวิเคราะห์พฤติกรรมของ
คนจากการแสดงออกที่ ไ ม่ รู้ต ัว ค าพู ด ที่พ ลัง้ เผลอ หรือ จากความฝ นั วิธ ีก ารของฟรอยด์
วิพากษ์วจิ ารณ์อย่างมาก จิตแพทย์คนอื่นๆ ไม่ยอมรับวิธขี องฟรอยด์ บางคนโจมตีอย่างรุนแรง
ว่าจิตวิเคราะห์เป็ นเรื่องเหลวไหลไร้สาระ อย่างไรก็ดี หลายปีผ่านไปบรรดาสานุ ศษิ ย์ของฟรอยด์
ได้พฒั นาความคิดของตนเองเพิม่ ขึน้ หลายคนได้คดิ ค้นและแตกสาขาออกไปอีก ซึง่ รูจ้ กั ในนาม
Neo-Freudiansซึง่ ทัง้ หมดต่างยอมรับว่าความคิดของฟรอยด์ถูกต้อง โดยปรับปรุงบางส่วนของ
ทฤษฎีน้ี ส่ว นมากจะให้ความส าคัญ เพียงเล็กน้ อยกับเรื่อ ง เพศ และ ความก้ าวร้าว แต่ จะให้
ความส าคั ญ กั บ แรงขั บ ทางสั ง คม (Social Motive) และ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งบุ ค คล
18

(Relationship) นั ก จิต วิท ยากลุ่ ม Neo-Freudians ได้แ ก่ อัล เฟรด แอดเลอร์ (Alfred Adler),
แอนนา ฟรอยด์ (Anna Freud) บุตรีของซิกมันด์ ฟรอยด์, คาเรน ฮอร์นาย (Karen Horney),
คาร์ล จุง (Carl Jung), ออตโต้ แรงค์ (Otto Rank) และ อีรคิ อีรคิ สัน (Erik Erikson)

กลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt Psychology)


แนวคิดของนัก จิต วิท ยากลุ่ ม เกสตัล ท์ เกิดขึ้น ในกรุงเบอร์ล ิน ประเทศเยอรมัน ใน
ระยะใกล้เคียงกับกลุ่มพฤติกรรมนิยม ผูน้ ากลุ่มได้แก่ แมกซ์ เวอร์ ไธเมอร์ (Max Wertheimer,
1840 -1843) วูลฟ์ แกง โคห์เลอร์ (Wolfgang Köhler, 1987-1967) เคิรท์ คอฟฟ์ก (Kurt Koffka,
1886-1941) เคิ ร์ ท เล วิ น (Kurt Lewin, 1 9 8 0 -1 9 4 7 ) ค า ว่ า เก ส ตั ล ท์ (Gestalt) เป็ น
ภาษาเยอรมันซึ่งวงการจิตวิทยาได้แปลความหมายไว้เดิมแปลว่า แบบหรือรู ปร่าง (Gestalt =
form or Pattern) ต่ อ มาป จั จุ บ ัน แปล เกสตัล ท์ ว่ า เป็ น ส่ ว นรวมหรือ ส่ ว นประกอบทัง้ หมด
(Gestalt = The wholeness) กลุ่มนี้มแี นวคิดว่า จิตวิทยากลุ่มนี้ ให้ความสาคัญในเรื่อง การรับรู้
(Perception) โดยมีค วามเชื่อ ว่า เราจะรับ รู้ส ิ่งต่ าง ๆ ในลักษณะที่มคี วามหมาย ในรูป ของ
ส่วนรวมทัง้ หมด ไม่ได้รบั รูเ้ พียงเฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือสิง่ เร้าเฉพาะอย่างในลักษณะทีแ่ ยก
จากกัน เช่น เราจะรับรูว้ ่าสิง่ นัน้ เป็ น “คน” ในลักษณะทีม่ คี วามหมายแบบทัง้ หมด ทัง้ รูปร่าง เรา
ไม่ได้เลือกรับรูเ้ ฉพาะอวัยวะทีละส่วน หรือหากอธิบายในรูปของพฤติกรรมที่แสดงออกมา การ
รับ รู้ก็ จ ะเป็ น กระบวนการที่ เ กิ ด แทรกอยู่ ร ะหว่ า งสิ่ง เร้า และการตอบสนองสิ่ง เร้า ดัง นั ้น
พฤติกรรมที่แสดงออกมาจะรวมเอากระบวนการรับรูข้ องแต่ละบุคคลออกมาด้วย ดังนัน้ เมื่อ
ประสบกับสิง่ เร้าอย่างเดียวกัน บุคคลไม่จาเป็นทีต่ อ้ งแสดงพฤติกรรมออกมาเหมือนกันเพราะแต่
ละคนก็มคี วามคิด ความเข้าใจ ประสบการณ์ ความรูส้ กึ ฯลฯ ที่ไม่เหมือนกัน แม้กระทังคนๆ ่
เดิม ประสบกับสิง่ เร้าเดิมแต่ในเวลาหรือสถานทีต่ ่างกัน ก็อาจแสดงพฤติกรรมต่างไปจากเดิมก็
เป็นได้ เพราะเป็นไปได้ว่าอาจได้รบั ประสบการณ์ใหม่ทต่ี ่างไปจากเดิม
นอกจากนี้ กลุ่มเกสตัลท์ยงั เน้นในเรือ่ งการเรียนรู้ โดยอธิบายว่า การเรียนรูเ้ กิดได้จาก
การจัดสิง่ เร้าต่างๆ มารวมกันเริม่ ต้นด้วยการรับรูโ้ ดยส่วนรวมก่อนแล้ว จึงจะสามารถวิเคราะห์
เรื่องการเรียนรูส้ ่วนย่อยทีละส่วนต่อไป การเรียนรูจ้ งึ เป็ นพฤติกรรมที่เกิดขึน้ จากความคิด โดย
มองเห็นความสัมพันธ์อย่างกระจ่างแจ้ง เกี่ยวกับองค์ประกอบของปญั หา แล้วสามารถจัดเรียบ
เรียงความคิด ความจา หรือประสบการณ์ทผ่ี ่านมาให้เป็ นระบบระเบียบ ทาให้เกิดแนวความคิด
ในการแก้ปญั หาขึน้ อย่างฉับพลันทันทีทนั ใด เรียกว่า การหยังเห็ ่ น (Insight) ได้

กลุ่มมนุษยนิ ยม (Humanism)
ผูน้ าทีส่ าคัญในกลุ่มคือ คาร์ล อาร์ โรเจอร์ส (Carl R. Rogers) และอับราฮัม เอ็ช มาส
โลว์ (Abraham H. Maslow) แนวความคิดนี้ เกิดขึน้ ในศตวรรษที่ 20 บางทีเรียกกันว่าเป็ นพลัง
19

ที่ 3 (พลังที่ 1 และ 2 คือ จิตวิเคราะห์ และพฤติกรรมนิยม) กลุ่มนี้ปฏิเสธความคิดของฟรอยด์ท่ี


เชื่อว่าบุคลิกภาพถูกกาหนดจากจิตไร้สานึกและปฏิเสธความคิดของกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่ว่า
คนเราถูกควบคุมจากสิง่ แวดล้อม ความเชื่อเบื้องต้นของนักจิตวิทยากลุ่มนี้คอื มนุ ษย์มจี ติ ใจ มี
ความต้องการความรัก ความอบอุ่น ความเข้าใจ มีความสามารถเฉพาะตัวและมีขดี จากัด แต่ละ
คนมีส ิท ธิเสรีภ าพที่จะเลือ กกระท า สามารถเลือ กประสบการณ์ ก าหนดความต้อ งการ และ
ตัดสินใจด้ว ยตนเอง ดังนัน้ ไม่ส ามารถจะไปบังคับ หรือ เสกสรรปนแต่ ั ้ งให้ใครเป็ น อะไรก็ได้
ตามใจชอบ และที่สุ ด เชื่อ ว่ ามนุ ษ ย์เราทุ ก คนต่ างก็พ ยายามจะรู้จ กั และเข้าใจตนเอง (Self-
actualization) ความต้องการทีจ่ ะพัฒนาตนเองให้ถงึ ขีดสูงสุดนี้ เพื่อ มุ่งสร้างความหมายต่อชีวติ
และสร้างความเป็นมนุษย์สมบูรณ์ให้กบั ตนเอง
ส าหรับ วิธ ีก ารศึก ษาของกลุ่ ม มนุ ษ ยนิ ย ม ให้ค วามส าคัญ น้ อ ยมากต่ อ วิธ ีก ารทาง
วิทยาศาสตร์ แต่ใช้วธิ กี ารรวบรวมข้อมูลและเหตุการณ์ รวมทัง้ ชีวประวัตหิ รืออัตชีวประจาของ
บุคคล ทีส่ ่งเสริมความรูส้ กึ นึกคิดและอัตตาของคน
ในป จั จุ บ ัน การศึก ษาชีว จิต วิท ยา (Biopsychology) ได้รบั ความสนใจและสาขานี้ ม ี
ความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ชีวจิตวิทยาอธิบายพฤติกรรมทุกอย่างของมนุ ษย์ท่เี กี่ยวข้อง
กับกลไกทางกายภาพ เช่น กิจกรรมทางสมอง พันธุกรรม เป็ นต้น วิทยาศาสตร์ทางการรูค้ ดิ ก็
เป็ นสาขาทีข่ ยายอย่างรวดเร็ว โดยศึกษาเกี่ยวกับการคิด การคาดหวัง ความจา ภาษา การรับรู้
การแก้ปญั หา การรูส้ านึก ความคิดสร้างสรรค์ และกระบวนการทางปญั ญาอื่นๆ ซึ่งเป็ นการให้
ความสนใจในเรื่องจิตสานึกฟื้ นกลับขึ้นมาใหม่อี กครัง้ นอกจากนี้ ประสาทวิทยาทางการรู้คดิ
(Cognitive Neuroscience) ก็ได้พยายามค้นหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างพฤติกรรมทาง
ปญั ญากับกิจกรรมทางสมอง อันเป็ นความต้องการที่จะรู้ว่ามีอะไรที่เกิดขึ้นในสมองเมื่อเรามี
ความคิด ความทรงจา รูส้ กึ เป็นสุข หรือ มีความใส่ใจ

คาถามท้ายบท
จากบทสัมภาษณ์ ของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีระชน พลโยธา “วาเลนไทน์ ท าไม
ต้องพรีเซนต์ตวั เอง ?” ในมติชนทีว ี
“จากการสังเกตการณ์กลุ่มคนทีน่ ิยมพรีเซนต์ตวั เอง ในช่วงวันวาเลนไทน์หรือเทศกาล
แห่งความรัก ที่มที งั ้ กลุ่มคนที่โสดและผูท้ ม่ี คี ่แู ล้วที่ลว้ นกระหน่ า สเตตัสกันตามโซเชียลมีเดีย ว่า
กรณีเช่นนี้ถอื เป็ นธรรมชาติของคนทีต่ ้องการและแสวงหาการยอมรับจากผูอ้ ่นื ต้องการทีจ่ ะเป็ น
ส่วนหนึ่งของสังคมอยู่แล้ว ซึ่งถ้าพูดถึงเฉพาะเรื่อ งของความรัก ก็พฒ ั นามาตัง้ แต่ วยั รุ่นแล้ว
วัยรุน่ ก็จะพยายามสร้างเอกลักษณ์ขน้ึ มา ไม่ว่าจะเป็น เอกลักษณ์ของตัวเอง เอกลักษณ์ทางเพศ
แต่พอก้าวเข้าสู่วยั ผูใ้ หญ่หรืออายุมากขึน้ ก็แสวงหาความเป็ นเราจากผูอ้ ่นื ยิง่ ทุกวันนี้กจ็ ะมีพวก
สื่อต่าง ๆ เกิดขึน้ มากมาย ก็จะมีวธิ ีการหรือกลยุทธ์ท่จี ะแสวงหาคนที่จะมาเป็ นคู่ ไม่ว่าจะเป็ น
20

การยอมรับในการทีม่ คี ่แู ล้วหรือการยอมรับในสถานภาพทีเ่ ป็ นโสด เพราะฉะนัน้ ในการพรีเซนต์


ตัวเองในสื่อ ก็เพื่อต้องการให้ผู้อ่นื ยอมรับ เช่น ถ้ามีแฟนก็จะพยายามนาเสนอแฟนตัวเองใน
ทางบวก ทัง้ ในเรื่องรูปร่างหน้าตา หน้าที่การงาน รสนิยม แต่ถ้าคนเป็ นโสดก็จะนาเสนอตัวเอง
ในลักษณะทีม่ คี วามมันใจในตั
่ วเอง สามารถอยู่คนเดียวได้ ในขณะเดียวกันก็เป็ นการเปิดโอกาส
ให้ผอู้ ่นื เข้ามา เรียกว่า เป็นการแสวงหาโอกาสให้แก่ตวั เอง”
จากบทสัมภาษณ์ดงั กล่าว ให้ผเู้ รียนวิเคราะห์พฤติกรรมการพรีเซนต์ตวั เองโดยอาศัย
แนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มต่าง ๆ
21

เอกสารประกอบการเรียนรู้ ครัง้ ที่ 3


ระเบียบวิธีวิจยั ทางจิตวิทยา

สาระสาคัญ
การวิจยั ทางจิตวิทยาเป็นการศึกษาพฤติกรรมและกระบวนการทางจิตอย่างเป็นระบบ
เพื่อนาผลการวิจยั ทีไ่ ด้ไปใช้ในการบรรยาย การอธิบาย การทานาย การควบคุม และการพัฒนา
การวิจยั ทางจิต วิทยาที่ส าคัญ เช่น การวิจยั เชิงสารวจ การวิจยั เชิงสหสัมพันธ์ การวิจยั เชิง
ทดลอง การศึกษาบุค คลเป็ นรายกรณี การวิจยั แต่ละประเภทใช้วธิ กี ารศึกษาทางจิตวิทยาที่
หลากหลาย ภายใต้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

วัตถุประสงค์
เมือ่ ศึกษาบทเรียนนี้จบแล้ว ผูเ้ รียนสามารถ
1. มีความรูพ้ น้ื ฐานเกี่ยวกับการวิจยั ทางจิตวิทยา
2. มีความรู้ ความเข้าใจเบือ้ งต้นเกีย่ วกับขัน้ ตอนการทาวิจยั ทางจิตวิทยา
3. สามารถนาความรูท้ างการวิจยั ทางจิตวิทยาไปประยุกต์ใช้ในการทางานด้านต่าง ๆ

ความหมายและจุดมุ่งหมายของการวิ จยั ทางจิ ตวิ ทยา


การวิจยั คือ กระบวนการทีเ่ ป็ นระบบน่ าเชื่อถือ สาหรับใช้เป็ นเครื่องมือในการค้นคว้า
หาความรูเ้ กีย่ วกับปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทีส่ นใจ จุดมุง่ หมายของการวิจยั ทางจิตวิทยา มีดงั นี้
1) เพื่อใช้ ในการบรรยาย โดยนาผลที่ได้จากการวิจยั ไปบรรยายสภาพและลักษณะ
ของปญั หา เช่น การวิจยั เพื่อการสารวจความต้องการของนิสติ ทีม่ ตี ่อการจัดการเรียนการสอน
2) เพื่อใช้ ในการอธิ บาย โดยนาผลที่ได้ไปใช้อธิบายสิง่ ใดเป็ นสาเหตุท่ที าให้เกิดผล
หรือสิง่ ใดเป็ นผลที่มาจากสาเหตุของปญั หาหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ เช่น การวิจยั หาสาเหตุทท่ี าให้
พนัก งานเกิด ความเครีย ดในการท างาน ผลที่ไ ด้จ ากการวิจ ยั น ามาอธิบ ายได้ว่ า มีส าเหตุ
อะไรบ้างทีท่ าให้พนักงานเกิดความเครียด
3) เพื่อใช้ ในการทานาย โดยผลที่ได้จากการวิจยั ไปใช้ในการพยากรณ์หรือทานาย
เหตุการณ์ทจ่ี ะเกิดขึน้ ในอนาคต เช่น การวิจยั เรื่องการสารวจพัฒนาการของเด็กสามารถนาผล
มาทานายได้ว่า แนวโน้มของพัฒนาการของเด็กในอนาคตจะเป็นอย่างไร
4) เพื่อใช้ในการควบคุม โดยนาผลที่ได้จากการวิจยั ไปวางแผนหรือกาหนดวิธกี าร
ในการควบคุมสิง่ ต่าง ๆ ให้เป็ นไปในทิศทางที่พงึ ประสงค์ เช่น การวิจยั หาสาเหตุท่ที าให้ผ ล
สัมฤทธิ ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ า เมือ่ พบสาเหตุกส็ ามารถหาทางควบคุมหรือป้องกันได้
22

5) เพื่อใช้ในการพัฒนา โดยนาผลการวิจยั ใช้เป็ นแนวทางในการพัฒนาได้ เช่น การ


วิจยั เพื่อพัฒนาครูให้มคี วามยึดมันผู
่ กพันในการวิจยั การวิจยั เพื่อพัฒนานิสติ นักศึกษาให้มคี วาม
ฉลาดทางวัฒนธรรม

1. การวิ จยั ทางจิ ตวิ ทยาที่สาคัญ


รูปแบบการวิจยั ทางจิตวิทยาทีส่ าคัญ มีดงั นี้
1.1 การวิ จยั เชิ งสารวจ (Survey or Exploratory studies)
เป็ นการศึกษาปญั หาอย่างกว้าง ๆ เป็ นการสารวจหาข้อมูลเกี่ยวกับสภาพความ
เป็ นจริงหรือลักษณะทัว่ ๆ ไปของสิง่ ทีท่ าการวิจยั จุดประสงค์เพื่อทราบปญั หา และแก้ปญั หาใน
สภาวการณ์ปจั จุบนั เช่น การสารวจลักษณะของนักเรียน ได้แก่ สติปญั ญา ความถนัด ทักษะ
สุขภาพจิต บุคลิกภาพ เป็นต้น
1.2 การวิ จยั เชิ งสหสัมพันธ์ (Correlation study)
เป็ นการศึกษาในกรณีทเ่ี ราต้องการทราบว่าตัวแปรแต่ละตัวมีความเกี่ยวข้องกับ
มากน้อยเพียงใด เช่น
- การชมภาพยนตร์ท่มี เี นื้อหารุนแรงมีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมก้าวร้าวของ
เด็กหรือไม่ ถ้าผลการศึกษาพบว่า เด็กยิง่ ใช้เวลามากขึน้ ในการทีช่ มภาพยนตร์ท่เี นื้อหารุนแรง
เด็กก็จะยิง่ เพิม่ พฤติกรรมก้าวร้าวกับเพื่อนมากขึน้ แสดงว่า การชมภาพยนตร์ทม่ี เี นื้อหารุนแรง
มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็ก
- ทัศ นคติ ท่ี ม ีต่ อ พรรคการเมือ งมีค วามสัม พัน ธ์ กั บ ความพึ ง พอใจในตั ว
นักการเมืองหรือไม่ ถ้าผลการศึกษาพบว่า ไม่ว่าจะมีทศั นคติทางบวกหรือลบต่อพรรคการเมือง
ก็ไม่มคี วามเกี่ยวข้องกับความพึงพอใจในตัวนักการเมือง แสดงว่า ทัศนคติทม่ี ตี ่อพรรคการเมือง
ไม่มคี วามสัมพันธ์กบั ความพึงพอใจในตัวนักการเมือง
- อคติท่ีม ีต่ อ ชนชาติอ่ืน ๆ มีค วามสัม พันธ์กับ การปรับ ตัว ในการท างานข้า ม
วัฒนธรรมหรือไม่ ถ้าพบว่ายิง่ มีอคติสูง การปรับตัวในการทางานข้ามวัฒนธรรมยิง่ ไม่ดี แสดงว่า
อคติทม่ี ตี ่อชนชาติอ่นื ๆ มีความสัมพันธ์ทางลบกับการปรับตัวในการทางานข้ามวัฒนธรรม
ความสัมพันธ์ของตัวแปรดังกล่าวจะช่วยให้ผวู้ จิ ยั สามารถทานายการเกิด ขึน้ ของ
ตัวแปรได้ ถ้าทราบความแปรผันของอีก ตัวแปรหนึ่ง การทานายจะแม่นยาเชื่อถือได้มากน้อย
เพียงใดขึน้ อยูก่ บั ค่าสหสัมพันธ์จากการวิเคราะห์ทางสถิติ
การวิจยั เชิงสารวจและการวิจยั เชิงสหสัมพันธ์ จะเก็บข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างที่
เป็นตัวแทนของประชากรทัง้ หมด การเลือกกลุ่มตัวอย่างจะต้องเป็นกลุ่มตัวอย่างทีม่ คี ุณลักษณะ
ตรงตามขอบเขตของการวิจยั ขนาดของกลุ่มตัวอย่างต้องมีความเหมาะสม จะทาให้การวิจยั มี
ความตรงภายนอก (External Validity) สูง นัน่ คือ ผลการวิจยั จากกลุ่ มตัว อย่างสามารถสรุป
23

อ้างอิง (Inference) ไปยัง ประชากรเป้า หมายได้อ ย่างถู ก ต้ อ ง หรือ สามารถน าผลไปสรุป ใช้
(Generalize) ในสถานการณ์อ่นื ที่คล้ายคลึงกันได้อย่างถูกต้อง หากกลุ่มตัวอย่างที่มขี นาดเล็ก
จนเกินไป หรือมีผลเฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง อาจนาไปสู่ขอ้ สรุปทีผ่ ดิ พลาด

1.3 การวิ จยั เชิ งทดลอง


การทดลองเป็ นการจัด สภาพการณ์ ข้นึ มาเพื่อ ดูผ ลการเปลี่ยนแปลงที่เ กิดขึ้น
ดังนัน้ การวิจยั เชิงทดลองจะต้องทาการควบคุมการจัดกระทาเพื่อศึกษาผลของตัวแปรต้น (X) ที่
มีผลต่อตัวแปรตาม (Y) โดยควบคุมเคร่งครัดมิให้มตี วั แปรแทรกซ้อนใดๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง เพื่อ
จะได้วเิ คราะห์ผลการทดลอง ให้ได้ขอ้ สรุปทีจ่ ริงแท้แน่นอน
การทดลองต้องมีความตรงภายในสูง (Internal Validity) หมายถึง ความแตกต่าง
หรือ ความแปรปรวนของตัว แปรตาม (Dependent Variable) เป็ น ผลมาจากตัว แปรอิส ระ
(Independent Variable) เท่ า นั ้น ซึ่ง จะท าให้ ก ารวัด ตัว แปรอิส ระและตัว แปรตามมีค วาม
คลาดเคลื่อนต่า ดังนัน้ ผูว้ จิ ยั ต้องควบคุมตัวแปรอิสระหลายตัวในสภาพห้องทดลอง และสารวจ
ดูผลที่เกิดจากการควบคุมตัวแปรนัน้ ๆ การควบคุมเคร่งครัดจะทาให้ลดอิทธิพลของตัวแปร
แทรกซ้อน
กลุ่ ม ตัว อย่า งที่ใ ช้ใ นการวิจ ยั เชิง ทดลอง ในการวิจ ยั เชิง ทดลองมัก จะมีก ลุ่ ม
ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั 2 ประเภทคือ
1. กลุ่มทดลอง (Experimental group) หมายถึง กลุ่มตัวอย่างทีไ่ ด้รบั การจัด
กระทา (Treatment) ในการทดลอง นิยมใช้สญ ั ลักษณ์ E
2. กลุ่มควบคุม (Control group) หมายถึง กลุ่มตัวอย่างที่มลี กั ษณะเหมือน
กลุ่มทดลอง แต่ไม่ได้รบั การจัดกระทา เพื่อนาไปเปรียบเทียบกับกลุ่มทดลอง นิยมใช้สญ ั ลักษณ์
C

1.4 การศึกษาบุคคลเป็ นรายกรณี (Case Study)


เป็ นการศึกษารายละเอียดต่างๆ ที่สาคัญ ของกลุ่มตัวอย่าง โดยกลุ่มตัวอย่างที่
ศึก ษานั น้ เป็ น เพีย งหน่ ว ยเดีย วของประชากร เช่ น อาจเป็ น บุ ค คลคนเดีย ว องค์ก รเดีย ว
หน่วยงานเดียว ครอบครัวเดียว หมู่บา้ นเดียว เป็ นต้น การวิจยั ประเภทนี้มุ่งทีจ่ ะวินิจฉัย ทานาย
หาสาเหตุของกรณี ปญั หา ปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในแต่ละกรณีให้ชดั เจน วิเคราะห์เหตุและผล
ของกรณีทต่ี ้องการศึกษา ภายในขอบข่ายของสังคมและสิง่ แวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับกรณีศกึ ษา
นัน้ โดยศึกษาจากข้อมูลต่าง ๆ เช่น บันทึกส่วนตัว ข้อมูลทีไ่ ด้จากบุคคลอื่นทีเ่ กี่ยวข้อง การวัด
และการทดสอบทางจิตวิทยา เป็ นต้น ข้อมูลทีไ่ ด้อาจเป็ นข้อมูลในอดีตหรือปจั จุบนั เมื่อผูว้ จิ ยั นา
24

ข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้องทุกอย่างมาวิเคราะห์แล้ว จะได้ขอ้ เท็จจริงทีจ่ ะใช้เป็ นแนวทางในการเสนอแนะ


การป้องกัน การแก้ไขปญั หาต่าง ๆ ได้ ตัวอย่างการศึกษารายกรณี เช่น
- เกี่ยวกับบุคคล เช่น ศึกษาเกี่ยวกับคนเร่ร่อน คนติดยาเสพติด อาชญากร
เด็กติดเกม คนติดเชือ้ เอชไอวี เป็นต้น
- เกี่ย วกับ สถาบัน ได้แ ก่ ศึก ษาเกี่ย วกับโรงเรีย น โรงพยาบาล สมาคม
ชมรม เป็นต้น
วิธกี ารทีใ่ ช้ศกึ ษานัน้ มีดงั นี้
- การสังเกต
- การสัม ภาษณ์ เป็ น การเก็บ ข้อ มูล โดยวิธ ีการสนทนาซักถามเพื่อ ให้ไ ด้
ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ของการวิจยั
- การใช้แบบทดสอบ เพื่อวัดในสิง่ ทีต่ ้องการวัด เช่น วัดสติปญั ญา วัดความ
ถนัด เป็นต้น
- การใช้แบบสอบถาม เช่น วัดเจตคติ บุคลิกภาพ แรงจูงใจ เป็นต้น
- สังคมมิติ เป็นการศึกษาลักษณะความสัมพันธ์ของบุคคลทีอ่ ยูใ่ นกลุ่ม
- บันทึกส่วนตัว เป็นการศึกษาพฤติกรรมของบุคคลนัน้
- การทดลอง เป็ นการจัดสถานการณ์ ให้แก่บุคคล เพื่อศึกษาพฤติกรรมของ
บุคคลทีเ่ กิดขึน้ ภายใต้สถานการณ์นนั ้

2. วิ ธีการศึกษาทางจิ ตวิ ทยา


ในการศึกษาหาความรูข้ องศาสตร์ทางจิตวิทยาโดยทัวไปใช้ ่ วธิ กี าร ดังนี้
1) การสังเกต (Observation) เป็ นการแสวงหาข้อเท็จจริง ที่ต้อ งการทราบโดยเฝ้ า
มองจากปรากฏการณ์นัน้ จริงๆ หรือจากสภาพการณ์ นัน้ จริง ๆ โดยไม่ให้ผถู้ ูกสังเกตรูต้ วั แล้ว
บันทึกรายละเอียดไว้โดยไม่ใส่ความคิดเห็นส่วนตัวหรือใส่อารมณ์ของผูส้ งั เกตลงไป
2) การสารวจ (Survey) หมายถึง เป็ นวิธที น่ี ักจิตวิทยาใช้บ่อยในการศึกษาหาความรู้
โดยเน้นศึกษาลักษณะบางอย่างของกลุ่มตัวอย่างที่จะใช้เพื่อเป็ นตัวแทนของประชาการที่ต้อง
การศึกษา อาจด้วยการออกแบบสอบถามให้ตอบ หรือ การสัมภาษณ์ (Interview) หมายถึง การ
สนทนากันระหว่างบุคคลตัง้ แต่ 2 คน ขึน้ ไป เพื่อเป็นข้อมูลนาไปใช้ในการตัดสินใจอย่างใดอย่าง
หนึ่ง การสัมภาษณ์ทด่ี จี าเป็นต้องมีการเตรียมการล่วงหน้า มีการวางแผน กาหนด เวลา สถานที่
และเตรียมหัวข้อหรือข้อคาถามให้พร้อม นอกจากนัน้ ขณะสัมภาษณ์ผสู้ มั ภาษณ์ ควรจะใช้ศลิ ปะ
หรือเทคนิคอื่นๆ ประกอบด้วยก็ยงิ่ จะได้ผลดี เช่น การสังเกต การฟงั การใช้คาถาม การพูด
การสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างผู้ให้สมั ภาษณ์และผู้สมั ภาษณ์ เพื่อให้การสัมภาษณ์ ดาเนิน
ไปได้ดว้ ยดี ข้อมูลทีไ่ ด้จากการสารวจนี้ จะต้องนาไปวิเคราะห์ตคี วามจะเป็ นในเชิงปริมาณหรือ
25

คุณภาพ หรือทัง้ สองอย่างก็ไ ด้ เพื่อให้เราเข้าใจธรรมชาติและพฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่างที่


สามารถอ้างอิงไปยังประชากรได้ดยี งิ่ ขึน้
3) การศึกษาบุคคลเป็ นรายกรณี (Case Study) หมายถึง การศึกษารายละเอียด
ต่างๆ ทีส่ าคัญของแต่ละบุคคล แต่ต้องใช้เวลาศึกษาติดต่อกันเป็ นระยะเวลาหนึ่ง แล้วรวบรวม
ข้อมูลมาวิเคราะห์พจิ ารณาตีความ เพื่อให้เข้าใจถึงสาเหตุของพฤติกรรมหรือ ลักษณะพิเศษทีผ่ ู้
ศึกษาต้องการทราบ เพื่อหาทางแก้ปญั หาพฤติกรรมบุคคลต่อไป
4) การทดสอบ (Testing) หมายถึง การใช้เครือ่ งมือวัดทางจิตวิทยาทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
มีเกณฑ์ในการวัดลักษณะพฤติกรรมกับผูร้ บั การทดสอบ เพื่อให้ได้ขอ้ มูล เกี่ยวกับบุคคลนัน้ ตาม
จุดมุ่งหมายทีผ่ ทู้ ดสอบวางไว้ แบบทดสอบหรือวัดทีน่ ามาใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น แบบทดสอบ
สติปญั ญา แบบทดสอบสัมฤทธิ ์ผลในการเรียน แบบทดสอบความถนัด เป็ นต้น
5) การทดลอง (Experiment) การทดลอง (Experiment) มีความคิดอยู่บนรากฐาน
ทีว่ ่า ถ้ามี X แล้วจะมี Y เกิดขึน้ ตามมาหรือไม่ เช่น ถ้าตัง้ สมมติฐานว่า หากได้มกี ารลงโทษต่อ
พฤติกรรมการทะเลาะวิวาทของเด็ก (X) จะทาให้พฤติกรรมการทะเลาะวิวาทของเด็ก (Y) ลดลง
จากนัน้ ก็จะใช้เป็ นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึง่ มีลาดับขัน้ ตอน ได้แก่ การตัง้ ปญั หา การตัง้
สมมุตฐิ าน การรวบรวมข้อมูล การทดสอบสมมุตฐิ าน การแปลความหมาย สรุป และอภิปรายผล
ตลอดจนการนาผลทีไ่ ด้ไปใช้ในการแก้ปญั หาหรือส่งเสริมต่อไป
นักจิตวิทยาจะใช้วธิ กี ารศึกษาใดต้องคานึงถึงความเหมาะสมให้รอบด้าน รวมทัง้ วิธ ี
การศึกษาดังกล่าว สามารถตอบคาถามการวิจยั ได้หรือไม่

3. ขัน้ ตอนการวิ จยั ทางจิ ตวิ ทยา


ปจั จุ บนั โดยส่ ว นใหญ่ นั ก จิต วิท ยาใช้ว ิธ ีก ารศึก ษาที่เ ป็ น วิทยาศาสตร์ใ นการค้นหา
ความสัมพันธ์ทางธรรมชาติของสาเหตุและผล (Cause and Effect) ของพฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ โดย
ลาดับขัน้ ตอนของการศึกษาก็มลี กั ษณะเช่นเดียวกันกับการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ท ั ว่ ๆ ไป
ได้ แ ก่ การตั ้ง ป ญ ั หา (Ask a Question) การหาภู ม ิ ห ลั ง ของการวิ จ ั ย ( Do Background
Research) การตั ้ง สม มติ ฐ าน ( Construct Hypothesis) ทด สอ บ สมม ติ ฐ า น ( Test Your
Hypothesis) วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล และน าไปสู่ ก ารสรุ ป ผล ( Analyze Your Data and Draw a
Conclusion) และการสื่อสารผลทีไ่ ด้จากการวิจยั (Communicate Your Result) ดังนี้
1) การตัง้ ปัญหา (Ask a Question)
วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์จะเริม่ ต้นได้ เมื่อ เราได้ถ ามค าถามกับตัว เราเกี่ยวกับ
พฤติกรรมบางสิง่ บางอย่างที่เราสังเกตเห็น เช่น เด็กวัยรุ่นที่ได้รบั การอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อย
ปละละเลยจะมีพฤติกรรมผิดวินัยอย่างไร (How) สื่อต่างๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์
หนังสือ นิตยสาร อินเตอร์เน็ต ฯลฯ สื่ออะไรที่มบี ทบาทต่อพฤติกรรมการบริโภคของเยาวชน
26

มากที่สุด (What) ใครที่มบี ทบาทต่อ การให้คาปรึกษาเรื่องเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นมากกว่ากัน


ระหว่างพ่อและแม่กบั เพื่อน (Who) การฝึกระเบียบวินยั ให้กบั เด็กอายุ 6 ขวบควรใช้วธิ กี ารอย่าง
ใดระหว่ า งการเสริม แรงหรือ การลงโทษ (Which) ท าไมระดับ สติป ญ ั ญาของเด็ก ไทยลดลง
กว่า เดิม มาก (Why) หรือ เด็ก นั กเรียนระดับชัน้ มัธ ยมศึกษาใช้เ วลาหลังเลิกเรียนอยู่ท่ีไหน
(Where) เป็นต้น
2) การหาภูมิหลังของการวิ จยั (Do Background Research)
ไม่ใช่แค่เพียงมีแผนการในการดาเนินการศึกษาหรือวิจยั เพื่อทีจ่ ะตอบคาถามการ
วิจยั แล้ว เราก็จะเริม่ ลงมือ ทาการศึกษาได้ท ันที แต่ เ ราจะต้อ งค้นคว้าทฤษฎีหรือ งานวิจยั ที่
เกี่ยวข้องด้วย ข้อมูลทีไ่ ด้จากการค้นคว้าอย่างละเอียด และผ่านการสังเคราะห์ทด่ี ี จะช่วยให้เรา
ได้ว ิธ ีด าเนิน การศึก ษาที่ดีท่ีสุ ด และเป็ น การรับ ประกัน ได้ว่ า การวิจ ยั ของเราจะไม่เ กิด การ
ผิดพลาด หรือซ้ากับการศึกษาทีผ่ ่านมาในอดีต
3) การตัง้ สมมติ ฐาน (Construct Hypothesis)
สมมติฐาน คือ การทีเ่ ราคาดการณ์ว่าสิง่ ทีเ่ ราจะทาการศึกษานัน้ จะให้ผลอย่างไร
ถ้า.............(เราทาอย่างนี้)................ แล้ว..............(สิง่ นี้).................จะเกิดขึน้
ในการวิจยั บางครัง้ เราต้องกาหนดสมมติฐานโดยคานึงถึงวิธที ่เี ราสามารถวัดได้
โดยง่ า ย มีค วามแน่ น อนและชัด เจน จะช่ ว ยให้ เ ราสามารถตอบค าถามการวิจ ัย ได้ การ
ตัง้ สมมติฐาน เช่น
- เด็กที่ดูตวั แบบที่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวแล้วได้รบั รางวัล จะแสดงพฤติกรรม
ก้าวร้าวตามตัวแบบมากกว่าเด็กทีด่ ตู วั แบบทีแ่ สดงพฤติกรรมก้าวร้าวแต่ไม่ได้รบั รางวัล
- การอบรมเลี้ยงดูแบบให้ความรักมากและควบคุมสูงมีความสัมพันธ์กบั ความ
ฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก
4) ทดสอบสมมติ ฐาน (Test Your Hypothesis)
การดาเนินการกับข้อ มูล ที่ได้ว ิจยั จะเป็ นการทดสอบว่าสมมติฐานของเราเป็ น
“จริง ” หรือ “เท็จ” ดังนัน้ จึงเป็ นสิ่งสาคัญที่การวิจยั จะต้อ งมีการทดสอบที่เ ที่ยงธรรม ซึ่งเรา
สามารถยืนยันว่า การทดสอบของเรามีค วามเที่ยงธรรมแน่ น อนได้นัน้ สามารถทาได้ห ลาย
ประการ เช่น ในการวิจยั เชิงทดลอง เราอาจต้องทาการทดลองอย่างควบคุ มเคร่งครัด เพื่อ
ป้องกันข้อผิด พลาดที่จะเกิดขึ้น หรืออาจจะทาการทดลองซ้ าๆ หลายครัง้ ด้วย ทัง้ นี้เ พื่อที่จะ
ยืนยันได้ว่าผลทีไ่ ด้จากการทดลองครัง้ แรกไม่ได้ได้มาด้วยความบังเอิญ เป็นต้น
5) วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล และน าไปสู่ ก ารสรุ ป ผล (Analyze Your Data and Draw a
Conclusion)
เมื่อการดาเนินงานของการวิจยั เสร็จสิน้ เราจะทาการวัดและวิเคราะห์ขอ้ มูลโดย
ทดสอบสมมติฐานว่าเป็ น “จริง” หรือ “เท็จ” บ่อยครัง้ ที่พบว่าสมมติฐานที่ตงั ้ ไว้เป็ น “เท็จ” และ
27

เมือ่ พบเช่นนัน้ ผูว้ จิ ยั อาจจะต้องตัง้ สมมติฐานใหม่ ออกแบบการวิจยั และเริม่ ดาเนินงานวิจยั ใหม่


ทัง้ หมดอีกครัง้ หนึ่ง เพราะบางครัง้ สมมติฐานทีเ่ ป็ น “เท็จ” อาจจะทาให้ได้ขอ้ ค้นพบบางอย่างที่
เป็ นประโยชน์กเ็ ป็ นได้ อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าผู้วจิ ยั จะพบว่าสมมติฐานของเขาเป็ น “จริง” ก็ตาม
ผูว้ จิ ยั อาจต้องทาการทดสอบอีกครัง้ ในวิธกี ารอื่นๆ ด้วย เพื่อพิสจู น์ประสิทธิภาพของข้อมูลทีไ่ ด้
6) การสื่อสารผลการวิ จยั (Communicate Your Result)
หลังจากที่โครงการวิจยั เสร็จสิ้น ผู้วจิ ยั จะต้องสื่อสารผลการวิจยั ให้คนอื่นเข้าใจ
โดยการรายงานผลการวิจยั นัน้ อาจเขียนเป็ น เอกสารรายงานรูปเล่ มหรือ นัก จิต วิทยาที่เ ป็ น
นักวิจยั มืออาชีพส่วนมากจะใช้วธิ กี ารสื่อสารผลการวิจยั โดยการตีพมิ พ์เผยแพร่ในวารสารหรือ
นาเสนอในการประชุมวิชาการ

4. ข้อควรระวังบางประการในการวิ จยั ทางจิ ตวิ ทยา


การวิจยั ทางจิตวิทยามีขอ้ ควรระวังดังนี้
1) กระบวนการวิจยั และการวิเ คราะห์ข้อ มูล ด้ว ยวิธ ีการทางสถิติท่อี าจส่ งผลทาให้
ผลการวิจยั มีความผิดเพี้ยน การออกแบบการวิจยั ที่ไม่ดี การมีอคติ การเลือกรายงานข้อมูล
เพียงบางส่วน และปญั หาอื่น ๆ อีกมากมาย ทีจ่ ะนาไปสู่การค้นพบคาตอบทีผ่ ดิ ๆ ของการวิจยั
2) ความตรงภายใน (Internal Validity) การวิจยั ต้องมีความตรงภายในสูง หมายถึง
ความแตกต่างหรือความแปรปรวนของตัวแปรตาม (Dependent Variable) เป็ นผลมาจากตัว
แปรอิส ระ (Independent Variable) เท่านัน้ ซึ่งจะทาให้การวัดตัว แปรอิสระและตัว แปรตามมี
ความคลาดเคลื่อนต่ า ผูว้ จิ ยั ต้องสามารถควบคุมตัวแปรเกินหรือตัวแปรแทรกซ้อนทีค่ าดว่าจะมี
อิทธิพลต่อตัวแปรตามได้
3) ขนาดของกลุ่ ม ตัว อย่า งต้อ งมีค วามเหมาะสม หากกลุ่ ม ตัว อย่ า งที่ม ีข นาดเล็ก
จนเกินไป หรือมีผลเฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง อาจนาไปสู่ข้อสรุปที่ผดิ พลาด กล่าวคือ การวิจยั
จะต้องมีความตรงภายนอก (External Validity) สูง นันคื ่ อ ผลการวิจยั จากกลุ่มตัวอย่างสามารถ
สรุปอ้างอิง (Inference) ไปยังประชากรเป้าหมายได้อย่างถูกต้อง หรือสามารถนาผลไปสรุปใช้
(Generalize) ในสถานการณ์อ่นื ทีค่ ล้ายคลึงกันได้อย่างถูกต้อง ดังนัน้ จะต้องเลือกกลุ่มตัวอย่างที่
เป็ นตัวแทนประชากรเป้าหมายทีต่ อ้ งการสรุปอ้างอิง และเลือกใช้สถิตเิ ชิงสรุปอ้างอิงจากค่าสถิติ
ของกลุ่มตัวอย่าง ไปยังค่าพารามิเตอร์ของประชากรได้อย่างถูกต้อง
4) พฤติกรรมของมนุ ษย์ไม่ได้มลี กั ษณะทีแ่ น่ นอนตายตัว อาจมีความเปลี่ยนแปลงไป
ตามบริบทหรือสถานการณ์ ดังนัน้ ในการดาเนินการศึกษาพฤติกรรมมนุ ษย์จะต้องค านึงถึง
บริบทหรือสถานการณ์ดว้ ย
5) ในการวิจยั บางประเภท เช่น การวิจยั เชิงทดลอง บางครัง้ จะต้องมีการทดลองซ้า
การทดลองซ้า ๆ บางครัง้ สาคัญยิง่ กว่าการค้นพบผลทีไ่ ด้จากการทดลองเพียงครัง้ เดียว
28

การวิจ ยั ทางจิต วิท ยาใช้ ว ิธ ีก ารทางวิท ยาศาสตร์ม ีล ัก ษณะที่เ ป็ น ขัน้ เป็ น ตอน แต่
บางครัง้ ข้อมูลหรือความคิดใหม่ ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในขณะทีว่ จิ ยั หรืออาจจะค้นพบภายหลังจากทีไ่ ด้ทา
การวิจยั เสร็จสิ้น ก็เป็ นสาเหตุท่ที าให้นักวิจยั ต้องย้อนกลับไปทาการวิจยั ซ้าใหม่อกี ครัง้ ดังนัน้
ในแต่ละขัน้ ตอนนัน้ ผู้วจิ ยั จะต้องสังเกตว่ามีอะไรเกิดขึ้น และเก็บรายละเอียดให้ได้มากที่สุด
เพื่อให้ได้ขอ้ มูลทีถ่ ูกต้อง ครอบคลุม นาไปสู่การสรุปผลทีม่ คี วามชัดเจน

คาถามท้ายบท
การวิจยั เชิงสารวจ การวิจยั เชิงสหสัมพันธ์ การวิจยั เชิงทดลอง การศึกษาบุคคลเป็ น
รายกรณีมปี ระโยชน์อย่างไร

งานที่มอบหมาย
ให้นิสติ แบ่งกลุ่ม ๆ ละ 4 คน เลือกประเด็นปญั หาทางจิตวิทยาทีส่ นใจมา 1 เรื่อง และ
ดาเนินการศึกษา โดยอาศัยกระบวนการวิจยั ทางจิตวิทยา
29

เอกสารประกอบการเรียนรู้ ครัง้ ที่ 4


ลักษณะทัวไปของพั
่ ฒนาการมนุษย์

สาระสาคัญ
ช่ว งชีว ิต ของมนุ ษ ย์แ บ่งออกเป็ นวัยต่ างๆ โดยเริม่ ตัง้ แต่ ปฏิส นธิ วัยทารก วัยเด็ก
วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ วัยกลางคนและวัยชรา พัฒนาการและพฤติกรรมของมนุ ษย์ปกติในแต่ละวัย
่ ทัง้ พัฒนาการทางกาย สติปญั ญา อารมณ์ สังคม มีลกั ษณะเฉพาะ การศึกษาลักษณะ
โดยทัวไป
ทัวไปของพั
่ ฒนาการมนุษย์ในแต่ละช่วงวัยจะทาให้เข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ได้ดยี งิ่ ขึน้

วัตถุประสงค์
เมือ่ ศึกษาบทเรียนนี้จบแล้ว ผูเ้ รียนสามารถ
1. อธิบายความหมายของพัฒนาการและวุฒภิ าวะได้
2. อธิบายลักษณะทัวไปของพั
่ ฒนาการมนุษย์ ในแต่ละช่วงวัยได้

ความหมายของพัฒนาการ
พัฒนาการ (Development) หมายถึง กระบวนการของเปลี่ยนแปลงของมนุ ษย์ทงั ้
ทางร่างกายและจิตใจที่ผสมผสานกันไปอย่างเป็ นระบบระเบียบ มีทศิ ทางตามลาดับขัน้ จาก
ช่ว งเวลาหนึ่ง ไปสู่อีก ช่ว งเวลาหนึ่ง ต่ อ เนื่อ งกัน ไปนับตัง้ แต่ เ ริม่ ปฏิสนธิจนสิ้นอายุขยั ความ
เปลี่ยนแปลงของมนุ ษย์น้ีเป็ นไปทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพ จากความเรียบง่ายไปสู่มคี วาม
ละเอียดซับ ซ้อ นขึ้น ตามวัย พัฒ นาการทัง้ ร่า งกายและจิต ใจได้รบั อิท ธิพ ลมาจากป จั จัยทาง
พันธุกรรมและวุฒภิ าวะตามธรรมชาติ (Nature) หลายประการ อย่างไรก็ดี ส่วนใหญ่จะได้รบั การ
สนับสนุนจากอิทธิพลของบุคคลทีอ่ ยูแ่ วดล้อมและสิง่ แวดล้อมทางกายภาพ (Nurture)
พัฒนาการ (Development) ไม่ใช่การเจริญเติบโต (Growth) เพราะการเจริญเติบโต
หมายถึง การเปลี่ย นแปลงของร่ า งกายที่ เ พิ่ม ขึ้น ในเชิง ปริม าณ (Quantity) และเป็ น การ
เปลีย่ นแปลงทางด้านโครงสร้างร่างกาย เช่น ขนาด รูปร่าง น้ าหนัก ส่วนสูง สัดส่วน ความหนา
ตลอดจนกระดูกและกล้ามเนื้อ ดังนัน้ เมือ่ พูดถึงความเจริญเติบโตของมนุ ษย์ มักหมายถึง การที่
บุคคลมีน้ าหนักที่เพิม่ ขึน้ มีส่วนสูง ที่เพิม่ ขึ้น หรือมีระบบอวัยวะในร่างกายส่วนต่างๆ ที่ขยาย
เพิม่ ขึน้ ไป
ดังนัน้ ในการทีเ่ ราจะได้เข้าใจถึงธรรมชาติของชีวติ มนุ ษย์ในแต่ละวัยนับตัง้ แต่ปฏิสนธิ
จนถึงสิน้ อายุขยั นัน้ เราต้องศึกษาเพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการมนุ ษย์ในแต่ละด้าน ไม่
ว่าจะเป็ นด้านร่างกาย สติปญั ญา อารมณ์ สังคม บุคลิกภาพ หรือจริยธรรม ก็เพราะพัฒนาการ
มนุษย์ไม่ว่าจะเป็ นในวัยทารก วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผูใ้ หญ่ หรือวัยสูงอายุ ล้วนแต่มกี ารเปลีย่ นแปลง
30

และการเจริญเติบโตทีแ่ ตกต่างกัน ซึง่ เป็ นเรื่องที่เกี่ยวข้องทัง้ กระบวนการทางชีวภาพและความ


เปลีย่ นแปลงของพฤติกรรมของบุคคลเมื่อเจริญวัยขึน้ ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับธรรมชาติของ
บุคคลแต่ละวัย รวมทัง้ ปจั จัยต่างๆ ที่มอี ทิ ธิพลต่อพัฒนาการของมนุ ษย์ ตลอดจนความเข้าใจ
เกี่ยวกับพฤติกรรมทีเ่ กี่ยวข้องหรืออยูใ่ นรอยต่อของแต่ละช่วงชีวติ จึง เป็ นสิง่ สาคัญ เพราะจะเป็ น
ข้อมูลทีช่ ่วยให้เราสามารถทานายพฤติกรรมของบุคคลเมื่ออยู่ในวัยที่สูงขึน้ ต่อไปได้ เนื่องจาก
การพัฒนาหรือการแก้ไขปญั หาพฤติกรรมต่างๆ ของบุคคลนัน้ จะต้องสอดรับกันไปในแต่ละช่วง
วัยด้วย

กระบวนการหลักที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการ
แซนทรอค (สุ ว รี ศิวะแพทย์. 2549:13-14 อ้างอิงจาก Santrock. 1997) อธิบายว่า
การเปลีย่ นแปลงพัฒนาการนัน้ เป็นผลมาจากองค์ประกอบ 3 ประการ ได้แก่
1) กระบวนการทางชี ว วิ ท ยา (Biological Process) เป็ น การเปลี่ย นแปลงทาง
สรีรวิทยาตามธรรมชาติของแต่ ล ะบุค คล เช่น ยีน (Genes) ที่ได้รบั การถ่ ายทอดจากพ่อ แม่
พัฒนาการทางสมอง น้ าหนัก ส่วนสูง การกระทาที่อาศัยทักษะทางร่างกาย (Motor Skill) หรือ
แม้แต่การเปลีย่ นแปลงฮอร์โมนในช่วงวัยรุ่น สิง่ เหล่านี้ เป็ นอิทธิพลทางด้านชีวภาพทีส่ ่งผลต่อ
พฤติกรรม
2) กระบวนการทางด้ า นความรู้ค วามเข้ า ใจ (Cognitive Process) เกี่ย วข้อ ง
ทางด้านการคิด เชาวน์ ปญั ญา ภาษา เช่น การทีเ่ ด็กมองตามโมบายทีแ่ ขวนเป็ นสภาพการณ์ท่ี
เกิด จากการรับรู้จากสิ่ง เร้าที่มากระตุ้นประสาทสัมผัส การแก้ปญั หาโจทย์ค ณิต ศาสตร์ การ
จินตนาการหรือการคาดเดาเหตุการณ์ทจ่ี ะเกิดขึน้ ต่อไป สิง่ เหล่านี้สะท้อนให้เห็นกระบวนการคิด
ซึง่ เป็นพัฒนาการของเด็ก
3) กระบวนการทางอารมณ์ ในสภาพสัง คม (Sociomotional Processes) เป็ น
การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ บุคลิกภาพ เพื่อสร้างสัมพันธภาพต่อบุคคลอื่น ๆ หรืออาจ
กล่าวได้ว่า เป็ นการปรับตัวหรือการมีปฏิสมั พันธ์ต่อสังคมนัน่ เอง เช่น การยิม้ ของทารก เป็ นการ
ตอบสนองจากการสัมผัสของมารดา เป็ นสื่อสัมพันธ์แทนภาษา ความก้าวร้าวของเด็กในการเล่น
กับเพื่อน การกล้าแสดงออกทีเ่ หมาะสม (Assertive) ของเด็กผู้หญิง หรือการไปร่วมงานรื่นเริง
ของเด็กวัยรุน่ สิง่ เหล่านี้ลว้ นแสดงให้เห็นกระบวนการพัฒนาเกีย่ วกับอารมณ์ เพื่อการปรับตัวให้
เหมาะสมกับสภาพการณ์และสังคม
จากที่ก ล่าวมา กระบวนการดังกล่ าวมีค วามเกี่ยวข้อ งกันอย่างยิง่ และมีอิทธิพลต่ อ
พัฒนาการของบุคคลดังกล่าว
31

ทีม่ า : http://www.mhhe.com/socscience/devel/ibank/image/0022.jpg

ลักษณะทัวไปของพั
่ ฒนาการมนุษย์
ลักษณะทัวไปของพั
่ ฒนาการมนุษย์สามารถสรุปได้ดงั นี้
1. พัฒนาการของมนุ ษย์เป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นอย่างมีระบบระเบียบ และมีแบบ
แผนทีค่ ล้ายคลึงกัน (Sequence) เช่น จะมีการคว่าก่อนคลาน คลานก่อนนัง่ นังก่ ่ อนยืน ยืนก่อน
เดิน และเดินก่อนวิง่ เป็นต้น
2. พัฒนาการจะเกิดเป็ นทิศทางเฉพาะ (Developmental Direction) พัฒนาการไม่ว่า
ด้านใดจะเริม่ จากส่วนใหญ่ไปสู่ส่ วนย่อย เช่น เด็กจะใช้มอื กาและจับของก่ อนใช้น้ิว หยิบของ
สามารถมองเห็นภาพวัตถุใหญ่ก่อนวัตถุเล็ก จากส่วนบนไปสู่ส่วนล่าง และจากส่วนกลางไปสู่
ส่วนข้างทีไ่ กลตัวออกไป ศีรษะของเด็กจะเจริญเติบโตเร็วกว่าส่วนอื่นๆ ของร่างกาย เป็นต้น
3. อัต ราพัฒ นาการของแต่ ล ะคนจะแตกต่ างกัน ตามความแตกต่ า งระหว่ า งบุ ค คล
(Ratio) คนรุ่นเดียวกันบางคนเจริญเร็วกว่า บางคนช้ากว่า ขณะเดียวกันอัตราการพัฒนาการใน
ส่วนต่างๆ ของร่างกายคนเราทุกคนก็จะแตกต่างกันตามช่วงวัย กล่าวคือ บางส่วนจะเจริญเร็ว -
ช้ากว่าบางส่วน เช่น ขนาดสมอง จะเจริญเร็วมากเมื่ออายุ 6 – 8 เดือน ด้านความคิดสร้างสรรค์
จะเจริญอย่างรวดเร็วในช่วงวัย 2 ระยะ คือ ช่วงวัยเด็ก และช่วงวัยรุน่ เป็นต้น
4. ล าดับขัน้ พัฒนาการ (Stage of Development) แต่ ล ะขัน้ ก็จ ะมีค วามแตกต่ างกัน
เป็ นลักษณะเฉพาะในแต่ละขัน้ แต่ พฒ ั นาการทางด้านร่างกาย สติปญั ญา อารมณ์ สังคม จะ
ดาเนินไปพร้อมๆ กัน และมักมีความสัมพันธ์กนั เช่น เด็กที่มสี ติปญั ญาดี มักมีอารมณ์ ดแี ละ
สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้ง่าย หรือเด็กที่มสี ติปญั ญาต่ า มักจะมีปญั หาทางด้านอารมณ์
ปรับตัวเข้ากับสังคมได้ยาก พัฒนาการกับการเสื่อมจะดาเนินควบคู่ กนั ไป เช่น พัฒนาการของ
ฟนั ฟนั น้ านมของเด็ก จะต้องผุและหักก่อน แล้วฟนั แท้จะขึน้ ตามมา เป็นต้น
32

5. พัฒนาการจะเกิดในลักษณะที่ต่อเนื่องกัน (Continuity) โดยทัวไปมนุ


่ ษย์ท่ปี กติจะ
ผ่านขัน้ ตอนของพัฒนาการต่างๆ เหมือนกัน พัฒนาการเกิดขึน้ ทุกช่วงชีวติ ตัง้ แต่เริม่ ปฏิสนธิ
จนถึงสิน้ อายุขยั เราไม่สามารถหยุดการเปลีย่ นแปลงของพัฒนาการได้ พัฒนาการระยะหนึ่งจะ
เป็นรากฐานของพัฒนาการในระยะต่อไป

วุฒิภาวะ
วุฒภิ าวะ (Maturation) หมายถึง พัฒนาการทางชีวภาพที่เป็ นไปตามยีนซึง่ ได้รบั การ
ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ซึ่งเป็ นการแสดงความพร้อมทางสรีระ เช่น ระบบประสาท ระบบต่อม
ระบบกล้ามเนื้อ ที่ความพร้อมเหล่านี้จะไปกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมขึน้ เองตามธรรมชาติ โดย
ไม่ได้เกี่ยวข้องกับสิง่ เร้าใดๆ ทัง้ สิน้ เช่น การยืน การเดิน การนัง่ การวิง่ การเปล่งเสียง ฯลฯ ที่
เมือ่ ถึงวัยทีเ่ หมาะสม ก็สามารถจะกระทาได้เองตามธรรมชาติ โดยไม่ต้องเรียนรู้ สิง่ เร้า หรือการ
ฝึ ก ฝนใดๆ วุฒ ิภาวะของแต่ ล ะบุ ค คลจะพัฒนาไปตามล าดับวัย ทัง้ ทางร่างกาย สติป ญ ั ญา
อารมณ์ และสังคม วุฒภิ าวะเป็ นภาวะของการบรรลุถงึ ขัน้ สุดยอดของการเจริญเติบโตเต็มทีใ่ น
ระยะใดระยะหนึ่ง และพร้อมทีจ่ ะประกอบกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งได้เหมาะสมกับวัย วุฒภิ าวะ
จึงเปรียบเสมือนพิมพ์เขียว (Blueprint) ของแต่ละคนทีม่ กี ารวางโครงสร้าง โดยการถ่ายทอดทาง
ยีน จากบรรพบุรุษ ซึง่ จะมีลาดับขัน้ ทีก่ าหนดไว้แล้ว ส่วนการจะเจริญงอกงามต่อไปนัน้ ก็จะเป็ น
หน้าทีข่ องประสบการณ์และการเรียนรูข้ องบุคคลต่อไป

ภาพแสดงวุฒภิ าวะในการเคลื่อนไหวของทารก
ทีม่ า : www.mhhe.com/socscience/ intro/ibank/set1.htm
33

พัฒนาการของแต่ละวัย (Periods of Development)


