Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 59

7-1

บทที่ 7
ทฤษฎีความเสียหายภายใตภาระกระทำแบบลา

7.1 บทนำ
ความเสียหายของชิ้นสวนเครื่องจักรสวนใหญเปนตนเหตุจากภาระกระทำที่เปลี่ยนแปลงตาม
เวลา (Time varying load) มากกวาภาระกระทำแบบสถิต (Static load) โดยตำแหนงที่เกิดความ
เสียหาย เกิดขึ้นที่ระดับของความเคนต่ำกวาคาความแข็งแรง ณ จุดคราก ของวัสดุ นั่นหมายความวา
การที่เราใชทฤษฎีความเสียหายที่กลาวไวในบทที่ 6 นั้นอาจจะไมปลอดภัยเมื่อภาระที่กระทำเปน
ภาระแบบพลวัต (Dynamics load)
จากประวัติศาสตรที่ศึกษาการแตกหักจากภาระกระทำแบบความลา (Fatigue facture) ในป
ค.ศ. 1800s โดยทำการศึกษากับรางรถไฟแบบลาก เริ่มที่จะพังภายหลังจากพึ่งผานการซอมบำรุงไป
โดยวัสดุที่ใชทำเปนเหล็กกลาเหนียวแตมีการเสียหายคลายวัสดุเปราะ จากนั้นในป ค.ศ. 1843 แรงคิน
(Rankine) ไดนำเสนอในวรสารที่เกี่ยวกับลอรถราง โดยเขากลาววาวัสดุจะมีสภาวะที่เรียกวาตกผลึก
(Crystallized) แลวกลายเปนวัสดุเปราะเนื่องจากความเคนมีการแกวงคา (Fluctuating stress) โดย
การออกแบบลอรถรางสมัยนั้นออกแบบดวยวิศวกรผูเชี่ยวชาญในเวลานั้น ซึ่งยึดตามประสบการณ
ดวยการใชคาทางสถิติของโครงสรางที่รับภาระกระทำ โดยภาระกระทำแบบพลวัชไดถูกพูดถึงกันใน
เครื่องจักรไอน้ำ โดยลอยึดติดกับกระทะแลวหมุนไปพรอมกัน ทำใหมีความเคนดัดเกิดขึ้นที่ผิวของ
เพลาลอเปนวงรอบกลับไปมาระหวางคาบวกและคาลบ ดังรูปที่ 7-1 (a) ซึ่งอยูในรูปของความเคน
แบบไปกลับแบบเต็มรูปแบบ (Fully reverse)

(a) Fully reverse (b) Repeated (d) Fluctuating


รูปที่ 7-1 ภาระกระทำที่แปรคาตามเวลา

จากนั ้ น วิ ศ วกรชาวเยอรมั น ชื ่ อ ออกั ส วู ฮ เ ลอร (August Wohler) ได ท ำการแสดงให เ ห็ น เชิ ง


วิทยาศาสตรในรอบ 12 ป ใหรูจักคำวา การเสียหายแบบลา (Fatigue failure) ซึ่งทำการทดสอบโดย
เพลาที่ ร ั บ ภาระกระทำแบบไปกลั บ แบบเต็มรู ป แบบ ในหองปฏิ บ ั ต ิการ ดั งรู ป ที่ 2-8 ซึ่งเปน รูป
เครื่องมือที่ทดสอบ และไดนำเสนอการคนพบของเขาในป ค.ศ. 1870 ซึ่งเขาไดนิยามจำนวนรอบของ
7-2

เวลาที่แปรคาความเคนเปนผูราย และพบวา ขีดจำกัดความทนทาน (Endurance limit) ของเหล็กมี


อยูจริง โดยเขายกตัวอยางของเหล็กกลามีระดับที่ 1 ลานรอบของความเคนไปกลับเต็มรูปแบบ โดย
เขียนเปนกราฟความสัมพันธระหวางขนาดความเคนกับจำนวนรอบของความเคนไปกลับ เรียกกราฟ
นั้นวา S-N ไดอะแกรม หรือ Wohler ไดอะแกรม ดังแสดงในรูปที่ 7-2

