Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 24

เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 1

ชื่อ.........................................................................................เลขที่...............ชั้น..................
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แน โคง
7.1 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล
7.1.1 ลัก ณะการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลเปนการเคลื่อนที่ของ ัตถุอยางอิ ระ เกิดขึ้นเมื่อแรงลัพธที่กระทำตอ ัตถุมีทิ ทางทำมุมใด
ๆ กับค ามเร็ ของ ัตถุตลอดเ ลา งผลใ  ัตถุเคลื่อนที่เปนรูปโคงพาราโบลา เชน การข าง ัตถุทำมุมใด ๆ กับแน ระดับ
รือข าง ัตถุจากยอดตึก รือข าง ัตถุจาก นาผา ขณะที่ ัตถุเคลื่อนที่จะมีแรงดึงดูดของโลกกระทำตอ ัตถุนั้นตลอดเ ลา
โดยการเคลื่อนที่นั้นจะไดระยะทั้งในแน ระดับและในแน ดิ่ง เมื่อพิจารณาการทดลองเกี่ย กับการตกของ ัตถุ พรอมกับ
การดีดใ  ัตถุนั้นกระเด็นออกไปพรอมกันจากจุดเดีย กัน ซึ่งอยูจากที่ ูงจากพื้นระดับ นึ่ง ดังรูปที่ 7.1 จากการทดลอง
พบ า
1. ัตถุที่ตกในแน ดิ่งมีการกระจัดในแน ดิ่ง 𝑠 เพียงแน เดีย ทำใ 
การเคลื่อนที่เปนเ นตรง  น ัตถุที่ถูกดีดมีการกระจัดทั้งในแน ดิ่ง 𝑠 และ
ในแน ระดับ 𝑠 ทำใ การเคลื่อนที่เปนทางโคงในแน ดิ่งแบบพาราโบลา
เรียก “การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล”
2. ัตถุทั้ง องมีการกระจัดในแน ดิ่งเทากัน เพราะตกถึงพื้นพรอมกัน
และเ ลาที่ใชเทากัน
3. เมื่อไมคดิ แรงตานของอากา ัตถุทั้ง องมีแรงดึงดูดของโลกกระทำ
เพียงแรงเดีย มีค ามเรงในแน ดิ่งเทากันคือ 𝑔⃑
จะเ ็น าการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลประกอบด ยการเคลื่อนที่ 2
แน พรอมกัน คือ แน ระดับและแน ดิ่ง ซึ่งพบ าค ามเร็ เริ่มตนในแน
ระดับไมมีผลตอการเคลื่อนที่ในแน ดิ่ง โดยดูจากการตกของ ัตถุที่ปลอย
และ ัตถุที่ดีด ณ จุดเริ่มตนเดีย กันจะตกถึงพื้นพรอมกัน แตถาดีดแรงตกไกล ดีดคอยตกใกล แ ดง าการเคลื่อนที่ในแน
ระดับไมมีผลตอการเคลื่อนที่ในแน ดิ่ง ดังนั้นจึงแยกคิดการเคลื่อนที่เปนอิ ระตอกัน 2 แน
7.1.2 การเคลื่อนที่ในแน ระดับของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล (แกน x)
ถาไมมีแรงตานอากา ขณะที่ ัตถุเคลื่อนที่อยูในอากา จะมีแรงดึงดูดของโลก (𝑚𝑔⃑) กระทำเพียงแรงเดีย เทานั้น โดย
ในแน ระดับแรงกระทำตอ ัตถุมีคาเปน ูนย ∑ 𝐹⃑ = 0 ดังนั้นค ามเรงในแน ระดับจะเปน ูนย รือ ัตถุมีการเคลื่อนที่ใน
แน ระดับด ยค ามเร็ คงตั นั่นเอง จึงได มการการเคลื่อนที่ในแน ระดับเ มือนกันกับการเคลื่อนที่ในแน ตรงดัง มการที่
(7.1)
𝒔 𝒙 = 𝒖𝒙 𝒕 …..(7.1)
เมื่อ 𝑠 คือ การกระจัดในแน ระดับ (m), 𝑢 คือ ค ามเร็ ในแน ระดับ (m/s), 𝑡 คือ ช งเ ลาของการเคลื่อนที่ (s)
7.1.3 การเคลื่อนที่ในแน ดิ่งของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล (แกน y)
เนื่องจากขณะ ัตถุเคลื่อนที่อยูในอากา จะมีแรงดึงดูดของโลกกระทำเพียงแรงเดีย (𝑚𝑔⃑) ค ามเรงของ ัตถุในแน ดิ่ง
𝑎 จะเทากับ 𝑔 การเคลื่อนที่ของ ัตถุแบบโพรเจกไทลในแน ดิ่งจะเ มือน ัตถุตกอยางอิ ระทุกประการ ดังนั้น มการการ
เคลื่อนที่ของ ัตถุในแน ดิ่งเปนดัง มการที่ (7.2)
𝟏 𝟏
𝒗𝒚 = 𝒖𝒚 + 𝒈𝒕 𝒔𝒚 = 𝒖𝒚 𝒕 + 𝟐 𝒈𝒕𝟐 𝒔𝒚 = 𝒗𝒚 𝒕 − 𝟐 𝒈𝒕𝟐
𝒖𝒚 𝒗𝒚
𝒔𝒚 = 𝟐
𝒕 𝒗𝟐𝒚 = 𝒖𝟐𝒚 + 𝟐𝒈𝒔𝒚 …..(7.2)
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 2

เมื่อ 𝑠 คือ การกระจัดในแน ดิ่ง (m) 𝑡 คือ ช งเ ลาของการเคลื่อนที่ (s)


𝑢 คือ ค ามเร็ ตนในแน ดิ่ง (m/s) 𝑔 คือ ค ามเรงโนมถ งของโลก (m/s2)
𝑣 คือ ค ามเร็ ใดๆ ในแน ดิ่ง (m/s)
7.1.4 การกระจัดและค ามเร็ ของ ัตถุซึ่งเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลมีการเคลื่อนที่ทั้งในแน ระดับและแน ดิ่งพรอมกัน ซึ่ง ามารถ าขนาดของการกระจัด
และขนาดของค ามเร็ ในแน ดิ่งและแน ระดับแยกจากกัน แล นำมาคิดร มกันในภาย ลังเพื่อ าการกระจัดขณะ นึ่งและ
ค ามเร็ ขณะ นึ่งของ ัตถุดังนี้
𝑦
เมื่อ 𝑠 คือ การกระจัดในแน ระดับของ ัตถุจากจุดเริ่มตน
𝑠
𝑥 𝑠 คือ การกระจัดในแน ดิ่งของ ัตถุจากจุดเริ่มตน
α 𝑠 คือ การกระจัดลัพธของ ัตถุจากจุดเริ่มตน
𝛼 คือ มุมที่การกระจัดลัพธกระทำในแน ระดับ
𝑠 𝑠⃑ 𝑣 คือ ค ามเร็ ในแน ระดับของ ัตถุจากจุดเริ่มตน
𝑣 𝑣 คือ ค ามเร็ ในแน ดิ่งของ ตั ถุจากจุดเริ่มตน
θ 𝑣 คือ ค ามเร็ ลัพธของ ัตถุจากจุดเริ่มตน
𝑣 𝑣⃑
𝜃 คือ มุมที่ค ามเร็ ลัพธกระทำในแน ระดับ