1. วัย ก่ อ นคลอด (Prenatal) เป็ น วัย ที่ท ารกอยู่ใ นครรภ์ม ารดาประมาณ 280 วัน
แบ่งเป็นระยะได้ดงั นี้
ระยะไซโกต (Period of the Zygote or Germinal Stage) ตัง้ แต่เกิดการปฏิสนธิ
ถึงปลายสัปดาห์ท่ี 2 การปฏิสนธิของอสุจแิ ละไข่เกิดขึน้ ทีป่ ีกมดลูก จะมีการสุ่มคัดสรรโครโมโซม
ก่อนการปฏิสนธิในเซลล์สบื พันธ์เพศผู้เรียกว่า ไมโอซีส ถ้าพิจารณาจากเด็ก 2 คน ทัง้ คู่ต่าง
ได้รบั มรดกทางพันธุกรรมจากพ่อแม่คนเดียวกัน แต่กม็ ลี กั ษณะทีแ่ ตกต่างกันโดยสิน้ เชิง ดังนัน้
จึงแสดงให้เห็นว่าลูกไม่ใช่ครึง่ หนึ่งมาจากพ่อ อีกครึง่ หนึ่ งมาจากแม่ เพราะว่า ในเซลล์สบื พันธ์
คืออสุจกิ บั ไข่มกี ารผสมของโครโมโซม ซึง่ ทาให้ถ่ายทอดให้ลูกในสิง่ ที่แตกต่างกัน เพราะว่าพ่อ
แม่สร้างโครโมโซมมาจากปู่ย่าตายาย จึงนามาผสม ตัดต่อในรูปแบบทีไ่ ม่มคี วามแน่ นอน ทาให้
ไม่สามารถคาดเดาได้ว่าลูกจะได้โครโมโซมแบบใด และพ่อแม่จะให้โครโมโซมแบบใดแก่ลกู
ระยะเอมบริ โอ (Embryonic Stage) อวัยวะในระบบต่างๆ และระบบประสาท
เริม่ ได้รบั การพัฒนา ดังนี้
ทารกอยูใ่ นถุงน้าคร่า มีสายสะดือ เชื่อมติดต่อกับรกทีผ่ นังมดลูก ซึง่ ต้องทาหน้าที่
ดูแลการสร้างอวัยวะของทารกและการเจริญเติบโตของทารก ซึง่ มีการพัฒนาทีส่ ลับซับซ้อน รก
ทาให้ทารกในครรภ์ก ับมารดาติดต่ อ ถึงกันได้ทางกระแสโลหิต ได้รบั อาหาร ออกซิเ จนจาก
มารดา และขับถ่ายของเสียผ่านทางกระแสโลหิต พอถึงเก้าสิบวันก็ฝงั ตัวลงในโพรงมดลูก ต่อมา
กลุ่มเซลล์ทท่ี วีจานวนมากขึน้ ก็จะแบ่งเป็ นสามชัน้ เพื่อทีจ่ ะแบ่งแยกกันทาหน้าที่ ทจ่ี ะพัฒนาไป
เป็ นอวัยวะ โดยชัน้ นอกจะไปเป็ นผิวหนังห่อหุม้ ร่างกาย ระบบห่อหุม้ ร่างกาย และระบบประสาท
เช่น ตา หู จมูก ฟนั เป็ นต้น ส่วนเนื้อเยื่อชัน้ กลาง จะพัฒนาไปเป็ นเนื้อเยื่อและอวัยวะประสาน
รวมทัง้ เม็ดเลือดต่างๆ พวกเอ็นและพังผืดต่างๆ เป็ นต้น ส่วนเนื้อเยื่อชั น้ ในจะพัฒนาไปเป็ น
เครือ่ งใน หรืออวัยวะภายใน เช่น ระบบทางเดินอาหารพวก กระเพาะ ลาไส้ ตับ ไต เป็นต้น
อวัยวะต่างๆ จะเกิดครบในสัปดาห์ท่สี ่ี หรือเดือนแรก แต่ยงั ไม่โตนัก จะเรียกว่า
เป็ นปมของอวัยวะก็ว่าได้ ปลายสัปดาห์ท่ี 4 อวัยวะที่สาคัญจะเกิดแล้ว เช่น สมอง ปอด หัวใจ
หัวใจเล็กๆ เต้น 65 ครัง้ ต่อนาที และในปลายสัปดาห์ท่ี 5 จะเริม่ เห็นมีเม็ดเลือดวิง่ ในหลอดเลือด
การวางตัวหรือวางโครงร่างของอวัยวะต่างๆ ดาเนินไปจนถึงสัปดาห์ท่ี 8 อวัยวะ
ต่างๆ ครบทุก อวัยวะ กลุ่มเซลล์จะขยายขนาดเพิ่มขึ้น และเริม่ แผ่ ยดื ออก และม้วนตัวแบบ
พระจันทร์เสี้ยว และต่อมาจะเริม่ โป่งพองที่ด้านหัว เพราะกาเนิดสมอง และจะโค้งตัวมากขึ้น
คล้ายกับลูกน้ า สัปดาห์ท่ี 8 เป็ นสัปดาห์สุดท้ายของเอ็มบริโอ อย่างไรก็ดี เนื่องจากเป็ นระยะที่
เริม่ ของการตัง้ ครรภ์หรือครรภ์อ่อน มารดาบางคนก็ไม่รวู้ ่ามีการตัง้ ครรภ์ ก็เลยไม่ระมัดระวั งตัว
ระวังเรื่องสุขภาพ ยังคงดาเนินกิจกรรมหรือมีพฤติกรรมที่อาจจะก่อให้เกิดอันตรายต่อทารกใน
ครรภ์ เช่น สูบบุหรี่ ดื่มสุรา การออกกาลังกายทีห่ กั โหม หรือการทาเซาน่ า ซึง่ กิจกรรมดังกล่าว
34

จะก่อให้เกิดการเพิม่ อุณหภูมภิ ายในร่างกาย และมีผลต่อการพัฒนาการสร้างอวัยวะต่างๆ ของ


ทารก อาจจะทาให้เกิดความพิการแก่ทารกหรือการแท้ง นอกจากนี้ การเป็ นไข้ เป็ นหวัดสูงก็
อาจจะมีผลต่อทารกได้
ระยะฟี ตัส (Fetal Stage) ตัง้ แต่ 2 เดื อ นไปถึง คลอด การเจริญ เติบ โตของ
ทารกหรือทีเ่ รียกว่า ฟีตสั (Fetus) จะใช้เรียกตัวอ่อนตัง้ แต่ 9 สัปดาห์ถงึ คลอด จนถึงสัปดาห์ท่ี 9
หรือสองเดือนของการตัง้ ครรภ์กย็ งั ไม่สามารถทีจ่ ะแยกเพศได้
อายุค รรภ์ 3 เดื อ น อวัย วะในระบบต่ า งๆ มีวุ ฒ ิภ าวะท าหน้ า ที่ไ ด้ เช่ น
เคลื่อนไหวศีรษะ ขา เท้า ระยะนี้จะทราบเพศของทารก อาจจะได้ยนิ เสียงเต้นของหัวใจ ทารก
จะมีขนาดโดยประมาณ 3 นิ้วฟุ ต อวัยวะต่างๆ จะเกิดจนครบและกาลังพัฒนามากขึ้นเรื่อยๆ
อวัยวะต่างๆ ก็เริม่ ทางานได้บา้ งแล้ว แต่ยงั ไม่สามารถบอกเพศของทารกได้ว่าเป็ นหญิงหรือชาย
อนึ่ ง ระยะนี้ สามารถตรวจสอบสภาวะของทารกในครรภ์ม ารดาด้ ว ย
เครื่องมือ Ultrasound ทัง้ นี้ เพื่อวัดขนาดของเด็กในครรภ์ ตรวจสอบว่า ทารกในครรภ์เป็ นฝา
แฝดหรือไม่ และทีส่ าคัญดูว่า มีความผิดปกติของโครโมโซมเป็ นโรคทางพันธุกรรมหรือไม่ การ
ตรวจสอบนี้สามารถทาได้เมื่อทารกอายุประมาณ 16 สัปดาห์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ จาเป็ นมาก
สาหรับมารดาทีม่ อี ายุเกิน 35 ปีขน้ึ ไป
อายุครรภ์ 4 เดื อน มารดาจะรูส้ กึ ว่าลูกในครรภ์เคลื่อนไหว ดิ้น ได้ โดยเฉพาะ
หญิงทีเ่ คยมีบุตรมาก่อนจะรู้สกึ ว่าลูกดิน้ ได้เร็วกว่าหญิงทีเ่ พิง่ ตัง้ ครรภ์แรก ทารกในครรภ์ระยะนี้
จะยาวประมาณ 4 นิ้วฟุต นิ้วมือและนิ้วเท้าเริม่ แยกกัน ทารกสามารถจะดูด กลืน เคลื่อนไหวได้
แต่กย็ งั อ่อนแออยูม่ าก
อายุครรภ์ 5 เดือน ทารกจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เคลื่อนไหวมากขึ้น ฟงั
เสียงหัวใจเต้นได้ชดั เจน เริม่ มีผม และขนอ่อนขึน้ ทัวร่่ างกาย มีขนาดประมาณ 10 นิ้วฟุต ศีรษะ
ค่อนข้างโต นิ้วมือและนิ้วเท้าแยกกันชัดเจน สามารถแยกเพศได้ชดั เจนแล้วว่าเพศหญิงหรือเพศ
ชาย
อายุครรภ์ 6 เดือน ทารากจะดิ้นได้ดี จนบางครัง้ มารดาอาจเกิดความเจ็บปวด
จากการดิ้นได้ ถ้า เกิดไปกระแทกกระเพาะปสั สาวะหรือชายโครงของมารดาเริม่ มีชนั ้ ไขมันใต้
ผิวหนัง หลับตาลืมตาได้ มีขนาดยาวประมาณ 13 นิ้วฟุต น้าหนักประมาณ 700-800 กรัม เริม่ มี
ลายนิ้วมือ มีเล็บ เริม่ มีขนคิว้
อายุครรภ์ 7 เดือน พฤติกรรมประเภทปฏิกริ ยิ าสะท้อน (Reflex) พัฒนาได้เป็ น
อย่างดี เช่น การหายใจ การดูด มือ และเท้า การกลืน การจาม ทารกจะมีน้ าหนัก ประมาณ 1
กิโลกรัม มารดารูส้ กึ ได้ดถี งึ การเคลื่อนไหวของทารก ทาให้มารดานอนหลับไม่ได้เต็มที่เพราะ
ทารกในครรภ์ต่ ืน ส่ ว นท้อ งที่โ ตมากก็ท าให้ ม ารดาหายใจเร็ว ขึ้น อุ้ ย อ้ า ย เคลื่อ นไหวไม่
คล่องแคล่ว
35

อายุครรภ์ 8 เดือน ทารกมีน้ าหนักโดยประมาณ 2 กิโลกรัม ทารกจะตอบสนอง


ต่อเสียงและสิง่ แวดล้อมได้ ไขมันใต้ผวิ หนังพัฒนาจนเกือบสมบูรณ์ ซึง่ ไขมันทีเ่ คลือบผิวหนังนัน้
จะมีประโยชน์ สาหรับ ทารกในครรภ์เตรียมตัว เพื่อการปรับตัวกับอุณหภูมภิ ายนอกครรภ์เมื่อ
คลอดออกมาได้เป็ นอย่างดี ท้องทีโ่ ตมากของขึน้ ทาให้พน้ื ที่ในการขยายของปอดลดลง มารดา
จะหายใจเร็ว สัน้ เหนื่อ ยง่าย กระเพาะปสั สาวะจะถู กกดทาให้ต้อ งปสั สาวะบ่อ ยๆ และการที่
กล้า มเนื้ อ ต่ า งๆ ของทารกเจริญ เติบ โตขึ้น ท าให้ท ารกเริ่ม ดิ้น รุ น แรงมากขึ้น บางครัง้ ไป
กระทบกระเทือนกับอวัยวะทีเ่ ป็ นระบบย่อยอาหาร ส่งผลให้มารดาเกิดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
เรอบ่อยๆ มือและเท้าของมารดาก็จะเริม่ บวม และเป็นตะคริวบ่อยๆ
อายุครรภ์ 9 เดื อน ทารกในครรภ์ท่เี ป็ นปกติขณะนี้จะมีน้ าหนักตัว โดยเฉลี่ย
ประมาณ 2.5 กิโลกรัมขึน้ ไป อวัยวะต่างๆ ในร่างกาย พัฒนาเต็มที่ ทารกในครรภ์เริม่ ลงสู่เชิง
กรานเตรียมพร้อมทีจ่ ะคลอด ทาให้มารดาหายใจได้คล่องขึน้ แต่เริม่ หน่วงทีเ่ ชิงกราน ปวดทีห่ วั
เหน่ า ทารกในครรภ์จะดิ้นมาก แต่เ ป็ นเรื่องปกติ เพราะถ้าดิ้นน้อยแสดงว่าอาจมีความผิดปกติ
เกิดขึน้ ต้องให้แพทย์ตรวจโดยเร็ว ทารกแรกเกิดจะมีน้าหนักตัวโดยเฉลีย่ 3,000 กรัม ลาตัวยาว
ประมาณ 45-50 เซนติเมตร เพศชายน้ าหนักและความยาวของลาตัวจะมากกว่าทารกเพศหญิง
เล็กน้อย
สิง่ แวดล้อ มมีค วามเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุ ษ ย์นับตัง้ แต่ เ ริม่ ปฏิสนธิใ น
ครรภ์มารดาทีเดียว เช่น สภาพความพร้อมทางด้านร่างกายของมารดา สุขภาพทางกายและ
สุขภาพทางจิตของมารดา การเลือกรับประทานอาหาร และการปฏิบตั ิตวั ทีเ่ หมาะสมของมารดา
ซึง่ มีอทิ ธิพลต่อทารกในระหว่างทีอ่ ยู่ในครรภ์มารดา อาทิ (Lerner et al. 1986: 311-313; Wade
& Travis. 1996: 478-479)
อาหาร มีรายงานพบว่า การขาดไอโอดีนอย่างรุนแรงจะทาให้เกิดภาวะบกพร่อง
ของธัยรอยด์ ทัง้ ในมารดาและในทารกจึงทาให้เกิดภาวะสมองพิการแต่กาเนิด หรือทีเ่ รียกภาษา
ชาวบ้านว่า “โรคเอ๋อ” (Endemic Cretinism) ตัง้ แต่กาเนิด ดังนัน้ จึงจาเป็ นต้องวิจยั เพื่อสร้าง
องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการขาดสารไอโอดีน และนาไปปฏิบตั อิ ย่างเร่งด่วน เพื่อควบคุมโรคดังกล่าว
ให้หมดไป การส่งเสริมภาวะโภชนาการทีด่ ใี ห้แก่บุตรควรเริม่ ตัง้ แต่อยูใ่ นครรภ์มารดา ผูม้ คี รรภ์
ที่รบั ประทานอาหารไม่เพียงพอ ขาดสารอาหารที่จาเป็ นมีผลต่อ พัฒนาการทางร่างกายของ
ทารกในครรภ์ ทาให้ไม่ค่อยเจริญเติบโต มีน้ าหนักน้ อย และยังมีผลต่อพัฒนาการทางเชาวน์
ปญั ญาด้วย เพราะเป็ นระยะทีร่ ะบบประสาทกาลังพัฒนา โดยเฉพาะในระยะ 2-3 เดือนแรกของ
การตัง้ ครรภ์ อย่างไรก็ดี มารดาบางคนมีความเชื่อทีผ่ ดิ ๆ โดยเฉพาะเกีย่ วกับอาหารการกิน เช่น
ถูกห้ามกินเนื้อสัตว์และนมจากสัตว์เพราะกลัวว่าจะเป็ นบาป จึงทาให้ลูกที่เกิดมาตัวเล็กเพราะ
ขาดสารอาหาร หรือถ้าแม่ด่มื น้ ามะพร้าวมากๆ จะช่วยล้างไขตามตัวและช่วยทาให้ลูกผิวเกลีย้ ง
ความจริงแล้วไขทีต่ ดิ มาตามตัวเด็กเป็ นสิง่ ทีเ่ ซลล์ผวิ หนังและต่อมใต้ผวิ หนังของเด็กสร้างขึน้ ยิง่
36

อายุครรภ์มากขึน้ ก็จะสร้างไขเพิม่ มากขึน้ ทาให้คลอดง่าย เหมือนมีน้ ามันมาหล่อลื่นเด็กขณะที่


ผ่านช่องคลอด ไขทีค่ ลุมตัวเด็กจะช่วยรักษาอุณหภูมขิ องทารกเกิดใหม่ไม่ให้ต่าจนเกินไป ดังนั น้
แพทย์จงึ ต้องปล่อยให้ไขติดตัวเด็กซักระยะหนึ่งก่อนจนกว่าจะมันใจได้ ่ ว่าเด็กคุมอุณหภูมไิ ด้ จึง
ค่อยล้างออก มารดาบางคนไม่ยอมกินยาบารุงเลือดที่แพทย์จ่ายให้เพราะกลัวอ้วน แต่บางครัง้
ไปรับประทานอาหารทีม่ นี ้ าตาลและกรดไขมันอิม่ ตัวเยอะๆ การรับประทานเข้าไปมากๆ จะทา
ให้ลกู ตัวโตแต่ไม่แข็งแรงและมารดาก็เสีย่ งต่อการเกิดไขมันอุดหลอดเลือดได้
โรคภัยไข้เจ็บ ในระยะมีครรภ์ ถ้ามารดาเป็ นโรคซิฟิลสิ อาจทาให้ทารก ตา
บอด หูหนวก หรือปญั ญาอ่อนได้ มารดาเป็ นโรคเบาหวาน อาจทาให้ทารกมีความผิดปกติใน
ระบบหมุนเวียนและระบบหายใจ
ยา เช่น ทาลิโดไมต์ (Thalidomide) เป็ น ยาแก้แพ้ท้อ งที่ใ ช้กันแพร่หลายเมื่อ
ค.ศ. 1960 ทาให้ทารกแขนขากุด ยาควินิน ทาให้ทารกหูหนวก ยาปฏิชวี นะ เตตราชัยคลิน อาจ
มีผลต่ อการสร้างกระดูกและฟนั ของเด็ก ยาแก้ปวดลดไข้ อาจทาให้คลอดลูกก่อนกาหนด ยา
นอนหลับ ทารกจะหายใจไม่ดี ชักกระตุก มีเลือดออกมาผิดปกติ ยาแก้ไอบางชนิด ทารกจะคอ
พอก ผิดปกติทางสมอง เป็ นต้น อย่างไรก็ดี ระยะแพ้ทอ้ งจะมีได้ขณะท้องอ่อนๆ เพราะช่วงนัน้
มารดาจะมีความรู้สกึ ไวต่อกลิน่ รสอาหารมาก ทาให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียนได้ง่าย ระบบ
ย่อยอาหารผิดปกติ ย่อยยาก ทาให้ท้องอืดท้องเฟ้อ มารดาบางคนอาจเป็ นมากจนรับประทาน
อาหารไม่ได้ แต่พอพ้นระยะ 4 เดือนแรกไปแล้ว อาการต่างๆ จะดีขน้ึ อาการแพ้ท้องสามารถ
แก้ไ ขโดยดื่มน้ าอุ่ นๆ ขณะที่ต่ ืนนอน นอกจากนี้ ควรรับประทานอาหาร พวกขนมปงั กรอบ
น้าหวาน น้าอัดลม อาหารทีย่ อ่ ยง่าย ให้งดของทอด และของทีม่ นี ้ามันมาก อาจใช้วธิ รี บั ประทาน
อาหารครัง้ ละน้อยๆ แต่บ่อยๆ ครัง้ และเมือ่ พ้นระยะแพ้ทอ้ งไปแล้ว จึงรับประทานอาหารจาพวก
โปรตีน ผักและผลไม้เพิม่ ขึน้
บุหรี่ ผูม้ คี รรภ์ทส่ี บู บุหรีม่ ากอาจทาให้ทารกคลอดก่อนกาหนด หรืออยู่ครบตาม
กาหนดแต่มนี ้ าหนักเมื่อแรกคลอดน้อยหรือ เมื่อคลอดได้ไม่นานทารกอาจเสียชีวติ ทารกอาจมี
ความพิการทางกายอื่นๆ เช่น ริมฝีปากแหว่ง เพดานโหว่ สารพิษจากควันบุหรี่ สามารถดูดซึม
เข้าสู่ทารกที่ อยูใ่ นครรภ์ ได้ และส่งผลต่อสุขภาพของทารกโดยตรง มารดาทีส่ บู บุหรีจ่ ดั มีความ
เสี่ยงต่อการ แท้งโดยไม่ทราบสาเหตุ เลือดออกระหว่างตัง้ ครรภ์ ภาวะตายคลอด คลอดก่อน
กาหนด ทารกที่เกิดมาจะมีน้ าหนักตัวน้ อยกว่าปกติ เมื่อทารกนี้เติบโตเป็ นผู้ใหญ่จะเป็ นผู้ท่มี ี
อัตราการเกิด โรคหลอดลมอักเสบเรือ้ รังและโรคถุงลมโปง่ พองมากกว่าทารกทีม่ ารดาไม่สูบบุหรี่
มีรายงานว่าพบสารก่อมะเร็งทีพ่ บในควันบุหรีป่ นอยูใ่ นปสั สาวะของทารกแรกเกิดทีม่ มี ารดาทีส่ ูบ
บุหรี่ (วราภรณ์ ภูมสิ วัสดิ ์ และคนอื่นๆ. 2546:54)
เหล้า ทารกที่เกิดจากผู้มคี รรภ์ท่ตี ิดเหล้า จะมีก ลุ่มอาการที่เรียกว่าฟี ตลั อัลกอ
ฮอลซินโดรม (Fetal Alcohol Syndrome) คือ มีพฒ ั นาการทางกาย ทางการเคลื่อนไหว และทาง
37

เชาวน์ ปญั ญาช้ากว่าปกติ แอลกอฮอล์โดยมีผลต่อการเติบโตและการสร้างอวัยวะของเด็กใน


ระหว่างทีอ่ ยู่ครรภ์ ซึง่ มีผลต่อเนื่องอย่างถาวรมาจนเด็กโต ซึง่ เกิดได้ในลักษณะทีเ่ ล็กน้อยจนถึง
ขัน้ รุนแรงมาก เช่น ผลต่อการเจริญเติบโตของสมอง หรือหัวใจ เป็ นต้น แอลกอฮอล์เป็ นสารทีม่ ี
โมเลกุลเล็ก ทัง้ ยังละลายน้ าได้ดี จึงสามารถเข้าไปปนอยู่ในเลือดและทุกแห่งทีเ่ ลือดไปถึง ฉะนัน้
จึงสามารถผ่านทางรกเข้าไปยังตัวเด็กในครรภ์ได้อย่างง่ายดาย ระดับแอลกอฮอล์ของทารกใน
ครรภ์นนั ้ เกือบเท่ากับระดับในเลือดแม่ แอลกอฮอล์ส่งผลทางลบต่อการขนส่งอาหารและการผลิต
สารสื่อประสาท ดังนัน้ การที่แม่ด่มื แอลกอฮอล์ในระหว่างตัง้ ครรภ์จงึ มีผลเสียต่อเด็กในระยะที่
เด็กกาลังเจริญเติบโต โดยเฉพาะระยะทีก่ าลังสร้างอวัยวะต่างๆ ของเด็ก ในระยะประมาณ 36
วันหลังตัง้ ครรภ์ซง่ึ เป็นระยะทีแ่ ม่ส่วนใหญ่ยงั ไม่ทราบว่าตนเองกาลังตัง้ ครรภ์นนั ้ ทารกทีเ่ ป็ นตัว
อ่อน จะเริม่ สร้างระบบประสาทไขสันหลัง สมอง และบรรดาอวัยวะระยะแรกเริม่ แล้ว ดังนัน้ หาก
มารดาดื่มหนักในระยะต้นของการตัง้ ครรภ์ ทาให้การสร้างสมองและอวัยวะเริม่ ต้นไปในทางทีไ่ ม่
ดี จึงมีผลทาให้การเจริญเติบโตต่อจากนี้ไป ก็จะผิดปกติไปหมด เพราะการเจริญเติบโตในระยะ
สามเดือนแรกมีผลอย่างมากต่อการเจริญเติบโตของเด็กในระยะที่เหลือในครรภ์ (Kalat. 1990:
187)

ภาพ เด็กทีม่ อี าการ Fetal Alcohol Syndrome

ในการดูแลหญิงมีครรภ์ระหว่างตัง้ ครรภ์นนั ้ เมื่อทราบว่าตัง้ ครรภ์ ควรมีการฝาก


ครรภ์ทนั ทีเพื่อตรวจดูอาการผิดปกติตงั ้ แต่เริม่ ตัง้ ครรภ์จนครบกาหนดคลอด แต่ถงึ กระนัน้ ก็ยงั
ภาวะแทรกซ้อนบางอย่างที่ไม่อาจป้องกันได้ เช่น ภาวะเลือดออกระหว่างตัง้ ครรภ์ ดังนัน้ การ
ฝากครรภ์และเข้ารับการตรวจเป็ นระยะๆ ตามที่กาหนดก็จะช่วยได้มาก นอกจากนี้ เพื่อดูการ
เจริญเติบโตของทารกในครรภ์ ปกติ น้าหนักจะเพิม่ สัปดาห์ละ 1/2 กิโลกรัม ตรวจปสั สาวะ เพื่อ
ดูปริมาณน้ าตาล และไข่ขาวในปสั สาวะ ตรวจเลือดเพื่อดูความเข้มข้นของเลือด หมูเ่ ลือด ตรวจดู
เชื้อโรคที่ตดิ ต่อทางเพศสัมพันธ์และเป็ นอันตรายต่อทารกในครรภ์ ได้แก่ เชื้อ HIV ติดต่อทาง
เพศสัมพันธ์หรือเข็มฉีดยา ถ่ายทอดผ่านทางเลือดจากแม่ไปสู่ลูก ไวรัสตับอักเสบบี ติดต่อทาง
เลือด น้ ามูก น้ าลาย อุ จจาระ ปสั สาวะ และทางเพศสัมพันธ์ ลูกที่เกิดมาจะต้องได้รบั การฉีด
38

วัคซีนทันที ภายใน 24 ชัวโมงแรกเกิ


่ ด เชื้อซิฟิลสิ อาจเป็ นอันตรายต่อทารกในครรภ์ ถึงพิการ
และตายได้ เมือ่ ตรวจพบเชือ้ โรคนี้ ต้องรับการรักษาทันที
นอกจากนี้ ส ิ่งแวดล้อ มขณะคลอดก็ส่ งผลต่ อ พัฒนาการของทารกเช่นกัน การ
คลอดเด็กในอดีต นัน้ คลอดด้วยหมอตาแย ต้อ งคลอดเองไม่มอี ุ ปกรณ์ทางการแพทย์ทนั สมัย
เหมือ นทุก วันนี้ มารดาย่อมต้องทรมานด้ว ยความเจ็บปวด เป็ น -ตายเท่ากัน มารดามีโอกาส
เสียชีวติ สูงมาก ปจั จุบนั เวลาทาคลอดยังมีการอนุญาตเปิดโอกาสให้พ่อได้เข้าไปดู บันทึก VDO
ได้ เพื่อ สร้างความเห็นอกเห็นใจระหว่างสามีและภรรยา และทาให้มารดาเกิดความเชื่อ มัน่
อย่างไรก็ดี แม้วทิ ยาการทางการแพทย์จะทันสมัย แต่โอกาสที่เด็กจะคลอดยากก็มอี ยู่เช่นกัน
มารดามีกระดูกเชิงกรานแคบ โดยเฉพาะหญิงมีครรภ์ทส่ี ูงน้อยกว่า145 เซนติเมตร เด็กอยูใ่ นท่า
คลอดผิดปกติ ขณะทีค่ ลอดมีรกพันคอ อาจทาให้ทารกเกิดมามีความผิดปกติ
2. วัยทารกแรกคลอด (Newborn or Neonate)
ประมาณสองสัปดาห์แรกหลังคลอด นับเป็ นช่วงสาคัญสาหรับทารก เพราะเป็ น
ช่วงของการปรับตัว อย่างมากต่อสิง่ แวดล้อมภายนอกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างฉับพลัน จากใน
ครรภ์มารดาสู่โลกภายนอกครรภ์ การปรับตัว เริม่ ตัง้ แต่ การปรับอุณหภูมขิ องร่างกายเพื่อให้
ได้รบั ความอบอุ่น รวมทัง้ ปฏิกริ ยิ าต่างๆ เช่น การหายใจ การกินอาหาร การย่อยอาหาร การ
ขับถ่ าย เป็ นต้น ช่ว งของการปรับตัว ช่ว งแรกๆ ของการปรับตัว น้ าหนักของทารกจะลดลง
เล็กน้อย แต่จะเพิม่ ขึน้ เมื่อทารกปรับตัวเข้ากับสิง่ แวดล้อมได้ ดขี น้ึ ตามลาดับ ปฏิกริ ยิ าสะท้อน
(Reflex) ของทารก เช่น การดูด การกลืน การหายใจ เป็ นต้น ตัง้ แต่ อ ยู่ใ นครรภ์ จึงช่ว ยให้
ปรับตัว ได้ดี แต่ เ ขาไม่อ าจควบคุ มกล้า มเนื้อ ได้ การมองสิ่ง ต่ างๆ ก็มองอย่างไม่ม ีจุดหมาย
จนกระทังอายุ
่ ครบ 7 วัน ร้องไห้ยงั ไม่มนี ้ าตา เพราะต่อมน้ าตายังไม่ทางาน ในแต่ละวันทารก
แรกคลอดนี้จ ะใช้เ วลาส่ ว นใหญ่ ไ ปกับการนอนหลับ จะตื่นเพีย งเล็ก น้ อ ยเท่า นัน้ ( Wade; &
Travis. 1996: 480-483; Lerner et al.: 315-316; Ornstein. 1988: 91-93)
ทารกหลังจากที่ค ลอดออกมาแล้ว ควรให้ร บั ประทานนมแม่ นมแม่เ ป็ นแหล่ ง
อาหารที่สาคัญที่สุดสาหรับทารก ผู้หญิงทีม่ คี รรภ์แทบทุกคนสามารถให้นมบุตรได้ มีเพียงไม่ก่ี
คนเท่านัน้ ทีไ่ ม่มนี มให้บุตร ทารกทีด่ ่มื นมแม่จะมีภมู คิ ุม้ กันทีด่ กี ว่าทารกทีไ่ ม่ได้ด่มื นมแม่ โอกาส
ที่จะติดเชื้อ ก็ลดลงไปด้วย เมื่อ โตขึ้นโอกาสที่จะเป็ นโรคภูมแิ พ้ โรคหอบหืด หรือ โรคอ้วนจะ
น้อยลง ฮอร์โมนออกซิโตซิน (Oxytocin) ซึ่งหลังออกมาขณะคลอดบุ่ ตร ให้นมลูก และขณะมี
เพศสัมพันธ์ มีความสาคัญต่อความสัมพันธ์ระยะยาวระหว่างแม่กบั ลูก ออกซิโตซินยังกระตุน้ ให้
มีการหดรัดตัวของมดลูก ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด ขับน้ าคาวปลา ทาให้มดลูกเข้าอู่เร็ว
และการทีใ่ ห้ลกู ได้กนิ นมแม่นนั ้ ในน้ านมยังมีสารยับยัง้ การสร้างน้านมหากเต้านมมีน้านมค้างอยู่
ในปริมาณมาก เพื่อช่วยป้องกันไม่ให้เต้านมเป็ นอันตราย ดังนัน้ จึงต้องให้น้ านมถูกระบายออก
จากเต้าสม่าเสมอ เพื่อให้สารยับยัง้ ดังกล่าวก็จะถูกระบายออกมาด้วย น้ านมแม่ช่วงหลังคลอด
ทันทีจะเป็นหัวน้ านม (Colostrum) มีสเี หลือง มีสารอาหารและภูมคิ ุม้ กันโรคให้กบั ทารก ทัง้ ยัง
39

ช่วยระบายขี้เทา (Meconium) ซึ่งเป็ นอุจจาระที่ตกค้างอยู่ในลาไส้ทารกแรกเกิด ช่วยป้องกัน


อาการตัวเหลือง (สมชาย ดุรงค์เดช; เทพพนม เมืองแมน; & ทวีศกั ดิ ์ เศรษฐเศรณี. 2527:291-
301) จะเห็นได้ว่า การเลีย้ งลูกด้วยนมแม่ส่งผลดีหลายๆ ด้าน ดังนัน้ จึงควรสนับสนุ นให้เลีย้ งดู
ลูกด้วยนมแม่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ หากได้รบั แรงสนับสนุ นจากสามี ก็จะมีผลทาให้ระยะเวลาการ
เลี้ย งลู ก ด้ว ยนมแม่ ย าวนานขึ้น อีก ด้ ว ย (มานี เจนการศึก ; พรเพ็ญ โชสิว สกุ ล ;& จัน ทิร า
วรรณราชู. 2547) จึงเป็นเหตุผลทีด่ ที ไ่ี ม่อาจจะหลีกเลีย่ งไม่ให้เด็กได้กนิ นมแม่
อย่างไรก็ดี แม้ว่าจะมีแม่จานวนมากทีเ่ ริม่ ต้นเลีย้ งลูกด้วยการให้นมแม่ แต่จะลด
จานวนลงไปมากทีจ่ ะให้นมแม่ตดิ ต่อกันจนครบหกเดือน การกลับไปทางานเป็ นปจั จัยหนึ่งทีท่ า
ให้แม่ต้องเลิกให้นม องค์การที่ให้ความสาคัญกับเรื่องนี้บางแห่งพยายามอานวยความสะดวก
ให้แก่แม่ผกู้ าลังให้นม ด้วยการสร้างห้องทารกในบริษทั ซึง่ พนักงานไม่เพียงแต่ให้นมแก่ลูกได้
เท่านัน้ แต่ยงั สามารถปมและเก็ั๊ บนมสาหรับใช้ยามฉุ กเฉินได้ดว้ ย ทาให้แม่สามารถให้นมลูกได้
นานกว่าทีค่ ดิ ว่าจะทาได้ และยังสามารถกลับมาทางานได้เร็วขึน้ อย่างไรก็ดี มีเพียงองค์การไม่ก่ี
แห่งเท่านัน้ ทีท่ าได้เช่นนี้
แม่บางคนเกิดความเจ็บปวดเนื่องมาจากการให้นมลูกทีเ่ รียกว่า “เต้านมอักเสบ”
ซึง่ เกิดขึน้ เมื่อท่อน้ านมเกิดการอุดตัน จนเกิดอาการบวมและอักเสบขึน้ ได้ วิธกี ารรักษาเต้านม
ั๊
อักเสบทีด่ ที ส่ี ุด คือ ให้นมต่อไปและปมนมออกมาให้ มากทีส่ ุด พยายามให้น้ านมไหลออกมาล้าง
ท่อจนอาการอุดตันหายไป
พฤติ ก รรมทางอารมณ์ ทารกเมื่อ ถู ก สัม ผัส เบาๆ จะเกิด ความพอใจ ดีใ จ
อารมณ์แจ่มใส ซึง่ การกอดเมือ่ ลูกดูดนมหรือการเห่ไกวจะช่วยได้มาก
พฤติ กรรมทางสังคม ทารกจะสื่อสารด้วยการร้องไห้ ซึง่ ลักษณะอาการและเสียง
ของการร้อ งไห้น้ี จ ะบ่ ง บอกถึง ความรู้ส ึก และความต้อ งการแตกต่ า งกัน ไป เช่ น ร้อ งไห้จ้า
หมายถึง หิว หรือถ้าร้องไห้แล้วขยับตัวด้วย หมายถึง รูส้ กึ ไม่สบายตัวเพราะเปี ยกปสั สาวะ เป็ น
ต้น การสัมผัสทารกด้วยความรัก จะทาให้ทารกรับรูไ้ ด้ถงึ ความอ่อนโยน รูส้ กึ ไว้ใจ ปลอดภัย
พฤติ กรรมทางสติ ปัญญา ทารกตอบสนองต่อสิง่ เร้าทีเ่ ข้ามากระตุ้นได้ สังเกตได้
จากเมื่อได้ยนิ เสียงเพลงหรือเสียงเห่กล่อม ทารกจะนิ่งฟงั อย่างตัง้ ใจ หรือ การมองตามของเล่น
ที่ม ีส ีส ัน นอกจากนั น้ ทารกควรได้ร บั สารอาหารครบถ้ ว น อากาศที่บ ริสุ ท ธิ ์ การพัก ผ่ อ นที่
เพียงพอ ซึง่ จะช่วยส่งเสริมพัฒนาการทุกๆ ด้านของทารกให้ดดี ว้ ย
3. วัยทารกตอนปลาย (Babyhood Development)
ทารกตอนปลาย หมายถึง ทารกที่อายุจะอยู่ในช่วง 2 สัปดาห์จนถึง 2 ขวบ เรา
สามารถมองเห็นความเปลีย่ นแปลงทัง้ ทางร่างกายและจิตใจของทารกวัยนี้ได้อย่างชัดเจน ดังนี้
(Lahey. 2001: 336-338)
40

พฤติ กรรมทางกาย โครงสร้า งร่ า งกายและการท าหน้ า ที่ข องอวัย วะต่ า งๆ


โดยเฉพาะระบบกล้ามเนื้ อและประสาทสัมผัส เป็ นไปอย่างรวดเร็วใน 6 เดือนแรก พัฒนาการ
กล้ามเนื้อจะเริม่ จากบริเวณศีรษะ ลาตัว แขน ขา นิ้วมือ ตามลาดับ การเคลื่อนไหวของทารกใน
ช่วงแรกจะเป็ นปฏิกริ ยิ าสะท้อน พออายุ 6 เดือนก็จะค่อยหายไป จากนัน้ ก็จะเป็นการเคลื่อนไหว
ที่มจี ุดมุ่งหมาย ขวบปี แรกน้ าหนั กของทารกจะเพิม่ ตามสัดส่วนของส่วนสูง แต่พอขวบปี ท่ี 2
สัดส่วนของส่วนสูงจะเพิม่ มากกว่าน้ าหนัก ศีรษะจะเจริญรวดเร็วมากใน 2 เดือนแรก แต่พอเข้า
เดือนที่ 6 จะเจริญช้ากว่าลาตัว แขน ขา ส่วนต่างๆ บนใบหน้าเริม่ พัฒนาได้สดั ส่วน โครงสร้าง
กระดูกของทารกวัยนี้ยงั ไม่สมบูรณ์นั ก ส่วนรอยบุ๋มบนกะโหลกศีรษะจะค่อยๆ ปิ ดไป จนอายุ
ประมาณ 2 ปี จะปิดบริบรู ณ์ ฟนั น้ านมจะเริม่ งอกเมื่ออายุ 6-8 เดือน ซึง่ จะทาให้ทารกเจ็บเหงือก
หรือมันเขีย้ ว ทารกอาจกัดนมมารดาได้ จึงควรให้ทารกกัดเล่นจุกนมยางหรือห่วงยางที่สะอาด
แข็งแรง
พฤติ กรรมทางอารมณ์ ทารกแสดงความรักด้ว ยการกอดรัด ทารกจะเริม่ รัก
ตัวเองก่อน แล้วจึงจะพัฒนาไปสู่การรักผูท้ อ่ี ยู่ใกล้ชดิ สิง่ ของ หรือสัตว์เลีย้ ง รูจ้ กั ยิม้ หัวเราะเมื่อ
เกิดความพอใจ เมื่ออายุประมาณ 2 ปี ทารกจะเริม่ รูจ้ กั ยิม้ กับผู้อ่นื หรือหัวเราะร่วมไปกับผู้อ่นื
แต่ถ้าทารกต้องการไม่ได้รบั การตอบสนองในสิง่ ทีต่ ้องการ ทารกจะโกรธและแสดงออกด้วยการ
กิรยิ าต่างๆ เช่น ส่งเสียงร้องกรีด๊ ขว้างปาข้าวของ นอนดิน้ ลงไปกับพืน้ อารมณ์โกรธนี้ถา้ เกิดขึน้
บ่อยครัง้ อาจพัฒนากลายเป็ นคนที่มบี ุคลิกภาพก้าวร้าว ดังนัน้ พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูต้องให้การ
อบรมเลีย้ งดูทเ่ี หมาะสมและทีส่ าคัญต้องไม่แสดงออกทางอารมณ์ทไ่ี ม่ดใี ห้ทารกเห็น เพราะอาจ
เกิดการเลียนแบบ นอกจากนี้ ทารกมักเกิดความกลัวต่อสิง่ ต่างๆ ได้ง่าย เช่น คน สัตว์ สถานที่
ที่แปลกๆ จากที่คุ้นชิน กลัวความมืด กลัวความสูง ซึ่งพฤติกรรมที่แสดงออกเมื่อเกิดอารมณ์
กลัวก็มหี ลายแบบ เช่น ร้องไห้ หันหน้าหนี หลบข้างหลังผูใ้ หญ่ แต่ในขณะเดียวกันความกลัวก็
ทาให้ทารกเกิดความอยากรู้อยากเห็นด้ว ย และเมื่อความกลัวและความโกรธมารวมกันก็จะ
กลายเป็ นความอิจฉาริษยา เช่น อิจฉาน้อง เมื่อพ่อแม่เอาใจน้องเป็นพิเศษ เมือ่ เกิดกรณีน้ขี น้ึ มา
พ่อแม่ต้องให้ความรักความเอาใจใส่ลูกให้มาก โดยสนับสนุ นให้เขาได้มสี มั พันธภาพกับน้องโดย
การให้ เ ล่ น ด้ ว ยกั น หรื อ การรั บ ประทานอาหารร่ ว มกั น พร้ อ มทั ้ง ให้ ก ารเสริ ม แรง
(Reinforcement) แก่พฤติกรรมที่พงึ ปรารถนาต่างๆ เช่น ให้คาชมเชยเมื่อเห็นเขาเล่นกับน้อง
โดยดีหรือจากการทีเ่ ขาช่วยเหลือน้อง เป็นต้น
พฤติ กรรมทางสติ ปัญญา ทารกเรียนรูส้ งิ่ ต่างๆ ได้ดดี ้วยการใช้ประสาทสัมผัส
การเคลื่อนไหว การแสดงอารมณ์ความรูส้ กึ การสื่อความหมาย ทารกยิง่ เจริญวัยขึน้ จะสามารถ
เข้าใจความหมายของคาได้มากขึน้ โดยเฉพาะคาสัน้ ๆ เช่น ไหว้ สวัสดี ยิม้ หยุด อย่า ห้าม ไม่
บ๊ายบาย รวมทัง้ สามารถสื่อสารให้คนอื่นเข้าใจความต้องการของตนได้บา้ ง เช่น หิวข้าวก็จะพูด
ว่าหม่าๆ หรืออยากได้อะไรก็จะมองไปยังสิง่ ทีต่ นต้องการหรือพยายามไขว่าคว้าเอือ้ มมือไปหยิบ
41

อีกทัง้ ทารกยังมีความอยากรูอ้ ยากเห็นต่อสิง่ ต่างๆ ทีอ่ ยู่รอบตัวอย่างมาก ชอบรือ้ ค้น สิง่ ต่างๆ
ซึง่ ในความอยากรูอ้ ยากเห็นนี้ ก็อาจจะมีอุบตั เิ หตุเกิดขึน้ ตามมา เช่น ตกเตียง เดินชนข้าวของ
ล้มคว่า หรือทีร่ า้ ยแรงมาก เช่น หยิบของมีคม นิ้วแหย่ปลักไฟ ๊ แหย่พดั ลม เล่นไฟ ดังนัน้ พ่อแม่
หรือผูเ้ ลีย้ งดูจะต้องระมัดระวังให้มากเพื่อไม่ให้เกิดอันตรายแก่ทารก
จะเห็นได้ว่า ทารกมีพฒั นาการด้านต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และ
ต่อเนื่องดังนัน้ การมีความเข้าใจในเรื่องพัฒนาการของทารกจะทาให้เราสามารถสังเกตความ
เปลี่ย นแปลงของทารกได้เ ป็ น อย่า งดี และเมื่อ พบความผิด ปกติ ก็อ าจจะใช้ว ิธ ีการกระตุ้น
พัฒนาการได้ ในการส่ งเสริมพัฒนาการให้ดีนั ้น สามารถทาได้หลายประการ เช่น การดูแล
สุขภาพร่างกายของทารก ให้การพักผ่อนที่เพียงพอ การฉีดวัคซีนครบถ้วนตามข้อกาหนดของ
โรงพยาบาล การให้นมและอาหารเสริมที่เหมาะสมกับวัย การส่งเสริมให้ทารกได้ใช้ประสาท
สัมผัสต่างๆ เช่น การแขวนโมไบล์สไี ว้ทเ่ี ปล การให้ทารกได้เดิน การเล่นต่อบล็อก การให้หยิบ
จับสิง่ ของเพื่อฝึกกล้ามเนื้อมัดใหญ่มดั เล็ก ตลอดจนส่งเสริมการใช้ภาษาและการได้ยนิ ด้วยการ
ฝึกพูด การเล่านิทานให้ฟงั การเห่กล่อม การสอนให้รอ้ งเพลงและทาท่าทางประกอบ เป็ นต้น

4. วัยเด็ก (Childhood Development)


4.1 วัย เด็ก ตอนต้ น (Early Childhood) เป็ น วัย ที่ม ีอ ายุ ใ นช่ ว ง 2-7 ปี วัย นี้
สามารถใช้อวัยวะต่างๆ ได้มากมาย เข้าใจสิง่ แวดล้อมมากขึน้ เข้าใจการสื่อสาร มีความสามารถ
ในการใช้ภาษา ลักษณะเด่นของเด็กวัยนี้ คือ ความซุกซน อยากรู้อยากเห็น ช่างซักถาม มี
ความคิดสร้างสรรค์ ชอบแสดงความสามารถ พยายามทาความเข้าใจสิง่ แวดล้อม เรียนรู้ท่จี ะ
แสดงอารมณ์ต่อบุคคลรอบข้าง (Lahey. 2001: 339-341)
พฤติ กรรมทางกาย ในวัยนี้เด็กจะมีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างช้าๆ หาก
เทียบกับวัยทารก แต่ถ้าเทียบสัดส่วนกับวัยทารกแล้ว วัยนี้จะแตกต่างจากวัยทารกอย่างชัดเจน
ร่างกายทุกส่วนจะใหญ่ข้นึ แขนขาจะยาวออกไป โครงกระดูกและกล้ามเนื้อแข็งแรงขึน้ ส่วนสูง
และน้ าหนักเพิม่ ขึน้ สม่าเสมอ เด็กจะพยายามทากิจวัตรประจาวันต่างๆ ด้วยตัวเอง เช่น การกิน
ข้าว การอาบน้ า การแต่งตัว หยิบจับสิง่ ของต่างๆ และจะทาได้ไม่ดนี ัก แต่ก็จะพยายามและจะ
ขัดขืนหากมีคนเข้ามาช่วย เด็กจะชอบวิง่ กระโดด ห้อยโหน และเล่นกับเพื่อนอย่างไม่เหน็ด
เหนื่อย การเล่นกับเพื่อนนี้จะช่วยพัฒนาทางด้านอารมณ์และสังคมให้กบั เด็กได้เป็ นอย่างดี
พฤติ กรรมทางอารมณ์ เด็กวัยนี้มกั จะแสดงออกทางอารมณ์ออกมาอย่าง
เปิดเผยชัดเจน เด็กจะเอาแต่ใจตนเอง ขีห้ งุดหงิด ขีโ้ มโหเมื่อไม่ได้รบั การตอบสนองตามความ
ต้องการ จะแสดงออกโดยการลงไปนอนดิน้ ร้องกรีด๊ ขว้างปาข้าวของ แต่เด็กจะดีใจเมื่อตนเอง
ได้รบั การตอบสนองทันเวลา เด็กจะรักคนทีต่ อบสนองความต้องการของเขา อาจแสดงออกด้วย
การกอดจูบ แต่จะรูส้ กึ อิจฉาหากรูส้ กึ ว่าตนเองด้อยกว่าคนอื่นหรือถูกแบ่ งปนั ความรักไป เวลา
42

ผูใ้ หญ่ให้ทาอะไรเด็กก็มกั จะชอบปฏิเสธ แต่ถา้ ได้ทาแล้วประสบความสาเร็จก็มกั จะเกิดความพึง


พอใจ แสดงออกด้วยการยิม้ หัวเราะ สนุ กสนาน อย่างไรก็ดี การแสดงออกทางลบจะลดลงไป
เมือ่ เด็กได้เข้ากลุ่มเพื่อน
พฤติ กรรมทางสังคม เด็กจะชอบเข้าสังคมได้ไปพบปะพูดคุยเล่นกับเพื่อน
แต่ก็จะเป็ นการเล่นอย่างอิสระไม่มกี ฎเกณฑ์ บางครัง้ ก็เป็ นลักษณะที่ต่างคนต่างเล่นแต่อยู่ใน
บริเวณเดียวกัน ชอบเล่นบทบาทสมมติ ดังนัน้ พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดู ควรสนับสนุ นให้เด็กได้พฒ ั นา
พฤติกรรมการมีน้ าใจ ด้วยการแบ่งปนั ผูอ้ ่นื เปิ ดโอกาสให้คนอื่นได้เล่นบ้าง ร่วมมือกับคนอื่นใน
การเล่น ตลอดจนการให้เด็กรูจ้ กั เรียนรูม้ ารยาททางสังคมต่างๆ เช่น การไหว้ การทักทายพูดคุย
พฤติ ก รรมทางสติ ปั ญ ญา การพัฒ นาทางสติ ป ญ ั ญาจะสัง เกตได้ จ าก
ความสามารถในการเล่ น การจดจ าบอกชื่อ สิ่ง ของหรือ บุ ค คลได้อ ย่า งถู ก ต้อ ง เด็ก จะชอบ
แก้ ป ญั หาตามความคิด ของตนเอง ลองผิด ลองถู ก สามารถบอกความแตกต่ า งของสิ่ง ของ
บางอย่างได้บ้าง ใช้ภาษาสื่อสารได้ดีข้นึ และมีการนาเอาความรู้เดิมที่มอี ยู่แล้วมาเชื่อมโยง
สัม พัน ธ์ ก ัน แม้ว่ า จะไม่ ถู ก ต้ อ งก็ ต าม เช่ น เด็ก เคยเห็น น้ า ท่ ว มบ้า น เขาเข้า ใจและเรีย ก
สภาพการณ์ลกั ษณะนี้ว่า “น้าท่วม” และพอไปเจอสระน้ าเขาก็ยงั จะเรียกว่า “น้าท่วม” ตามทีเ่ ขา
เคยรับรู้ ดังนัน้ หากเด็กได้รบั การส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปญั ญาทีถ่ ูกต้องและเหมาะสม ก็จะ
ช่วยพัฒนาเด็กได้มาก
จะเห็ น ได้ ว่ า นั บ ตัง้ แต่ แ รกเกิ ด จนถึ ง 6 ปี เป็ น ช่ ว งที่ม ีอ ัต ราของการ
พัฒนาการสูงจึงเป็นพัฒนาการทุกๆ ด้านของมนุษย์ทงั ้ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปญั ญาจะ
เจริญมากที่สุดในช่วงนี้ นับว่าเป็ นโอกาสทองสาหรับการพัฒนา นักจิตวิทยาและนักการศึกษา
ทัวโลกต่
่ างให้ความสาคัญ และให้ความสนใจด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย (0-6 ปี) ด้วยความเชื่อ
ว่ากระบวนการเรียนรูใ้ นช่วงปฐมวัยมีผลกระทบในระยะยาวต่อคุณภาพชีวติ ของคน เพราะเป็ น
ช่วงที่ระบบประสาทและสมองกาลังสร้างโครงสร้างที่มกี ารเจริญเติบโตในอัตราสูงสุ ดถึงกว่า
ร้อยละ 80 ของวัยผู้ใหญ่ (เรืองศักดิ ์ ปิ่ นประทีป. 2547: 1) ดังนัน้ เราจึงควรให้ความสาคัญใน
การอบรมเลี้ยงดูเด็กในวัยนี้ รวมทัง้ จัดสิง่ แวดล้อมให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก ถูกต้อง
ตามหลัก จิต วิท ยาและหลัก วิช าการอื่น ที่เ กี่ย วข้อ ง ก็จ ะเป็ น พื้น ฐานส าหรับ ต่ อ การพัฒ นา
สติปญั ญา อารมณ์ สังคม บุคลิกภาพ และคุณธรรมจริยธรรมในช่วงอื่น ๆ ของชีวติ ต่อไป

4.2 วัยเด็กตอนปลาย (Late Childhood)


วัยนี้มชี ่วงอายุ 7 – 11 ปี เด็กมักจะให้ความสัมพันธ์กบั เพื่อนฝูง การสร้าง
มิตรภาพ ชอบใช้ชวี ติ อยู่นอกบ้าน เริม่ เรียนรูค้ ่านิยม กฎเกณฑ์ทางสังคม จากกลุ่มเพื่อนและ
บุคคลรอบข้าง อีกทัง้ ยังรูจ้ กั พัฒนาจากการยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง ไปสู่การรูจ้ กั ตนเอง การมอง
ตนเองตามความเป็นจริง และการยอมรับผูอ้ ่นื มากขึน้ (Lahey. 2001: 341)
43

พฤติ กรรมทางกาย
การเจริญเติบโตขึน้ ทางร่างกาย น้ าหนัก ส่วนสูงระบบกล้ามเนื้อ ในวัยนี้ม ี
การเปลี่ยนแปลงอย่างสม่ าเสมอ รวมทัง้ อวัยวะภายในพัฒนาเกือบทุกระบบ ส่ ว นสูงพัฒนา
มากกว่าส่วนกว้าง โดยจะสูงเพิม่ ขึน้ ประมาณ 2-3 นิ้วต่อปี เด็กผู้หญิงจะมีการเจริญเติบโตและ
วุฒภิ าวะเร็วกว่าเด็กชาย ในช่วงอายุประมาณ 11 – 12 ปี เป็ นช่วงทีเ่ ตรียมตัวเข้าสู่วยั รุ่น ต่อม
ต่าง ๆ ของร่างกายเริม่ ทางานเต็มที่ สัดส่วนร่างกายและโครงสร้างกระดูกมีการเปลีย่ นแปลง
พฤติ กรรมทางสติ ปัญญา
เด็กจะเริม่ รูจ้ กั คิดวิเคราะห์และใช้เหตุผลในการแก้ปญั หาได้มากขึน้ มีความ
สนใจใฝร่ ู้ ชอบการแสวงหาความรูใ้ หม่ๆ มีความสนใจในเรือ่ งธรรมชาติ สัตว์เลีย้ ง การท่องเทีย่ ว
การดู ภ าพยนตร์ ดู ก าร์ ตู น มีค วามคิด สร้ า งสรรค์ แ ปลกใหม่ รู้ ส ึ ก เชื่อ มัน่ และภู ม ิใ จใน
ความสามารถของตนเอง โดยทัวไปเด็ ่ กผู้ชายจะสนใจคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การพิสูจน์
ทดลอง ผูห้ ญิงจะสนใจเกีย่ วกับสิง่ ทีใ่ ห้ความรูส้ กึ อ่อนโยนประโลมใจ
พฤติ กรรมทางอารมณ์
เด็กวัยนี้มคี วามละเอียดอ่อนทางอารมณ์มากขึน้ สามารถเข้าใจอารมณ์และ
ความรูส้ กึ ของตนเองและผูอ้ ่นื ได้ดี รูจ้ กั ควบคุม อารมณ์ของตนเองและแสดงพฤติกรรมออกไปได้
อย่างเหมาะสมมากขึ้น ไม่โกรธง่าย หรือหากโกรธก็จะไม่ร้องกรี๊ด หรือ ลงไปนอนดิ้นกับพื้น
เหมือนตอนเป็นเด็กเล็ก ๆ แต่จะใช้วธิ เี ก็บความโกรธไว้ในใจ หรือไม่กห็ ลีกหนีจากสถานการณ์ท่ี
ไม่พอใจ จะระมัดระวังในการกระทาทีจ่ ะทาให้ผอู้ ่นื เสียใจหรือกระทบกระเทือนใจมากขึน้ รูจ้ กั มี
ความรักมีน้าใจช่วยเหลือผูอ้ ่นื รวมทัง้ ต้องการให้ครอบครัวและผูอ้ ่นื แสดงความรักต่อตน จะรูส้ กึ
กลัวการไม่มเี พื่อนและไม่เป็ นที่ยอมรับของกลุ่ม ไม่ชอบการแข่งขัน ไม่อยากเด่นหรือด้อยกว่า
ใคร ไม่ชอบการทีต่ นเองถูกนาไปเปรียบเทียบกับผูอ้ ่นื อีกทัง้ ช่วงปลายของวัยนี้จะเริม่ วิตกกังวล
เกีย่ วกับรูปร่างหน้าตา เพราะต้องการให้ตนดูดสี วยงาม
พฤติ กรรมทางสังคม
เด็กจะให้ความสาคัญกับสัมพันธภาพระหว่างบุคคลทัง้ คนที่ใกล้ชดิ หรือคน
อื่น ๆ ทัง้ วัย เดีย วกัน และต่ า งวัย เด็ก มัก จะหาเพื่อ นที่ม ีค วามคล้ า ยคลึ ง กับ ตนทัง้ ในด้ า น
บุค ลิกภาพและความต้องการ มักยึดมันในกลุ ่ ่ มเพื่อน มีค วามผูกพันและเป็ นเจ้าของกลุ่ ม มี
พฤติก รรมและการแต่ ง กายคล้า ยกลุ่ ม มีสงั คมเฉพาะกลุ่ ม เพื่อ นเพศเดีย วกัน การส่ ง เสริม
พัฒนาการของเด็กวัยนี้ ควรแนะนาให้เด็กรู้จกั ใช้เวลาว่างให้ประโยชน์ ต่อสุขภาพ เช่น ออก
กาลังกาย เล่นกีฬา เล่นดนตรี รวมทัง้ รับประทานอาหารที่มปี ระโยชน์ ครบทุกหมู่ถูกต้องตาม
หลัก โภชนาการ แนะนาให้เ ด็ก หาวิธ ีการที่จะผ่ อ นคลายความตึงเครียดโดยหางานอดิเ รกที่
ตนเองชื่นชอบทา รวมทัง้ ฝึกให้เด็กแสดงพฤติกรรมกับผูอ้ ่นื อย่างเหมาะสม รูจ้ กั การเสียสละเพื่อ
คนอื่น การเล่นกับผูอ้ ่นื ต้องรูแ้ พ้ รูช้ นะ รูอ้ ภัย และไม่ให้เด็กคาดหวังอะไรจากคนอื่นจนเกินไป
44

5. วัยรุ่น (Adolescence)
วัยรุ่นอายุจะอยู่ในช่วงประมาณ 12 – 19 ปี เป็ นวัยทีฮ่ อร์โมนมีบทบาทสาคัญกับ
พัฒนาการทางสมองและการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ความเป็ นวัยรุ่นจะถูกกาหนดออกมาใน
ช่วงเวลาที่มคี วามเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมน การเปลี่ยนแปลงทาง
โครงสร้าง การเปลีย่ นแปลงเกีย่ วกับลักษณะของยีนภายในเซลล์ต่างๆ นันคื ่ อ ช่วงเวลาทีม่ คี วาม
วุ่ น วายทางชี ว ภาพเป็ น อย่ า งมาก และสมองส่ ว นหน้ า ก็ ต้ อ งต่ อ สู้ เ พื่ อ ปรับ ตั ว เข้ า กั บ
สภาพแวดล้อ มนัน้ ในการที่จะต้องเผชิญ กับการเพิม่ ขึ้นของสิ่งที่กล่าวมานี้ ซึ่งเป็ นเรื่องยาก
พอสมควรสาหรับสมองส่วนหน้าทีเ่ ป็นปกติ ทีจ่ ะต้องผ่านพ้นอุปสรรคเหล่านี้เพื่อนาไปสู่การเป็ น
วัยรุ่น สมองส่ วนหน้ า คือ ส่ วนของสมองที่ทาให้เ รามีการวางแผนอนาคต และเกี่ยวข้องกับ
ลักษณะทางจิตของเรา เช่น ความรับผิดชอบตนเอง การตัดสินการกระทา การควบคุมตนเอง
เป็ นต้น สมองส่วนนี้ต้องพัฒนาสิง่ สาคัญหลักเหล่านี้ เพื่อที่จะเป็ นก้าวสาคัญในการที่จะพัฒนา
เติบโตไปเป็ นวัยรุ่นที่มคี ุณภาพ จากการทีส่ มองส่วนทีร่ บั ผิดชอบเกี่ยวกับเหตุผล การตัดสินใจ
และการควบคุมตนเองกาลังพัฒนาอยู่ วัยรุน่ จึงเป็ นช่วงของความสับสนวุ่นวาย สมองของวัยรุ่น
ถึงจะเริม่ สับสนวุ่นวาย (Lahey. 2001: 343-346; Kalat. 1990: 226-229)
พฤติ กรรมทางกาย
ในช่วงวัยเด็กทัง้ เด็กชายและเด็กหญิงจะมีความสูงเพิม่ ขึน้ ในแต่ละปี ดว้ ยอัตราที่
เท่ากัน แต่เมื่อเริม่ ก้า วเข้าสู่วยั รุ่น ตัง้ แต่ 10 ปี ข้นึ ไป ส่วนสูงของเด็กผู้หญิงจะเพิม่ ในอัตราที่
มากกว่าเด็กชาย แต่หลังจากอายุ 12 ปีผ่านไป ปริมาณความสูงทีเ่ พิม่ ขึน้ ของผูห้ ญิงจะมีอตั ราที่
ลดลง แต่ในทางตรงกันข้ามเด็กผูช้ ายจะเพิม่ ขึน้ ในอัตราที่สูงกว่า จนกระทังอายุ ่ ประมาณ 14 ปี
เป็ นต้นไป อัต ราการเพิ่มส่ ว นสูงของเด็กชายก็จะค่ อ ย ๆ ลดลงเช่นกัน (Tanner et al. 1966
citing Lahey. 2001: 344) ดังกราฟ

ความสูงที่เพิ่ มขึ้น (เซนติ เมตร)