รูปที่ 7-2 Wohler ไดอะแกรม หรือ S-N ไดอะแกรม


โดย S-N ไดอะแกรมกลายเปนกราฟที่ใชเปนมาตรฐานของพฤติกรรมของวัสดุภายใตภาระกระทำ
แบบไปกลับ (Reverse loading) และยังคงใชกระทั่งทุกวันนี้ ในการวัดความแข็งแรงวัสดุภายใตภาระ
กระทำแบบพลวัช
คำวา ความลา (Fatigue) ถูกใชครั้งแรกในป ค.ศ. 1839 โดย โพนวีเลท (Poncelet) โดยกลไก
ของความเสียหายที่ยังไมเขาใจ กรณีที่วัสดุเหนียวเกิดผิวที่มีลักษณะเปราะปรากฏขึ้นที่สวนเสียหาย
โดยเขาระบุวาเกิดจากการที่วัสดุเหนื่อยลา (Tired) และทำใหเกิดความเปราะขึ้นมาแทนจากการที่
รับภาระแบบแกวงคา กระทั่ง วูฮเลอร ไดแสดงใหเห็นวาเพลาลอก็ยังแตกหักไดแมวัสดุยังแข็งแรงอยู
และวัสดุเหนียวที่ทดสอบแรงดึงถือเปนคาความแข็งแรงเริ่มตนของวัสดุ อยางไรก็ตาม คำวา ความ
เสียหายจากการลา (Fatigue failure) ยังคงมีการใชอธิบายความเสียหายภายใตภาระกระทำที่แปรคา
ตามเวลา

7.2 กลไกของความเสียหายแบบลา (Mechanism of fatigue failure)


ความเสียหายจากความลามักจะเริ่มตนจากการเกิดรอยราว (crack) ซึ่งรอยราวอาจจะเกิดขึ้น
ตั้งแตตนของการผลิตหรืออาจจะเกิดขึ้นภายหลังจากความเครียดแบบไปกลับบริเวณที่เกิดความเคน
หนาแน น เสเชอร (Fischer) และเย น (Yen) ได แ สดงให เ ห็ น ว า โครงสร า งที ่ ม ี ค วามไม ต  อ เนื ่ อง
(Discontinuities) มีคาในระดับจุลภาค (<0.010 นิ้ว) ถึงระดับมหภาพ รอยราวแบบลาโดยทั่วไป
เริ่มตนจากสวนที่มีการเปลี่ยนแปลงหนาตัดหรือสวนเวาหรือโคงบนชิ้นงานเรียกวา นอทช (notch)
หรือบริเวณที่เกิดความเคนหนาแนน โดยความเสียหายที่เกิดจากความลาแบงสวนความเสียหายเปน 3
ชวงคือ 1) ชวงรอยราวเริ่มตน (crack initiation) เปนชวงสั้นๆ ของการเกิดรอยราว 2) ชวงรอยราว
ลาม (crack propagation) เปนชวงชีวิตทั้งหมดของชิ้นงาน และ 3) ชวงแตกหักแบบทันทีทัน ใด
7-3

เนื่องจากมีการเติบโตแบบไมเสถียรของรอยราว (crack growth) ถือเปนชวงที่เกิดขึ้นทันทีเมื่อถึงเวลา


รูปที่ 7-3 แสดงการเกิดความเสียหายของชิ้นงานตัวอยางภายใตภาระกระทำแบบลา

(a) (b)
(a) การเสียหายของเพลาเหล็กกลา ที่ถูกภาระกระทำโดยกุญแจลอคแบบโมเมนตดัด
(b) การเสียหายของเพลาขอเหวี่ยง ภายใตภาระกระทำผสมระหวางโมเมนตดัดและโมเมนตบิด
รูปที่ 7-3 ชิ้นงานตัวอยาง ที่เกิดจากภาระกระทำแบบลา

