Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 39

บทสรุปการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21

ตามทักษะการเรียนรู้ 3Rs 8cs ด้านการอ่านออก (Reading)


โรงเรียนทีป ราษฎร์พิทยา ได้ดำเนินงานกิจกรรม เพื่อส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาผู้เรียนให้ มี
คุณลักษณะ และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างต่อเนื่อง ในด้านการอ่านออก (Reading) โรงเรียนได้
ดำเนินงานดังนี้
1. จัดทำบัญชีคำศัพท์พื้นฐานที่นักเรียนต้องอ่าน ในแต่ละระดับชั้น
2. จัดกิจกรรมฝึกการอ่านแจกลูกคำ ผสมคำ นำสู่การอ่านออก
3. เกม เช่น การต่อคำ อักษรไขว้ คำคมวันละนิด เป็นต้น
4. เพลง เช่น ร้องเพลง สระไอ ฯลฯ เป็นต้น
5. แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน
6. จัดให้มีการประเมินผล
7. จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงาน
1. จำนวนผู้เรียนที่ได้รับการพัฒนา
ผู้เรียนที่ได้รับการพัฒนาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา ซึ่งได้รับการ
พัฒนาให้มีทักษะการการอ่านออก (Reading) ตามตารางดังนี้

จำนวนนักเรียนที่ได้รับการพัฒนา (คน)
ระดับชั้น หมายเหตุ
ทั้งหมด ได้รับการพัฒนา ไม่ได้รับการพัฒนา
ม.1 ม.1 454 -
ม.2 ม.2 341 -
ม.3 ม.3 353 -
ม.4 ม.4 252 -
ม.5 ม.5 204 -
ม.6 ม.6 155 -
รวม รวม 1,759 -

2. เอกสาร/หลักฐาน/ร่องรอยทีส่ นับสนุน:
1. แบบฝึกทักษะการอ่านเขียนสำหรับนักเรียน
2. ภาพประกอบการจัดกิจกรรม
3. แนวทางการพัฒนาให้สูงขึ้น :
1.จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการอ่าน จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีนิสัยรักการอ่าน ด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย
3. ใช้แหล่งเรียนรู้ สื่อ เทคโนโลยี ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ
4. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระภาษาไทยให้สูงขึ้น
5. มีการคัดกรอง วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล
6. ส่งเสริมการใช้เทคนิคการสอนที่หลากหลายในการจัดกระบวนการเรียนรู้ เช่นการใช้เทคนิค
กระบวนการกลุ่มการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
7. มีการจัดทำเอกสารหลักฐานและประเมินผลตามสภาพจริง นำผลการประเมินไปพัฒนา

ลงชื่อ...................... อัญชรีย์.......................ผู้รายงาน
(นางสาวอัญชรีย์ มีแสง)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ภาพประกอบการจัดกิจกรรม
การพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
ตามทักษะการเรียนรู้ 3Rs 8cs ด้านการอ่านออก (Reading)
ใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การอ่านอักษรที่ไม่ออกเสียง สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/1
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที่ ......... คาสั่ง ให้นักเรียนเขียนคาอ่านจากคาที่กาหนดให้ถูกต้อง


1. เศรษฐกิจ อ่านว่า ..................................................................................................
2. สร้าง อ่านว่า ..................................................................................................
3. ศรัทธา อ่านว่า ..................................................................................................
4. เสร็จ อ่านว่า ..................................................................................................
5. สามารถ อ่านว่า ..................................................................................................
6. กอปร อ่านว่า ..................................................................................................
7. ปรารถนา อ่านว่า ..................................................................................................
8. เกษตร อ่านว่า ..................................................................................................
9. นักษัตร อ่านว่า ..................................................................................................
10. พราหมณ์ อ่านว่า ..................................................................................................
11. พราหมณี อ่านว่า ..................................................................................................
12. สรรเพชญ อ่านว่า ..................................................................................................
13. จักรพรรดิ อ่านว่า ..................................................................................................
14. กบิลพัสดุ์ อ่านว่า ..................................................................................................
15. กาญจน์ อ่านว่า ..................................................................................................
16. โทรศัพท์ อ่านว่า ..................................................................................................
17. พระลักษณ์ อ่านว่า ..................................................................................................
18. สฤษฏ์ อ่านว่า ..................................................................................................
19. เมรุ อ่านว่า ..................................................................................................
20. สดมภ์ อ่านว่า ..................................................................................................
21. อย่า อ่านว่า ..................................................................................................
22. อยู่ อ่านว่า ..................................................................................................
23. อย่าง อ่านว่า ..................................................................................................
24. อยาก อ่านว่า ..................................................................................................
เฉลยใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การอ่านอักษรที่ไม่ออกเสียง สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/1
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที่ ......... คาสั่ง ให้นักเรียนเขียนคาอ่านจากคาที่กาหนดให้ถูกต้อง


1. เศรษฐกิจ อ่านว่า เสด – ถะ – กิด
2. สร้าง อ่านว่า ส้าง
3. ศรัทธา อ่านว่า สัด – ทา
4. เสร็จ อ่านว่า เส็ด
5. สามารถ อ่านว่า สา – มาด
6. กอปร อ่านว่า กอบ
7. ปรารถนา อ่านว่า ปราด – ถะ – หนา
8. เกษตร อ่านว่า กะ – เสด
9. นักษัตร อ่านว่า นัก – สัด
10. พราหมณ์ อ่านว่า พราม
11. พราหมณี อ่านว่า พราม – มะ – นี
12. สรรเพชญ อ่านว่า สัน – เพ็ด (ญ ไม่ออกเสียง)
13. จักรพรรดิ อ่านว่า จัก – กะ – พัด (สระอิไม่ออกเสียง)
14. กบิลพัสดุ์ อ่านว่า กะ – บิน – ละ – พัด
15. กาญจน์ อ่านว่า กาน
16. โทรศัพท์ อ่านว่า โท – ระ – สับ
17. พระลักษณ์ อ่านว่า พระ – ลัก
18. สฤษฏ์ อ่านว่า สะ – หริด
19. เมรุ อ่านว่า เมน
20. สดมภ์ อ่านว่า สะ – ดม
21. อย่า อ่านว่า หย่า
22. อยู่ อ่านว่า หยู่
23. อย่าง อ่านว่า หย่าง
24. อยาก อ่านว่า หยาก
ใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การอ่านคาทีม่ ี รร (รอ หัน) สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/1
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที่ ......... คาสั่ง ให้นักเรียนเขียนคาอ่านจากคาที่กาหนดให้ถูกต้อง

1. จรรยา อ่านว่า.................................................

2. บรรดา อ่านว่า.................................................

3. มรรคา อ่านว่า.................................................

4. พรรษา อ่านว่า.................................................

5. สรรพากร อ่านว่า ..............................................

6. สรรพนาม อ่านว่า.................................................

7. สรรพคุณ อ่านว่า ................................................

8. สรรพสามิต อ่านว่า .............................................

9. สรรพางค์ อ่านว่า .................................................

10. วรรณยุกต์ อ่านว่า ...............................................

11. ธรรมชาติ อ่านว่า ................................................


เฉลยใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การอ่านคาทีม่ ี รร (รอ หัน) สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/1
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที่ ......... คาสั่ง ให้นักเรียนเขียนคาอ่านจากคาที่กาหนดให้ถูกต้อง

1. จรรยา อ่านว่า จัน – ยา

2. บรรดา อ่านว่า บัน – ดา

3. มรรคา อ่านว่า มัน – คา

4. พรรษา อ่านว่า พัน – สา

5. สรรพากร อ่านว่า สัน – พา – กอน

6. สรรพนาม อ่านว่า สับ – พะ – นาม

7. สรรพคุณ อ่านว่า สับ – พะ – คุน

8. สรรพสามิต อ่านว่า สับ – พะ – สา – มิด

9. สรรพางค์ อ่านว่า สัน – ระ – พาง(ระ ตรงกลางออกเสียงเบา ๆ)

10. วรรณยุกต์ อ่านว่า วัน – นะ – ยุก

11. ธรรมชาติ อ่านว่า ทา – มะ – ชาด


ใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การอ่านบทร้อยกรอง 1 สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/1
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที
คาสั่ .........
่ง ให้นักเรียนเขียนแบ่งจังหวะในการอ่านและอ่านออกเสียงบทประพันธ์ดังต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

กาพย์ยานี 11

ขึ้นกกตกทุกข์ยาก แสนลาบากจากเวียงไชย
มันเผือกเลือกเผาไฟ กินผลไม้ได้เป็นแรง
รอนรอนอ่อนอัสดง พระสุริยงเย็นยอแสง
ช่วงดังน้าครั่งแดง แฝงเมฆเขาเงาเมรุธร
ลิงค่างครางโครกครอก ฝูงจิง้ จอกออกเห่าหอน
ชะนีวิเวกวอน นกหกร่อนนอนรังเรียง
ลูกนกยกปีกป้อง อ้าปากร้องซ้องแซ่เสียง
แม่นกปกปีกเคียง เลี้ยงลูกอ่อนป้อนอาหาร

......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
สรุป กาพย์ยานี 11 มีการแบ่งจังหวะในการอ่านอย่างไร
ตอบ วรรคหน้า แบ่งจังหวะในการอ่าน .....................................................................................
วรรคหลัง แบ่งจังหวะในการอ่าน .....................................................................................
เฉลยใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การอ่านบทร้อยกรอง 1 สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/1
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที
คาสั่ .........
่ง ให้นักเรียนเขียนแบ่งจังหวะในการอ่านและอ่านออกเสียงบทประพันธ์ดังต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

กาพย์ยานี 11

ขึ้นกกตกทุกข์ยาก แสนลาบากจากเวียงไชย
มันเผือกเลือกเผาไฟ กินผลไม้ได้เป็นแรง
รอนรอนอ่อนอัสดง พระสุริยงเย็นยอแสง
ช่วงดังน้าครั่งแดง แฝงเมฆเขาเงาเมรุธร
ลิงค่างครางโครกครอก ฝูงจิง้ จอกออกเห่าหอน
ชะนีวิเวกวอน นกหกร่อนนอนรังเรียง
ลูกนกยกปีกป้อง อ้าปากร้องซ้องแซ่เสียง
แม่นกปกปีกเคียง เลี้ยงลูกอ่อนป้อนอาหาร