อายุ (ปี )
45

สมองส่วนไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) ทาหน้ าที่เป็ นศูนย์ควบคุมของระบบ


ต่อไร้ท่อและระบบประสาท เมื่อเข้าสู่วยั รุ่นไฮโปทาลามัสจะเริม่ ผลิตฮอร์โมนชนิดใหม่ทม่ี ชี ่อื ว่า
โกนาโดโทรฟิ น (Gonadotrophins) ฮอร์โมนนี้จะไปกระตุ้นอัณฑะของเด็กชายให้สร้างฮอร์โมน
เพศชายที่ม ีช่ ือ ว่ า เทสโทสเตอโรน (Testosterone) และกระตุ้ น รัง ไข่ข องเด็ก หญิง ให้ส ร้า ง
ฮอร์โมนเพศหญิงทีม่ ชี ่อื ว่าเอสโตรเจน (Estrogen) ฮอร์โมนเพศทีส่ ูงขึน้ จะกระตุ้นร่างกายให้เกิด
การเปลีย่ นแปลงของลักษณะทางเพศ ซึง่ จะส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมการสนใจเพศตรงข้าม
วัยรุ่นเป็ นวัยที่พร้อมกับการเจริญพันธุ์ มีพฒ
ั นาการทางเพศที่ชดั เจน ลักษณะ
ทางเพศปรากฏเด่นชัดเช่นเดียวกับผูใ้ หญ่ สะโพกและทรวงอกจะขยายออก มีขนขึน้ ทีร่ กั แร้และ
อวัยวะเพศ ส่วนเด็กชายไหล่จะกว้างขึน้ มือเท้าใหญ่ขน้ึ มีขนขึน้ ทีร่ กั แร้และบริเวณอวัยวะเพศ
มีการหลังน ่ ้ าอสุจเิ มื่ออายุ 12-16 ปี ทัง้ เพศชายและหญิงเริม่ มีความสนใจในรูปร่างหน้าตาและ
เพศตรงข้าม ระดับฮอร์โมนทางเพศที่สูงขึ้น จะส่งผลต่อพฤติกรรมเป็ นอย่างมาก เด็กไม่ว่าจะ
หญิงหรือชายจะสนใจเกี่ยวกับรูปร่างหน้าตาของตนเองมากขึน้ เรื่องเล็กๆ ในสายตาของผูใ้ หญ่
อาจเป็ นเรื่องใหญ่ของวัยรุ่น เช่น เรื่องสิวหรือน้ าหนักที่เพิม่ ขึน้ เด็กหญิงจะเริม่ มีประจาเดือน
และเต้านม เด็กชายจะมีการแข็งตัวของอวัยวะเพศบ่อยขึน้ รูจ้ กั สาเร็จความใคร่ดว้ ยตนเอง หรือ
มีการฝนั เปี ยกซึง่ เป็ นการหลังน ่ ้ ากามในขณะทีน่ อนหลับ อย่างไรก็ด ี เด็กมักจะชอบทากิจกรรมที่
ตนชื่นชอบหลายอย่าง เช่น เล่นกีฬา เล่นดนตรี เลี้ยงสัตว์ ทางานอดิเรกต่างๆ ซึ่งนอกจากจะ
ช่วยทาให้มพี ฒ ั นาการทางกายทีด่ แี ล้ว ยังช่วยลดความวิตกกังวล และความหมกมุน่ ทีเ่ ป็นผลมา
จากฮอร์โมนทางเพศได้ดดี ว้ ย
พฤติ กรรมทางสติ ปัญญา
วัยรุน่ มีความคิดแบบนามธรรม (Abstract Thinking) สูงขึน้ กว่าเมือ่ ก่อนทีม่ กั เป็น
แบบรูปธรรม สามารถเข้าใจในสิง่ ทีม่ คี วามซับซ้อนได้ดี แต่มกั จะนาเอาแนวความคิดใดความคิด
หนึ่งมาปฏิบตั เิ ป็ นพักๆ แล้วก็หมดความสนใจหรือไปสนใจสิง่ ใหม่ จนผูใ้ หญ่อาจมีความรูส้ กึ ว่า
วัยรุน่ ไม่สนใจอะไรอย่างจริงจัง
พฤติ กรรมทางอารมณ์
ความเป็ นวัยรุ่น คือ ช่วงเวลาของการมีอสิ รภาพทีม่ ากขึน้ ขณะทีส่ มองส่วนหน้า
โตเต็มที่ วัยรุ่นก็ออกสารวจโลกด้วยตัวของเขาเอง แต่ความรับผิดชอบและความมีเหตุผลของ
วัยรุ่นยังไม่พฒ ั นาอย่างเต็มที่ จึงทาให้มคี วามเสี่ยงต่ างๆ อาทิเช่น การใช้ส ารเสพติด การมี
เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร อบายมุขและสิง่ มอมเมาต่างๆ โดยเฉพาะวัยรุ่นในปจั จุบนั ทีต่ ้องอยู่
ท่ามกลางสิง่ แวดล้อมทีเ่ ต็มไปด้วยปญั หาเหล่านี้กม็ คี วามเสีย่ งมากขึน้
วัยรุ่นมักมีความเป็ นตัวของตัวเอง ไม่ยอมทาตามคาสังของผู ่ ้ปกครองอีกต่อไป และ
บางครัง้ ก็ม กั จะมองว่ า พ่ อ แม่ชอบมองเขาเป็ น เด็ก เล็ก ๆ วัย รุ่น ตอนปลายจะยิ่ง มีอ ารมณ์ ที่
ค่อนข้างสับสน แต่ เขาก็ไม่อาจบอกได้ชดั เจนว่ารู้สกึ อย่างไร อาจเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
รุนแรงและควบคุมอารมณ์ตนเองได้ไม่ดนี กั รูส้ กึ เบื่ออะไรได้งา่ ยแม้แต่สงิ่ ทีเ่ คยชอบ บางคนมักมี
46

อารมณ์เหงาเศร้า บางคนมีความตื่นเต้นอยากรู้ บางคนสับสนวุ่นวาย ซึ่งอารมณ์ท่กี ล่าวมานี้


อาจทาให้เสีย่ งต่อการใช้สารเสพติด การเล่นการพนัน การคบเพื่อนทีไ่ ม่ดี เทีย่ วกลางคืน มัวสุ ่ ม
ทางเพศได้ อารมณ์ทางเพศที่มสี ูงขึน้ อาจทาให้เด็กแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมหลายอย่าง
เช่น เด็กผู้ชายอาจไปเที่ยวโสเภณี การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร เพื่อสนองความต้องการ
ทางเพศและความอยากรูซ้ ่งึ อาจทาให้เกิดปญั หาที่ตามมามากมาย เช่น กามโรค ติดเชื้อ HIV
การตัง้ ครรภ์
พฤติ กรรมทางสังคม
ในปจั จุบนั มนุ ษย์ต้องเผชิญกับโลกยุคโลกาภิวตั น์ ซึง่ เป็ นโลกยุคข้อมูลข่าวสารที่
หลังไหลเข้
่ ามาอย่างมากมายและมีการแผ่ขยายอย่างรวดเร็ว กระแสวัตถุ นิยมที่หลังไหลเข้ ่ ามา
ทาให้มนุษย์ตอ้ งเผชิญกับทางเลือกมากมาย สับสน และยัวยุ ่ ให้เกิดการบริโภคเพื่อผลประโยชน์
ทางการค้า หากเราไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพสังคมที่เปลี่ยนไปได้ เมื่อประสบปญั หา
เข้ามาในชีวติ ย่อมไม่สามารถหาหนทางแก้ไขได้ หรืออาจใช้ทางออกทีผ่ ดิ ๆ ในการแก้ไขปญั หา
ดังเช่น ในเด็กวัยรุน่ วัยพายุบุแคม “Stress and Storm” ปญั หาต่างๆ ของวัยรุ่นทีพ่ บเห็นกันอยู่
เสมอ คือ การเสพย์ยาเสพติด การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การก่อเหตุทะเลาะวิวาท การ
ขายบริการทางเพศเพื่อให้ได้เงินมาสนองความหรูหราฟุ้ งเฟ้อ หรือการตัดสินใจฆ่าตัวตายเพื่อ
หลีกหนีปญั หา ซึ่งเป็ นสิง่ ที่สะท้อนให้เห็นว่าเด็กวัยรุ่นเหล่านัน้ ไม่สามารถจัดการกับปญั หาได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
วัยรุ่นจะหาเอกลักษณ์ (Identity) ให้กบั ตนเอง เช่น เอกลักษณ์ทางเพศ โดยมี
ความเชื่อ มันในเพศตนเองอย่
่ า งสมบู ร ณ์ แ บบ เอกลัก ษณ์ ใ นกลุ่ ม เพื่ อ นและสัง คมโดยการ
พยายามแสดงความเป็ นผู้ใหญ่โดยการตัดสินใจด้วยตนเองในบางเรื่อง แต่บางคนก็ขาดความ
มันใจและถดถอยกลั
่ บมาทาตัวเหมือนเป็ นเด็กอีกครัง้ วัยรุ่นมีการรวมกลุ่มกันทากิจกรรมด้วย
อุดมการณ์บางอย่างตามที่ตนเห็นว่าดี ซึ่งวัยรุ่นบางคนก็เข้าแก๊งค์ชกั ชวนกันทาเรื่ องไม่ดี เช่น
หนีออกจากบ้าน ตัง้ แก๊ งค์กวนเมือง เสพย์ยาเสพติด สร้างปญั หาให้กบั สังคมได้ ส่วนการคบ
เพื่อนต่างเพศในลักษณะที่เป็ นความรักจะเห็นได้ชดั เจนมากขึน้ เริม่ มีการนัดหมายไปเทีย่ ว ซึ่ง
ผูใ้ หญ่ควรให้ขอ้ คิดในการคบหากัน การวางตัวให้เหมาะสมตามวัฒนธรรม โดยเฉพาะเด็กผูห้ ญิง
อาจจะเกิดความเสียหายได้ ถ้าไม่รกั นวลสงวนตัว
บุคคลเมื่อก้าวเข้าสู่ “วัยรุ่น” จุดเชื่อมต่อของชีวติ ระหว่างวัยเด็กกับวัยผูใ้ หญ่ เป็ น
ช่วงชีวติ ทีม่ คี วามเปลีย่ นแปลงอย่างมากในทุกๆ ด้าน ดังที่ อีรคิ สัน (Erik H. Erikson)ได้อธิบาย
ในทฤษฎีพ ฒ ั นาการทางจิตสังคมไว้ว่า ขัน้ พัฒนาการของวัยรุ่น (อายุ 12-19 ปี ) จะอยู่ในขัน้
เข้าใจในเอกลักษณ์แห่งตนกับความรูส้ กึ สับสนในเอกลักษณ์และบทบาทแห่งตน (Identity VS
Identity Confusion) ระยะนี้จะมีความเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วเทียบเท่าหรือใกล้เคียงกับผูใ้ หญ่
ตัง้ แต่ร่างกายที่เจริญเติบโต สติปญั ญาที่ส่งผลต่ อการรับรู้และการรู้คดิ เปลี่ยนจากการพึ่งพา
ผูใ้ หญ่ ไปเป็นการพึง่ พาตนเองมากขึน้ ต้องการอิสระ ไม่ชอบคล้อยตามผูใ้ หญ่เหมือนตอนทีเ่ ป็ น
47

เด็ก ชอบเรียนรู้ล องทาสิ่งต่างๆ ด้ว ยตนเอง ดังนัน้ หากวัยรุ่นได้ค้นพบตนเองและประเมิน


ตนเองได้ถูกต้อง รูว้ ่าตนเองต้องการอะไร มีความสามารถอย่างไร จะดาเนินชีวติ อย่างไรต่อไป
ในอนาคต จะเลือกประกอบอาชีพอะไร แสดงว่าเขาเข้าใจในเอกลักษณ์แห่งตน แต่ถ้าวัยรุ่นคน
ใดทาตามนี้ไม่ได้ เกิดความไม่แน่ ใจในตนเองว่าควรกระทาสิง่ ใดที่ดแี ละเหมาะสมกับตน ไม่
สามารถประเมินตนเองได้อย่างถูกต้อง แสดงว่าเขารูส้ กึ สับสนในเอกลักษณ์และบทบาทของตน
ซึง่ จะส่งผลเมือ่ เขาเข้าสู่วยั อื่นๆ ทีต่ ามมาด้วย (Lloyd. 1985: 122-129) ดังนัน้ วัยรุน่ จึงเป็ นช่วง
หัวเลี้ยวหัวต่อของชีวติ โอกาสที่จะประสบความสาเร็จหรือพบกับความล้มเหลวเป็ นไปได้อยู่
เสมอ โอกาสหรือความพลิกผันในชีวติ ของวัยรุ่นไม่ว่าจะเป็ นด้านบวกหรือลบ ส่วนหนึ่งมาจาก
การตัดสินใจเลือกศึกษาเล่าเรียนเพื่อหาความรู้มาประกอบอาชีพ ซึ่ง ฮาวิกเฮิสท์ (Robert J.
Havighurst) ได้อ ธิบ ายว่ า ภาระงานพัฒ นาการ (Developmental Task) ที่ส าคัญ ของวัย รุ่ น
ประการหนึ่ง คือ วัยรุ่นต้องสร้างจุดมุ่งหมายทางอาชีพในวัยผูใ้ หญ่ได้ พยายามหาคาตอบให้ได้
ว่าในอนาคตจะเป็ นอะไร เขาต้อ งการประกอบอาชีพอะไร ควรจะวางแผนชีว ิต อย่างไร ตัง้
จุดมุ่งหมายในอาชีพไว้อย่างไร และทาอย่างไรเขาจึงจะได้ประกอบอาชีพทีเ่ ป็ นความใฝ่ฝนั ของ
เขานัน้ (Lloyd. 1985: 24-26) วัย รุ่น หากสามารถปฏิบ ัติภ ารกิจ พัฒ นาการ (Developmental
Task) ได้ดี วัยรุ่นจะเริม่ มีเอกลักษณ์ในระดับหนึ่ง พร้อมทีจ่ ะรับผิดชอบตนเองได้ ไม่มคี วามรูส้ กึ
อยากแยกตัวออกจากบิดามารดาอีกแล้ว แต่จะยิง่ มีความรูส้ กึ ผูกพันที่ดตี ่อกันมากขึน้ และรูส้ กึ
ว่าพร้อมที่จะดูแลบิดามารดาได้ สามารถมีความรักกับเพื่อนต่างเพศได้อย่างเหมาะสม และมี
ความคิดทีจ่ ะสร้างครอบครัวได้

6. วัยผูใ้ หญ่ตอนต้น (Early Adulthood)


วัย นี้ อ ายุ ป ระมาณ 20 – 40 ปี บุ ค คลเมื่อ ปรับ จากวัย รุ่ น เข้า สู่ ว ัย นี้ จะมีก าร
เปลีย่ นแปลงบทบาทเนื่องจากมีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบมากขึน้ โดยสาเร็จการศึกษา มีอาชีพ
ประจา บางคนแต่งงานและมีบทบาทเป็นสามีภรรยา หรือบิดามารดา เป็นต้น (Katat. 1990:230-
231; Coon & Mitterer. 2007:138)
พฤติ กรรมทางกาย
วัยผูใ้ หญ่ตอนต้นมีพฒ ั นาการทางกายอย่างเต็มที่ ทัง้ ส่วนสูง กล้ามเนื้อ เพศชาย
จะมีไ หล่กว้าง มีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ มากขึ้น เพศหญิงเต้านมและสะโพกมีการเจริญ
เต็มที่ ในวัยนี้ร่างกายจะมีพลัง มีความคล่องแคล่วว่องไว การรับรู้โดยประสาทสัมผัสมีความ
สมบูรณ์เต็มที่
พฤติ กรรมทางสติ ปัญญา
วัยนี้จะมีความคิดในรูปแบบที่เป็ นนามธรรมและเป็ นระบบมากขึน้ รูจ้ กั เปิดกว้ าง
และยืดหยุน่ มากขึน้ รูจ้ กั ใช้ประสบการณ์ทไ่ี ด้เรียนรูม้ าปรับใช้ให้เข้ากับสถานการณ์ต่างๆ ได้ดี มี
48

ความคิด สร้า งสรรค์ท่ีจ ะพัฒ นางานของตนให้ด ีข้ึน รวมทัง้ พยายามค้น หาป ญ ั หาที่ท้า ทาย
ความสามารถของตนด้วย
พฤติ กรรมทางอารมณ์
วัยผูใ้ หญ่ตอนต้นจะสามารถควบคุมอารมณ์ได้ดี เพราะมีความมันคงทางจิ
่ ตใจสูง
กว่าวัยรุ่น รูจ้ กั การเอาใจเขามาใส่ใจเรา ยอมรับตนเองและผูอ้ ่นื ได้ดขี น้ึ และแสดงพฤติกรรมอย่าง
สมเหตุสมผลมากขึน้ อารมณ์รกั ก็มหี ลายรูปแบบและเริม่ ปรารถนาทีจ่ ะใช้ชวี ติ คู่
พฤติ กรรมทางสังคม
บุคคลจะพัฒนาความรักความผูกพัน รวมทัง้ การแสวงหามิตรภาพที่สนิทสนม
มันคง
่ มีความสัมพันธ์กนั อย่างไว้เนื้อเชื่อใจ นับถือซึง่ กันและกัน แต่จานวนสมาชิกในกลุ่มเพื่อน
จะลดลง แต่เพื่อนแท้ยงั คงอยู่และผูกพันกันมากขึน้ และมักเป็ นเพศเดียวกัน เพราะบุคคลในวัยนี้
จะมีค วามสัม พันธ์ก ับ ครอบครัว เพิ่มขึ้น เนื่อ งจากเริม่ ใช้ชีว ิ ต ครอบครัว กับคู่ข องตนมากขึ้น
อย่างไรก็ดี ในการใช้ชวี ติ คู่ช่วงแรกๆ อาจจะต้องมีการปรับตัวอย่างมาก จนเมื่อเวลาผ่านไป
ระยะหนึ่ ง จนกระทัง่ ปรับ ตัว ได้ ดี มีค วามรัก ความเอาใจใส่ กัน มีค วามอดทนพร้อ มที่จ ะ
ประคับประคองชีวติ คู่ให้เป็ นไปอย่างราบรื่น ชีวติ คู่ก็จะมีความสุขและส่ งผลต่อการใช้ชวี ติ ด้าน
อื่นๆ ให้มคี วามสุขตามไปด้วย และต่อมาหากมีบุตรก็จะต้องปรับบทบาทครัง้ ใหม่ เพราะต้อง
เป็ นพ่อและแม่ แม่จะมีบทบาทต่อการเลีย้ งดูลูกมากโดยเฉพาะแม่ทต่ี ้องทางานนอกบ้านไปด้วย
ดังนัน้ พ่อจะต้องมีทาหน้าทีเ่ ป็ นผูช้ ่วยแม่ในการเลี้ยงดูลูกด้วย จะช่วยเสริมสร้างกาลังใจให้กบั
แม่ได้มาก และทีส่ าคัญสามีภรรยาจะได้มกี ารเรียนรูค้ วามรักทีย่ งิ่ ใหญ่ในอีกรูปแบบหนึ่งเพิม่ ขึน้
ในอดีตผู้ชายจะมีบทบาทในการทางานหารายได้ให้กบั ครอบครัว ส่วนผู้หญิงจะ
เป็ นแม่บา้ นมีหน้าทีใ่ นการดูแลปรนนิบตั สิ ามีและบุตร รวมทัง้ จัดการกับงานบ้านให้เป็ นระเบียบ
เรียบร้อย แต่สงั คมในปจั จุบนั ผูห้ ญิงออกไปทางานนอกบ้านเช่นเดียวกับผูช้ าย บทบาทหน้าทีใ่ น
การเป็ นแม่บ้านดังเช่นในอดีตก็ดูเ หมือนจะลดน้ อยลงไป แต่ผู้หญิงบางคนก็ส ามารถบริหาร
จัดการชีวติ ได้ดแี ละทาหน้าทีท่ งั ้ 2 อย่างได้อย่างไม่ขาดตกบกพร่อง ขณะทีบ่ างคนเรื่ องงานกับ
ครอบครัวดูเหมือนว่าจะสร้างปญั หาและเกิดความขัดแย้งได้ไม่น้อย มีผลการวิจยั ทีส่ ร้างความ
ประหลาดใจและมีป ระเด็น ที่น่ า สนใจให้ต้ อ งขบคิด โดยผลการวิจ ัย ได้พ บว่ า ผู้ห ญิง ที่ใ ห้
ความสาคัญกับอาชีพมากกว่าครอบครัว มีแนวโน้ มที่จะมีปญั หาในชีวติ สมรสน้ อยกว่าผูห้ ญิงที่
อยู่เป็ นแม่บา้ นอย่างเดียว แทนทีจ่ ะเป็ นสาเหตุของการทะเลาะเบาะแว้งกับสามี แต่การวิจยั ทีล่ ง
ตีพมิ พ์ในวารสารเจอร์นัล ออฟ แฟมิล ี อิชชูส์ กลับระบุว่า ผู้หญิงที่ออกไปทางานนอกบ้านมี
แนวโน้มน้อยลงถึง 50% ทีจ่ ะมีปญั หาชีวติ คู่ถงึ ขัน้ บ้านแตกสาแหรกขาด ทัง้ นี้ ผลการวิจยั ล่าสุด
ให้ขอ้ สรุปว่า กิจกรรมทางเศรษฐกิจของผู้หญิง ทาให้ชวี ติ แต่งงานมีความยืดหยุ่นและยืนนาน
กล่าวคือภรรยาทีท่ างานเต็มเวลา จะทาให้สถานการณ์การเงินของครอบครัวเป็ นปึกแผ่นขึน้ ซึง่
อาจช่วยเป็ นเกราะคุ้มครองยามที่ภาวะเศรษฐกิจตกสะเก็ด (ผู้จดั การออนไลน์ . 25 เมษายน
2549) อย่างไรก็ด ี ปจั จัยทางเศรษฐกิจหรือเรื่อ งเงินเพียงอย่างเดียวอาจจะไม่ใช่ สงิ่ ที่จะชี้ว ดั
49

คุ ณ ภาพชีว ิต ครอบครัว เสมอไป งามตา วนิ น ทานนท์ และคณะ (2545: 99-101) ได้ศึก ษา
วิเคราะห์ดชั นีเชิงเหตุและผลของคุณภาพชีวติ สมรสในครอบครัวไทย พบว่า ความสัมพันธ์ทไ่ี ม่ดี
ระหว่างสามีก ับภรรยา (บิดากับมารดา) มีส าเหตุ มาจาก การมีล กั ษณะทางจิต ใจด้านความ
ใกล้ชดิ ผูกพันกับคู่สมรสน้อย มีทศั นคติทด่ี ตี ่อคู่สมรสน้อย มีการสื่อสารระหว่างกันน้อย รับรูว้ ่าคู่
สมรสของตนให้ความสาคัญด้านชีวติ ครอบครัวน้อย และยังรับรูว้ ่าเขาหรือเธอปฏิบตั ติ ามหลัก
ศาสนาน้อยด้วย
อย่างไรก็ด ี ปจั จุบนั พบว่ามีคนจานวนไม่น้อยที่นิยมจะใช้ชีวติ โสด อาจเพราะ
ต้องการความเป็ นอิสระ อุทศิ ชีวติ ให้กบั งาน ภาคภูมใิ จในตนเองจนคิดว่าไม่มใี ครคู่ควร หรือ
อาจจะมีทศั นคติท่ไี ม่ดตี ่อการมีชวี ติ คู่ แต่ถึงกระนัน้ คนโสดก็ต้องมีการปรับตัว เพราะบางคน
เพื่อนทีเ่ คยคบกันมาก็ไปแต่งงานกันหมด คนโสดจึงมักคบกับคนโสดเช่นเดียวกัน และพยายาม
หาอะไรทาแก้เหงา เช่น บางคนก็ส นุ กสนานกับการปลูกต้นไม้ เลี้ยงสัตว์ เข้าเป็ นสมาชิกใน
ชมรมต่างๆ และบางคนอาจเข้าวัดฝึกปฏิบตั ธิ รรม ก็เป็นได้

7. วัยกลางคน (Middle Age หรือ Middle Adulthood) คือช่วงอายุ 40 – 60 ปี


(Coon; & Mitterer. 2007: 140-141)
พฤติ กรรมทางกาย
วัยนี้ไม่ว่าจะเป็ นเพศหญิงหรือชาย ร่างกายจะเริม่ มีความเสื่อมสภาพลงในทุก
ระบบ น้ าหนักตัวเพิม่ ขึน้ ผิวหนังเหีย่ วย่น ผมเริม่ หงอกและร่วง ระบบประสาทสัมผัสเริม่ มีปญั หา
เช่น สายตาไม่ดี หูตงึ การลิ้มรสและการได้กลิน่ เปลี่ยนแปลงไป อวัยวะภายในก็เสื่อมลง เช่น
หัวใจ ปอด สมองและระบบประสาท เป็ นต้น ผู้หญิงในวัยหมดประจาเดือน (Menopause) จะ
เกิดการเปลี่ยนแปลงร่างกายเนื่องมาจากฮอร์โมนในร่างกายมีการเปลี่ยนแปลง ผิวหนังบริเวณ
ลาตัวและใบหน้าจะแดง ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เจ็บปวดตามข้อต่างๆ หัวใจเต้นแรง ส่วนอารมณ์
ก็จะแปรปรวนง่าย ขีห้ งุดหงิด ตื่นเต้น ตกใจง่าย ไม่มคี วามสุขทางเพศ บางคนมีความกลัวสามี
จะทอดทิง้ ส่วนเพศชายจะเกิดวัยเปลีย่ นในชีวติ เพศชาย (Male Menopause) อายุประมาณ 45
– 50 ปี จะมีอาการเช่นเดียวกับผู้หญิง เนื่องจากฮอร์โมนเทสโทสสเตอโรนลดจานวนลง ทาให้
สมรรถภาพทางเพศค่อยๆ ลดลง ทาให้มคี วามกลัวว่าตนเองกาลังจะหมดสมรรถภาพทางเพศ
ซึ่งบางรายก็ยอมรับและปรับตัวได้ บางรายก็พยายามแสวงหายาชูกาลัง เช่น ไวอะกร้า ไวน์
กระชายดา เพื่อเสริมความมันใจให้ ่ กบั ตนเอง
พฤติ กรรมทางสติ ปัญญา
สติปญั ญาของวัยกลางคนนี้จะใกล้เคียงกับวัยผู้ใหญ่ตอนต้น มีความคิดเป็ นเหตุ
เป็ นผล รู้จกั การบริห ารความขัดแย้ง มีค วามอดทนและมีค วามสามารถในการจัดการความ
ขัดแย้งนัน้ รูจ้ กั วิธกี ารเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีความเข้าใจในความเป็ นไปของ
50

บ้านเมืองมากขึน้ สามารถวิเคราะห์วจิ ารณ์สภาพความเป็นไปของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ได้


ดี สามารถให้คาปรึกษาแก่เพื่อนวัยเดียวกันและอ่อนอาวุโสกว่าได้อย่างมีวุฒภิ าวะ
พฤติ กรรมทางอารมณ์
บุค คลในวัยนี้ท่ปี ระสบความสาเร็จในอาชีพการงานและครอบครัว มีความพึง
พอใจในชีว ิต ที่ผ่านมามัก จะเป็ นคนที่มอี ารมณ์มนคง ั ่ มีบุค ลิกภาพคงที่ ขณะที่บางคนอาจมี
อารมณ์เศร้าเนื่องจากการสูญเสียบุคคลอันเป็ นทีร่ กั เช่น บิดา มารดา คู่สมรส ผิดหวังจากบุตร
หรือบุตรไปมีครอบครัวใหม่และไม่มเี วลาใส่ใจกับพ่อแม่ เป็นต้น ระยะปลายของวัยนี้เริม่ เข้าสู่วยั
ใกล้เกษียณอายุการทางาน คนทีป่ ฏิบตั ภิ ารกิจพัฒนาการมาดี จะปรับตัวและเตรียมตัวเข้าสู่วยั
เกษียณอายุได้ดี ในทางตรงกันข้ามบางคนจะรูส้ กึ ว่าตนเองด้อยค่า ผิดหวังในชีวติ และซึมเศร้า
วารสาร เจอร์นลั ออฟ คลินิคลั เนิรส์ ซิง่ ทาการศึกษาประชากรกลุ่มต่างๆ อายุต ัง้ แต่ 18 ปีขน้ึ ไป
จานวนเกือบ 1,300 คนในออสเตรเลีย โดยเน้นที่ความรูส้ กึ เปลีย่ วเหงา ผลสารวจพบว่า กว่า 3
ใน 4 ของประชากรวัยผูใ้ หญ่ยอมรับว่าตัวเองเปล่าเปลีย่ ว โดยเฉพาะคนในวัย 40-49 ปี ขณะที่
วัยรุ่นและคนวัย 50 เป็ นกลุ่มวัยที่เหงาน้ อยที่สุด คนที่มศี าสนายึดเหนี่ยวจิตใจเป็ นกลุ่มคนที่
เหงาน้ อยที่สุด ไม่ว่าอยู่ในช่ว งวัยใด และผู้หญิงมีแนวโน้ มจะยึดมันกั ่ บศาสนามากกว่าผู้ชาย
ความอ้างว้างเป็ นอารมณ์ทพ่ี บได้ทวไปในกลุ
ั่ ่มคนทีไ่ ม่มงี านทา ทัง้ นี้ เมื่อเปรียบเทียบกับคนวัย
ปลดเกษียณ อย่างไรก็ดี นักวิจยั ไม่พบความเกี่ยวโยงระหว่างระยะเวลาที่บุคคลคนนัน้ อยู่ใน
ชุมชนปจั จุบนั กับความเหงาทีค่ นๆ นัน้ มี
การทาความเข้าใจกับสาเหตุ ท่ที าให้คนรู้ส ึกเหงามีความสาคัญมาก เนื่องจาก
ความอ้างว้างเปล่าเปลีย่ วอาจเพิม่ ความเสีย่ งของปญั หาสุขภาพ เช่น โรคหัวใจ และโรคซึมเศร้า
รวมถึงปญั หาต่างๆ อย่างเช่น ความรุนแรงในครอบครัว
พฤติ กรรมทางสังคม
บุคคลที่มพี ฒั นาการที่สมบูรณ์ในวัยนี้ มักจะเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า
ส่วนตน รูจ้ กั แบ่งปนั เอื้ออาทรต่อผู้อ่ นื โดยเฉพาะผู้ท่เี ยาว์วยั กว่า ทาให้เกิดการเห็นคุณค่าใน
ตนเอง ตรงกันข้ามกับคนทีพ่ ฒ ั นาการไม่สมบูรณ์ในวัยนี้จะเป็นคนทีเ่ ห็นแก่ตวั ชอบแสดงอานาจ
หรือบางคนอาจกลายเป็ นคนท้อแท้ เฉื่อยชา ขาดการกระตือรือร้น มักจะสนิทสนมกับเพื่อ น
ร่วมงานหรือเพื่อนบ้าน ส่วนความสัมพันธ์ในครอบครัวจะเป็ นลักษณะของการเฝ้าดูความสาเร็จ
ของลูก ทัง้ ในด้า นการเรีย น การท างาน หรือ การมีชีว ิต คู่ มี ก ารศึก ษาที่บ่ ง ชี้ ถึง แม้ก ารขึ้น
เงินเดือนเป็ นความใฝ่ฝนั ของคนหมู่มาก ทว่า พนักงานส่วนใหญ่ในอังกฤษยินดีถูกลดค่าแรง
เพื่อให้ตวั เองมีเวลาใกล้ชดิ ครอบครัวและเพื่อนฝูงมากขึน้ โดย ผลการศึกษาที่เฟิ รส์ ต์ ไดเร็กท์
แบงก์ ระบุว่า 95% ของผู้ถูกสอบถามซึ่งเป็ นประชากรวัยผู้ใหญ่ บอกว่าสิง่ ที่ทาให้มคี วามสุข
มากที่สุ ดคือ การใช้เ วลาอยู่ก ับครอบครัว และเพื่อ นฝูง มีเ พียง 43% เท่านัน้ ที่เ ห็นว่าเงินคือ
ความสุข ซึง่ ข้อมูลนี้อาจจะทาให้นายจ้างเกิดความตระหนักและให้ยอมเปิดโอกาสให้พนักงานมี
ความสุขกับดุลยภาพระหว่างงานกับชีวติ มากขึน้
51

เมื่อ เข้า สูร ะยะปลายของวัย นี้ บุ ค คลเริ่ม เตรีย มตัว เข้า สู่ ก ารเป็ น ผู้สูง อายุท่ีม ี
คุณภาพ คนทีด่ ูแลตนเองมาเป็ นอย่างดี ตัง้ แต่วยั ก่อนหน้านี้ ก็จะทาให้ความเสื่อมของร่างกาย
ยืดระยะเวลาออกไปอีก การเตรียมตัวเข้าสู่การเป็ นผูส้ ูงอายุอย่างมี คุณภาพ เริม่ ตัง้ แต่การออก
กาลังกายที่เหมาะสมกับสภาวะสุขภาพและโรคประจาตัว การเตรียมเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ที่อยู่
อาศัย และการใช้ชวี ติ ในวัยสูงอายุ การรูจ้ กั ปล่อยวางกับบางเรื่องทีไ่ ม่อาจจัดการได้ รวมทัง้ การ
เข้าร่วมกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการเตรียมตัวเข้าสู่วยั สูงอายุ

8. วัยชรา (Aging) คือ ช่วงอายุ 60 ปี ขึ้นไป


พฤติ กรรมทางกาย
วัยนี้ มกี ารเปลี่ย นแปลงสภาพร่า งกาย อย่า งเห็น ได้ช ัด อวัยวะต่ างๆ ภายใน
ร่างกายทางานเสื่อมลง ข้อมูลทีไ่ ด้จากการสารวจของของสานักงานสถิตแิ ห่งชาติ ทีไ่ ด้จดั อันดับ
ปญั หาสุขภาพทีพ่ บมากทีส่ ุดในผูส้ ูงอายุ พ.ศ. 2541 คือ โรคปวดข้อ เวียนศีรษะ ปญั หานอนไม่
หลับ โรคเกี่ยวกับตา เป็ นลมบ่อยๆ ตามลาดับ รวมทัง้ ปญั หาสุขภาพอื่นๆ เช่น โรคเบาหวาน
ความดัน โลหิต สูง โรคหัว ใจขาดเลือ ด เป็ น ต้น และได้ใ ห้ข้อ เสนอแนะไว้ว่ า ป ญ ั หาและโรค
ดังกล่าวสามารถหลีกเลี่ยงได้หากรู้จกั ดูแลตนเอง การใช้สมุนไพรในการป้องกันปญั หาในวัย
สูงอายุ เป็ นอีกทางเลือกหนึ่ง ปจั จุบนั สมุนไพรที่สามารถใช้ ทดแทนยาแผนปจั จุบนั ได้ ได้แก่
โรคปวดข้อ อาจบรรเทาได้ด้วย ครีมไพลหรือเจลพริก ปญั หาเวียนศีรษะหรือหน้ ามืดเป็ นลม
สามารถใช้ขงิ ลูกบัวช่ วยได้ ถ้านอนไม่หลับก็มสี มุนไพรจากขี้เหล็ก ช่วยให้นอนหลับ ส่วนโรค
ความดันโลหิตสูงอาจใช้ระย่อมช่วยได้ หรืออาหารเสริมจากกระเทียมสกัดจะช่วยลดปญั หาหัวใจ
ขาดเลือ ดได้ (ศู น ย์ ว ิ จ ัย และพัฒ นาผลิต ภัณ ฑ์ สุ ข ภาพจากสมุ น ไพร คณะเภสั ช ศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2548) นอกจากนี้สงิ่ ทีจ่ ะต้องทาเพื่อการมีสุขภาพกายทีด่ ใี นยามชรา คือ
1. การมองโลกในแง่ดี (Optimism) คือ การนับถือตนเอง คิดกับตนเองในด้านทีด่ ี
ซึง่ จะช่วยลดคอร์ตซิ อล (Cortisol) หรือฮอร์โมนความเครียด ซึง่ จะมีผลต่อการลดภูมคิ ุม้ กันและ
ทาให้สมองตายได้ ซึง่ การนังสมาธิ ่ โยคะ ไท้เก็ก มีส่วนทีจ่ ะช่วยได้
2. การออกกาลังกายสม่ าเสมอ ผู้สูงอายุไม่ควรจะออกกาลังกายอย่างหักโหม
การออกกาลังกายทีค่ วรทา เช่น แอโรบิค พาสุนขั เดินเล่ น ตกปลา ทาสวน ฯลฯ ประมาณวันละ
30 นาทีจ ะเหมาะสม นอกจากจะกระตุ้ น ให้ร่ า งกายเกิด ความกระฉั บ เฉงแล้ว ยัง ช่ ว ยลด
ความเครียดอีก ด้ว ย นอกจากนี้ การออกก าลัง กายทางความคิด ก็เ ป็ นสิ่งส าคัญ สมองของ
ผู้สูง อายุค วรได้รบั การกระตุ้น เพื่อ ไม่ใ ห้เ สื่อ มเร็ว เกินไป อาจจะด้ว ยกิจกรรมลับ สมอง เช่ น
ปริศนาอักษรไขว้ หรือการวาดภาพ ถักผ้านวม การเรียนภาษา การฝึ กเล่นดนตรี และแม้แต่
การช็อปปิ้ง เพราะกิจกรรมทีก่ ล่าวมานี้จะช่วยประสานการทางานของสมองหลายส่วน
52

3. รับประทานอาหารทีส่ มดุล เช่น อาหารเมดิเตอเรเนียน ซึ่งมีส่วนประกอบคือ


พลาสต้า ปลา น้ ามันมะกอก และผลไม้นานาชนิด การรับประทานอาหารทีอ่ ุดมไปด้วยสารต้าน
อนุมลู อิสระ เช่น เบอรี่ ผักขม พริก ไวน์แดง เนื่องจากอนุมลู อิสระจะเร่งความชราให้แก่รา่ งกาย
4. เลิกสูบบุหรีแ่ ละเลิกดื่มของมึนเมา บุหรีค่ ร่าชีวติ คนมากมาย เพิม่ โอกาส 2 ใน
3 ของการเป็ นโรคหัวใจวาย เพิม่ โอกาสเส้นเลือดในสมองอุดตัน 3 เท่า และยังเพิม่ โอกาสเป็ น
โรคมะเร็ง ถ้าเลิกบุหรีใ่ นตอนนี้โอกาสทีจ่ ะไม่เป็นโรคหัวใจวายจะลดลงและจะเท่ากับคนทีไ่ ม่สูบ
บุหรีภ่ ายในไม่กป่ี ี
5. ท ากิจ กรรมร่ว มกับ เพื่อ นฝูง รวมทัง้ สัม พันธภาพที่แ น่ น แฟ้ น ในครอบครัว
มิตรภาพทีแ่ น่ นแฟ้นสามารถยืดอายุได้ งานวิจยั ของมหาวิทยาลัยมิชแิ กน พบว่า ผูส้ ูงอายุทเ่ี ป็ น
อาสาสมัครช่วยเหลือผูอ้ ่นื ลดความเสีย่ งในการเสียชีวติ ไปได้
พฤติ กรรมทางสติ ปัญญา
เฮส และ อู แ มน (Hess & Auman. 2001:497-510) พบว่ า ผู้ สู ง อายุ ม ีค วาม
สามารถในการบอกบุคลิกภาพของคนแปลกหน้าได้แม่นยากว่าคนหนุ่ มสาว เช่น บุคคลนัน้ เป็ น
คนที่เฉลียวฉลาดและซื่อสัตย์เพียงใด ด้วยเหตุน้ี ผู้สูงอายุจงึ เป็ นผู้ท่ีมที กั ษะด้านสังคมสูง ซึ่ง
สนับสนุนกับงานวิจยั ของ บาลเทสและคณะ (Baltes et al. 1992 citing Birren; & Schaie. 2001:
503-504) ทีพ่ บว่า ความเฉลียวฉลาดด้านการดาเนินชีวติ ในสังคมเป็ นความสามารถทีโ่ ดดเด่น
ทีส่ ุดของผูส้ งู อายุ เพราะเขาทดสอบว่าเวลาเขาให้ผสู้ งู อายุแก้ปญั หาชีวติ เช่น จะให้คาแนะนาแก่
เด็กวัย 15 ปี ทีต่ งั ้ ครรภ์อย่างไร ผูส้ งู อายุมกั จะให้คาตอบดีกว่าคนหนุ่ มสาว นอกจากนี้ งานวิจยั
ของอาร์เดท (Ardet. 1997) ทีไ่ ด้ศกึ ษาผูส้ ูงอายุใน Berkeley มลรัฐ California พบว่า ภูมปิ ญั ญา
ส่งผลต่อความพึงพอใจในชีวติ ของผู้สูงอายุ มากกว่าเรื่องของวัตถุ เช่นเดียวกับ คุณภาพของ
ความสัม พัน ธ์ ท างสัง คม สถานภาพทางสัง คมและเศรษฐกิ จ สถานการณ์ ท างการเงิน
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ และการมีส่วนร่วมทางสังคม
พฤติ กรรมทางอารมณ์
สังคมปจั จุบนั ที่เปลี่ยนแปลงไป มีการรับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามา รวมถึง
การพัฒนาวัตถุทางด้านจิตใจ ทาให้ค่านิยมด้านความกตัญญูกตเวทีลดลง ระบบการเคารพเชื่อ
ฟงั ผู้อาวุโสเสื่อมลง บุตรหลานเห็นความสาคัญของผู้สูงอายุน้อยลง ไม่ค่อยรับฟงั ความคิดเห็น
หรือ ไม่ข อค าปรึก ษาจากผู้สูง อายุ คิด ว่ าผู้สูงอายุไ ม่ทนั ต่ อ เหตุ ก ารณ์ มีค วามคิดอ่ า นล่ า ช้า
หัว โบราณ ซึ่ง ความคิด เช่ น นี้ ท าให้เ กิด ความไม่ เ ข้า ใจกัน ระหว่ า งผู้ สู ง อายุ กับ บุ ต ร หลาน
(สุภญ ิ พรรณ บุญยอ. 2542) อีกทัง้ ภาพของผู้สูงอายุท่ปี รากฏออกมาจากสื่อต่างๆ ก็มกั จะเป็ น
ภาพสะท้อนให้เห็นว่า ผูส้ งู อายุถูกหรือเสีย่ งทีจ่ ะถูกปฏิเสธโอกาสการมีส่วนร่วมในครอบครัวและ
สังคม ศักยภาพและประสบการณ์ ของผู้สูงอายุก็มกั ถู กดึงมาใช้น้อ ยเกินไป การดูแลเกื้อ กูล
ผูส้ งู อายุมกั ไม่ได้รบั การตระหนักเท่าทีค่ วร ถูกทอดทิง้ ให้โดดเดีย่ วอ้างว้าง (มารยาท รุจวิ ทิ ย์ ; &
ศิรพิ ร ศรีวชิ ยั . 2547) ผูส้ ูงอายุบางคนเริม่ สูญเสียตาแหน่ งหน้าทีก่ ารงาน เพราะทาต่อไปไม่ได้
53

หรือเกษียณอายุ คนใกล้ชดิ ไม่ว่าจะเป็ นคู่สมรส ญาติ เพื่อนฝูง เริม่ เสียชีวติ ไป ทาให้ต้องผจญ


กับสภาวการณ์ทต่ี ้องปรับตัวอีกครัง้ หากสูญเสียในหลายๆ ด้าน และไม่สามารถควบคุมอารมณ์
ได้ ก็อาจจะนาไปสู่ภาวการณ์เป็ นโรคซึมเศร้า
นอกจากนี้ ยังมีผู้สูงอายุจานวนมากทีม่ คี วามจาเป็ นทางเศรษฐกิจจึงต้องทางาน
เพื่อ เลี้ยงชีพ แม้ว่าจะพ้นจากวัยทางานแล้ว ก็ต าม แต่การทางานก็ช่วยให้ ผู้สูงอายุม ีสุขภาพ
แข็ง แรงทัง้ ทางร่า งกายและจิต ใจ อีก ทัง้ ยัง มีผู้สูง อายุอีก จ านวนมากที่ต้อ งการท างานเพื่อ
แก้ปญั หาความเหงา ว้าเหว่ ซึ่งผูส้ ูงอายุทย่ี งั คงมีบทบาทหน้าที่ต่อเนื่องในสังคมและมีกจิ กรรม
ทาต่อเนื่อง จะมีบุคลิกภาพกระฉับกระเฉง มีความพึงพอใจในชีวติ และปรับตัวได้ดกี ว่าผูส้ งู อายุท่ี
ปราศจากกิจกรรมหรือหน้าทีใ่ ดๆ อีกทัง้ ยังมีความรูส้ กึ ภาคภูมใิ จ พอใจ และมีความรูส้ กึ มีคุณค่า
ในตนเองในทางบวก (ปริญญา โตมานะ; & ระวิวรรณ ศรีสุชาติ. 2548) หากคนรุ่นหลังให้เกียรติ
และให้โอกาสในการแสดงความสามารถตามสมควร จะทาให้ผสู้ งู อายุรสู้ กึ ดีขน้ึ
พฤติ กรรมทางสังคม
งานวิจยั ของ ซันซุนกุย (Zunzunegui. 2003) ทีไ่ ด้ทาการศึกษาระยะยาวผูส้ ูงอายุ
ชาวสเปนอายุตงั ้ แต่ 65 ปีขน้ึ ไป พบว่า ผู้สูงอายุท่มี คี วามสัมพันธ์ทางสังคมในระดับต่ า ได้เข้า
ร่วมกิจกรรมทางสังคมนานๆ ครัง้ รวมทัง้ ขาดความเชื่อมโยงกับสังคม บุคคลเหล่านี้มคี วามเสีย่ ง
ต่อภาวะสมองเสื่อม แต่การได้พบปะกับญาติสนิทมิตรสหายจะช่วยให้ผู้สูงอายุทงั ้ เพศชายและ
เพศหญิงมีโอกาสที่จะลดภาวะสมองเสื่อมได้มาก ข้อค้นพบที่ได้เอกสารและงานวิจยั ทีก่ ล่าวมา
นัน้ ทาให้ไ ด้ข้อ สรุปว่า การผู้สูงอายุจะเกิดความรู้สกึ พึงพอใจในชีว ิต ได้ ผู้สูงอายุค วรได้ทา
กิจกรรมที่จะพัฒนาตน ครอบครัว สังคม และการทางาน ซึ่งในบริบทที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
ได้แก่ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพกายที่ดี กิจกรรมที่สร้างเสริม สัมพันธภาพระหว่างผูส้ ูงอายุกบั
คนในครอบครัวและสังคม กิจกรรมที่ก่อให้เกิดรายได้แก่ผู้สูงอายุ และกิจกรรมทีท่ าให้ผู้สูงอายุ
ได้ถ่ายทอดความรูป้ ระสบการณ์ให้แก่ผอู้ ่นื
ผูส้ ูงอายุมกั ใช้เวลาทบทวนสิง่ ทีผ่ ่านมาและชอบเล่าอดีตทีภ่ าคภูมใิ จให้คนรุ่นหลัง
ฟ งั ผู้ สู ง อายุ ท่ีม ีสุ ข ภาพจิต ดี จะรู้ส ึก ว่ า ตนเองเป็ น คนที่ม ีคุ ณ ค่ า มีป ระโยชน์ ต่ อ ลู ก หลาน
ครอบครัว และสังคม รวมทัง้ มองความผิดพลาดทีผ่ ่านมาของตนได้อย่างมีเหตุผล มีอารมณ์ขนั
และพร้อมทีจ่ ะถ่ายทอดไปยังคนรุน่ หลังเพื่อเป็ นบทเรียนในการดาเนินชีวติ ต่อไป
ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการแพทย์สมัยใหม่ในปจั จุบนั รวมถึงการ
ประสบความสาเร็จของนโยบายวางแผนครอบครัว อัตราการเกิดและอัตราการตายจึงเริม่ ลดลง
อย่า งต่ อ เนื่ อ ง ท าให้ประชากรของโลกโดยเฉลี่ย มีอ ายุ ยนื ยาวมากขึ้น โดยในกลุ่ มประเทศ
อาเซียน รวมทัง้ ประเทศไทย ประชากรจะมีอายุขยั เฉลี่ยเท่ากับ 75 ปี และในภูมภิ าคเอเชีย
แปซิฟิกนัน้ องค์การสหประชาชาติได้คาดการณ์ไว้ว่าในปี พ.ศ. 2568 (ค.ศ. 2025) หรืออีก 20
ปีขา้ งหน้า ประเทศจีนและอินเดียจะมีจานวนผูส้ ูงอายุรวมกันถึงร้ อยละ 38 ของจานวนผูส้ ูงอายุ
ทัวโลก
่ และหากรวมประเทศที่ก าลังพัฒนาอีก 3 ประเทศ ใน 5 อันดับแรก คือ อินโดนิเ ซีย
54

ปากีสถาน และบังคลาเทศ จะเท่ากับร้อยละ 44 ของประชาการผูส้ ูงอายุทวโลก ั่ กระทังในฮ่


่ องกง
และสิง คโปร์ท่ีม ีพ้ืน ที่น้ อ ย ประชากรผู้สูง อายุจ ะเพิ่ม ขึ้น เป็ น ร้อ ยละ 24 และ 25 ตามล าดับ
(พูนศักดิ ์ ประมงค์. 2542: 20) ส่วนในประเทศไทย ปราโมทย์ ประสาทกุล และ ปทั มา ว่าพัฒน
วงศ์ (2547. 33-60) ได้วเิ คราะห์ผลของการฉายภาพประชากรผูส้ ูงอายุในประเทศไทยทีค่ าดว่า
จะเกิดขึน้ ในอีก 20 ปีขา้ งหน้า พบว่า สัดส่วนและจานวนประชากรผูส้ ู งอายุกาลังเพิม่ ขึน้ เรื่อยๆ
และจะมีจานวนประมาณ 12.4 ล้านคน ซึ่งคิดเป็ น 10 เท่าตัวจากเมื่อ 60 ปี ท่แี ล้ว สัดส่วนของ
ประชากรเด็ก (0-14 ปี ) มีแ นวโน้ ม ลดลง ในขณะที่ส ัดส่ ว นประชากรวัยแรงงาน (15-59 ปี )
เปลี่ยนแปลงไม่มากนัก แต่สดั ส่วนประชากรสูงอายุมแี นวโน้ มเพิม่ ขึ้นอย่างรวดเร็ว ประชากร
อายุ 60 ปีขน้ึ ไปจะเท่ากับประชากรอายุต่ ากว่า 15 ปี ในราวปี พ.ศ. 2563-2564 และหลังจากนัน้
เป็ นต้นไป ประชากรอายุ 60 ปีขน้ึ ไปก็จะมากกว่าประชากรอายุต่ ากว่า 15 ปี นัน่ หมายความว่า
ประชากรที่ต้องพึ่งพิงได้เปลี่ยนกลุ่มจากกลุ่มประชากรเด็กมาเป็ นประชากรสูงอายุ อัตราส่วน
พึ่ง พิงวัย ชรามีแ นวโน้ ม เพิ่ม ขึ้น อย่า งต่ อ เนื่อ ง แต่ อ ัต ราส่ ว นค้ า จุน ผู้สูง อายุท่ีค วามหมายว่ า
ประชากรสูงอายุ 1 คน จะมีประชากรวัยทางานที่มศี กั ยภาพจะให้การค้าจุนกี่คนนัน้ ก็จะลดลง
อย่างต่อเนื่องเช่นกัน จากข้อมูลจะเห็นได้ว่าปญั หาที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ จะต้องเป็ นปญั หาที่
คนทัวโลกต้
่ องเผชิญในไม่ชา้
55

คาถามท้ายบท
ให้นิสตอ่านบทความต่อไปนี้ และวิเคราะห์พฤติกรรมในวัยชราของโจวเหวินฟะ สาเหตุ
และผลของพฤติกรรม
โจวเหวินฟะ ตานานนักแสดงฮ่องกงชื่อดัง เตรียมบริจาคทรัพย์สมบัตทิ งั ้ หมดทีม่ ใี ห้แก่
การกุศล ฝนั อยากมีชวี ติ เป็ นคนธรรมดา วางแผนใช้เงินแค่เดือนละ 3 พัน

วันที่ 12 ตุลาคม 2561 เว็บไซต์ IndieWire เผยรายงานว่า โจวเหวินฟะ ตานานนักแสดง


ฮ่องกงชื่อดังวัย 63 ปี เผยแผนทีจ่ ะเตรียมบริจาคทรัพย์สมบัตทิ งั ้ หมดทีม่ มี ากมายมหาศาลกว่า
5.6 ดอลลลาร์ฮ่องกง หรือราว 2.3 หมืน่ ล้านบาท ให้กบั การกุศล
โดยโจวเหวินฟะ กล่าวผ่านเว็บไซต์ Jayne Stars ของฮ่องกง ว่า "ความฝนั ของผมคือ
การได้มคี วามสุขและเป็นคนธรรมดา สิง่ ทีย่ ากทีส่ ุดในชีวติ ไม่ใช่ว่าคุณหาเงินได้มากเท่าไหร่ แต่
มันคือการทาอย่างไรให้จติ ใจคุณสงบสุข ใช้ชวี ติ ทีเ่ หลืออย่างเรียบง่ายและไร้ซง่ึ ความกังวลใด ๆ"
ทัง้ นี้ โจวเหวินฟะ ยังได้เผยความตัง้ ใจว่า อยากจะใช้เงินเพียงเดือนละ 800 ดอลลาร์ฮ่องกง หรือ
ราว 3,300 บาทเท่านัน้
ทัง้ นี้ สาหรับโจวเหวินฟะ โดยส่วนตัวแล้วเป็ นคนทีม่ นี ิสยั ประหยัดมัธยัสถ์มาก โดยเขา
มักจะเดินทางโดยรถขนส่งสาธารณะบ่อยทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะทาได้ และส่วนใหญ่มกั จะใช้จ่ายเงินไปกับ
การทาการกุศล มากกว่าจะใช้เงินเพื่อตัวเอง นอกจากนี้รายงานยังเผยว่า เขาใช้โทรศัพท์มอื ถือ
ยีห่ อ้ Nokia รุ่นเก่ามาเป็ นเวลานานถึง 17 ปี และเพิง่ จะเปลีย่ นมาใช้สมาร์ทโฟนเมื่อไม่นานมานี้
เอง ภายหลังจากทีโ่ ทรศัพท์มอื ถือเครือ่ งเก่าของเขาพัง จนไม่สามารถใช้งานได้
ส่วนเรื่องการแต่งกาย เขามักจะไปเลือกซื้อเสื้อผ้าที่ลดราคา และเขาได้เคยกล่าวถึง
เหตุผลเรื่องนี้เอาไว้ว่า "ผมไม่ได้ใส่ชุดเพื่อคนอื่น ตราบใดทีผ่ มคิดว่าผมใส่แล้วมันสบาย แค่นัน้
มันก็ดพี อแล้วสาหรับผม"

ทีม่ า : https://women.kapook.com/view200758.html สืบค้นเมือ่ 1 มกราคม 2562


56

เอกสารประกอบการเรียนรู้ ครัง้ ที่ 5


ทฤษฎีพฒ
ั นาการที่สาคัญ

สาระสาคัญ
นัก จิต วิท ยาได้อ ธิบ ายแนวคิด ของตนในทฤษฎีต่ า งๆ หลายทฤษฎีด้ว ยกัน ที่ม ี
ชื่อเสียง คือ ทฤษฎีพฒ ั นาการความต้องการทางเพศ ทฤษฎีพฒ ั นาการทางจิตสังคม ทฤษฎี
พัฒนาการทางการรูค้ ดิ และทฤษฎีพฒ ั นาการทางจริยธรรม การศึกษาทฤษฎีพฒ ั นาการมนุษย์
จะช่วยให้เราเข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ในแต่ละช่วงวัยได้ดยี งิ่ ขึน้

วัตถุประสงค์
เมือ่ ศึกษาบทเรียนนี้จบแล้ว ผูเ้ รียนสามารถ
1. อธิบ ายและสรุ ป แนวคิด เกี่ ย วกับ หลัก พัฒ นาการและทฤษฎี พ ัฒ นาการของ
นักจิตวิทยาทีม่ ชี ่อื เสียงได้
2. วิเคราะห์พฤติกรรมของมนุษย์โดยอ้างอิงทฤษฎีพฒ ั นาการต่าง ๆ ได้

นักจิตวิทยาหลายคนสนใจและได้ศกึ ษาพัฒนาการมนุษย์ ทฤษฎีทส่ี าคัญมีดงั นี้


1. ทฤษฎี พ ัฒ นาการความต้ อ งการทางเพศ (Psychosexual Development
Theory) ของซิ กมันด์ ฟรอยด์
ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) อธิบายมนุ ษย์มแี รงขับทางเพศ (Sex Drive)
เพื่อเป้าหมาย คือ ความสุขและความพึงพอใจ (Pleasure) โดยมีส่วนต่างๆ ของร่างกายทีไ่ วต่อ
ความรูส้ กึ และได้เรียกส่วนนี้ว่า อีโรจีนัส โซน (Erogenous Zones) แบ่งออกเป็ นส่วนต่างดังนี้
ส่วนช่องปาก (Oral) ส่วนทวารหนัก (Anal) และส่วนอวัยวะสืบพันธุ์ (Genital Organ) ฟรอยด์ได้
เสนอขัน้ ตอนของพัฒนาการตามลักษณะความเปลี่ยนแปลงที่ขน้ึ อยู่กบั ความต้องการทางเพศ
อันเป็นความต้องการพืน้ ฐานของมนุษย์ทม่ี มี าตัง้ แต่เกิด มีทงั ้ หมด 5 ขัน้ ตอน ดังนี้
1) ขัน้ ปาก (Oral Stage) (0-2 ปี ) ทารกแสวงหาความพึงพอใจด้วยการใช้ปาก
ดูด ขบเคีย้ ว กัด หากพัฒนาการขัน้ นี้หยุดชะงักไป (Fixation) เมื่อเติบโตขึน้ มาเป็ นวัยผูใ้ หญ่มกั
มีพฤติกรรมแปลกๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับทากิจกรรมต่างๆ ทีม่ กั ใช้ปาก เช่น กัดปากกาดินสอ ด่าทอ
กล่าวคาหยาบคาย สูบบุหรี่ ตะกละ ขีเ้ หล้า ชอบกัดเล็บ มีความสัมพันธ์ทต่ี อ้ งการพึง่ พา
2) ขัน้ ทวารหนัก (Anal Stage) (2-3ปี ) เด็กมีความคิดว่าของเสียทีต่ นขับถ่ายมี
คุณค่า และอาจเกิดความรูส้ กึ สับสนเมื่อได้เรียนรูว้ ่าเป็ นของสกปรก การติดอยู่ในขัน้ พัฒนาการ
นี้เนื่องจากความเข้มงวดของพ่อแม่เกี่ยวกับการฝึกขับถ่า ยมากเกินไป เมื่อโตขึน้ ทาให้มนี ิสยั ขี้
57

เหนียว เข้มงวด เจ้าระเบียบ หยุมหยิม หรือหากปล่อยปละละเลยขาดระเบียบจนเกินไป ทาให้ม ี


นิสยั ขาดระเบียบ สกปรก ฟุ่มเฟือย มักง่าย สะเพร่า
3) ขัน้ ความสนใจอวัย วะเพศ (Phallic Stage) (3-5 ปี ) เด็ก เริ่ม สนใจอวัย วะ
เพศและมีความเพลิด เพลินกับสิง่ นี้ เด็กเริม่ มีความต้องการทางเพศกับพ่อแม่หรือเพศตรงกัน
ข้า มกับ ตน และเห็น ว่ า พ่ อ หรือ แม่ เ พศเดีย วกับ ตนเป็ น คู่ ต่ อ สู้ ฟรอยด์ เ รีย กว่ า ปมอีดิปุ ส
(Oedipus) เด็กชายรักแม่ จึงพยามยามเลียนแบบพ่อ ส่วนเด็กหญิงจะมีปมอีเลกทรา (Electra
Complex) รักใคร่ผูก พันพ่อ จึงเลียนแบบแม่ ถ้าพัฒนาการขัน้ นี้ชะงัก เมือ โตขึ้นจะกลายเป็ น
กะเทยหรือรักเพศเดียวกัน หรือ มีผลให้มคี วามก้าวร้าวทางเพศหรือมีความแปรปรวนทางเพศ
เช่น พวกทีช่ อบอวดอวัยวะเพศ เป็นต้น
4) ขัน้ ซ่ อนเร้น (Latency Stage) (5-12 ปี ) เริม่ สนใจแสดงบทบาททางเพศของ
ตน แต่ยงั ไม่สนใจเพศตรงข้าม ความต้องการทางเพศยังแอบแฝงอยู่ ไม่มกี ารชะงักงันในขัน้ นี้
5) ขัน้ อวัยวะเพศปกติ (Genital Stage) เป็นระยะหนุ่ มสาว มีความสนใจในเพศ
ตรงข้าม มีความคิดทางด้านเพศไปสู่ความเป็ นผู้ใหญ่มากขึน้ แสดงความเป็ นชายจริงหญิงแท้
ไม่มกี ารหยุดชะงักในขัน้ นี้