การแตกหักของชิ้นงานที่มีผลของความเคนหนาแนน ภายใตภาระกระทำแบบลานั้น รูปที่ 7-4 ได


รวบรวมลักษณะรอยราวหรือรอยแตกหักภายใตภาระกระทำแบบลาตางๆ เชน แรงดึงสลับแรงดึงที่
ต า งค า กั น (Tension-tension loading) แรงดึ ง สลั บ แรงกด (Tension-compression loading)
โมเมนต ด ั ด ในทิ ศ เดี ย ว (Unidirectional bending) โมเมนต ด ั ด แบบสลั บ (Reversed bending)
โมเมนตดัดในชิ้นงานที่หมุน (Rotational bending) และโมเมนตบิด (Torsion) โดยลักษณะรอยราว
หรือรอยแตกหัก จะเปนเอกลักษณเฉพาะตามแตละกลุมความเคนหนาแนน และประเภทภาระที่
กระทำ
7-4

รูปที่ 7-4 ลักษณะของการแตกหักแบบลาของชิ้นงานผิวเรียบและชิ้นงานมีผลกระทบจากการ


เปลี่ยนแปลงหนาตัด โดยมีภาระกระทำแบบลาแบบตางๆ
7-5

7.3 แบบจำลองการเสียหายเนื่องจากความลา
การศึกษาแบบจำลองการเสียหายเนื่องจากความลา นั้นจำเปนตองทราบกรอบของความลา ซึ่ง
แบงตามจำนวนรอบของความเคนหรือจำนวนรอบความเครียดที่ใชงานรับภาระกระทำตลอดชวงชีวิต
ของชิ้นงาน โดยแบงเปนชวงจำนวนรอบความลาต่ำ (Low cycle fatigue :LCF) และชวงจำนวนรอบ
ความลาสูง (High cycle fatigue : HCF) โดยมีผูนิยามชวงทั้งสองตางกัน เชน ดารวลิง (Dowling)
นิยาม HCF คือ เริ่มจาก 102 ถึง 104 รอบ จูวินาล และ ชิกเลย (Juvinull and Shigley) นิยามที่
103 รอบ และมาดาเยก (Madayag) นิยามเริ่มตนที่ 103 ถึง 104 รอบ โดยในเอกสารจะใชที่ 103
ตาม จูวินาล และ ชิกเลย ใชแบงระหวาง LCF และ HCF แบบจำลองความเสียหายเนื่องจากความ
ลาปจจุบันมี 3 แบบจำลอง ที่มีการเสนอและใชงาน คือ
1) แบบจำลองที่ใชความเคนเปนตัวระบุชีวิต (Stress-life (S-N) approach) เปนแบบจำลองที่
เกาแกที่สุด และใชบอยมากในงานที่เปน HCF นั่นคือชิ้นงานจะรับจำนวนรอบของความ
เคนเกิน 1000 รอบ โดยงานจะใหผลดีที่สุดเมื่อขนาดของภาระกระทำสามารถทำนายได
และมีคาคงตัวตลอดชวงชีวิตของชิ้นงานนั้น เปนแบบจำลองที่ใชความเคนเปนหลัก (Stress
based model) ซึ่งใชหาคาความแข็งแรงชิ้นงานเมื่อรับภาระกระทำแบบลา (Fatigue
strength, S f ) หรือบางครั้งเรียกคา ขีดจำกัดความทนทาน (Endurance limit, Se )
ของวัสดุ ฉะนั้นเพื่อความปลอดภัย เราจึงตองรักษาระดับความเคนสลับ (Cyclic stress)
ใหต่ำกวาคาดังกลาว เพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายที่จะเกิดขึ้น ที่จำนวนรอบของความเคนที่
ตองการ ซึ่งระบุในรูปของคาความปลอดภัย โดยแบบจำลองอยูภายใตสมมุติฐานความเคน
และความเครียดของในชวงยืดหยุนและไมมีการครากเกิดขึ้นในชวงตนของการเกิดรอยราว
โดยแบบจำลองนี้ เปนแบบจำลองที่ใชงานงาย และขอมูลคาความแข็งแรงที่ใชไดจำนวน
มากเนื่องจากมีการใชมาอยางยาวนาน อยางไรก็ตาม แบบจำลองนี้ยังเปนแบบจำลองที่เปน
ประจักษที่สุดและความแมนยำต่ำสุดใน 3 แบบจำลอง ในรูปของการนิยามสภาวะของ
ความเคน/ความเครียด ที่แทจริงในชิ้นงาน โดยเฉพาะชวง LCF ในสถานะการณที่ระบุชวง
ชีวิตจำกัด (Finite life situation) ในขณะที่ แบบจำลองยังยอมใหออกแบบภายใตชวง
ชีวิตไมจำกัด (Infinite life) ภายใตภาระกระทำแบบสลับ
2) แบบจำลองที่ใชความเครียดเปนตัวระบุชีวิต (Strain-life ( ε -N) approach) เนื่องในชวง
ตนของรอยราวที่มีการคราก แบบจำลองที่ใชความเคนเปนหลัก ไมเพียงพอสำหรับจำลอง
ตลอดกระบวนการของวัสดุ โดยแบบจำลองที่ใชความเครียดเปนหลัก ใหเหตุผลที่เห็นภาพ
ของความเที่ยงตรงในชวงตนของการเกิดรอยราว และยังครอบคลุมความเสียหายที่เกิดขึ้น
ผลรวมความเสียหายเนื่องจากการแปรคาไปของภาระกระทำตลอดชวงชีวิตของชิ้นงานนั้น
เชน การใสภาระกระทำที่เกินขีดจำกัด สงผลใหเกิดความเคนตกคาง (Residual stress) ใน
บริเวณที่เกิดความเสียหาย การรวมกันของภาระกระทำแบบลาและภาระกระทำภายใต
อุณหภูมิสูง ยังสามารถใชงานไดดีสำหรับแบบจำลองนี้ เนื่องจากมีการนำเอาแบบจำลอง
7-6