ขึ้นกก/ตกทุกข์ยาก// แสนลาบาก/จากเวียงไชย//
มันเผือก/เลือกเผาไฟ// กินผลไม้/ได้เป็นแรง//
รอนรอน/อ่อนอัสดง// พระสุริยง/เย็นยอแสง//
ช่วงดัง/น้าครั่งแดง/ / แฝงเมฆเขา/เงาเมรุธร//
ลิงค่าง/ครางโครกครอก// ฝูงจิง้ จอก/ออกเห่าหอน//
ชะนี/วิเวกวอน// นกหกร่อน/นอนรังเรียง//
ลูกนก/ยกปีกป้อง// อ้าปากร้อง/ซ้องแซ่เสียง//
แม่นก/ปกปีกเคียง// เลี้ยงลูกอ่อน/ป้อนอาหาร//
สรุป กาพย์ยานี 11 มีการแบ่งจังหวะในการอ่านอย่างไร
ตอบ วรรคหน้า แบ่งจังหวะในการอ่าน ช่วงแรก 2 คา ช่วงหลัง 3 คา (2/3)
วรรคหลัง แบ่งจังหวะในการอ่าน ช่วงแรก 3 คา ช่วงหลัง 3 คา (3/3)
ใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การอ่านบทร้อยกรอง 2 สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/1
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที
คาสั่ .........
่ง ให้นักเรียนเขียนแบ่งจังหวะในการอ่านและอ่านออกเสียงบทประพันธ์ดังต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

กาพย์ฉบัง 16

ขึ้นกมสมเด็จจอมอารย์ เอ็นดูภูบาล
ผู้ผ่านพาราสาวะถี
ซื่อตรงหลงเล่หเ์ สนี กลอกกลับอัปรีย์
บุรีจงึ ล่มจมไป
ประโยชน์จะโปรดภูวไนย นิ่งนั่งตั้งใจ
เลื่อมใสสาเร็จเมตตา
เปล่งเสียงเพียงพิณอินทรา บอกข้อมรณา
คงมาวันหนึ่งถึงตน
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

สรุป กาพย์ฉบัง 16 มีการแบ่งจังหวะในการอ่านอย่างไร


ตอบ วรรคที่ 1 แบ่งจังหวะในการอ่าน .....................................................................................
วรรคที่ 2 แบ่งจังหวะในการอ่าน .....................................................................................
วรรคที่ 3 แบ่งจังหวะในการอ่าน .....................................................................................
เฉลยใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การอ่านบทร้อยกรอง 2 สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/1
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที
คาสั่ .........
่ง ให้นักเรียนเขียนแบ่งจังหวะในการอ่านและอ่านออกเสียงบทประพันธ์ดังต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

กาพย์ฉบัง 16

ขึ้นกมสมเด็จจอมอารย์ เอ็นดูภูบาล
ผู้ผ่านพาราสาวะถี
ซื่อตรงหลงเล่หเ์ สนี กลอกกลับอัปรีย์
บุรีจงึ ล่มจมไป
ประโยชน์จะโปรดภูวไนย นิ่งนั่งตั้งใจ
เลื่อมใสสาเร็จเมตตา
เปล่งเสียงเพียงพิณอินทรา บอกข้อมรณา
คงมาวันหนึ่งถึงตน
ขึ้นกม/สมเด็จ/จอมอารย์// เอ็นดู/ภูบาล//
ผู้ผ่าน/พารา/สาวะถี//
ซื่อตรง/หลงเล่ห์/เสนี// กลอกกลับ/อัปรีย/์ /
บุรี/จึงล่ม/จมไป//
ประโยชน์/จะโปรด/ภูวไนย// นิ่งนั่ง/ตั้งใจ//
เลื่อมใส/สาเร็จ/เมตตา//
เปล่งเสียง/เพียงพิณ/อินทรา// บอกข้อ/มรณา//
คงมา/วันหนึ่ง/ถึงตน//
สรุป กาพย์ฉบัง 16 มีการแบ่งจังหวะในการอ่านอย่างไร
ตอบ วรรคที่ 1 แบ่งจังหวะในการอ่าน อ่านเป็น 3 ช่วง ช่วงละ 2 คา ( 2 / 2 / 2 )
วรรคที่ 2 แบ่งจังหวะในการอ่าน อ่านเป็น 2 ช่วง ช่วงละ 2 คา ( 2 / 2 )
วรรคที่ 3 แบ่งจังหวะในการอ่าน อ่านเป็น 3 ช่วง ช่วงละ 2 คา ( 2 / 2 / 2 )
ใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การอ่านบทร้อยกรอง 3 สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/1
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที
คาสั่ .........
่ง ให้นักเรียนเขียนแบ่งจังหวะในการอ่านและอ่านออกเสียงบทประพันธ์ดังต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

กาพย์สุรางคนาค์ 28

วันนั้นจันทร มีดารากร เป็นบริวาร

เห็นสิ้นดินฟ้า ในป่าท่าธาร มาลีคลี่บาน ใบก้านอรชร

เย็นฉ่่าน้่าฟ้า ชื่นชะผกา วายุพาขจร

สารพันจันทน์อิน รื่นกลิ่นเกสร แตนต่อคลอร่อน ว้าว่อนเวียนระวัน

......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

สรุป กาพย์ฉบัง 16 มีการแบ่งจังหวะในการอ่านอย่างไร


ตอบ มีการแบ่งจังหวะในการอ่าน ......................................................................................................
เฉลยใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การอ่านบทร้อยกรอง 3 สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/1
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที
คาสั่ .........
่ง ให้นักเรียนเขียนแบ่งจังหวะในการอ่านและอ่านออกเสียงบทประพันธ์ดังต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

กาพย์สุรางคนาค์ 28

วันนั้นจันทร มีดารากร เป็นบริวาร

เห็นสิ้นดินฟ้า ในป่าท่าธาร มาลีคลี่บาน ใบก้านอรชร

เย็นฉ่่าน้่าฟ้า ชื่นชะผกา วายุพาขจร

สารพันจันทน์อิน รื่นกลิ่นเกสร แตนต่อคลอร่อน ว้าว่อนเวียนระวัน

วันนั้น/จันทร// มีดา/รากร// เป็นบ/ริวาร//

เห็นสิ้น/ดินฟ้า// ในป่า/ท่าธาร// มาลี/คลี่บาน// ใบก้าน/อรชร//

เย็นฉ่่า/น้่าฟ้า// ชื่นชะ/ผกา// วายุพา/ขจร//

สารพัน/จันทน์อิน// รื่นกลิ่น/เกสร// แตนต่อ//คลอร่อน// ว้าว่อน/เวียนระวัน//

สรุป กาพย์ฉบัง 16 มีการแบ่งจังหวะในการอ่านอย่างไร


ตอบ มีการแบ่งจังหวะในการอ่าน วรรคละ 2 ช่วง ช่วงละ 2 ค่า ( 2 / 2 )
ใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การอ่านจับใจความ 1 สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/2
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที่ ......... คาสั่ง ให้นักเรียนอ่านเรื่องที่กาหนดให้แล้วสรุปใจความสาคัญ


1 นิทานเรื่อง ชายหนุ่มกับต้นไผ่
ในวันหนึ่งลูกชายเจ้าของสวนผลไม้กาลังเดินเล่นอยู่ในสวนผลไม้ตามปกติ เขาก็สังเกตเห็นต้นไผ่ท่ีปลูก
ไว้รอบ ๆ สวนแล้วคิดขึ้นมาได้ว่า “ต้นไผ่เหล่านี้ไม่มีประโยชน์อันใดเลย ไม่มีทั้งดอกที่สวยงามและผลให้เก็บ
กิน ทาไมเราต้องปลูกมันไว้ด้วยก็ไม่รู้ ”เมื่อคิดได้ดังนั้นเขาจึ งได้สั่งให้คนงานช่วยกันตัดต้นไผ่ออกให้หมด
หลายวันต่อมาเมื่อต้นไผ่รอบๆ สวนถูกโค่นลงจนหมด ทาให้เหล่าสัตว์น้อยใหญ่ในป่าโดยรอบต่างสังเกตเห็น
ผลไม้ในสวนของเขา จึงพากันเข้ามาขโมยกินผลไม้ของเขาทั้งหมด เหลือทิ้งไว้เพียงสวนที่ได้รับความเสียหาย
เป็นอย่างมาก ลูกชายเจ้ าของสวนผลไม้เห็นเข้าดังนั้นจึงคิดขึ้นได้ว่า “ข้าไม่น่าตัดต้นไผ่ท่ีเป็นเสมือนรั้วบ้าน
ของข้าทิ้งไปเลย”
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................

2 สารคดีเรื่อง ม้าน้า
ม้าน้าไม่ใช่ม้า แต่เป็นปลาตัวเล็ก ๆ ชนิดหนึ่ง นักวิทยาศาสตร์ศึกษาชีวิตม้าน้า พบว่า มันเป็นสัตว์
ทะเลที่โตเต็มที่ยาวเพียง 6 นิ้วเท่านั้น หัวมีจมูกยื่นออกมาคล้ายหน้าม้า ส่วนที่คล้ายปลาคือมันหายใจด้วย
เหงือก ลาตัวเป็นกระดูกวงแหวนเรียงซ้อนกัน
ม้าน้าตัวเมียจะวางไข่ไว้ในกระเป๋าม้าน้าตัวผู้ ตัวผู้จะนาไข่ติดตัวตลอดเวลา จนไข่ักกกลายเป็นตัว
อ่อน ลูกม้าน้านอนในกระเป๋าจนโต ก็จะแยกย้ายจากกระเป๋าหน้าท้องของพ่อไป คนจึงเรียกสัตว์ชนิดนี้ว่า
“เมื่อพ่อกลายเป็นแม่”
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
เฉลยใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การอ่านจับใจความ 1 สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/2
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที่ ......... คาสั่ง ให้นักเรียนอ่านเรื่องที่กาหนดให้แล้วสรุปใจความสาคัญ


1 นิทานเรื่อง ชายหนุ่มกับต้นไผ่
ในวันหนึ่งลูกชายเจ้าของสวนผลไม้กาลังเดินเล่นอยู่ในสวนผลไม้ตามปกติ เขาก็สังเกตเห็นต้นไผ่ท่ีปลูก
ไว้รอบ ๆ สวนแล้วคิดขึ้นมาได้ว่า “ต้นไผ่เหล่านี้ไม่มีประโยชน์อันใดเลย ไม่มีทั้งดอกที่สวยงามและผลให้เก็บ
กิน ทาไมเราต้องปลูกมันไว้ด้วยก็ไม่รู้ ”เมื่อคิดได้ดังนั้นเขาจึ งได้สั่งให้คนงานช่วยกันตัดต้นไผ่ออกให้หมด
หลายวันต่อมาเมื่อต้นไผ่รอบๆ สวนถูกโค่นลงจนหมด ทาให้เหล่าสัตว์น้อยใหญ่ในป่าโดยรอบต่างสังเกตเห็น
ผลไม้ในสวนของเขา จึงพากันเข้ามาขโมยกินผลไม้ของเขาทั้งหมด เหลือทิ้งไว้เพียงสวนที่ได้รับความเสียหาย
เป็นอย่างมาก ลูกชายเจ้ าของสวนผลไม้เห็นเข้าดังนั้นจึงคิดขึ้นได้ว่า “ข้าไม่น่าตัดต้นไผ่ท่ีเป็นเสมือนรั้วบ้าน
ของข้าทิ้งไปเลย”
แนวคาตอบ
วันหนึ่งลูกชายเจ้าของสวนผลไม้สังเกตเห็นต้นไผ่ท่ปี ลูกไว้รอบ ๆ สวน แล้วคิดว่าไม่มีประโยชน์อะไรจึงให้
คนงานตัดต้นไผ่ออกให้หมด จนทาให้เหล่าสัตว์น้อยใหญ่ในป่าเห็นผลไม้ในสวน แล้วเข้ามากินผลไม้จนหมด
ทาให้ลูกชายเจ้าของสวนคิดได้ว่าไม่น่าตัดต้นไผ่ที่เป็นเสมือนรั้วของบ้านเลย