2. ทฤษฎีพฒ ั นาการทางจิ ตสังคม (Psychosocial Theory) ของอีริคสัน


อีรคิ อีรคิ สัน (Erik Erikson) เคยอยู่ในกลุ่มจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ เขาได้สร้าง
ทฤษฎีเกีย่ วกับพัฒนาการทางจิตสังคมว่า “Psychosocial development” เขาอธิบายว่า ลักษณะ
พัฒนาการมนุ ษย์ทุกวัย ได้รบั อิทธิพลจากสังคมทีอ่ าศัยอยูแ่ ละโดยเฉพาะอย่างยิง่ บิดามารดา ถ้า
เด็กมันใจว่
่ าพ่อแม่รกั เขา ความสัมพันธ์ในขัน้ นี้กจ็ ะเป็ นจุดเริม่ ต้นในการพัฒนาอารมณ์และความ
เชื่อมันของเด็
่ กในวัยถัดไป ความรู้สกึ ของเด็กที่เกิดขึน้ จึงขึน้ อยู่กบั การปฏิบตั ิของบิดามารดา
ตลอดจนญาติพ่นี ้ อง เพื่อนฝูง บุคคลที่อยู่แวดล้อ ม พัฒนาการมนุ ษย์ต ามทฤษฎีของอีรคิ สัน
แสดงขัน้ ตอนตัง้ แต่เกิดไปจนตาย ดังนี้ (Ornstein. 1988: 110-111)
ขัน้ ที่ 1 ความไว้วางใจ - ความไม่ไว้วางใจ (Trust vs. Mistrust) (0-1 ปี ) ทารก
พัฒนาความไว้วางใจจากการได้รบั ความดูแลเอาใจใส่ทค่ี งเส้นคงวาจากพ่อแม่ ได้รบั สิง่ ที่ตนเอง
ต้องการ โดยเฉพาะความต้องการทางด้านร่างกาย นาไปสู่ความไว้วางใจต่อสิง่ แวดล้อม การ
มองโลกในแง่ดี และการยอมรับประสบการณ์ใหม่ๆ ถ้าเด็กไม่ได้รบั การตอบสนองที่ดใี นวัยนี้ ก็
จะทาให้มคี วามไม่ไว้วางใจเกิดขึน้ ในจิตใจ
ขัน้ ที่ 2 ความพึ่งพาตนเอง - ความสงสัย และความละอาย (Autonomy vs.
Doubt and Shame) (2-3 ปี ) เด็กเริม่ เรียนรูส้ งิ่ แวดล้อมรอบๆ ตัว และคิดว่าสามารถช่วยเหลือ
ตนเองได้ อย่างไรก็ดี เด็กก็ยงั ต้องการความช่วยเหลือ เพื่อให้เขาเชื่อมันว่ ่ าเขามีความสามารถ
เพียงพอ ไม่ให้เด็กเกิดความคิดในเชิงลบกับตนเอง เพราะจะทาให้เขาเกิดความสงสัยและละอาย
58

ในความสามารถ แต่ ถ้า พ่ อ แม่ทาแทนเด็กทุ ก อย่า ง จะทาให้เ ด็ก ไม่ ม นใจในตนเอง ั่ การให้
ประสบการณ์ ท่ที าให้เ ด็กได้รู้จกั แก้ปญั หาบ้างก็จะทาให้เ ด็กได้รู้จกั เรียนรู้ การแก้ปญั หาและ
นาไปสู่การพึง่ พาตนเอง
ขัน้ ที่ 3 ความคิ ด ริ เ ริ่ ม - ความรู้ สึ ก ผิ ด (Initiative vs. Guilt) (4-5 ปี ) เด็ ก มี
ความคิดริเริม่ มีเหตุผล และมีความสามารถในการทากิจกรรมต่างๆ พ่อแม่ควรให้การสนับสนุ น
การกระทาของลูก อย่างเหมาะสม เช่น เมื่อเด็กเกิดความสงสัย หรือมีปญั หาในการทากิจกรรม
พ่อแม่ควรให้คาแนะนาลูกด้วยความเต็มใจ แต่ไม่ต้องไปช่วยเหลือเด็กทุกอย่าง เพราะจะทาให้
เด็กเกิดความไม่พอใจ รูส้ กึ ว่าความผิดของตนเองทีต่ อ้ งให้คนอื่นมาช่วยเหลือ
ขัน้ ที่ 4 ความขยันหมันเพี ่ ยร - ความรู้สึกด้อย (Industry vs. Inferiority) (6-11
ปี ) เด็ก เมื่อ อยู่ใ นวัย ต้อ งเข้าโรงเรีย น ต่ า งมุ่ง หวังที่จะประสบความส าเร็จ ในการเรียน หรือ
คาดหวังความสาเร็จจากงานทีเ่ ขาทา เด็กจะมีความพยายามเอาใจใส่ทางานอย่างจริงจัง ดังนัน้
หากเด็กได้รบั คาชมเชยและได้รบั กาลังใจ ก็จะทาให้เด็กเกิดความขยัน แต่ถ้าเด็กประสบความ
ล้มเหลวในการทางาน ความรูส้ กึ ด้อยก็จะเกิดขึน้
ขัน้ ที่ 5 การมี เ อกลั ก ษณ์ - ความสั บ สนในบทบาท (Identity vs. Role
Confusion) (12-18 ปี) วัยรุ่นมักแสวงหาความเป็ นตัวของตัวเองและเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึง่ จะ
ทาให้เขารูว้ ่า เขาคือส่วนใดของสังคม ความรูส้ กึ ว่าได้รบั การยอมรับจากเพื่อนเป็ นสิง่ ที่สาคัญ
ที่สุ ด ของวัยรุ่น การไม่สามารถยึดถือ เอกลักษณ์เ ป็ นของตนจะทาให้เ กิดความรู้สกึ สับสนใน
บทบาท
ขัน้ ที่ 6 ความผูก พัน - การแยกจากกลุ่ ม (Intimacy vs. Isolation) (Young
adult) วัยผู้ใหญ่ตอนต้นจะรูจ้ กั ปรับตนให้เข้ากับผู้อ่นื มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มี
ความสุขจากการได้รกั ผูอ้ ่นื และผูอ้ ่นื มารักตน หากบุคคลทีไ่ ม่สามารถทาตนให้เป็นทีย่ อมรับจาก
ผูอ้ ่นื หรือเป็นบุคคลทีส่ งั คมไม่ตอ้ งการ ก็จะแยกตัวออกไป และใช้ชวี ติ อย่างโดดเดีย่ ว
ขัน้ ที่ 7 ความรับผิ ดชอบและความสนใจตนเอง (Generativity versus Self -
Absorption) (Middle age) วัยผูใ้ หญ่หรือวัยกลางคนจะมีความรับผิดชอบต่อครอบครัวและสังคม
เป็ นวัยที่เริม่ สนใจปญั หาของสังคมมากกว่าปญั หาของตนเอง รูส้ กึ เป็ นสุขใจที่ได้ทาประโยชน์
และดูแลผูอ้ ่นื ส่วนบุคคลทีส่ นใจแต่เฉพาะตนเอง ก็จะทาให้เป็นผูใ้ หญ่ทไ่ี ม่น่านับถือ
ขัน้ ที่ 8 มีความสุขสมบูรณ์ ในชี วิต และความสิ้ นหวัง (Integrity vs. Despair)
(Old age) วัยชราจะมีความสุขกับชีวติ ที่ประสบความสาเร็จ หากเป็ นผู้ทม่ี คี วามพอใจในชีวติ ที่
ผ่านมา แต่ถา้ บุคคลทีไ่ ม่ประสบความสาเร็จหรือผิดหวังกับชีวติ ทีผ่ ่านมา ก็จะมีความทุกข์ใจและ
สิน้ หวัง เพราะเวลาของชีวติ ทีเ่ หลืออยู่ ไม่เอื้ออานวยให้ต่อสูด้ ้นิ รนเพื่อสิง่ ทีห่ วัง อีกต่อไป จึงทา
ให้เกิดบุคลิกภาพและอารมณ์ทแ่ี ปรปรวนในวัยชรา
59

3. ทฤษฎี พั ฒ นาการทาง การรู้ คิ ด (Cognitive Development Theory) ของ


เพียเจต์
ฌอง เพีย เจต์ (Jean Piaget) นั ก จิต วิท ยาชาวสวิต เซอร์แ ลนด์ ได้ ศึก ษาค้ น คว้ า
เกี่ยวกับพฤติกรรมเด็ก จนสามารถกาหนดเป็ นแบบแผนพฤติกรรมของเด็ก และพัฒนาขึน้ เป็ น
ทฤษฎีพฒ ั นาการทางสติปญั ญาอันเป็ นทฤษฎีทศ่ี กึ ษาโครงสร้างทางสติปญั ญาของมนุ ษย์อย่าง
ละเอีย ด และถู ก น ามาใช้เ ป็ น หลัก การพื้น ฐานส าคัญ ในวงการจิต วิท ยาพัฒ นาการและวง
การศึกษาในปจั จุบนั เพียเจต์ใช้เวลากว่า 60 ปี ศึกษาพัฒนาการตัง้ แต่แรกเกิดจนถึงวันผู้ใหญ่
โดยมีความเชื่อว่า “เด็กแตกต่างจากผูใ้ หญ่โดยสิน้ เชิง ทัง้ ในด้านการมองโลก ภาษา การคิด และ
วิธกี ารสารวจสิง่ ต่างๆ ทีเ่ ด็กใช้นนั ้ ก็แตกต่างจากผู้ใหญ่ดว้ ย” (พร เดชชัยยัญ. 2530 อ้างอิงจาก
Ginsburg; & Opper. 1969: 222)
ทฤษฎีของเพียเจต์ กล่าวถึง องค์ประกอบทางสติปญั ญาของมนุ ษย์ไว้ดงั นี้
1. สคี มา (Schema) เป็ นโครงสร้างทางสติปญั ญา ซึ่ง เป็ นผลมาจากการที่อินทรีย์
ปรับตัว และจัด กระทาต่ อ สิ่งแวดล้อ ม เปรีย บเทียบได้กับความคิด รวบยอด (Concept) หลัก
พัฒนาการความคิดรวบยอดอาศัยพืน้ ฐาน 2 ประการ คือ การจัดระเบียบภายใน (Organization)
และ พืน้ ฐานด้านการปรับโครงสร้าง (Adaptation) ซึ่งดาเนินการอยู่ตลอดเวลา และดาเนินการ
ไปพร้อ มๆ กับการจัดระเบียบภายในและเป็ นระบบการปรับ โครงสร้า ง ทัง้ นี้ เพราะการจัด
ระเบียบภายในช่วยให้มนุษย์ปรับโครงสร้างความรูค้ วามเข้าใจของตนให้เข้ากับสิง่ แวดล้อม เพื่อ
การอยู่รอดของชีวติ ส่วนกระบวนการปรับโครงสร้าง เพียเจต์แบ่งออกเป็ น 2 ส่วน ได้แก่ การ
ปรับให้เข้ากับโครงสร้าง (Assimilation) และการปรับขยายโครงสร้าง (Accomodation) ทัง้ สอง
ส่วนนี้เกี่ยวข้องกับการดาเนินการด้านการรูค้ ดิ ตลอดเวลาและดาเนินควบคู่กนั ไป เพื่อให้มนุ ษย์
ปรับตัวเข้ากับสิง่ แวดล้อมภายนอก (Ornstein. 1988: 100-106)
2. กระบวนการปรับให้ เข้ากับโครงสร้าง (Assimilation Process) เป็ นแนวคิด ที่
อธิบายเช่นเดียวกับทางชีววิทยา ตัวอย่างเช่น เมื่อร่างกายรับประทานอาหารเข้าไปก็จะแตกตัว
กระจายลงไปให้เหมาะสมกับความต้องการของเซลล์ และเมื่ออาหารผ่านเข้าไปอยู่ในเซลล์ กจ็ ะ
ถู ก เปลี่ย นไปเป็ น พลัง งานให้เ หมาะสมกับ โครงสร้า งเซลล์ท่ีม ีอ ยู่ โดยอาหารจะถู ก เซลล์
ปรับเปลี่ยนเพื่อ ให้ ส ามารถเข้าไปรวมกับ ลักษณะต่ างๆ ภายในเซลล์ ซึ่ง การปรับให้เ ข้ากับ
โครงสร้างก็คอื บูรณาการ (Integration) รวมเอาสิง่ แวดล้อมจากภายนอกเข้าไปสู่โครงสร้างที่ม ี
อยูแ่ ล้วภายใน
3. กระบวนการปรับขยายโครงสร้าง (Accomodation Process) เป็ นกระบวนการ
ทีส่ นับสนุนต่อการปรับให้เข้ากับโครงสร้าง โดยการปรับเปลีย่ นโครงสร้างของการรูค้ ดิ ภายในตัว
บุคคลให้เหมาะสมกับสิง่ แวดล้อมภายนอก
60

4. การปรับตัวเข้ าสู่สภาวะสมดุล (Equilibration) เป็ น แรงผลัก ดัน อยู่เ บื้อ งหลัง


พัฒ นาการการรู้ค ิด จะต้ อ งมีค วามสมดุ ล กัน ระหว่ า งบุ ค คลกับ สิ่ง เร้า จึง จ าเป็ น ต้อ งมีก าร
เปลี่ยนแปลงชดเชยกันในด้านโครงสร้างของบุค คล เพื่อ ให้เ ข้ากับสิ่งเร้า แต่ ส ภาวะสมดุล นี้
เป็ นอยู่เ พียงชัวคราว
่ เพราะว่าระบบนัน้ ต้อ งทางานต่ อ ไป เป็ นกระบวนการต่ อ เนื่อ งในด้าน
พัฒนาการของการรูค้ ดิ เพื่อให้บทบาทด้านการปรับตัวของระบบยังคงดารงอยู่

ทฤษฎีพ ฒ ั นาการทางการรู้ค ิดหรือ พัฒนาการทางสติปญั ญา โดยแบ่งขัน้ ตอนของ


พัฒนาการเป็น 4 ขัน้ ดังนี้ (Kalat. 1990: 192-200)
ขัน้ ที่ 1 ขัน้ ประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว (Sensory-motor Stage) ช่วงอายุ
ตัง้ แต่แรกเกิดจนถึงอายุ 2 ขวบ โดยประมาณ ซึง่ เพียเจต์อธิบายว่า เป็ นระยะทีเ่ ด็กมีการซุกซน
ชอบการเคลื่อนไหวอยู่ไม่สุข เป็นความพยายามของเด็ก ทีจ่ ะเข้าใจสิง่ แวดล้อม โดยอาศัยการใช้
ประสาทสัมผัส (Sensory) การเห็น ได้ยนิ ได้กลิน่ รับรส และการรูส้ กึ ทางผิวหนัง และอวัยวะที่
เกี่ยวข้อ งกับการเคลื่อ นไหว (Motor) เช่น การลูบค า หยิบจับ คืบคลาน เป็ นต้น พฤติกรรม
เหล่านี้เป็ นผลของพัฒนาการทางกาย และในทรรศนะของเพียเจต์ พฤติกรรมทีท่ ากรแสดงออก
เช่น การดูด การกามือ การมอง เป็ นต้น จัดเป็ นพฤติกรรมประเภทกิรยิ าสะท้อน ต่อจากนัน้
ทารกจะพัฒนาปฏิกิรยิ าสะท้องให้เป็ นรูปแบบที่ซบั ซ้อนมากขึ้นกว่าการเป็ นปฏิกิรยิ าสะท้อ น
อย่างง่าย โดยจัดปฏิกิรยิ าสะท้อ นให้ทางานรวมกัน เช่น การมองตามวัต ถุ ส ิ่งของพร้อ มกับ
เคลื่อนไหวมือเพื่อจับต้องสิง่ ของนัน้ จนกลายเป็ นพฤติกรรมใหม่ คือ การคว้า จับ สติปญั ญาของ
มนุษย์พฒ ั นาจากปฏิสมั พันธ์ระหว่างกิรยิ าสะท้อนเหล่านี้กบั สิง่ แวดล้อมขัน้ เริม่ ต้นคิด
61

นอกจากนี้ สคีมา (Schema) หรือ โครงสร้างทางสติปญั ญา จะเพิ่มขึ้นเรื่อ ยๆ


ทารกจะสามารถรวบรวมสิง่ เร้าต่างๆ มาสัมพันธ์กนั ได้ เช่น การดูดเป็นปฏิกริ ยิ าสะท้อน ทีท่ ารก
สามารถทาได้ตงั ้ แต่แรกเกิด แต่เมือ่ ผ่านการทาซ้าๆ และมีประสบการณ์ต่างๆ พฤติกรรมการดูด
นี้กเ็ ปลีย่ นไป ทารกจะอ้าปากเพื่อทีจ่ ะดูดนมเมือ่ เห็นขวดนม
ความคงที่ ข องวัต ถุ (Permanent Object) เป็ น สิ่ง ที่เ ริ่ม พัฒ นาขึ้น ในวัย นี้
สาหรับผูใ้ หญ่วตั ถุจะไม่เปลีย่ นแปลงไม่ว่าจะถูกเคลื่อนย้ายไปอยู่ทใ่ี ด หรือมองวัตถุในทิศทางใด
เพียเจต์ กล่าวว่า การสร้างความคิดรวบยอดเกีย่ วกับความคงทีข่ องวัตถุในเด็กควรเริม่ ทาในขัน้
ประสาทสัม ผัส และการเคลื่อ นไหว ทารกจะเริ่ม สนใจหาสิ่ง ของที่ห ายจากสายตาและด้ว ย
ประสบการณ์ทาให้ทารกเริม่ ตระหนักว่าของทีห่ ายไปนัน้ ยังคงอยู่ไม่ได้หายไปจริงๆ ทารกอายุ
9 เดือนเองก็ยงั ไม่มคี วามเข้าใจว่าวัตถุมตี วั ตนทีถ่ าวรในสิง่ แวดล้อม มีความเป็นอิสระทีแ่ ยกออก
จากการค้นหาของทารกเอง ซึ่งเพียเจต์อธิบายว่าสิง่ ที่ทารกได้เรียนรูจ้ ากประสบการณ์เดิม คือ
การตอบสนองที่ทาให้เกิดประสบการณ์ทางประสาทและการเคลื่อนไหวที่ให้ความสุข คือ การ
กลับไปค้นหาทีเ่ ดิมทีไ่ ด้พบวัตถุ (เพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์. 2536:30, 32)

ภาพแสดง ความคงทีข่ องวัตถุ

ขัน้ ที่ 2 ขัน้ ความคิ ดก่อนปฏิ บตั ิ การ (Preoperational Stage) อายุในช่วง 2-7 ขวบ
เพียเจต์อธิบายว่าเด็กเริม่ พัฒนาการใช้สญ ั ลักษณ์ต่างๆ ในการทาความเข้าใจและแสดงออกกับ
สิง่ แวดล้อม เด็กจะพยายามใช้ภาษาในการสื่อสาร เช่น เรียกชื่อสิง่ ของ ถึงแม้ว่าอาจจะสับสนไป
บ้างก็ตาม การคิดของเด็กยังผูกพันกับการรับรูอ้ ย่างมาก เด็กเริม่ รูจ้ กั ใช้เหตุผลบางประการใน
การคิด แต่ยงั ไม่ลกึ ซึง้ พอ ไม่สามารถวิเคราะห์เกินเลยไปจากสิง่ ทีเ่ ห็น ซึง่ แตกต่างไปจากผูใ้ หญ่
เด็กจะไม่เข้าใจ เรื่อง การอนุ รกั ษ์ปริมาณ (Conservation of Quantity) ได้ เขาไม่สามารถเข้าใจ
สิง่ ทีเ่ ท่ากัน แม้จะเปลีย่ นรูปร่าง หรือแปรสภาพ หรือเปลีย่ นทีว่ าง วัตถุนนั ้ จะยังคงอยูเ่ ท่ากัน
62

พัฒนาการด้านการคิ ดอนุรกั ษ์
การอนุรกั ษ์ (Conservation) เป็ นความคิดรวบยอดขัน้ พืน้ ฐานของพัฒนาการทาง
สติปญั ญาทีเ่ พียเจต์อธิบายว่า การอนุ รกั ษ์เป็นหลักการอธิบายความคงทีข่ องวัตถุ ไม่ว่าวัตถุนนั ้
จะมีการเปลีย่ นรูปร่างของวัตถุนนั ้ ไปอย่างไรก็ตาม ตัวอย่างการอนุรกั ษ์ปริมาตร เช่น

1. ใ ห้ เ ด็ ก ดู ป ริ ม า ณ น้ า ใ น 2. จากนัน้ เทน้าแก้วหนึ่งลงไป 3. เด็กจะบอกว่าปริมาณน้ าใน


ภาชนะที่ เ ท่ า กั น ทัง้ 2 แก้ ว ในภาชนะทีฐ่ านเล็กแต่ทรงสูง ภาชนะทรงสูงมีมากกว่า แสดง
เด็ก บอกว่ า ปริม าณน้ า ทัง้ 2 แล้ว ถามเด็กว่าน้ าในภาชนะ ว่ า เด็ ก รับ รู้ ป ริม าณมากน้ อ ย
แก้วเท่ากัน ใดมีปริมาณมากกว่า ของน้ าตามระดับน้ าที่มองเห็น
โดยไม่คานึงถึงสิง่ อื่น

นอกจากนี้ เพียเจต์ได้ศกึ ษาการคิดอนุ รกั ษ์ในอีกหลายลักษณะ เช่น การอนุ รกั ษ์


จานวนมวลสาร น้ าหนัก ปริม าตร เป็ น ต้น ด้ว ยวัส ดุ ช นิ ด ต่ า งๆ เช่ น น้ า ดินเหนี ยว ลู ก ป ดั
เหรียญ ตัวอย่างการทดลอง มีดงั นี้

1. ให้เด็ก ดูเ หรียญทัง้ 2 แถว 2. จากนัน้ ได้ท าการทดลอง 3. เ ด็ ก จ ะ บ อ ก ว่ า แ ถ ว ที่


แล้วถามว่าเหรียญแถวไหนที่ โดยยื ด ระยะห่ า งระหว่ า ง ระยะห่างระหว่างเหรียญที่ถู ก
มีป ริม าณมากกว่ า จากนั ้น เหรียญแถวหนึ่งออกไป แล้ว ยืด ออกไปมีเ หรีย ญจ านวนที่
เด็ก ก็จะทาการนับ แล้ว บอก ถามเด็กว่าเหรียญแถวไหนมี มากกว่า
ว่าเหรียญมีจานวนเท่ากัน จานวนมากกว่ากัน
63

1. ให้เด็กดูดนิ น้ ามัน 2 ก้อนที่ 2. จากนั ้น บี้ ดิ น น้ ามั น ก้ อ น 3. เด็ ก จะบอกว่ า ดิ น น้ ามั น


มีขนาดเท่ากัน หนึ่งให้ขยายความยาวออกไป ก้อนทีย่ าวมากกว่ากัน
แล้วถามเด็กว่าดินน้ ามันก้อน
ไหนมีปริมาณมากกว่ากัน

จะเห็นได้ว่าเด็กเล็กทีอ่ ยูใ่ นขัน้ พัฒนาการด้านการคิดอนุรกั ษ์เป็นสิง่ ทีย่ าก เพราะ


โครงสร้างทางสติปญั ญายังไม่พฒ ั นาพอ จนกว่าเขาจะสามารถเข้าใจและใช้หลักปฏิบตั กิ ารทาง
ตรรกศาสตร์ เช่ น ความสามารถในการคิด ย้อ นกลับ ( Reversibility) ได้ ซึ่ง พัฒ นาในขัน้
ปฏิบตั กิ ารคิดด้วยรูปธรรม คือ ช่วง 7 – 11 ปี เขาสรุปว่าพัฒนาการการเกิดความคิดอนุรกั ษ์ม ี 3
ขัน้ ตอน ดังนี้
ขัน้ ที่ 1 ขัน้ ที่ยงั ไม่เกิดความคิดอนุ รกั ษ์ (Nonconservational Stage) การคิดของ
เด็กยึดติดกับการรับรู้ ขัน้ นี้ยงั ไม่เกิดความคิดหาเหตุผลทางตรรกศาสตร์
ขัน้ ที่ 2 ขัน้ หัวเลีย้ วหัวต่อ (Transitional Stage) เด็กจะอยู่ในระยะที่เกิดความคิด
อนุ รกั ษ์ไ ด้ภ ายใต้ส ถานการณ์ บางอย่า ง แต่ จะไม่เ กิดความคิดอนุ ร กั ษ์ ถ้าเงื่อ นไขเหล่ านัน้
เปลีย่ นไป ซึง่ ตรงกับขัน้ ความคิดก่อนปฏิบตั กิ าร (Preoperational Stage)
ขัน้ ที่ 3 ขัน้ เกิดความคิดอนุ รกั ษ์ (Conservational Stage) เด็กสามารถแก้ปญั หา
และเกิดความคิดอนุ รกั ษ์ขน้ึ และเริม่ แก้ปญั หาการอนุ รกั ษ์บางอย่างได้ตรงกับระยะแรกของขัน้
ปฏิบตั กิ ารคิดเชิงรูปธรรม (Concrete – Operational Stage)
ในระยะ Preoperational period แม้ค วามคิด และภาษาของเด็กจะก้าวหน้ าขึ้น
มาก แต่ เด็กจะไม่สามารถรับรู้หรือเข้าใจความคิดผู้อ่นื จะยึดถือการรับรู้ของตนเองเป็ นหลัก
เรียกว่า การยึดตนเองเป็ นศูนย์กลาง (Egocentrism) เช่น เรามักเห็นเด็กเล็ก ๆ พูดคุยกัน แต่
ต่างฝ่ายต่างพูดเรื่องของตนเอง โดยไม่คานึงว่าอีกฝ่ายหนึ่งจะเข้าใจสิง่ ทีต่ นพูดหรือไม่ เป็ นต้น
เด็กจะตอบสนองตามแนวคิดของตนเท่านัน้ เด็กจะไม่สามารถเข้าใจความคิดของผูอ้ ่นื
ขัน้ ที่ 3 ขัน้ ปฏิ บตั ิ การคิ ดเชิ งรูปธรรม (Concrete – Operational Stage) ช่วง
อายุป ระมาณ 7-11 ขวบ เด็ก ในระยะนี้ เด็ก มีค วามคิด เข้า ใจสิ่ง แวดล้อ มที่เ ป็ น รูป ธรรมได้
สามารถสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ ต่างๆ หรือเหตุการณ์ท่มี คี วามเกี่ยวข้องกัน เช่น เขียว-
ใบไม้-ต้ น ไม้ ความร้อ น-ไฟ-เตา เป็ น ต้ น ขัน้ นี้ ถือ ว่ า เด็ก เกิด ความคิด โดยใช้ป ฏิบ ัติก าร
64

(Operation) คือ การจัดกระทาต่ อ วัต ถุ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่ างวัต ถุ ใ ห้เ กิด ขึ้น ซึ่งจะ
นาไปสู่การคิดอย่างมีเหตุผลทางตรรกศาสตร์ พัฒนาการทางความคิดจะสูงขึน้ การค้นหาความ
จริงเกี่ยวกับวัตถุจะมีแบบแผน และไม่ตดิ กับการรับรูล้ กั ษณะภายนอกของสิง่ เร้าดังเช่นในขัน้
ก่อนหน้า เด็กจะพิจารณาสิง่ ต่างๆ โดยยึดตนเองเป็ นศูนย์กลางน้อยลง อย่างไรก็ตาม การคิด
แบบมีเหตุผลที่ถูกต้อง ต้องอาศัยเวลา ซึ่งเด็กจะต้องมีอายุทส่ี ูงพอที่จะเกิดความเข้าใจในเรื่อง
ต่างๆ เกีย่ วกับวัตถุทเ่ี พิม่ ขึน้
ในขัน้ ก่อนปฏิบตั กิ าร เด็กจะพิจารณาวัตถุในสองมิตพิ ร้อมกันไม่ได้ แต่เด็กในขัน้
ปฏิบตั กิ ารคิดด้วยรูปธรรมจะสามารถคิดอนุ รกั ษ์ได้ คือ ความสามารถด้านการคิดของเด็กในการ
จัดการกับปญั หาทีเ่ กีย่ วข้องกับวัตถุต่างๆ เด็กวัยนี้เริม่ เข้าใจว่าวัตถุอย่างเดียวกันมีขนาดเท่ากัน
เมื่อถูกเปลีย่ นรูปร่างไปก็ยงั มีขนาดเท่ากันเช่นเดิม รูจ้ กั การคิดประเภทการจัดลาดับ สามารถใช้
ความคิดเหตุผลในเรื่องของความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการคิดทบทวนไปมา (Reversibility) โดย
ธรรมชาติเด็กในระดับอายุ 7 – 11 ปี จะเกิดการคิดปฏิบตั กิ ารทีส่ าคัญ คือ
1. การทวนกลับ (Reversibility) เป็ นตัวปฏิบตั กิ ารที่จะสามารถคิดย้อนกลับไปสู่
จุด เริ่มต้น และกลับมาสู่จุดจบได้ เช่ น ถ้ าเทน้ าจากแก้ว C กลับไปยัง แก้ว B ตามเดิม จะได้
ปริมาณเท่าเดิม นัน่ คือของเหลวมีปริมาณเท่ากัน เพียเจต์ให้ความสาคัญกับการคิดแบบทวน
กลับเป็ นอย่างมาก ว่าเป็ นการแสดงถึงระดับสติปญั ญาทีจ่ ดั ว่าอยูใ่ นขัน้ สูง
2. การรวมเข้าด้วยกัน (Combinativity) เป็ นการปฏิบตั กิ ารของการจัดประเภทสิง่
ต่างๆ รวมเข้าด้วยกันเป็นองค์ประกอบใหม่ เช่น สุนัขสีดารวมกับสุนขั สีขาว เมื่อรวมประเภทจะ
จัดเป็นพวกสุนขั ได้
3. การเชื่อมความสัมพันธ์ (Associativity) เป็ นปฏิบตั ิการที่หาวิธตี ่างๆ ในการ
รวมเข้าด้วยกัน แต่ ผลที่ได้อ ย่างเดียวกัน เช่น การนาไม้ยาว 10 เซนติเ มตร 4 อัน และ ไม้
บรรทัดยาว 12 นิ้ว 2 อัน มาเรียงกัน โดยอาจจะเรียงไม้อนั สัน้ ก่อน หรือเรียงไม้อนั ยาวก่อนหรือ
สลับกันก็ได้
4. ความเป็ นเอกลักษณ์ (Identity) เป็ นปฏิบตั กิ ารที่เป็ นการรวมส่วนประกอบอัน
ใดอันหนึ่งเข้ากับส่วนที่ประกอบที่ตรงกันข้ามแล้วเกิดผลลัพธ์เป็ นศูนย์ เช่น มีน้ า 1 หน่ วย ตั ก
ออกไป 1 หน่ วย ผลลัพธ์ทเ่ี กิดขึน้ คือ ศูนย์ (0) ไม่มนี ้ าเลย หรือ จากการอนุรกั ษ์ปริมาตรน้ าใน
แก้วใหม่ทม่ี าจากน้ าแก้วเดิม โดยไม่ได้มกี ารเพิม่ น้ าเข้าไปหรือเทออก ฉะนัน้ ปริมาณน้ าก็ยงั คง
เดิม
เมนเดลสัน (Mendelson. 1984: 1789-1790) ได้ศกึ ษาการรับรูท้ างสายตาของเด็ก โต
พบว่า เด็กโตจะใช้ลกั ษณะการตัดสินเชิงปริมาณภายในของภาพ เป็ นตัวตัดสินการแบ่งภาพ แต่
เด็กเล็กจะใช้โครงสร้างและลักษณะภายนอกของสิง่ เร้า เช่น ความสูง -ต่ า มาเป็ นตัวตัดสินการ
จัดแบ่งภาพ เป็นต้น การตัดสินเชิงปริมาณและการใช้โครงสร้างหรือองค์ประกอบเชิงเส้นและมุม
จะส่งผลต่อการรับรูท้ างสายตาโดยเฉพาะในเด็กเล็ก และส่งผลน้อยลงในเด็กทีโ่ ตขึน้ เพราะเมื่อ
65

เด็ก เจริญ เติบ โตขึ้น การรับ รู้ทางสายตาจะพัฒนาขึ้นจนสามารถรับรู้ใ นหลายด้านหลายมิติ


พร้อมๆ กันได้ และรับรูถ้ งึ ลักษณะภายในหรือคุณสมบัตทิ เ่ี ป็นนามธรรมของสิง่ เร้านัน้ ได้ จนการ
คิดกว้างไกลและลึกซึง้ เข้าสู่การคิดปฏิบตั กิ ารเชิงนามธรรม Formal Operations Stage
ขัน้ ที่ 4 ขัน้ ปฏิ บัติ ก ารคิ ด เชิ ง นามธรรม (Formal Operational Stage) อยู่
ในช่วงอายุ 11-15 ปี ซึ่งเป็ นวัยที่เด็กใช้เหตุผลเชิงตรรกะและคิดทบทวนไปมาได้เป็ นอย่างดี
และเด็กสามารถใช้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์และสร้างสมมติฐานขึน้ ในการคิดแก้ปญั หา เช่น การ
จัดอันดับ (Seriation) มีสงิ่ ของ 3 ขนาด เช่น ถ้า A ใหญ่กว่า B และ B ใหญ่กว่า C เด็กจะคิด
ต่อไปได้ทนั ทีว่า A จะต้องใหญ่กว่า C และถ้าเกิด A แล้ว B จะเกิดตาม เด็กก็จะสามารถคิด
ต่อไปได้ทนั ทีว่า ถ้า B ไม่เกิด A ก็ไม่เกิด เป็ นต้น แต่ถา้ ให้เด็ก 7 ปี เรียงลาดับขนาดใหญ่ไปยัง
ขนาดเล็ก โดยให้เด็กกระทากับวัตถุจริง เขาจะทาได้อย่างง่ายดาย แต่ถ้าตัง้ คาถามโดยไม่มวี ตั ถุ
อยูต่ รงหน้าแล้ว เด็ก 7 ปี จะตอบไม่ได้ แต่เด็กทีอ่ ยูใ่ นขัน้ ปฏิบตั กิ ารคิดเชิงนามธรรม จะสามารถ
ตอบคาถามนี้โดยไม่ต้องใช้วตั ถุมาแสดงตรงหน้าเลย เด็กสามารถคาดคะเนปรากฏการณ์หรือ
เหตุการณ์ต่างๆ ทักษะการคิดขัน้ สูง และการเรียนรูเ้ ชิงนามธรรมจะแสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดใน
วัยนี้ เพียเจต์ก ล่ าวว่ า ในขัน้ นี้ โ ครงสร้างทางสติป ญ ั ญาของเด็ก มาถึง ระยะวุ ฒภิ าวะ นัน่ คือ
ศักยภาพทางด้านคุณภาพของการคิดของเด็กได้ดาเนินการมาถึงจุดสูงสุด เมื่อปฏิบตั กิ ารด้าน
นามธรรมบรรลุผลสาเร็จ

4. ทฤษฎีพฒั นาการทางจริ ยธรรม (Moral Development Theory) ของลอเรนส์


โคลเบิ รก์ (Lawrence Kohlberg)
โคลเบิรก์ (Kohlberg. 1969 อ้างอิงจาก ดวงเดือน พันธุมนาวิน. 2524) ได้ศกึ ษา
จริยธรรมตามแนวทฤษฎีของเพียเจต์ และพบความจริงว่าในพัฒนาการทางจริยธรรมของมนุ ษย์
ส่วนมากมิได้บรรลุจติ สมบูรณ์ในบุคคลอายุ 10 ปี แต่มนุ ษย์ในสภาพปกติจะมีพฒ ั นาการทาง
จริยธรรมอีกหลายขัน้ ตอน จากอายุ 11 ปี ถึง 25 ปี โคลเบิรก์ เห็นว่าการใช้เหตุผลเพื่อตัดสินใจที่
จะเลือกทาอย่างใดอย่างหนึ่งในสถานการณ์ต่างๆ ย่อมจะแสดงให้เห็นถึงความเจริญทางจิตใจ
ของบุคคลได้อย่างมีแบบแผน นอกจากนี้ ยังอาจทาให้เข้าใจพฤติกรรมของบุคคลในสถานการณ์
ต่างๆ ได้ และท้ายสุ ดอาจทาให้สามารถใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมของบุค คลเป็ นเครื่องทานาย
พฤติกรรมของเขาในสถานการณ์แต่ ละชนิดได้ สาหรับการบรรลุวุฒภิ าวะเชิงจริยธรรมของ
บุคคลนัน้ โคลเบิรก์ เชื่อว่าจะแสดงออกในเหตุผลเชิงจริยธรรมได้อย่างเด่นชัดที่สุด เหตุผลเชิง
จริยธรรมนี้ไม่ขน้ึ อยู่กบั กฎเกณฑ์ของสังคมใดสังคมหนึ่งโดยเฉพาะ เพราะไม่ใช่การประเมินค่า
การกระทาไปในทานองว่า “ดี” หรือ “เลว” แต่จะเป็ นการใช้เหตุผลที่ลกึ ซึ้งซึง่ ยากแก่การเข้าใจ
ยิง่ ขึน้ เป็นลาดับไป และจากการวิเคราะห์ลกั ษณะของคาตอบของเยาวชนอเมริกนั อายุ 10 ถึง 16
ปี เกี่ยวกับเหตุผลในการเลือกกระทาพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ในสถานการณ์ท่ขี ดั แย้งกัน
66

ระหว่างความต้องการส่วนบุคคลและกฎเกณฑ์ของกลุ่ม โคลเบิรก์ ได้แบ่งประเภทเหตุผลเชิง


จริยธรรมเหล่านี้ออกเป็ น 6 ประเภท และเรียงเหตุผลเหล่านี้ตามระดับอายุของผู้ใช้เหตุผลนัน้
แล้วจึงได้กาหนดเป็นขัน้ ตอนของพัฒนาการทางจริยธรรมทัง้ 6 ขัน้ ซึง่ ถูกแบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้
เหตุผลเชิ งจริ ยธรรมระดับที่ 1
ระดับก่อนกฎเกณฑ์ (Preconventional Level) หมายถึง ระดับของการตัดสินใจ
เลือกกระทาในสิง่ ทีเ่ ป็ นประโยชน์แก่ตนเอง โดยไม่คานึงถึงผลทีจ่ ะเกิดขึน้ แก่ผอู้ ่นื แบ่งออกเป็ น
2 ขัน้ คือ
ขัน้ ที่ 1 คือ หลักการหลบหลีกการถูกลงโทษ หมายถึง การมุ่งทีจ่ ะหลบหลีก
ให้ตนเองถูกลงโทษทางกายเพราะกลัวความเจ็บปวดที่ได้รบั และยอมทาตามคาสังของผู ่ ้ใหญ่
เพราะเป็นผูม้ อี านาจทางกายเหนือตน
ขัน้ ที่ 2 คือ หลักการแสวงหารางวัล หมายถึง การเลือกกระทาในสิง่ ทีจ่ ะนา
ความพอใจมาให้ตนเท่านัน้ เริม่ รู้จกั การแลกเปลี่ยนกันแบบเด็กๆ คือ เขาทามาฉันต้องทาไป
เขาให้ฉนั ฉันต้องให้เขา เป็นต้น
เหตุผลเชิ งจริ ยธรรมระดับที่ 2
ระดับตามกฎเกณฑ์ (Conventional Level) หมายถึง ระดับของการกระทาตาม
เกณฑ์ของกลุ่มย่อยๆ ของตนหรือทาตามกฎหมายและศาสนา บุคคลที่มจี ริยธรรมในระดับที่ 2
ยังต้อ งการการควบคุ มจากภายนอก แต่ ก็ม ีค วามสามารถในการเอาใจเขามาใส่ ใ จเรา และ
ความสามารถทีจ่ ะแสดงบทบาททางสังคมได้ แบ่งออกเป็น 2 ขัน้ คือ
ขัน้ ที่ 3 คือ หลักการทาตามทีผ่ อู้ ่นื เห็นชอบ หมายถึง การทีย่ งั ไม่เป็นตัวของ
ตัวเอง ชอบคล้อยตามการชักจูงของผูอ้ ่นื โดยเฉพาะเพื่อน
ขัน้ ที่ 4 คือ หลัก การท าตามหน้ า ที่ท างสัง คม หมายถึง การมีค วามรู้ถึง
บทบาทและหน้าทีข่ องตน ในฐานะทีเ่ ป็ นหน่ วยหนึ่งในสังคมของตน จึงถือว่าตนมีหน้าทีท่ าตาม
กฎเกณฑ์ต่างๆ ทีส่ งั คมของตนกาหนดหรือคาดหมาย
เหตุผลเชิ งจริ ยธรรมระดับที่ 3
ระดับเหนื อกฎเกณฑ์ (Postconventional Level) หมายถึง ระดับของการตัดสิน
ข้อขัดแย้งต่างๆ ด้วยการนามาคิด ตรึกตรอง หรือชังใจในตนเองเสี ่ ยก่อน แล้วตัดสินไปตามแต่
จะเห็นความสาคัญของสิง่ ใดมากกว่ากัน แบ่งออกเป็น 2 ขัน้ ตอน คือ
ขัน้ ที่ 5 คือ หลักการทาตามคามันสั ่ ญญา หมายถึง การเห็นความสาคัญของ
คนหมูม่ าก ไม่ทาตนให้ขดั ต่อสิทธิอนั พึงมีพงึ ได้ของผูอ้ ่นื สามารถควบคุมบังคับใจตนเองได้
ขัน้ ที่ 6 คือ หลักการยึดอุดมคติสากล เป็ นขัน้ สูงสุดของเหตุผลเชิงจริยธรรม
แสดงทัง้ การมีความรูส้ ากลนอกเหนือจากกฎเกณฑ์ในสังคมของตน และการมีความยืดหยุ่นทาง
จริยธรรม เพื่อจุดมุง่ หมายในบัน้ ปลายอันเป็นอุดมคติทย่ี งิ่ ใหญ่
67

โคลเบิรก์ เชื่อว่าพัฒนาการทางเหตุผลเชิงจริยธรรมของมนุ ษย์เป็ นไปตามลาดับ


ขัน้ จากขัน้ ที่ 1 เรื่อยไปจนถึงขัน้ ที่ 6 บุคคลจะพัฒนาข้ามขัน้ ไม่ได้ เพราะการใช้เหตุผลในขัน้ ที่
สูงขึ้นไปเกิดขึ้นด้วยการมีค วามสามารถในการใช้เหตุ ผลในขัน้ ที่ ต่ ากว่าอยู่แล้ว ต่อมาบุคคล
ได้รบั ประสบการณ์ทางสังคมใหม่ๆ หรือสามารถเข้าใจความหมายของประสบการณ์เก่าๆ ได้ดี
ขึน้ เกิดการเปลีย่ นแปลงทางความคิดและเหตุผล ทาให้การใช้เหตุผลในขัน้ ที่สูงต่อไปมีมากขึน้
เป็ นลาดับ ส่วนเหตุผลในขัน้ ทีต่ ่ ากว่าก็จะถูกใช้น้อยลงทุกที จนถูกละทิ้ งไปในทีส่ ุด อย่างไรก็ดี
ทฤษฎีน้ีมไิ ด้หมายความว่า มนุ ษย์ทุกคนจะต้องมีพฒ ั นาการทางจริยธรรมไปถึงขัน้ สูงสุด คือ
ขัน้ ที่ 6 แต่อาจหยุดชะงักอยูใ่ นขัน้ ใดขัน้ หนึ่งทีต่ ่ ากว่าก็ได้ ซึง่ โคลเบิรก์ พบว่าผูใ้ หญ่ส่วนมากจะมี
พัฒนาการถึงขัน้ ที่ 4 เท่านัน้ แต่การเป็ นผู้มเี หตุ ผลเชิงจริยธรรมในขัน้ ที่สูงนี้มไิ ด้หมายความ
โดยตรงว่า เขาจะเป็ นคนทาความดีอย่างสม่าเสมอด้วย เพราะเหตุผลเชิงจริยธรรมในขัน้ สูงสุด
นัน้ แสดงถึงความคิดทีม่ ลี กั ษณะเป็นประโยชน์เท่านัน้

คาถามท้ายบท
ให้นิสติ เลือกทฤษฎีพฒ ั นาการ เพื่ออธิบายพัฒนาการของวัยรุน่ ไทย
สิง่ ที่ผู้ใหญ่ “ท้อแท้ สิ้นหวัง” ในตัวเด็กไทย ณ วันนี้ จึงมีมากมายหลายประการ เช่น
ด้านความประพฤติ ขาดความเป็ นไทย การไม่รกั ษา ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย เรียนรูแ้ ละ
ทดลองเรื่องเพศเร็วเกินไป ด้านความคิดที่เห็นผิดเป็ นชอบโดยการติดยาเสพติด การมีสมั มา
คาราวะลดน้อยลงการประพฤติปฏิบตั ติ วั ต่อผูใ้ หญ่ ไม่เหมาะสม มีการแสดงความกล้าในทางทีผ่ ดิ
ทาตัวเป็ นอันธพาล ซึง่ ผูใ้ หญ่โดยส่วนใหญ่คดิ ว่า ปญั หาของเด็กมีมากขึน้ นี้ เนื่องจากสังคมไทย
ไม่ค ิดจะช่วยเด็ก อย่างเต็มที่ การดูแลเอาใจใส่ เด็กยังไม่มากพอ (ฝ่ายข่าวการศึกษา. 2548:
Online) (http://dusitpoll.dusit.ac.th/2549/2549_004.html)
สิง่ ทีน่ ่ าเป็ นห่วงคือ พ่อแม่ในสังคมยุคปจั จุบนั มักจะปล่อยปละละเลยบุตร โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ เด็กวัยรุ่น ศูนย์ประชามติ สถาบันวิจยั และพัฒนามหาวิทยาลัยรามคาแหง สารวจความ
คิ ด เห็ น ของประชาชน 1,416 คน โดยส่ ว นใหญ่ ร้ อ ยละ 73.9 เป็ นวั ย รุ่ น อายุ 19-25 ปี
มหาวิทยาลัยรามคาแหง สารวจความคิดเห็นวัยรุ่นพบเกือบครึง่ เห็นว่าพ่อแม่ผู้ปกครองเอาแต่
ทางานเป็ นที่ปรึก ษาไม่ค่ อ ยได้ โดยเฉพาะเรื่อ งความรักและการมีเพศสัมพันธ์ ส่ ว นใหญ่ จงึ
ปรึกษาเพื่อ น วัยรุ่นให้ความส าคัญ กับเพื่อนมากและต้อ งการเป็ นที่ ยอมรับของเพื่อน จึงมัก
เลียนแบบทัศนคติและความชอบของเพื่อน เลือกคบเพื่อนทีม่ คี วามสนใจคล้ายคลึงกันกับตนเอง
หรือสามารถสนองความพึงพอใจของตนเองได้ ซึง่ เพื่อนทีม่ คี ุณสมบัตทิ ก่ี ล่าวมานี้ จะทาให้วยั รุ่น
เกิดความรูส้ กึ ใกล้ชดิ ไว้วางใจ ยอมรับซึง่ กันและกัน จนสามารถเปิ ดเผยความรูส้ กึ หรือความลับ
บางอย่างต่อกันได้ เพื่อนจึงมีความสาคัญกับวัยรุ่น ดังนัน้ ถ้าวัยรุ่นคบเพื่อนดี ชักชวนกันทา
68

กิจกรรมทีเ่ หมาะสม ย่อมเป็ นผลดีต่อตัววัยรุ่น ครอบครัวของเขา และสังคม ถ้าคบเพื่อนทีเ่ กเร


ความประพฤติไม่เหมาะสมก็อาจพาไปในทางทีเ่ สื่อมเสียได้
แต่เมือ่ มีปญั หาวัยรุน่ มักจะไม่ค่อยปรึกษากับพ่อแม่หรือผูใ้ หญ่ โดยเฉพาะเมื่ออยูใ่ นวัย
ทีก่ าลังเรียนรูใ้ นเรื่องความรัก มีการสารวจจากจากมหาวิทยาลัยรามคาแหง พบว่า การปรึกษา
เรื่อ งความรัก กับพ่ อ แม่ผู้ปกครองนัน้ ร้อ ยละ 41.1 เห็นว่า พ่อ แม่ผู้ปกครองส่ ว นใหญ่ เ อาแต่
ทางาน เป็ นที่ปรึกษาอะไรไม่ค่อยได้ โดยเฉพาะเรื่องความรักและการมีเพศสัมพันธ์ รองลงมา
เห็นว่าพ่อแม่ผปู้ กครองส่วนใหญ่จจู้ ข้ี บ้ี ่นน่าราคาญ ไม่อยากจะปรึกษาอะไร กลัวโดนว่า และเห็น
ว่าพ่อแม่ผปู้ กครองมักทาตนเป็ นปฏิปกั ษ์กงั ความรักของวัยรุ่น ดังนัน้ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จงึ
ต้องการปรึกษาเพื่อนมากที่สุด รองลงมาคือ พี่น้องและแม่ ตามลาดับ กลุ่มที่ไม่อยากปรึกษา
มากทีส่ ุดคือ ครู อาจารย์ พระหรือนักบวช (ผูจ้ ดั การออนไลน์ 13 มิถุนายน 2546)
69

เอกสารประกอบการเรียนรู้ ครัง้ ที่ 6


พันธุกรรมและสมอง
สาระสาคัญ
การอธิบายพืน้ ฐานทางชีวภาพของพฤติกรรม จะมุง่ อธิบายพฤติกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับ
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การแสดงออกทางพฤติกรรมของมนุษย์ตอ้ งอาศัยการทางานของ
ระบบต่างๆ ทีส่ าคัญของร่างกาย โดยเน้นการทางานของสมอง

วัตถุประสงค์
เมือ่ ศึกษาบทเรียนนี้จบแล้ว ผูเ้ รียนสามารถ
1. อธิบายความสาคัญของการถ่ายทอดทางพันธุกรรมทีม่ ตี ่อพฤติกรรมได้
2. อธิบายโครงสร้างการทางานของสมองทีเ่ กีย่ วข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์ได้

พันธุกรรม
พันธุ กรรม (Heredity) และสิง่ แวดล้อ ม (Environment) เป็ นสิง่ ที่ธรรมชาติร่วมสร้าง
ขึน้ มา เพื่อร่วมกันทางานอย่างประสานกัน บางลักษณะพันธุกรรมอาจทางานเป็ นหน้ าที่หลัก
โดยมีส ิ่งแวดล้อ มช่ ว ยเสริม เติม พัฒ นาการ และบางครัง้ สิ่ง แวดล้อ มก็จ ะมีอิท ธิพ ลอยู่เ หนื อ
พันธุกรรม อธิบายดังนี้
พันธุกรรม (Heredity) คือ ลักษณะต่าง ๆ ทัง้ ทางกายและทางพฤติกรรมที่ถ่ายทอด
จากบรรพบุรษุ สู่ลูกหลาน เป็ นปจั จัยพืน้ ฐานอันมีผลให้มนุ ษย์เรามีความแตกต่างกัน ทัง้ ทางด้าน
ร่างกาย สติปญั ญา อารมณ์ บุคลิกภาพ การถ่ายทอดนี้ผ่านทางเซลล์สบื พันธุข์ องพ่อและแม่ เมื่อ
เกิดการปฏิสนธิ (Fertilization) ระหว่างเซลล์เพศของชาย คือ สเปอร์ม (Sperm) และเซลล์เพศ
ของหญิงคือ ไข่ (Ovum) เกิดเป็นเซลล์ชวี ติ เล็กๆ เรียกว่า ไซโกต (Zygote) เซลล์น้ปี ระกอบด้วย
นิวเคลียสทีล่ อ้ มรอบไปด้วยไซโตพลาสซึมและผนังเซลล์ (Membrane)
การปฏิส นธิของอสุจแิ ละไข่ทาให้ได้เ ซลปฏิส นธิค ือไซโกต (Zygote) แบ่งตัวเรื่อยๆ
แบบทวีคูณ เรียกว่า แบ่งตัวแบบไมโตซีส (Mitosis) การแบ่งเซลล์แบบไมโตซีส เป็ นกรรมวิธ ี
สร้างเซลล์ 2 เซลล์ ขึน้ มาจากเซลล์ๆ เดียว ธรรมชาติจงึ ทาหน้าที่ทเ่ี ราเรียกว่า การสังเคราะห์
DNA สายใหม่ เหมือนกับการถ่ายสาเนาขนาดใหญ่ ซึ่งมีโครโมโซมบนพื้นฐานของโครโมโซม
ต้ น แบบ โครโมโซมสามารถสัง เคราะห์ DNA สายใหม่ ๆ ได้ ด้ ว ยตัว ของมัน เอง ไซโกต
เจริญเติบโตต่อไปเป็ นเอมบริโอ (Embryo) และฟีตสั (Fetus) รวมระยะเวลาอยู่ในครรภ์ประมาณ
280 วัน จึงคลอดจากครรภ์ ทีน่ ิวเคลียสของสเปอร์มและไข่ต่างก็ม ี 23 โคโมโซม
70

ภาพแสดงการปฏิสนธิ
ทีม่ า : http://trc.ucdavis.edu/biosci10v/bis10v/week10/fertilization.gif

โครโมโซม (Chromosome) เป็ นที่อยู่ของหน่ วยพันธุกรรม ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมและ


ถ่ายทอดข้อมูลเกี่ยวกับ ลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆของสิง่ มีชวี ติ เช่น ลักษณะของเส้นผม
ลัก ษณะดวงตา เพศและผิว การศึก ษาลัก ษณะโครโมโซมจะต้ อ งอาศัย การดูโ ดยใช้ก ล้อ ง
จุลทรรศน์ทก่ี าลังขยายสูงๆจึงจะสามารถมองเห็นรายละเอียดของโครโมโซมได้ การกาหนดเพศ
ของสิ่ง มีชีว ิต โดยทัว่ ไปจะพิจ ารณาจากลัก ษณะของโครโมโซมส าหรับ ในมนุ ษ ย์ม ีจ านวน
โครโมโซม 46 โครโมโซม หากนามาจัดเป็ นคู่จะได้ 23 คู่ซง่ึ จะมี 22 คู่ ทีเ่ หมือนกันในเพศชาย
และเพศหญิงเราจะเรียกคู่โครโมโซมเหล่านี้ว่า โครโมโซมร่างกาย (Autosome) ซึง่ จะมีบทบาท
ในการกาหนดลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆในร่างกาย สาหรับโครโมโซมที่เหลืออีก 1 คู่จาก
ทัง้ หมด 23 คู่ จะเป็ น โครโมโซมที่ท าหน้ า ที่ก าหนดเพศ เรีย กว่ า โครโมโซมเพศ (Sex
chromosome) โดยโครโมโซมจะเป็ นการจับคู่กนั ของโครโมโซม 2 ตัวที่มลี กั ษณะต่างกันคือ
โครโมโซม X ที่เป็ นค่ากาหนดเพศหญิง และโครโมโซม Y เป็ นตัวกาหนดเพศชายมีขนาดเล็ก
กว่าโครโมโซม X โครโมโซมแต่ละแท่งประกอบด้วยยีนหลาย ๆ ตาแหน่งรวมกันอยู่
ยีน (Gene) หมายถึง ส่ ว นของ DNA ที่ค วบคุ ม ลัก ษณะทางพัน ธุ ก รรม มีบ ทบาท
สาคัญในการกาหนดลักษณะทางกายและทางจิต เป็ นหน่ วยพื้นฐานทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอด
71

ลักษณะหนึ่งๆ ซึ่งถูกกาหนดโดยพันธุกรรม ยีนจะเรียงตัวกันอยู่ในโครโมโซม (Chromosome)


ซึง่ เป็ นโครงสร้างของเซลล์ทท่ี าหน้าที่ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม มีลกั ษณะคล้ายเส้นด้าย
เล็กๆ อยู่ในนิวเคลียส ในโครโมโซม 1 ตัว ประกอบด้วยยีนนักวิทยาศาสตร์คน้ พบว่าในร่างกาย
มนุ ษย์มยี นี 20,000 - 25,000 ยีน ลักษณะทีถ่ ่ายทอดทางพันธุกรรมนัน้ จึงมีความละเอียดอ่อน
มาก Homozygous หมายถึง รูป แบบของยีน ที่เ หมือ นกัน เช่ น AA, bb ส่ ว น Heterozygous
หมายถึง รูปแบบของยีนที่ต่างกันเช่น Aa , Bb เป็ นต้น Genotype หมายถึง รูปแบบของยีนที่
ควบคุมลักษณะต่างๆ ทางพันธุกรรม ส่วน Phenotype หมายถึงลักษณะทีป่ รากฏออกมาให้เห็น
จีโนม (Genome) หมายถึง โครโมโซมทัง้ หมดในเซลล์ ยีนมีหน้ าที่กาหนดการผลิต
โปรตีน ซึ่งมีหน้ าที่ทางานต่างๆ ภายในเซลล์ในเวลาที่เหมาะสม ส่วนของยีนที่ผลิตโปรตีนมี
ขนาดเพียง 1,000 เบสโดยเฉลี่ย ดังนัน้ ส่วนที่กาหนดการผลิตโปรตีนจึงมีเพียง 0.01% ของ
Genome ส่ ว นอื่น ๆ มีห น้ า ที่ค วบคุ ม การท างานของยีน หรือ อาจไม่ ค วามหมายต่ อ ยีน ใดๆ
เลย การค้นพบจานวนยีนจะเป็ นนาไปสู่ความเข้าใจถึงระบบพันธุ กรรมทัง้ หมดของร่างกาย
นับตัง้ แต่เป็ นทารกในครรภ์มารดา การตรวจวินิจฉัยโรคทางพันธุกรรมในกลุ่มใด หากมีประวัติ
ครอบครัวชัดเจน รวมทัง้ เพื่อนาไปพัฒนายาและเทคโนโลยีทางชีว
ภาพ และช่วยให้เกิดการรักษาโรคบางอย่าง เช่น มะเร็ง และอัลไซเมอร์ เป็นต้น
ดีเอ็นเอ (DNA) เป็นชื่อย่อของสารพันธุกรรม ทีม่ ชี ่อื วิทยาศาสตร์ว่า กรดดีออกซีไรโบ
นิวคลีอกิ (Deoxyribonucleic acid) ซึ่งเป็ นกรดที่พบในเซลล์ของสิง่ มีชวี ติ ทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็ น
คน, สัตว์, พืช, เชือ้ รา, แบคทีเรีย, ไวรัส เป็ นต้น ดีเอ็นเอมีรปู ร่างเป็ นเกลียวคู่ คล้ายบันไดลิงที่
บิดตัว ขาของบันไดแต่ละข้างก็คอื การเรียงตัวของนิวคลีโอไทด์ (Nucleotide) มีหน้าที่กาหนด
ลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ ของสิง่ มีชวี ติ โดยบรรจุขอ้ มูลทางพันธุกรรมของสิง่ มีชวี ติ ชนิด นัน้
ไว้ ซึง่ มีลกั ษณะทีผ่ สมผสานมาจากบรรพบุรุษรุ่นก่อน ซึง่ ก็คอื พ่อและแม่ และสามารถถ่ายทอด
ไปยังสิง่ มีชวี ติ รุน่ ถัดไป ซึง่ ก็คอื ลูกหลาน เช่น ปฏิกริ ยิ าทางชีวเคมีภายในเซลล์ของสิง่ มีชวี ติ ไป
จนถึงลักษณะปรากฏที่พบเห็นหรือสังเกตได้ด้วยตา เช่น รูปร่างหน้ าตาของเด็กที่มบี างส่วน
เหมือ นกับพ่ อ แม่ ยีนควบคุ มลัก ษณะที่ส ามารถสังเกตได้ง่าย เช่น ความสูง สีต า สีผ ม ไป
จนกระทัง่ ลักษณะทีส่ งั เกตได้ยาก เช่น ลายนิ้วมือ สติปญั ญา หมู่เลือด โดยทัวๆ ่ ไป คนเราจะมี
ยีนทีแ่ ตกต่างกันไปในแต่ละคน ยกเว้นฝาแฝดแท้ทม่ี ยี นี ทีเ่ หมือนกันทุกประการ
ประวัติศ าสตร์แ ห่ งค้นพบข้อ มูล การถ่ ายทอดทางพันธุ กรรมจากรุ่นสู่รุ่น นี้ เริม่ จาก
บาทหลวงชาวออสเตรียที่เป็ นนักพฤกษศาสตร์นามว่า “เกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล” (Gregor
Mendel) ได้ทดลองกับพืชตระกูลถัว่ เขาสังเกตว่าลักษณะบางอย่างของต้นถัวรุ ่ ่นลูก อย่างเช่ น
ความสูง การแสดงถึงลักษณะเด่นเหล่านี้จะแตกต่างกันไป โดยกฎแห่งการสืบสายเลือด หรือ
กฎของเมนเดลนัน้ จะมีลกั ษณะเด่น (Dominant) และลักษณะด้อย (Recessive) เมื่อพ่อกับแม่ท่ี
มีลกั ษณะเด่นมาผสมกัน ก็จะได้ลูกเด่นทัง้ หมด แต่ถ้านาด้อยมาผสมกันก็จะได้ลูกลักษณะด้อย
72