ความคืบ (Creep model) เขามาประกอบในแบบจำลองดวย วิธีการนี้มักจะถูกนำมาใชกับ


ปญหา LCF และ จำกัดอายุการใชงาน (LCF, finite life problems) โดยความเคนสลับ
ตองมีขนาดที่ส ูงพอทำให เกิด การครากเกิด ขึ้น ถือเปนแบบจำลองที่ซับซ อนที่ส ุด ใน 3
แบบจำลอง จึงจำเปนตองใชคอมพิวเตอรชวยในการหาคำตอบ
3) แบบจำลองเชิงเสนของกลไกการแตกหั กยืดหยุน (Linear elastic facture mechanics
(LEDM)) เป น แบบจำลองที ่ ด ี ท ี ่ ส ุ ด ในการทำนายการเกิ ด รอยร า วช ว งที ่ ส อง (crack
propagation stage) วิธีการนำเอา LCF และ ปญหาแบบจำกัดอายุการใชงาน ที่รับความ
เคนสลับและมีคาสูงพอที่จะทำใหรอยราวในชิ้นงานมีการเปลี่ยนไปและยังเปนประโยชนใน
การทำนายการคงอยูของรอยราวในชิ้นงาน มักจะมีการนำไปใชงานรวมกับการทดสอบวัสดุ
ชนิดที่ไมทำลาย (Non-destructive testing: NDT) ในโปรแกรมการตรวจสอบชิ้นงานเปน
วงรอบ โดยเฉพาะอยางยิ่งในโรงงานดานที่ผลิตเครื่องบินและยานอวกาศ
7.4 ภาระกระทำแบบลา (Fatigue loads)
ภาระกระทำแบบตางๆ ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาที่มีศักยภาพพอที่จะทำใหเกิดความเสียหาย
จากการลานั้น ลักษณะของภาระกระทำจะเปลี่ยนแปลงจากชิ้นงานหนึ่งตอเนื่องไปยังสวนอื ่ น ๆ
ตัวอยางเชน ในเครื่องจักรที่หมุน (Rotating machine) ภาระกระทำมีแนวโนมที่จะคงตัวตลอดเวลา
ที่ใชงานและยังซ้ำเดิมในบางความถี่ เพื่อใหงายในการกำหนดลักษณะของภาระกระทำ การกำหนด
ลักษณะของภาระกระทำแบบฟงกชันของความเคน-เวลา ดังแสดงในรูปที่ 7-5 (a) – (c) โดยนิยาม
ประเภทของภาระกระทำแบบลา 3 ประเภท ดังนี้
1) ภาระกระทำแบบไปกลับเต็มรูปแบบ (Fully reverse)
2) ภาระกระทำแบบซ้ำคา (Repeated)
3) ภาระกระทำแบบแกวงคา (Fluctuating)