รูปที่ 7.2 การกระจัดและค ามเร็ ของ ัตถุซึ่งเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล โดยเริ่มเคลื่อนที่จากจุดกำเนิดของแกนอางอิง xy


จากรูปที่ 7.2 เนื่องจากการกระจัดและค ามเร็ ในแน ระดับและการกระจัดในแน ดิ่งตั้งฉากกัน จึง ามารถ าขนาด
และทิ ทางของการกระจัดลัพธและค ามเร็ ลัพธของ ัตถุไดจากการใชพีทากอรั จะได า
ขนาดของการกระจัดลัพธ 𝒔 = 𝒔𝟐𝒙 + 𝒔𝟐𝒚 ทิ ทางของการกระจัด 𝒕𝒂𝒏𝜶 = 𝑺𝑺𝒚𝒙
𝒗𝒚
ขนาดของค ามเร็ ลัพธ 𝒗= 𝒗𝟐𝒙 + 𝒗𝟐𝒚 ทิ ทางของค ามเร็ ลัพธ 𝒕𝒂𝒏𝜽 =
𝒗𝒙

7.1.5 ลัก ณะของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลที่มคี ามเร็ ตนในทิ ทางทำมุมกับแน ระดับ


การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลที่มีค ามเร็ ตนในทิ ทางทำ
มุมกับ แน ระดั บ ไดแ ก การพุ งแ ลน การทุมน้ำ นัก การ
กระโดดไกล เปนตน การ ิเคราะ การเคลื่อนที่แบบโพรเจก
ไทลแ ดงไดดังรูปที่ 7.3 ัตถุเคลื่อนที่ออกจากจุดกำเนิดของ
ระบบแกนมุมฉาก xy ด ยค ามเร็ ตน 𝑢⃑ ในทิ ทางทำมุม 𝜃
กับ แกน x รือ แน ระดับ แน การเคลื่อ นที่จะเปน เ นโคง
พาราโบลาค ่ำ ซึ่งค ามเร็ ตน 𝑢⃑ นี้แยก ิเคราะ อ อกเปน
ค ามเร็ ในแน ระดับ 𝑢 และแน ดิ่ง 𝑢 ไดดงั นี้
รูปที่ 7.3 การเคลื่อนที่ของ ตั ถุที่มีค ามเร็ ตนทำมุมกับ
ค ามเร็ ตนในแน ระดับ 𝑢 = 𝑢𝑐𝑜𝑠𝜃 แน ระดับ
และค ามเร็ ตนในแน ดิ่ง 𝑢 = 𝑢𝑠𝑖𝑛𝜃
การเคลื่อนที่ในแน ระดับจะไดการกระจัดในแน ระดับเปน 𝒔𝒙 = 𝒖𝒙 𝒕 = (𝒖𝒄𝒐𝒔𝜽)𝒕 …..(7.3)
เมื่อ 𝑠 คือ ขนาดของการกระจัดในแน ระดับ (m) 𝑢 คือ ขนาดของค ามเร็ ในแน ระดับ
𝑡 คือ ช งเ ลาของการเคลื่อนที่ (s)
โดยขนาดของการกระจัดในแน ระดับ รือระยะทางที่ ัตถุเคลื่อนที่ไดในแน ระดับจากเริ่มตนจนตกถึงพื้นระดับเดิม
เรียก า “พิ ัย (range)” ของ ัตถุ
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 3

 นการเคลื่อนที่ในแน ดิ่งจะไดการกระจัดในแน ดิ่งเปน


𝟏 𝟏
𝒔𝒚 = 𝒖𝒚 𝒕 + 𝒂𝒚 𝒕𝟐 = (𝒖𝒔𝒊𝒏𝜽)𝒕 − 𝒈𝒕𝟐
𝟐 𝟐
…..(7.4)

เมื่อ 𝑠 คือ ขนาดของการกระจัดในแน ดิ่ง (m) 𝑡คือ ช งเ ลาของการเคลื่อนที่ (s)


𝑢 คือ ขนาดของค ามเร็ ตนในแน ดิ่ง (m/s) 𝑎 คือ ขนาดค ามเรงในแน ดิ่ง ซึ่งเทากับ −𝑔 (m/s2)
การคำน ณ าปริมาณตาง ๆ ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล เมื่อมีค ามเร็ ตนในทิ ทางทำมุมกับแน ระดับ ทำได
ดังนี้
ก. าเ ลาที่ ัตถุใชในการเคลื่อนที่ขึ้นจนตกลงมาในแน ระดับที่ข าง
พิจารณาการเคลื่อนที่ในแน ดิ่ง จาก 𝑠 =𝑢 𝑡+ 𝑎 𝑡
แทนคาการกระจัดในแน ดิ่งเปน ูนย 0 = 𝑢𝑠𝑖𝑛𝜃𝑡 − 𝑔𝑡
𝟐𝒖𝒔𝒊𝒏𝜽
จะไดเ ลาในการเคลื่อนที่ 𝒕= …..(7.5)
𝒈

ข. าพิ ัยในการเคลื่อนที่ (𝒔𝒙 )


พิจารณาการเคลื่อนที่ในแน ระดับ จาก 𝑠 =𝑢 𝑡
แทนคา 𝑢 = 𝑢𝑐𝑜𝑠𝜃 และ 𝑡 = ได 𝑠 = (𝑢𝑐𝑜𝑠𝜃)( )
( )
𝑠 =
ซึ่ง 2𝑐𝑜𝑠𝜃𝑠𝑖𝑛𝜃 = 𝑠𝑖𝑛2𝜃
𝒖𝟐 𝒔𝒊𝒏𝟐𝜽
จะไดพิ ัยในการเคลื่อนที่ 𝒔𝒙 =
𝒈
…..(7.6)

𝒖𝟐
ถาตองการข างใ  ัตถุเคลื่อนที่ไปไกลที่ ุดตองทำมุม 45o จะได 𝒔𝒙,𝒎𝒂𝒙 = 𝒈
…..(7.7)
ค. าการกระจัด ูง ุดในแน ดิ่ง (𝒔𝒚 )
พิจารณาการเคลื่อนที่ในแน ดิ่ง จาก 𝑣 = 𝑢 + 2𝑎 𝑠
ณ จุด ูง ดุ ค ามเร็ แกน y เปน ูนย จะได า 0 = 𝑢 𝑠𝑖𝑛 𝜃 − 2𝑔𝑠
𝒖𝟐 𝒔𝒊𝒏𝟐 𝜽
จะไดการกระจัด ูง ุดในแน ดิ่ง 𝒔𝒚 =
𝟐𝒈
…..(7.8)
ง. ามุมยิงเมื่อกำ นดการกระจัดในแน ระดับและการกระจัด ูง ุดในแน ดิ่ง (𝜃)
𝒔𝒚 𝟏
าไดจาก 𝒔𝒙
= 𝒕𝒂𝒏𝜽
𝟒
…..(7.9)

จ. เงื่อนไขในการข าง ัตถุด ยค ามเร็ เทากันใ ตกอยูในตำแ นงเดีย กัน


าไดจาก 𝜽𝟏 + 𝜽𝟐 = 𝟗𝟎° …..(7.10)
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 4

แบบฝก ัด 7.1
1. A และ B เปนทรงกลมที่มีรั มีเทากัน แตม ลของ A เปน องเทาของม ลของ B ถาปลอย A ใ ตกลงในแน ดิ่ง พรอม ๆ
กับที่ข าง B ออกไปในแน ระดับดังรูป ขอใดตอไปนี้ถูกตองถาไมคำนึงถึงค ามตานทานของอากา
ก. A ตกถึงพื้นกอน B A
ข. A และ B ตกถึงพื้นด ยอัตราเร็ เทากัน B
ค. A ตกถึงพื้นพรอมกับ B แต A มีอตั ราเร็ กระทบพื้นมากก า B
ง. A ตกถึงพื้นพรอมกับ B แต A มีอตั ราเร็ กระทบพื้นนอยก า B