ทัง้ หมดเช่นกัน แต่ถ้านาเด่นกับด้อยมาผสมกันผลที่ได้ในรุ่นลูกคือ “เด่น” ทัง้ หมด แต่ถ้านาไป


ผสมกันในรุน่ หลานก็จะได้ เด่นแท้-ด้อยแท้-เด่นไม่แท้ สิง่ ทีเ่ ขาค้นพบทาให้เขากลายเป็น “บิ ดา
แห่งพันธุกรรม” ในเวลาต่อมา
ยีนในส่วนที่เป็ นออโตโซม จะมียนี ควบคุมลักษณะมี 2 ชนิดคือ ยีนเด่น (Dominant)
และ ยีนด้อย (Recessive) ยีนจะมีการจับคู่กนั 2 ตัวโดย ตัวหนึ่งได้รบั จากพ่อ อีกหนึ่งตัวได้รบั
จากแม่ ยีนเด่นจะข่มยีนด้อยเสมอ ลักษณะแต่ละอย่างจะมีความเด่นและความด้อย เช่น

ลักษณะ ยีนเด่น ยีนด้อย


ลักยิม้ มีลกั ยิม้ ไม่มลี กั ยิม้
ผม ดา บลอนด์
สายตา ปกติ ตาบอดสี
ผิวหนังตกกระ ตกกระ ปกติ
สายตา ปกติ สัน้
ริมฝีปาก หนา บาง
ขนทีน่ ้วิ มือข้อทีส่ อง มี ไม่ม ี
แนวผมทีห่ น้าผาก หยิก ตรง
กลุ่มเลือด A, B, AB O

จากตารางจะเห็นว่าลักษณะทีถ่ ่ายทอดทาง พันธุกรรมนัน้ ละเอียดอ่อนมาก ลักษณะที่


ปรากฏของแต่ละคนตัง้ แต่หวั จรดเท้านัน้ เป็ นเพราะพันธุกรรมทัง้ สิ้น แต่สงิ่ แวดล้อมก็มผี ลต่อ
ลักษณะของคนเช่นกัน เช่น สายตาสัน้ อาจเกิดจากการใช้สายตาเพ่งมากเกินไป หรือคนผิวขาว
แต่ไปใช้ชวี ติ เป็ นชาวประมงต้องออกเรือหาปลาอยู่กลางแดดร้อนๆ จนผิวดากร้านเกรียม เป็ น
ต้น คนเราสามารถปิดบังลักษณะทีเ่ กิดจากพันธุกรรมของเราได้ เช่นว่า เรามีตาสีดาแต่อยากมี
ตาสีฟ้ า เราสามารถใส่ คอนแทคเลนส์ เปลี่ยนสีต าให้เ ป็ นสีฟ้ าได้ หรือ ถ้า เรามีผ มสีดาเรา
สามารถย้อมเป็ นสีทอง สีแดง สีม่วง ก็สามารถทาได้ แต่ไม่ว่าเราจะพยายามทาอย่างไร เราก็ไม่
สามารถเปลี่ยนแปลงยีนหรือ DNA ของเราได้ เมื่อเราเกิดมามี DNA อย่างไร ก็จะเป็ นเช่นนัน้
ตลอดไป และจะถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมนัน้ ๆ ของเราต่อไปยังลูกหลานของเราด้วย การ
ลอกแบบรหัสพันธุกรรมย่อมมีความผิดพลาดเกิดขึน้ บ้าง ทาให้ขอ้ มูลเปลีย่ นไปจากเดิม เรียกว่า
การกลายพันธุ์ หรือ มิว เตชัน่ (Mutation) ในการลอกแบบรหัส พัน ธุ กรรมแต่ ล ะครัง้ มีโอกาส
ผิดพลาดประมาณ 1 ในล้านครัง้ เนื่องจาก Genome ของมนุ ษย์มขี นาดใหญ่ถงึ 3,000 ล้านเบส
ดังนัน้ จึงมีมวิ เตชันเกิ
่ ดขึน้ แห่งใดแห่งอยูเ่ สมอทุกครัง้ ทีม่ กี ารแบ่งตัวของเซลล์ แต่เนื่องจากเซลล์
หนึ่งๆ จะมียนี ทางานพร้อมกันเพียง 1000-4000 ยีน ถ้ามิวเตชันเกิ ่ ดในตาแหน่ งทีไ่ ม่สาคัญ หรือ
73

ในยีนที่ไม่ทางานเซลล์ก็จะทางานต่อไปได้ตามปกติ แต่ถ้ามิวเตชันเกิ ่ ดในตาแหน่ งสาคัญใน


เซลล์สบื พันธุ์ ลูกหลานอาจเกิดเป็นโรคพันธุกรรมอย่างหนึ่งขึน้ ได้
ความผิดปกติ จากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
ความผิด ปกติท่ีเ กิด จากการถ่ า ยทอดทางพัน ธุ ก รรมแล้ว ได้ร บั ยีน ที่ผ ิด ปกติ
(Gene Abnormality) อาจทาให้เกิดความพิการทางกาย ความผิดปกติทางเชาวน์ ปญั ญา หรือ
โรคภัยไข้เจ็บบางประการ โรคพันธุกรรม (Genetic Diseases) ค้นพบแล้วกว่า 4,000 โรค และ
อาจพบแบบแผน (Pattern) ของการถ่ายทอดโรคได้หลายแบบ เช่น ลักษณะที่ควบคุมโดยยีน
เด่น เช่น โรคท้าวแสนปม คนแคระ นิ้วมือสัน้ เป็ นต้น และลักษณะที่ควบคุมโดยยีนด้อย เช่น
ธาลัส ซีเ มีย โลหิต จาง ผิว เผือ ก เม็ด เลือ ดแดงแตกง่ า ย เลือ ดไหลไม่ ห ยุ ด (Hemophilia)
นอกจากนี้ลกั ษณะผิดปกติท่ถี ่ายทอดทางพันธุกรรม ยังเกี่ยวข้องกับการมีจานวนโครโมโซมที่
ผิดปกติ (Chromosomal Abnormality) เช่น
ดาวน์ ซินโดรม (Down Syndrome or Mongolism) มี 47 โครโมโซม โดยมี
โครโมโซมคู่ท่ี 21 มีเพิม่ อีก 1 โครโมโซม (21-Trisomy)ใบหน้ าจะมีดงั ้ จมูกแฟบ นัยน์ ตาห่าง
หางตาชี้ ใบหูผดิ รูป ปากปิ ดไม่สนิท ลิ้นใหญ่จุกปาก ระหว่างนิ้วหัวแม่เท้าและนิ้วชี้มชี ่วงกว้าง
ปญั ญาอ่อน บางรายมีความพิการของหัวใจและทางเดินอาหารทาให้เสียชีวติ ได้

ภาพแสดงการให้ความช่วยเหลือเด็กทีม่ อี าการดาวน์ซนิ โดรมให้สามารถเขียน อ่าน เรียนรู้ และ


ดาเนินชีวติ ประจาวันได้เช่นเดียวกับเด็กปกติ
ทีม่ า : http://www.dinf.ne.jp/doc/english/global/david/dwe002/dwe00234.html
เทอร์เนอร์ ซิ นโดรม (Turner’s Syndrome) เป็ นกลุ่มอาการทีเ่ กิดจากการขาด
โครโมโซม x พบในหญิง ที่เ กิด จากโครโมโซม x ทัง้ อัน หรือ บางส่ ว นขาดหายไป จึง มี 45
โครโมโซม โครโมโซมส่วนใหญ่เป็นแบบ 45,XO ขาดโครโมโซมกาหนดเพศ ทาให้อวัยวะเพศไม่
เจริญ มดลูกมีขนาดเล็ก รังไข่เล็กและไม่มไี ข่ ไม่มปี ระจาเดือนและเป็ นหมัน ลักษณะการเจริญ
ทางเพศมีน้อย รูปร่างเตี้ย คอสัน้ และเป็ นปีก เชาวน์ปญั ญาต่ ากว่าปกติ มักมีอาการปญั ญาอ่อน
เทอร์เนอร์ (Turner) เป็ นคนแรกที่รายงานถึงกลุ่มอาการนี้ในปี ค.ศ. 1983 จนถึงปี ค.ศ.1959
ฟอร์ด (Ford) จึงพบว่าคนทีเ่ ป็นกลุ่มอาการนี้มโี ครโมโซมเพศเป็ น X ตัวเดียว
74

A หมายถึง Short Webbed Neck ลัก ษณะคอ


สัน้
B หมายถึ ง Cubitus Valgus คื อ มุ ม ที่ ข้ อ ศอก
(Carrying Angle) มากกว่าปรกติ
C ห ม า ย ถึ ง Lymphedema ภ า ว ะ คั ่ง ข อ ง
น้าเหลืองทีบ่ ริเวณแขน-ขา

ภาพตัวอย่างผูห้ ญิงทีม่ อี าการเทอร์เนอร์ ซินโดรม


(ทีม่ า : Gawlik & Malecka-Tendera. 2008:173-178)

คลายน์ เฟลเตอร์ ซิ นโดรม (Klinefelter’s Syndrome) เป็ นเพศชาย แต่ม ี 47


โครโมโซม โดยมีโครโมโซมเพศ คือ X เพิม่ อีก 1 โครโมโซม เป็ น XXY จึงมีผลทาให้มลี กั ษณะ
ความเป็ นหญิงด้วย ความผิดปกติท่สี าคัญคือ เต้านมโตคล้ายผูห้ ญิง ต่อมเพศเล็ก อัณฑะสร้าง
เซลล์สบื พันธุไ์ ม่ได้ ไม่ผลิตสเปอร์ม อวัยวะเพศมีขนาดเล็ก คนเหล่านี้จงึ เป็ นหมัน รูปร่างสูงและ
อ้วนมักปญั ญาอ่อน กลุ่มอาการนี้รายงานเป็นครัง้ แรกโดย ไคลน์เฟลเตอร์ ในปี ค.ศ. 1942 คนที่
เป็ น มัก มีโ ครโมโซม เป็ น 47,XXY แต่ บ างคนมีโ ครโมโซมเป็ น 49,XXXXY และพบว่ า ยิ่ง มี
โครโมโซม X เกินมากเพียงใด อาการปญั ญาอ่อนก็จะรุนแรงเพียงนัน้ 47,XXY เกิดจากการผสม
ของไข่ ที่มโี ครโมโซม 2X กับอสุจปิ กติ หรือจากการผสมของไข่ปกติกบั อสุจทิ ่เี ป็ น XY และจะ
พบบ่อยขึน้ ในมารดาทีอ่ ายุมาก
75

ภาพแสดงคนทีม่ อี าการคลายน์เฟลเตอร์ ซินโดรม


ทีม่ า : http://www.andrologyaustralia.org/pageContent.asp?
pageCode=KLINEFELTERSSYNDROME

ดับเบิ ลวาย ซิ นโดรม (Double Y Syndrome) เป็ นชาย แต่ ม ี 47 โครโมโซม


โดยมีโครโมโซมเพศ คือ Y เพิม่ อีก 1 โครโมโซม จึงมีลกั ษณะความเป็ นชายค่อนข้างมาก คือ มี
ร่างกายสูงใหญ่ กว่าปกติ อวัยวะเพศมีขนาดใหญ่กว่าปกติ อารมณ์รา้ ย ก้าวร้าวรุนแรง ใจเร็ว
โมโหง่าย เชาวน์ปญั ญาต่ า พวกนี้มแี นวโน้ มที่จะก่ออาชญากรได้บ่อยกว่าปกติ กลุ่มอาการนี้ม ี
โครโมโซมเป็ น 47,XXY และพบบางคนในกลุ่ มอาการนี้มรี ่างกายและจิต ใจปกติและมีลูกได้
เหมือ นคนปกติ 47,XYY เกิด จากเชื้อ อสุ จ ิช นิ ด 24, YY ผสมกับ ไข่ป กติ คนที่ม ีโ ครโมโซม
47,XYY จะรับความผิดปกติมาจากพ่อ และบางคนอาจมีโครโมโซมเป็น 48,XXYY
ทริ ป เปิ ล เอ็กซ์ ซิ นโดรม (Triple X Syndrome) เป็ น กลุ่ ม อาการในหญิง ที่ม ี
โครโมโซม X 3 อัน ความผิดปกติท่สี าคัญ คือ ลักษณะของเพศหญิงไม่เจริญ ไม่มปี ระจาเดือน
รังไข่ฝอ่ ไม่มไี ข่ เป็ นหมัน ปญั ญาอ่อน ความผิดปกติแต่ละคนต่างกัน บางคนลักษณะเพศเจริญ
ดีอาจมีลูกได้ โครโมโซมทีเ่ ป็ น 47,XXX อาจเกิดจากไข่ทเ่ี ป็ น 24, XX ผสมกับเชือ้ อสุจปิ กติหรือ
76

ไข่ปกติผสมกับเชือ้ อสุจ ิ 24, XY นอกจากพบแบบ 47,XXX แล้วอาจพบในลักษณะ49,XXXXX ก็


ได้ ยิง่ มีโครโมโซม X มากเท่าใดความผิดปกติของสมอและลักษณะทางเพศก็ยงิ่ รุนแรงมากขึน้
การเกิ ดฝาแฝด
การเกิดแฝดแท้ (Identical Twins) หมายถึง ไข่ใบเดียวกันกับสเปอร์มตัวเดียวใน
การพัฒนาตอนแรกๆ จะมีการแบ่งตัวเป็ นสอง โดยทัง้ สองมีมรดกทางพันธุกรรมเหมือนกันทุก
ประการ โดยขึน้ อยู่กบั ว่าเวลาที่เอ็มบริโอ 2 ตัวจะแบ่งตัวในช่วงไหน โดยทัวไปการเกิ
่ ดแฝดแท้
จะแบ่ งตัว ในวัน ที่ 2 และ 6 ขึ้น อยู่กับว่ าระยะเวลาเป็ น ช่ว งของวันไหน จึง มีก ารตัง้ ครรภ์ท่ี
แตกต่างกัน แต่ถา้ มีการแบ่งตัวทีช่ า้ เกินไป โดยเฉพาะหากการแบ่งตัวนัน้ เกิดในหลังวันที่ 6 เป็ น
ต้นไป เอ็มบริโอ 2 ตัวจะมีการเจริญและพัฒนาไปในระดับหนึ่ง ทาให้มสี ่วนต่อกัน เกิดเป็ นทารก
ที่มสี ่ วนเชื่อ มต่ อกันเรียกว่า แฝดสยาม (Siamese Twins) ซึ่งเกิดได้ค่อ นข้างยากโดยเฉพาะ
อย่างยิง่ การแบ่งตัวที่เกิดช้าเกินไปหลังวันที่ 6 แฝดแท้จะมีการเกิดขึน้ ได้ประมาณ 25% ของ
แฝดทัวโลก ่ ในทีน่ ้หี มายถึงการเกิดแฝดจากธรรมชาติเท่านัน้
การที่แม่จะมีลูกแฝดเทียม (Fraternal Twins) ได้ โดยไข่จะตก 2 ใบใน 1 รอบ
เดือน อาจจะมาจากรังไข่ขา้ งเดียวกันหรือคนละข้างก็ได้ แต่ในปจั จุบนั มีกรรมวิธที างการแพทย์
ทีจ่ ะช่วยเหลือผูท้ ม่ี ภี าวะการมีบุตรยาก โดยการช่วยให้ตกไข่หลายใบในรอบเดือนเดียวกัน

ฝาแฝดขาว-ดา’ความงดงามหนึ่งในล้าน
เรมี หนัก 51 ปอนด์ 15 ออนซ์ ผมสีบลอนด์ และผิวขาว
แต่คแี อนทีค่ ลานตามออกมาหนึ่งนาทีให้หลัง หนัก 61 ปอนด์ ผิวดา
(ผูจ้ ดั การออนไลน์ 23 กุมภาพันธ์ 2549)
ทีม่ า: http://palungjit.com/feature/showphoto.php?photo=295

การศึก ษาอิท ธิพ ลของพัน ธุ ก รรมที่ส่ ง ผลต่ อ พฤติก รรมมนุ ษ ย์ ส่ ว นหนึ่ ง จะ


ทาการศึกษาจากฝาแฝด โดยเฉพาะฝาแฝดแท้ทม่ี ลี กั ษณะทางพันธุกรรมเหมือนกันทุกประการ
แมคกิว และคณะ (McGue et al. 1993) ได้ ศึ ก ษาความสัม พัน ธ์ ร ะหว่ า งเชาวน์ ป ญ ั ญากับ
พันธุกรรม และ โลห์ลนิ (Loehlin. 1992) ได้ศกึ ษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพแบบแสดงตัว
กับพันธุกรรม จากฝาแฝดแท้และฝาแฝดเทียม ผลการศึกษาสรุปได้ดงั นี้
77

บุคลิกภาพ (แสดงตัว)
แฝดเทียม
แฝดแท้
สติปัญญา

0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9

จะเห็นได้ว่าพันธุกรรมมีอทิ ธิพลต่อพฤติกรรมของมนุษย์หลายประการ ดังนัน้ ไม่ใช่แค่


เพียงพันธุกรรมเท่านัน้ ที่มผี ลต่อพฤติกรรมมนุ ษย์ พฤติกรรมมนุ ษย์ท่เี กิดขึน้ ยังเป็ นผลมาจาก
สิง่ แวดล้อมเป็ นสาเหตุด้วย พันธุกรรมจะกาหนดจุดสูงสุดของพัฒนาการ แต่จะแสดงออกให้
ปรากฏอย่างไร ยังขึน้ อยู่กบั สิง่ แวดล้อมและประสบการณ์ต่างๆ ที่ได้รบั เช่น การอบรมเลี้ยงดู
บรรยากาศในบ้าน การได้รบั การส่งเสริมสนับสนุ นจากสังคม การได้รบั ศึกษา สื่อมวลชนเป็นต้น
ทีจ่ ะช่วยทาให้พฤติกรรมเป็ นไปได้ทงั ้ ในทางบวกและทางลบ พันธุกรรมและสิง่ แวดล้อมควบคู่
กันไปจะดาเนินควบคู่กนั ไปจนตลอดชีวติ ไม่สามารถจะแยกจากกันได้แต่มกี ารทางานร่วมกัน
มีผลต่อกันและกัน ดังจะเห็นได้ว่าจากคุณลักษณะต่างๆ ทีไ่ ด้รบั ถ่ ายทอดทางพันธุกรรมจะแสดง
ให้ปรากฏหรือไม่ บางครัง้ ขึ้นกับการได้รบั อิทธิพลจากสิง่ แวดล้อมที่บุคคลนัน้ เจริญเติบโตมา
ด้ว ยเหมือ นกัน ดัง เช่ น แนวโน้ ม ที่จ ะเป็ น โรคเบาหวานเป็ น สิ่ง ที่ถ่ า ยทอดทางพัน ธุ ก รรม
เบาหวาน คือการมีระดับน้ าตาลในเลือดสูง เพราะยีนทีก่ าหนดการผลิตฮอร์โ มนอินซูลนิ ทีค่ อย
ควบคุมระดับน้ าตาลในกระแสโลหิตผิดปกติ แต่คนที่ได้รบั การถ่ายทอดทางพันธุกรรมทีจ่ ะเป็ น
เบาหวานได้กไ็ ม่ได้หมายความว่าจะต้องเป็ นโรคเบาหวานทุกคนไป มีการศึกษาจากฝาแฝดแท้
ซึง่ มีคุณลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกัน พบว่าฝาแฝดแท้ทไ่ี ด้รบั การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
โรคเบาหวาน ฝาแฝดคนหนึ่งเป็นโรคเบาหวาน แต่ฝาแฝดอีกคนหนึ่งไม่เป็ นเพราะไม่ค่อยได้รบั
ประทานอาหารพวกแป้งและน้ าตาลมาก
ดังนัน้ การถ่ายทอดทางพันธุกรรมที่ดยี ่อมจะมีโอกาสทาให้บุคคลเติบโตเป็ นคนที่ม ี
คุ ณ ภาพได้ หากได้รบั การสนับสนุ นจากสิ่งแวดล้อ มที่เ หมาะสม แต่ ถ้าบุค คลแม้จะเกิดมามี
พันธุกรรมทีด่ ี แต่อยูใ่ นสิง่ แวดล้อมทีไ่ ม่ดี สิง่ แวดล้อมทีจ่ ากัด ไม่เอือ้ ต่อการพัฒนา คุณค่าทีไ่ ด้มา
แต่กาเนิดนัน้ ย่อมจะสูญหายไปอย่างน่าเสียดายเช่นกัน
78

โครงสร้างของเซลล์ประสาท
ระบบประสาท (Nervous system) ประกอบด้ว ย เซลล์ป ระสาท (Neuron) มีหลาย
ประเภท แต่จะมีโครงสร้างเหมือนกัน คือ มีแอกซอน (Axon) และเดรนไดรท์ (Dendrite) เป็ น
แขนงทีย่ ่นื ออกมาเพื่อทาหน้าทีต่ ดิ ต่อสื่อสารกับเซลล์ประสาทอื่นๆ เซลล์ประสาทจะมีเดนไดรท์
จานวนมากแต่มแี อกซอนเดียว แอกซอนมีหน้าที่ในการส่งสัญญาณและเดรนไดรท์มหี น้าที่รบั
สัญ ญาณ สัญ ญาณนี้ จ ะประกอบด้ ว ยคลื่น ไฟฟ้ าที่เ ซลล์ป ระสาทสร้า งขึ้น บริเ วณจุ ด รับ ส่ ง
สัญญาณซึง่ อยู่ระหว่างบริเวณเชื่อมแอกซอนกับเดรนไดรท์ จะมีช่องว่างเล็กๆ เรียกว่า ไซแนปส์
(Synapse) การส่งสัญญาณข้ามช่องว่างนี้จะต้องอาศัยสารสื่อประสาท (Neurotransmitter) ซึ่ง
อยู่บริเวณปลายแอกซอน เพื่อไปจับตัวกับเดรนไดรท์บริเวณข้างเคียง กระตุ้นต่อเนื่องไปยัง
เซลล์อ่นื ๆ ได้อีก การเชื่อมโยงของเซลล์ประสาทในลักษณะที่เป็ นโครงข่ายรูปแบบต่างๆ จึง
ก่อให้เกิดพฤติกรรมทางกายและทางจิตขึน้ (Coon & Mitterer. 2007:52-53)
ในส่วนของใยประสาท ยังพบส่วนประกอบทีส่ าคัญ ได้แก่
1. เซลล์ชวันน์ (Schwann Cell) เป็ นเซลล์ค้าจุนชนิดหนึ่ง ที่ช่ว ยสนับสนุ นการ
ทางานเซลล์ประสาท โดยสร้างเยือ่ ไมอีลนิ พันหุม้ ใยประสาท
2. โนออฟแรนเวียร์ (Nod of Ranvier) เป็ นบริเวณใยประสาทที่ไม่มไี มอีลนิ หุ้ม
ซึง่ พบเป็นช่วง ๆ ตลอดใยประสาท
3. เยื่อไมอีลนิ (Myelin Sheath) เป็ นเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ชวันน์ ที่พนั รอบใย
ประสาทหลายชัน้ โดยพบเป็ นช่วง ๆ ตลอดความยาวของใยประสาท เป็ นเยื่อที่ประกอบด้วย
สารไขมัน คือ ลิปิด (lipid) เยือ่ ไมอีลนิ จะมีสขี าวซึง่ มักพบในแอกซอนมากกว่าเดนไดรท์
คุณลักษณะของเซลล์ประสาท
เซลล์ประสาทมีลกั ษณะ ดังนี้
1. Receptor Cell ทาหน้าทีร่ บั สัมผัสสิง่ เร้าต่าง ๆ และเปลีย่ นพลังงานต่าง ๆ ให้
เป็นสัญญาณประสาท
2. Effector Cell ท าหน้ า ที่ร ับ สัญ ญาณและท าการตอบสนองสิ่ง เร้า โดยอาศัย
อวัยวะต่าง ๆ ในการทางาน เช่น กล้ามเนื้อ ต่อม เป็นต้น
3. Conductor Cell ทาหน้ าที่เป็ นเซลล์ประสานมีคุณสมบัติทงั ้ ในการนาและส่ ง
สัญญาณประสาท
79

Nod of Ranvier

Myelin sheath Schwann cell

การทางานของเซลล์ประสาท
เซลล์ประสาทมีการทางานดังนี้
1. Electrical Signal เป็ นการส่ ง สั ญ ญาณประสาทภายในเซลล์ เ กิ ด การ
เปลี่ยนแปลงความต่ างศักย์ทางด้านไฟฟ้า อันเป็ นผลจากการเคลื่อนย้ายโซเดียม (Na+) และ
โพแทสเซียม (K+) ดังนัน้ ถ้าขาดสารดังกล่าวเซลล์ประสาทไม่สามารถสร้างสัญญาณประสาทได้
อย่างมีประสิทธิภาะ
2. Chemical Signal ใช้ ส าหรับ การสื่อ สารระหว่ า งเซลล์ ป ระสาท โดยเซลล์
ประสาทจะมีการสร้างสารเคมีท่เี รียกว่า สารสื่อประสาท (Neurotransmitter) ซึ่งจะส่งไปตาม
เซลล์ประสาทต่าง ๆ ทาให้เกิดปฏิกริ ยิ าการทางานของสมอง สารเคมีในสมองมีมากมาย หลาย
ชนิด ทีส่ าคัญ คือ (Coon & Mitterer. 2007:55-56)
อะเซทิ ลโคลีน (Acetylcholine) เป็นสารเคมีทม่ี หี น้าทีเ่ กีย่ วกับความจา
เอนดอร์ฟิน (Endorphins) เป็ นสารเคมีทท่ี าให้เรารูส้ กึ ผ่อนคลายหายเจ็บปวด
การทางานของเอนดอร์ฟิ นที่เ กิดขึ้นในสมอง จะคล้าย ๆ การทางานของสารหรือยามอร์ฟี น
(Morphine) ทีใ่ ช้ในทางการแพทย์ ในคนไข้ทไ่ี ด้รบั ความเจ็บปวดมาก ๆ เมื่อฉีดมอร์ฟีน เข้าไป
จะทาให้ ความเจ็บปวดลดลง เกิดอาการผ่อนคลาย สารเอนดอร์ฟินในสมองก็มกี ารทางานแบบนี้
เช่นกัน
80

เมลาโทนิ น (Melatonins) สารนี้จะทาให้คนเราหลับสบาย จึงมีการนาสารเมลา


โทนิน มาช่วยทาให้นอนหลับ โดยเฉพาะคนทีเ่ กิด อาการ เจ็ตแล็ก (jet lag) หรืออาการนอนไม่
หลับเมือ่ เดินทางโดยเครือ่ งบิน และมีการเปลีย่ นเวลาจากซีกโลกหนึ่งไปอีก ซีกโลกหนึ่ง
เซโรโตนิ น (Serotonins) ถ้าสมองมีสารนี้ในระดับทีพ่ อเหมาะ จะทาให้เรารูส้ กึ
ผ่อนคลาย ไม่เครียด มองโลกในแง่ดี ถ้าหากมีระดับสารเซโรโตนินต่ า ก็จะทาให้เกิดอารมณ์
ซึมเศร้า

นอกจากสารสื่อ ประสาทแล้ว ฮอร์โมนก็ทาหน้ าที่ส่ งข้อ มูล ในระบบประสาท สมอง


ส่วนไฮโปทาลามัสทาหน้าที่ในการกระตุ้นการหลังฮอร์
่ โมนและเชื่อมโยงการทางานของระบบ
ประสาทและต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อและระบบประสาทจะทาหน้าที่ประสานกัน ฮอร์โมนจะมีการ
ทางานในลักษณะทีเ่ ป็นวงจร
ระบบประสาทประกอบด้วยส่วนทีส่ าคัญ 2 ส่วน คือ ระบบประสาทส่วนกลาง (Central
Nervous System หรือ CNS) ซึ่งประกอบด้วยสมอง (Brain) และไขสันหลัง (Spinal Cord) กับ
81

ระบบประสาทส่ ว นปลาย (Peripheral Nervous System หรือ PNS) ซึ่ง เป็ น โครงข่ า ยของ
เส้นประสาทรับและส่งข้อมูลกระจายอยูท่ วร่
ั ่ างกาย

คุณสมบัติทางไฟฟ้ าของเยือ้ หุ้มเซลส์


เมื่ อ มี ส ิ่ ง มากระตุ้ น เซลล์ ป ระส าทบริ เ วณที่ ร ับ (Receptor Zone) จะเกิ ด การ
เปลี่ยนแปลงสมดุลของไอออนบริเวณผิวของเยื่อหุ้มเซลล์ ก่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงประจุ
ไฟฟ้าทัง้ ในและนอกเซลล์ประสาท ตัวกระตุ้นไฟฟ้าทีจ่ ะกระตุ้นเซลล์ประสาทให้ได้ผล จะต้องมี
ลักษณะครบทัง้ 3 ประการ ได้แก่
1. มีความแรงพอ (Intensity) มีหน่วยเป็ นมิลลิโวลท์ ทีท่ าให้เกิดสัญญาณ เรียกว่า
ระดับเริม่ ตอบสนอง (Threshold) ถ้าต่ ากว่าระดับเทรชโฮลด์จะไม่กระตุ้นให้เกิดสัญญาณไฟฟ้า
ได้ เทรชโฮลด์จะเปลี่ยนแปลงน้ อยมาก ถ้าอุณหภูมแิ ละความเข้มข้นของไอออนคงที่ กระแส
ประสาทที่ว ดั ได้จากเส้น ประสาทเดี่ยวจะเป็ นไปตามกฎ all-or-none law กล่ าวคือ เมื่อ มีส ิ่ง
กระตุ้นจนถึงเทรชโฮลด์หรือ firing level ประมาณ 15 มิลลิโวลท์ ก็จะเกิดกระแสประสาทขึ้น
และมีขนาดเท่าเดิมแม้ว่าจะเพิม่ ความแรงของสิง่ กระตุ้นสูงขึน้ ไปอีก แต่ถ้าใช้สงิ่ กระตุ้นต่ ากว่า
เทรชโฮลด์จะเกิดการตอบสนองเฉพาะที่ (Location Potential) เท่านัน้ ซึ่งจะเกิดและหายไป
อย่างรวดเร็ว ไม่ถงึ ศักย์ทางาน (Action Potential)
2. ระยะเวลา (Duration) มีห น่ วยเป็ นมิลลิวนิ าที ระยะเวลาปล่อยกระแสไฟฟ้ า
กระตุน้ ต้องนานพอ
3. อัตราความเร็วของการเพิม่ กระแสไฟฟ้า ถ้าเพิม่ ช้ามากเซลล์ประสาทจะไม่เกิด
การตอบสนอง จะเกิด สภาพการปรับตัว ถ้าใช้แ รงกระตุ้น น้ อ ยไม่ถึง เทรชโฮลด์จ ะไม่ม ีการ
ตอบสนองเกิดขึน้
การเปลี่ยนแปลงที่เกิ ดขึ้นในเซลล์ประสาทเมื่อเกิ ดศักย์ทางาน
เมื่อมีการกระตุ้นเซลล์ประสาทที่เหมาะสมจนถึงเทรชโฮลด์ ทาให้โซเดียมไอออนวิง่
เข้าสู่เซลล์ เซลล์เกิด depolarize มีกระแสไฟฟ้าบวกกระจายไปตามแอกซอนส่งผลให้บริเวณ
ข้างเคียงเป็นบวกมากขึน้ เยือ่ หุม้ เซลล์ยนิ ยอมให้โซเดียมไอออนเข้าเซลล์มากขึน้
1. เส้นประสาททีไ่ ม่มไี มอีลนิ หุม้ เมื่อเกิด depolarize จนถึงระดับเริม่ ตอบสนอง
เยื่อหุ้มเซลล์จะเปิ ดช่องโซเดียม ทาให้โซเดียมไอออนไหลทะลักเข้าไปในเซลล์ เกิดแรงดึงดูด
ทางไฟฟ้า ทาให้ประจุลบภายในกลายเป็ นประจุบวก overshoot เกิดเป็ นศักย์ทางานภายใน
ระยะเวลา 1 มิลลิวนิ าที หลังจากนัน้ ช่องโพแทสเซียมเปิดให้โพแทสเซียมไหลพรูออกตามความ
ต่างระดับเช่นกัน ในขณะเดียวกับก็ปิดช่อ งโซเดียมไอออนด้วย โซเดียมไอออนจึงหยุดไหล
ระยะนี้ เ รีย กว่ า repolarization แม้จ ะมีส ิ่ง กระตุ้ น แรงเพีย งใดก็ต าม เซลล์ป ระสาทก็จ ะไม่
ตอบสนอง ซึ่งเป็ นช่วงที่สารสื่อประสาทถูกใช้จนหมด หลังจากนัน้ เซลล์ประสาทก็จะกลับคืนสู่
82

สภาพเดิม แต่ ป ระตู ข องโพแทสเซีย มปิ ด ช้า กว่ า ประตู ข องโซเดีย ม จึง ท าให้เ ซลล์เ ป็ น ลบ
(hyperpolarization) แล้วจึงกลับเข้าสู่ระยะพัก
2. เส้นประสาททีม่ ไี มอีลนิ หุม้ ช่องประตูสาหรับโซเดียมและโพแทสเซียมจะพบที่
ปุ่ ม แรนเวีย ร์ (nod of ranvier) ซึ่ง มีข นาด 1 ไมครอน การเกิ ด ศัก ย์ ท างานโซเดีย มและ
โพแทสเซียมเข้าออกตรงปุ่มนี้เท่านัน้ การนากระแสไฟฟ้าจึงเสมือนกระโดดไปจนถึงปลายแอก
ซอน

สมอง ไขสันหลัง และระบบประสาทที่เกี่ยวข้องกับพฤติ กรรม


สมอง (Brain)
สมองของมนุ ษ ย์ป ระกอบด้ว ยเซลล์ป ระสาทกว่ าพัน ล้านเซลล์ท่ีถู ก เชื่อ มโยงด้ว ย
ไซแนปส์จานวนล้านล้านหน ทาหน้ าที่ส่อื สารข้อมูลต่อกัน เพื่อประมวลผลข้อมูลออกมาเป็ น
พฤติกรรม ทัง้ พฤติกรรมภายนอกและพฤติกรรมภายใน ทัง้ ที่รู้ตวั และไม่ตวั การส่งข้อมูลของ
สมองมีค วามลึก ซึ้ง ซับ ซ้อ นยิ่ ง กว่ า คอมพิว เตอร์รุ่ น ที่ม ีป ระสิท ธิภ าพสูง สุ ด โครงสร้า งทาง
กายภาพของเซลล์เหล่านี้จะเปลีย่ นแปลงไปตามสภาพแวดล้อมและประสบการณ์ เมื่อเผชิญกับ
การเปลีย่ นแปลงของสิง่ ที่อยู่รอบๆ ตัวหรือประสบการณ์ใหม่ๆ เซลล์สมองจะเติบโตหรือหดตัว
ลง เกิดการเชื่อมต่อระหว่างเซลล์ประสาทขึ้นมาใหม่หรือเซลล์เก่าก็จะแข็งแรงขึน้ เช่น คนทีต่ า
บอด เซลล์ประสาทส่วนอื่นๆ ในสมองทีเ่ กีย่ วข้องกับการรับรูด้ า้ นอื่นๆ จะแข็งแรงขึน้ ขณะทีส่ ่วน
ทีเ่ กีย่ วข้องกับการมองเห็นจะอ่อนลง (Bucko. 1997:20-25)
ร่างกายจะส่งข้อมูลที่ได้รบั จากการรับสัมผัสสิง่ เร้าไปยังสมองผ่ านเส้นประสาทสมอง
จานวน 12 คู่ ซึ่งทาหน้าทีร่ บั และส่งข้อมูลจากประสาทสัมผัสอันได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง
รวมทัง้ ทาหน้าที่ควบคุมกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้า ลาคอ และไหล่ โดยจะมีการรับข้อมูลจากทุก
ส่วนของร่างกายและส่งผ่านไปทางระบบประสาทส่ว นปลาย แล้ว ส่งต่อไปยังไขสั นหลัง และ
เดินทางเข้าไปในสมอง
สมองแบ่งออกเป็นส่วนสาคัญ 3 ส่วน คือ (Coon & Mitterer. 2007:58-76)
สมองใหญ่ (Cerebrum) สมองใหญ่ มีอ ยู่ประมาณ 70 % ของสมองทัง้ หมด
สมองใหญ่แต่ละซีก (Hemisphere) มีลกั ษณะการทางานทีต่ ่างกัน สมองใหญ่ซกี ซ้ายจะทาหน้าที่
เกี่ยวข้องความคิดที่เป็ นเหตุผล ตรรกะ การคานวณ ความคิดวิเคราะห์ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
ความคิดรวบยอด สมองซีกขวาจะเกี่ยวข้องกับอารมณ์ ความรู้สกึ จินตนาการ การรับรู้เรื่อง
พื้นที่ ดนตรี และศิลปะ ดังนัน้ สติปญั ญา การเรียนรู้ และการตัดสินใจจะเกิดขึ้นที่สมองใหญ่
สมองซีกซ้ายจะควบคุมการทางานของร่างกายซีกขวา ส่วนสมองซีกขวาจะควบคุมการทางาน
ของร่ างกายซีก ซ้าย โดยมี คอร์ป สั คอโลซัม (Corpus Callosum) ท าหน้ า ที่ติดต่ อ เชื่อ มโยง
83

ระหว่างสมองใหญ่ทงั ้ สองซีก สมองซีกซ้ายและสมองซีกขวาแต่ละข้างแบ่งออกเป็ นส่วนต่างๆ 4


ส่วนใหญ่ๆ ดังนี้

1. สมองส่วนหน้ าสุด เรียกว่า ฟรอนทอลโลบ (Frontal Lobe) ส่วนใหญ่


จะมีหน้ าที่เกี่ยวกับอารมณ์ ความรู้สกึ นึกคิด การเรียนรู้ ความจา ความฉลาด และคาพูด ใน
ขณะเดียวกันก็ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ แขนขาและใบหน้าด้วย
2. สมองส่วนข้าง เรียกว่า พารายทอลโลบ (Parietal Lobe) ทาหน้าทีร่ บั
ความรูส้ กึ เกีย่ วกับประสาทสัมผัส
3. สมองส่วนขมับ เรียกว่า เทมโพราลโลบ (Temporal Lobe) ทาหน้าที่
เกี่ยวกับการได้ยนิ พฤติกรรม ความจา และภาษา ทางานร่วมกับฟรอนทอลโลบเกี่ยวกับการได้
กลิน่ และด้านในของเทมโพราลโลบทัง้ ซ้ายและขวาจะเป็ นบริเวณที่เรียกว่ า ฮิปโปแคมปสั มี
หน้าทีเ่ กีย่ วกับความจาระยะยาว การเรียนรู้ และอารมณ์
4. สมองส่วนท้ ายทอย เรียกว่า ออกซิ ปทอลโลบ (Occipital Lobe) ทา
หน้าทีเ่ กีย่ วกับการเห็น
84

สมองน้ อย (Cerebellum) อยู่บริเวณด้านหลังศีรษะ มีขนาดเล็กกว่าสมองใหญ่


ถึง 1 ใน 8 ส่วน มีหน้าทีค่ วบคุมการทรงตัว การประสานงานให้กล้ามเนื้อทางานได้อย่างราบรื่น
ก้านสมอง (Brain Stem) อยู่ตรงใจกลางและติดต่อกันตัง้ แต่สมองใหญ่ลงมาถึง
สมองน้อยและเชื่อมต่อไปถึงไขสันหลังด้วย โดยทัวๆ ่ ไปมีหน้าทีเ่ กี่ยวกับการดารงชีวติ ควบคุม
การทางานของอวัยวะต่างๆ ที่อยู่ นอกเหนืออานาจจิตใจ เช่น ควบคุมการเต้นของหัวใจ การ
หายใจ ซึ่งเป็ นระบบอัตโนมัติ เราไม่สามารถจะสังให้ ่ หวั ใจหยุดเต้นหรือหยุดหายใจได้ สมอง
ส่วนนี้มเี ส้นใยสมองเรียงร้อยมาแล้วตัง้ แต่แรกเกิด ประกอบด้วย
ทาลามัส (Thalamus) ทาหน้าทีเ่ ป็ นศูนย์กลางถ่ายทอดกระแสประสาทเพื่อ
ส่งไปจุดต่างๆ ในสมอง
ไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) ทาหน้าทีเ่ ป็นศูนย์กลางการเต้นของหัวใจ
อุณหภูมริ า่ งกาย ควบคุมอารมณ์ ความรูส้ กึ เหงือ่ การตื่นและการหลับ
พอนส์ (Pons) ทาหน้ าที่ส่งผ่านกระแสประสาทจากสมองส่ว นหนึ่งไปยัง
สมองอีกส่วนหนึ่ง และควบคุมกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้า
เมดัลลา (Medulla) ทาหน้ าที่ควบคุมการหายใจ ความดันโลหิต ควบคุม
จังหวะการเต้นของหัวใจ รวมไปถึงการทางานของอวัยวะภายในอื่นๆ
เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla Oblongata) เป็นสมองส่วนท้ายสุดทีต่ ่อ
กับไขสันหลัง เป็ นทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างสมองกับไขสันหลัง เป็ นศูนย์กลางการ
ควบคุมการทางานเหนืออานาจจิตใจ เช่น ไอ จาม สะอึก หายใจ การเต้นของหัวใจ เป็นต้น

ในปี ค.ศ. 1937 เจมส์ ปาเปซ ได้บนั ทึกไว้ว่าในส่วนของสรีระทีเ่ กี่ยวข้องกับอารมณ์


นัน้ ไม่ใช่แค่เพียงไฮโปธาลามัสที่มคี วามสาคัญเท่านัน้ แต่เป็ นความซับซ้อนของเครือข่ายวิถี
กระแสประสาท เรีย กว่า Papez circuit ในปี 1949 พอล แมคลีน (Paul McLean) ได้อ ธิบาย
ความคิดของปาเปซให้ถูก ต้อ งและสมบูรณ์ ยงิ่ ขึ้น และเรียกระบบใหญ่ท่มี คี วามซับซ้อนนี้ว่า
Limbic System ระบบนี้จะรวมส่ ว นต่ างๆ ของสมองที่สาคัญ ทัง้ ไฮโปธาลามัส ฮิปโปแคมปสั
(Hippocampus) และ อะมิก ดาลา (Amygdala) และมี ค วามเกี่ ย วข้ อ งอย่ า งแน่ น แฟ้ นกั บ
Cingulate Gyrus, Ventral Tegmental บริเวณก้านสมอง (Brain Stem), Septum และ Prefrontal
Gyrus
85

พอล แมคลีน เป็ นผู้ค้นพบ triune brain theory ด้วย เขาได้เสนอว่าได้มวี วิ ฒ ั นาการ
ภายในโครงสร้างสมองของมนุ ษย์ คือ สมองส่วนสัตว์เลื้อยคลาน (Reptiles) ซึ่งมีหน้าที่ในส่วน
ของสัญชาตญาณ (Instinct) และสมองนี้จะมีความเล็กกว่าส่วนที่เราเรียกว่าก้านสมอง ซึ่งเขา
เรียกว่า Archipallium หรือ สมองส่วนสัตว์เลือ้ ยคลาน (Reptiles brain) สมองส่วนนี้จะรวมไปทัง้
Medulla, Cerebellum, Pons, และ Olfactory bulbs ที่เ หนื อ กว่ า นี้ ค ือ Paleopallium หรือ Old
mammalian brain นี่คอื ระบบลิมบิค และส่วนของสมองที่เรียกว่า Old cortex นัน่ คือเราได้เพิม่
อารมณ์ไปยังสมองส่วนสัตว์เลื้อยคลานด้วย ซึ่งเผื่อให้สาหรับการเรียนรูท้ ่ไี ม่ซบั ซ้อน และที่อยู่
บน Paleopalliumคือ Neopallium เรียกว่า New Mammalian หรือ สมองส่วนเหตุผล (Rational
brain or Neocortex) ซึง่ เป็นสมองส่วนทีค่ วบคุมกิจกรรมขัน้ สูง รวมทัง้ การมีสติ (Awareness)
ไขสันหลัง (Spinal Cord) ประกอบด้วยช่องสัญญาณจานวนมากที่ทาหน้าที่สาหรับ
การรับและส่งสัญญาณประสาท เป็ นส่วนที่ต่อเนื่องมาจากสมองส่วนปลายมีจุดตัง้ ต้นมาจาก
บริเวณ base of skull ลงมาตามกระดูกสันหลัง (vertebral column) มีความยาวประมาณ 42-45
ซม. มีเส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal Nerve) จานวน 31 คู่ออกจากไขสันหลัง ไขสันหลัง เป็ น
ศูนย์กลางของระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic Nervous System) เป็ นทางเดินของกระแส
ประสาทททีต่ ดิ ต่อระหว่างไขสันหลังและสมอง ไขสันหลังสามารถประมวลสัญญาณทีส่ ่งผ่านเข้า
มาโดยไม่ต้องรอคาสังจากสมอง
่ ปฏิกริ ยิ าสะท้อน (Reflex) ก็อยู่ภายใต้การควบคุมของไขสัน
หลัง การกระตุ ก หัว เข่าเป็ นตัวอย่างการทางานของไขสันหลัง หากเคาะที่เ อ็นหัว เข่า จะดึง
กล้ามเนื้อ ที่ติด กับเอ็นนัน้ ให้ย ืดออก ไขสัน หลังเมื่อ รู้ว่ากล้ามเนื้อ ยืด ก็จะรีบส่ ง สัญ ญาณให้
กล้ามเนื้อหดตัว ถ้าเคาะเข่าไม่กระตุกแสดงว่าต้องมีความผิดปกติเกิดขึน้
86

ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic Nervous System หรือ ANS) เป็ นส่วน


หนึ่งของระบบประสาทส่วนปลาย มีหน้ าที่ในการควบคุมการทางานของอวัยวะภายใน ต่อ ม
ต่างๆ และกล้ามเนื้อให้ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ การเปลีย่ นแปลงร่างกายโดยทีเ่ ราไม่รตู้ วั มัก
เป็ นการทางานของระบบประสาทอัตโนมัติ เมื่อเราเผชิญสถานการณ์ฉุกเฉิน ระบบประสาท
อัต โนมัติจะทางาน เช่น ปฏิกิรยิ าตอบสนองต่อ ความกลัว “สู้หรือ หนี ” หรือ “Fight or Flight”
ความกลัว จะไปกระตุ้นการทางานของอะมิกดาลาของสมองระบบลิมบิค และจะกระตุ้นการ
ทางานของไฮโปธาลามัสซึ่งอยู่ใกล้กนั ให้ไปควบคุมการทางานของต่อมไร้ท่อต่างๆ ให้หลัง่
สารเคมีเพื่อกระตุ้นการทางานของระบบประสาท ทาให้ต่อมเหงื่อทางาน หัวใจเต้นเร็ว หลอด
เลือดหดตัว เป็นต้น

ระบบต่อม
ร่างกายประกอบด้วยต่อม 2 ชนิดคือ ต่อมมีท่อ และ ต่อมไร้ท่อ
1. ต่ อ มมี ท่ อ (Exocrine) เป็ น ต่ อ มที่ส ร้า งสาร แล้ ว ปล่ อ ยสารไปตามท่ อ ที่
เชื่อมต่อต่อมนี้ไปสู่อวัยวะอื่นๆ ในร่างกาย หรือออกไปสู่ภายนอกร่างกาย เช่น เหงือ่ น้าลาย
2. ต่ อมไร้ท่อ (Endocrine) ทาหน้ าที่สร้างฮอร์โมนโดยตรงแล้วปล่อยเข้าเส้น
เลือดโดยตรง ส่งไปยังอวัยวะเป้าหมาย เซลล์ในอวัยวะเป้าหมายจะรับฮอร์โมนทีม่ เี ฉพาะ เพื่อ
กระตุ้นหรือยับยัง้ การทางานของร่างกาย ปจั จุบนั พบว่าร่างกายสร้างฮอร์โมนได้มากกว่า 100
ชนิด ต่อมไร้ท่อประกอบด้วยต่อมต่างๆ เช่น
87

ต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) ทาหน้าทีค่ วบคุมการเจริญเติบโตและการ


ทางานของต่อมไร้ท่ออื่นๆ
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid) ทาหน้าทีค่ วบคุมการใช้พลังงานของร่างกาย และ
พัฒนาการของร่างกาย
ต่ อมหมวกไต (Adrenal Gland) ทาหน้าที่ควบคุมสภาวะความสมดุลของ
น้าและเกลือแร่ในร่างกาย และช่วยให้รา่ งกายเตรียมพร้อมสาหรับรับมือกับเหตุการณ์ฉุกเฉิน
ต่ อมไทมัส (Thymus Gland) ทาหน้าที่ควบคุมการสร้างเม็ดเลือดขาวบาง
ชนิดในเด็ก แต่ในผูใ้ หญ่ยงั ไม่ทราบหน้าทีท่ แ่ี น่ชดั
ต่ อมแพนคลี ส (Pancreas Gland) หรือ ตับอ่ อ น ทาหน้ าที่ค วบคุ มระดับ
น้ าตาลในเลือด เนื้อเยื่อส่วนใหญ่ของตับอ่อนจะทาหน้าที่เป็ นต่อมมีท่อ แต่ในตับอ่อนยังมีกลุ่ม
เซลล์จาพวกหนึ่งทาหน้าทีผ่ ลิตฮอร์โมนอินซูลนิ และฮอร์โมนอื่นๆ
จะเห็นได้ว่าต่ อ มไร้ท่อ จะหลังสารเคมี
่ ท่เี รียกว่า ฮอร์โมน (Hormone) ไปตาม
กระแสเลือด ซึ่งไปมีผลต่อเซลล์ต่างๆ ทัวร่ ่ างกาย ฮอร์โมนทาหน้าที่ควบคุมและรักษาสภาวะ
สมดุลให้แก่ร่างกาย เช่น การรักษาระดับน้ าตาลในเลือด รักษาระดับน้าและเกลือแร่ แต่ ฮอร์โมน
แต่ ละชนิดอาจจะให้ผลเร็ว หรือช้าต่ างกัน ฮอร์โมนบางชนิดส่งผลชัวคราวแต่ ่ ส ม่ าเสมอ เช่น
ฮอร์โมนกากับรอบการมีประจาเดือนในเพศหญิง หรืออาจมีผลอย่างรวดเร็ว เช่น ฮอร์โมนที่
ร่างกายสร้างขึน้ เมือ่ สมองรับรูว้ ่ากาลังประสบเหตุรา้ ย เป็นต้น

การศึกษาการทางานของสมอง
เครือ่ งมือทีใ่ ช้ตรวจการทางานของสมองทีส่ าคัญ มีดงั นี้
1. ก า ร ต ร ว จ CT Scan (Computerized Tomography) ห รื อ เ อ ก ซ เ ร ย์
คอมพิวเตอร์ หมายถึง การบันทึกภาพตัดขวางของร่างกายในระดับทีต่ ่างกัน เป็ นการถ่ายภาพ
ทีไ่ ม่สามารถเห็นได้ดว้ ยการถ่ายเอกซเรย์โดยทัวไป
่ ซึง่ จะให้ภาพเพียง 2 มิติ คือ กว้างและยาว
ไม่สามารถบอกความลึกได้ และจะให้ภาพรวมของทัง้ อวัยวะ ซึง่ เป็ นข้อจากัด เมื่อเทียบกับ CT
Scan ซึง่ จะให้ภาพเป็ น 3 มิติ โดยการนาภาพที่ถ่ายด้วยรังสีเอกซ์หลายๆ ภาพมาประกอบกัน
มีจุดประสงค์ห ลัก ๆ คือ เพื่อ ตรวจหาความผิดปกติใ นเนื้อ เยื่อ กระดู ก หรือ โครงสร้างของ
ร่างกาย และใช้ช่วยในการบอกตาแหน่งทีแ่ ม่นยาในการนาเครือ่ งมือเข้าไปรักษา
2. การตรวจ MRI (Magnetic Resonance Imagine) เป็นเครือ่ งตรวจร่างกาย
โดยใช้การสร้างเสมือนจริง โดยใช้สนามแม่เหล็กความเข้มสูง โดยการส่งคลื่นความถี่วทิ ยุเข้าสู่
ร่างกายและรับคลื่นสะท้อนกลับ นามาประมวลผลเป็นภาพคอมพิวเตอร์ทใ่ี ห้รายละเอียดคมชัด
ทาให้สามารถมองเห็นจุดผิดปกติของร่างกายได้โดยไม่เกิดอันตรายต่อผูร้ บั การตรวจ
88

3. การตรวจ PET Scan (Positron Emission Tomography Scan) เ ป็ น ก า ร


ถ่ายภาพความเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี (Metabolism Imagine) ในเนื้อเยื่อต่าง ๆ ในร่างกาย
โ ด ย ก า ร ใ ห้ น้ า ต า ล ก ลู โ ค ส ช นิ ด พิ เ ศ ษ ที่ ม ี กั ม มั น ต รั ง สี ใ น ตั ว เ อ ง เ รี ย ก ว่ า FDG
(Fluorodeoxyglucose) ฉีดเข้าสู่ร่างกาย น้ าตาลชนิดมีกมั มันตรังสีน้ีจะซึมเข้าสู่เนื้อเยื่อเกือบทุก
ชนิดในร่างกาย โดยเฉพาะเนื้อเยื่อที่มกี จิ กรรมการทางาน หรือมีการแบ่งตัวมาก เช่น เนื้อเยื่อ
มะเร็งหลายชนิด เนื้อเยื่อสมอง เป็ นต้น จะจับน้ าตาลไว้ในปริมาณมากกว่าเนื้อเยื่อปกติ และ
เปล่ ง รัง สีอ อกมาในปริม าณสูง จากนัน้ แพทย์จ ะใช้เ ครื่อ งตรวจ PET Scan ซึ่ง เป็ น เครื่อ ง
ถ่ายภาพรังสี ถ่ายภาพออกมา ซึง่ ภาพทีไ่ ด้จะแสดงให้เห็นการมีอยู่หรือไม่ของมะเร็ง หรือ โรค
ต่าง ๆ แต่เนื่องจากภาพจากเนื้อเยือ่ ทีต่ รวจได้จาก PET Scan จะมีลกั ษณะลอย ๆ อยู่ ดูเหมือน
หมอกควัน เนื่ อ งจากขาดจุด อ้า งอิง ทางกายภาพ (Anatomical Landmark) ท าให้แ พทย์ไ ม่
สามารถกาหนดตาแหน่ งของรอยโรค/ตาแหน่ งทีเ่ กิดโรคได้ชดั เจน จึงได้มกี ารนา CT Scan มา
รวมเข้าไว้เป็นเครือ่ งมือชนิดเดียวกัน เรียกว่า PET-CT Scan เพื่อเพิม่ ความแม่นยาในการตรวจ
4. การตรวจ EEG (Electroencephalography) คือ การตรวจคลื่น ไฟฟ้ าสมอง
เป็ นการบันทึกสัญญาณไฟฟ้า ซึ่งเป็ นผลรวมของกระแสไฟฟ้าของกลุ่มเซลล์ในสมอง ผลการ
ตรวจจะปรากฏรูปกราฟในจอภาพ เมื่อ เซลล์ประสาทส่ ว นหนึ่งได้รบั การกระตุ้นโดยสารสื่อ
ประสาท (Neurotransmitter) จะปล่ อ ยอนุ ภาคที่มปี ระจุไ ฟฟ้ าให้เ ดินไปตามเนื้ อ เยื่อ ประสาท
(Nerve Fiber) ที่เ ชื่อ มระหว่างเซลล์ประสาท โดยกระแสไฟฟ้าที่เ กิด ขึ้นนี้ จะไปกระตุ้นเซลล์
ประสาทให้ปล่อยประจุไฟฟ้าต่อไปเป็ นทอด ๆ ซึง่ สัญญาณไฟฟ้าที่เกิดขึน้ เรียกว่า คลื่นสมอง
หรือ คลื่นไฟฟ้าสมอง (Brain Wave) คลื่นสมองจะมีลกั ษณะเคลื่อนไหวขึน้ และลง เหมือนคลื่น
่ เมื่ออยู่ในภาวะปกติ คลื่นไฟฟ้าสมองก็เป็ นปกติ แต่เมื่อเกิดความผิดปกติของสมอง เช่น
ทัวไป
ภาวะชัก ภาวะสับสน ความผิดปกตินนั ้ ก็สามารถตรวจได้จากการตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง

คาถามท้ายบท
ให้นิสติ อ่านเนื้อหาต่อไปนี้ แล้วสรุปว่า พฤติกรรมของคนทีเ่ ป็ นโรคจิตเภทเกี่ยวข้อง
กับการทางานของสมองอย่างไร

โรคจิ ตเภท (Schizophrenia) เป็ นโรคที่มคี วามซับซ้อนและรายละเอียดทางชีวะของ


โรคนี้ก็มคี วามลึก ลับเป็ นอย่างยิง่ ทาให้เกิดอาการที่ทรมานมาก และเป็ นไปได้ยากที่จะระบุ
ลักษณะชัดเจนทีเ่ กี่ยวข้องแต่เทคโนโลยีเกี่ยวกับสร้างภาพแบบใหม่ในการสารวจสมอง ได้เผย
ให้เห็นว่ามีสมองทีท่ างานผิดปกติไปจากที่ควรจะเป็ นอย่างไร นัน่ คือ การให้ความสนใจกับส่วน
ของสมองทีท่ างานต่ ากว่ามาตรฐาน ทัง้ ในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการคิด เหตุผล การจา และอารมณ์
89

พบว่า มีหลายส่วนมากที่ทางานผิดปกติ จนทาให้นักวิจยั หันมาสนใจในส่วนหนึ่งของสมองที่ม ี