(a) Fully reverse (b) Repeated (c) Fluctuating


รูปที่ 7-5 ชนิดของภาระกระทำแบบลา

จากรูปที่ 7-5 สามารถพิจารณาความสัมพันธของตัวแปรตางๆ ซึ่งไดนำมาใชในตลอดทั้งเอกสาร โดย


ภาระกระทำแบบล า มี 2 ส ว นประกอบ คื อ ส ว นประกอบสลั บ (Alternating component)
สัญลักษณที่ใชจะมีตัวหอย a และสวนประกอบเฉลี่ย (Mean component) สัญลักษณที่ใชจะมีตัว
7-7

หอย m ซึ่งจะยกตัวอยางสมการความเคนตั้งฉาก ของสวนประกอบทั้งสอง ในสมการที่ 7-1 และ 7-2


ตามลำดับ
σ max − σ min
σa = (7-1)
2
σ max + σ min
σm = (7-2)
2

เมื่อ σ a คือ ความเคนสวนประกอบสลับ (Alternating stress)


σ m คือ ความเคนสวนประกอบเฉลี่ย (Mean stress)
σ max คือ ความเคนตั้งฉากสูงสุด (Maximum stress)
σ min คือ ความเคนตั้งฉากนอยที่สุด (Minimum stress)

จากรูปที่ 7-5 หากพิจารณาสวนประกอบทั้งสองของความเคน จะพบวา


ภาระกระทำแบบ Fully reverse : มีคุณสมบัติคือ σ max = σ min
ภาระกระทำแบบ Repeated : มีคุณสมบัติคือ σ min = 0
จากคุณสมบัติดังกลาว เมื่อใชแทนในสมการที่ 7-1 และ 7-2 คุณสมบัติของแตละภาระกระทำตาม
ประเภทของสวนประกอบแสดงในตารางที่ 7-1
ตารางที่ 7-1 สวนประกอบของความเคนลาตามประเภทของภาระลาแบบตางๆ
ประเภทของภาระกระทำลา สวนประกอบสลับ : σ a สวนประกอบเฉลี่ย: σ m
Fully reverse σ max 0
Repeated σ max σ max
2 2
Fluctuating σ max − σ min σ max + σ min
2 2

นอกจากนี้ ยังมีตัวแปรที่สำคัญอื่นๆ เพิ่มเติม เชน อัตราสวนความเคน (Stress ratio : R ) นิยามโดย


อัตราสวนความเคนต่ำสุดตอความเคนสูงสุด ดังสมการที่ 7-3 และ อัตราสวนแอมฟลิจูด (Amplitude
ratio : A ) นิยามโดย อัตราสวนสวนประกอบสลับตอสวนประกอบเฉลี่ย ดังสมการที่ 7-4
σ min
R= (7-3)
σ max
σ
A= a (7-4)
σm