2 สารคดีเรื่อง ม้าน้า
ม้าน้าไม่ใช่ม้า แต่เป็นปลาตัวเล็ก ๆ ชนิดหนึ่ง นักวิทยาศาสตร์ศึกษาชีวิตม้าน้า พบว่า มันเป็นสัตว์
ทะเลที่โตเต็มที่ยาวเพียง 6 นิ้วเท่านั้น หัวมีจมูกยื่นออกมาคล้ายหน้าม้า ส่วนที่คล้ายปลาคือมันหายใจด้วย
เหงือก ลาตัวเป็นกระดูกวงแหวนเรียงซ้อนกัน
ม้าน้าตัวเมียจะวางไข่ไว้ในกระเป๋าม้าน้าตัวผู้ ตัวผู้จะนาไข่ติดตัวตลอดเวลา จนไข่ักกกลายเป็นตั ว
อ่อน ลูกม้าน้านอนในกระเป๋าจนโต ก็จะแยกย้ายจากกระเป๋าหน้าท้องของพ่อไป คนจึงเรียกสัตว์ชนิดนี้ว่า
“เมื่อพ่อกลายเป็นแม่”
แนวคาตอบ
ม้าน้าไม่ใช่ม้า แต่เป็นปลาตัวเล็ก ๆ ที่หัวมีจมูกยืน่ ออกมาคล้ายหน้าม้าและหายใจด้วยเหงือกเหมือนปลา
ม้าน้าตัวเมียจะวางไข่ในกระเป๋าม้าน้าตัวผู้ ซึ่งม้าน้าตัวผู้จะนาไข่ติดตัวไปตลอดจนไข่ักกกลายเป็นตัวอ่อน
ลูกม้าน้าจะนอนในกระเป๋าจนโตแล้วแยกย้ายออกจากกระเป๋าหน้าท้องของพ่อไป คนจึงเรียกสัตว์ชนิดนีว้ ่า
เมื่อพ่อกลายเป็นแม่
ใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การอ่านจับใจความ 2 สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/2
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที่ ......... คาสั่ง ให้นักเรียนอ่านเรื่องที่กาหนดให้แล้วสรุปใจความสาคัญ


1 นิทานเรื่อง กบทั้งสองกับบ่อน้า
ครัง้ หนึ่งมีกบอยู่สองตัวอาศัยอยู่ที่หนองน้าตื้น ๆ ซึ่งพอจะเป็นที่หลบซ่อนตัวจากสัตว์อ่ืน ๆ ได้ แต่เมื่อ
ฤดูร้อนมาถึงหนองน้าแห่งนี้ก็เริ่มตื้นเขินขึ้นและแห้งขอดไปในที่สุด กบทั้งสองจึงตัดสินใจที่จะออกไปหาที่อยู่
ใหม่ พวกมันออกเดินทางเข้าไปในป่าจนกระทั่งได้พบกับบ่ อน้าบ่อหนึ่งซึ่งลึกมาก ทั้งสองพากันกระโดดไปที่
ขอบบ่อน้านั้น และเมื่อมองลงไปยังด้านล่างของบ่อก็พบว่ามีน้าขังอยู่ท่ีก้นบ่อกบตัวแรกจึงเอ่ยขึ้นว่า “บ่อน้า
บ่อนีล้ กึ มากจริง ๆ ถ้าเราย้ายมาอยู่ที่นี่คงไม่มีใครมาทาร้ายพวกเราได้เป็นแน่ เราใช้บ่อน้านี้เป็นบ้านหลังใหม่
กันเลยดีกว่า” กบอีกตัวได้ยินดังนั้นจึงพูดขึ้นว่า “วันนี้ในบ่อน้ามีน้าอยู่ก็จริง แต่หากวันข้างหน้าน้าในบ่อเกิด
แห้งขอดไปล่ะ เราจะออกจากบ่อน้านี้ได้อย่างไรกัน เจ้ากับข้าก็คงต้องติดอยู่ท่ีน่ีไปตลอดชีวิตเป็นแน่ ข้าว่า
พวกเราไปหาที่อยู่ใหม่กันดีกว่านะ”
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................

2 เพื่อนกิน สิ้นทรัพย์แล้ว แหนงหนี


หาง่าย หลายหมื่นมี มากได้
เพื่อนตาย ถ่ายแทนชี- วาอาตม์
หายาก ฝากผีไข้ ยากแท้จักหา

......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
เฉลยใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การอ่านจับใจความ 2 สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/2
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที่ ......... คาสั่ง ให้นักเรียนอ่านเรื่องที่กาหนดให้แล้วสรุปใจความสาคัญ


1 นิทานเรื่อง กบทั้งสองกับบ่อน้า
ครัง้ หนึ่งมีกบอยู่สองตัวอาศัยอยู่ที่หนองน้าตื้น ๆ ซึ่งพอจะเป็นที่หลบซ่อนตัวจากสัตว์อ่ืน ๆ ได้ แต่เมื่อ
ฤดูร้อนมาถึงหนองน้าแห่งนี้ก็เริ่มตื้นเขินขึ้นและแห้งขอดไปในที่สุด กบทั้งสองจึงตัดสินใจที่จะออกไปหาที่อยู่
ใหม่ พวกมันออกเดินทางเข้าไปในป่ าจนกระทั่งได้พบกับบ่อน้าบ่อหนึ่งซึ่งลึกมาก ทั้งสองพากันกระโดดไปที่
ขอบบ่อน้านั้น และเมื่อมองลงไปยังด้านล่างของบ่อก็พบว่ามีน้าขังอยู่ท่ีก้นบ่อกบตัวแรกจึงเอ่ยขึ้นว่า “บ่อน้า
บ่อนีล้ กึ มากจริง ๆ ถ้าเราย้ายมาอยู่ที่นี่คงไม่มีใครมาทาร้ายพวกเราได้เป็นแน่ เราใช้บ่อน้านี้เป็นบ้านหลังใหม่
กันเลยดีกว่า” กบอีกตัวได้ยินดังนั้นจึงพูดขึ้นว่า “วันนี้ในบ่อน้ามีน้าอยู่ก็จริง แต่หากวันข้างหน้าน้าในบ่อเกิด
แห้งขอดไปล่ะ เราจะออกจากบ่อน้านี้ได้อย่างไรกัน เจ้ากับข้าก็คงต้องติดอยู่ท่ีน่ีไปตลอดชีวิตเป็นแน่ ข้าว่า
พวกเราไปหาที่อยู่ใหม่กันดีกว่านะ”

แนวคาตอบ
มีกบอยู่สองตัวอาศัยอยู่ที่หนองน้าตื้น ๆ พอเป็นที่หลบภัยจากสัตว์อื่น ๆ ได้ แต่เมื่อฤดูรอ้ นมาถึง น้าในหนอง
น้าแห้งขอด กบทัง้ สองจึงพากันหาที่อยู่ใหม่ จนมาพบบ่อลึกที่มีน้าอยู่กน้ บ่อ กบตัวแรกชวนให้อาศัยอยู่ที่นี่
แต่กบอีกตัวกลัวว่าถ้าน้าแห้งจะออกจากบ่อไม่ได้ เลยชวนไปหาที่อยู่ใหม่

2 เพื่อนกิน สิ้นทรัพย์แล้ว แหนงหนี


หาง่าย หลายหมื่นมี มากได้
เพื่อนตาย ถ่ายแทนชี- วาอาตม์
หายาก ฝากผีไข้ ยากแท้จักหา

แนวคาตอบ
เมื่อมีทรัพย์สนิ มากมายก็จะมีเพื่อนฝูงเยอะ เมื่อทรัพย์สนิ หมดเพื่อนฝูงก็จะจากไปด้วย แต่เพื่อนตายคือ
เพื่อนแท้ท่ยี อมตายแทนกันได้และคอยช่วยเหลือเกือ้ กูลเมื่อเพื่อนตกยาก
ใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/3
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

คาสั่ .........
เลขที ่ง ให้นักเรียนนาลักษณะของข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นที่กาหนดให้ไปใส่ในช่องว่างให้ถูกต้อง
มีความเป็นไปได้เสมอ เป็นการแสดงความคิดเห็น แสดงการคาดคะเน มีความเป็นจริง

มีหลักฐานอ้างอิงพิสูจน์ได้ แสดงความรู้สึก มีความสมเหตุสมผล เป็นข้อเสนอแนะ

ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
1. ………………………….................................. 1. …………………………..................................
2. ………………………….................................. 2. …………………………..................................
3. ………………………….................................. 3. …………………………..................................
4. ………………………….................................. 4. …………………………..................................

คาสั่ง ให้นักเรียนแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากข้อความที่กาหนดให้
๑)ในเหตุการณ์วันนั้นผมได้เดินทางผ่านสุสานของวัดแห่งหนึ่งดูแล้วน่าขนลุก ๒)เดิมทีวดั แห่งนี้
เคยมีพระจาพรรษาอยู่ ๔ รูป แต่ตอนนีก้ ลับกลายเป็นวัดร้าง ๓)ผู้คนที่อยู่ในละแวกนั้นเชื่อกันว่า
เคยมีคนเห็นหญิงสาวคนหนึ่งมักยืนอยู่หน้าวัดคนเดียว 4) ชาวบ้านสันนิษฐานว่าเป็นสถานที่ ที่
หญิงสาวผู้นั้นเสียชีวติ หรืออาจจะเป็นเรื่องเล่าที่แต่งขึน้ มาเฉย ๆ ก็ได้

ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
................................................................... .............................................................................................
................................................................... .............................................................................................
................................................................... .............................................................................................
................................................................... .............................................................................................
................................................................... .............................................................................................
................................................................... .............................................................................................
................................................................... .............................................................................................
เฉลยใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/3
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที
คาสั่ .........
่ง ให้นักเรียนนาลักษณะของข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นที่กาหนดให้ไปใส่ในช่องว่างให้ถูกต้อง
มีความเป็นไปได้เสมอ เป็นการแสดงความคิดเห็น แสดงการคาดคะเน มีความเป็นจริง

มีหลักฐานอ้างอิงพิสูจน์ได้ แสดงความรู้สึก มีความสมเหตุสมผล เป็นข้อเสนอแนะ

ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
1. มีความเป็นไปได้เสมอ 1. เป็นการแสดงความคิดเห็น
2. มีความเป็นจริง 2. แสดงการคาดคะเน
3. มีหลักฐานอ้างอิงพิสูจน์ได้ 3. แสดงความรู้สึก
4. มีความสมเหตุสมผล 4. เป็นข้อเสนอแนะ