หน้าทีค่ อยประสานงานการทางานทัง้ หมด นันคื ่ อ สมองส่วนหน้า
สมองส่วนหน้ าทาหน้ าที่คอยประสานความสัมพันธ์ของการคิด เหตุผล การจา และ
อารมณ์ และสมองส่วนหน้ าไม่มปี ระสิทธิภาพ หมายถึง อาจจะนาไปสู่การเป็ นโรคจิตเภทได้
และนัน่ ก็หมายความว่า ที่แทนที่จะกลายเป็ นการคิด เหตุผล การจา และอารมณ์ทางานอย่าง
สอดประสานกลมกลืนกัน กลับกลายความวุ่นวายสับสน เช่น กลายเป็ นภาพหรือเสียงที่หลอน
สมองส่วนหน้าทีท่ าหน้ าทีไ่ ม่ปกติจะทาให้ยากสาหรับการคิด หลายคนทีป่ ่วยเป็ นโรค
จิตเภท ทีไ่ ด้ทดสอบเพื่อวัดความสามารถในการคิดและการมีเหตุผล จะทาออกมาได้ไม่ดี แม้แต่
บางคนเคยเป็นผูท้ เ่ี รียนดี แต่ในขณะทีโ่ รคจิตเภทเกิดขึน้ คะแนนผลการเรียนของเขาก็เริม่ ลดลง
และอาจส่งผลต่อการเรียนของพวกเขาในอนาคต เนื่องจากความสามารถในการคิดที่ลกึ ซึง้ และ
ซับซ้อนได้ถูกทาลายลงไป
โรคจิตเภทไม่ได้ทาลายสมองในส่วนทีเ่ กี่ยวข้องกับการคิดเท่านัน้ แต่ยงั มีผลรุนแรงต่อ
ด้านอารมณ์อกี ด้วย ได้มกี ารทดลองให้ผปู้ ว่ ยจิตเภทดูสไลด์ทค่ี นส่วนใหญ่แสดงความพอใจหรือ
สภาพทีเ่ ป็นแง่บวก เพื่อมองหาพืน้ ทีข่ องสมองส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับอารมณ์ นักวิจยั จะใช้วธิ กี ารให้
ดูภาพต่าง ๆ และ Scan สมอง เพื่อดูปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ ในสมอง สมองปกติจะตอบสนองต่อการ
กระตุ้นด้ว ยภาพเหล่านี้ ด้ว ยการไปกระตุ้นพื้นที่ต่างๆ ในสมอง ที่มผี ลต่อ กระบวนการสร้าง
อารมณ์ แต่พ้นื ที่เดียวกันนี้จะมีการตอบสนองได้ไม่ดใี นหลายคนที่เป็ นโรคจิตเภท บ่อยครัง้ ที่
ผู้ป่วยที่เป็ นโรคจิตเภทจะมีอาการที่เรียกว่า การสูญเสียความสามารถในการแสดงอารมณ์ท่ี
สัมพันธ์กบั คนอื่น ๆ เกิดความว่างเปล่าทางความคิดในด้านอารมณ์ และเป็ นหนึ่งในปจั จัยที่
ผลัก ดันให้ผู้ป่ว ยที่เ ป็ นโรคจิต เภทรู้ส ึก เหมือ นอยากเอาชีว ิต ของตนเองไป อยากฆ่าตัว ตาย
เพราะพวกเขารู้สกึ ราวกับว่าพวกเขาสูญเสียตัวตน ขณะที่บางคนกลับต้องอยู่ในโลกของการ
หลอกหลอน กลัวภาพและกลัวเสียงทีไ่ ม่มจี ริง เช่น คนทีเ่ ป็ นโรคจิตเภทบางคนได้ยนิ เสียงต่างๆ
ที่ด ัง มาก ฝ งั ลึก และหนั ก หน่ ว งว่ า “ฉั น จะฆ่า เธอ เธอไม่ค วรจะมีชีว ิต อยู่ ” เข้า มาคุ ก คาม
ตลอดเวลาที่ลมื ตาตื่น และรู้สกึ ว่ามีชายคนหนึ่งใส่ชุดคลุมหัวสีดาจ้องมาที่ตนเอง พยายามจะ
แตะต้องตัว และพยายามจะฆ่า และเมื่อบางครัง้ ที่คนไข้พยายามจะต่อสู้ คนใส่ชุดคลุมหัวสีดา
พูดออกมาว่า “ฆ่าตัวเอง ทามัน ... ทามัน ..... ทามัน”
บางครัง้ เสียงทีเ่ ขาได้ยนิ เป็ นเสียงทีร่ บกวนเขามาก เพราะมันปรากฏขึน้ มาเหมือนจริง
แต่เป็ นสิง่ ทีป่ รากฏขึน้ มาจากความผิดปกติของสมอง ผูป้ ่วยทีเ่ ป็ นโรคจิต เขาไม่ได้ยนิ เสียงด้วย
หูของตน แต่ได้ยนิ เสียงด้วยสมอง ไม่ได้เห็นด้วยตาของเขา แต่เขาเห็น ภาพด้วยสมองของเขา
ดังนัน้ เมื่อสมองผิดปกติไป ก็อาจจะมีประสบการณ์ของการได้ยนิ เสียงที่ฟงั ดูเหมือนว่ามันมา
จากข้างนอกตัวเขา
90

ในสมองที่ผดิ ปกติ คลื่นเสีย งที่ผ่านเข้ามาในหู เดินทางเป็ นกระแสไฟฟ้าและสารเคมี


เข้าไปสู่ส่วนของการได้ยนิ ที่สมอง หรือเปลือกสมองด้านการฟงั จากนัน้ มันก็จะสร้างสัญญาณ
ขึน้ มาและเดินทางไปตามพืน้ ทีเ่ กี่ยวกับการคิดของสมอง แล้วถูกตีความ นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า
คนที่ป่วยเป็ นโรคจิต ที่ด้านความคิดและเซลล์ประสาทจะมีค วามผิดปกติไปในลักษณะที่ไม่
ต่อเนื่อง สับสน วุ่นวาย และทาให้เกิดเสียงทีไ่ ม่สมั พันธ์กบั โลกภายนอก ผลทีไ่ ด้คอื ความคิดถึง
เสียงทีไ่ ม่มอี ยูจ่ ริง
นักวิทยาศาสตร์กาหนดทฤษฎีข้นึ มาว่า ผู้ป่วยที่เ ป็ นโรคจิตคือผู้ท่มี ปี ญั หาเกี่ยวกับ
สารเคมีในสมองชนิดหนึ่ง คือ โดปามีน (Dopamine) หนึ่งในตัวรับส่งสัญญาณในระบบประสาท
ของสมองหรือโมเลกุลที่จะส่งข้อมูลจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง ข้ามช่องว่างเล็กๆ หรือ
รอยต่อของระบบประสาท เรียกว่า Synapse ในสมองปกติ โดปามีนจะทาหน้าที่กระตุ้นตัวรับ
สั ญ ญาณต่ างๆ ขอ งเซล ล์ ป ระสาทที่ เ ป็ นเป้ าหมาย แล ะปฏิ กิ ร ิ ย าทางเคมี ไ ฟฟ้ า
(Electrochemical) ออกมาอย่างต่อเนื่อง ในส่วนของสมองของคนทีเ่ ป็ นโรคจิตนัน้ ระดับของโด
ปามีนทีพ่ ุ่งสูงขึน้ ซึง่ ไปกระตุ้นตัวรับสัญญาณต่าง ๆ ทีม่ ากเกินไป จนทาลายความสามารถของ
สมองในการส่งสัญญาณทีถ่ ูกต้องและชัดเจนออกไป
91

แผนการจัดการเรียนรู้ ครัง้ ที่ 7


การรับสัมผัสและการรับรู้

สาระสาคัญ
การรับรูเ้ ป็ นการเลือกและตีความสิง่ เร้า โดยสมองจะตีความโดยอาศัยประสบการณ์
เดิม จากนัน้ ส่งข้อมูลไปยังอวัยวะตอบสนอง แสดงพฤติกรรมหรือการกระทา การรับรูท้ ่สี าคัญ
คือ การเห็น การได้ยนิ การได้กลิน่ การรับรส และการสัมผัส มนุ ษย์มกี ารจัดระบบการรับรู้ และ
มีปจั จัยที่ส่งผลต่อการรับรูม้ อี ยู่มากมายหลายประการด้วยกัน เช่น ปจั จัยทางกายภาพ พยาธิ
สภาพทางจิต ความเคยชิน การคาดหวัง การปรับตัว เป็นต้น

วัตถุประสงค์
เมือ่ ศึกษาบทเรียนนี้จบแล้ว ผูเ้ รียนสามารถ
1. อธิบายความหมาย ความสาคัญและประเภทของการรับรูไ้ ด้
2. เข้าใจลักษณะการทางานของอวัยวะรับความรูส้ กึ ทุกประเภทและการตอบสนองได้
3. อธิบายถึงการจัดระบบการรับรูไ้ ด้
4. อธิบายถึงปจั จัยต่างๆ ทีม่ ผี ลต่อการรับรูไ้ ด้

กระบวนการของการรับรู้ (Perceptual Process)


การรับรู้ หมายถึง การตีความหรือแปลความหมายสิง่ เร้า ความรูแ้ ละประสบการณ์ของ
บุคคลทีม่ ตี ่อสิง่ เร้าส่งผลต่อการรับรู้
มีก ารทดลองทางจิต วิท ยาในรายการโทรทัศ น์ รายการหนึ่ ง ซึ่งได้จดั สภาพการณ์
ทดลองอย่างง่ายๆ โดยเตรียมน้ าผสมกับ กับ น้ าแข็งลงในอ่ างแก้ว วัดอุ ณ หภูมไิ ด้ – 5 องศา
เซลเซียส โดยผู้เข้ารับการทดลองซึ่งจะมีเฉพาะเพศชายเท่านัน้ จะต้องจุ่มมือลงไปในอ่างน้ านี้
ทันทีทจ่ี ุ่มลงไปในอ่างน้า ให้เริม่ จับเวลาว่าจะสามารถทนความเย็นของน้าได้นานแค่ไหน ทันทีท่ี
ผูเ้ ข้ารับการทดลองทนไม่ได้ยกมือขึน้ มาจากน้ าให้ผทู้ ดลองหยุดจับเวลาทันที ดูแล้วเหมือนเป็ น
การทดลองทีแ่ สนจะธรรมดา แต่ผทู้ ดลองได้เพิม่ เงื่อนไขเข้าไปในการทดลองอีกครัง้ โดยในการ
ทดลองครัง้ ต่อมา จะมีผู้หญิงมาอธิบาย จับเวลาและคอยถามอยู่เรื่อยๆ ว่า “ทนได้มยคะ ั ๊ ” คน
หนึ่งในอดีตเคยเป็ นนักกีฬายกน้ าหนัก รูปร่างอ้วนใหญ่ หน้าตาท่าทางดูเคร่งครึม อีกหนึ่งคนจะ
เป็ น นัก วิท ยาศาสตร์ท่ีมรี ูปร่างหน้ าตาที่ส วยสดงดงาม น่ าหลงใหล และผู้เข้ารับ การทดลอง
จะต้องเผชิญ กับสภาพการณ์ทดลองทัง้ สองเหมือนๆ กัน ลองทายสิว่า ผู้เข้ารับการทดลองจะ
สามารถทนน้ าเย็นในสภาพการณ์ทดลองใดได้มากกว่ากัน “นักวิทยาศาสตร์คนสวย” หรือ “อดีต
นักยกน้าหนักทีม่ นี ่าเกรงขาม”
92

คาตอบทายได้ไม่ยากเลย ผูช้ ายแทบทุกคนมักจะชอบผูห้ ญิงที่สวยและจะแสดงความ


เป็ นชายที่แข็งแกร่งให้เป็ นที่ประจักษ์ต่อหญิงสาวเสมอ เพื่อให้เป็ นที่ดงึ ดูดใจต่อผู้หญิงคนนัน้
อิทธิพลดังกล่าวนี้จงึ ทาให้ชายทีเ่ ข้ารับการทดลองทีม่ หี ญิงคนสวยอยูด่ ว้ ย สามารถทนน้ าเย็นได้
มากกว่าปกติ และบางคนแตกต่างไปจากปกติ 2 – 3 เท่า และน่ าสงสารทีไ่ ม่มผี ชู้ ายคนไหนยอม
ทนน้าเย็นมากกว่าปกติให้กบั อดีตนักยกน้ าหนักเลย
จากการทดลองสะท้อนให้เห็นว่า มีปจั จัยหลายอย่างทีเ่ ข้ามามีอทิ ธิพลเกี่ยวข้องทาให้
เรามีค วามรู้ส ึก ที่แ ตกต่ างกัน ได้ ทัง้ ๆ ที่เป็ น สิ่งเร้าชนิ ด เดียวกัน ที่เป็ น เช่ น นี้ นัน่ เป็ น เพราะ
หลังจากที่เกิดการรูส้ กึ พลังงานของสิง่ เร้าก็จะเปลี่ย นรูปเป็ นกระแสประสาท และส่งไปที่ระบบ
ประสาท และระบบประสาทก็จ ะตีค วามหมายสิ่ง เร้า ที่เข้า มากระตุ้ น ด้ว ยกระบวนการทาง
ความคิด และส่ ง ไปยังหน่ ว ยปฏิบ ัติก าร (Effectors) เพื่อ แสดงปฏิกิร ิย าตอบสนองออกมา
ตัวอย่างเช่น เมื่อมีเสียงมากระตุ้นอวัยวะรับสัมผัส คือ หู หูกจ็ ะแปลงเสียงเป็ นสัญญาณประสาท
และส่งข้อมูลไปยังสมอง สมองก็จะเกิดความรูส้ กึ ว่า “ได้ยนิ ” หรือ “ไม่ได้ยนิ ” เสียง พร้อมกันนัน้
บุคคลก็จะรับรูว้ ่าเสียงนัน้ มีความไพเราะหรือไม่ ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั ประสบการณ์ของแต่ละบุคคล
93

เมื่อมีสงิ่ เร้าที่เข้ามากระทบอวัยวะรับสัมผัสของเรา (Environment Stimulus) และ


เรามีค วามใส่ ใจในสิ่งเร้านั น้ (Attended Stimulus) สิ่งเร้าก็จะกระตุ้น ประสาทรับ ความรู้ส ึก
ต่างๆ (Stimulus on the Receptors) เช่น แสงกระตุ้น Photoreceptor ความสันสะเทื ่ อนของ
อากาศเคลื่อนทีไ่ ปกระทบเยื่อแก้วหูและกระตุ้นให้เซลล์ขนทาหน้าที่ถ่ายทอดความสันสะเทื ่ อนนี้
เป็ นกระแสประสาทไปตามเส้นประสาทเดินทางเข้าสู่สมอง แรงกดบนผิวหนังกระตุ้นให้ตวั รับ
ความรูส้ กึ (Receptor) บริเวณนัน้ โมเลกุลในอากาศและในอาหารหรือเครื่องดื่มกระตุ้นตัวรับ
ความรู้สกึ ได้กลิ่น (Olfactory Receptor) และตัวรับความรูส้ ึกรู้รส (Taste Receptor) ประสาท
สัมผัสของเราเปลีย่ นแปลงสิง่ เร้าเหล่านี้ให้เป็ นสัญญาณทางเคมีไฟฟ้าซึง่ แปลงโดยเซลล์ประสาท
(Transduction) แล้วส่งเข้าสู่การประมวลผลภายในสมอง (Process) สมองของเราจะสร้างการ
รับ รู้ (Perception) ทางการเห็น การได้ย ิน การสัม ผัส การได้กลิ่น และการรู้รสซึ่งท าให้เรา
สามารถเข้าใจโลกรอบๆ ตัวเราได้ ชนิดของสี เสียง กลิน่ รส เป็ นโครงสร้างของจิตทีส่ ร้างขึน้ มา
โด ย อ าศั ย ป ระส บ ก ารณ์ ก ารรั บ สั ม ผั ส (Sensory Experience) ห รื อ ค ว าม รู้ ท่ี มี อ ยู่
(Knowledge) ซึง่ เราไม่อาจรูไ้ ด้ถา้ สมองไม่ช่วยตีความสิง่ เร้าเหล่านี้ ทาให้เราสามารถจาแนกสิง่
เร้าได้(Recognition) การรับรูข้ องเราเป็ นแบบแผนของโลกทางจิตที่อยู่ภายใน ไม่ใช่เป็ นการ
แสดงปฏิกริ ยิ าตอบสนองของร่างกายตามธรรมชาติทม่ี ตี ่อสิง่ เร้าโดยตรง ต่อจากนี้ แรงกระตุ้นที่
เป็ นกระแสไฟฟ้าจึงถูกส่งไปยังอวัยวะตอบสนอง (Effecter Organs or Cells) ได้แก่ กล้ามเนื้อ
และต่อมต่างๆ ซึ่งจะมีการหดตัว ขยายตัว หรือหลังฮอร์ ่ โมนหลังสาร ่ เพื่อตอบสนองต่อข้อมูล
ต่างๆ ทีไ่ ด้รบั จากอวัยวะรับสัมผัส เกิดพฤติกรรม หรือการกระทา (Action) ต่างๆ ตามมา

เทรชโฮลด์ (Threshold)
ระบบประสาทของเราจะมีความไวต่อการรูส้ กึ เป็นอย่างมาก เราสามารถรูส้ กึ ได้แม้จะมี
ความเข้มของสิง่ เร้าในปริมาณทีน่ ้อยก็ตาม รวมทัง้ สามารถจาแนกความแตกต่างระหว่างสิง่ เร้าที่
มีความใกล้เคียงกันได้ การศึกษาความเข้มของสิง่ เร้ากับความเข้มของการรูส้ กึ นี้ เรียกว่า จิต
ฟิ สกิ ส์ (Psychophysics) พลังงานที่น้อยที่สุดที่ทาให้เราเริ่มรับรูไ้ ด้ หรือ เริม่ รู้สกึ ว่า “มี” อะไร
เกิดขึน้ เรียกว่า เทรชโฮลด์ (Threshold) เทรชโฮลด์ของการรูส้ กึ แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ เทรช
โฮลด์สมบูรณ์ (Absolute Threshold) และ เทรชโฮลด์ความแตกต่าง (Difference Threshold)
เทรชโฮลด์สมบูรณ์ (Absolute Threshold) เรานิยมเรียกเทรชโฮลด์เพียงคาเดียว ใช้
อักษรย่อว่า T หรือ RL (R มาจากภาษาเยอรมันว่า ไรช์ (Reiz) แปลว่า ตัวกระตุ้น L มาจาก
ภาษาลาตินว่า ไลเมน (Limen) แปลว่า ประตูหรือจุดเริม่ ต้น) ตัวอย่างเทรชโฮลด์สมบูรณ์ เช่น
94

การเห็น (Vision)

เห็นแสงจากเปลวไฟเทียนไขระยะห่าง 30 ไมล์ในคืนทีม่ ดื สนิท


การได้ยิน (Hearing)

ภายในห้องทีเ่ งียบสนิท ยืนอยูใ่ นระยะห่าง 20 เมตร ได้ยนิ เสียงนาฬิกาเดิน

การรับรส (Taste)

เติมน้าตาล 1 ช้อนชาในน้ า 2 แกลลอน แล้วรูส้ กึ หวาน


95

การได้กลิ่ น (Smell)

ได้กลิน่ หอมจากน้ าหอมเพียง 1 หยด ทีก่ ระจายในห้องขนาดเท่ากับ 3 ห้องของอพาร์ทเมนท์

การสัมผัส (Touch)

รูส้ กึ สัมผัสปีกแมลงทีต่ กลงบนแก้มจากความสูง 1 เซนติเมตร

สาหรับสิง่ เร้าทีม่ คี วามเข้มมากกว่าเทรชโฮลด์สมบูรณ์ การเพิม่ หรือลดความเข้มของ


สิง่ เร้าจะทาให้เกิดความรูส้ กึ ว่าสิง่ เร้าได้เปลี่ยนแปลงไป เรียกว่า เทรชโฮลด์ความแตกต่ าง
(Differential Threshold) พิจารณาสมการทัง้ 3 สมการต่อไปนี้
∆I α I -------------- (1)
∆I = KI -------------- (2)
I
k -------------- (3)
I

∆ I หมายถึง ความเข้มทีแ่ ตกต่างกันระหว่างสิง่ เร้าใหม่กบั สิง่ เร้าเดิม


I หมายถึง ความเข้มของสิง่ เร้าเดิม
96

สมการ (3) นี้ เป็ นกฎของเทรชโฮลด์ความแตกต่าง ผูค้ น้ พบกฎนี้เป็ นนักจิตฟิสกิ ส์ชาว


เยอรมัน ชื่อ เอิร์น สต์ เวเบอร์ (Ernst Weber, 1795-1878) ในปี ค.ศ. 1834 จึง มีช่ือ เรีย กว่ า
กฎของเวเบอร์ (Weber’s Law) และ k ในสมการเรีย กว่ า ตัว คงที่ข องเวเบอร์ (Weber’s
Constant) ซึ่งหมายถึง ลักษณะเฉพาะของบุคคลในความรูส้ กึ แต่ละอย่าง กฎของเวเบอร์เป็ น
ประโยชน์ต่อการพยากรณ์พฤติกรรมการรูส้ กึ ของคนมาก
ตัวอย่างเช่น หากเราพบว่าทีน่ ้าหนักเดิม 100 กรัม การเพิม่ น้าหนัก 5 กรัม ทาให้นาย
ก บอกได้ว่าน้ าหนัก ทัง้ สองแตกต่ างกัน ถ้าหากเรามีน้ าหนัก 200 กรัม อยากรู้ว่ าต้อ งเพิ่ม
น้าหนักเพิม่ อีกกีก่ รัม จึงจะทาให้นาย ก. เกิดความรูส้ กึ ว่าน้าหนักเพิม่ ขึน้
I
จากสูตร k
I

105 - 100
แทนค่าในสูตร k  0.05
100

จากสูตร  I = kI
= 0.05 x 200
= 10 กรัม
ดังนัน้ ถ้ามีน้าหนัก 200 กรัม น้าหนักต้องเพิม่ ขึน้ อีก 10 กรัมถึงจะทาให้รสู้ กึ
97

อวัยวะรับความรู้สึกและการตอบสนอง
การเห็น (Vision)
การมองเห็นจะเกิดขึน้ ได้เมื่อมีแสงจากวัตถุทเ่ี รากาลังมองอยู่ตกกระทบกับตัวรับภาพ
ในดวงตา (Photoreceptor) และส่งข้อมูลไปยังสมอง สมองส่วนรับภาพจะจัดเรียงแปลผลข้อมูล
และสร้างเป็นภาพให้รสู้ กึ มองเห็นได้
แสงเข้าสู่ตาทางแก้วตาและถูกปรับให้ภาคคมชัดบนจอรับภาพทีอ่ ยูด่ า้ นหลังของลูกตา
ทีซ่ ง่ึ เซลล์รบั แสง (Photoreceptors) เปลีย่ นเป็ นสัญญาณไฟฟ้าผ่านประสาทตาไปยังสมอง เพื่อ
แปลความหมายของภาพ Photoreceptors มี 2 ชนิ ด Rod cells มี ประมาณ 125 ล้านเซลล์
เป็ นเซลล์ท่ีไวแสง แต่ไม่สามารถแยกสีได้ และ Cone cells มีประมาณ 6 ล้านเซลล์ ไม่ไวแสง
แต่สามารถแยกสีได้ แบ่งเป็ น Cone สีแดง, สีเขียว และ สีน้าเงิน fovea เป็ นบริเวณทีม่ แี ต่ cone
cells ไม่ม ี rod cell ตามีความสาคัญมาก ช่วยให้เรามองเห็นสิง่ ต่างๆ รอบตัว และเมื่อมองวัตถุ
ด้วยตาข้างใดข้างหนึ่ง จะทาให้กะระยะผิดไป การที่มองด้วยตาทัง้ สองข้าง ทาให้เรากะระยะ
ต่างๆ ได้ถูกต้องแม่นยา
ปจั จัยทางทัศ นคติและอารมณ์ มคี วามสัมพันธ์ก ับ การโต้ต อบของรูม่านตาสามารถ
สังเกตได้จากสิง่ เร้ามากมาย ตัวอย่างเช่น อาหาร ภาพเกี่ยวกับการเมือ ง ภาพโรคที่มคี วาม
ผิดปกติทางผิวหนัง (Schiffman. 1996:69) ส่วนกิจกรรมทางสมองที่มผี ลต่อการเปลีย่ นขนาดรู
ม่านตานัน้ มีต ัว อย่างจากการศึก ษาของ Hess & Plot พวกเขาให้ก ลุ่ ม ตัว อย่ างแก้ ป ญ ั หาที่
เกี่ยวกับ ถ้อ ยค าภาษาที่เป็ น เรื่อ งราวเป็ น ตอนๆ ต่ อ เนื่ อ งกัน จากตอนหนึ่งไปสู่อีกตอนหนึ่ ง
เช่นเดียวกัน รูม่านตาของกลุ่มตัวอย่างแต่ละคนจะค่ อยๆ เพิม่ ขึน้ เริม่ ตัง้ แต่การนาเสนอปญั หา
และตาจะเบิก กว้างมากที่สุ ดอย่างฉับพลันก่ อ นที่จะให้ถ้อ ยค าที่เป็ นค าตอบ ปญั หาที่มคี วาม
ยุ่งยากมากขึน้ รูม่านตาก็เพิม่ ขนาดขึ้น นอกจากนี้ Schluroff พบว่าการเบิกรูม่านตากว้างมาก
น้อยนัน้ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความซับซ้อนของไวยากรณ์ของประโยคทีถ่ ูกนามาเสนอให้
ได้ยนิ ขณะที่งานวิจยั เกี่ยวกับ Pupillometry ค่อนข้างมีการโต้เถียงกันนัน้ ข้อค้นพบที่ได้ก็เป็ น
เครื่องแสดงให้เห็นว่าขนาดของรูม่านตาสะท้อนให้เห็นถึงความพยายามของสมอง เฮสได้เสนอ
ว่าขนาดของรูม่านตามีบทบาทในลักษณะการสื่อสารที่ไม่ใช้ ภาษาอย่างแน่ นอน เช่น ในการมี
ปฏิสมั พันธ์ทางสังคม การมีรมู ่านตาทีเ่ บิกกว้างมักชอบการคบค้าสมาคมและเชื่อว่ามีการสื่อสาร
เชิงบวก ดังเช่น การมีมติ รจิตมิตรใจ มีความดึงดูดใจ เป็นต้น

การได้ยิน (Hearing)
คลื่นเสียงเมื่อ เดินทางผ่านเข้าสู่ช่องหูชนั ้ นอก (External Auditory Canal) ไปสู่หูชนั ้
กลาง (Middle Ear) ซึ่งมีเยื่อแก้วหู (Lympanic Membrane) คลื่นเสียงทาให้อากาศสันสะเทื ่ อน
ส่งผลให้เยื่อแก้วหูสนกระทบกั
ั่ บกระดูกหูรปู ฆ้อน กระดูกรูปทังและกระดู
่ กรูปโกลน ทาให้เกิด
98

การสันสะเทื
่ อนไปยังของเหลวในหูส่วนใน (Inner Ear) ซึง่ คลื่นของเหลวนี้จะไปกระตุ้นเซลล์รบั
เสียงส่งต่อไปยังประสาทรับเสียง (Auditory Nerve) แปรเป็ นสัญ ญาณประสาทไฟฟ้าก่ อนที่จะ
ถูกส่งไปยังศูนย์กลางรับเสียงในสมอง ซึง่ แปลความรูส้ กึ เป็นเสียงต่างๆ
ระบบการรับรูท้ างเสียงของมนุ ษย์นัน้ บุคคลจะมีความไวในการรูส้ กึ อย่างไรขึน้ อยู่กบั
การกาหนดความถีข่ องเสียง (Pitch) และ ความเข้มของเสียง (Sound Intensity) หมายถึง ความ
ดังหรือความค่อยของเสียง ความถี่ หมายถึง จานวนรอบของคลื่นเสียงทีเ่ กิดขึน้ ในระยะเวลา 1
วิน าที แต่ ล ะรอบเรีย กว่า เฮิรตซ์ (Hertz) หรือ เขีย นเป็ น ค าย่อ ว่า Hz เป็ น หน่ ว ยของการวัด
ความถี่ของคลื่น เสีย ง เพื่อ ให้เกีย รติแ ก่ นัก ฟิ ส ิก ส์ช าวเยอรมัน ชื่อ เฮนริช เฮิรตซ์ (Heinrich
Hertz, 1857 - 1890) คนปกติจะสามารถรับ ความถี่ของคลื่นเสียง ตัง้ แต่ 20-20,000 เฮิรตซ์
นอกจากนี้ อาจกล่ าวอีก นัย หนึ่ งได้ว่ า ความสูงของคลื่น เสียงหรือ ขนาดของการอัด ตัว และ
กระจายตัว ของโมเลกุ ล เรียกว่า แอมปลิจูด (Amplitude) หรือช่วงกว้างของคลื่นเสียง ความ
แตกต่ างของแอมปลิจูดนี้ทาให้เกิดความดังหรือความค่ อยของเสียงแตกต่างกัน ความสูงต่ า
(Pitch) ของเสียงกาหนดโดยความถี่

การได้กลิ่ น (Smell)
เมื่อเราสูดสารเคมีเข้าไปในโพรงจมูก สารเคมีก็จะไปสัมผัสกับเนื้อเยื่อที่ทาหน้าที่รบั
กลิน่ เรียกว่า ออลแฟคทอรี่ อีพทิ เี ลีย่ ม (Olfactory Epithelium) กระตุ้นให้เกิดกระแสประสาทซึง่
จะส่งต่อไปยัง ปุ่มออลแฟคทอรี่ (Olfactory Bulb) ซึง่ เป็ นส่วนล่างตอนหน้าของสมองทีอ่ ยู่เหนือ
เพดานจมูก จากปุ่มออลแฟคทอรี่ กระแสประสาทจะส่งต่อไปยังสมองส่วนหน้าโดยตรง การส่ง
กระแสประสาทเข้าสู่ส มองของระบบการรู้ส ึกได้กลิ่น จึงสัน้ กว่าระบบประสาทรับสัมผัส อื่น ๆ
(Engen. 1991) ซึง่ จะเป็นอยูอ่ ย่างนี้จนกว่าบุคคลคนนัน้ จะมีอวัยวะรับการรูส้ กึ ได้กลิน่ ทีแ่ ย่ลง
ระบบการรูส้ กึ ได้กลิน่ มีบทบาทสาคัญต่อชีวติ มนุ ษย์ ตัวอย่างเช่น บางคนนากลิน่ มาใช้
ประโยชน์ต่อชีวติ มนุ ษย์โดยผ่านการบาบัดทางกลิน่ ทัง้ แบบ Aromatherapy ความคิดเช่นนี้เป็ น
แรงผลัก ดันทาให้นากลิน่ มาใช้ในการรักษาโรค นัน่ คือ กลิน่ จะมีผ ลกระทบต่อ อารมณ์ ความ
ผิด ปกติท างอารมณ์ เช่ น ความวิต กกัง วล ความซึม เศร้ า จะก่ อ ให้เ กิด อาการทางกายได้
ผลกระทบเหล่ านี้จะส่ งผ่ านไปสู่ระบบลิมบิค (Limbic System) ซึ่งเป็ นบริเวณสมองที่ท างาน
เกี่ย วกับ ปฏิส ัม พัน ธ์ร ะหว่ า งพฤติก รรมทางอารมณ์ กับ การได้ ก ลิ่น (Engen. 1991) กลิ่น มี
ความสาคัญต่อ การมีปฏิสมั พันธ์ระหว่างกันของมนุ ษย์ เนื่องจากกลิน่ เป็ นสิง่ ที่จะดึงดูดหรือไล่
ผูค้ นได้
การรู้รส (Taste)
การรับความรูส้ กึ ทางเคมี (Chemical Sense) คือ ลิน้ และจมูก โดยจมูกรับรูส้ ารเคมีท่ี
ล่ อ งลอยในอากาศ ในขณะที่ล้ิน รับ รู้ส ารเคมีท่ีรบั ประทานเข้าไป ถู ก เคี้ยวบดไปกับ น้ าลาย
ละลายไปสัมผัสกับปุ่มรับรส (Taste Bud) บนผิวลิน้ หรือบริเวณใกล้เคียงปากและคอ อาหารหรือ
99

เครื่องดื่มจึงมีรสชาติต่างๆ กัน ไม่ว่าจะเป็ นรสเค็ม หวาน เปรีย้ ว ขม ซึง่ เป็ นรสชาติพน้ื ฐานของ
มนุ ษย์ และรสชาติท่เี พิม่ เติมขึน้ มาในปจั จุบนั คือ รสชาติของโปรตีนกรดอะมิโน คือ รสอูมามิ
การที่เราสามารถบอกความแตกต่างของรสชาติอาหารที่รบั ประทานได้เนื่องจาก เรามีป่มุ รับรส
เล็กๆจานวนมากมายบนลิน้ เรียกว่า ปาปิลา (Papilla) ปุ่มบนลิน้ เหล่านี้จะประกอบด้วยตุ่มรับรส
(Taste Bud) ประมาณ 10,000 อัน กระจายอยู่บ นลิ้น ในบริเวณต่ างๆ ซึ่ง เป็ น บริเวณที่รบั รส
ต่างกัน
การรู้สึกสัมผัส (Touch)
การสัมผัสทาให้เรามีความเข้าใจลักษณะของวัต ถุได้อย่างลึกซึ้ง เช่น การได้สมั ผัส
เนื้อผ้าของเสือ้ ผ้า จะช่วยทาให้เราเข้าใจคุณภาพของเสือ้ ผ้าได้มากกว่าแค่เพียงวินิจฉัยด้วยการ
เห็นเพียงอย่างเดียว ผลจากการทางานของหน่ วยรับความรูส้ กึ ทีป่ ลายประสาท ยังทาให้เรารับรู้
ถึงการเปลี่ยนแปลงของอุ ณ หภูม ิ และการรับ รู้ส ัม ผัส ยังช่ ว ยให้เราสามารถบอกได้ถึงความ
แตกต่ างของวัต ถุ แต่ ล ะชนิดอีก ด้ว ย ประสบการณ์ ทางการสัมผัสก่ อ ให้เกิดกลไกกระตุ้น การ
ทางานของผิวหนังเมื่อร่างกายสัมผัสกับวัตถุ อย่างไรก็ตาม มนุ ษย์เรารับรูส้ มั ผัสในบริเวณต่างๆ
ของผิวหนังบนร่างกายได้ไม่เท่ากัน เนื่องจากบริเวณต่างๆ ของผิวหนังในร่างกายจะมีปลาย
ประสาทอยูไ่ ม่เท่ากัน บริเวณทีม่ คี วามละเอียดอ่อนน้อยก็จะมีปลายประสาทอยู่น้อย ส่วนบริเวณ
ทีม่ คี วามละเอียดอ่อนมากจะมีปลายประสาทอยู่มาก เช่น ริมฝีปาก และปลายนิ้วมือ เป็ นบริเวณ
ทีม่ คี วามไวในการรูส้ กึ ส่วนบริเวณท้องและหลัง เป็ นบริเวณทีม่ คี วามไวในการรูส้ กึ น้อย บริเวณ
ผิว หนั ง ที่ไ วในการรู้ส ึก สัม ผัส มากจะมีส ัด ส่ ว นของแดนสัม ผัส (Somatosensory Cortex) ที่
มากกว่าบริเวณทีไ่ วในการรูส้ กึ สัมผัสน้อย

การจัดระบบการรับรู้
ปกติเวลาที่เรามองเห็นสิง่ ของต่างๆ ที่อยู่ตรงหน้า เรามักคิดว่าเรามองเห็นทุกสิง่ ทุก
อย่างที่อยู่ตรงหน้าเราได้ทงั ้ หมด แต่ในความเป็ นจริงเรากลับไมได้รบั รูท้ ุกอย่างทุกอย่างที่เรา
มองเห็นได้อย่างทีร่ สู้ กึ เลย
ตัวอย่างเช่น ให้พจิ ารณาทีภ่ าพนี้
100

ภาพนี้สงิ่ ที่เห็นมีรายละเอียดมากมายอย่างคนมีก่คี น แต่ล ะคนกาลังทาอะไร อยู่ใน


ตาแหน่ งใดบ้าง นี่คอื สิง่ ที่สมองรับรู้ แต่ไม่สามารถจดจารายละเอียดเหล่านัน้ ได้ทงั ้ หมด ที่เรา
เห็นเราสามารถรับ รู้ได้ว่ามีค นอยู่ 6 คน ดูเหมือ นว่ากาลังก่ อ สร้าง แต่ ถ้าให้พูด ถึงทีล ะคนมี
รายละเอียดการแต่ งกายอย่างไรบ้าง เราจะรู้ส ึกได้แค่ เพียงว่าดู จากการแต่งกายแล้วน่ าจะมี
หัว หน้ า งาน 2 คน และที่เหลือ เป็ น คนงานมากกว่ า รายละเอีย ดของข้อ มูล จะหายไปอย่า ง
มากมาย นัน่ หมายความว่าสมองของเราเลือกที่จะรับรูเ้ ฉพาะรายละเอียดที่สาคัญเท่านัน้ ไม่ได้
จ าไว้ท ัง้ หมด อัน ที่จ ริง ภาพนี้ ถ้ า สัง เกตให้ ดีจ ะพบว่ า ภาพนี้ เป็ น ภาพที่ไม่ ม ีท างเป็ น ไปได้
(Impossible Figure) เนื่องจากความขัดแย้งของทิศทางทีป่ รากฏ
แม้แต่สงิ่ เร้าเดียวกัน หากอยู่ในสภาพแวดล้อมหรืออยูใ่ นบริบททีต่ ่างกัน อาจส่งผลทา
ให้การรับรูต้ ่างกันได้ เช่น

แถวบน คนมักจะรับรูว้ ่าเป็ นเลข 12 13 และ 14 ในขณะที่แถวล่างคนมักจะรับรู้ว่า


เป็นพยัญชนะ A B และ C อย่างไรก็ดี เลข 13 และ ตัว B ในรูปนี้เขียนเหมือนกันทุกประการ
นักจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์ได้ให้ความสาคัญในเรือ่ ง การรับรู้ (Perception) โดยมีความ
เชื่อว่า เราจะรับรูส้ งิ่ ต่างๆ ในลักษณะทีม่ คี วามหมาย ในรูปของส่วนรวมทัง้ หมด ไม่ได้รบั รูเ้ พียง
เฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือสิง่ เร้าเฉพาะอย่างในลักษณะที่แยกจากกัน การรับรู้จะต้องมีการ
101

จัดระบบ (Organized) มนุ ษ ย์จะต้องมีการจัดระบบของข้อ มูลที่ผ่ านเข้ามาสู่กระบวนการรับรู้


โดยที่นาข้อมูล นี้มาจัดเป็ นรูปแบบ (Pattern) และกฎเกณฑ์ (Principle) เพื่อให้เกิดเป็ นสิง่ ที่ม ี
ความหมายและง่ายต่อการรับรู้ ดังนัน้ จึงได้ตงั ้ กฎการรับรูข้ น้ึ มาเพื่ออธิบายธรรมชาติของการ
รับรูข้ องมนุษย์ กฎทีส่ าคัญคือ
ภาพและพื้น (Figure and Ground) ในขณะที่มนุ ษย์มสี งิ่ ให้รบั รูม้ ากมายสิง่ ที่ได้รบั
ความสนใจหรือการรับรูม้ ากทีส่ ุดก็จะปรากฏเด่นชัดเป็ นภาพ (Figure) สิง่ อื่น ๆ ทีไ่ ม่ได้รบั ความ
สนใจก็จะกลายเป็นพืน้ (Ground)

พิจารณาจากรูปจะเห็นได้ว่าส่วนทีเ่ ป็นแก้วกาแฟ จานรอง ช้อนชง คือ ภาพ สีเทา คือ


พืน้ ทีเ่ ราเห็นเช่นนี้เนื่องจาก
1. การรับรูร้ ูปนัน้ สิง่ ที่มองเห็นว่าเป็ น ภาพจะเด่นแยกออกมาจาก ส่วนอื่นๆ ซึ่งเป็ น
พืน้ อยู่เบือ้ งหลัง การรับรูจ้ งึ ต้องประกอบด้วย เส้นแสดงรูปร่าง (Contour) หรือขอบเขตของภาพ
ซึง่ จะให้ความรูส้ กึ ว่าเป็นขอบภาพ
2. ภาพที่มองเห็นปรากฏเด่นใกล้ตวั ผู้ดูในขณะที่พ้นื รูปปรากฏอยู่ลกึ เข้าไปข้างหลัง
ทาให้ส่วนทีม่ องเห็นเป็นรูปจะดูเข้มหรือดูสดใสกว่าส่วนทีเ่ ป็นพืน้ ซึง่ ดูเจือจาง
3. ขนาดมีความสัมพันธ์กบั การรับรู้ เรามักจะรับรูภ้ าพขนาดใหญ่มากกว่าขนาดเล็ก
4. ภาพมักจะมองดูมชี วี ติ จิตใจ มีความประทับใจ มีลกั ษณะเด่น มีความหมายและจา
ได้งา่ ย มากกว่าพืน้
ตัวอย่างภาพและพื้นข้างต้นนัน้ เป็ นแบบธรรมดา บางครัง้ เราสามารถรับรูภ้ าพและ
พืน้ สลับกัน (Reverse Figure and Ground) ได้ เช่น
102

มีนกและปลาอย่างละกีต่ วั

หรืออาจจะเป็ นภาพแบบกากวม (Ambiguous Figure and Ground) คือสามารถรับรู้


ได้ทงั ้ สองอย่างในรูปเดียวกัน

กระต่ายหรือเป็ด ผูช้ ายเปา่ เครือ่ งดนตรีหรือหน้าผูห้ ญิง

นักจิตวิทยาให้ความสนใจในความสัมพันธ์ระหว่างภาพและพื้น และได้ตงั ้ กฎการจัด


ระเบียบหมวดหมูแ่ ละรูปร่างของสิง่ ทีร่ บั รูข้ น้ึ มากมาย ซึง่ กฎทีส่ าคัญ คือ

กฎความใกล้ชิด (Law of Proximity) หมายถึง สิง่ เร้าใดๆ ทีอ่ ยูใ่ กล้ชดิ กัน
มนุษย์มแี นวโน้มทีจ่ ะรับรู้ สิง่ ต่างๆ ทีอ่ ยูใ่ กล้ชดิ กันเป็นพวกเดียวกัน หมวดหมูเ่ ดียวกัน

เรามักจะรับรูว้ ่ามีวงกลมทีร่ วมตัวกัน ซ้ายมือมี 1 กลุ่ม ขวามือมี 2 กลุ่ม


103

กฎความคล้ายคลึง (Law of Similarity) หมายถึง สิง่ เร้าใด ๆ ก็ตาม ทีม่ ี


รูปร่าง ขนาด หรือสี ทีค่ ล้ายกัน คนเราจะรับรูว้ ่าเป็ นสิง่ เดียวกัน หรือพวกเดียวกัน

จากภาพเรามักจะรับรูว้ ่ามีรปู สีเ่ หลีย่ ม และวงกลม

กฎความต่อเนื่ อง (Law of Continuity) หมายถึง สิง่ เร้าใดทีม่ คี วามต่อเนื่อง


มนุษย์มแี นวโน้มทีจ่ ะรับรูก้ ารจัดระบบเข้าด้วยกันในสิง่ ทีเ่ รามองเห็น

จากรูปเมือ่ เราภาพในลักษณะทีต่ ่อเนื่องกันไป เป็ นเส้นตรง และเส้นโค้ง


กฎการเติ มเต็มให้ สมบูรณ์ (Law of Closure) สิ่งเร้าใดก็ต ามที่ยงั ขาดความ
สมบู รณ์ ห รือ ยังหาข้อ ยุติไ ม่ ได้ มนุ ษ ย์ม กั จะรับ รู้ให้ ม ีค วามสมบู รณ์ โดยเติม ให้ส มบูร ณ์ ต าม
ประสบการณ์เดิมของตน
104

จากรูปเมือ่ เราเติมส่วนทีข่ าดหายของภาพให้สมบูรณ์ ก็จะเป็ นรูปม้าลาย

ภาพลวงตา (Illusion)
ภาพลวงตาเป็ นการรับรู้ท่มี ลี กั ษณะบิดเบือนไปจากการที่สมองโดยปกติได้จดั
ระเบียบและตีความหมายสิง่ เร้า ภาพลวงตาจะมีบางอย่างที่ปรากฏขึน้ มามากกว่าที่เราเห็นได้
ตามปกติ ภาพลวงตามีค วามส าคัญ เนื่ อ งจากบ่ อ ยครัง้ ที่ภ าพลวงตาไปครอบงาความรู้ส ึก ที่
แท้จ ริง ภาพลวงตาบางภาพสร้างมาจากพื้น ฐานการจัด ระเบีย บการรับ รู้ต ามหลัก การของ
Gestalt การรับรูค้ วามลึกและระยะทาง ภาพเคลื่อนไหว และความคงทีใ่ นการรับรู้ ทีภ่ าพลวงตา
ปรากฏให้เห็นนี้เนื่อ งจากโครงสร้างทางชีว ภาพของการรับสัมผัส ภายในร่างกายมนุ ษ ย์หรือ
เงือ่ นไขภายนอกร่างกายซึง่ เป็ นสิง่ แวดล้อมทางกายภาพ ทีอ่ ยูใ่ นระยะทีบ่ ุคคลนัน้ มองเห็น

Muller-lyer Illusion
เส้นตรงทุกเส้นทีจ่ ริงแล้วยาวเท่ากัน แต่ภาพลวงตาทาให้ดเู หมือนว่า เส้นทีม่ ปี ลาย
ลูกศรกางออกจะดูยาวมากกว่า

ทีจ่ ริงแล้วสีเ่ หลีย่ มทีเ่ ห็นนี้เป็ นสีเ่ หลีย่ มจัตุรสั แต่


เมือ่ มีวงกลมมาตัดเส้นทาให้เกิดภาพลวงตามองดู
ว่าเส้นนัน้ โค้งงอไป

Ehrnstein Illusion
105

เส้นตรงเส้นทึบหนาทัง้ สองเส้นมีขนาดเท่ากัน

Ponzo Illusion
C
เส้นตรง A หรือ B ทีเ่ ป็นเส้นตรงเดียวกับเส้นตรง C

A
B

Poggendorff Illusion

เส้นตรงทัง้ 2 เส้น ทัง้ ในรูป (a) และรูป (b) ขนาน


กัน

Hering Illusion

ภาพนี้ ทีจ่ ริงแล้วเส้นตรงทุกเส้นขนานกัน

Zöllner illusion
106

ภาพนี้ เป็ นภาพ ตึ ก ในกรุ ง เมลเบิ ร์ น ประเทศ


ออสเตรเลีย ออกแบบโดยแสดงให้เห็นถึงศิลปะการ
ใช้ภาพลวงตา ซึ่งแล้วเสร็จในปี 2006 อันเป็ นส่วน
หนึ่ ง ของเมือ งท่ า (Melbourne's Digital Harbour
Port 1010) และที่พกั บริการการเก็บภาษีศุลกากร
(McDougall. 2006)

Zöllner illusion

ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้
มีปจั จัยหลายประการที่ส่งผลต่อการรับรู้ ซึง่ ส่งผลทาให้การรับรูม้ ปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้
หรืออาจทาให้การรับรูเ้ กิดการผิดพลาดได้ เช่น
1. กายภาพ (Physiological)
อวัยวะรับสัมผัสหากทีความสมบูรณ์กจ็ ะมีความสามารถทีจ่ ะรับรูส้ งิ่ เร้าได้ดี แต่ถ้า
มีความผิดปกติ เช่น ตาบอดสี ซึ่งความบกพร่องในการแยกแยะความแตกต่างของสี ที่พบมาก
ทีส่ ุดคือ ตาบอดสีแดงและสีเขียว ซึง่ ผูท้ ต่ี าบอดสีจะไม่สามารถบอกความแตกต่างระหว่างสีแดง
กับสีเขียวได้ นอกจากนี้ยงั มีตาบอดสีแบบที่บอกไม่ได้เลยว่าเป็ นสีอะไร นอกจากสีขาวกับสีดา
เท่านัน้ นอกจากนี้คนทีเ่ ป็ นโรคหูบอด บอดกลิน่ บอดรส ก็มปี ญั หาเกี่ยวกับการรับสัมผัสเช่นกัน
อย่างไรก็ดี เด็กที่มปี ระสาทสัมผัส บางอย่างบกพร่อง แต่มปี ระสาทสัมผัสส่วนอื่นยังใช้งานได้ด ี
หากมีการพัฒนาประสาทสัมผัสส่ วนที่มอี ยู่นัน้ อย่างเต็มที่ ประสาทสัมผัสส่วนนัน้ ก็จะสามารถ
ทางานได้ดเี ป็ นพิเศษ
2. พยาธิ สภาพทางจิ ต (Psychopathology)
คนที่มพี ยาธิสภาพทางจิตหรือมีความเจ็บป่วยทางจิต ในบางโรคทาให้การรับรู้
เกิดปญั หาได้ คือ รับรูว้ ่ามีสงิ่ เร้าเกิดขึน้ ทัง้ ๆ ทีใ่ นความเป็ นจริง ไม่มสี งิ่ เร้านี้อยูเ่ ลย หรือ สิง่ เร้าที่
มีอ ยู่ถู ก รับ รู้ในลัก ษณะที่บิดเบือ นไป เช่น ผู้ท่ีมอี าการจิต เภท (Schizophrenics) จะมีปญั หา
เกี่ยวกับการแยกยะภาพที่ตนเองจินตนาการขึน้ กับภาพที่เป็ นประสบการณ์จริง ต้องอยู่ในโลก
ของการหลอกหลอน กลัวภาพและกลัวเสียงทีไ่ ม่มจี ริง
3. ความเคยชิ น (Habituation)
การเคยชินเกี่ยวกับการรับสัมผัสเป็ นสิง่ หนึ่งที่ทาให้สงิ่ เร้าหลุดรอดออกไปจาก
ความคงที่ ตัวอย่างเช่น เท้าของเรารูส้ กึ ว่าเราใส่ถุงเท้าเมื่อเราสวมใส่มนั แต่เมื่อเวลาผ่านไปทัง้
วันเราไม่ได้นึกถึงความรูส้ กึ นี้อีกเลย แสดงว่าผิวหนังบริเวณที่สวมใส่ถุงเทาเกิดการชินสั มผัส
หรือ ตัว อย่ า งเกี่ ย วกับ การชิ น เสีย ง เสีย งที่ ไ ด้ ย ิน ไม่ ด ัง นั ก เช่ น เสีย งพั ด ลมจากเครื่อ ง
107

คอมพิวเตอร์หรือจากเครื่องปรับอากาศในห้อง เราจะลืมนึกถึงเสียงเหล่านี้ได้โดยง่าย เนื่องจาก


สมองของเราไม่ได้ให้ความใส่ใจ (Attention) กับมันเลย
4. ความคาดหวัง (Expectation)
นักวิจยั หลายคน อาทิ ดูโบส และคนอื่นๆ (Dubose et al. 1980) ได้ทาการวิจยั
ถึงผลของสีในอาหารและเครื่องดื่มทีม่ ตี ่อการรับรส ในกลุ่มตัวอย่างอายุต่างๆ ผลการศึกษาทีไ่ ด้
มีความสอดคล้องตรงกันว่าสีมอี ทิ ธิพลต่อการรับรสอาหาร โดยนักวิจยั ทีท่ าการทดลองเกี่ยวกับ
ปฏิกริ ยิ าระหว่างการเห็นภาพอาหารเครื่องดื่ม กับการรับรสและการรับรูก้ ลิน่ สีมผี ลต่อการรับรู้
รสอาหารและเครื่องดื่ม เนื่องจากคนเรียนรูแ้ ละคุน้ เคยกับ การเชื่อมโยงทีเ่ ฉพาะเจาะจง ระหว่าง
สีและการรับรส ซึง่ ความสัมพันธ์ทก่ี ล่าวมานี้ อาจจะส่งผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อการรับรู้
จินตนาการ และความคาดหวังเกีย่ วกับอาหารและเครือ่ งดื่ม ว่าจะมีกลิน่ และมีรสชาติอย่างไร
5. ความใส่ใจ (Attention)
ความใส่ใจ (Attention) เป็ นความสามารถที่จะเพ่งความสนใจไปยังสิง่ เร้าบางสิง่
และเลือกเฟ้นว่าสิง่ เร้าใดบ้างที่ควรจะให้ความสนใจ เพื่อจะได้ให้ความสนใจต่อสิง่ เร้าที่สาคัญ
เช่น เด็ก เลือ กที่จะสนใจและมีส มาธิจดจ่อ ในรายการโทรทัศ น์ จึงไม่ส นใจเสียงรบกวนอื่น ๆ
ออกไปจากความสนใจของตน เรียกว่า มีความใส่ใจในการคัดเลือกสิง่ เร้า (Selective Attention)
หากเรามีค วามสนใจในสิ่งใดสิ่ง หนึ่ งมากๆ ก็ม ัก จะคงความสนใจในสิ่งหนึ่ งๆ ได้เป็ น ระยะ
เวลานานต่อเนื่อง เรียกว่า มีความใส่ใจอย่างต่อเนื่อง (Sustain Attention)
6. การปรับตัว (Adaptation)
ถ้าเราอยู่แสงสว่างในเวลานานๆ แล้วเข้าไปในที่มดื ๆ ทันที เช่นเข้าไปในห้อ ง
มืด ๆ หรือ ในโรงภาพยนตร์ เราจะมองไม่เห็น อะไรเลยในช่ ว งเวลาหนึ่ ง จากนั น้ ก็จะค่ อ ยๆ
มองเห็นขึน้ ตามลาดับ ช่วงเวลานัน้ คือ เวลาที่เราใช้ในการชินความมืด (Dark Adaptation) ใน
ทานองเดียวกันถ้าเราอยู่ในทีม่ ดื เป็นเวลานานๆ เช่น ถูกขังเดีย่ วในคุกมืด เมือ่ ประตูคุกเปิด แสง
สว่างจะออกมาทันที เราจะรูส้ กึ แสบตาและลืมตาไม่ขน้ึ อยู่ครู่หนึ่ง ระยะเวลานัน้ คือ ระยะเวลาที่
ใช้ในการชินความสว่าง (Light Adaptation) (รัจรี นพเกตุ. 2540: 51)
108

คาถามท้ายบท
ให้นิสติ ตอบคาถามต่อไปนี้
1. การรับรูใ้ นภาพต่อนี้ ควรใช้กฎการรับรูก้ ฎใดมาอธิบาย

(1) (2)

(3) (4)

2. จงยกตัวอย่างการรับรูใ้ นชีวติ ประจาวันของผูเ้ รียนทีเ่ กีย่ วข้องกับตัวแปรต่อไปนี้


1. ความเคยชิน
2. ความคาดหวัง
3. ความใส่ใจ
3. ให้ผู้เรียนเลือกผลิตภัณฑ์สนิ ค้าที่นิสติ สนใจ เช่น ปากกา สมุด ภาพยนตร์ รายการโทรทัศน์
คอมพิวเตอร์ ฯลฯ เพียง 1 สิง่ แล้วให้ผเู้ รียนออกแบบโฆษณาสินค้าชนิดนัน้ ผูเ้ รียนมีอสิ ระที่จะ
สร้างสรรค์งานแบบใดก็ได้ ทีจ่ ะดึงดูดใจให้คนมาสนใจสินค้าของผูเ้ รียน โดยใช้หลักการรับรูท้ ไ่ี ด้
ศึกษามาอธิบาย
109

แผนการจัดการเรียนรู้ ครัง้ ที่ 8


การเรียนรู้
สาระสาคัญ
การเรียนรูข้ องบุคคล มีปจั จัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการเรียนรูห้ ลายประการ ความเข้าใจแนวคิด
และทฤษฎีการเรียนรูใ้ นแบบต่าง ๆ รวมทัง้ กฎการเรียนรู้ เช่น การให้การเสริมแรง การลงโทษ
ในแบบต่าง ๆ ทาให้สามารถนาไปใช้ในการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของบุคคลได้

วัตถุประสงค์
เมือ่ ศึกษาบทเรียนนี้จบแล้ว นิสติ สามารถ
1. บอกความหมายของการเรียนรูไ้ ด้อย่างถูกต้อง
2. อธิบายปจั จัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการเรียนรู้
3. อธิบายแนวคิดและทฤษฎีการเรียนรูใ้ นแบบต่างๆ
4. อธิบายและยกตัวอย่างวิธกี ารให้การเสริมแรงและการลงโทษในแบบต่างๆ ได้
5. ยกตัวอย่างการนาหลักการเรียนรูไ้ ปใช้ในชีวติ ประจาวันได้

ความหมายของการเรียนรู้
การเรียนรู้ (Learning) คือ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมหรือศักยภาพแห่งพฤติกรรม
ทีค่ ่อนข้างมันคงถาวรโดยอาศั
่ ยประสบการณ์และการฝึกหัด ไม่ใช่พฤติกรรมทีเ่ ปลีย่ นแปลงเป็ น
ครัง้ คราวหรือเกิดขึน้ โดยไม่รตู้ วั เช่น การเจ็บปว่ ย ผลจากการใช้ยา หรือความเมือ่ ยล้าอ่อนเพลีย
และไม่ใช่พฤติกรรมตามธรรมชาติ เช่น วุฒภิ าวะ ปฏิกริ ยิ าสะท้อนต่างๆ เป็ นต้น เช่น การมีวุฒ ิ
ภาวะของเด็กอายุสองขวบสามารถเดินได้เอง ขณะที่เด็ก อายุห้าเดือนไม่สามารถเดินได้ ดังนัน้
การเดินได้จงึ ไม่จดั ว่าเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ แต่เกิดขึน้ เพราะวุฒภิ าวะ กระพริบตาเมือ่ ฝุ่นเข้า
ตา ชัก มือ หนี เ มื่อ โดนของร้อ น พฤติก รรมเหล่ านี้ไ ม่ได้เ กิด จากการเรียนรู้ แต่ เ ป็ น ปฏิก ริย า
สะท้อน (Reflex) ซึง่ เป็นพฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติของมนุษย์ เป็นต้น
พฤติกรรมการเรียนรูท้ เ่ี กิดขึน้ ตามหลักการของ เบนจามิน บลูม (Bloom. 1964:245)
ผู้ซ่งึ นักวิชาการศึกษาที่ทวโลกยอมรั
ั่ บ สรุปลักษณะพฤติกรรมโดยจาแนกพฤติกรรมออกเป็ น
3 ส่วนคือ
1. พฤติ กรรมด้ า นพุ ท ธิ ปั ญ ญา (Cognitive Domain) หมายถึ ง พฤติ ก รรมที่
เกี่ยวข้อ งกับการจาข้อ เท็จจริง ต่ างๆ รวมทัง้ ความสามารถและทัก ษะทางสติปญั ญา การใช้
วิจารณญาณเพื่อประกอบการตัดสินใจ พฤติกรรมด้านนี้ประกอบด้วย ความสามารถระดับต่างๆ
คือ ความรู้ (Knowledge) ความเข้าใจ (Comprehension) การประยุกต์หรือการนาความรูไ้ ปใช้
110

(Application) การวิ เ คราะห์ (Analysis) การสัง เคราะห์ (Synthesis) และการประเมิน ผล


(Evaluation)
2. พฤติ กรรมด้ า นเจตคติ ค่ า นิ ยม ความรู้ สึ ก (Affective Domain) หมายถึ ง
พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับความสนใจ ความคิดเห็น ความรูส้ กึ ท่ าที ความชอบไม่ชอบ การให้
คุณค่า การรับ การเปลี่ยน หรือปรับปรุงค่านิยมที่ยดึ ถืออยู่ เป็ นพฤติกรรมที่เกิดขึน้ ภายในจิต
ของบุคคลยากแก่การอธิบาย
3. พฤติ กรรมด้ านการปฏิ บตั ิ (Psychomotor Domain) หมายถึง พฤติกรรมที่ใ ช้
ความสามารถทางร่างกายแสดงออก ซึง่ รวมทัง้ การปฏิบตั ิ หรือพฤติกรรมทีแ่ สดงออกและสังเกต
ได้ ในสถานการณ์หนึ่งๆ

ปัจจัยสาคัญที่มอี ิ ทธิ พลต่อการเรียนรู้


การเรียนรูจ้ ะได้ผลดีย่อมขึน้ อยู่กบั ปจั จัยสาคัญบางประการที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้
เช่น
วุฒิ ภ าวะ (Maturity) แม้ว่ า วุ ฒ ิภ าวะจะเป็ น การเปลี่ย นแปลงพฤติก รรมไปตาม
ธรรมชาติ พฤติก รรมอันเนื่องมาจากวุฒภิ าวะจึงไม่ใ ช่พฤติกรรมที่เ ป็ นผลมาจากการเรียนรู้
ประสบการณ์ หรือการฝึกหัด แต่อย่างใด แต่วุฒภิ าวะก็จะช่วยส่งเสริมการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน โดย
การเตรียมความพร้อมและฝึกทักษะเบือ้ งต้นให้สมกับวัย วุฒภิ าวะมีผลต่อการเจริญเติบโต การ
เรียนรู้ และความสามารถของบุคคล การเปลี่ยนแปลงวุฒภิ าวะตามระบบทางสรีระต่างๆ เมื่อ
เจริญวัยขึน้ ทาให้บุคคลเรียนรูไ้ ด้ดขี น้ึ ช่วยเพิม่ ขีดความสามารถในการทาหน้าทีต่ ่างๆ สามารถ
ทาสิง่ ทีย่ ากและซับซ้อนได้สูงขึน้ รวมทัง้ ช่วยให้บุคคลสามารถปรับตัวเข้ากับสภาวการณ์ใหม่ๆ
ได้ดยี งิ่ ขึ้น การเรียนรู้ใดๆ จะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ หรือส่งผลใดๆ เลย หากบุคคลยังไม่มวี ุฒ ิ
ภาวะหรือร่างกายยังไม่พร้อม และบางครัง้ การถูกเร่งให้เรียนรูก้ ่อนวัยอันควรอาจก่อให้เกิดโทษ
ได้ เพราะเด็กจะเกิดความเครียด ความเครียดขัดขวางจะการคิดและการเรียนรู้ เพราะขณะทีเ่ ด็ก
เกิ ด ความเครีย ด จะเกิ ด การสร้ า งฮอร์ โ มนที่เ กี่ ย วกับ ความเครีย ด เรีย กว่ า คอร์ ติ ซ อล
(Cortisol) ซึ่ง จะท าลายสมองโดยเฉพาะสมองส่ ว นคอร์เ ท็ก ซ์ หรือ พื้น ผิว สมองที่ท าหน้ า ที่
เกี่ยวกับความคิด ความฉลาด กับสมองส่วนฮิปโปแคมปสั หรือสมองส่ว นที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับ
อารมณ์และความจา ทาให้สมองส่วนนี้เล็กลง และหากได้รบั ความเครียดอยู่ตลอดเวลา ก็จะ
ส่งผลต่อการขาดความสามารถในการเรียนรู้ จึงเป็ นเรื่องที่น่าเสียดาย เพราะเมื่อเด็กมีสมอง
พร้อมทีจ่ ะเรียนได้ แต่กลับถูกทาลายเพราะความเครียดจึงทาให้ความสามารถในการเรียนรูไ้ ด้
หายไปตลอดชีวติ (ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์. 2542)
ความพร้อม (Readiness) การที่จะเรียนรู้ทกั ษะอย่างใดอย่างหนึ่งได้รวดเร็ว และ
เกิดผลดีผเู้ รียนจะต้องมีความพร้อม หากผูเ้ รียนถูกบังคับให้เรียนรูส้ งิ่ ใดสิง่ หนึ่งในขณะทีย่ งั ไม่ม ี
111