2. ข างลูกแก ลูก นึ่งขึ้นทองฟาใ เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล ถาไมคิดแรงตานอากา ขอใดกลา ถึงแรงลัพธที่กระทำตอ


ลูกแก ไดถูกตอง
ก. มีคาเปน ูนยที่จุด งู ุด ข. มีคาเปน ูนยทันทีที่ลูกแก ลุดมือ
ค. มีคาเพิ่มขึ้นเมื่อลูกแก เคลื่อนที่ลง ง. ไมเปน ูนยตลอดการเคลื่อนที่

3. กอน ินถูกข างออกจาก นาผาในแน ระดับด ยค ามเร็ ตน 10 เมตรตอ ินาที กอน ินตกถึงพื้นดินในเ ลา 8 ินาที
กอน นิ ตก า งจากจุดข างในแน ระดับเทาใด

4. นักบา เกตบอลยิงลูกบา จากระยะ างจาก  งในแน ราบ 5 เมตร ขณะที่ลูกเขา  งพบ ามีค ามเร็ 10 เมตร/ ินาที
ทำมุม 60o กับแน ราบ จง าเ ลาที่ลกู บา เกตบอลใชในการเคลื่อนที่มาถึง  งใน น ย ินาที

5. ข างลูกกอลฟออกจาก นา ตา งบานใ เคลื่อนออกไปด ยค ามเร็ 10 เมตรตอ ินาที ในทิ ทางทำมุม 60 อง ากับ
แน ราบ ลูกกอลฟตกถึงพื้นดินในเ ลา 2 ินาที ลูกกอลฟตกไดระยะทางในแน ราบกี่เมตร
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 5

6. ลูกบอลลูก นึ่งกลิ้งตกลงมาจากโตะราบซึ่ง ูง 1 เมตร ถาลูกบอลกระทบพื้นตรงจุดที่ างจากขอบโตะตามแน ระดับ 2


เมตร ค ามเร็ ของลูกบอลขณะ ลุดจากขอบโตะมีคาเทาใด

7. ข างลูกบอลออกจากที่ ูง 5 เมตร ออกไปในแน ระดับด ยค ามเร็ 10 เมตรตอ ินาที จง า


ก. นานเทาไรลูกบอลตกถึงพื้นดานลาง ข. ลูกบอลตกถึงพื้น างจากตำแ นงที่ข างเทาไร

8. ข า งลูกบอลจากที่ ูงออกไปในแน ราบด ยอัตราเร็ 3 เมตร/ ินาที เมื่อเ ลาผานไป 0.4 ินาที อัตราเร็ จะเปนเทาใด
และทิ ทางการเคลื่อนที่จะทำมุมเทาไรกับแน ระดับ
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 6

9. ถาตองการข างลูกบอลลูก นึ่งจากพื้นราบใ ไดระยะทางตามแน ราบเปน องเทาของระยะทาง ูง ุดตามแน ดิ่ง จะตอง


ข างลูกบอลทำมุมเทาใดกับพื้นราบ

10. นักขี่จักรยานผาดโผน ตองการขี่รถขามคลองซึ่งก าง 5 m ไปยังฝงตรงกันขาม ถาเขาขับรถด ยอัตราเร็ 10 m/s กอน


พนฝงแรก เขาจะขามโดยไมชนฝงตรงขาม h จะมีคามากที่ ุดกี่เมตร

11. เครื่องบินทิ้งระเบิด บินในแน ระดับด ยค ามเร็ 200 เมตรตอ ินาที และ ูงจากพื้นดิน 2000 เมตร เมื่อทิ้งระเบิดที่ปก
ลงมา จง า
ก. ระเบิดตกไกลจากตำแ นงที่ทิ้งตามแน ระดับเทาไร
ข. ระเบิดกระทบพื้นดินด ยอัตราเร็ เทาไร
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 7

12. ลูกปนม ล 8 กรัม ยิงตรงไปยังทอนไมม ล 2 กิโลกรัม ซึ่ง างอยูบนขอบโตะพื้นลื่นที่ค าม ูง 0.8 เมตร เมื่อลูกปน
กระทบทอนไมและฝงในเนื้อไม ทอนไมเคลื่อนที่ ลนจากโตะและตกถึงพื้น างจากโตะ 2 เมตร จง าอัตราเร็ ของลูกปน
ใน น ยเมตร/ ินาที

13. นักเรียนคน นึ่งตองการโยนลูกบา จากค าม ูง 2 เมตร ใ ลง  ง ูง 3 เมตร จากระยะ าง 3 เมตร โดยทำมุม 60
อง า กับแน ระดับดังรูป นักเรียนคนนี้จะตองโยนลูกบา เกตบอลด ยอัตราเร็ เทาใด
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 8

14. ลูก ินถูกยิงขึ้นจากพื้นราบด ยค ามเร็ ตน 40 เมตร/ ินาที ในแน ทำมุม 30 อง ากับแน ดิ่ง จง า าลูก ินจะถึงพื้นที่
ระยะ างจากจุดเริ่มตนเทาใด

15. ขีปนา ุธถูกยิงจากพื้นดินด ยค ามเร็ 60 เมตรตอ ินาที ในทิ ทำมุม 30 อง ากับแน ระดับ ขีปนา ุธนั้นลอยอยู ใน
อากา เปนเ ลานานเทาใดจึงจะตกถึงพื้น และขณะที่อยูตรงจุด ูง ุดนัน้ ูงจากพื้นดินเทาใด

16. ชายคน นึ่งยืนอยูบนพื้น นามราบ เขาข างลูกบอลไปในอากา ลูกบอลลอยอยูในอากา นาน 4 ินาที โดยไมคิดแรง
ตานของอากา ถาลูกบอลไปไดไกลในแน ระดับ 60 เมตร ค ามเร็ ที่ใชข างลูกบอลมีคาเทาไร
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 9

17. ถาโพรเจกไทลมีการกระจัด ูง ุดในแน ดิ่ง 10 เมตร และการกระจัดที่ไปไดไกล ุดในแน ระดับเทากับ 30 เมตร โพรเจก
ไทลนี้จะตองถูกยิงออกไปในแน ที่ทำมุมกี่อง ากับแน ราบ

18. กอน ินถูกข างขึ้นจากพื้นดินด ยค ามเร็ 28 เมตรตอ ินาที ในแน เอียงทำมุม 30 o กับพื้นดิน จง าค ามเร็ และ
ค าม ูงของกอน ินที่จุด ูง ุด ตอบตามลำดับ

19. กอน ินถูกยิงขึ้นจากพื้นดินด ยค ามเร็ 29.4 เมตรตอ ินาที ในแน เอียงทำมุม 30 อง ากับพื้นดิน (g=9.8 m/s 2) จง า
ก. ค ามเร็ และค าม ูงของกอน ินที่จุด ูง ุด
ข. เ ลาทั้ง มดที่กอน ินอยูในอากา
ค. กอน ินตกถึงพื้นด ยระยะทางไกลเทาใด
ง. จุด ูง ดุ างจากจุดตั้งตนเปนระยะทางเทาใด
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 10