คาสั่ง ให้นักเรียนแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากข้อความที่กาหนดให้
๑)ในเหตุการณ์วันนั้นผมได้เดินทางผ่านสุสานของวัดแห่งหนึ่งดูแล้วน่าขนลุก ๒)เดิมทีวดั แห่งนี้
เคยมีพระจาพรรษาอยู่ ๔ รูป แต่ตอนนีก้ ลับกลายเป็นวัดร้าง ๓)ผู้คนที่อยู่ในละแวกนั้นเชื่อกันว่า
เคยมีคนเห็นหญิงสาวคนหนึ่งมักยืนอยู่หน้าวัดคนเดียว 4) ชาวบ้านสันนิษฐานว่าเป็นสถานที่ ที่
หญิงสาวผู้นั้นเสียชีวติ หรืออาจจะเป็นเรื่องเล่าที่แต่งขึน้ มาเฉย ๆ ก็ได้

ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
๒)เดิมทีวัดแห่งนี้เคยมีพระจาพรรษาอยู่ ๔ รูป แต่ 1) ในเหตุการณ์วันนัน้ ผมได้เดินทางผ่านสุสานของวัด
ตอนนีก้ ลับกลายเป็นวัดร้าง แห่งหนึ่งดูแล้วน่าขนลุก
๓)ผู้คนที่อยู่ในละแวกนั้นเชื่อกันว่าเคยมีคนเห็นหญิง
สาวคนหนึ่งมักยืนอยู่หน้าวัดคนเดียว
4) ชาวบ้านสันนิษฐานว่าเป็นสถานที่ ที่หญิงสาวผู้นนั้
เสียชีวิตหรืออาจจะเป็นเรื่องเล่าที่แต่งขึ้นมาเฉย ๆ ก็
ได้
ใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/3
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที่ ......... คาสั่ง ให้นักเรียนเขียนข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นมาอย่างละ 15 ข้อ


ข้อ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
เกาะหลีเป๊ะ จังหวัดสตูล เป็นเกาะที่สวยที่สุด
ตัวอย่าง จังหวัดสตูลตัง้ อยู่ภาคใต้ของประเทศไทย
ที่ใครหลาย ๆ คนอยากไปสัมผัส
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
เฉลยใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/3
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที่ ......... คาสั่ง ให้นักเรียนเขียนข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นมาอย่างละ 15 ข้อ


ข้อ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
เกาะหลีเป๊ะ จังหวัดสตูล เป็นเกาะที่สวยที่สุด
ตัวอย่าง จังหวัดสตูลตั้งอยู่ภาคใต้ของประเทศไทย
ที่ใครหลาย ๆ คนอยากไปสัมผัส
1 พ่อขุนรามคาแหงประดิษฐ์อักษรไทย เด็กดีต้องตั้งใจเรียน
2 ยุงลายเป็นพาหะนาโรคไข้เลือดออก วันนีท้ อ้ งฟ้ามืดครึม้ อีกเร็ว ๆ นี้คงจะมีฝนตกหนัก
3 1 สัปดาห์ มี 7 วัน วันเสาร์ อาทิตย์เป็นวันที่ทุกคนมีความสุข
4 ทุกคนหนีไม่พน้ ความตาย ทุกคนกลัวความตาย
5 ดวงตาเป็นอวัยวะที่ทาให้มองเห็น ดวงตาของฉันสวย
6 โลกมีดวงจันทร์เป็นบริวาร คนเรียนเก่งย่อมประสบผลสาเร็จในชีวิตเสมอ
7 กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศไทย เราควรเข้ามาหางานทาในเมืองหลวง
8 เด็กในวันนี้คอื ผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า เด็กจะเจริญต้องรักเรียนเพียรทาดี
9 พระอภัยมณีประพันธ์โดยพระสุนทรโวหาร
การรับประทานแต่ผักไม่น่าจะเป็นผลดีตอ่ ร่างกาย
หรือสุนทรภู่
10 ในหนึ่งปี มีทั้งหมด 12 เดือน เดือนเมษายนเป็นเดือนที่มีอากาศร้อนที่สุด
11 วรรณยุกต์ของไทย มีทั้งหมด 4 รูป 5 เสียง การออกกาลังกายที่ดที ่ีสุดคือการว่ายน้า
12 กิ่ง ก้านของดอกกุหลาบมีหนาม ดอกกุหลาบเป็นดอกไม้ที่หอมและสวยที่สุด
13 การทิ้งขยะลงแม่น้าเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้น้าเน่าเสีย พวกเราน่าจะไปเที่ยวทะเล
14 ราชบุรเี ป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย ฉันอยากเรียนคณะอักษรศาสตร์
15 ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด คนไทยมีความเชื่อเรื่องภูตผี
ใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/3
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........
คาสั
เลขที ่ง ให้นักเรียนแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านแล้วนาข้อความไปใส่ในช่องว่างให้ถูกต้อง
่ .........
1 ชนิดของคาในภาษาไทยมีทั้งหมด 7 ชนิด คานามและคากริยาเป็นคาที่คนไทยใช้
ในชีวิตประจาวันมากที่สุด
ข้อเท็จจริง ..............................................................................................................................................
ข้อคิดเห็น ..............................................................................................................................................
2 ดอกราชพฤกษ์เป็นดอกไม้ประจาชาติไทย ราชพฤกษ์ เป็นชื่อทีม่ คี วามหมายโดด
เด่นที่สุด
ข้อเท็จจริง ..............................................................................................................................................
ข้อคิดเห็น ..............................................................................................................................................
3 วันเสาร์และวันอาทิตย์เป็นวันหยุดของนักเรียน ซึ่งนักเรียนส่วนใหญ่จะใช้เวลาไปกับ
การเล่นเกม
ข้อเท็จจริง ..............................................................................................................................................
ข้อคิดเห็น ..............................................................................................................................................

4 เด็กจะเจริญต้องรักเรียนเพียรทาดี เพราะเด็กในวันนีค้ ือผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า

ข้อเท็จจริง ..............................................................................................................................................
ข้อคิดเห็น ..............................................................................................................................................

5 ยุงลายเป็นพาหะนาโรคไข้เลือดออกเราควรหลีกเลี่ยงการนอนในบริเวณอับมืด

ข้อเท็จจริง ..............................................................................................................................................
ข้อคิดเห็น ..............................................................................................................................................
เฉลยใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/3
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........
คาสั
เลขที ่ง ให้นักเรียนแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านแล้วนาข้อความไปใส่ในช่องว่างให้ถูกต้อง
่ .........
1 ชนิดของคาในภาษาไทยมีทั้งหมด 7 ชนิด คานามและคากริยาเป็นคาที่คนไทยใช้
ในชีวิตประจาวันมากที่สุด
ข้อเท็จจริง ชนิดของคาในภาษาไทยมีทั้งหมด 7 ชนิด
ข้อคิดเห็น คานามและคากริยาเป็นคาทีค่ นไทยใช้ในชีวติ ประจาวันมากที่สุด
2 ดอกราชพฤกษ์เป็นดอกไม้ประจาชาติไทย ราชพฤกษ์ เป็นชื่อทีม่ คี วามหมายโดด
เด่นที่สุด
ข้อเท็จจริง ดอกราชพฤกษ์เป็นดอกไม้ประจาชาติไทย
ข้อคิดเห็น ราชพฤกษ์ เป็นชื่อทีม่ คี วามหมายโดดเด่นที่สุด
3 วันเสาร์และวันอาทิตย์เป็นวันหยุดของนักเรียน ซึ่งนักเรียนส่วนใหญ่จะใช้เวลาไปกับ
การเล่นเกม
ข้อเท็จจริง วันเสาร์และวันอาทิตย์เป็นวันหยุดของนักเรียน
ข้อคิดเห็น ซึง่ นักเรียนส่วนใหญ่จะใช้เวลาไปกับการเล่นเกม

4 เด็กจะเจริญต้องรักเรียนเพียรทาดี เพราะเด็กในวันนีค้ ือผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า

ข้อเท็จจริง เด็กในวันนีค้ ือผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า


ข้อคิดเห็น เด็กจะเจริญต้องรักเรียนเพียรทาดี

5 ยุงลายเป็นพาหะนาโรคไข้เลือดออกเราควรหลีกเลี่ยงการนอนในบริเวณอับมืด

ข้อเท็จจริง ยุงลายเป็นพาหะนาโรคไข้เลือดออก
ข้อคิดเห็น เราควรหลีกเลี่ยงการนอนในบริเวณอับมืด
ใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง ความหมายโดยตรง ความหมายโดยนัย สาระที่ 1 ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/4,5 2

ชื่อ .............................................. นามสกุล ........................................ ชัน้ .......... เลขที่ ..........


คาสั่ง ให้นักเรียนพิจารณาคาที่ขดี เส้นใต้ในข้อความต่อไปนีว้ ่ามีความหมายโดยตรงหรือโดยนัย
ความหมาย ความหมาย
ข้อความ
โดยตรง โดยนัย
1. เธอเป็นดาวประจาโรงเรียนที่สวยและฉลาดมาก ๆ เลย
2. ช้างเผือกอย่างเธอจะต้องประสบความสาเร็จในการเรียนแน่นอน
3. น้ามะนาวปัน่ ร้านนีเ้ ปรี้ยวจนเข็ดฟันไปหลายวันเลย
4. เต่าชอบกินผักบุง้
5. น้องทาการบ้านช้าเป็นเต่า คืนนีค้ งทาไม่เสร็จแน่ๆเลย
6. คนปากหวานอย่างบังอรมักจะมีแต่คนชอบพูดคุยด้วย
7. ฉันชอบกินกล้วยน้าว้าในตอนเช้า
8. งานกล้วย ๆ อย่างนีใ้ คร ๆ ก็ทาได้
9. ฉันนั่งทางานบนเก้าอี้
10. ปีนเี้ ธอต้องได้เก้าอี้ประธานบริษัทแน่ ๆ
11. แม่ค้าคนนี้เค็มมากลูกค้าซือ้ ของตัง้ หลายพันไม่ลดสักบาทเดียว
12. กระโปรงตัวนีส้ วยเตะตาฉันจริง ๆ
13. ข้อสอบวิชาภาษาไทยของครูสายใจหินจริง ๆ
14. น้องกาลังนั่งเรียงก้อนหินที่ขา้ งลาธาร
15. ปัจจุบันไม่มีนักเขียนไส้แห้งประดับวงการวรรณกรรมแล้ว
16. เนื้อร้ายที่อยู่ในองค์กรของเราควรจะเลือกตัดออกไป
17. พ่อกาลังตุ๋นไก่อยู่ในครัว
18. ผู้ชายคนนีต้ ุ๋นพี่ชายฉันเสียเปือ่ ยเลย
19. หัวหน้าไฟเขียวให้ฉันส่งต้นฉบับกับบริษัทได้
20. เมื่อสัญญาณไฟเขียวขึน้ แม่จงึ ขับรถผ่านสี่แยกไปได้
เฉลยใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง ความหมายโดยตรง ความหมายโดยนัย สาระที่ 1 ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/4,5 2

ชื่อ .............................................. นามสกุล ........................................ ชัน้ .......... เลขที่ ..........