ความพร้อม ผูเ้ รียนมักจะเกิดความไม่พงึ พอใจ คับข้องใจและมีทศั นคติทไ่ี ม่ดตี ่อสิง่ นัน้ หรือหาก
ผู้เ รียนมีค วามพร้อ มที่จะเรียน แต่ ไม่เ ปิ ดโอกาสให้เ รียนรู้ ย่อ มส่ งผลทางลบต่ อ อารมณ์ และ
ความรูส้ กึ ในการเรียนเช่นกัน
แมคกรอว์ (M.B. McGraw) ได้ทาการทดลองอิทธิพลความพร้อมของวุฒภิ าวะที่
มีผลต่อการฝึ กเด็กนัง่ ขับถ่าย โดยศึกษากับเด็กชาย 2 คน คือ Hugh และ Hilton แม้ว่า Hugh
จะเริม่ ฝึกตัง้ แต่อายุ 50 วัน แต่กไ็ ม่ได้มพี ฒ
ั นาการแต่อย่างใด จนกระทังอายุ
่ ประมาณ 650 วันจึง
ประสบความสาเร็จ ในทางตรงกันข้าม Hilton กลับพัฒนาอย่างรวดเร็ว เนื่องจากการฝึ กหัด
เริม่ ต้นเมือ่ เขามีความพร้อมทางวุฒภิ าวะ

กราฟแสดงพัฒนาการการเรียนรูข้ อง Hugh และ Hilton


(McGraw. 1940 citing Lahey. 2001:323)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรูอ้ าจแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้
1. ทฤษฎีการเรียนรูก้ ลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behavioral Theory) ทฤษฎีในกลุ่มนี้อธิบาย
ว่า การเรียนรูเ้ ป็นการสร้างความสัมพันธ์หรือเชื่อมโยงระหว่างสิง่ เร้ากับการตอบสนอง ทฤษฎีท่ี
สาคัญ ในกลุ่ มนี้ เช่น ทฤษฎีก ารเรียนรู้ว างเงื่อ นไขแบบคลาสสิก ทฤษฎีการเรีย นรู้การวาง
เงือ่ นไขแบบการกระทา ทฤษฎีการเรียนรูแ้ บบสัมพันธ์เชื่อมโยง เป็นต้น
2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่ มปญั ญานิยม (Cognitive theory) ทฤษฎีใ นกลุ่มนี้อ ธิบายว่า
การเรียนรูเ้ ป็ นผลของกระบวนการรับรู้ ความคิดและความเข้าใจ สิง่ เร้าทีม่ ากระตุ้น โดยอาศัย
ประสบการณ์ ใ นอดีต ที่ผ่ า นมาของบุ ค คล ท าให้ เ กิด การเรีย นรู้ข้ึน ซึ่ง จ าเป็ น ต้ อ งอาศัย
กระบวนการทางปญั ญาเข้ามาเกี่ยวข้องทฤษฎีการเรียนรู้ใ นกลุ่มนี้ ได้แก่ ทฤษฎีการเรียนรู้
ปญั ญาสังคม การเรียนรูแ้ บบหยังรู
่ ้ เป็ นต้น
112

1. ทฤษฎี การเรียนรู้ในกลุ่มพฤติ กรรมนิ ยม ทฤษฎีท่มี ชี ่อื เสียงของกลุ่มพฤติกรรม


นิยม มีดงั นี้

1.1 ทฤษฎี ก ารวางเงื่ อ นไขแบบคลาสสิ ค (Classical Conditioning) ผู้ ท่ี


ทาการศึกษาทดลองในเรื่องนี้คอื อีวาน พาฟลอฟ (Evan P. Pavlov) ทาการศึกษาทดลองกับ
สุนัข โดยฝึ กสุนัขให้ยนื นิ่ง อยู่ในที่ตรึงในห้องทดลอง ที่ขา้ งแก้มของสุนัขติดเครื่องมือวัดระดับ
การไหลของน้าลาย การทดลองแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้

ระยะที่ 1 ก่อนการวางเงื่อนไข

สันกระดิ
่ ง่ (CS) ไม่เกิดปฏิกริ ยิ าสะท้อน

พ่นผงเนื้อ (UCS)
สุนขั น้ าลายไหล (UCR)
ระยะที่ 2 ระหว่างการวางเงื่อนไข

สันกระดิ
่ ง่ (CS) + พ่นผงเนื้อ (UCS) สุนขั น้ าลายไหล (UCR)
ระยะที่ 3 หลังวางเงื่อนไข

สันกระดิ
่ ง่ (CS) สุนขั น้ าลายไหล (CR)
113

ภาพจาลองแสดงการจัดสภาพการณ์ทดลองของพาฟลอฟ

พาฟลอฟ อธิบายว่า โดยธรรมชาติแล้วอินทรียจ์ ะมีการเชื่อมโยงกับสิง่ เร้า


บางอย่า งกับ การตอบสนองบางอย่ า งตัง้ แต่ เ กิด แล้ว พัฒ นาขึ้น เรื่อ ยๆ สิ่ง เร้า อาจเกิด ตาม
ธรรมชาติห รือ เกิด แบบอัต โนมัติ สิ่ง เร้า ประเภทนี้ เ รีย กว่ า "สิ่ง เร้า ที่ไ ม่ ต้ อ งวางเงื่อ นไข"
(Unconditioned Stimulus = UCS) การสอบสนองที่เ กิด ขึ้น จะเป็ น ไปโดยอัต โนมัติห รือ โดย
ธรรมชาติ เรียกว่า "การตอบสนองที่ไ ม่ได้ว างเงื่อ นไข" (Unconditioned Response = UCR)
เสียงกระดิง่ ตอนแรกเป็ นสิง่ เร้าที่เป็ นกลาง ต่อมากลับมีผลให้เกิดการกระตุก เรียกว่า สิง่ เร้าที่
ต้ อ งวางเงื่อ นไข (Conditioned Stimulus = CS) และเรีย กการตอบสนองที่เ กิด ขึ้น ว่ า การ
ตอบสนองทีเ่ กิดจากการวางเงือ่ นไข (Conditioned Response = CR)
กระบวนการสาคัญจากการเรียนรู้ของพาฟลอฟ ทีส่ าคัญ 4 ประการ คือ
1. การแผ่ ข ยาย (Generalization) คื อ ความสามารถของอิ น ทรีย์ ท่ี จ ะ
ตอบสนองในลักษณะเดิมต่อสิง่ เร้าทีม่ คี วามคล้ายคลึงกันได้
2. การจาแนก (Discrimination) คือ ความสามารถของอินทรีย์ในการที่จะ
จาแนกความแตกต่างของสิง่ เร้าได้
3. การหยุดยัง้ พฤติ กรรม (Extinction) คือ การที่พฤติกรรมการตอบสนอง
ลดน้อยลงอันเป็นผลเนื่องจากการทีไ่ ม่ได้รบั สิง่ เร้าทีไ่ ม่ได้ถูกวางเงือ่ นไข
4. การฟื้ นตั ว ของการตอบสนอง ที่ วาง เงื่ อ นไข (Spontaneous
Recovery) หลังจากเกิดการหยุดยัง้ พฤติกรรมชัวคราวแล้ ่ ว สักระยะหนึ่งพฤติกรรมที่ถู กลบ
เงือ่ นไขแล้วอาจฟื้นตัวเกิดขึน้ มาอีกได้รบั การกระตุน้ โดยสิง่ เร้าทีว่ างเงือ่ นไข
114

กราฟแสดงปริมาณการเกิดเรียนรู้ (Acquisition) และการหยุดยัง้ พฤติกรรมชัวคราว


่ (Extinction)

จากการทดลองการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ Pavlov ถ้าเราใช้สงิ่ เร้าอัน


ใหม่ท่เี ป็ นการเคาะส้อมเสียงที่มคี วามถี่ต่างๆ กัน ตัง้ แต่เสียงที่มคี วามถี่ 2000 รอบต่อวินาที
สูงขึน้ เรือ่ ยๆ และ ต่าลงเรือ่ ยๆ พบว่า ปริมาณน้าลายจะไหลออกมามากทีส่ ุดเมือ่ สุนัขได้ยนิ เสียง
เคาะส้อมเสียงทีม่ คี วามถี่ 2000 รอบต่อวินาที ซึง่ เป็ นเสียงทีม่ คี วามถี่เท่ากับ CS เดิม ถ้าเสียงที่
มีค วามถี่แ ตกต่ า งจาก 2000 รอบต่ อ วิน าทีม ากปริม าณของน้ า ลายก็น้ อ ยลงไปเป็ น ล าดับ
พฤติกรรมของสุนขั เช่นนี้ เรียกว่า การจาแนกความแตกต่าง (Discrimination)
115

1.2 การทดลองการวางเงื่ อนไขอารมณ์ และทัศนคติ ของ จอห์น บี วัตสัน


(John B. Watson)
ค.ศ. 1878-1958 วัตสันเป็ นศิษย์ของวิลเลียม เจมส์ สอนอยู่ท่มี หาวิทยาลัย
จอห์น ฮอปกินส์ (Johns Hopkins University) ภายหลังแยกออกมาจากเจมส์ เพราะมีความเห็น
ไม่ตรงกับเจมส์ เกี่ยวกับวิธ ีการศึกษาพฤติกรรมมนุ ษย์ด้ว ยวิธ ีการตรวจสอบตนเอง ว่าไม่ม ี
ลักษณะเป็ นวิทยาศาสตร์ เชื่อถือได้ยากเพราะขึน้ อยู่กบั ความรูส้ กึ ส่วนตัว มีแนวโน้มทีจ่ ะมีอคติ
หรือเอนเอียงไปทางหนึ่งทางใดตามความรูส้ กึ ของผู้ศกึ ษา จอห์น บี วัตสัน (John B. Watson)
ได้ เ ขี ย นหนั ง สื อ ชื่ อ Behaviorism ในปี ค.ศ. 1930 เสนอให้ ศึ ก ษาพฤติ ก รรมของมนุ ษย์
(Behavior) ซึง่ สังเกตและมองเห็นได้มากกว่าจิตใจทีอ่ ยู่ภายใน และสรุปว่าการศึกษาพฤติกรรม
เป็ นวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ ทาให้วตั สันได้รบั การยกย่องว่าเป็ นบิดาแห่งจิตวิทยาสมัยใหม่หรือ
บิดาแห่ง พฤติกรรมศาสตร์ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของ Watson ได้นาผลการศึกษาของ Pavlov
มาใช้ก ับ คนโดยท าให้ค นเกิด ความรู้ส ึก และมีอ ารมณ์ เขาได้น าหนู ส ีข าวมาให้เ ด็ก ชายชื่อ
อัลเบิรต์ (Albert) อายุ 11 เดือน เล่น การดาเนินการทดลองมีดงั นี้

1. อัลเบิรต์ เห็นหนูสขี าวก็มาเล่นด้วยโดยไม่ 2. วันหนึ่งขณะทีอ่ ลั เบิรต์ เอื้อมมือไปจับ


มีความกลัว หนูขาว วัตสันตีฉาบเหล็กเสียงดังสนัน่
ทางด้านหลังอัลเบิรต์ ทาให้อลั เบิรต์ ตกใจ
กลัวสันและร้
่ องไห้

4. นอกจากกลัวหนูขาวแล้ว อัลเบิรต์ ยัง


3. จากนัน้ อัลเบิรต์ เห็นหนูขาวก็จะตกใจกลัว กลัวสัตว์อ่นื ทีม่ ขี นปุยเหมือนหนูขาว เช่น
และร้องไห้ไม่ยอมเข้าใกล้หนูขาวอีกเลย กระต่าง แมว หรือแม้กระทังหน้ ่ ากากทีม่ ี
ปุยขน เป็นต้น
116

ลักษณะนี้เป็ นการทดลองที่วางเงื่อนไขปฏิบตั เิ ช่นเดียวกับพาฟลอฟ วัตสัน


สรุปว่า ความยุ่งยากซับซ้อนทางอารมณ์ของคนเราทุกวันนี้ได้พฒ ั นามาจากการวางเงื่อนไขสิง่
เร้าต่างๆ

1.3 ทฤษฎี การวางเงื่ อนไขแบบการกระท า (Operant Conditioning) ของ


สกิ นเนอร์ (B. F. Skinner)
สกินเนอร์มคี วามคิดเห็นว่าทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบคลาสสิคนัน้ จากัดอยู่
กับพฤติกรรมการเรียนรูท้ เ่ี กิดขึน้ เป็ นจานวนน้อยของมนุ ษย์ พฤติกรรมส่วนใหญ่มนุ ษย์จะเป็ นผู้
ลงมือปฏิบตั ิเองไม่ใช่เกิดจากการจับคู่ระหว่างสิง่ เร้าใหม่กบั สิง่ เร้าเก่าตามการอธิบายของพา
ฟลอฟ
สกินเนอร์ได้สร้างกล่องทดลองขึน้ ซึ่งกล่องทดลองของ สกินเนอร์ (Skinner
Box) จะประกอบด้วยที่ใส่อาหาร แป้นสี และทีใ่ ส่อาหารเชื่อมติดต่อกัน การทดลองเริม่ โดยการ
จับนกพิราบไปใส่ ก ล่ อ งทดลอง เมื่อ นกหิว ก็จ ะจิก แป้นสี เราจะให้อ าหารเฉพาะแป้น สีท่ีเ รา
กาหนดเท่านัน้ เช่น สีแดง ต่อมานกก็จะเกิดการเรียนรูว้ ่าจิกสีแดงเท่านัน้ ที่ได้อาหาร อาหารที่
ได้รบั เป็ นตัวเสริมแรง (Reinforcer) เป็ นสิง่ ทีช่ ่วยให้อนิ ทรียต์ อบสนองสิง่ เร้าให้ปรากฏขึน้ ซ้าอยู่
เสมอ จนทาให้เกิดความเคยชินสิง่ เร้าเดิม การตอบสนองเช่นเดิมก็ตามมาคือ เกิดเป็นการเรียนรู้
ซึง่ พฤติกรรมดังกล่าวถือว่านกพิราบเกิดการเรียนรูแ้ บบการลงมือกระทาเอง

ทีม่ า : www.geocities.com/skews_me_too/behavior.html

การเสริ มแรง (Reinforcement) คือสิง่ ที่มอี ทิ ธิพลต่อการแสดงพฤติกรรม


ของบุคคลแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. การเสริ มแรงทางบวก เป็ นสิง่ ทาให้เกิดความพึงพอใจกับผู้เรียน
และความพึงพอใจนัน้ ทาให้เกิดการตอบสนองทีต่ ้องการมากครัง้ ขึน้ หรือตอบสนองอย่างเข้มข้น
ขึน้ เช่น การให้อาหาร คาชมเชย ของขวัญ เป็นต้น
2. การเสริ มแรงทางลบ เป็ นการพยายามทาให้เ กิดการตอบสนอง
เพิม่ ขึน้ หรือเข้มข้นขึน้ โดยการหลีกหนีหรือหลีกเลีย่ งสิง่ เร้าทีไ่ ม่พงึ ปรารถนา เช่น เมือ่ หลีกเลีย่ ง
117

ใช้เส้นทางการเดินทางเดิม ทาให้อาการหงุดหงิดเนื่องจากรถติดลดน้อยลง ครัง้ ต่อไปบุคคลมี


แนวโน้มทีจ่ ะใช้เส้นทางใหม่เส้นทางนี้อกี
การลงโทษ (Punishment) การลงโทษจะให้ผลตรงกันข้ามกับการเสริมแรง
กล่าวคือ การเสริมแรงเป็ นการทาให้การตอบสนองเพิม่ มากขึน้ แต่การลงโทษเป็ นการทาให้การ
ตอบสนองลดน้อยลง การลงโทษทาได้ดงั นี้
1. การลงโทษแบบที่ 1 โดยการให้สงิ่ เร้าทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ในทันทีทนั ใด
หลังจากการแสดงพฤติกรรมทีไ่ ม่ดหี รือไม่ต้องการออกมา เช่น นักเรียนแอบอ่านหนังสือการ์ตูน
ในห้องเรียน ครูเห็นจึงเดินไปตี พฤติกรรมการอ่านหนังสือการ์ตูนลดลง
2. การลงโทษแบบที่ 2 โดยการนาสิง่ เร้าทีไ่ ม่พงึ ประสงค์แต่ผู้เรียนพึง
พอใจออกไป แล้ว ท าให้ผู้เ รียนมีพ ฤติก รรมลดลง เช่น นัก เรีย นแอบอ่ านหนัง สือ การ์ตูน ใน
ห้องเรียน ครูเห็นจึงเดินไปริบหนังสือการ์ตูน
อย่า งไรก็ดี การลงโทษหากท าอย่า งไม่เ หมาะสม อาจทาให้เ กิดผล
ข้างเคียง เช่น หันไปทาพฤติก รรมอื่นแสดงพฤติกรรมไม่พอใจที่ค รูทาโทษ หรือ หลีกเลี่ยง
สถานการณ์ดว้ ยการพูดโกหก เป็นต้น

เปรียบเทียบการเสริ มแรงและการลงโทษ

ชนิ ด ผล ตัวอย่าง
นิสติ ได้รบั คาชมเชยจากอาจารย์ เพราะแต่ ง
การเสริมแรง พฤติกรรมเพิม่ ขึน้ เมือ่ มีสงิ่ เร้าที่
กายไม่เรียบร้อยขึน้ ครัง้ ต่อไป เขาจะพยายาม
ทางบวก บุคคลนัน้ ต้องการ
แต่งกายเรียบร้อยขึน้
นิสติ เกิดความวิตกกังวล เมื่ออาจารย์ไม่ยอม
พฤติกรรมเพิม่ ขึน้ เมือ่ สิง่ เร้าทีไ่ ม่
การเสริมแรง ให้นิสติ ที่แต่งกายไม่เ รียบร้อ ยเข้าพบ ดังนัน้
เป็นทีพ่ งึ ปรารถนาถูกทาให้ลดน้อย
ทางลบ เขาจะพยายามแต่งกายเรียบร้อ ยขึ้น เมื่อ มา
หรือหมดไป
พบอาจารย์
นิสติ ถูกหักคะแนนเพราะแต่งกายไม่เรียบร้อย
การลงโทษ พฤติกรรมลดน้อยลงเมือ่ มีสงิ่ เร้าที่
ครัง้ ต่ อไปพฤติกรรมแต่ งกายไม่เ รียบร้อยจะ
แบบที่ 1 เขาไม่พงึ ปรารถนาเกิดขึน้
ลดลง เขาจะแต่งกายเรียบร้อยขึน้
นิสติ ถูกริบเครื่อ งแต่งกาย เพราะแต่งกายไม่
การลงโทษ พฤติกรรมลดน้อยลง เมื่อนาสิง่ เร้า
เรีย บร้อ ย ครัง้ ต่ อ ไปพฤติก รรมแต่ ง กายไม่
แบบที่ 2 ทีเ่ ขาพึงปรารถนาออกไป
เรียบร้อยจะลดลง เขาจะแต่งกายเรียบร้อยขึน้
118

รูปแบบการให้ การเสริ มแรงในการทดลองของสกินเนอร์ซง่ึ เน้นให้ผเู้ รียนเป็ นผูล้ งมือ


กระทาเอง ดังนัน้ ระยะเวลาในการให้การเสริมแรงจะมีอทิ ธิพลต่อการเรียนรูม้ าก

ตารางแสดงรูปแบบการให้การเสริ มแรง
ประเภทการเสริ มแรง วิ ธีการ ตัวอย่าง
การเสริมแรงทุกครัง้ เป็นการเสริมแรงทุกครัง้ ที่ ทุกครัง้ ทีป่ ลาโลมากระโดดรอด
(Continuous) แสดงพฤติกรรม ห่วงได้จะได้อาหารเป็นรางวัล
การเสริมแรงความช่วงเวลาที่ ให้การเสริมแรงตามช่วงเวลาที่ ทุก ๆ สัปดาห์ผสู้ อนจะทาการ
แน่นอน (Fixed - Interval) กาหนด ทดสอบ
การเสริมแรงตามช่วงเวลาที่ เจ้านายจะมาประเมินผลการ
ให้การเสริมแรงตามระยะเวลา
ไม่แน่ นอน (Variable - ปฏิบตั งิ านเพื่อขึน้ เงินเดือน แต่
ทีไ่ ม่แน่ นอน
Interval) ไม่รจู้ ะมาเมือ่ ไหร่
การเสริมแรงตามจานวนครัง้ ให้การเสริมแรงโดยดูจาก
การจ่ายค่าแรงตามชิน้ งานทีท่ า
ของการตอบสนองทีแ่ น่นอน จานวนครัง้ ของการตอบสนอง
ได้
(Fixed – Ratio) ทีถ่ ูกต้องด้วยอัตราทีแ่ น่ นอน
การเสริมแรงตามจานวนครัง้ เมื่อเขาขายของได้ เจ้านายก็จะ
ให้การเสริมแรงตามจานวนครัง้
ของการตอบสนองทีไ่ ม่ ให้ ร างวั ล พิ เ ศษเขา แต่ ไ ม่ ไ ด้
ของการตอบสนองแบบไม่
แน่นอน กาหนดตายตัวว่าขายของได้กช่ี น้ิ
แน่นอน
(Variable - Ratio) จึงจะให้รางวัล

การแผ่ ข ยายสิ่ง เร้า (Stimulus Generalization) หมายถึง การที่อิน ทรีย์ต อบสนอง


เช่นเดิมต่อสิง่ เร้าที่ม ีความคล้ายคลึงกัน เช่น นกพิราบได้รบั การเสริมแรงเมื่อจิกแป้นขณะที่
หลอดไฟสว่างความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ต่อมาเมือ่ ได้มกี ารเสนอสิง่ เร้าหลอดไฟสว่างความ
ยาวคลื่นต่างกัน นกพิราบจะจิกแป้นความถี่มาก เมื่อแสงไฟมีความยาวคลื่นใกล้เคียงกับ 550
นาโนเมตร แต่หากความยาวคลื่นมีค่าเท่ากับ 550 นาโนเมตร พอดี นกพิราบจะจิกแป้นมาก
ทีส่ ุด

จานวนครัง้ ทีน่ กพิราบจิกแป้น


119

ความยาวคลื่นแสง
กราฟแสดงการแผ่ขยายและการจาแนกกสิง่ เร้า

1.4 ทฤษฎี การเรี ย นรู้ แ บบสั ม พั น ธ์ เ ชื่ อมโยง (Associative Learning


Theory) ผู้ท่ีท าการศึก ษาทดลองในเรื่อ งนี้ ค ือ ธอร์นไดน์ (Edward Lee Thorndike, 1874-
1949) ได้กล่าวว่าการเรียนรูค้ อื การทีผ่ เู้ รียนสามารถสร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยง ระหว่างสิง่ เร้า
และการตอบสนอง และได้รบั ความพึงพอใจทีจ่ ะทาให้เกิดการเรียนรูข้ น้ึ
ธอร์นไดน์ได้สร้างกรงทดลองทีท่ าด้วยไม้ ภายในกรงมีคานไม้ทย่ี ดึ กับเชือก
ซึง่ ต่อไปยังประตู เพื่อให้เปิด - ปิดได้เมื่อเหยียบคาน นาแมวมาขังไว้ในกรง นอกกรงมีปลาวาง
ให้แมวสังเกตเห็นได้ เมื่อแมวหิวมันจะพยายามหาทางออกมากินอาหาร โดยพฤติกรรมของมัน
จะมีลกั ษณะแบบลองผิ ดลองถูก ด้วยความบังเอิญไปเหยียบถูกคานทาให้ ประตูเปิ ด แมวจึง
ออกมากกินอาหารได้ ในครัง้ ต่อมาเมื่อแมวหิว พฤติกรรมของมันจะไม่เป็ นแบบครัง้ แรกแต่จะใช้
เวลาในการออกจากกรงได้เร็วขึน้ ตามลาดับแสดงว่า แมวเกิดการเรียนรูแ้ บบสร้างความสัมพันธ์
เชื่อมโยง
120

กฎการเรียนรู้ ธอร์นไดน์ได้ตงั ้ กฎการเรียนรูห้ ลายกฎ ทีส่ าคัญมีดงั นี้


1. กฎแห่ งผล (Law of Effect) กฎนี้ให้ความสาคัญกับผลทีไ่ ด้หลังจาก
การตอบสนองแล้ว ถ้าผลที่ได้เป็ นที่น่าพึงพอใจ บุคคลนัน้ มีแนวโน้ มที่จะแสดงพฤติกรรมมาก
ยิง่ ขึ้นตรงกันข้าม ถ้าผลที่ได้จากการตอบสนองไม่เป็ นที่น่าพึงพอใจ บุคคลนัน้ มีแนวโน้มที่จะ
แสดงพฤติกรรมนัน้ ลดลง
2. กฎแห่ งการฝึ ก (Law of Exercise) กฎนี้ให้ความสาคัญกับการฝึ ก
โดยการเน้นว่าสิง่ ใดก็ตามที่คนเราฝึ กบ่อย ๆ เราจะทาสิง่ นัน้ ได้ดี ตรงกันข้ามสิง่ ใดก็ตามที่เรา
กระทาโดยขาดการฝึก เราย่อมทาไม่ได้ดเี หมือนเดิม นักจิตวิทยาได้แบ่งลักษณะการฝึกออกเป็ น
2 ประเภท คือ การฝึ กติดต่อกัน และการฝึ กแบบให้พกั เป็ นระยะ การฝึ กติดต่อกันใช้ในการฝึ ก
ขัน้ แรกๆ เพื่อ ให้เ กิดทัก ษะ ส่ ว นการฝึ กแบบให้พกั เป็ นระยะนัน้ ใช้ฝึ กเมื่อ ผู้เ รียนเกิดความ
ชานาญแล้ว
3. กฎแห่ งความพร้อม (Law of Readiness) กฎแห่งความพร้อมนี้ม ี
สาระสาคัญดังนี้ "เมื่อบุคคลพร้อมที่จะกระทาแล้วได้ทา เขาย่อมเกิดความพอใจ" "เมื่อบุคคล
พร้อมจะกระทาแล้วไม่ได้ทา เขาย่อมเกิดความไม่พอใจ"และ "เมือ่ บุคคลไม่พร้อมทีจ่ ะกระทา แต่
ต้องกระทา เขาย่อมเกิดความไม่พอใจ" จากหลักการดังกล่าวจะเน้นเรื่องความพร้อม ทัง้ ทาง
กายและทางจิตใจด้วย

2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิ นิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพุทธินิยมนี้ให้ความสาคัญกับความสามารถในการตัง้
วัตถุประสงค์ การวางแผน ความตัง้ ใจ ความคิด ความจา การคัดเลือก การให้ความหมายกับสิง่
เร้าต่างๆ ทีไ่ ด้จากการรับรู้ ตัวอย่างทฤษฎีการเรียนรูก้ ลุ่มพุทธินิยม เช่น
2.1 ทฤษฎี การเรียนรู้ด้ วยการหยังเห็
่ น (Insight Learning) ทฤษฎีก ารหยัง่
เห็ น นี้ เ ป็ น การศึ ก ษาทดลองของนั ก จิต วิท ยาชาวเยอรมัน ซึ่ง เรีย กว่ า กลุ่ ม เกสตัล ท์ ซึ่ง
ประกอบด้วยนักจิตวิทยาทีส่ าคัญ 3 คน คือ แมกซ์ เวอร์ไทเมอร์, เคิรท์ คอฟฟ์ก้า และ วูลฟ์ กัง
โคห์เ ลอร์ ค าว่ า เกสตัล ท์ หมายถึง แบบแผนหรือ ภาพรวม โดยนั ก จิต วิท ยากลุ่ ม นี้ ไ ด้ใ ห้
ความสาคัญกับส่วนรวมหรือผลรวมมากกว่าส่วนย่อย ในการศึกษาวิจยั เขาได้พบว่าการรับรู้
ข้อ มูล ของคนเรามัก จะรับ รู้ส่ ว นรวมมากกว่ า รายละเอีย ดปลีก ย่อ ย ในการเรีย นรู้แ ละการ
แก้ปญั หาก็เช่นเดียวกัน คนเรามักจะเรียนอะไรได้ก็ต้องศึกษาภาพรวมก่อน หลังจากนัน้ จึงมา
พิจารณารายละเอียดปลีกย่อยจะทาให้เกิดความเข้าใจในเรือ่ งนัน้ ได้ชดั เจนขึน้
121

ภาพการทดลองของการเรียนด้วยการหยังเห็
่ น

การศึ ก ษาทดลองของนั ก จิต วิ ท ยากลุ่ ม นี้ รู้ จ ัก กั น แพร่ ห ลาย คื อ


การศึกษาทดลองของโคห์เลอร์โดยได้ทาการทดลองกับลิงชิมแฟนซี ชื่อ สุลต่าน โคห์เลอร์ได้จบั
ลิงมาขังไว้ในกรง นอกกรงมีกล้วยซึง่ วางอยู่ไกลจากกรง และมีไม้ขนาดสัน้ - ยาววางเป็ นลาดับ
ไม้ท่อนสัน้ สุดอยู่ในกรง เมื่อสุลต่านหิว มันจึงหยิบไม้ท่อนสัน้ ทีอ่ ยูใ่ กล้กรงเขีย่ กล้วยแต่ปรากฏว่า
เขีย่ ไม่ถงึ มันจึงวางไม้ลง และนัง่ อยู่มุมหนึ่งพร้อมทัง้ มองดูไม้และกล้วยเฉย ๆ อยู่ และในทันใด
นัน่ เองสุลต่านก็จบั ไม้ท่อนสัน้ เขี่ยไม้ท่อนยาว แล้วจึงเอาไม้ท่อนยาวเขี่ยกล้วยมากินได้ จาก
พฤติกรรมดังกล่าว โคห์เลอร์สรุปว่าสุลต่านเกิดการเรียนรูแ้ บบหยังเห็ ่ นคือ สามารถแก้ปญั หาได้
โดยไม่ต้องลองผิดลองถูก แต่ใช้ประสบการณ์เดิมจากการทีเ่ คยเขีย่ สิง่ ของต่างๆ ภายในกรงมา
ก่อนแล้ว
จากการศึก ษาทดลองดังกล่ า ว นักจิต วิท ยากลุ่ ม เกสตัล ท์ท่ีเ น้ น การ
เรียนรู้แบบการหยังเห็ ่ น จึงได้สรุปว่า โดยปกติแล้วคนเราจะมีวธิ กี ารเรียนรูแ้ ละการแก้ปญั หา
โดยอาศัยความคิดและประสบการณ์เดิมมากกว่าการลองผิดลองถูก เมื่อสามารถแก้ปญั หาใน
ลักษณะนัน้ ได้แล้ว เมื่อเผชิญกับปญั หาที่คล้ายคลึงกันก็จะสามารถแก้ปญั หาได้ทนั ที ลักษณะ
ดังกล่ าวนี้เ กิดขึ้นได้เพราะมนุ ษ ย์ส ามารถจัดแบบ (Pattern) ของความคิดใหม่เ พื่อ ใช้ใ นการ
แก้ปญั หาทีต่ นเผชิญอยูไ่ ด้อย่างเหมาะสม

2.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ทางปัญญาสังคม (Social Cognitive Learning Theory)


นักจิตวิทยาในกลุ่มพฤติกรรมนิยมมีความคิดเห็นตรงกันว่า ทฤษฎีการวาง
เงื่อนไขแบบการกระทาค่อนข้างมีขดี จากัดในการอธิบายเรื่องการเรียนรู้ ดังนัน้ นักจิตวิทยาใน
กลุ่มนี้หลายคนจึงขยายการศึกษาออกไปโดยหันไปสนใจกระบวนการภายในอินทรีย์ซ่งึ เราไม่
สามารถจะเห็นได้โดยตรง แต่จะวัดการเรียนรูจ้ ากพฤติกรรมทีแ่ สดงออกมา ทฤษฎีการเรียนรู้
กลุ่มนี้ทม่ี ชี ่อื เสียงคือ
122

ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู้โ ดยการสัง เกตตัว แบบหรื อ การเลี ย นแบบ ของ


อัลเบิรต์ แบนดูรา (Albert Bandura) แบนดูรามีความเชื่อว่า โดยส่วนมากมนุ ษย์เรียนรูโ้ ดยการ
สังเกตตัวแบบหรือการเลียนแบบ เนื่องจากมนุ ษย์มปี ฏิสมั พันธ์ระหว่างผูเ้ รียนและสิง่ แวดล้อมใน
สัง คม ซึ่งทัง้ ผู้เ รีย นและสิ่ง แวดล้อ มมีอิทธิพ ลต่ อ กัน แบนดูร าจึง ให้ค วามสาคัญ ต่ อ การรู้ค ิด
(Cognitive) ในการเรียนรูจ้ ากการสังเกตและการเลียนแบบด้วย และต่อมาได้เปลีย่ นเรียกทฤษฎี
ของเขาว่า ทฤษฎีการเรียนรูด้ ว้ ยการรูค้ ดิ ทางสังคม (Social Cognitive Learning)
การวิจยั ที่แบนดูราและคณะผู้ร่วมงานได้ทาการทดลองเกี่ยวกับการเรียนรู้
โดยการสัง เกตตัว แบบซึ่ง เป็ น งานวิจ ยั ที่ม ีช่ือ เสีย งเป็ น อย่า งมาก แบนดู ร า ร็อ ส และร็อ ส
(Bandural; Ross; & Ross. 1961) ได้ทาการทดลองเกี่ยวกับ การแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวของ
เด็กโดยการสังเกตพฤติกรรมจากตัวแบบผูใ้ หญ่ กลุ่มตัวอย่างเป็ นเด็ก 72 คน แบ่งเป็ นเด็กชาย
36 คน และเด็กหญิง 36 คน อายุระหว่าง 37 – 69 เดือน ตัวแบบทีแ่ สดงพฤติกรรมก้าวร้าวเป็ น
ผูใ้ หญ่ผชู้ ายและผูห้ ญิง แบนดูราและคณะผูว้ จิ ยั ได้แบ่งเด็กออกเป็ น 3 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มควบคุม
2) กลุ่มทีต่ วั แบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว และ 3) กลุ่มทีต่ วั แบบไม่ได้แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว
กลุ่มที่ต ัวแบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวและไม่ได้แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว
เด็กๆ จะสังเกตผูใ้ หญ่เล่นตุ๊กตา ในกลุ่มนี้จะแบ่งเพศของเด็กและเพศของตัวแบบผูใ้ หญ่ ดังนี้
กลุ่มควบคุม จานวน 24 คน
กลุ่มตัวแบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว จานวน 24 คน แบ่งเป็นกลุ่มย่อยดังนี้
1. เด็กชายสังเกตตัวแบบเพศชาย 6 คน
2. เด็กชายสังเกตตัวแบบเพศหญิง 6 คน
3. เด็กหญิงสังเกตตัวแบบเพศหญิง 6 คน
4. เด็กหญิงสังเกตตัวแบบเพศชาย 6 คน
กลุ่มตัวแบบไม่ได้แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว จานวน 24 คน แบ่งเป็นกลุ่มย่อย
ดังนี้
1. เด็กชายสังเกตตัวแบบเพศชาย 6 คน
2. เด็กชายสังเกตตัวแบบเพศหญิง 6 คน
3. เด็กหญิงสังเกตตัวแบบเพศหญิง 6 คน
4. เด็กหญิงสังเกตตัวแบบเพศชาย 6 คน

วิธกี ารดาเนินการทดลอง เริม่ ต้นด้วยการให้เด็กทัง้ หมดทาการทดสอบก่อน


การทดลองและประเมินพฤติก รรมก้าวร้าวทุ กกลุ่ ม เพื่อ ให้ส ามารถเปรีย บเทีย บพฤติกรรม
ก้าวร้าวของเด็กหลังจากที่สงั เกตตัวแบบ เด็กทุกคนจะถูกทดสอบเป็ นรายบุคคล จากนัน้ การ
ทดลองจะดาเนินการ 3 ขัน้ ตอน คือ
123

ขัน้ ตอนที่ 1 เด็ก จะถู ก น าไปยัง มุ ม หนึ่ ง ของห้อ งพร้อ มๆ กับ ให้ท า
กิจกรรมทีน่ ่าสนใจ ต่อมาตัวแบบผูใ้ หญ่จะเดินมายังมุมห้องทีอ่ ยู่ตรงกันข้ามและเริม่ ต้นเล่นตุ๊กตา
ของเด็กซึง่ มีไม้ตแี ละตุ๊กตาล้มลุก (Bobo doll) รวมอยู่ในนัน้ ด้วย สักพักหนึ่งผู้ใหญ่ก็เริม่ เล่นกับ
ตุ๊กตาด้วยกิรยิ าก้าวร้าว ส่วนในกลุ่มทีไ่ ม่ได้วางเงื่อนไขความก้าวร้าว ผูใ้ หญ่จะเล่นอย่างเงียบๆ
สุภาพเรียบร้อย และไม่สนใจตุ๊กตา Bobo
ขัน้ ตอนที่ 2 เด็กจะถูกเร้าอารมณ์ก้าวร้าว ด้วยการถูกนาไปยังห้องที่ม ี
ตุ๊กตาทีด่ งึ ดูดใจน่ าเล่น แต่พอเริม่ ทีจ่ ะเล่น เด็กจะถูกบอกว่า ตุ๊กตานี้เป็ นตุ๊กตาทีด่ ที ส่ี ุดทีเ่ ตรียม
ไว้สาหรับเด็กคนอื่นๆ
ขัน้ ตอนที่ 3 เด็ก ถู ก น าไปยัง ห้อ งที่ม ีท ัง้ เด็ก ที่ส ัง เกตตัว แบบแสดง
พฤติกรรมก้าวร้าวและตัวแบบทีไ่ ม่ได้แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว ในนัน้ จะมีตุ๊กตา Bobo doll ขนาด
สูง 3 ฟุตและไม้ตี
เด็กจะถูกสังเกตพฤติกรรมการเล่นตุ๊กตาประมาณ 20 นาทีผ่านห้องกระจก
ทางเดีย ว (One-Way Mirror) ผู้ ส ัง เกตการณ์ ท าการบัน ทึก ผลการเลีย นแบบ 3 ประการ
ประกอบด้วย
1. การเลียนแบบพฤติกรรมก้าวร้าวทางกาย
2. การเลียนแบบพฤติกรรมก้าวร้าวทางวาจา
3. การเลียนแบบการตอบสนองทางวาจาทีไ่ ม่ก้าวร้าว
ผลการทดลองพบว่า
1. เด็ก ๆ ในกลุ่ มสัง เกตตัว แบบพฤติก รรมก้า วร้า วแสดงพฤติก รรม
ก้าวร้าวมากกว่าเด็กทีไ่ ม่มตี วั แบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว
2. เด็กชายแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวมากกว่าเด็กหญิง
3. เด็กชายในกลุ่ มสังเกตตัวแบบพฤติกรรมก้าวร้าวแสดงพฤติกรรม
ก้าวร้าวมากกว่า ถ้าตัวแบบเป็นผูช้ าย
4. เด็กหญิงในกลุ่มสังเกตตัวแบบพฤติกรรมก้าวร้าวแสดงพฤติกรรม
ก้าวร้าวทางกายมากกว่า ถ้าตัวแบบเป็ นผูช้ าย แต่จะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวทางวาจามากกว่า
ถ้าตัวแบบเป็นผูห้ ญิง
การวิจยั ต่อมาก็พบผลในทานองเดียวกัน โดยในการทดลองขัน้ ทีส่ องได้มนี า
เด็กกลุ่มที่ 1 ไปยังห้องพักผ่อน กลุ่มที่ 2 เห็นตัวแบบได้รบั รางวัลเมื่อแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว
ขณะทีก่ ลุ่มที่ 3 เห็นตัวแบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวแล้วได้รบั การลงโทษ
ผลการทดลอง พบว่า เด็กๆ ทีเ่ ห็นตัวแบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวแล้วได้รบั
การลงโทษ แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวน้อยกว่ากลุ่มทีต่ วั แบบได้รบั รางวัลและกลุ่มทีไ่ ม่ได้รบั อะไร
เลย อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ
124

ภาพแสดงตัวอย่างพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กชายและเด็กหญิงจากการทดลองของแบนดูรา

การทดลองอีกการทดลองหนึ่งก็เป็ นการทดลองของแบนดูรา ร็อส และ ร็อส


(Bandural; Ross; & Ross. 1963) วิธกี ารทดลองเหมือนกับการทดลองที่หนึ่ง แต่ใช้ภาพยนตร์
แทนบุค คลจริง โดยกลุ่ ม ที่ 1 ดูภาพยนตร์ท่ตี ัว แบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว อีกกลุ่ มหนึ่ง ดู
ภาพยนตร์ทต่ี วั แบบไม่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว ผลของการทดลองทีไ่ ด้เหมือนกับการทดลองที่
1 คือ เด็กทีด่ ูภาพยนตร์ทม่ี ตี วั แบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว จะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวมากกว่า
เด็กในกลุ่มทีด่ ภู าพยนตร์ทต่ี วั แบบไม่แสดงพฤติกรรมทีก่ า้ วร้าว

ภาพแสดงการทดลองทีเ่ ด็กดูภาพยนตร์ทต่ี วั แบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว


ทีม่ า : (Coon & Mitterer. 2007:289)
125

ผลการทดลองพฤติกรรมก้าวร้าวทีเ่ ป็ นผลมาจากการสังเกตตัวแบบจากภาพยนตร์

จากผลการวิจยั หลายๆ ครัง้ ทาให้แบนดูราตัง้ ทฤษฎีการเรียนรูท้ างปญั ญา


สังคมขึน้ โดยอธิบายว่าพฤติกรรมของบุคคลที่เกิดขึน้ นัน้ ประกอบด้วยปจั จัยสาคัญ 3 ด้าน คือ
ปจั จัยส่วนบุคคล (Personal factor = P) เงื่อนไขเชิงพฤติกรรม (Behavior condition = B) และ
ปจั จัยด้านสภาพแวดล้อม (Environment factor = E) ซึง่ ทัง้ สามปจั จัยนี้ส่งผลซึง่ กันและกัน

ตัวอย่าง การเรียนรูโ้ ดยการสังเกตตัวแบบ เช่น ภาพนางแบบหุ่นผอมเพรียวตามหน้า


นิตยสาร เคยถูกมองว่าเป็นต้นเหตุทท่ี าให้เด็กผูห้ ญิงมีอาการผิดปกติในการกินอาหาร เช่น โรค
Anorexia เป็ นต้น อัม้ สังเกตตัวแบบ คือ นางแบบ (E) อยากผอมเหมือ นนางแบบ (P) จึงอด
126

อาหาร (B) ผลทีไ่ ด้ออกมาทาให้อมั ้ ผอมสวย พฤติกรรมการอดอาหารแล้วผอมสวย (B) ก็เป็นตัว


แบบให้คนอื่นๆ ทาตาม (E) ซึง่ ส่งผลให้อมั ้ เพิม่ ความเชื่อว่าการอดอาหารเป็นสิง่ ทีด่ ี (P) เป็นต้น

ขัน้ ตอนการเรียนรู้โดยการเลียนแบบ
1. ความใส่ใจ (Attention) การเรียนรูจ้ ะเกิดขึน้ ได้ก็ต่อเมื่อผู้เรียนมีความสนใจ
และเอาใจใส่ต่อตัวแบบ และกิจกรรมของตัวแบบ
2. กระบวนการเก็บจา (Retention) ผู้สงั เกตต้องบันทึกสิง่ ที่สงั เกต กิจกรรม
หรือข้อมูลของตัวแบบในระบบความจา เพราะจะทาให้สามารถเกิดแบบแผนในการเลียนแบบตัว
แบบได้ ทัง้ นี้เพื่อ การนาข้อ มูล ที่เ ก็บไว้ใ นระบบความจากลับคืนมาและใช้ต่ อ ไป ถ้าผู้สงั เกต
เข้า รหัส ข้อ มูล ในระบบความจาได้ดี อาจด้ว ยการสร้า งภาพในใจหรือ ด้ว ยภาษาสื่อ สารกับ
ความคิดของตนเองได้ดี ก็สามารถเลียนแบบพฤติกรรมได้ดถี งึ แม้เวลาผ่านไปนานก็ตาม
3. กระบวนการเลียนแบบ (Reproduction) คือ การนาสิ่งบันทึกไว้ในความ
ทรงจา มาเป็ นสิง่ ชีน้ าในการเลียนแบบตามพฤติกรรมของตัวแบบ ซึง่ บางครัง้ อาจไม่ใช่การลอก
แบบอย่างตรงไปตรงมา แต่เป็ นการเลียนแบบทีม่ คี วามรูค้ วามเข้าใจและความพร้อม ดังนัน้ ใน
การเลียนแบบพฤติก รรมจากตัว แบบอย่างเดียวกัน พฤติกรรมของแต่ ล ะบุค คลอาจมีค วาม
แตกต่างกันไป บางคนอาจทาได้ดกี ว่า ทาได้ไม่ดเี ท่า หรือทาได้เท่าเทียมกันกับตัวแบบก็ได้
4. กระบวนการจูง ใจ (Motivation) การจู ง ใจเป็ น สิ่ง ส าคัญ ที่ท าให้เ กิด การ
เลียนแบบมีประสิทธิภาพ ถ้าผู้สงั เกตจะเลียนแบบพฤติกรรมที่ให้ผลดีกบั เขา เช่น ได้รบั แรง
เสริม รางวัล คาชมเชย เป็ นต้น ก็จะช่วยให้เลียนแบบตัวแบบได้ดกี ว่าที่ไม่ได้รบั การเสริมแรง
และมีแนวโน้มทีจ่ ะเลียนแบบพฤติกรรมทีเ่ ขาพอใจ มากกว่าพฤติกรรมที่เขาทาแล้วไม่สบายใจ
ดังนัน้ การจูงใจและการเสริมแรงจะมีอทิ ธิพลต่อการเรียนรูม้ าก แบนดูราได้แบ่งการเสริมแรง
ออกเป็ น 3 ลักษณะ คือ การเสริมแรงโดยตรง การเสริมแรงที่ได้รบั อิทธิพลจากผู้อ่นื และการ
เสริมแรงตนเอง ซึง่ เป็นการเสริมแรงทีส่ าคัญ เพราจะเป็นตัวควบคุมการแสดงพฤติกรรมได้ดี

คาถามท้ายบท
1. พฤติกรรมต่อไปนี้ เกิดจากการเรียนรูห้ รือไม่
1) นายโก๊ะอาเจียนกลางถนนเพราะเมาเหล้า
2) นางเงาะนอนไม่ได้เพราะปวดหลัง
3) นายโก๊ะเมาเหล้าพูดจาไม่รเู้ รือ่ ง ฟงั ไม่ได้ศพั ท์
4) นางเงาะนิ่วหน้าเพราะปวดหลังมาก
5) นายโก๊ะนอนแผ่กลางบ้านเพราะอ่อนเพลีย
6) นางเงาะขึน้ ไปนังหลั
่ บบนเปลเพราะนอนหลับไม่ได้
127

7) นางเงาะหยิบยาดมมาดมเพราะวิงเวียนศีรษะ
8) นางเงาะหายใจแรงๆ เพราะแน่นหน้าอก
9) นายโก๊ะสะดุง้ เพราะเหยียบตะปู
10) นายโก๊ะพยายามเลิกดื่มเหล้า
2. ให้ นิ ส ิต อ่ า นกรณี ศึ ก ษาของ “แต๊ก เดอะวอยซ์ 5” กระบวนการเรีย นรู้ใ นการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเป็ นเช่นไร โดยอยู่บนพื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้ และมีปจั จัยใดบ้างที่ม ี
อิทธิพลต่อการเรียนรู้

มหากาพย์คนคุก “แต๊ก เดอะวอยซ์” บทเรียนชีวิตจากโลกมืด


เผยแพร่: 3 มี.ค. 2560 11:06 โดย: MGR Online
ทีม่ า : https://mgronline.com/onlinesection/detail/9600000018033

เรือ่ งราวต่อไปนี้เป็ นเสมือนบทเรียนชีวติ และสังคมอีกด้านเป็ นประสบการณ์ทผี ่ พู้ ลาดผิดและยังไม่เคยพลัง้ ได้


ศึกษาและเรียนรู้ “โลก” อีกด้าน สังคมอีกมุมทีข่ มุกขมัวด้วยฤทธิย์ า จะเป็ นเช่นไร
เราไปสนทนากับ “แต๊ก เดอะวอยซ์ 5” หรือ “อานนท์ วัชรีวงศ์ ณ อยุธยา”
ชายหนุ่มผูก้ ลับมาจากโลกมืด และยืนหยัดได้อีกครัง้ อย่างมันคง... ่

ตึกสูงระฟ้ ามาจากก้อนอิ ฐ อยูท่ ี่เราจะกลมกลืน หรือถูกกลืนกิ น

“ชีวติ มันเริม่ ใหม่ได้เสมอ พอเรารักทีจ่ ะคิดดี รักเชื่อในสิง่ ทีถ่ ูกต้อง ผมไม่รหู้ รอกว่าคาพูดนี้ของผมจะไปแตะ
ต้องสัมผัสหัวใจของใครเขาหรือเปล่า แต่ทแ่ี น่ๆ ผมเป็ นพยานได้ว่า ชีวติ มันเริม่ ใหม่ได้จริงๆ”

เจ้าของน้าเสียงทรงเสน่หใ์ นรายการเดอะวอยซ์ ซีซนั 5 อดีตนักโทษชายในข้อหามียาเสพติดไว้ในครอบครอง


และจาหน่าย บอกเล่าความรูส้ กึ ทีต่ กผลึกมาจากชีวติ จริง ซึง่ ณ ปจั จุบนั เขากาลังปลุกปนคอนเสิ
ั้ รต์ ร่วมกับ
มูลนิธพิ นั ธกิจเรือนจาคริสเตียน อาจารย์สนุ ทร สุนทรธาราวงศ์ เพื่อเข้าไปแสดงในเรือนจาต่างๆ ส่งต่อแรง
บันดาลใจให้กบั พีน่ ้องผองเพื่อนในเรือนจา หรือใครก็ตาม

ใครก็ตามทีก่ าลังหมดศรัทธา หมดความหวัง ไร้หนทางในชีวติ เพราะผิดพลาดพลัง้ เผลอ จนหลงเดินทางผิด


128

เช่นเดียวกับตัวเขาในวัยเด็กทีถ่ กู พายุแห่งชีวติ พัดกระหน่ าให้ดาดิง่ ถลาลึก จนยากทีจ่ ะกลับตัวได้ เมื่อกว่า


20 ปี ก่อน

“คุณแม่เคยบอกกับผมไว้ว่า ผมเป็ นเด็กทีด่ คี นหนึ่ง (ยิม้ ) และผมก็เป็ นอย่างนัน้ จริงๆ ด้วยนิสยั ด้วยลุค เป็ น
เด็กนักเรียนตัวเล็กๆ ใส่แว่น นังแถวหน้
่ า ตัง้ ใจเรียน แม้ว่าสังคมทีบ่ า้ นจะอยูบ่ ริเวณย่านชุมชน 70 ไร่
คลองเตย แต่กไ็ ม่ได้มอี ะไรมาทาให้ผมเปลีย่ นแปลง”

อีกอย่าง คุณพ่อคุณแม่อาจจะรับรูถ้ งึ สภาพแวดล้อม ช่วงเวลาทีเ่ รียนชัน้ อนุบาลจนถึงระดับประถมทีโ่ รงเรียน


อนุบาลพิบลู เวศม์ พระโขนง ผมจึงไปชีวติ ส่วนใหญ่ทบ่ี า้ นคุณยาย ในหมู่บา้ นสัมมากร สุขาภิบาล 3 โดยที่
เสาร์-อาทิตย์คุณพ่อคุณแม่ท่านจะเป็ นฝา่ ยแวะมาหาเป็ นส่วนใหญ่มากกว่าทีผ่ มจะไปหาท่านทีแ่ ฟลตเคหะ
ท่าเรือคลองเตย ทีเ่ ราก็รๆู้ กันอยู่แล้วว่าเป็ นอย่างไร

“สภาพแวดล้อมของหมู่บา้ นสัมมากรนัน้ คนละขัว้ เด็กมีกจิ กรรมอะไรต่าง ๆ มีสโมสร มีสระว่ายน้า กลุ่มเพื่อน


ๆ ก็เป็ นลูกหลานคนมีเงิน ภาวะความคิดก็ค่อนข้างแตกต่าง ผมก็เลยเอนเอียงไปทางนัน้ ไม่เคยแม้กระทังพู ่ ด
คาหยาบคาย ด่า “ไอ้” อะไรแบบนี้ไม่เคยมี”

่ าระดับชัน้ มัธยมศึกษา สภาพแวดล้อมแบบวัยรุน่ ในอีกโรงเรียนก็เริ่มเปลี่ยนเด็กชาย


จนกระทังเข้
ติ๋ มๆ คนหนึ่ งทีละนิ ด

“วัยกาลังแรงพอดี คือแม้ว่าผมจะเกิดทีค่ ลองเตย แต่กเ็ พียงแค่ชว่ งเวลาสัน้ ๆ มีเพื่อนไม่กค่ี นทีว่ งิ่ เล่นด้วยกัน
แล้วเด็กๆ ก็เล่นกันตามประสาเด็ก ไม่ได้จดั จ้านกว่า อย่างทีห่ ลายคนคิด ซึง่ ยิง่ มาบวกอยู่กบั คุณยายในอีก
สังคมหนึ่ง เราก็เลยไม่มอี ะไรตรงนัน้ ติดมา พอต่างถิน่ แปลกทีก่ จ็ ะโดนรังแก แกล้งโน่นแกล้งนี่ “เฮ้ยแว่น มึงไป
ซือ้ ข้าวให้กหู น่อยดิ” “เฮ้ย แว่นมึงหยิบน้ามา” ผมโดนอยู่อย่างนัน้ เป็ นเดือนๆ เราก็ได้แต่เก็บความรูส้ กึ แบบ
นัน้ เอาไว้ โดยตื่นเช้ามาแทบไม่อยากไปเรียนเลย

“พอวันเสาร์-อาทิตย์ คุณพ่อคุณแม่มาหา เวลาถามเรื่องทีโ่ รงเรียน เราก็บ่ายเบีย่ ง และบอกท่านไปว่าดีครับ


คือไม่อยากมาเล่าให้ใครฟงั เพราะครอบครัวก็มปี ญหาอื
ั ่นๆ จิปาถะ สุดท้ายเรารูส้ กึ ว่าสงสัยเราต้องปรับตัว”

เมื่อสูไ้ ม่ได้ ก็กลายเป็ นพวก ละลายตัวเองไปเป็ นส่วนหนึ่งกับฝา่ ยตรงข้าม

“ทาอะไรอย่างทีพ่ วกมันทา เป็ นอย่างทีเ่ ขาเป็ น”


อานนท์เผยความรูส้ กึ ก่อนจะเล่าถึงวิวฒ
ั นาการความห้าว จากลูกกะจ๊อกเด็กกล้วยในเครือเด็กหัวโจกหลัง
ห้องแบบเนียนๆ โดยการเริม่ จาก “ใส่รองเท้าเหยียบส้น”, “เอาเสือ้ ออกนอกกางเกง”, “กินข้าวแล้วก็โยนจาน
ทิง้ ” กระทังริ
่ ลองสูบบุหรี่

“แว่นก็ใส่เฉพาะตอนเรียน ตอนจะเก๋าไม่ใส่ คาพูดคาจา มึงๆ กูๆ ไอ้ๆ…ตลอดทุกประโยค แล้วค่อยๆ เข้ากับ


คนทีเ่ ราพอคิดว่าน่าจะเข้าได้ก่อน ทีอ่ ยู่ในกลุ่มแบบนัน้ แล้วก็เริม่ ทีจ่ ะทาตัวเนียนขึน้ เหมือนกับเขามากขึน้
มันเป็ นช่วงของการเลียนแบบอยู่แล้ว หนักสุดก็สบู บุหรี่ เริม่ หัดสูบ คืออะไรทีเ่ ด็กเกเรเขาทากัน เราก็ทาตาม
129

เขา เพื่อให้เราดูเก๋า และทีส่ าคัญเพื่อให้ได้การยอมรับจากคนเหล่านี้ พวกนี้ ตอนเลิกเรียนจะไปมัวสุ


่ มกันอยู่
ตามห้าง ชัน้ เกม สมัยก่อน ยุคนัน้ สังกัดแถวอิมพีเรียลบางกะปิ ตัง้ แต่ไฟยังไม่ไหม้ บางทีกไ็ ปรวมกลุ่มกันตรง
เจซี ดีพาร์ทเมนต์สโตร์ นันคื
่ อถิน่ เรา”

ทัง้ หมดเพื่อความอยู่รอด เพือ่ การไม่ถกู รังแก โดยที่ไม่รตู้ วั ว่าตัวเองได้ค่อยๆ ถลา...ลึก ...