7.2 การเคลื่อนที่แบบ งกลมด ยอัตราเร็ คงตั 𝑣


7.2.1 ปริมาณตาง ๆ ของการเคลื่อนที่แบบ งกลม
ัตถุจะเคลื่อนที่แบบ งกลมไดก็ตอเมื่อมีแรงกระทำกับ ัตถุในทิ ทำ 𝐹, 𝑎
มุ ม 90 อง ากั บ ทิ ทางการเคลื ่อ นที่ โดยแรงนั้ น จะมีท ิ พุ ง เขา ู  จุ ด 𝐹, 𝑎 𝐹, 𝑎 𝑣
ูนยกลางเ มอ เรียก า “แรง ูศูนยกลาง (𝑭⃑𝒄 )” เชน ัตถุที่ถูกผูกด ย 𝑣
เชือกแก งใ เคลื่อนที่เปน งกลมเราจะตองออกแรงดึงเชือกไ ตลอดเ ลา
𝐹, 𝑎
แรงนี้จะมีทิ เขา ูจุด ูนยกลางคือตำแ นงที่เราจับเชือกไ  ดังรูปที่ 7.4
ัตถุที่มีการเคลื่อนที่แบบ งกลมจะมีอัตราเร็ คงตั แตค ามเร็ ของ 𝑣
ัตถุไมคงตั เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงทิ ทางตลอดเ ลา เปนเ ตุใ  ัตถุ
รูปที่ 7.4 ทิ ทางของค ามเร็ เชิงเ น แรง ู
ที่เคลื่อนที่แบบ งกลมจะมีค ามเรงเ มอ โดยค ามเรงนี้มีทิ ตั้งฉากกับ
ูนยกลาง และค ามเรง ู ูนยกลางของการ
ค ามเร็ ของ ัตถุและพุงเขา ูจุด ูนยกลางเ มอ เรียก า “ความเรง ู
เคลื่อนที่แบบ งกลม
ศูนยกลาง (𝒂⃑𝒄)”
ปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ย ของกับการเคลื่อนที่แบบ งกลมด ยอัตราเร็ คงตั ไดแก
(1) คาบ (Period, 𝑇) คือ เ ลาที่ ตั ถุเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ มี น ยเปน ินาที/รอบ รือ ินาที
(2) ค ามถี่ (Frequency, 𝑓) คือ จำน นรอบที่ ัตถุเคลื่อนที่ไดภายใน 1 ินาที น ยเปน รอบ/ ินาที รือ เฮิรตซ (Hz)
𝟏
ดังนั้นค าม ัมพันธระ างคาบและค ามถี่จึงเปน 𝒇 = 𝑻 …..(7.11)
𝑣
(3) อัตราเร็ เชิงเ น (Linear speed, 𝒗) เมื่อ ัตถุมีการเคลื่อนที่จะมีอัตราเร็
เกิดขึ้น ำ รับการเคลื่อนที่ในแน เชิงเ นเรียกอัตราเร็ นี้ า “อัตราเร็วเชิงเ น” ซึ่ง 𝑟 𝑣
เทากับระยะทางทั้ง มดที่ ัตถุเคลื่อนที่ไดใน นึ่ง ินาที เมื่อพิจ ารณา ัตถุซึ่งกำลัง 
เคลื่อนที่แบบ งกลมในระนาบระดับ ด ยอัตราเร็ คงตั 𝒗 และรั มีแน งกลมที่ 𝑟
เคลื่อนที่ 𝒓 ดังรูปที่ 7.5 จะได าระยะทางที่ ัตถุเคลื่อนที่เมื่อครบ 1 รอบ คือ ค ามยา
เ น รอบ งซึ่งมีคาเทากับ 2𝜋𝑟  นเ ลาที่ ัตถุใชในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ คือ 𝑇
ดังนั้นอัตราเร็ เชิงเ น 𝒗= =
𝒔 𝟐𝝅𝒓
= 𝟐𝝅𝒓𝒇 …..(7.12) รูปที่ 7.5 การเคลื่อนที่แบบ งกลม
𝒕 𝑻

(4) อัตราเร็ เชิงมุม (Angular speed, ) เมื่อ ัตถุใดมีการเคลื่อนที่รอบตำแ นงใด ๆ การเคลื่อนที่นั้นจะทำใ 


ระยะทางของ ัตถุเปลี่ยนไป แล มุมที่เทียบกับตำแ นงนั้นก็จะเปลีย่ นไปด ย การเคลื่อนที่ในลัก ณะที่ทำใ มมุ เปลีย่ นไปนี้
เรียก า “เกิดอัตราเร็วเชิงมุม รือความเร็วเชิงมุม” ดังนั้นการเคลื่อนที่แบบ งกลมจะมีอัตราเร็ เชิงมุมและค ามเร็ เชิงมุมมา
เกี่ย ของ ปริมาณนี้ในทางฟ ิก แทนด ย ัญลัก ณคือ  โดยอัตราเร็ เชิงมุม คือ มุมของ ัตถุก าดไปไดใน 1 ินาที มี
น ยเปน เรเดียนตอ ินาที (rad/s)
𝜽
อัตราเร็ เชิงมุม 𝛚=
𝒕 𝑟 s
เมื่อ ω คือ อัตราเร็ เชิงมุม มี น ยเปน เรเดียนตอ ินาที (rad/s) 
𝜃 คือ มุมที่เคลื่อนที่ก าดไปได มี น ยเปน เรเดียน (rad) 𝑟
𝑡 คือ เ ลาที่ใชในการเคลื่อนที่ มี น ยเปน ินาที (s)
มุมที่ใชในการเคลื่อนที่ (𝜃) นอกจากจะมี น ยเปนอง าแล ยังมี น ยเปนเรเดียน
(rad) โดยมุมใน น ยเรเดียนเปนระยะตามแน เ นรอบ งของ งกลม (𝑠) ารด ยรั มี รูปที่ 7.6 การ ามุมใน น ย
การเคลื่อนที่ของ งกลม (𝑟) เมื่อ ัตถุเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ จะไดระยะทางตามแน เ น เรเดียน
รอบ งเทากับ 𝑠 = 2𝜋𝑟
𝒔 𝟐𝝅𝒓
จะไดมมุ (เรเดียน) 𝜽= =
𝒓 𝒓
= 𝟐𝝅 …..(7.13)
ดังนั้น เรา ามารถเทียบมุมใน น ยอง าและเรเดียนไดโดย มุม 360 อง า = 2𝜋 เรเดียน
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 11