คาสั่ง ให้นักเรียนพิจารณาคาที่ขดี เส้นใต้ในข้อความต่อไปนีว้ ่ามีความหมายโดยตรงหรือโดยนัย
ความหมาย ความหมาย
ข้อความ
โดยตรง โดยนัย
1. เธอเป็นดาวประจาโรงเรียนที่สวยและฉลาดมาก ๆ เลย 
2. ช้างเผือกอย่างเธอจะต้องประสบความสาเร็จในการเรียนแน่นอน 
3. น้ามะนาวปัน่ ร้านนีเ้ ปรี้ยวจนเข็ดฟันไปหลายวันเลย 
4. เต่าชอบกินผักบุง้ 
5. น้องทาการบ้านช้าเป็นเต่า คืนนีค้ งทาไม่เสร็จแน่ ๆ เลย 
6. คนปากหวานอย่างบังอรมักจะมีแต่คนชอบพูดคุยด้วย 
7. ฉันชอบกินกล้วยน้าว้าในตอนเช้า 
8. งานกล้วย ๆ อย่างนีใ้ คร ๆ ก็ทาได้ 
9. ฉันนั่งทางานบนเก้าอี้ 
10. ปีนเี้ ธอต้องได้เก้าอี้ประธานบริษัทแน่ ๆ 
11. แม่ค้าคนนี้เค็มมากลูกค้าซือ้ ของตัง้ หลายพันไม่ลดสักบาทเดียว 
12. กระโปรงตัวนีส้ วยเตะตาฉันจริง ๆ 
13. ข้อสอบวิชาภาษาไทยของครูสายใจหินจริง ๆ 
14. น้องกาลังนั่งเรียงก้อนหินที่ขา้ งลาธาร 
15. ปัจจุบันไม่มีนักเขียนไส้แห้งประดับวงการวรรณกรรมแล้ว 
16. เนื้อร้ายที่อยู่ในองค์กรของเราควรจะเลือกตัดออกไป 
17. พ่อกาลังตุ๋นไก่อยู่ในครัว 
18. ผู้ชายคนนีต้ ุ๋นพี่ชายฉันเสียเปือ่ ยเลย 
19. หัวหน้าไฟเขียวให้ฉันส่งต้นฉบับกับบริษัทได้ 
20. เมื่อสัญญาณไฟเขียวขึน้ แม่จงึ ขับรถผ่านสี่แยกไปได้ 
ใบงำนวิชำภำษำไทย ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1
เรื่อง กำรอ่ำนตีควำมเอกสำรทำงวิชำกำร สำระที่ 1 มำตรฐำน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/4,1/5
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........
คำสั่ง ให้นักเรียนอ่านบทความทางวิชาการแล้วค้นหาความหมายของคาศัพท์ยาก มา 10 คา
เลขที่ .........
ค่านิยมเกี่ยวกับผู้ท่บี วชเรียนมีสูงมาก สังคมถือว่าผู้บวชเรียนแล้วเป็นบัณฑิต ออกเสียงว่า บันดิดหรือ
เป็นคนสุกแล้ว พ่อแม่ส่วนมากจะไม่ยอมยกบุตรสาวให้แต่งงานกับคนที่ยังไม่ผ่านการเป็นบัณฑิตหรือเป็นคน
สุกเป็นอันขาด ต่อมาคาว่าบัณหายไปเหลือแต่ฑิต ต่อมาก็เขียนเป็นทิดแทน จนบัดนี้ใครที่ไม่รคู้ วามเป็นมาก็
ยากจะโยงได้ว่า บัณฑิตกับฑิด-ทิด เป็นคาเดียวกัน
การเข้าพรรษาเป็นพิธีกรรมสาหรับพระภิกษุเท่านั้น สามเณรมีส่วนบ้างเฉพาะวันเข้าพรรษา แต่ไม่มี
วันออกพรรษา คฤหัสถ์อย่างเราไม่น่าเกี่ยวข้องด้วย
ที่จริงจะว่าเกี่ยวก็เกี่ยว ไม่เกี่ยวก็ไม่เกี่ยว ขึ้นอยู่กบั คาว่าเกี่ยวนั้นหมายเอาเกี่ยวในระดับใด ถ้าเป็นการ
เลือกที่มุงที่บังอันมิดชิดปลอดภัย ถึงวันเข้าพรรษาแล้วตั้งสัจอธิษฐานว่า “เราจะอยู่จาพรรษา ณ อาวาสแห่ง
นี้ตลอดสามเดือนในฤดูฝนแล้วก็อยู่ ณ ที่นั้นโดยไม่ไปค้างคืนที่ไหนตลอดสามเดือน นอกจากมีกิจธุระจาเป็น
ตามที่บัญญัตไิ ว้ในพระวินัย ถ้าอย่างนีค้ ฤหัสถ์ไม่เกี่ยวเป็นพิธีกรรมสาหรับพระภิกษุเท่านัน้
แต่ถา้ คิดว่าชาวบ้านทั้งชายและหญิงเป็นพุทธศาสนิกชนมีหน้าที่อุปถัมภ์บารุงพระสงฆ์ วัดวาอาราม
และพระพุทธศาสนาโดยรวม ชาวบ้านอย่างเราก็ย่อมเกี่ยวข้องด้วยอย่างเลี่ยงไม่ได้ คือชาวบ้านได้มีโอกาส
ถวายจตุปัจจัยไทยทาน ทาบุญตักบาตร ถวายผ้าอาบน้าฝน เข้าวัดฟังธรรมในช่วงเข้าพรรษานับว่าได้ทา
ประโยชน์ทงั้ แก่ตนเองและแก่พระพุทธศาสนา

คำศัพท์ ควำมหมำย
เฉลยใบงำนวิชำภำษำไทย ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1
เรื่อง กำรอ่ำนตีควำมเอกสำรทำงวิชำกำร สำระที่ 1 มำตรฐำน ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/5,1/4
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........
คำสั่ง ให้นักเรียนอ่านบทความทางวิชาการแล้วค้นหาความหมายของคาศัพท์ยาก มา 10 คา
เลขที่ .........
ค่านิยมเกี่ยวกับผู้ท่บี วชเรียนมีสูงมาก สังคมถือว่าผู้บวชเรียนแล้วเป็นบัณฑิต ออกเสียงว่า บันดิดหรือ
เป็นคนสุกแล้ว พ่อแม่ส่วนมากจะไม่ยอมยกบุตรสาวให้แต่งงานกับคนที่ยังไม่ผ่านการเป็นบัณฑิตหรือเป็นคน
สุกเป็นอันขาด ต่อมาคาว่าบัณหายไปเหลือแต่ฑิต ต่อมาก็เขียนเป็นทิดแทน จนบัดนี้ใครที่ไม่รคู้ วามเป็นมาก็
ยากจะโยงได้ว่า บัณฑิตกับฑิด-ทิด เป็นคาเดียวกัน
การเข้าพรรษาเป็นพิธกี รรมสาหรับพระภิกษุเท่านั้น สามเณรมีส่วนบ้างเฉพาะวันเข้าพรรษา แต่ไม่มี
วันออกพรรษา คฤหัสถ์อย่างเราไม่น่าเกี่ยวข้องด้วย
ที่จริงจะว่าเกี่ยวก็เกี่ยว ไม่เกี่ยวก็ไม่เกี่ยว ขึ้นอยู่กบั คาว่าเกี่ยวนั้นหมายเอาเกี่ยวในระดับใด ถ้าเป็นการ
เลือกที่มุงที่บังอันมิดชิดปลอดภัย ถึงวันเข้าพรรษาแล้วตั้งสัจอธิษฐานว่า “เราจะอยู่จาพรรษา ณ อาวาสแห่ง
นี้ตลอดสามเดือนในฤดูฝนแล้วก็อยู่ ณ ที่นั้นโดยไม่ไปค้างคืนที่ไหนตลอดสามเดือน นอกจากมีกิจธุระจาเป็น
ตามที่บัญญัตไิ ว้ในพระวินัย ถ้าอย่างนีค้ ฤหัสถ์ไม่เกี่ยวเป็นพิธีกรรมสาหรับพระภิกษุเท่านั้น
แต่ถา้ คิดว่าชาวบ้านทั้งชายและหญิงเป็นพุทธศาสนิกชนมีหน้าที่อุปถัมภ์บารุงพระสงฆ์ วัดวาอาราม
และพระพุทธศาสนาโดยรวม ชาวบ้านอย่างเราก็ย่อมเกี่ยวข้องด้วยอย่างเลี่ยงไม่ได้ คือชาวบ้านได้มีโอกาส
ถวายจตุปัจจัยไทยทาน ทาบุญตักบาตร ถวายผ้าอาบน้าฝน เข้าวัดฟังธรรมในช่วงเข้าพรรษานับว่าได้ทา
ประโยชน์ทงั้ แก่ตนเองและแก่พระพุทธศาสนา
(ตัวอย่าง
คำศัพท์ ควำมหมำย
)
1. บัณฑิต ผู้ทรงความรู้, ผู้มีปัญญา, ผู้สาเร็จการศึกษาขั้นปริญญา
2. อธิษฐาน ตัง้ ใจมุ่งผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, ตัง้ จิตอธิษฐาน
3. อุปถัมภ์ การค้าจุน, การสนับสนุน, การเลี้ยงดู
4. คฤหัสถ์ ผู้ครองเรือน, ผู้ไม่ใช่นักบวช
5. จตุปัจจัย เครื่องอาศัยเลี้ยงชีวติ ของบรรพชิตในพระพุทธศาสนา
6. อาวาส วัด
7. พิธีกรรม การบูชา, แบบปฏิบัติในทางศาสนา
8. พุทธศาสนิกชนมี ผู้นับถือพระพุทธศาสนา, ผู้ปฏิบัติตามคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
9. บัญญัติ ข้อความที่ตราหรือกาหนดขึ้นไว้เป็นข้อบังคับ เป็นหลักเกณฑ์ หรือ
เป็นกฎหมาย
10. อุปถัมภ์ การค้าจุน, การค้าชู, การเลี้ยงดู, การสนับสนุน
ใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การปฏิบัติตามคู่มือแนะนาวิธกี ารใช้งานของเครื่องใช้ สาระที่ 1 ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/7
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........
คาสั่ง ให้นักเรียนอ่านและปฏิบัตติ ามคู่มือแนะนาวิธีการใช้งานของเครื่องใช้ แล้วตอบคาถาม
เลขที่ ......... วิธีใช้และการดูแลรักษาเครื่องชั่งชนิดที่ 6 (เครื่องชั่งสปริง)
เพื่อให้การใช้เครื่องชังชนิ ่ ง) แบบหน้าปดั กระจกถูกต้องเทีย่ งตรงอยู่เสมอ จึงแนะนาวิธใี ช้และการดูแล
่ ดที่ 6 (เครื่องชังสปริ
รักษาเครื่องชัง่ ดังนี้
วิ ธีใช้
* ตัง้ เครื่องชังให้
่ ได้ระดับกับพืน้ ราบ (เครื่องชังสองหน้
่ า หากไม่ได้ระดับเข็มจะไม่ตรงกัน)
* ถาดชังต้ ่ องมีหมายเลขตรงกับเครื่องชัง่ และสะอาด
* ก่อนชัง่ เข็มจะต้องตรงศูนย์ (0) ถ้าไม่ตรง ให้ปรับให้ตรงด้วยวิธใี ช้คมี หมุนน็อตใต้ถาดชัง่
* อย่าชังน ่ ้าหนักเกินพิกดั กาลังของเครื่องชัง่
* การชังให้่ วางสิง่ ของตรงบริเวณกึง่ กลางของถาดชัง่
* อย่าวางสิง่ ของลงบนถาดชังด้ ่ วยวิธกี ระแทก
* ถ้าชังสิ
่ ง่ ทีไ่ ม่สะอาด ควรห่อหุม้ เสียก่อน
การเก็บรักษา
* เมื่อไม่ใช้เครื่องชัง่ ไม่ควรวางสิง่ ของไว้บนถาดชัง่
* ระวังอย่าให้น้าเข้าไปในเครื่องชัง่
* ควรตัง้ เครื่องชังไว้่ ในทีไ่ ม่มฝี นุ่ ผงและความชืน้
คาเตือน
* การใช้เครื่องชังที ่ ไ่ ม่ถูกต้อง ผูใ้ ช้อาจมีความผิดทางอาญา
* เมื่อสงสัยว่าเครื่องชังไม่ ่ ถูกต้อง ให้สอบเทียบกับตุม้ น้าหนักทีม่ ตี ราเครื่องหมายคารับรอง
(ตราครุฑ)
* ถ้าไม่มตี ุม้ น้าหนักให้สอบเทียบน้าหนักสิง่ ของกับเครื่องชังอื ่ น่ ๆ ทีถ่ ูกต้อง
* เมื่อปรากฏว่าเครื่องชังไม่ ่ ถูกต้องหรือเกิดชารุดเสียหาย ห้ามใช้เด็ดขาด ให้จดั หาทดแทนใหม่