“พอต้องการได้รบั การยอมรับ เพื่อนมีเรื่อง เราก็มเี รื่องไปกับเขา จนกระทังถึ


่ งจุดทีเ่ รามีเรื่องหรือหาเรื่องเอง
แต่เราไม่แกล้งคนอื่น เพราะเรารูส้ กึ ว่าเราก็ไม่อยากให้ใครแกล้งเรา ก็ไม่เคยแกล้งใคร แค่เราไม่โดนก็พอแล้ว
แต่สดุ ท้ายแล้วมันเหิมเกริมเกินไปใหญ่ เริม่ ไม่ไปเรียน โดดเรียน เข้าหน้ าโรงเรียน ออกหลังโรงเรียน

“มันกลายเป็ นแบบนัน้ โดยทีเ่ รื่องเรียนเริม่ ไม่ใช่เรื่องทีส่ าคัญแล้ว ไปโรงเรียนเพื่อไปเจอเพื่อน เจอกลุ่ม ไม่ได้


ไปเข้าเรียนเลย หนักสุดประมาณ 2 สัปดาห์ ทางโรงเรียนก็สง่ จดหมายมาทีบ่ า้ น เราก็ไปดักเอาออกจาก
ตูจ้ ดหมายก่อนคุณยายจะเห็น สุดท้าย เรียนไม่จบ โดนเชิญออกจากโรงเรียนตอน ม.2 ส่วนคนอื่นไม่ได้โดน
ออก มีเราแค่คนเดียว”

ด้วยพฤติกรรมสุดกู่ ทัง้ เรื่องสูบบุหรีแ่ ละไม่เข้าเรียน แถมมีเรื่องมีราวไม่เว้นแต่ละวัน ถูกเรียกขึน้ ห้องปกครอง


เป็ นว่าเล่น และทีย่ ่าแย่ทส่ี ดุ ในช่วงวัยนัน้ คือการดมสารระเหยเป็นครัง้ แรกด้วยความบังเอิญ ขณะทีเ่ ข้าค่าย
วิชาลูกเสือสามัญ จนนามาซึง่ การถูกเชิญออก

“จุดหักเหสาคัญเลยก็ว่าได้ คือมันเป็ นความบังเอิญจริงๆ ไม่ได้ตงั ้ ใจ เพราะตอนนัน้ เรื่องยงเรื่องยา เรายังไม่


รูจ้ กั รูจ้ กั แค่บหุ รี่ แต่บงั เอิญตอนนัน้ ไปเข้าค่ายแล้วเพื่อนไปเดินทางไกลกันหมด ส่วนเราไม่ได้ไป ได้รบั หน้าที่
ให้เฝ้าฐาน รอเตรียมกับข้าวให้คนในกลุ่ม ทีน้รี ะหว่างนัน้ กลุ่มข้างๆ เขาใช้ทนิ เนอร์มาจุดไฟแล้วมันเปื้ อนมือ
เราได้กลิน่ ก็ดมๆ ดู ไม่คดิ ว่าจะดมไปเพื่ออะไร แต่กลิน่ มันดันติดมือ อยู่ๆ ก็เบลอ มารูต้ วั อีกทีกเ็ มาไม่รตู้ วั แล้ว
ครูเดินมาเอาไม้หวด ก็กลายเป็นภาคทัณฑ์ ผสมกับมีเรื่องมีราว โดนจับได้ว่าสูบบุหรีอ่ กี ก็เลยจบชีวติ
นักเรียน”

ในระยะเวลาเพียงไม่ถึงขวบปี “นนท์” หรือ “แต๊ก” ก็กลายเป็ นชื่อที่โจษจันในฐานะหัวโจกประจา


โรงเรียนและกลุ่มนักเรียนชัน้ มัธยมต้น แม้จะถูกไล่ออก แต่กย็ งั เป็ นที่ยาเกรงของนักเรียนในย่านนัน้

“พอไม่ได้เรียนแล้วก็ยงั ออกไปจับกลุ่มกับเพื่อนทีเ่ ดิม ใส่ชุดนักเรียน เป็ นเด็กผี วิง่ ไล่ตเี ขา คือเพือ่ ให้ตวั เอง
เป็ นหัวโจกให้ได้ ผมก็ไม่รเู้ หมือนกันว่าจากผมทีเ่ ป็ นเด็กติม๋ โดนแกล้งในตอนแรก กลายเป็ นหัวโจกไปได้ไง
แต่ครัง้ หนึ่ง ผมไปมีเรื่องตรงแถวสะพานข้ามจากอิมพีเรียลบางกะปิ มาฝงั ่ เจซี ดีพาร์ทเมนต์สโตร์ ก็ไปต่อย
เด็กโรงเรียนอื่น ครัง้ นัน้ เป็ นครัง้ แรกทีผ่ มมีความรูส้ กึ สานึก เพราะว่าเราทาสิง่ เหล่านี้ไปด้วยอะไรก็ไม่รู้ ด้วย
ความคิดอะไรก็ไม่รู้ แต่พอผมทาวันนัน้ แล้วมันมีความรูส้ กึ ว่าทาเขาทาไม เรื่องของเรื่องมันอาจจะเป็ นเพราะ
คนคนนัน้ หน้าตาคล้ายๆ น้องชายเรา แล้วสานึกมันขึน้ มาว่า ถ้าคนนี้เป็ นน้องเรา เราจะรูส้ กึ อย่างไร
130

“มันเริม่ มีสานึกขึน้ มา แต่มนั ก็เป็นแค่สานึก แค่คดิ ขึน้ มา เพราะความห้าวความเป็ นวัยรุ่นมันยังยิง่ ใหญ่กว่า ที


นี้นอกจากกลุ่มเพื่อนนักเรียนเลยยังไม่พอ มาสร้างกลุ่มในหมูบ่ า้ นอีก หมู่บา้ นทีเ่ ขาอยู่กนั อย่างสงบๆ ชื่อ
‘กลุ่มสัมมากรบอย’ มีรุ่นพีก่ ลุ่มหนึ่ง มีเราเป็ นหัวโจกกลุ่มรุ่นน้อง

“ก็ใช้ชวี ติ อยู่อย่างนัน้ …จนกระทังมี ่ เรื่องราวใหญ่โตถึงขัน้ มากกว่ามือเท้าเปล่าเพราะฝา่ ยตรงข้ามมีอาวุธ


จังหวะทีเ่ ราไปช่วยเพื่อนทีโ่ ดนรุม ก็ควักมีดออกมาขูบ่ า้ ง แต่ระหว่างชุลมุนปดั ป้อง มีดเราไปเฉี่ยวโดนมือ
เลือดเขาไหล นันคื ่ อจุดเปลีย่ นทีส่ าคัญ เพราะเราไม่คดิ ว่าจะทาร้าย เราไปช่วยเพื่อน ไปป้องกันตัว เราก็เริม่
กลัว รูแ้ ล้วว่าสิง่ ทีต่ วั เองทา มันร้ายแรงเกินไปแล้ว แม้จะไม่บาดเจ็บเยอะ แต่คมมีดมันทาให้ได้แผลได้เลือด
เป็ นครัง้ แรกทีเ่ รารูส้ กึ ว่าเรามาไกลเกินไปแล้ว แล้วเรากลัวมาก ทัง้ ตารวจ ทัง้ ความรูส้ กึ จากการใช้อาวุธครัง้
แรก”

จะโดนตารวจคุมตัวไหม?
จะถูกจับติ ดคุกหรือเปล่า?
เรามาไกลขนาดนี้ ได้อย่างไร?
เป็ นคาถามที่ประเดประดังเข้ามาพร้อมๆ กัน ชวนให้อลหม่านในความคิ ดจนกลายเป็ นวิ ตกจริต แต่
ทว่ายังไม่ทนั ที่จะคิ ดตก เส้นทางชีวิตและสิ่ งที่ได้ทาไว้ ก็เลือกบีบให้เหลือทางเดิ นไม่มากนัก

“เพื่อนก็พาซ้อนมอเตอร์ไซค์หนี เพราะไม่กล้ากลับเข้าบ้าน กลัวตารวจมาตามเจอ ซึง่ ก็จริง วันนัน้ ตารวจก็มา


จริงๆ ด้วย มาตามหาเราทีบ่ า้ นเพื่อนทีโ่ ดนรุมทาร้าย ก็ตอ้ งหลบตามบ้านเพื่อนสักพักหนึ่ง แล้วก็กลับไปบ้าน
บ้าง แต่ไม่นอนค้าง แต่โชคดีเพือ่ นก็ไม่บอกว่าเป็ นเรา ทีน้นี านวันเข้า เราก็รสู้ กึ ว่าเพื่อนๆ เริม่ ไม่ตอ้ นรับ
เพราะกลัวว่าจะโดนร่างแหไปด้วย สุดท้ายก็เลยต้องย้ายหลบไปอยู่ทบ่ี า้ นคุณพ่อคุณแม่ทค่ี ลองเตย ให้เรื่องมัน
เงียบ

“นันก็
่ คอื จุดเปลีย่ นชีวติ ครัง้ สาคัญทีส่ ดุ เข้าสูว่ งจรยาเสพติด”
จากจุดหักเหแรกคือตัดสินใจเองโดยการเลียนแบบในการทาตัวเกเรเหมือนคนอื่น แต่ดว้ ยนิสยั ส่วนตัวทีช่ อบ
ทาอะไรทีม่ นั สุดๆ สุดท้ายกลายเป็ นถูกสิง่ เหล่านัน้ กลืนกินเต็มตัวโดยไม่รเู้ นื้อรูต้ วั - ความเดียงสาถูกแทนที่
ด้วยความกร้านโลก - ความรักความฝนั ทางด้านของดนตรี ผลักให้ ‘เด็กชายอานนท์’ หรือ ‘น้องแต๊ก’ ของ
ครอบครัวค่อยๆ เลือนหายไป

“ถ้าย้อนเวลาไปได้กอ็ ยากจะบอกเขาว่า กลับไปใช้ชวี ติ เหมือนเด็กทัวไป


่ แล้วก็ยอมให้เขารังแกเหอะ สุดท้าย
แล้วเขาก็คงรังแกเราได้ไม่ตลอด คงเบื่อไปเอง คงจะบอกตัวเองแบบนัน้ อยากจะให้กลับไปเป็ นเด็กปกติ ไม่
ต้องไปเปลีย่ นแปลงอะไรเหมือนทีเ่ ป็ นมาเพื่อให้เขายอมรับ เราเป็ นเหมือนทีเ่ ราเป็ นดีทส่ี ดุ ถ้าเราดี เขาก็ดกี บั
เราเอง

"และที่สาคัญ จากที่ไม่คิดว่าครอบครัวเป็ นปัจจัยสาคัญ ตรงนี้ ผมไม่ได้โทษคุณพ่อและคุณแม่ ผม


ต่างหากที่ไม่กล้าบอก แต่ถ้าเกิ ดครังนั
้ น้ ผมกล้าที่จะบอก กล้าที่จะปรึกษา อย่างตอนหลังที่ผมโดนคุณ
131

แม่จบั ได้ว่าสูบบุหรี่ คุณพ่อเรียกขึน้ ไปคุยแล้วก็พดู กันอย่างเปิ ดอก ท่านเข้าใจในวัย ท่านก็อนุญาต


แต่เพียงอย่าสูบให้เห็นเท่านัน้ ถ้าผมปรึกษา ผมคงไม่ตดั สิ นใจอะไรเองอย่างนัน้ คือมันอาจจะเป็ น
เรือ่ งเล็กๆ ในสายตาผูใ้ หญ่ แต่สาหรับเด็กมันคือปัญหาที่ใหญ่ของเขา ในวันวัยเขา เชื่อว่าปัญหา
เหล่านี้ ในเด็กบ้านเรามีไม่น้อย”

สูงสุดคืนสู่สามัญ
สูงตา่ อยูท่ ี่ทาตัว “เราเอง”

หลังชีวติ ถูกเกลียวคลื่นของสภาพแวดล้อมซัดออกจากฝงที ั ่ ค่ วรจะเป็ น อีกทัง้ ด้วยวันวัยคะนองช่วงหัวเลีย้ ว


หัวต่อพัดพาชีวติ ให้ยงิ่ ออกทะเลไปไกล อย่างไรก็ตาม เขาก็ยงั ไม่ปกั หมุดชีวติ ว่าจะดาเนินเส้นทางสายนี้ไป
ตลอด

“หัวใจ” ยังคงเพรียกหาการยอมรับ และการถูกมองว่าไม่ใช่ตวั ก่อปญั หา


“ชีวติ ช่วงนัน้ ยังอยากจะเรียนต่อ ตอนทีก่ ลับมาอยู่กบั คุณพ่อคุณแม่ทค่ี ลองเตยก็กาลังรอจบเทอมเพื่อจะเข้า
เรียน แต่ดว้ ยความเป็ นเด็ก เราย้ายมานี่ เราไม่มเี พื่อนมีฝงู ก็คดิ ถึงเพื่อนทีเ่ ดิมตลอด แต่กลับไปไม่ได้ เรา
เหงา เราก็เลยต้องไปหาเพื่อน ซึง่ เพื่อนในตอนนัน้ ก็พอจะจาหน้ากันได้รางๆ เราก็เริม่ กลับเข้าไปคุยกับเขา
จริงๆ แล้วทุกคนก็เป็ นเด็กเหมือนกัน เรียนหนังสือหนังหา แต่เราไม่ได้เรียน

“ทีน้พี อเราว่าง จากทีเ่ รารูจ้ กั เพือ่ น เราก็รจู้ กั รุ่นพี่ ก็เริม่ จับกลุ่มกินเหล้ากัน เล่นกีตาร์ใต้ถุนแฟลต เมาหัวราน้า
ไปวันๆ แต่ไม่ได้มอี ะไรมากกว่านัน้ ”

ทว่าการเป็ นคนใหม่ในทีใ่ หม่ ด้วยความไม่ประสีประสา และอยากได้รบั การยอมรับเช่นเคย ก็ทาให้เขาไถลตก


อีกครัง้ สูเ่ ส้นทางสายยา

“มันมีแผล เราก็ยงั กลัว ยังหวาด จึงสุมตัวอยู่เป็ นทีเ่ ป็ นทาง และยาเสพติดก็เริม่ เข้ามา... เข้ามาได้เพราะเรา
เป็ นแบบเดิม เราอยากกลมกลืน กลัวการไม่ยอมรับ รูว้ ่ามันผิดนะ ไม่ดี แต่กท็ า

“ยาเสพติดชนิดแรกทีล่ องเป็ น ‘สารระเหย’ หรือ ‘กาว’ หรือถ้าเขาฮิตอะไร เขาก็จะใช้เหมือนกันเหมด ยุคนัน้


เป็ นยุคของสารระเหย เด็กๆ ทีน่ นแทบทุ ั่ กคนดม เดินดมกันเกลือ่ น พูดง่ายๆ ในระหว่างทีร่ อเรียนก็ดงึ ดาวแก้
ว่าง สุดท้ายโดนจับตรงท่าเรือคลองเตยทีร่ ะเบิดแล้วมีพน้ื ทีท่ างปูนรกร้าง ถูกตัง้ ข้อหาเสพสารระเหย คุณแม่
ต้องไปประกันตัวด้วยเงิน 700 บาท ปญั หาทีเ่ รามีอยู่แล้วยิง่ เพิม่ ขึน้ ไปอีก มันกลายเป็ นชีวติ ทีห่ าสาระตัวเอง
ไม่เจอแล้ว แล้วก็รสู้ กึ ว่าสิง่ เหล่านี้มนั ผ่านไป ความกลมกลืนตรงนัน้ มันกลืนกินเราไปเรื่อยๆ”

วงจรชีวิตจึงหมุนเวียนเปลี่ยนผ่านอยู่แค่ของเหลวอย่างเหล้าและโซดา จากทิ นเนอร์และบุหรี่ แทน


เรือ่ งศึกษาเรียนต่อ
132

“ปญั หาตรงนี้มนั กลายเป็ นกลบเรื่องทีเ่ ราจะต้องไปเรียนต่อ เพราะทีบ่ า้ นก็มปี ญหาอยู


ั ่แล้ว พอมาเจอเรื่องเราที่
ทาตัวอย่างนี้ เรื่องเรียนกลายเป็นประเด็นหลังๆ เลยทีจ่ ะถูกหยิบยก จนกระทังมั ่ นหายไปด้วยกาลเวลากับ
ปญั หาตรงหน้าซึง่ ยังไม่จบ ชีวติ ในช่วงนัน้ ก็วนเวียนอย่างนัน้ จนผันตัวเองไปทางานเพื่อเอามาสนุกสนานตรง
นี้ วันไหนมีเยอะ ก็ทงั ้ ดมกาวทัง้ กินเหล้า วันไหนมีน้อยก็กนิ เหล้าอย่างเดียว ประมาณเกือบปี ทีท่ างานเช็ด
กระจกตึกสูงๆ เสร็จก็มาดื่ม มาดม วันไหนคุณพ่อคุณแม่ไม่อยู่ ก็เอามาดมในบ้าน ไม่ออกไปดืม่ ดมสุม่ สี่สมุ่ ห้า
ข้างนอก เราระมัดระวังมากขึน้

“ความรักเมา ความรักสนุก มันกลืนกินเราไปเรื่อยๆ ช่วงอายุประมาณ 15 ก็เริม่ มีกญ


ั ชาเข้ามาแวบๆ แต่ไม่
ชอบ เพราะมันทาให้คอแห้ง กลืนน้าลายลาบาก ก็ผ่านไป จนกระทังผงขาวมา
่ บังเกิดเลย ชีวติ พังยับเยิน

“ยับเยินไม่เหลือชิน้ ดี”
แต๊กกล่าวย้าด้วยน้าเสียงเคร่งเครียด
“มันทรมานมาก เวลาอยากยาแล้วไม่ได้ น้าหูน้าตาจะไหล ปวดท้องเหมือนคนมาบิดไส้ กินอะไรไม่ได้เพราะ
กินเข้าไปแล้วอ๊อกเขียว อ๊อกเหลือง คืออ้วกน้าย่อยออกมาหมด

“ช่วงทีผ่ มลองผงขาว เริม่ จากการทีร่ วมเงินกันกับเพื่อนๆ ไปซือ้ 300 บาท ได้ 1 บิก๊ หรือว่า ครึง่ หนึ่ง 150
บาท สมัยนัน้ ก็ใส่บุหรีจ่ ุดสูบวนกันคนละครัง้ สองครัง้ ความรูส้ กึ มันเหมือนผมไม่รวู้ ่าอะไรคือความทุกข์ ณ
เวลานัน้ ผมรูแ้ ต่ว่าเราทาแล้วมันดี ไปอยู่ในโลกของเรา ไม่ตอ้ งอยู่กบั ความจริงทีว่ ่าวันนี้มนั ไม่ได้เรื่อง สุดท้าย
แล้ว กว่าจะรูต้ วั อีกทีมนั ก็ตดิ แล้ว

“จาได้แม่นเลยว่ามีคอนเสิรต์ บิก๊ ฟุตในทีวขี องพีบ่ ลิ ลี่ โอแกน กับพีอ่ ๊อฟ พงษ์พฒ


ั น์ วชิรบรรจง ทีส่ นามกีฬา
กองทัพบก ประมาณเดือนที่ 3-4 ของการใช้ผงขาว เพราะหลังตื่นมาแล้วน้ามูกมันไหล หาว คันเนื้อคันตัว
เหมือนคนจะเป็ นไข้ แล้วก็เดินมาซือ้ ทีร่ า้ นค้าหน้าบ้าน เจอเพื่อนกาลังสูบบุหรีผ่ สมผงอยู่ เราก็ไปขอ เท่านัน้
อาการต่างๆ หายเป็ นปลิดทิง้ ก็รสู้ กึ เลยว่าเราติด

“ทีน้พี อรูต้ วั ก็เครียดเลย เราไม่คดิ ว่าเราจะมาถึงขัน้ นี้ ต่างจากคนอื่นๆ ทีบ่ อกว่าตัวเองติดเพื่อความเท่ แต่ผม
ไม่ เพราะด้วยความทีม่ นั มีภาพบางภาพตอนเด็กๆ เคยเห็นคนตายคาโอ่งโดยทีเ่ ข็มยังคาปกั อยูเ่ ลย เรากลัว
ตกใจ ไม่อยากจะตาย แต่มนั หยุดไม่ได้แล้ว เพราะอาการตรงนัน้ มันยิง่ ห่างยามากเท่าไหร่ มันยิง่ ต้องการมาก
ขึน้ มันเรียกร้อง

“พอติดแล้วมันเลิกไม่ได้ ตื่นมาไม่เสพ ไม่สามารถมีชวี ติ ปกติได้เลย หนาวในกระดูก สัน่ ไม่มแี รง จินตนาการ


ถึงคนทีเ่ ป็ นไข้หวัดใหญ่ทป่ี ว่ ยจนลุกแทบไม่ขน้ึ แล้วคูณด้วยสองหรือสามเท่าเข้าไป ผมไม่ยอมปล่อยให้ตวั เอง
เป็ นอย่างนัน้ เด็ดขาด ต้องดิน้ รน หาซือ้ ให้ได้ รวมเงินกับเพื่อนหาซือ้ หางานทาทีไ่ ด้เงินทีด่ กี ว่าโดยคุณพ่อ
ฝากงานให้เพราะท่านไม่รู้

“ทีน้ี จุดผงขาวมันก็พฒั นาไปเรือ่ ยๆ ทัง้ ความต้องการยาและราคา จนช่วงราวปี 2536-2537 ปริมาณเท่าเดิม


300 บิก๊ แต่ราคา 9,800 บาท ผมเลิกตอนนัน้ เลิกขาดเลย เพราะต้องไปกูห้ นี้เขามา คือเพื่อนบางคนรูว้ ่าติด
แต่กส็ งสารให้ยมื ไม่อยากให้ทรมาน เพราะถ้าไม่มบี างทีทางานไม่ได้เลย ไม่สามารถทีจ่ ะยืนทาอะไรได้เลย
133

ไปยืมมาตอนเช้า ไปซือ้ โดนเชิด นังรถไปอ้


่ อนวอนอีกครัง้ ก็โดนเชิดอีก ต้องนอนรอยาตรงโต๊ะหินหน้าชุมชนที่
เด็กเจีย๊ วจ๊าวกันสนุกสนาน แต่ผมได้แต่อ๊อกอ้วก เนกไทห้อย จะลุกยังไม่ไหว มองเด็กๆ แล้วมันก็มคี วามรูส้ กึ
ว่าชีวติ เรามันเป็ นอย่างนี้หรือวะ มันต้องเป็ นอย่างนี้เหรอ ตลอดไปไหม

“พยายามขบคิดว่าต้องลุกขึน้ มาทาบางอย่างแล้ว ก็เลยรวบรวมเรีย่ วแรงเฮือกสุดท้าย ลุกลากสังขารกลับบ้าน


รอจนพ่อกลับมา คุยกับเขา ผมติดยา”

“พ่อผมติดผง”
แต๊กสารภาพความรูส้ กึ จริงทัง้ คาพูดและน้าตาอย่างไม่ปิดบัง เพราะด้วยความทรมานจากฤทธิยาที
์ ว่ ่าเลวร้าย
แล้ว ความรูส้ กึ ผิดกับชีวติ ของตัวเองยังกระหน่ าซ้าเติมรุนแรงยิง่ กว่า

“เราคิดว่าไม่มใี ครรักเรา แต่พอหลังจากบอกคุณพ่อสัน้ ๆ 4 คา โล่งเลย คุณพ่อหยุดลางานยาวเพื่อทีจ่ ะพาผม


ไปกินยาศูนย์ทบ่ี ่อนไก่ทุกวัน ต้องไปกินยาทุกเช้า เป็ นช่วงทีอ่ ยูใ่ กล้พ่อทีส่ ดุ ช่วงหนึ่งเลย เป็ นเดือนๆ ทีเ่ ราไป
ด้วยกันทุกวัน ซึง่ ผมมองเห็นแล้วว่าพ่อเขาก็รกั เรา

“ทุกคนรักเรา ทุกคนช่วย แม่คอยทายาแก้ปวดทีร่ อ้ นๆ ให้เราตอนเราหนาว สลับกับน้องชาย เนื่องจากมัน


หนาวเข้ากระดูก เอายาโปะแล้วนอนได้พกั หนึ่ง พอหายความร้อนจากยาทาก็สะดุง้ ตื่น คืนหนึ่งๆ ต้องใช้ 3 - 4
หลอด ทากันทัง้ คืน เพราะหลังจากผมรับยาบาบัด ผมไม่ได้ใช้ยาแบบฉีด ไม่ได้กนิ เมทาโดนทีก่ นิ แล้วเมา
ค่อยๆ ลดอาการอยากเฮโรอีน ผมจะใช้ยาประเภทล้างพิษ จะเพิม่ ปริมาณไปเรื่อยๆ และด้วยฤทธิของยา ์
บาบัดมันจะไปกระตุน้ ความทรมานการอยากยานัน้ ให้เร็วขึน้ เพือ่ ทีจ่ ะหลังเอาพิ
่ ษออกมาทางเหงือ่ หรือขับถ่าย

“ผลคือ 3 วันแรก หอนเหมือนหมาเลย แล้วก็เป็ นอย่างนี้ประมาณ 15 วัน ทรมานมาก กินอะไรก็ไม่ได้ อ้วก


ออกมาหมด แทบจะขาดใจตาย คุณแม่ยงั อยากจะแก้เชือกทีผ่ มให้เขามัดมือเท้ากับขาเตียง เพื่อให้ออกไปซือ้
เพราะกลัวผมจะขาดใจตายตรงนัน้ ”

... ตรงอ้อมอกอุ่นใจของแม่ท่ามกลางร่องน้าตาที่รา้ วราน ...

“คือพลังความรัก ผมเชื่อว่าตาข้างหนึ่งทีม่ นั บอดไป เมื่อตามันบอด มันก็จะเห็นผิด เมื่อมันเห็นผิด มันก็จะเห็น


ผิดอยู่อย่างนัน้ แต่ว่าในช่วงเวลาที่ยงั เห็นผิดอยู่ มันยังมีสานึก อยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะช่วงเวลาที่ลาบาก
ช่วงเวลาทีไ่ ม่มเี งินใช้ ช่วงทีล่ งแดง ช่วงเวลานัน้ ทีม่ นั จะมีสานึกกลับมาอีกครัง้ หนึ่ง พยายามอยู่กบั สานึกนัน้ ให้
มาก แล้วก็ลองกลับไปถามตัวเองอีกครัง้ ว่าจริงๆ ชีวติ เรามีความสุขได้จากแค่เรื่องนี้เหรอ หรือว่าจริงๆ แล้ว
ก า ร ที่ ไ ด้ อ ยู่ กั บ ค น ที่ เ ร า รั ก อ ยู่ กั บ ค ร อ บ ค รั ว มี เ ว ล า พ ร้ อ ม ห น้ า พ ร้ อ ม ต า นั ้ น คื อ ค ว า ม สุ ข

“ลองถามตัวเองอีกครัง้ ว่าตัวเองมีความสุขแค่เรื่องตรงนี้จริงๆ เหรอ แล้วจริงหรือเปล่าทีเ่ รามีความสุข หรือว่า


เรากาลังหลอกตัวเอง เรากาลังปล่อยให้ฤทธิยาหรื ์ ออะไรมาซัปพอร์ตเราแค่นนั ้ เอง เรากาลังติดความสุขทีเ่ รา
ได้จากสิง่ ทีเ่ ราใช้ แต่ความสุขนัน้ มันไม่จริง ความสุขจริงๆ คือการทีเ่ ราได้อยู่กบั สิง่ ทีเ่ รารัก ทาในสิง่ ทีเ่ ราชอบ
อยู่ ร่ ว มกับ คนที่เ รารัก แล้ ว เขารัก เรา มีเ วลาดีๆ ร่ ว มกัน ผมว่ า นั น่ แหละคือ ความสุ ข จริง ๆ ของชีวิ ต
134

“ผมเจอมากับตัว หลังจากผ่านเวลานัน้ เราได้อยู่พร้อมหน้ าพร้อมตากัน ได้กินข้าวด้วยกัน มีความสุข


7 - 8 ปี ที่ ไม่ได้อยู่กนั พร้อมหน้ าพร้อมตา แต่วนั นี้ แค่ผดั กะเพราเนื้ อที่ คณ
ุ แม่ชอบทาให้คณ
ุ พ่อเพราะ
คุณพ่อชอบ ไข่เจียวจานใหญ่อีกหนึ่ งจาน เสร็จแล้วนั ง่ ดูหนังพร้อมๆ กัน แค่นี้เราก็มีความสุข ผม
อยากให้ย้อนคิ ด ทัง้ คนที่อยู่ในขัน้ ตรงนัน้ แบบผมหรือคนที่ยงั ไม่ได้เข้าไปถึงจุดนัน้ เราเลือกได้”

ชีวิตยังมีพรุง่ นี้ เสมอค้นให้เจอทางที่ใจเราต้องการ

“ข้อสาคัญอีกอย่างหนึ่งที่จะเป็ นทัง้ เกราะป้องกันและวิธกี ารหลีกเลีย่ งไม่ให้เราหลงผิด คือความหวังและการ


เคารพตัวเอง”

แต๊กเผยถึงสาเหตุอกี ประการของผูท้ ่หี นั มาใช้ยาเสพติดและผู้ทเ่ี ลิกแล้วก็ยงั หวนกลับคืนสู่โลกมายาขุมนรก


เช่นเดียวกับเขา

“คือตอนนัน้ กลับไปมีชวี ติ ทีด่ แี ล้ว ไปเรียนการศึกษาผูใ้ หญ่ (กศน.) จนจบ ม.3 แล้วไปเรียนทีโ่ รงเรียนศิลปะ
พระนคร แล้วก็เริม่ เล่นดนตรีกบั เพื่อนๆ เป็ นนักร้องนา ทาวงเล่นกลางคืนบ้าง เป็ นพาร์ตไทม์ ทุกอย่างเป็ นไป
ได้สวย แต่เราก็ไปข้องเกี่ยวกับยาเสพติดอีก เนื่องจากเราไม่เข้มแข็งพอ เราทาเพื่อคนอื่น เราไม่ได้ทาเพื่อ
ตัวเองอย่างจริงจัง คือการทาเพื่อคนอื่น เราจะทาได้ไม่นาน ซึง่ ช่วงทีเ่ รียน จริงอยู่ทเ่ี ราเลิกได้ แต่ เราเลิกเพราะ
กลัว เลิกเพราะคุณพ่อคุณแม่ ตัวเรายังไม่เจอหนทางที่ตวั เองรักและจะทาเพื่อมันจริงๆ ดนตรีทเ่ี ข้ามาก็ยงั
ไม่ได้เป็ นรูปร่างอะไรนัก เราก็ยงั เหมือนเคว้งๆ เพราะพอทุกอย่างดีขน้ึ เราก็กลับไปใช้ชวี ติ ต่างคนต่างใช้ คุณ
พ่อกับคุณแม่แยกทางกัน โอกาสตรงนี้มนั ก็สามารถแทรกเข้ามาได้ โดยเฉพาะถ้ายังมีสภาพแวดล้อมเรื่องนี้อยู่
แม้เพียงน้อยนิด

“ผมก็กลับมาติดยาอีกครัง้ เมื่อไปเรียนที่นัน่ ผงขาวกลับมาระบาด แต่ เราไม่เอาผงขาวแล้ว เบรกเด็ดขาด


์ น ก็เอาตรงนี้มาตัดแทน ทว่าพอไปเล่นปุ๊บ สิง่ ทีม่ นั เกิดขึน้ คือ
เพราะมีบทเรียน แต่ยาบ้าเราไม่รู้ ไม่รฤู้ ทธิของมั
ไอเดียต่างๆ พลุ่งพล่าน อะดรีนาลีนหลัง่ กลายเป็ นชอบไปเลย ออกแบบเอย เวลาวาดรูปเอย เห็นอะไรคิดเป๊ะ
ไปหมด กลายเป็ นชอบฟีลอารมณ์ของมัน ก็กลับมาติดอีกครัง้ ”

จากทัง้ ประสบการณ์ ทัง้ อายุที่เพิ่ มมากขึ้นในช่ วงเรียนมหาวิ ทยาลัย การหวนคืนวงการในครัง้ นี้ จึง
นาพาชีวิตของเขาไปไกลสุดเขตแดนสังคม เช่นเดียวกับสิ่ งที่เขากาลังจะบอกเล่าถึงกุญแจสาคัญที่จะ
ปลดล็อกชีวิตให้ห่างไกลยาเสพติ ด

“หลังกลับมาเสพยา ผมก็โดนจับอีกครัง้ หนึ่ง ข้อหาฐานมียาเสพติดในครอบครองจานวน 1 เม็ด ที่ สน.ทุ่ง


มหาเมฆ ได้ประกันตัวออกมา ก็เอาอีก คือเราไม่ดเี อง มันติด สุดท้ายก็โดนจับอีกครัง้ เป็ นครัง้ ทีส่ องหลังจาก
ศาลตัดสินรอลงอาญา ครัง้ ที่สองตัดสิน 1 ปี 6 เดือน ครัง้ นี้คอื ก้าวแรกของเรือนจา กลัวมาก กลัวเหมือนใน
หนัง กลัวว่าเขาจะมาทาอะไรเราไหม ซึ่งก็น่ากลัวอย่างที่เป็ น เพราะก็จะมีคนเก่าหลอกคนใหม่ หลอกหา
ประโยชน์จากคนทีเ่ ข้ามาอยู่ใหม่แบบไม่มคี วามรูอ้ ะไร ก็จะโดนเอาของกินของใช้ไป แต่โชคยังดี เราได้เข้าไป
อยู่ในแดนชุมชนบาบัด เป็ นแดนผูต้ อ้ งขังทีใ่ ช้ยา
135

“ครัง้ ที่สอง ออกมาก็เริม่ จะสานึก แต่กย็ งั ไม่ได้ เพราะพอออกมา สิง่ ที่เราจะได้ยนิ ในหูเสมอๆ คือไอ้ขค้ี ุกๆๆ
ไม่รเู้ ป็ นอะไร ถ้าเขาไม่ว่า เราก็จะว่าตัวเอง บวกกับความผิดหวังในเรื่องความรักด้วยในตอนทีอ่ อกมา ก็เลย
ทาให้เป็ นจุดหักเหที่ทาให้ผมรู้สกึ ว่าผมไม่รกั ตัวเองแล้ว แล้วก็ทาทุกอย่างได้ ตอนนัน้ ได้ยนิ ว่าครอบครัวมี
ปญั หา ในขณะทีเ่ รายังหมกตัวอยู่กบั ปญั หาของเรา เรื่องค่าเทอมของน้อง เรื่องค่าใช้จ่ายภายในบ้าน แล้วคุก
มันสอนเราสองอย่าง มันมีทงั ้ ด้านดี ให้เราเลือก และมีดา้ นเลวให้เรารูจ้ กั เราเป็ นคนที่ชอบเรียนรูอ้ ยู่แล้ว ก็รู้
เรียนทัง้ สองด้าน ครบควบวิชา พอออกมาอยู่ในภาวะที่บางครัง้ ต้องตัดสินใจเพื่อความอยู่รอด เป็ นธรรมดา
จากทีเ่ สพ โดนจับครอบครอง ก็กลายเป็ นขาย จาหน่ าย เพราะไปรูจ้ กั กับคนขาย แล้วมันเป็ นการไปคอนเนก
ชั น กั น ไ ปสร้ า ง เครื อ ข่ า ย กั น มั น เป็ นอย่ า งนั ้ น มั น เป็ นคว า มเห็ น ผิ ด นั บ จา กวั น นั ้ น อี ก ครั ้ง ”

และนันก็
่ นามาซึง่ การติดคุกครัง้ ที่ 3 ครัง้ ที่ 4 ในระยะเวลาแค่ไม่กป่ี ี กระทังหนั
่ กสุดในครัง้ ที่ 5 ห่างกันถึงเกือบ
10 ปี สาหรับการจาคุก

“ทีจ่ ริง ผมควรจะคิดได้ตงั ้ แต่ออกจากเรือนจาในรอบที่ 4 แล้ว เพราะว่าผมออกมาตอนรอบนัน้ ผมรูจ้ กั พระเจ้า


แล้ว และผมได้รบั การช่วยเหลือดูแลจากกรมประชาสัมพันธ์ ครูโฉมฉาย อรุณฉาน อดีตท่านเป็ นผูอ้ านวยการ
ส่วนบริหารการดนตรีของกรมประชาสัมพันธ์ ปจั จุบนั ท่านเป็ นทีป่ รึกษาผูอ้ านวยการสถานีกรมประชาสัมพันธ์
(สทท.11) ทาให้ผมได้รวู้ ่ารักในการร้องเพลง รักในดนตรี แต่ผมก็ไปหลงใหลในชื่อเสียงทีม่ อี ยู่น้อยนิด คือเรื่อง
ของเรื่องทีผ่ มไปค้นพบเจอ ครูโฉมฉายท่านเข้ามาสอนร้องเพลงในเรือนจา คอร์ส 50 ชัวโมง ่ แล้วเราได้เข้าไป
อบรมไปเรียนรู้ เราชอบเราทาได้ ผมกลายเป็ นเพชรในรุ่นเลย แล้วท่านก็พาเรามาปนั ้ มาหัด มาร้องเพลงสุนท
ราภรณ์ ออกมาก็ให้ทางานอยู่ทก่ี รมประชาสัมพันธ์ ก็มรี ายการทีวมี าถ่ายชีวติ มีนนมี ั ่ น่ี ผมก็เริม่ หลง หลงว่า
ทัง้ หมดนี้คอื ความสามารถของตนเอง ใช้เงินแบบสุรุ่ยสุร่าย เงินทีม่ ไี ม่เยอะอยู่แล้วก็เริม่ ไม่มี ก็เข้าวงจรเดิม มี
ปญั หา ก็แก้แบบเดิมๆ ขาย ขายไปมาแล้วเสพ

“คือสุดท้ายก็กลับมาไม่มคี วามหวัง ไม่มคี วามเคารพในตัวเอง ทัง้ ๆ ทีค่ รูท่านให้กาลังใจ แล้วผมรูส้ กึ ว่าจริงๆ


แล้วครูเขาเป็ นคนอีกระดับหนึ่ง แต่ เขาให้โอกาสผมมากกว่าใครหลายๆ คนในกรม ซึง่ อยู่มาก่อนหน้าด้วยซ้า
ครูดนั ผมขึน้ เป็ นดาว ถึงขัน้ มาร้องเพลงบนอนุ สาวรียป์ ระชาธิปไตย มอนิเตอร์จบั ภาพแล้วผมแต่งเพลงถวาย
136

ในหลวงรัชกาลที่ 9 ร้องเพลงในวันเฉลิมพระเกียรติ ผมได้รบั เกียรติสูงส่งมาก ได้รบั โอกาส ได้รบั ทุกอย่าง


ความรูส้ กึ เหมือนทีต่ อนเลิกยาครัง้ แรก ความรูส้ กึ เหมือนท่านเป็ นครอบครัว เป็ นพ่อคนทีส่ องทีใ่ ห้โอกาส ผม
รักท่านมาก แต่กเ็ ป็ นทีต่ วั ผมเอง เลยไม่เกิดการเปลีย่ นแปลงทีม่ พี ลังมากพอ

“ครัง้ ที่ 5 ผมก็เลยโดนจับอีกครัง้ โทษทัง้ หมด 7 ปี 6 เดือน แต่กถ็ ือว่าโชคยังดี เข้าไปคราวนี้ ได้กลับไปอยู่
แดนเดิม กลับไปอยู่แดนทีเ่ ป็ นดนตรี แดนทีส่ ร้างเรามา เขามีโปรแกรมพัฒนาชีวติ อะไรต่างๆ ซึง่ มันกลายเป็ น
ว่าเราได้วุฒภิ าวะเป็ นผูน้ าจากตรงนัน้ เพราะว่าเรากลายเป็ นนักกิจกรรม ชอบเรียนรู้ เหมือนเราโตในนัน้ เลย
เราเป็ นผู้มหี น้าที่ดี เป็ นรุ่นพี่ท่คี นอื่นนับถือในทางที่ดี แต่ ภูมติ ้านทานตรงนัน้ มันกลับไม่ได้เอามาใช้ตอนที่
ออกมาอยู่ในสังคม

“รอบที่ 5 เข้ามาก็เลยเหมือนดัดนิสยั อีกครัง้ เพราะครัง้ นี้พผ่ี คู้ ุมทีน่ บั ถือ พีเ่ สกมนตร์ สัมมาเพ็ชร์ เขาไม่ให้เรา
แตะเครื่องดนตรีเลย แต่กข็ อบคุณพีเ่ ขามาก เขาเหมือนดัดสันดานเรา เพราะก่อนหน้านัน้ ช่วงรอบที่ 4 คือแก
รักผมมาก ก็เลยกลายเป็ นว่าไม่น่ากลับมาอีก กลายเป็ นเหมือนหมาจริงๆ เพราะเคยพูดไว้ว่าถ้ากลับมา ผม
เป็ นหมา และผมก็กลับมาจริงๆ สุดท้ายต้องยอมรับ ผมเลวจริงๆ คิดไม่ได้เอง ไม่มใี คร เราเองล้วนๆ สุดท้าย
แล้วกลับ เข้าไปจับไม้ก วาด 2 ปี ไปเป็ นโยธากวาดขยะ ท างานต่ า งๆ ที่ใช้แรง แต่ ก็ย ังแอบเป็ นคนคิด ดี
เหมือนเดิม ออกกาลังกาย เพราะว่าผมรูส้ กึ ว่าผมเป็ นประเภททีอ่ ยู่คุกเป็ นแล้ว ไม่นอน ไม่ชอบนอนหนีความ
จริง อยู่กบั ความเป็ นจริง อะไรทีส่ ร้างประโยชน์ได้ เราทา”

จนกระทังทางศู
่ นย์เปิ ดรายการโทรทัศน์ ในวันเสาร์ที่ 9 กันยายน 2555 ซึ่งเป็ นเทปแรกที่ ออกอากาศ
แม้ ว่ า ตนจะไม่ มี โ อกาสได้ ท าตรงนั ้น แต่ ก็ ห ล่ อ เลี้ ย งความฝั น ที่ โ ลดเร่ า อยู่ ลึ ก ๆ ภายในใจ

“เหมือนกับว่า ชีวติ ทีผ่ ่านมา เราหนี ตอนนี้เราก็เริม่ สู้ ลุกขึน้ ทาอะไรเพื่อตัวเอง ลงเรียนหนังสือ ช่วงเวลาทีย่ งั
ไม่ได้แตะเครื่องดนตรี แต่กห็ วังจะได้รบั การยอมรับอีกครัง้ ได้แต่แอบเล่นเพราะเรารักดนตรี และเราได้เห็น
รายการทีเ่ ป็ นเหมือนลูกแก้ววิเศษ คือถ้าเราออกไปก็จะอายุเกือบ 40 หนทางด้านดนตรีมนั ก็รบิ หรี่ แต่รายการ
เดอะวอยซ์เป็ นเวทีท่ใี ช้ความสามารถ ไม่ใช้หน้าตา ก็ทาให้เรามีความหวัง ผมก็เริม่ จากประเมินตัวเองใน
จานวน 8,000-10,000 คน เวลามีงานการประกวดความสามารถร้องเพลง ก็ไม่มีใคร เพราะถ้ามีเขาก็คง
ออกมาโชว์กนั แล้ว ไม่มใี ครเก็บความสามารถในสิง่ ทีต่ วั เองรักเอาไว้

“ผมก็เลยคิดว่าเวทีเดอะวอยซ์น่าจะมีพน้ื ทีส่ าหรับผม ฉะนัน้ ช่วงเวลานัน้ ก็เลยทาให้ผมมีความหวังกับความ


ฝนั ตัวเองขึน้ มาอีกครัง้ ”

วันต่อมา แต๊กก็เริ่มฝึ กซ้อมแล้วก็ซ้อม กระทังโอกาสเปิ


่ ดให้ได้ร้องเพลงร่วมวงดนตรีเก่าก่อนอีกครัง้
เนื่ องจากนักร้องตาแหน่ งเดิ มพ้นโทษออกไปในจังหวะที่ รายการเจาะใจเข้าไปถ่ายทารายการช่ วง
เดอะโมเมนต์ที่ 3 ของนักร้องนาขวัญใจชาวไทยผูม้ อบพลังชี วิตกาลังใจ “ตูน บอดี้สแลม” หรือ “อาทิ
วราห์ คงมาลัย”

“คือเข้าใจว่าเขาเป็ นไอดอลเรา ซึ่ง เรามองเป็ นพลังอยู่แล้ว เราก็รู้สกึ ดี แล้วเราก็ได้นัง่ คุยกัน ทัง้ ในเนื้อหา
รายการและส่วนตัว พีต่ ูนเขาก็ถามว่าขาดเหลืออะไรไหม แล้วเขาก็ให้กตี าร์โปร่งไฟฟ้าตัวหนึ่ง ตามคาพูดเขา
เลย ซึ่งไม่มีใ ครคิด มีแ ต่ ค นคิดว่ าเขาพูดไปอย่ างนัน้ เพราะเวลามัน ผ่า นไป 3-4 เดือ นหลัง จากออนแอร์
137

“แต่ในระหว่างทีก่ ตี าร์ยงั ไม่มาถึง มันส่งผลกระทบใหญ่หลวงต่อเรา เพราะพีต่ ูนเขาเขียนโน้ตในกระดาษแผ่น


หนึ่งให้ผม พีต่ ูนเขียนข้อความไว้สนั ้ ๆ ว่า “แต๊กร้องเพลงเพราะมากนะครับ หวังว่าจะได้รอ้ งเพลงร่วมกันอีก
ขอให้โชคดี” ซึ่งข้อความนัน้ หมายความว่าเราต้องออกไปแล้วไม่กลับมา เหมือนกับเขาบอกว่าสูน้ ะ ออกมา
แล้วก็ทาตามความฝนั อีกครัง้ ”

ในระยะเวลา 4 ปี ทเ่ี หลือ จึงเริม่ จากเลิกบุหรี่ หันมาออกกาลังกายหลังจากซ้อมร้องเพลงในแต่ละวันทีม่ เี วลา


เพียง 6 ชัวโมงครึ
่ ง่ ตัง้ แต่ 08.00 นาฬิกา และก่อนเข้านอนตอนบ่าย 3 โมง

“ผมไม่รวู้ ่ามันเป็ นเรื่องเล็กหรือเปล่า แต่เชื่อไหมว่าไอ้ชยั ชนะตรงนี้มนั เป็ นชัยชนะตัวเดียวกันทีท่ าให้ผมมีวนั นี้


คือความที่เ รากล้าที่จ ะปฏิเสธบางอย่า งที่มนั ไม่ดีในชีวิต ของเรา ก็คือเลิกบุ หรี่ ผมเลิกเพราะเดอะวอยซ์
อธิษฐานขอกาลังใจจากพระเจ้า แล้วผมเลิกบุหรีเ่ พราะว่าผมมีความหวังแล้ว แล้ วก็อยากจะเป็ นคนทีม่ เี สียง
ทรงพลังเหมือนกับคนอื่นทีเ่ ราเห็น ฉะนัน้ เราต้องเลิกบุหรี่ จากต่าสุดสูส่ ามัญ ต่างจากสูงสุดคืนสูส่ ามัญ เพราะ
ผมพัฒนาจากบุหรี่ ไล่ไปเรื่อยๆ จนผงขาว เป็ นยาบ้า ทุกอย่าง ณ เวลานัน้ มันขาวขึน้ เรื่อยๆ จนสุดท้าย บุหรี่
ผมเลิกได้

“ผมไม่อยากเชื่อเหมือนกันว่า พอเราเลิกบุหรีไ่ ด้ ดูแลตัวเอง เริม่ วิง่ การออกกาลังกายง่ายๆ มันกลับทาให้รา


รูจ้ กั ตัวเองขึน้ เรื่อยๆ เวลาทีเ่ ราวิง่ เราจะเหนื่อย แต่พอเรามีความหวัง เรามีเป้าหมาย แม้จะท้อบ้าง แต่จะต่อสู้
ข้างในจิตใจตลอดเวลา หยุด แค่ยอมหยุด แต่อกี ข้างหนึ่งสูๆ้ เรากาลังหักล้าง และพอเราสูไ้ ปเรื่อยๆ บ้างครัง้ ก็
แพ้ บางครัง้ ก็ชนะ แต่มนั ก็พฒ ั นาขึน้ เรื่อยๆ จาก 10 - 20 ไปถึง 100

“ทีน้ี พอทาได้กเ็ ริม่ กลายเป็ นวินัยกับพฤติกรรมทีม่ นั เปลีย่ นแปลงไปในความคิด เราเริม่ คิดบวกทุกอย่าง ทา


ทุกอย่างแบบมีความหวัง เราก็มแี รงใจ ผมกาลังจะทาสิ่งทีต่ วั เองภูมใิ จสักครัง้ ในชีวติ แม้ว่าหลายๆ คนจะไม่
เชื่อ แม่ ก็คิดว่ า ผมพูด เพ้อ เจ้อ แต่ ก็ไ ม่ รู้สกึ อะไร ผมรู้สึก ว่า ผมชัด เจน ออกมาใช่ว่ า หมดระยะโทษ แต่ มี
เป้าหมายพ่วงมาด้วย บวกกับความเชื่อในเงินทีไ่ ด้จากการขายยา ผมไม่เชื่อแล้ว ผมโดนจับครัง้ ล่าสุด ผมมี
เงินมากทีส่ ุดแล้วตอนนัน้ มีเงินเกือบล้าน แต่ผมจาได้ว่าตอนนัน้ ผมคิดถึงพะโล้ถ้วยทีผ่ มทุบเอาเงินในกระปุก
ไปซือ้ มากิน มากกว่าไปเดินร้านสะดวกซือ้ ครัง้ ละ 5,000 บาท

“มันไม่ได้ตอบโจทย์อะไรเลยครับเงิน ชีวติ ทีม่ เี งิน มันสะดวกสบายก็จริงอยู่ แต่ชวี ติ ทีไ่ ด้ทาในสิง่ ทีเ่ รารัก มันมี
พลังมากว่า ผมออกมาด้วยความเชื่ออย่างนัน้ แม้จะไม่ทนั โลก ไม่รู้จกั โปรแกรมแชตไลน์ ไม่มเี ฟซบุ๊ก ก็มา
ศึกษาจาก Google มันเป็ นเกราะป้องกันทีด่ มี ากๆ ผมไม่กลับไปอะไรอีกเลย ผมรูส้ กึ ว่าผมเป็ นคนใหม่จริงๆ
เราไม่ขาวก็จริง แต่ไม่ดาแล้ว คือใจเราเป็ นทีต่ งั ้ ใจทีม่ คี วามหวังและเห็นคุณค่าตัวเองทีเ่ ราเริม่ กลับมาเชื่ออีก
ครัง้ ว่าเรามีคุณค่า

“จากทีผ่ ่านมา ทาให้รวู้ ่าคนเรามันมีทางของมัน เรามีทุกคน เรามีทางของเรา ทีจ่ ะภาคภูมใิ จในสิง่ ทีต่ วั องเป็ น
ผมเชื่อว่าทุกคนเกิดมาพร้อมกับสิง่ ที่ตวั เองถนัด อย่างให้ผมไปซ่อมรถ ผมก็ซ่อมไม่ได้ ไม่เก่ง ก็คงต้องไป
138

พึง่ พาคนทีเ่ ขาชอบทาสิง่ เหล่านี้ เราเพียงแต่ตอ้ งหามันให้เจอ คว้ามันให้ได้ ว่าอะไรคือสิง่ ทีเ่ รารัก แล้วอะไรคือ
สิง่ ทีเ่ ราจะใช้ชวี ติ ได้อย่างมีความสุข”

หลังจากพ้นโทษ แม้ชีวิตจะลุ่มๆ ดอนๆ ทัง้ ความรูแ้ ละประสบการณ์สงั คมโลกภายนอกซึ่งล้าหลังกว่า


คนอื่นๆ ถึงเกือบ 10 ปี แต่กระนัน้ แต๊กก็ไม่เคยคิ ดย่นย่อท้อถอย

“เพราะคิดเพราะเชื่อตลอดว่าเรามีดมี ากพอ เราเคารพตัวเอง มันก็กลับมารักตัวเอง คือช่วงเวลาติดคุกตัง้ แต่


รอบหนึ่งถึงสี่ มันเกิดจากความไม่รกั ตัวเอง แต่ตอนนี้เรารักตัวเองแล้ว ดังนัน้ ถึงจะลาบากตอนออกมา ไม่ มี
บ้านอยู่ ต้องไปอาศัยบ้านลุง แล้วก็ตระเวนเล่นดนตรีกลางคืน บางทีจ้างบ้าง ไม่จ้างบ้าง ซึ่งมันก็ไม่มอี ะไร
แน่นอน เป็ นหนึ่งปี เต็มๆ ทีร่ ะหกระเหิน แต่ไม่ย่อท้อ

“สูอ้ ย่างนัน้ เกือบปี วันทีร่ อคอยก็มาถึง (ยิม้ ) ประกาศออดิชนซี


ั ่ ซนั 5 เราก็สง่ คลิปเพลง “ตัวร้ายทีร่ กั เธอ” เข้า
ไป ก็ไม่คดิ ว่าจะได้ เพราะทัง้ ๆ ทีต่ วั เองเตรียมตัวมาเยอะมาก แต่พอถึงเวลาจริงๆ ตื่นเต้น คิดไม่ออก บวก
เงื่อนไขเกินไม่ได้ 1.00 นาทีตอ้ งเป๊ะ ไม่อย่างนัน้ อัปโหลดไม่ได้ แต่ปรากฏว่าผ่านการคัดเลือกจากทัง้ หมด
25,000 คลิป คัดไปเหลือ 300 คลิป แล้วไปร้องสดทีศ่ ูนย์การประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ ครั ิ ์ ง้ หนึ่ง

“ถึงขัน้ ตอนนี้ ในใบสมัครก็จะมีให้กรอกประวัติ ผมก็เลยเขียนไปหมดเลย เพราะส่วนหนึ่งเรามีความรูส้ กึ ว่าเรา


อยากจะเปิ ดเผยนะ ถ้าสาเร็จดังทีต่ งั ้ ไว้ ได้ไปยืนตรงนัน้ จริงๆ ไม่รจู้ ะว่าผ่านถึงรอบไหน โค้ชท่านจะหันไม่หนั
แต่ถอื ว่าทาตามคาพูดทีเ่ คยประกาศในเรือนจา อย่างน้อยเราได้ทา และมันเป็ นพยานยืนยันได้วา่ แม้กบั คนที่
มันใช้ชวี ติ ติดลบมาก ก็สามารถทีจ่ ะเริม่ ต้นใหม่ได้ ถ้าเรามีความหวัง สุดท้ายก็เลยเขียนไปละเอียด

“และในวันนัน้ ทีร่ อ้ งเพลงแรกก่อนรอบบลายด์ออดิชนั ่ ผมร้องเพลง ‘ไม่อยากหลับตา’ แต่รอ้ งไม่ได้เรื่องเลย


เนื่องจากตื่นเต้นมาก วันนัน้ รูเ้ ลยว่าเราไม่ได้รสู้ กึ จริงๆ เรากาลังใช้สมองร้อง กลัวเขาจะฟงั ไม่เพราะ ซึง่ มัน
ต่างกันกับความรูส้ กึ เขาไม่โอเค แต่ตอ้ งขอบคุณกรรมการอีกท่านหนึ่ง ผมไม่รวู้ าเขาคือใคร เขาดูใบสมัคร
แล้วบอกน้องครับ พีถ่ ามอย่างนี้ดกี ว่า มีเพลงอะไรทีม่ นั ซัปพอร์ตน้องช่วงเวลานัน้ เราก็รแู้ ล้วว่าเขาหมายถึง
ช่วงเวลาทีเ่ ราอยู่ในเรือนจา มันเป็ นหนึ่งนาทีทเ่ี งียบมากในห้อง ทัง้ ๆ ทีม่ คี นอยู่ประมาณ 10 กว่าคน รออยู่ว่า
ผมจะร้องเพลงอะไร แล้วอยู่ๆ ภาพมันก็ขน้ึ มา แล้วเพลงทีม่ นั เป็นภาพในเรือนจา

“ดึกแล้ว จะนอนก็นอนไม่หลับ เฝ้านับ…เร่งวันและเวลา


คิดถึงคนไกล นานแล้วไม่เห็นหน้า คิดถึงแววตา คิดถึงรัก จริงใจ
พรุ่งนี้…ชีวติ ยัง ต้องสู้ ไม่ร…
ู้ จะเหนือ่ ยจะล้า เพียงใด
แต่ฝนั ต้องเป็ นจริง ฉันต้องทาให้ได้ เพราะรูว้ ่าทาเพือ่ ใคร คนนัน้ …ทีร่ อฉันอยู”่

“คือเราตื่นมาตอนตีหนึ่งตีสอง บางคนนอนเขียนจดหมาย บางคนก็ยงั นอนมองลอดลูกกรงออกไป คิดถึงคนที่


บ้าน มันก็เลยเป็ นเพลงทีม่ นั เต็มไปด้วยความรูส้ กึ จริงๆ ก็เลยผ่าน จนเข้ามา 90 คนสุดท้าย ได้เซ็นสัญญา นัน่
คือได้ขน้ึ เวทีจริงๆ แล้วทีโ่ ค้ชจะหันมาหรือไม่หนั ตอนนัน้ ณ วันนัน้ คือเราสาเร็จแล้ว วันนัน้ คือขึน้ ไป จ้องผล
จะเป็ นอย่างไรก็ช่าง ผมถือว่าสาเร็จแล้ว และวินาทีทพ่ี ก่ี อ้ งหันมา ผมไม่เห็นหน้าพีก่ อ้ งเลย ผมเห็นภาพพีน่ ้อง
139

ในเรือนจาเขากระโดด เห็นเวลาเขาดีใจ เขาจะเฮกันแบบว่ากระทืบพืน้ พร้อมกันแล้วมันจะดังมาก เรือนจามัน


จะสันสะเทื
่ อนทัง้ เรือนอาคารสองชัน้ แล้วก็เขย่าลูกกรง

“มันเห็นภาพนัน้ ทันที ภาพทีเ่ รากาลังหว่านเมล็ดแห่งความสาเร็จเข้าไปในหัวใจเขา ชีวติ เริม่ ต้นได้จริงๆ แล้ว


พอมาจนถึงรอบ 4 คนสุดท้าย ผมยิง่ มันใจใหญ่
่ ว่า ผมกาลังได้รบั พรบางอย่าง พรอันนี้ทก่ี าลังส่งไปให้คนอื่น
และนี่คอื เข็มทิศที่กาลังจะเดินต่อไป ที่จะไปส่งต่อแรงบันดาลใจให้กบั พีน่ ้องในเรือนจาหรือใครก็ตาม ผมจึง
บอกเป็ นสัญญาใจทีว่ ่า ผมจะทาคอนเสิรต์ เผยแพร่ให้พน่ี ้องในเรือนจา เพราะผมรูส้ กึ ว่าผมทาร้ายประเทศนี้มา
เยอะแล้ว ทาร้ายครอบครัวพ่อแม่พน่ี ้อง คือเขาก็ยงั ไม่อยากได้อะไรจากเรา เขาแค่อยากเห็นเราดูแลตัวเองได้
ถึงจุดทีส่ ร้างความภาคภูมใิ จให้พ่อแม่พน่ี ้องได้ ทุกคนภูมใิ จดีใจกับสิง่ ทีเ่ ราเป็ น

“แล้วทีน้ี พอเราได้เป็ นผูใ้ ห้บา้ ง มาลองเป็ นอาสากูภ้ ยั ด้วยตอนนี้ ซึง่ ผมอาจจะไม่ได้รวยเอาเงินทองไปให้เขา


แต่ผมให้สงิ่ ทีเ่ ขากาลังจะเปลี่ยนตัวเอง ให้ชวี ติ เขา ผมไม่ รหู้ รอกว่าคาพูดบางประโยคของผมจะไปแตะต้อง
สัมผัสหัวใจของเขาหรือเปล่า แต่ทแ่ี น่ๆ ชีวติ ผมเป็ นพยานได้ว่าชีวติ มันเริม่ ใหม่ได้จริงๆ จากคนทีม่ นั กเฬวราก
เลยนะชีวติ มันหกคะเมนตีหลังกา และพอเรารักที่จะคิดดี รักเชื่อในสิง่ ที่ถูกต้อง ชีวติ มันก็ดี ถึงแม้วนั นี้จะมี
เรื่องไม่ดี คนไม่ดพี ยายามมาเหมือนเดิม แต่มนั ก็จะโดนกระแทกออกไป โดยตัวเขาเองก็เหมือนรูต้ วั ว่าเราไม่
เหมือนเดิมแล้ว เราไม่ใช่คนแบบนัน้ แล้ว เขาก็จะค่อยๆ หายไปเอง บางคนชอบ เกรงใจ แต่ครัง้ นี้เรารูส้ กึ ว่า
ถ้าเพื่อนทีก่ าลังจะพาเราไปในเรื่องที่ไม่ดี เขาไม่ได้รกั เรา บวกกับ เรามีเป้าหมายเราใช้ชวี ติ ของเราแล้ว ทุก
วันนี้ไม่ใช่คนขีเ้ หงา อยู่กบั ตัวองได้มคี วามสุข ตื่นเช้ามาออกกาลังกาย

“ความสุขจริงๆ ของชีวติ ไม่จาเป็ นต้องหรูหราฟู่ฟ่า แค่อยู่พร้อมหน้าพร้อมตากันกับข้าวไข่เจียว หนังดีๆ เรื่อง


หนึ่ง มันก็เยีย่ มแล้ว“ทัง้ คนที่อยู่และยังไม่ได้หลงทางเข้าไป อย่าได้ริลองเลย เพราะว่าสิ่ งที่คณ
ุ กาลังจะ
ลองทา ผมเชื่อว่า 100 คน มันน่ าจะมีไม่ถึง 10 คน ที่ ลองแล้วจะบอกว่าไม่ชอบ เพราะสารเคมีพวกนี้
มันประหลาด มันไปทางานกับร่างกายของเรา มันมีผลกับร่างกาย ไม่ใช่จิตใจ มันทาให้สมองเราติ ด
ยา มันเป็ นโรคชนิ ดหนึ่ ง จากที่ ผมได้ศึกษาก็พอเข้าใจว่าเราติ ดความสุข ไม่ได้ติดยา ฉะนัน้ พอเรารู้
แล้วว่าราไม่ได้ติดยา เราติ ดความสุข จงหาความสุขนัน้ ให้เจอ ความสุขที่แท้จริงของชีวิต

You might also like