𝟐𝝅
จะทำใ ไดอัตราเร็ เชิงมุม 𝛚=
𝑻
= 𝟐𝝅𝒇 …..(7.14)
ดังนั้นค าม มั พันธระ างอัตราเร็ เชิงเ นและอัตราเร็ เชิงมุมจึงเปน 𝒗 = 𝝎𝒓 …..(7.15)
7.2.2 แรง ู ูนยกลางและค ามเรง ู ูนยกลาง
การเคลื่อนที่แบบ งกลมจัดเปน นึ่งในการเคลื่อนที่แบบ 2 มิติ ใน
การเคลื่อนที่เปน งกลมที่จะทำการ ึก านั้น ขนาดค ามเร็ ของ ัตถุที่
เคลื่อนที่เปน งกลมจะมีคา คงที่ รือเทากันตลอดการเคลื่อนที่ เรียก
การเคลื่อ นที่ งกลมแบบนี ้ า “การเคลื่อ นที่เปนวงกลม ม่ำ เ มอ
(Uniform Circular Motion)” ลัก ณะการเคลื่อนทีแ่ บบ งกลมของ
ัตถุจะมีค ามเร็ ซึ่งมีทิ ัมผั กับเ นทางการเคลื่อนที่ของ ัตถุและมี รูปที่ 7.7 ทิ ทางของค ามเร็ แรง ู ูนยกลาง
ทิ ตั้งฉากกับแน รั มี งกลม แรงกระทำจะมีทิ ตั้งฉากกับค ามเร็ และค ามเรง ู ูนยกลาง
เ มอตลอดการเคลื่อนที่ ัตถุจะเคลื่อนที่ด ยขนาดของค ามเร็ คงที่ใน
แน งกลม แตยังคงมีค ามเรงเกิดขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนทิ ทางของค ามเร็ ค ามเรงในการเคลื่อนที่แบบ งกลมจะมีทิ
ตั้งฉากกับเ น ทางการเคลื่อนที่ของ ัตถุและมีทิ พุงเขา ูจุด ูนยกลาง งกลมเ มอ เรียกค ามเรงนี้ า “ความเรง ูศูนยกลาง
(𝒂⃑𝒄 )” ดังรูปที่ 7.7
จากกฎการเคลื่อนที่ขอที่ 2 ของนิ ตัน ัตถุจะเปลี่ยนไปจาก ภาพเดิมเมื่อมีแรงที่ไมเทากับ ูนยมากระทำ แ ดง าแรง
ลัพธที่มากระทำตอ ัตถุที่เคลื่อนที่เปนแน โคงแบบ งกลมจะตองเปนแรง ู ูนยกลาง ดังนั้น มการของแรง ู ูนยกลางจะได
ดังนี้ ∑ 𝐹⃑ = 𝑚𝑎⃑
1 1
2 2
B
vAsin
2 v cos v cos 

- 1 2 – 1
v sin  

ก. ทิ ของค ามเร็ และค ามเรงของ ัตถุที่เคลื่อนที่แบบ งกลม ข. องคประกอบของค ามเร็


รูปที่ 7.8 ค ามเร็ และค ามเรงของการเคลื่อนที่แบบ งกลม
จากรูป 7.8 ก. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงค ามเร็ (𝑣⃑ − 𝑣⃑ ) ในช งเ ลา 𝑡 จะเกิดค ามเรงของ ัตถุขึ้นค ามเรง ู
ูนยกลางขึ้น จะได 𝐹⃑ = 𝑚𝑎⃑ ขนาดของค ามเรง 𝑎⃑ จะ าไดจากรูปที่ 7.8 ข. ัตถุม ล 𝑚 กำลังเคลื่อนที่เปนแน โคง
แบบ งกลม ด ยค ามเร็ 𝑣⃑ ณ ตำแ นง A และตำแ นง B มีขนาดค ามเร็ 𝑣 เทากัน ใชเ ลา 𝑡 รั มีค ามโคงของการ
เคลื่อนเปน 𝑟
มุมใน น ยเรเดียน 2 =
ระยะทางที่เคลื่อนที่ไดคือ 𝑆 = 2𝑟

จาก 𝑣= =

𝑡=

จาก 𝑎=
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 12

จากรูปที่ 7.8 ข. ในแน แกน x จะไมเกิดค ามเรง เนื่องจากขนาดและทิ ทางของค ามเร็ ไมเปลี่ยนแปลง แตใน
แน แกน y จะเกิดค ามเรงเนื่องจากทิ ทางของค ามเร็ เปลี่ยนไป จะได
( ( ))
𝑎= 

( )( )
𝑎=
𝑎= เมื่อ 𝜃 เปนมุมเล็กมาก ๆ 𝑠𝑖𝑛𝜃 = 𝜃
จะได 𝑎 =
เมื่อ 𝜃 เปนมุมเล็กมาก ๆ ค ามเรง 𝑎 ที่เกิดขึ้นจะอยูในแน แกน y และมีทิ เขา ู ูนยกลาง ดังนั้นค ามเรงนี้จึง
𝒗𝟐
เปน ค ามเรง ู ูนยกลาง โดย 𝒂𝒄 =
𝒓
…..(7.16)
𝒎𝒗𝟐
และแรง ู ูนยกลาง 𝑭𝒄 =
𝒓
…..(7.17)

แบบฝก ัด 7.2.1-7.2.2
20. รถไตถังเคลื่อนที่ด ยอัตราเร็ ม่ำเ มอและ ิ่งครบรอบได 5 รอบ ใน 2 ินาที คาบและค ามถี่ของการเคลื่อนที่นี้จะมีคา
เทาใด

21. ตั ถุ นึ่งเคลื่อนที่แบบ งกลมในแน ระดับด ยอัตราเร็ เชิงมุมคงตั เมื่อเ ลาผานไป 2 ินาที ัตถุก าดมุมได 60 อง า
จงคำน ณคาบของการเคลื่อนที่

22. อนุภาค นึ่งเคลื่อนที่ด ยอัตราเร็ เชิงมุม 3.5 rad/s นานเทาใดอนุภาคจึงจะเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ

23. มา มุนใน น นุก มุนได 24 รอบ ในเ ลา 3 นาที จงคำน ณ


ก. อัตราเร็ เชิงมุมใน น ย rad/s
ข. อัตราเร็ เชิงเ นของเด็กที่อยู างจากแกน มุน 4 เมตร
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 13

24. ัตถุเคลื่อนที่อยาง ม่ำเ มอในแน งกลมด ยอัตรา 20 รอบ ในเ ลา 4 ินาที จง า


ก. คาบของการเคลื่อนที่
ข. ค ามถี่ของการเคลื่อนที่
ค. ถารั มีของการเคลื่อนที่เทากับ 2 เมตร จง าอัตราเร็ เชิงเ นของการเคลื่อนที่
ง. อัตราเร็ เชิงมุมของการเคลื่อนที่

25. จากการเคลื่อนที่แบบ งกลมของ ัตถุ นึ่ง พบ าในช งเ ลา 1.5 ินาที มุมรองรับที่ ูนยกลางของ งกลมเปลี่ยนไป 30
อง า ถารั มีของการเคลื่อนที่เทากับ เมตร จงคำน ณ าอัตราเร็ เชิงเ น

26. จง าอัตราเร็ เชิงมุมของเข็มเข็มนาิกาเข็ม ั้น

27. ัตถุ นึ่งเคลื่อนที่แบบ งกลมรั มี 5 เมตร ด ยอัตราเร็ 15 เมตรตอ ินาที จง าค ามเรง ู นู ยกลางของ ัตถุ
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 14

28. จง าค ามเรง ู ูนยกลางและแรง ู นู ยกลางของ ัตถุม ล 2 กิโลกรัม ที่เคลื่อนที่ในแน งกลมรั มี 16 เมตร ด ย


อัตราเร็ 40 เมตร/ ินาที

29. ัตถุกอน นึ่งผูกเชือกยา 1 เมตร แล แก งใ เคลื่อนที่เปน งกลมด ยค ามถี่ 5 รอบตอ ินาที จง าค ามเรง ู
ูนยกลางของ ัตถุ

30. รถยนตม ล 1,200 kg กำลัง ิ่งด ยอัตราเร็ v เมตรตอ ินาที ขาม ะพานที่จุด ูง ุดของ ะพานโคงที่มีรั มีค ามโคงใน
ระนาบดิ่ง 12 เมตร จง าอัตราเร็ v ที่พอดีทำใ รถยนตเริ่ม ลุดจากค ามโคงของ ะพาน