1. เอกสารคูม่ ือฉบับนีใ้ ห้ความรู้ 3.ถ้านักเรียนสงสัยว่าเครื่องชั่งสปริงที่แม่ค้าใช้ขายของ


เกี่ยวกับอะไรตอบ .................................... ในตลาดเมื่อใช้ชั่งของแล้ว น้าหนักของไม่ตรงตามความ
................................................................ เป็นจริง นักเรียนจะทาอย่างไร
ตอบ ..........................................................................
2.ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ...................................................................................
คูม่ ือแนะนาวิธีการใช้งานของเครื่องชั่งสปริง ...................................................................................
ตอบ ....................................................... ...................................................................................
................................................................ ...................................................................................
................................................................ ...................................................................................
................................................................ ...................................................................................
................................................................ ...................................................................................
เฉลยใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง การปฏิบัติตามคู่มือแนะนาวิธกี ารใช้งานของเครื่องใช้ สาระที่ 1 ท 1.1 ตัวชี้วัด ม.1/7
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........
คาสั่ง ให้นักเรียนอ่านและปฏิบัตติ ามคู่มือแนะนาวิธีการใช้งานของเครื่องใช้ แล้วตอบคาถาม
เลขที่ ......... วิธีใช้และการดูแลรักษาเครื่องชั่งชนิดที่ 6 (เครื่องชั่งสปริง)
เพื่อให้การใช้เครื่องชังชนิ ่ ง) แบบหน้าปดั กระจกถูกต้องเทีย่ งตรงอยู่เสมอ จึงแนะนาวิธใี ช้และการดูแล
่ ดที่ 6 (เครื่องชังสปริ
รักษาเครื่องชัง่ ดังนี้
วิ ธีใช้
* ตัง้ เครื่องชังให้
่ ได้ระดับกับพืน้ ราบ (เครื่องชังสองหน้
่ า หากไม่ได้ระดับเข็มจะไม่ตรงกัน)
* ถาดชังต้ ่ องมีหมายเลขตรงกับเครื่องชัง่ และสะอาด
* ก่อนชัง่ เข็มจะต้องตรงศูนย์ (0) ถ้าไม่ตรง ให้ปรับให้ตรงด้วยวิธใี ช้คมี หมุนน็อตใต้ถาดชัง่
* อย่าชังน ่ ้าหนักเกินพิกดั กาลังของเครื่องชัง่
* การชังให้่ วางสิง่ ของตรงบริเวณกึง่ กลางของถาดชัง่
* อย่าวางสิง่ ของลงบนถาดชังด้ ่ วยวิธกี ระแทก
* ถ้าชังสิ
่ ง่ ทีไ่ ม่สะอาด ควรห่อหุม้ เสียก่อน
การเก็บรักษา
* เมื่อไม่ใช้เครื่องชัง่ ไม่ควรวางสิง่ ของไว้บนถาดชัง่
* ระวังอย่าให้น้าเข้าไปในเครื่องชัง่
* ควรตัง้ เครื่องชังไว้่ ในทีไ่ ม่มฝี นุ่ ผงและความชืน้
คาเตือน
* การใช้เครื่องชังที ่ ไ่ ม่ถูกต้อง ผูใ้ ช้อาจมีความผิดทางอาญา
* เมื่อสงสัยว่าเครื่องชังไม่ ่ ถูกต้อง ให้สอบเทียบกับตุม้ น้าหนักทีม่ ตี ราเครื่องหมายคารับรอง
(ตราครุฑ)
* ถ้าไม่มตี ุม้ น้าหนักให้สอบเทียบน้าหนักสิง่ ของกับเครื่องชังอื ่ น่ ๆ ทีถ่ ูกต้อง
* เมื่อปรากฏว่าเครื่องชังไม่ ่ ถูกต้องหรือเกิดชารุดเสียหาย ห้ามใช้เด็ดขาด ให้จดั หาทดแทนใหม่

1. เอกสารคูม่ ือฉบับนีใ้ ห้ความรู้ 3.ถ้านักเรียนสงสัยว่าเครื่องชั่งสปริงที่แม่ค้าใช้ขายของ


เกี่ยวกับอะไรตอบ การใช้ การเก็บรักษา ในตลาดเมื่อใช้ชั่งของแล้ว น้าหนักของไม่ตรงตามความ
และคาเตือนในการใช้ตาชั่งสปริง เป็นจริง นักเรียนจะทาอย่างไร
ตอบ 1. ให้สอบเทียบกับตุ้มน้าหนักที่มีตรา
2.ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ เครื่องหมายคารับรอง (ตราครุฑ)
คูม่ ือแนะนาวิธีการใช้งานของเครื่องชั่งสปริง 2. ถ้าไม่มีตมุ้ น้าหนักให้สอบเทียบน้าหนักสิ่งของกับ
ตอบ เครื่องชั่งอื่นๆ ที่ถูกต้อง
(ขึน้ อยู่ทด่ี ุลยพินิจของครูผู้สอน) 3. เมื่อปรากฏว่าเครื่องชั่งไม่ถูกต้องหรือเกิดชารุด
เสียหาย ห้ามใช้เด็ดขาดให้จัดหาทดแทนใหม่ ถ้าใช้
เครื่องชั่ง ที่ไม่ถูกต้อง ผู้ใช้อาจมีความผิดทางอาญา
ใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง มารยาทในการอ่าน สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชีว้ ัด ม.1/9
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชั้น .......... เลขที่ .........

เลขที่ ......... คาสั่ง ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเขียนมารยาทในการอ่าน มา 6 ข้อ

1. ........................................................................................................................................................
2. ........................................................................................................................................................
3. ........................................................................................................................................................
4. ........................................................................................................................................................
5. ........................................................................................................................................................
6. ........................................................................................................................................................

ตอนที่ 2 ให้นักเรียนวาดรูปจาลองสถานการณ์พร้อมบรรยาย ในหัวข้อ “มารยาทที่ดใี นการอ่าน”

.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ใบงานวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง มารยาทในการอ่าน สาระที่ 1 มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชีว้ ัด ม.1/9
ชื่อ .................................................. นามสกุล .......................................... ชัน้ .......... เลขที่ .........

เลขที่ ......... คาสั่ง ตอนที่ 1 ให้นักเรียนอ่านมารยาทในการอ่าน มา 6 ข้อ

1. ไม่ขีดเขียนหรือทาลายหนังสือที่อา่ น
2. ไม่อ่านส่งเสียงดังรบกวนผู้อ่นื
3. เมื่ออ่านหนังสือเสร็จควรเก็บหนังสือให้เรียบร้อย
4. ไม่รับประทานอาหารขณะที่อ่านหนังสือ
5. ไม่แอบอ่านสมุดบันทึกส่วนตัวของเพื่อน
6. มีสมาธิในการอ่าน

ตอนที่ 2 ให้นักเรียนวาดรูปจาลองสถานการณ์พร้อมบรรยาย ในหัวข้อ “มารยาทที่ดใี นการอ่าน”

ขึ้นอยู่ท่ดี ุลยพินิจของครูผู้สอน

.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
แบบฝึกทักษะการอ่านสาหรับนักเรียนชั้นม.๔ หน้า ๑

แบบฝึกทักษะการอ่าน
เรื่อง การอ่านตีความ แปลความและขยายความ
(สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา

ชื่อ-สกุล.......................................................................