หากพิจารณาตามสมการที่ 7-3 และ 7-4 ของภาระกระทำลาทั้ง 3 แบบ สรุปไดดังตารางที่ 7-2


7-8

ตารางที่ 7-2 คาอัตราสวนความเคน และอัตราสวนแอมฟลิจูด ตามประเภทของภาระลาแบบตางๆ


ประเภทของภาระกระทำลา อัตราสวนความเคน : R อัตราสวนแอมฟลิจูด : A
Fully reverse -1 ∞
Repeated 0 1
Fluctuating σ min σa
σ max σm
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตัวอยาง 7-1
โจทยกำหนดให ชิ้นงานภาระกระทำแบบลา โดยมีความเคนตั้งฉากสูงสุด σ max = 750 MPa, ความ
เค น ตั ้ งฉากต่ ำ สุ ด σ min = −250 MPa, ความเคน เฉือนสูงสุด τ max = 250 MPa, ความเคน เฉือน
ต่ำสุด τ min = 0 MPa จากขอมูลที่กำหนดให
จงหา ความเค น ตั ้ งฉากและความเคน เฉื อนทั ้งสองสว นประกอบ, อัตราสว นความเคน ตั ้ง ฉาก,
อัตราสวนความเคนเฉือน, อัตราสวนแอมฟลิจูดความเคนตั้งฉาก อัตราสวนแอมฟลิจูดความเคนเฉือน
และระบุประเภทของภาระกระทำแบบลา
วิธีทำ
จากนิยามของสวนประกอบของความเคนในสมการที่ 7-1 และ 7-2 สามารถหาสวนประกอบ
ของความเคนทั้งความเคนตั้งฉากและความเคนเฉือนไดดังนี้
สวนประกอบสลับของความเคนตั้งฉาก
σ max − σ min 750 − (−250) 1000
σa
= = = = 500 MPa Ans
2 2 2
สวนประกอบเฉลี่ยของความเคนตั้งฉาก
σ max + σ min 750 + (−250) 500
σm
= = = = 250 MPa Ans
2 2 2
ความเคนตั้งฉากเปนภาระกระทำแบบลาประเภทแกวงคา Ans
สวนประกอบสลับของความเคนเฉือน
τ max − τ min 250 − 0
=τa = = 125 MPa Ans
2 2
สวนประกอบเฉลี่ยของความเคนเฉือน
τ max + τ min 250 + 0
=τm = = 125 MPa Ans
2 2
ความเคนเฉือนเปนภาระกระทำแบบลาประเภทซ้ำคา Ans

จากนิยามของอัตราสวนความเคน และอัตราสวนแอมฟลิจูด ตามสมการที่ 7-3 และ 7-4


สามารถหาอัตราสวนความเคน และอัตราสวนแอมฟลิจูด ของทั้งความเคนตั้งฉากและความเคนเฉือน
ไดดังนี้
7-9

อัตราสวนความเคนตั้งฉาก
σ −250 1
R = min = =− =−0.3333 Ans
σ max 750 3
อัตราสวนแอมฟลิจูดของความเคนตั้งฉาก
σ a 500
=
A = = 2 Ans
σ m 250
อัตราสวนความเคนเฉือน
τ min 0
=
R = = 0 Ans
τ max 250
อัตราสวนแอมฟลิจูดของความเคนเฉือน
τ a 125
=
A = = 1 Ans
τ m 125

