8858700716095PDF

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 21

ตัว

อย
่าง
งานเครื่อ ง ม อ
ื ก ล เ บ อ
้ ื ง ต น


อ ย่า
ตัว

หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ
กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน
6
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 255
อนุศักดิ์ ฉิ่นไพศาล
บรรณาธิการ : รศ.พลสิทธิ์ สิทธิชมภู
ข้อมูลท�งบรรณ�นุกรมของสำ�นักหอสมุดแห่งช�ติ
อนุศักดิ์ ฉิ่นไพศาล.
งานเครื่องมือกลเบื้องต้น.--กรุงเทพฯ : แม็คเอ็ดดูเคชั่น, 2556.
184 หน้า.
1. เครื่องมือกล. I. ชื่อเรื่อง.
621.902
ISBN 978-616-274-304-7


อ ย่า
¨Ñ´¾ÔÁ¾áÅШíÒ˹‹ÒÂâ´Â
ตัว

ผู้เขียน : อนุศักดิ์ ฉิ่นไพศาล


ก�รสั่งซื้อ : ส่งธนาณัติสั่งจ่าย ไปรษณียล�ดพร้�ว ในนาม บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำ�กัด
เลขที่ 9/99 อาคารแม็ค ซอยลาดพร้าว 38 ถนนลาดพร้าว แขวงจันทรเกษม
เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
☎ : 0-2938-2022-7 FAX : 0-2938-2028
www.MACeducation.com
ร�ค�จำ�หน่�ย : 125 บาท
สงวนลิขสิทธิ์ : กันยายน 2556
พิมพที่ : บริษทั ทีเอส อินเตอร์พริ้นท์ จำากัด
(ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¡®ËÁÒ ˌÒÁÅÍ¡àÅÕ¹ äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹Ê‹Ç¹Ë¹Öè§Ê‹Ç¹ã´¢Í§Ë¹Ñ§Ê×ÍàÅ‹Á¹Õé¹Í¡¨Ò¡¨Ðä´ŒÃѺ͹ØÞҵ໚¹ÅÒÂÅѡɳÍÑ¡ÉÃ)
คํานํา

ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556


ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559)
แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-2559) และแผนปฏิบตั กิ ารการเตรียมความพร้อมพลเมือง
เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในป พ.ศ. 2558 ทั้งนี้หลักสูตรดังกล่าวมุ่งผลิตและพัฒนากำาลังคนระดับฝมือ
ให้มีสมรรถนะ มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถประกอบอาชีพอิสระเป็น
ผู้ประกอบการที่มีคุณภาพ หรือประกอบอาชีพอื่นๆ ได้ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ


ทั้งในประเทศและในภูมิภาคอาเซียน
บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำากัด ผู้ผลิตและจำาหน่ายหนังสือเรียน สื่อการเรียนรู้ และวารสาร
ย่า
ทางการศึกษา ทัง้ ในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ระดับอาชีวศึกษา ตระหนักถึงภารกิจสำาคัญในการมีสว่ นร่วม
ในการสนับสนุนส่งเสริมการศึกษาระดับอาชีวศึกษาให้บรรลุผลสมดังเจตนารมณ์ที่ตั้งไว้ จึงได้แต่งตั้ง
คณะทำางานซึ่งประกอบด้วยนักวิชาการ และผู้สอนทั้งในระดับอาชีวศึกษาและระดับอุดมศึกษาที่มี

ความเชีย่ วชาญด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ ดำาเนินการวิเคราะห์หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
พุทธศักราช 2556 ในแต่ละสาขาวิชาเพื่อจัดทำาสื่อการเรียนรู้ อันประกอบด้วย
ตัว

1. หนังสือเรียนทีจ่ ดั ทำาให้ตรงกับจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคำาอธิบายรายวิชา


ทัง้ นี้ โดยคำานึงถึงความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพทัง้ 3 ด้าน คือ ด้านคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และด้านสมรรถนะวิชาชีพ
2. แผนการจัดการเรียนรูท้ มี่ งุ่ เน้นการพัฒนาสมรรถนะของผูเ้ รียนผ่านกิจกรรมเพือ่ เป็นแนวทาง
ให้ผู้สอนนำาไปปรับให้เหมาะสมกับธรรมชาติของผู้เรียนและจุดเน้นของสถานศึกษา
3. คูม่ อื ครูสาำ หรับผูส้ อนใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ และการฝึกประสบการณ์
ให้แก่ผู้เรียนให้สอดคล้องกับหลักสูตร
จุดเด่นของหนังสือเรียนชุดใหม่ มีดังนี้
1. นำาเสนอในรูปแบบหน่วยการเรียนรู้ ที่มีเนื้อหาง่ายต่อการเรียนรู้ แต่ยังคงไว้ซึ่งความ
เข้มข้นและทันสมัย ทัง้ นีเ้ นือ้ หาในหนังสือเรียนมุง่ เน้นให้สมั พันธ์กบั จุดประสงค์การเรียนรู้ หลักการเรียนรู้
ตามสภาพจริง (Authentic Learning) และการประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
2. แทรกกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ กิจกรรมการฝึกกระบวนการคิด (Thinking Skills)
และกิจกรรมเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนให้แก่ผู้เรียน
3. พัฒนาสมรรถนะหลักและสมรรถนะวิชาชีพผ่านกระบวนการปฏิบัติงานโดยใช้ใบช่วยสอน
เป็นสื่อสำ�หรับการฝึกกระบวนการเรียนรู้ที่สำ�คัญ เช่น การเรียนรู้จากโครงงาน (Project–Based
Learning) การพัฒนาเทคโนโลยีให้เป็นเทคโนโลยีสะอาด (Green Technology) และการสร้างสรรค์
นวัตกรรมหรือผลิตภัณฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Economy) เป็นต้น
4. มี แ บบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น โดยจั ด ทำ � แบบทดสอบให้ ส อดคล้ อ งกั บ
จุดประสงค์การเรียนรู้ประจำ�หน่วยการเรียนนั้นๆ ท้ายหน่วยการเรียนรู้ทุกหน่วย
5. สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นความรู้ โดยจัดทำ�เนือ้ หาเพิม่ เติมนอกเหนือ
จากหนังสือเรียนในรูปแบบของ MAC e-knowledge และ QR Code ที่ผู้สอนและผู้เรียนที่มีความสนใจ
จะศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม สามารถหาข้อมูลได้ที่ www.MACeducation.com/e-knowledge หรือ
เชื่ อ มต่ อ กั บ Website ของบริ ษั ท คื อ www.MACeducation.com ซึ่ ง มี ฐ านข้ อ มู ล ที่ ส ามารถ
Download มาศึกษาได้


บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำ�กัด ขอกราบขอบพระคุณสถานศึกษา ผู้สอน ผู้เรียน และผู้ที่สนใจ
ทุกท่านที่ให้ความไว้วางใจในสื่อการเรียนรู้ของบริษัท บริษัทหวังเป็นอย่างยิ่งว่าสื่อการเรียนรู้ชุดนี้คงมี
ย่า
ส่วนช่วยให้การจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพทัดเทียม
ระดับสากลต่อไป

บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำ�กัด



ตัว
คําชี้แจงการใช MAC e-knowledge

เมื่ อ ท่ า นเห็ น สั ญ ลั ก ษณ์ 01.htm ปรากฏอยู่ในหนังสือที่ท้� ยข้ อ คว�มใดแสดงว่าเมื่อท่านอ่านเนื้อหาถึงตอนนั้นแล้ว


ท่านสามารถหาความรูเ้ พิม่ เติมได้โดยการเชือ่ มต่อกับ Website ของบริษทั แม็คเอ็ดดูเคชัน่ จำากัด คือ www.MACeducation.com
วิธีเข้าสู่หน้าเว็บเพจ (Web Page) ความรู้เพิ่มเติม MAC e-knowledge เลือกได้ 3 วิธี ดังนี้ :-
วิธีที่ 1 ผ่�น Website ของบริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำ�กัด ขั้นตอนมีดังนี้ :-
1. เข้าสู่ Website ของบริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำากัด www.MACeducation.com
2. ที่หน้า Homepage ให้คลิกที่สัญลักษณ์์ เพื่อเข้าสู่ MAC e-knowledge
3. คลิกเพื่อเลือกระดับชั้น และหมวดวิช�. รายชื่อจะปรากฏพร้อมรหัสประจำาหนังสือ 10 หลัก.