31. ตั ถุกอน นึ่ง างอยูบนโตะซึ่ง มุนไดรอบแกนแน ดิ่ง างจากแกน มุน 0.05 เมตร ถา ัมประ ิทธิ์ของค ามเ ียดทาน
ระ างผิ ัตถุกับโตะมีคา 0.3 อยากทราบ าโตะ มุนไดเร็ ที่ ุดกี่รอบ/ ินาที ัตถุจึงยังไมกระเด็นจากโตะ
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 15

32. เ รียญ างอยูที่ระยะ 20 ซม. จากจุด ูนยกลางแผนเ ียง ถา ัมประ ิทธิ์ค ามเ ียดทาน ถิตระ างเ รียญและ
แผนเ ียงเปน 0.125 จง าจำน นรอบมากที่ ุดใน 1 ินาที ที่แผนเ ียง มุนแล เ รียญยังคงนิ่งเทียบกับแผนเ ียง

33. เ รียญ างอยูที่ระยะ 20 เซนติเมตร จาก ูนยกลางแผนเ ียง ถา ัมประ ิทธิ์ค ามเ ียดทาน ถิตระ างเ รียญและ
แผนเ ียงเปน 0.2 จง าจำน นรอบที่มากที่ ุดใน 1 ินาที ที่แผนเ ียงแล เ รียญยังคงอยูนิ่งเทียบกับแผนเ ียง (g=10
m/s2)

34. รถคัน นึ่งม ล 1,000 กิโลกรัม เคลื่อนที่ขึ้นรางโคงตีลังกาอัน นึ่งมีรั มี 10 เมตร ด ย


ค ามเร็ คงที่ 30 เมตรตอ ินาที จง าแรงปฏิกิริยาที่รางกระทำตอรถคันนี้มีคากี่นิ ตัน เมื่อ
ก. ตอนที่รถคันนี้กำลังตีลังกาอยูที่จุด ูง ุดของรางโคง
ข. ตอนที่รถคันนี้อยูที่จุดลาง ุดของรางโคง
ค. ตอนที่รถคันนี้อยูที่จุดตรงกับแน ูนยกลางรางในแน ระดับ
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 16

35. ตั ถุกลมเล็กอัน นึ่งมีม ล 5 กิโลกรัม างอยูจุดบน ุดของครึ่งทรงกลมตันรั มี 10 เมตร จง าอัตราเร็ ในแน ระดับที่
นอยที่ ุดที่จะทำใ  ัตถุ ลุดออกผิ ทรงกลมโดยไมมกี ารเลื่อนไถลลงมาตามผิ ทรงกลม

36. ม ล m1 และ m2 เทากัน ตางเคลื่อนที่เปน งกลมบนโตะไมมีค ามฝด โดยมีเชือกผูกม ล อดเขารูบนโตะ ถารั มีใน
การเคลื่อนที่ ของม ล m1 เปน 3/4 เทาของรั มีในการเคลื่อนที่ของม ล m2 แตเชือกที่ผูกม ลทั้ง องมีค ามตึงเทากัน
พลังงานจลนของม ล m1 เปนกี่เทาของม ล m2
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 17

ค ามเรง ู ูนยกลางของการแก งเชือกแบบตาง ๆ


การแก งเชือกในแน ระดับ การแก งเชือกในแน ดิ่ง
B
𝑇 รุป
𝑚𝑔
𝑇
𝑇
𝑚𝑔 𝑇 𝜃
A
C
𝑚𝑔𝑐𝑜𝑠𝜃 𝑚𝑔𝑠𝑖𝑛𝜃 𝑚𝑔
การแก งเชือกรูปกร ย 𝑇
𝑚𝑔
𝑙 รุป รุป D 𝑚𝑔
𝜃
𝑇
𝜃 𝑇𝑐𝑜𝑠𝜃
𝑟
𝑇𝑠𝑖𝑛𝜃

𝑚𝑔

37. ผูกเชือกยา 2 เมตร กับ ัตถุม ล 0.5 กิโลกรัม แล จับปลายเชือกอีกดานแก งในระนาบระดับด ยอัตราเร็ คงตั 4
เรเดียนตอ ินาที จง าแรงตึงเชือกขณะแก ง ัตถุ

38. ตั ถุม ล 0.5 กิโลกรัม ผูกเชือกยา 1 เมตร แก งเปน งกลมในแน ดิ่ง จง าแรงตึงเชือกทำมุม 60o กับแน ดิ่ง ถา
ขณะนั้น ัตถุมีอัตราเร็ 3 เมตรตอ ินาที
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 18

39. นำเชือกเบาและเ นีย มากเ น นึ่งยา 50 cm เอาปลายขาง นึ่งมาผูกกับลูกตุมม ล 1 kg ถาจับปลายเชือกขาง นึ่ง


แก งใ ลูกตุมเคลื่อนที่เปน งกลมในระนาบดิ่งด ยอัตราเร็ คงตั 3 m/s แรงดึงในเ นเชือกมีคาต่ำ ุดกี่นิ ตัน

40. นักกายกรรมละคร ัต โ นเชือกเริ่มตนขณะทำมุม 90 อง า กับแน ดิ่งดังรูป เมื่อเชือกแก งทำใ น ักกายกรรมอยูที่


ตำแ นงต่ำ ดุ นักกายกรรมตองออกแรงยึดเปนกี่เทาของน้ำ นักตั ตามปกติ

41. ในการแก งชุดการเคลื่อนที่ในแน งกลมรั มีใ จ ุกยางเคลื่อนที่ด ยอัตราเร็ คงตั ในแน ระดับ ปรากฏ าขณะนั้นเชือก
ทำมุม 20o กับแน ระดับตลอดเ ลา ถาขนาดน้ำ นักของขอเกี่ย โล ะและนอตที่ใชมีคา 1.2 นิ ตัน จง าแรง ู
ูนยกลางและค ามเรง ู ูนยกลางของจุกยาง
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 19

7.2.3 การเคลื่อนที่บนทางโคง
(1) การเคลื่อ นที ่ข องรถบนทางโค ง ราบ ขณะที่ร ถยนตก ำลั ง เลี ้ย โค ง
รถยนตเลี้ย โคงไดโดยที่รถยนตไมไถลออกนอกถนนเนื่องจากมีแรงเ ียดทาน
ระ างพื้นถนนกับยางรถ และแรงนี้จะมีทิ เขา ู ูนยกลางค ามโคงของถนน
โดยมีคาขึ้นอยูกับรั มีค ามโคงของถนนและอัตราเร็ ที่รถ ิ่ง เมื่อฝนตกถนนลื่น
แรงเ ียดทาน (แรง ู ูนยกลาง) จะลดลง ดังนั้นอัตราเร็ ของรถยนตจึงค รลดลง
ด ย เพื่อปองกันการเกิดอุบัติเ ตุ
จะได า แรงเ ียดทาน = แรง ู ูนยกลาง รูปที่ 7.9 การเคลื่อนที่บนทางโคง
𝑓 =𝐹
การ าอัตราเร็ ของรถ ูง ุดที่รถเขาโคงไดอยางปลอดภัย าไดจากค าม ัมพันธ
𝑓, =𝐹
𝜇𝑁 =
𝜇𝑚𝑔 = เมื่อ 𝑣 คือ อัตราเร็ (m/s)
𝜇 คือ ัมประ ทิ ธิ์ค ามเ ียดทานระ างพื้นถนนกับลอรถ
𝜇=
𝑟 คือ รั มีค ามโคงของถนน (m)
𝒗= 𝝁𝒓𝒈 …..(7.18) 𝑔 คือ ค ามเรงโนมถ งของโลก ( = 9.8 m/s2)