เลขที่..................ชั้น.........................
แบบฝึกทักษะการอ่านสาหรับนักเรียนชั้นม.๔ หน้า ๒

ตอนที่ ๑ การอ่านตีความ
การอ่านตีความ หมายถึง การอ่านเพื่อให้เข้าใจความหมาย ความคิดสาคัญของเรื่อง ความรู้สึก
น้าเสียง และเจตนาของผู้เขียน เช่นแนะนา สั่งสอน เสียดสี ประชดประชัน การตีความของทุกคนอาจไม่
ตรงกันเสมอไปกระบวนการอ่านเพื่อตีความผู้อ่านจะต้อง ประกอบด้วย
๑. ใช้ความรู้ ความสามารถในการแปลความ
๒. จับใจความสาคัญ
๓. การสรุปความ
๔. การเปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ของข้อความ

การอ่านตีความมีหลักเกณฑ์ในการอ่าน ดังนี้
๑. อ่านเรื่องที่จะตีความให้ละเอียด แล้วพยายามจับประเด็นสาคัญของผู้เขียนให้ได้
๒. พยายามคิดหาเหตุผลและใคร่ครวญอย่างรอบคอบเพื่อ นามาประมวลกับความคิดของ ตนเองว่า
ข้อความหรือเรื่องนั้นมีความเกี่ยวข้องกับอะไร
๓. พยายามทาความเข้าใจถ้อยคา สังเกตบริบทหรือเนื้อความแวดล้อมว่ากาหนด ความหมายส่วนรวม
ไปในทิศทางใด
๔. ต้องระลึกไว้เสมอว่าการตีความไม่ใช่การถอดคาประพันธ์ เพราะการถอดคาประพันธ์ คือ การเรียบ
เรียงจากถ้อยคาของบทประพันธ์มาเป็นร้อยแก้วให้ครบทั้ง คาและความ แต่การตีความ คือ การจับความคิด
หรือแนวคิดของผู้เขียนที่แฝงไว้ภายในเรื่อง
๕. การเขียนเรียบเรียงถ้อยคาที่ได้จากการตีความนั้นจะต้องให้มีความหมายชัดเจน
๖. การตีความไม่ว่าจะเป็นการตีความเนื้อหาหรือ น้าเสียงก็ตาม เป็นการตีความตามความรู้ ความคิด
และประสบการณ์ของผู้ ตีความเอง เพื่อสรุปความคิดทั้งหมดแล้ ว จับ เจตนาอัน แท้จริง ของ ข้อความหรื อ
เรื่องราวที่ผู้ส่งสารต้องการแสดงออกมา ดังนั้น ผู้อื่นอาจจะไม่เห็นพ้องด้วยก็ได้ ทั้งนี้การอ่านตีความต้ อง
พิจารณาเรื่องราวที่อ่านในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. พิจารณาจากเนื้อความ หมายถึง พิจารณาเนื้อหาที่ทาให้ผู้อ่านรับรู้หรือเกิดความคิด อาจกล่าว
อย่างตรงไปตรงมาหรือกล่าวโดยเปรียบเทียบหรือใช้สัญลักษณ์
๒. พิจารณาจากความรู้สึก คือ อารมณ์ที่ประกอบมากับข้อความ
๓. พิจารณาจากน้าเสียง คือ ท่าทีหรือทัศนะของผู้แต่งต่อสิ่งที่กล่าวถึง มักผสมผสาน ไปกับความรู้สึก
เช่น รู้สึกโกรธจะใช้น้าเสียงเกรี้ยวกราด รู้สึกเย้ยหยันจะใช้น้าเสียงประชด เสียดสี เป็นต้น
๔. พิจารณาจากจุดมุ่งหมาย คือ ความตั้งใจหรือสานึกของผู้แต่งที่แสดงออกมา
๕. พิจารณาจากความหมายนัยประหวัดหรือนัยแฝงที่ต้องอาศัยการตีความมากกว่า ความหมาย
โดยตรง
๖. พิจารณาสัญลักษณ์ ซึ่งเป็นส่วนที่ใช้สื่อความหมายแทนบางสิ่งที่ต้องการสื่อ ความหมายโดยตรง
หรืออาจกล่าวได้ว่าใช้สิ่งที่เป็นรูปธรรมแทนสิ่งที่เป็นนามธรรมซึ่งผู้อ่านจะต้อง เชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ เข้าด้วยกัน
หรือใช้วิธีการเทียบเคียงเพื่อพิจารณาความหมายของสัญลักษณ์ ทีผ่ ู้เขียนเลือกใช้
๗. พิจารณาจากบริบทสังคม คือ พิจารณาภูมิหลังของผู้แต่งรวมถึงบริบทสังคมหรือสภาพ สังคม
เหตุการณ์บ้านเมืองในขณะสร้างงานเขียนนั้นเพื่อให้สามารถทาความเข้าใจงานได้ดีขึ้น
แบบฝึกทักษะการอ่านสาหรับนักเรียนชั้นม.๔ หน้า ๓

ตัวอย่างที่ ๑
"ตาน้าพริกละลายแม่น้า"
ตีความด้านเนื้อหา : น้าพริกที่มีปริมาณน้อย เมื่อตาแล้วเทละลายลงแม่น้าย่อมสูญเปล่า เพราะไม่เกิด
รสชาติใดๆเปรียบได้กับการทาอะไรก็ตามแล้วสูญเปล่า
ตีความด้านน้้าเสียง : เตือนสติคนเราว่า การจะทาอะไรต้องประมาณตนว่าสิ่งที่ทาลงไปนั้น จะได้ผล
คุ้มค่าหรือไม่

แบบฝึกหัดเรื่องการอ่านตีความ
ตัวอย่าง ทุกวันนี้ศึกไกลยังไม่ห่วง แต่หวั่นทรวงศึกใกล้ไล่ข่มเหง
ถ้าคนไทยหันมาฆ่ากันเอง จะร้องเพลงชาติไทยให้ใครฟัง
(ดอกไม้ใกล้หมอน : นภาลัย สุวรรณธาดา)
จุดมุ่งหมาย คือ เพื่อเตือนสติให้คนไทยมีความรักและสามัคคีต่อกัน
แนวคิด คือ ความสามัคคีของคนในชาติ
อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตีความจุดมุ่งหมายของผู้เขียน
 “ไม่สาคัญหรอกว่าชีวิตนี้เคยล้มหรือไม่เคยล้ม แต่อยู่ที่ว่าสามารถลุกขึ้นได้ทุกครั้งที่ล้มหรือไม่ บาง
คนเพราะล้มจึงได้รู้ข้อผิดพลาด แล้วนาจุดที่เคยพลาดพลั้งนั้นมาทากาไรให้ชีวิตในอนาคต จนลุกขึ้นยืนได้อีก
ครั้ง”
๑. จุดมุ่งหมาย คือ
.............................................................................................................................................................
 “การทาความดีนั้น โดยมากเป็นการเดินทวนกระแสความพอใจและความต้องการของมนุษย์ จึงทา
ได้ยากและเห็นผลช้า แต่ก็จาเป็นต้องทาเพราะหาไม่ ความชั่วซึ่งทาได้ง่ายจะเข้ามาแทนที่ แล้วจะพอกพูนขึ้น
อย่างรวดเร็วโดยไม่ทันรู้สึกตัว”
(พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร ฯ)
๒. จุดมุ่งหมาย คือ
............................................................................................................................................................
 "ผู้หนักแน่นในสัจจะ พูดอย่างไรทาอย่างนั้น จึงจะได้รับความสาเร็จ พร้อมทั้งความศรัทธา เชื่อถื อ
และความยกย่องสรรเสริญจากคนทุกฝ่าย การพูดแล้วทา คือพูดจริงทาจริง จึงเป็นปัจจัยสาคัญในการส่งเสริม
เกียรติคุณของบุคคลให้เด่นชัด"
(พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร ฯ)
๓. จุดมุ่งหมาย คือ
............................................................................................................................................................
 "การมีเสรีภาพนั้น เป็นของที่ดีอย่างยิ่ง แต่เมื่อจะใช้ จาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังตามความ
รับผิดชอบมิให้ล่วงละเมิดเสรีภาพของผู้อื่นที่เขามีอยู่เท่าเทียมกัน ทั้งมิให้กระทบกระเทือนถึงสวัสดิภาพและ
ความเป็นปกติสุขของส่วนร่วมด้วย"
(พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร ฯ)
๔. จุดมุ่งหมาย คือ
.......................................................................................................................................... ....................
แบบฝึกทักษะการอ่านสาหรับนักเรียนชั้นม.๔ หน้า ๔

“ร้อนอะไรในมนุษย์ที่จุดจบ ไม่ร้อนลบแรงราดซ้ายากเผา
เพลิงโมโหโทสามิซาเซา ร้อนลุ่มเราลุกลนไปจนตาย
อันร้อนกายไข้หนักพอรักษา ใช้หยูกยาถูตรงก็คงหาย
แต่ร้อนจิตติดแน่นสุดแคลนคลาย เป็นโรคร้ายเรื้อรังไม่ฟังยาฯ”
(ไวทยาคุณ)
๕. จุดมุ่งหมาย คือ
.............................................................................................................................................................
“อย่าพยายามทาตัว เป็นเจ้าของใคร หรืออะไร
เพราะสิ่งที่เราจะเป็นเจ้าของได้ มีเพียงลมหายใจของตัวเอง”
(แม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต)
๖. จุดมุ่งหมาย คือ
...........................................................................................................................................................

ตอนที่ ๒ การอ่านแปลความ

การอ่านแปลความ คือการแปลเรื่องราวเดิมให้ออกมาเป็ นคาพูดใหม่หรือเป็นถ้อยคาใหม่ แต่ยังคง


รักษาเนื้อหาและสาระความสาคัญของเรื่องราวเดิมไว้ได้อย่างครบถ้วน ความสามารถใน การอ่านแปลความ
เป็นพื้นฐานของการอ่านตีความและขยายความ เพื่อนาไปใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่า การ
อ่านแปลความมีหลายรูปแบบ ดังนี้
๑) แปลคาศัพท์เฉพาะให้เป็นภาษาธรรมดา เป็นการแปลความหมายจาก ระดับหนึ่งไปสู่อีกระดับหนึ่ง
เช่น เสวย หมายถึง กิน บุปผา หมายถึง ดอกไม้ โจทก์ หมายถึง ผู้ฟ้อง เป็นต้น ถ้าผู้อ่านไม่ทราบความหมาย
ของคาศัพท์เฉพาะในข้อความตอนใด ก็อาจไม่รู้ ความหมาย และไม่สามารถตีความข้อความในประโยค
๒) แปลข้อความเดิมที่เป็นสานวนโวหาร เป็นข้อความใหม่ที่เข้าใจได้ง่ายขึ้น หรือเปลี่ยนแปลงให้เป็น
ภาษาอีกระดับหนึ่ง เช่น ปืนใหญ่ถล่มหงส์แดงยับ ๓ - ๑ แปลความได้ว่า ทีมฟุตบอลอาร์เซนอลเอาชนะทีม
ฟุตบอลลิเวอร์พูลไปด้วยคะแนน ๓ ต่อ ๑ ประตู
๓) แปลสานวนสุภาษิต คาพังเพย บทร้อยกรอง หรือคาภาษาบาลี สันสกฤตที่นา มาใช้ให้เป็นร้อยแก้ว
ที่ได้ใจความสมบูรณ์ เช่น ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารี แปลความได้ว่า ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม
๔) แปลความจากเครื่ องหมาย หรือสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น > แปลว่า มากกว่า < แปลว่า น้อยกว่า
แปลว่า เพศชาย แปลว่า เพศหญิง เป็นต้น

ตัวอย่างการอ่านแปลความ
หน้าวังหรือจะสั่งด้วยนะนก ในแนบอกของพี่ว่าโหยไห้
มิทันสั่งสกุณินก็บินไป ลงจับใกล้นกตะกรุมริมวุ้มวน

คาว่า “สกุณิน” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง นก


แบบฝึกทักษะการอ่านสาหรับนักเรียนชั้นม.๔ หน้า ๕

แบบฝึกหัดเรื่องการอ่านแปลความ
กบเกิดในสระใต้ บัวบาน
ฤาห่อนรู้รสมาลย์ หนึ่งน้อย
ภุมราอยู่ไกลสถาน นับโยชน์ ก็ดี
บินโบกมาค้อยค้อย เกลือกเคล้าเสาวคนธ์
ภุมรา หมายถึง............................................. เสาวคนธ์ หมายถึง....................................................................
แปลความบทประพันธ์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตรงกับสานวนที่ว่า.................................................................................................