4. คลิกเพื่อเลือกร�ยชื่อหนังสือที่ต้องการเพื่อเข้าสู่เว็บเพจของหนังสือเล่มนั้น. ชื่อและรหัสของหนังสือเล่มนี้คือ
ง�นเครื่องมือกลเบื้องต้น 3305809100
ย่า
5. คลิกเพื่อเลือกชื่อไฟล.htm เนื้อห�เพิ่มเติมที่ต้องการ เนื้อหาเพิ่มเติมของหัวข้อนั้นๆ ก็จะปรากฏขึ้นบนจอ.
6. ในการเปดดูข้อมูลเรื่องต่อๆ ไปในหนังสือเล่มนี้ ท่านเพียงแต่พิมพเปลี่ยนตัวเลขต่อท้ายตามที่ปรากฏอยู่ใต้สัญลักษณ์
จาก 01 เป็น 02, 03, 04, ... แล้วกดปุม Enter เพื่อเข้าสู่เนื้อหาเพิ่มเติมของเนื้อหานั้นๆ ต่อไป.

01.htm
วิธีที่ 2 โดยก�รพิมพ URL (ตำ�แหน่งที่อยู่ของข้อมูลบน Web) ประจำ�เล่มของหนังสือ ขั้นตอนมีดังนี้ :-
1. พิมพ์ URL ประจำาเล่มของหนังสือเล่มนี้คือ รหัสประจำ�หนังสือ 10 หลัก
ตัว

www.MACeducation.com/e-knowledge/3305809100/

2. พิมพ์ชื่อไฟล.htm ชื่อไฟล์คือตัวเลขที่ปรากฏอยู่ใต้สัญลักษณ ต่อท้าย ในช่อง Address ตามตัวอย่างข้างล่างนี้


01.htm

Address www.MACeducation.com/e-knowledge/3305809100/ 01.htm


01.htm
3. ตรวจสอบความถูกต้อง เสร็จแล้วกดปุม Enter. เนื้อหาเพิ่มเติมของหัวข้อนั้นๆ ก็จะปรากฏขึ้นบนจอ.
4. ในการเปดดูข้อมูลเรื่องต่อๆ ไปในหนังสือเล่มนี้ ท่านเพียงแต่พิมพ์เปลี่ยนตัวเลขต่อท้ายตามที่ปรากฏอยู่ใต้สัญลักษณ์
จาก 01 เป็น 02, 03, 04, ... แล้วกดปุม Enter เพื่อเข้าสู่เนื้อหาเพิ่มเติมของเนื้อหานั้นๆ ต่อไป.
01.htm

วิธีที่ 3 โดยผ่�นบ�รโค้ด 2 มิติที่เรียกว่� QR code ขั้นตอนมีดังนี้ :-


1. เปดการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือหรือคอมพิวเตอร์
2. เปดโปรแกรมที่ใช้สแกน QR code บนโทรศัพท์มือถือหรือคอมพิวเตอร์
3. สแกน QR code ผ่านกล้องถ่ายรูปในโทรศัพท์มือถือหรือกล้องถ่ายรูปของคอมพิวเตอร์ จากนั้นโปรแกรมจะแสดง URL
ของ MAC e-knowledge ของหนังสือเล่มนั้นๆ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมทาง www.MACeducation.com)
บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำ�กัด
รหัส 2100-1008
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องตน
ทฤษฎี 1 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง 2 หนวยกิต

จุดประสงคร�ยวิช�
1. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทำางาน การคำานวณที่ใช้ในงานเครื่องมือกลพื้นฐาน
2. เพื่อให้มีทักษะเกี่ยวกับการตัด เจาะ กลึง ไส งานด้วยเครื่องมือกลเบื้องต้น


3. เพื่อให้มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการทำางานด้วยความละเอียดรอบคอบ ปลอดภัย เป็น
ระเบียบ สะอาด ตรงต่อเวลา มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และรักษาสภาพแวดล้อม
ย่า
สมรรถนะร�ยวิช�
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการทำางาน การบำารุงรักษา การปรับตั้ง การใช้งานเครื่องมือกล

พื้นฐานตามคู่มือ
2. คำานวณค่าความเร็วรอบ ความเร็วตัด อัตราการป้อนงานเครื่องมือกลพื้นฐาน
ตัว

3. ลับคมตัด งานกลึง งานไส และงานเจาะตามคู่มือ


4. ลับมีดกลึงปาดหน้า มีดกลึงปอก งานลับดอกสว่าน งานกลึงปาดหน้า กลึงปอก งานไสราบ
และไสบ่าฉาก ตามคู่มือ
5. เจาะรู และรีมเมอร์ตามแบบสั่งงาน
6. กลึงขึ้นรูปชิ้นงานโลหะตามแบบสั่งงาน
7. ไสปรับขนาดชิ้นงานโลหะตามแบบสั่งงาน