(2) การเคลื่อนที่ของรถบนทางโคงเอียง
ก. การเลี้ย โคงบนถนนระดับของรถจักรยานยนต รือรถจักรยาน ขณะที่แลนบนถนนระดับ จะมีแรงกระทำตอ
รถกับคนมากมายร มทั้งแรงเ ียดทานที่กระทำที่ลอใ รถเคลื่อนที่ไปขาง นาได ยังมี 𝑚𝑔 คือ น้ำ นักของรถและคน 𝑁 คือ
แรงที่พื้นกระทำตอรถและคน ในขณะที่แลนในแน ตรง และ 𝑓 คือ แรงเ ียดทานที่พื้นถนนกระทำกับดานขางของลอรถใน
ทิ เขา าจุด ูนยกลาง 𝐹 คือ แรงลัพธของแรง 𝑓 และ 𝑁 เมื่อแลนในแน โคง รือเอียง พิจารณาจากรูปที่ 7.10
(ก) (ข) (ค)
c.m. c.m. F c.m. F

mg mg mg

N N f N f

รูปที่ 7.10 การเลี้ย โคงบนถนนระดับของรถจักรยานยนต รือรถจักรยาน

จากรูป 7.10 (ก) พิจารณาขณะที่แลนในแน ตรงบนถนนระดับ จะมีแรงกระทำตอรถจักรยานยนต รือรถจักรยาน


คือ น้ำ นัก 𝑚𝑔 ของรถและคน แรง 𝑁 ที่พื้นกระทำตอรถและคน โดยแน ของแรงทั้ง องจะผานจุด ูนยกลางม ลร มของ
รถและคนอยูในแน ดิ่ง ทำใ รถไมมีโมเมนตของแรงเกิดขึ้นที่รถ จึงทำใ รถไมลม
จากรูป 7.10 (ข) พิจารณาขณะที่แลนในแน โคงและเอียงรถบนถนนระดับ จะมีแรงกระทำตอรถจักรยานยนต รือ
รถจักรยาน คือ น้ำ นัก 𝑚𝑔 ของรถและคน แรง 𝑁 ที่พื้นกระทำตอรถและคน และแรงเ ียดทาน 𝑓 ที่พื้นถนนกระทำกับ
ดา นขา งของลอรถในทิ เขา าจุด ูนยกลาง เปน ผลใ  เกิดแรงลัพ ธ 𝐹 ของแรง 𝑓 และ 𝑁 เมื่อ แลนในแน โคงรถจึง
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 20

จำเปนตองเอียงเพื่อใ แรงลัพธ 𝐹 ผานจุด ูนยกลางม ลร มของรถและคน ทำใ รถไมมีโมเมนตของแรงเกิดขึ้นที่รถ จึงทำ


ใ รถไมลม
จากรูป 7.10 (ค) พิจารณาขณะที่แลนในแน โคงและไมเอียงรถบนถนนระดับ จะมีแรงกระทำตอรถจักรยานยนต
รือรถจักยาน คือ น้ำ นัก 𝑚𝑔 ของรถและคน แรง 𝑁 ที่พื้นกระทำตอรถและคน และแรงเ ียดทาน 𝑓 ที่พื้นถนนกระทำ
กับดานขางของลอรถในทิ เขา าจุด ูนยกลาง เปนผลใ เกิดแรงลัพธ 𝐹 ของแรง 𝑓 และ 𝑁 เมื่อแลนในแน โคงและไม
เอียงรถ แรงลัพธ 𝐹 ก็จะไมผานจุด ูนยกลางม ลร มของรถและคน ทำใ รถมีโมเมนตของแรงเกิดขึ้นที่รถ จึงทำใ รถลม
ข. การยกขอบถนนโคง เพื่อใ ก ารเลี้ย โคงปลอดภัยขึ้น ด ยค ามเร็ ที่แตกตางจากถนนโคงในแน ระดับ โดยมี
ลักใ แรงลัพธ 𝐹 ผานจุด ูนยกลางม ลร มของรถและคน ทำใ รถไมมีโมเมนตของแรงเกิดขึ้นที่รถ พิจารณาจากรูปที่
7.11
(ก) (ข)
F
c.m. c.m.
mg mg F
N f N f

รูปที่ 7.11 แรงกระทำตอรถขณะที่กำลังแลนเลี้ย โคงบนถนนพื้นระดับ


จากรูปที่ 7.11 (ก) และ รูปที่ 7.11 (ข) เมื่อแลนบนถนนโคงแล ไมมีการเอียงรถ แรงลัพธจะไมผานจุด ูนยกลางม ล
ร มของรถและคนทำใ รถมีโมเมนตของแรงเกิดขึ้นที่รถจึงทำใ รถลม รือพลิกค ่ำได ดังนั้น ิ กรจึงออกแบบถนนโดยการ
ยกขอบถนนโคง เพื่อใ รถแลนด ยค ามปลอดภัย ด ยค ามเร็ ที่เปนไปได โดยไมอา ัยแรงเ ียดทาน 𝑓 ยกเ นรถแลนด ย
อัตราเร็ ที่ไมพอดีรถจึงจะอา ัยแรงเ ียดทาน 𝑓 ช ย จากรูปที่ 7.12 เมื่อยกขอบถนน เมื่อแลนด ยอัตราเร็ ทีเ่ ปนไปได จะ
ไมมีแรงเ ียดทาน 𝑓 ที่ดานขางของลอรถ จะมีแรงกระทำที่รถคือ น้ำ นัก 𝑚𝑔 ของรถและคน และแรง 𝑁 ที่พื้นกระทำตอ
รถและคน โดยองคประกอบของแรง 𝑁 ที่ขนานกับพื้นระดับ (ไมใชพื้นถนน) จะทำใ เกิดแรง ู ูนยกลาง คือ 𝐹 ดังนั้นเรา
ามารถ าค าม มั พันธระ างค ามเอียงของถนน (การยกขอบถนน) ัมพันธกับอัตราเร็ ที่เปนไปไดดังนี้
N จาก 𝐹 =
 ดังนั้น 𝑁 𝑠𝑖𝑛  = (1)
c.m. และ 𝑁 𝑐𝑜𝑠  = 𝑚𝑔 (2)

นำ มการที่ (1) าร (2) จะได 
=
mg 𝒗𝟐
𝒕𝒂𝒏 = …..(7.19)
𝒓𝒈

มการ 𝑡𝑎𝑛 = แ ดงใ เ ็น าในการ รางถนนทางโคง


รูปที่ 7.12 แรงกระทำตอรถขณะที่กำลังแลน
เอียงทำมุมกับแน ระดับนั้นตองคำนึงถึงอัตราเร็ ของรถขณะเลี้ย และ
รั มีของทางโคงเพื่อใ การขับรถปลอดภัย
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 21

แบบฝก ัด 7.2.3
42. รถยนตคัน นึ่งม ล 1,200 กิโลกรัม แลนเลี้ย โคงบนถนนระดับ ซึ่งมีรั มีค ามโคง 60 เมตร ด ยอัตราเร็ 72 กิโลเมตร
ตอชั่ โมง รถจะเลี้ย โคงไดอยางปลอดภัย รือไม ถา
ก. ผิ ถนนแ ง และแรงเ ียดทานในทิ ทางเขา ู นู ยกลางมีคา ูง ุดเทากับ 10,000 นิ ตัน
ข. ผิ ถนนเปยก และแรงเ ียดทานในทิ ทางเขา ู นู ยกลางมีคา ูง ุดเทากับ 6,000 นิ ตัน