7.5 การตรวจวัดการเสียหายภายใตภาระกระทำแบบลา
เทคนิ ค การตรวจวั ด การตอบสนองของวั ส ดุ เ มื ่ อ รั บ ความเค น หรื อ ความเครี ย ดที ่ ม ี ก าร
เปลี่ยนแปลงตามเวลา ณ ปจจุบันมีหลากหลายวิธี โดยเทคนิคที่เกาแกที่สุดที่นำเสนอโดยวูฮเลอร นั้น
เปนการทดสอบกับคานยื่นที่หมุนภายใตการรับความเคนดัดที่มีการแปรผันตามเวลา จากนั้น อารอาร
โมเร (R.R. Moore) ไดปรับปรุงโดยใชโครงสรางทดสอบเปนแบบงายแบบหมุน (Simple support
rotating) ที่รับความเคนดัดแบบยอนกลับชนิดเต็มรูปแบบเทานั้น อีก 40 ปตอมาก็ไดมีการประดิษฐ
เครื่องทดสอบโดยใชระบบไฮดรอลิคเซอรโว เพื่อขับเคลื่อนระบบทดสอบภาระกระทำในแนวแกน
(Axial testing machine) โดยยอมใหมีการยืดหดไปของคาความเคนหรือความเครียด ในชิ้นงาน
ทดสอบ ซึ่งใชขอมูลคาความเครียดเปนหลักในการกำหนดกลไกการแตกหักของชิ้นทดสอบ แตทั้งนี้
วิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดสำหรับการทดสอบความแข็งแรงของวัสดุเมื่อรับภาระกระทำแบบลาคือ คาน
หมุนที่รับความเคนดัดชนิดยอนกลับแบบเต็มรู ปแบบ ขณะที่การทดสอบโดยใช ภาระกระทำใน
แนวแกน และ ภาระกระทำเปนโมเมนตบิดนั้น ยังมีการใชงานที่นอย ในบทเรียนนี้จึงนำเสนอเฉพาะ
การทดสอบที่ใชการทดสอบบนคานหมุนภายใตภาระกระทำเปนความเคนไปกลับชนิดเต็มรูปแบบ
โดยจากรายละเอียดชิ้นงานทดสอบ ตองเปนเพลากลมที่ผานการขัดอยางดี มีขนาดเสนผานศูนยกลาง
0.3 นิ้ว ติดตั้งกับที่จับยึด แลวใหรับภาระกระทำเปนโมเมนตดัดเทานั้นขนาดคงที่ แลวใหชิ้นทดสอบ
หมุนดวยความเร็วรอบ 1725 รอบตอนาที ซึ่งจากภาระกระทำดังกลาว ทำใหเกิดความเคนดัดชนิด
ยอนกลับแบบเต็มรูปแบบ ที่จุดตางๆ ที่เสนรอบวงของชิ้นทดสอบ โดยการทดสอบสามารถเพิ่มระดับ
ของความเคนดัดตามขนาดของแรงกดที่ปลายชิ้นทดสอบ เพื่อปรับเพิ่มคาโมเมนตดัด กระทั่งชิ้นงาน
เสียหาย โดยจำนวนรอบของการหมุนของเพลาที่ตำแหนงการพังเสียหายจะถูกบันทึก ซึ่งใชเวลา
ทดสอบประมาณครึ่งวันสำหรับจำนวนรอบที่ 1 ลานรอบ (106 รอบ) และ 40 วัน สำหรับ 100 ลาน
รอบ (108 รอบ) โดยการทดสอบจะทำซ้ำเดิมสำหรับระดับความเคนคาอื่นๆ โดยการบันทึกแลวนำมา
7-10

หารดวยคาความแข็งแรงวัสดุ ( S f Sut ) เขียนกราฟความสัมพันธ เทียบกับจำนวนรอบ ( N ) ซึ่งปกติ


จะเขียนบนกราฟแบบ Log-Log ซึ่งเรียกกราฟนั้นวา S-N ไดอะแกรม (S-N diagram) ดังรูปที่ 7-6

รูปที่ 7-6 ตัวอยางกราฟแบบ Log-log ของ S-N ไดอะแกรม ของเหล็กกลาที่มีคา Sut < 200 ksi