คำ�อธิบ�ยร�ยวิช�
ศึกษาและปฏิบัติงานเกี่ยวกับหลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเครื่องมือกล ชนิด ส่วน
ประกอบ การทำางาน การใช้งานและการบำารุงรักษาเครื่องมือกลเบื้องต้น การคำานวณค่าความเร็ว
รอบ ความเร็วตัด อัตราการป้อน ปฏิบัติงานกลึงปาดหน้า กลึงปอก ไสราบ ไสบ่าฉาก เจาะรู และ
รีมเมอร์ งานลับคมตัดมีดกลึงปาดหน้า มีดกลึงปอกดอกสว่าน
ตารางวิเคราะหสมรรถนะประจําหนวย

หน่วยก�ร
ชื่อหน่วยก�รเรียนรู้ สมรรถนะประจำ�หน่วย
เรียนรู้ที่
1 ความปลอดภัยในโรงงาน ปฏิบัติงานในโรงงานด้วยความปลอดภัย

2 เครื่องตัดวัสดุ ปฏิบัติงานใช้เครื่องตัดวัสดุอย่างถูกต้องและปลอดภัย


3 เครื่องเจาะ ปฏิบัติงานใช้เครื่องเจาะอย่างถูกต้องและปลอดภัย
4 เครื่องกลึง
ย่า ปฏิบัติงานใช้เครื่องกลึงอย่างถูกต้องและปลอดภัย
5 เครื่องไส ปฏิบัติงานใช้เครื่องไสอย่างถูกต้องและปลอดภัย

ตัว
สารบัญ

หน้�
หน่วยก�รเรียนรู้ที่ 1 คว�มปลอดภัยในโรงง�น 1
1. ความปลอดภัยในงาน 2
2. ความปลอดภัยในโรงงาน 2


3. การรักษาความสะอาดบริเวณพื้นที่ทำางาน 6
4. การปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัย 7
5. การป้องกันอัคคีภัย
ย่า 9
6. อันตรายจากเครื่องจักร 10
แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังก�รเรียนรู้ 13

หน่วยก�รเรียนรู้ที่ 2 เครื่องตัดวัสดุ 16
ตัว

1. ความปลอดภัยในการใช้เครื่องตัดวัสดุ 17
2. เครื่องเลื่อยชัก 17
3. เครื่องเลื่อยสายพานแนวนอน 19
4. เครื่องตัดไฟเบอร์ 28
5. เครื่องเลื่อยวงเดือน 29
6. เครื่องเลื่อยสายพานแนวตั้ง 31
แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังก�รเรียนรู้ 46
หน่วยก�รเรียนรู้ที่ 3 เครื่องเจ�ะ 48
1. ลักษณะการทำางานของเครื่องเจาะ 49
2. ชนิดของเครื่องเจาะ 51
3. ความปลอดภัยในการใช้เครื่องเจาะ 56
หน้า
4. อุปกรณ์จับดอกสว่านและอุปกรณ์จับยึดชิ้นงาน 57
5. ดอกสว่าน 59
6. ความเร็วรอบและอัตราป้อนในงานเจาะ 60
7. น�้ำมันตัด 64
8. ความเร็วรอบและอัตราป้อนในงานคว้านรู 65
9. การเจาะรู 66
10. การคว้านรู 69
11. การลับดอกสว่าน 78
แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ 88
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องกลึง

ง 90
ย่า
1. ประวัติความเป็นมาของเครื่องกลึง 91
2. ความปลอดภัยในการใช้เครื่องกลึง 92
3. การบ�ำรุงรักษาเครื่องกลึง 94

4. ขนาดและส่วนต่างๆ ของเครื่องกลึง 95
5. อุปกรณ์จับชิ้นงานกลึง 97
ตัว

6. ความเร็วตัด อัตราป้อน และความลึกในการตัด 101


7. การค�ำนวณเวลาในงานกลึง 104
8. การถอดและประกอบหัวจับเครื่องกลึง 105
9. การลับมีดกลึง 111
10. การกลึงบนเครื่องกลึง 115
แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ 146
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เครื่องไส 148
1. ชนิดของเครื่องไส 149
2. ความเร็วไสและช่วงชัก 151
3. อัตราการป้อนไส 153
หน้า
4. มีดไส 154
5. ความปลอดภัยในการใช้เครื่องไส 155
6. การเตรียมการท�ำงานของเครื่องไส 155
7. การไสงาน 158
แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ 167
หนังสืออ้างอิง 170