กาน้าดาดิ่งด้น เอาปลา
กาบกคิดใคร่หา เสพบ้าง
ลงดาส่ามัจฉา ชลชาติ
สวะปะคอค้าง ครึ่งน้าจาตาย
กาน้า หมายถึง...............................................................................................................
กาบก หมายถึง .............................................................................................................
มัจฉา หมายถึง ............................................................................................................
ชลชาติ หมายถึง ...........................................................................................................
สวะปะคอ หมายถึง .............................................................................................................................................

ตอนที่ ๓ การอ่านขยายความ

การขยายความ หมายถึง วิธีการถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจข้อมูล ข่าวสาร หรือเรื่องราวต่าง ๆ ที่ได้


ศึกษาค้นคว้า แปลความ ตีความ อย่างมีวิจารณญาณ แล้วถ่ายทอดรายละเอียด ของข้อมูล เรื่องราว เพิ่มมาก
ขึ้น ชัดเจน มีสาระและเหตุผล โดยอาศัยเรื่องเดิมหรือข้อความที่ปรากฏเป็นพื้นฐาน การขยายความสามารถทา
ได้หลายวิธี ดังนี้
๑. การกล่าวถึงสาเหตุและผลที่สัมพันธ์กัน
๒. การยกตัวอย่างหรือข้อเท็จจริงมาประกอบเนื้อเรื่องเดิม
๓. การอธิบายสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นเพิ่มเติม
๔. การคาดคะเนสิ่งที่น่าจะเป็น หรือสิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อไป โดยอาศัยข้อมูลเหตุผลจาก เรื่องเดิมเป็น
พื้นฐานการคิดคาดคะเน
๕. การขยายความโดยการให้คานิยามหรือให้คาจากัดความ ซึ่งเป็นการให้ความหมาย ของประเด็น
สาคัญนั้นๆ
๖. การขยายความโดยการเปรียบเทียบอาจเป็นการเปรียบเทียบความเหมือนหรือ ความต่างก็ได้
เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจได้ชัดเจนขึ้น
แบบฝึกทักษะการอ่านสาหรับนักเรียนชั้นม.๔ หน้า ๖

ตัวอย่างที่ ๑
ฝนตกหยิม ๆ ยายฉิมเก็บเห็ด
จากข้อความนี้ สามารถขยายความออกไปได้โดยคิดถึงสิ่งที่นาจะเป็นและใช้เหตุผลประกอบได้ดังนี้
๑. หญิงชราชื่อฉิม มีฐานะยากจน เพระต้องออกไปหาเห็ด แม้ว่าฝนจะตก แกสวมเสื้อผ้าเก่า ๆ
(อาจจะขาดก็ได้เพราะยากจน)
๒. ยายฉิมผู้นี้อยู่ตามลาพัง เพราะหากมีลูกหลานก็ไม่น่าจะใจร้าย ปล่อยให้แกออกไปเก็บเห็ดตาม
ลาพังขณะฝนตก
๓. ยายฉิมอาศัยอยู่ในกระท่อมชายป่าเพราะเป็นภูมิประเทศที่เที่ยวหาเห็ดได้
๔. ขณะที่แกออกไปเก็บเห็ดนั้นเป็นเวลาเช้าตรู่ เพราะถ้าสายอาจมีคนอื่นมาเก็บไปก่อนหรือมิฉะนั้น
ดอกเห็ด ก็จะบานซึ่งไม่เป็นที่นิยมที่จะรับประทาน
๕. เป็นช่วงฤดูฝน
๖. ยายฉิมน่าจะเก็บเห็ดเพื่อเอาไปขาย เพราะอายุขนาดนั้น คงไม่สามารถทางานหนักอย่างอื่นเป็น
อาชีพเลี้ยงตัวเองได้ และที่ต้องเก็บเห็ดไปขายเป็นการดิ้นรนเลี้ยงชีพ เพราะไม่มีลูกหลานคอยดูแล

ตัวอย่างที่ ๒
ความโศกเกิดจากความรัก
ความกลัวก็เกิดจากความรัก
ผู้ที่ละความรักเสียได้ ก็ไม่โศกไม่กลัว
(พุทธภาษิต)
ขยายความได้ว่า
เมื่อบุคคลมีความรักต่อสิ่งใด หรือคนใด เขาก็ต้องการให้สิ่งนั้น คนนั้น คงอยู่กับเขาตลอดไป มนุษย์
โดยทั่วไปย่อมจะกลัวว่าสิ่งนั้นๆหรือคนที่ตนรัก จะสูญหายหรือจากเขาไป ด้วยธรรมดาแล้วทุกสิ่งทุกอย่างย่อม
เปลี่ยนแปลง สูญสลายไปตามสภาพการณ์ ถ้าบุคคลรู้ความจริงข้อนี้ เขาก็จะไม่โศกไม่กลัวต่อไป

แบบฝึกหัดเรื่องการอ่านขยายความ
เหล่าแม่ค้าเรือพายร้องขายของ ส่งเสียงร้องซื้อได้ไหมจ๊ะ ก่อนจะสาย
ทั้งผักปลาผลไม้สวนล้วนมากมาย ดูวุ่นวายสับสนเดินชนกัน

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบฝึกทักษะการอ่านสาหรับนักเรียนชั้นม.๔ หน้า ๗

แบบทดสอบเรื่องการอ่านตีความ แปลความและขยายความ
๑) “ยิ่งก้าวหน้าสามารถอาจกุมโลก ยิ่งวิโยคยิ่งวินาศอาฆาตเฆี่ยน เอาชนะธรรมชาติอาจพากเพียร
เอาชนะใจเจียนจะขาดใจ” จากข้อความวัตถุประสงค์ของผู้เขียนคือข้อใด
๑. ชักชวน ๒. เชิญชวน ๓. แนะนา
๔. ให้ข้อคิด ๕ เตือนสติ

๒) ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์ของผู้แต่งคาประพันธ์ต่อไปนี้
“รุ้งโปรยสีคลี่คาดดาษท้องฟ้า เพียงปลอบว่าแววหวังยังไม่สิ้น
แม้นโลกมวลล้วนมีแต่สีนิล เหนือแผ่นดินยังมีรุ้งสีทอง”
๑. ให้กาลังใจ ๒. คร่าครวญ ๓. ชี้แนะ
๔. ปลอบใจ ๕. ให้ความหวัง

๓) จากบทประพันธ์ ูประพั
ผ้ นธ์แสดงแนวคิดเรื่องใดเป็นสาคัญ
ถ่านไฟยังลุกแดง ย่อมเปลวแรงจะกลับคืน
เติมเชื้อแล้วเติมฟืน ก็โชติช่วงชัชวาล
ความหวังอาจวอดวับ ใช่มอดดับตลอดกาล
เป่าไฟเพียงไม่นาน ยังแดงเด่นดังเช่นเดิม
๑. พลังใจในการต่อูส้ ๒. ไฟที่ไม่สิ้นแสง ๓. ความสว่างของปัญญา
๔. ความปรารถนาของมนุษย์ ๕. พลังแห่งศรัทธา

๔) ข้อใดเป็นจุดประสงค์ของผู้เขียนข้อความต่อไปนี้
ภูมิปัญญาของคนไทยมีค่าพอๆ กับวัตถุดิบหรือคุณสมบัติของสมุนไพรไทย คิดดูว่ากว่าจะผลิต
สินค้าดีๆ ออกมาได้ เขาต้องสั่งสมความรู้อันยาวนาน จากรุ่นสู่รุ่น ลองผิดลองถูกมานับครั้งไม่ถ้วนต้องใช้
แรงงานชาวบ้านตั้งเท่าไรกว่าจะผลิตออกมาได้ เมื่อได้ใช้สินค้าชนิดนี้ซึ่งเป็นสินค้าเลือดไทย ๑๐๐
เปอร์เซ็นต์ แล้วคุณจะรู้สึกภูมิใจมากเหมือนดิฉัน
๑. โน้มน้าวใจให้บริโภคสินค้าชนิดนี้
๒. บอกคุณสมบัติของสินค้าชนิดนี้
๓. ชี้ให้เห็นค่าภูมิปัญญาของคนไทย
๔. แนะนาว่าควรนาสมุนไพรไทยมาผลิตเป็นสินค้า
๕. เข้าใจความรู้สึกของผู้เขียน
๕) บทประพันธ์ข้างต้นเป็นสารประเภทใด
เขียนคนด้วยคนใหม่ เขียนหัวใจด้วยไมตรี
เขียนปากด้วยพจี สุจริตจานรรจา
เขียนสมองและสองมือ ด้วยซื่อสัตย์และศรัทธา
มุ่งมั่นและปัญญา มาเถิดมามาช่วยกัน
๑. ชวนเชื่อ ๒. โน้มน้าว ๓. ให้เหตุผล
๔. ให้ความรู้ ๕. จรรโลงใจ
แบบฝึกทักษะการอ่านสาหรับนักเรียนชั้นม.๔ หน้า ๘

๖) ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์ของผู้แต่งคาประพันธ์ต่อไปนี้
" จากใจรวงใจแรงเป็นล้านล้าน ถึงใจด้านใจดาน้าใจหิน
ว่าเลือดเล็ดเม็ดข้าวที่เจ้ากิน จงถวิลทุกข์เทวษทุเรศร้าว "
๑. เสียดสี
๒. ปลุกจิตสานึก
๓. โน้มน้าวใจ
๔. ตักเตือน
๕. ให้กาลังใจ
๗) คาประพันธ์ต่อไปนี้ มีเนื้อหาที่เด่นชัดในด้านใด
เห็นท่านมีอย่าเคลิ้ม ใจตาม
เรายากหากใจงาม อย่าคร้าน
อุตส่าห์พยายาม การกิจ
เอาเยี่ยงอย่างเพื่อนบ้าง อย่าท้อทากิน
๑. ความเพียร
๒. ความอดทน
๓. ความอดกลั้น
๔. ความพอเพียง
๕. ความทุกข์

๘) คาประพันธ์ต่อไปนีู้ผ้เขียนสื่อความหมายตามข้อใด
ถ้าโลกคือละครใบใหญ่ ูก
ผ้ ากับคือใครที่แอบซอน
เราจะยอมเขากาหนดทุกบทตอน หรือจะต้อนผู้กากับให้อับจน
๑. เยาะเย้ยโชคชะตาอันรันทด
๒. ต้องการลิขิตชีวิตด้วยตนเอง
๓. ปลงตกกับชีวิตที่พลิกผัน
๔. ครุ่นคิดเรื่องอานาจพรหมลิขิต
๕. ประชดประชันชีวิตตนเอง
…………………………………………………………………………………………………………………………..

You might also like