43. ถนนราบโคงมีรั มีค ามโคง 100 เมตร ถา ัมประ ิทธิ์ค ามเ ียดทานระ างถนนกับยางของรถคัน นึ่งเทากับ 0.4 รถ
คันนี้จะเลี้ย โคงด ยอัตราเร็ ูง ุดเทาใดจึงจะไมไถลออกนอกโคง

44. รถคัน นึ่งเลี้ย โคงบนถนนราบด ยรั มีค ามโคง 25 เมตร ถา ัมประ ิทธิ์ค ามเ ียดทาน ถิตระ างยางรถกับถนน
เปน 0.4 รถคันนั้นจะเลี้ย โคงด ยอัตราเร็ อยางมากที่ ุดเทาใดจึงจะไมไถล

45. รถคัน นึ่งกำลังเลี้ย โคงด ยอัตราเร็ ูง ุด 25 เมตร/ ินาที โดยมีรั มีค ามโคง 125 เมตร จง า ัมประ ิทธิ์ของ
ค ามเ ียดทานระ างถนนกับลอ
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 22

46. รถจักรยานยนตคัน นึ่งกำลังเลี้ย ด ยอัตราเร็ 10 เมตรตอ ินาที โดยมีรั มีค ามโคง 10 เมตร คนขี่จะตองเอียงรถทำ
มุมกับแน ระดับเทาไร

47. รถจักรยานยนตคัน นึ่งกำลังเลี้ย ด ยอัตราเร็ 10√3 เมตรตอ ินาที โดยมีรั มีค ามโคง 10√3 เมตร คนขี่จะตอง
เอียงรถทำมุมกับแน ระดับเทาไร

48. รถยนตคัน นึ่ง ิ่งบนทางโคงด ยอัตราเร็ 90 km/hr รั มีค ามโคงของถนน 500 m ค ามก างของถนน ัดตาม
แน ราบเทียบจุดต่ำ ุดของดานในได 8 m จะตองยกขอบถนนดานนอกใ  ูงก าดานในเทาใด เมื่อรถ ิ่งบนทางโคงแล
ไมไถลออกนอกเ นทาง

49. ขณะที่รถเลี้ย โคงบนถนนราบด ยรั มีค ามโคง 245 m ลูกตุมซึ่งแข นในรถเอียงทำมุม 45o กับแน ดิ่ง ขณะนั้นรถ ิ่ง
ด ยอัตราเร็ กี่กิโลเมตรตอชั่ โมง (g=9.8 m/s2)
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 23

7.2.4 การเคลื่อนที่ของดา เทียม


ดา เทียมที่โคจรรอบโลกมีเปนจำน นมาก ดา เทียมแตละด งเคลื่อนที่
รอบโลกในแน งกลมด ยรั มี งโคจรต า งกั น โดยมี แ รงที ่ โ ลกดึ ง ดู ด
ดา เทียมเปนแรง ู ูนยกลางกระทำตอดา เทียม จากรูปที่ 7.13 ดา เทียม
ม ล 𝑚 โคจรรอบโลกด ยอัตราเร็ 𝑣 ณ ตำแ นง งโคจรซึ่ง าง ูนยกลาง
ของโลกเปนระยะ 𝑟 ใ  𝑀 เปนม ลของโลก 𝐹 เปนแรง ู ูนยกลางซึ่งเปน
แรงดึงดูดที่โลกกระทำกับดา เทียม และ าคาของแรงนี้ไดจากกฎแรงดึงดูด
ระ างม ลของนิ ตัน
รูปที่ 7.13 การเคลื่อนที่ของดา เทียมรอบโลก
จาก 𝐹= และ 𝐹 =
จะได =
𝑮𝑴
ดังนั้น 𝒗𝟐 =
𝒓
…..(7.20)

เมื่อ 𝑣 คือ อัตราเร็ ของดา เทียม (m/s) 𝑀 คือ ม ลของโลก = 5.98x1024 kg


𝑟 คือ ตำแ นง งโคจรซึ่ง า ง ูนยกลางของโลก (m) 𝐺 คือ คาคงตั โนมถ ง ากล= 6.67x10-11 Nm2/kg2

จาก 𝑣 = จะเ ็น า ดา เทียมที่มีรั มี งโคจรตางกันจะเคลื่อนที่ด ยอัตราเร็ เชิงเ นตางกัน การ งดา เทียมขึ้น
ไป ู งโคจรตาง ๆ รอบโลกนั้น ไดมีการกำ นดรั มี งโคจรไ กอน แล คำน ณ าแรง ู ูนยกลางที่กระทำกับดา เทียมและ
อัตราเร็ เชิงเ นใน งโคจรนั้น ๆ เมื่อยิงดา เทียมขึ้นไปจนมีค าม ูง รือรั มีของการโคจรตามตองการแล จึงปรับทิ ทาง
และอัตราเร็ ของดา เทียมเพื่อใ เขา ู งโคจรรอบโลกตามที่กำ นดไ  เมื่อ ังเกตดา เทียม ื่อ ารจากพื้นโลก จะเ ็น
ดา เทียม ื่อ ารอยู ณ ตำแ นงเดิมตลอดเ ลา ที่เปนเชนนี้เพราะดา เทียม ื่อ ารมีคาบของการโคจรรอบโลกเทากับคาบ
การ มุนของโลกรอบตั เอง รืออัตราเร็ เชิงมุมของดา เทียม ื่อ ารเทากับอัตราเร็ เชิงมุมในการ มุนรอบตั เองของโลก
และการที่ดา เทียม ื่อ ารอยูที่ตำแ นงเดิมโดยไมเปลี่ยนแปลง ทำใ  ถานีภาคพื้นดินและดา เทียม ามารถติดตอกันได
ตลอดเ ลา

แบบฝก ัด 7.2.4
50. ดา เทียมด ง นึ่งโคจร ูงจากผิ โลก 1,600 กิโลเมตร ถารั มีของโลกมีคา 6,400 กิโลเมตร และม ลของโลกมีคา
6x1024 กิโลกรัม จง าอัตราเร็ อัตราเรง และคาบของดา เทียม (กำ นดใ  G=6.67x10-11 Nm2/kg2)
เอก ารประกอบการ อนวิชา 30213 ฟ ิก  13 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโคง โดยนางจิราพร ง ทอง นา 24

51. ขณะโลก มุนรอบตั เองพบ า ัตถุตาง ๆ ที่อยูบนผิ โลกเคลื่อนที่ด ยอัตราเร็ เชิงมุม 7.27x10-5 เรเดียน/ ินาที โลกมี
รั มี 6.37x106 เมตร ดา เทียม ื่อ ารด ง นึ่งอยู ูงจากผิ โลกเปน 5 เทาของรั มีโลก ดา เทียมด งนี้เคลื่อนที่ด ย
อัตราเร็ เชิงเ นเทาใด

52. ถารั มี งโคจรของดา เทียมด ง นึ่งเพิ่มเปน 4 เทา อยากทราบ าอัตราเร็ ของการโคจรจะเปนกี่เทาของอัตราเร็ เดิม

53. ดา เทียม A ม ล m โคจรรอบโลก โดยมีรั มี r ดา เทียม B ม ล 2m โคจรรอบโลก โดยมีรั มี 2r อัตรา  นระ าง
อัตราเร็ เชิงเ นของดา เทียม A และ B มีคาเทาใด

*****************************************************

You might also like