ดัชนี 171


อ ย่า
ตัว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
ความปลอดภัยในโรงงาน
(Safety in the Plant)

สาระการเรียนรู้
1. ความปลอดภัยในงาน


2. ความปลอดภัยในโรงงาน
3. การรักษาความสะอาดบริเวณพืน้ ทีท่ า� งาน
4. การปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัย
ย่า
5. การป้องกันอัคคีภัย
6. อันตรายจากเครื่องจักร
จุดประสงคการเรียนรู้
1. บอกสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุในโรงงาน

ได้
กิจกรรมเตรียมความพร้อม 2. อธิบายลักษณะของการท�างานด้วยความ
ตัว

สู่ประชาคมอาเซียน ปลอดภัยได้
ความปลอดภัย 3. จ�าแนกประเภทของความปลอดภัยส่วน
คัดเลือกค�าศัพท์หรือส�านวนภาษาอังกฤษ ในโรงงาน บุคคลได้
จากหน่วยการเรียนรู้ เพื่อทบทวนและสร้าง 4. บอกวิธกี ารรักษาความสะอาดบริเวณพืน้ ที่
ความเข้าใจให้มากขึ้น ท�างานในโรงงานได้
5. อธิ บ ายวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ง านด้ ว ยความ
ปลอดภัยได้
6. บอกวิธีการป้องกันอัคคีภัยในโรงงานได้
7. อธิบายอันตรายจากการใช้เครื่องจักรได้
สมรรถนะประจำาหน่วย

ปฏิบัติงานในโรงงานด้วยความปลอดภัย

1
งานเครื่องมือกลเบื้องต้น

ความปลอดภัยในโรงงาน

■ 1. ความปลอดภัยในงาน
หลักการท�ำงานด้วยความปลอดภัยเป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับการท�ำงานในงานช่างกลโรงงานเพื่อลด
อุบตั เิ หตุ นอกจากนีอ้ บุ ตั เิ หตุทเี่ กิดขึน้ ในแต่ละปีทำ� ให้สญ
ู เสียเงิน งบประมาณ เสียเวลา เสียอวัยวะของร่างกาย
สูญเสียชีวติ และสูญเสียก�ำลังการผลิต เพราะฉะนัน้ อุบตั เิ หตุสามารถหลีกเลีย่ งได้โดยตัวบุคคลทีท่ ำ� งานกับ
เครือ่ งจักรเอง ด้วยวิธกี ารเรียนรูก้ ารใช้เครือ่ งมือเครือ่ งจักรอย่างปลอดภัย การสร้างนิสยั รักความปลอดภัย
ตลอดจนการบ�ำรุงรักษาเครือ่ งมือเครือ่ งจักรอย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ หลีกเลีย่ งสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุ


ลักษณะของการท�ำงานด้วยความปลอดภัย มีดังนี้
1.1 ท�ำงานอย่างประณีตและแต่งกายให้รัดกุม
ย่า
1.2 พัฒนาความรับผิดชอบต่อความปลอดภัยส่วนบุคคลและความปลอดภัยต่อเพื่อนร่วมงาน
1.3 ค�ำนึงถึงความปลอดภัยและท�ำงานด้วยความปลอดภัยตลอดเวลา

■ 2. ความปลอดภัยในโรงงาน

ความปลอดภัยในโรงงาน (Safety in the Plant) อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
ตัว

1) ความปลอดภัยในโรงงานที่ต้องป้องกันอุบัติเหตุกับผู้ปฏิบัติงาน
2) ความปลอดภัยในโรงงานที่ต้องป้องกันความเสียหายแก่เครื่องมือเครื่องจักร ซึ่งบ่อยครั้ง
เมื่อเครื่องมือเครื่องจักรชำ�รุดเสียหายจะส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุแก่ผู้ปฏิบัติงาน
การป้องกันเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในโรงงานมีหลักการป้องกัน ดังนี้

2.1 การป้องกันดวงตา (Eyes Protection)


การป้องกันดวงตา (Eyes Protection) เป็นข้อพิจารณาเบื้องต้นในการท�ำงานในงานช่างกล
โรงงาน การท�ำงานกับเครื่องจักรจะท�ำให้เกิดเศษโลหะซึ่งสามารถกระเด็นเข้าตาของผู้ปฏิบัติงานได้ตลอด
เวลา นอกจากนีเ้ ครือ่ งมือตัดยังท�ำจากวัสดุแข็ง ซึง่ อาจแตกกระเด็นโดนผูป้ ฏิบตั งิ านได้ในระหว่างการท�ำงาน
กับเครือ่ งจักร
การป้องกันดวงตาจากอุบัติเหตุ คือ ต้องสวมใส่แว่นตาตลอดเวลาการทำ�งาน แว่นตาที่ใช้ในงาน
ช่างกลโรงงานมีหลายชนิด เช่น

2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

2.1.1 แว่นตานิรภัย (Safety Glasses) ดังรูปที่ 1.1


ซึง่ มีเลนส์ปอ้ งกันการกระแทก และสามารถเปลีย่ นเลนส์เมือ่ เลนส์
มีรอยขีดข่วน

รูปที่ 1.1 แสดงแว่นตานิรภัย

2.1.2 แว่นตาทีม่ กี าร์ดป้องกันด้านข้าง (Side Shields


Glasses) เป็นแว่นตาที่ต้องสวมใส่ขณะท�ำงานเจียระไน เพื่อ
ป้องกันเศษหินเจียระไนกระเด็นเข้าทางด้านข้างของแว่นตา
ดังรูปที่ 1.2


ย่า รูปที่ 1.2 แสดงแว่นตาที่มีที่ป้องกันด้านข้าง

2.1.3 แว่นตาสวมนิรภัย (Safety Goggles) เป็น


แว่นตาที่เหมาะกับการสวมใส่เมื่อท�ำงานเจียระไนวัสดุ เจียระไน
รอยเชือ่ มด้วยการใช้เครือ่ งเจียระไนด้วยมือ หรือการตัดโลหะด้วย
เครื่องตัดไฟเบอร์ ดังรูปที่ 1.3

ตัว

รูปที่ 1.3 แสดงแว่นตาสวมนิรภัย

2.2 การป้องกันเท้า (Feet Protection)


โดยทัว่ ๆ ไปในงานช่างกลโรงงาน อุบตั เิ หตุมกั ไม่คอ่ ยเกิดกับ
เท้าของผูป้ ฏิบตั งิ านบ่อยนัก อย่างไรก็ตามอาจมีอบุ ตั เิ หตุจากสิง่ ของ
หรือวัสดุหล่นทับเท้าของผูป้ ฏิบตั งิ านได้ รองเท้านิรภัยเป็นรองเท้า
ทีใ่ ช้สวมใส่เพือ่ ป้องกันวัสดุหล่นใส่เท้า ลักษณะของรองเท้านิรภัยนัน้
ส่วนหัวของรองเท้าจะเป็นหนังแข็งหรือโลหะ ดังรูปที่ 1.4

รูปที่ 1.4 แสดงรองเท้านิรภัย

3
งานเครื่องมือกลเบื้องต้น

2.3 การป้องกันหู (Ears Protection)


ในงานช่างกลโรงงานปกติแล้วจะไม่มงี านใดทีท่ ำ� ให้เกิดเสียง
ดังมากๆ อย่างไรก็ตามแผนกช่างกลโรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม
อาจอยูใ่ กล้กบั งานสร้างโครงสร้างหรืองานเครือ่ งปัม๊ โลหะ ซึง่ จ�ำเป็น
ต้องมีอปุ กรณ์ใส่หเู พือ่ ป้องกันเสียงทีด่ งั เกินไป
เสียงในโรงงานอุตสาหกรรม ถ้าดังต่อเนือ่ งเกิน 85 เดซิเบล
จะเป็นอันตรายต่อหู ถ้าดังเกิน 115 เดซิเบล ต้องใส่อปุ กรณ์ปอ้ งกัน
เสียง ดังรูปที่ 1.5
รูปที่ 1.5 แสดงอุปกรณ์ป้องกันเสียง

ตารางแสดงระดับของเสียงต่างๆ ในชีวิตประจ�ำวัน


เสียงในชีวิตประจ�ำวัน เดซิเบล
ย่า
เสียงเครื่องยนต์เจ็ทของเครื่องบิน 130
เสียงเครื่องบินที่ติดเครื่องจอดอยู่บนสนามบิน 120
เสียงหม้อต้มน�ำ้ ในโรงงาน 110
เสียงรถยนต์วิ่งบนถนนหนาแน่น 100

เสียงตะโกนดังๆ 90
เสียงรถบรรทุกเครื่องยนต์ดีเซล 80
ตัว

เสียงสุนัขเห่า 70
เสียงในส�ำนักงาน 60
เสียงผู้คนอาศัยในเมือง 50
เสียงพิมพ์ดีด 40
เสียงพลิกกระดาษหนังสือพิมพ์ 30
เสียงหัวใจเต้น (มนุษย์) 20

2.4 การสวมใส่เสื้อผ้าและเครื่องประดับ (Wearing Cloths and Jewelry)


การสวมเสื้ อ ผ้ า โดยใส่ เ นกไทหรื อ การสวมเครื่ อ งประดั บ เช่ น แหวน นาฬิ ก า สร้ อ ยคอ ฯลฯ
สิ่งเหล่านี้อาจเป็นสาเหตุให้เกิดอุบัติเหตุได้ตลอดเวลาการท�ำงาน เพราะฉะนั้นขณะท�ำงานต้องถอด
เครื่องประดับและสวมเสื้อผ้าให้รัดกุม ดังรูปที่ 1.6

4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

รูปที่ 1.6 แสดงการสวมเสื้อผ้าอย่างรัดกุม

2.5 การป้องกันมือ (Hand Protection)


การท�ำงานกับเครื่องมือเครื่องจักร สิ่งส�ำคัญและจ�ำเป็นที่สุด คือ ต้องตระหนักถึงความปลอดภัย
ตลอดเวลา โดยเฉพาะการท�ำงานกับเครื่องมือเครื่องจักรที่ต้องใช้มือ เช่น ขณะท�ำการกลึงไม่ควรใช้มือดึง
ย่า
เศษกลึง ซึ่งเศษกลึงอาจบาดมือของผู้ปฏิบัติงานกลึงได้ ดังรูปที่ 1.7 และขณะท�ำความสะอาดเครื่องกลึง
ต้องใช้แปรงปัดท�ำความสะอาด ดังรูปที่ 1.8

ตัว

รูปที่ 1.7 แสดงการใช้มือดึงเศษกลึงซึ่งไม่ควรทำ� รูปที่ 1.8 แสดงการใช้แปรงปัดทำ�ความสะอาดเครื่องกลึง

2.6 การยกของหนัก (Lifting Heavy Objects)


การยกของหรือวัสดุทไี่ ม่ถกู ต้องอาจเป็นผลให้เกิดอันตรายกับหลังของผูย้ ก การหลีกเลีย่ งอุบตั เิ หตุจาก
การยกของหนักสามารถท�ำได้โดยการช่วยกันยกหลายๆ คน หรือใช้อปุ กรณ์ชว่ ยยก หรือใช้รถฟอร์คลิฟต์ยก

5
งานเครื่องมือกลเบื้องต้น

วิธีการยกของหนักด้วยความปลอดภัย ดังรูปที่ 1.9 มีดังนี้


2.6.1 ยืดหลังให้ตรง
2.6.2 ย่อตัวลงและงอหัวเข่า
2.6.3 ยกของขึ้นโดยการใช้กล้ามเนื้อขาและยืดหลังให้ตรง
2.6. 4 การวางของหลังจากการยก กระท�ำลักษณะเดียวกับการยกของ ข้อส�ำคัญคือหลังต้องตรง


รูปที่ 1.9 แสดงการยกของหนักอย่างถูกวิธี
ย่า
■ 3. การรักษาความสะอาดบริเวณพื้นที่ทำ�งาน

หลักปฏิบัติในการรักษาความสะอาดบริเวณพื้นที่ทำ� งานในโรงงาน มีดังนี้
3.1 ปิดเครื่องจักรก่อนท�ำความสะอาดทุกครั้ง
3.2 รักษาความสะอาดเครื่องมือเครื่องจักรอย่างสม�ำ่ เสมอ
ตัว

3.3 ใช้แปรงปัดท�ำความสะอาดเศษโลหะ ห้ามใช้เศษผ้าท�ำความสะอาด


3.4 อย่าวางเครื่องมือหรืออุปกรณ์บนโต๊ะงานของเครื่องจักร ให้วางกับโต๊ะข้างเครื่องจักร
3.5 ปัดกวาดเศษโลหะบนพื้นบ่อยๆ ก่อนออกจากโรงงาน และต้องท�ำความสะอาดพื้นรองเท้า
ให้ปราศจากเศษโลหะ ดังรูปที่ 1.10

รูปที่ 1.10 แสดงการท�ำความสะอาดพื้นรองเท้า

6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

3.6 รักษาความสะอาดบริเวณพืน้ โรงงานให้ปราศจากน�ำ้ มันหรือจาระบี เพือ่ ป้องกันการลืน่ ล้ม


3.7 อย่าวางเครือ่ งมือหรือวัสดุบนพืน้ ใกล้ๆ กับเครือ่ งจักร เพือ่ ป้องกันการสะดุดล้มในขณะปฏิบตั งิ าน
3.8 ห้ามใช้ลมเป่าท�ำความสะอาดเครือ่ งจักร เพราะเศษโลหะอาจกระเด็นเข้าตาในขณะท�ำความสะอาด
ดังรูปที่ 1.11


รูปที่ 1.11 แสดงการใช้ลมเป่าทำ�ความสะอาดเครื่องจักรซึ่งไม่ควรทำ�
ย่า
■ 4. การปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัย

การปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัย (Working Safety) มีหลักปฏิบัติดังนี้
4.1 ก่อนปฏิบัติงานกับเครื่องจักรควรศึกษาและท�ำความเข้าใจการใช้เครื่องจักร และต้องรู้วิธีการ
ตัว

หยุดเครื่องจักรอย่างฉุกเฉินเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
4.2 ก่อนปฏิบตั งิ านกับเครือ่ งมือเครือ่ งจักรต้องตรวจสอบอุปกรณ์เพือ่ ความปลอดภัย และเครือ่ งจักร
มีสภาพพร้อมที่จะใช้งานได้ตลอดเวลา ดังรูปที่ 1.12

รูปที่ 1.12 แสดงการครอบนิรภัยของเครื่องเจียระไน

7
งานเครื่องมือกลเบื้องต้น

4.3 ขณะท�ำการซ่อมเครื่องจักรต้องปิดสวิตช์ไฟฟ้า และติดป้ายให้ผู้อื่นทราบว่าเครื่องเสียหรือ


ก�ำลังซ่อม
4.4 ก่อนใช้เครื่องมือตัดในการปฏิบัติงานควรตรวจสอบเครื่องมือและชิ้นงานว่าอยู่ในต�ำแหน่งที่
ถูกต้อง เหมาะสมก่อนที่จะเริ่มเดินเครื่อง ดังรูปที่ 1.13


ย่า
รูปที่ 1.13 แสดงการตรวจสอบต�ำแหน่งของชิ้นงานให้ถูกต้อง

4.5 ต้องหยุดเครื่องจักรทุกครั้งก่อนท�ำการวัดชิ้นงานหรือท�ำความสะอาด ดังรูปที่ 1.14



ตัว

รูปที่ 1.14 แสดงการวัดชิ้นงานโดยใช้เวอร์เนียร์

4.6 ก่อนที่จะจับต้องชิ้นงานควรขจัดรอยขรุขระและครีบคมด้วยตะไบ เพื่อไม่ให้รอยคมที่ชิ้นงาน


บาดมือ
4.7 ห้ามยกสิ่งของหนักโดยล�ำพัง เพราะอาจท�ำให้บาดเจ็บที่หลัง
4.8 ตรวจสอบการจับยึดชิน้ งานบนปากกาจับยึดชิน้ งานและโต๊ะงานรองรับชิน้ งานว่าอยูใ่ นต�ำแหน่ง
ที่ถูกต้องและเหมาะสม

8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

4.9 ห้ามเปิดเครื่องจักรจนกระทั่งแน่ใจว่าเครื่องมือตัดและชิ้นงานอยู่ห่างกัน ดังรูปที่ 1.15

รูปที่ 1.15 แสดงเครื่องมือตัดอยู่ห่างจากชิ้นงาน


4.10 ควรเลือกใช้ประแจให้เหมาะสมกับงาน ดังรูปที่ 1.16
อ ย่า
ตัว

รูปที่ 1.16 แสดงการใช้ประแจให้เหมาะสมกับงาน

■ 5. การป้องกันอัคคีภัย
การป้องกันอัคคีภัย (Fire Protection) มีหลักในการ
ปฏิบัติดังนี้
5.1 ตรวจสอบถังดับเพลิงให้พร้อมส�ำหรับการใช้งาน
ดังรูปที่ 1.17

รูปที่ 1.17 แสดงการตรวจสอบถังดับเพลิง

9
ตัว
อย
่าง

You might also like