จากรูปที่ 7-6 จะเห็นวา จุดผลทดสอบความเคนที่ตำแหนงต่ำกวาเสนขอบบน จะไมมีการแตกหัก


ตัวอยางในรูป คาความเคนทดสอบจำนวนที่ 107 รอบ มีขอมูลจำนวนมาก ซึ่งแสดงใหเห็นคา เปน
ตำแหน งของค า ความแข็ งแรงสำหรับการรับภาระกระทำแบบลา (Fatigue strength) ซึ่งวิธ ีการ
ดังกลาว สามารถใชเพื่อทดสอบวัสดุอื่นๆ ไดเชนกัน จะพบวาในแตละวัสดุ เสนขอบบนตามรูปที่ 7-6
นั้นจะมีพฤติกรรม 2 แบบ คือ แบบที่ 1 เสนทึบจะมีความชันลดลงตามจำนวนรอบที่เพิ่มขึ้นกระทั้งถึง
จำนวนรอบระหวาง 106 ถึง 107 เสนจะเริ่มเปนเสนแนวระดับ คาความเคน ณ ตำแหนงนี้จะถูก
เรียกวา คาขีดจำกัดความทนทาน (Endurance limit, Se′ *) และ แบบที่ 2 เสนทึบจะมีความชัน
ลดลงตามจำนวนรอบที่เพิ่มขึ้นเชนเดียวกับแบบที่ 1 แตเมื่อเลยชวงจำนวนรอบดังกลาว แลวไมมีการ
ปรับเปนแนวระดับ และยังคงมีความชันลดลงตามจำนวนรอบที่เพิ่มขึ้น โดยความแข็งแรงของวัสดุใน
กลุมนี้ จะตองนิยามจำนวนรอบเพื่อระบุความแข็งแรงเมื่อรับภาระกระทำแบบลาเปน คาความ
แข็ งแรงเมื ่ อรั บภาระกระทำแบบลา (Fatigue strength, S ′f *) ดังรูป ที่ 7-2 โดยวัส ดุที่มี S-N
ไดอะแกรมเปนแบบที่ 1 ไดแก เหล็กกลาผสมและเหล็กกลาคารบอนต่ำ เหล็กกลาไรสนิมบางชนิด
เหล็กเหนียว โมลิดิเนียมผสม ไททาเนียมผสม และโพลิเมอรบางชนิด เปนตน สวนแบบที่ 2 ไดแก
อะลูมิเนียม แมงกานีส ทองแดง นิกเกิลผสม เหล็กกลาไรสนิมบางชนิด และเหล็กกลาผสมและ
เหล็กกลาคารบอนสูง เปนตน ดังแสดง S-N ไดอะแกรมในรูปที่ 7-7 และ รูปที่ 7-8 ตามลำดับ ในรูปที่
7-7 มีการแยกระดับของภาระกระทำแบบลาเปน LCF และ HCF ที่จำนวนรอบ 1000 รอบ โดย
สวนมากจะใชงานที่ HCF
* หมายเหตุ สัญลักษณ Se′ , S ′f เปนคาความแข็งที่ยังไมคิดผลปจจัยของการใชงาน
7-11

รูปที่ 7-7 ตัวอยางของ S-N ไดอะแกรม แบบที่ 1

รูปที่ 7-8 ตัวอยางของ S-N ไดอะแกรม แบบที่ 2

จากรูปที่ 7-7 และ 7-8 เปนกราฟของผลการทดสอบจริงๆ ของวัสดุ แตโดยทั่วไปของวัสดุ เราจะ


ทราบเฉพาะผลการทดสอบแรงดึงมาตรฐานของวัสดุ ฉะนั้นในหัวขอนี้ จะแนะนำการประมาณการ
สราง S-N ไดอะแกรมสำหรับ HCF ทั้งสองรูปแบบ ดังรูปที่ 7-9

(a) S-N ไดอะแกรมแบบที่ 1 (b) S-N ไดอะแกรมแบบที่ 2


รูปที่ 7-9 ชนิดของ S-N ไดอะแกรมโดยประมาณ
7-12

จากรูปที่ 7-9 เปนสวน S-N ไดอะแกรมของ HCF โดยแกน y เปนคาความแข็งแรง มีคาซึ่งเริ่ม Sm


โดยคา Sm แปรคาตามประเภทของภาระที่กระทำดังสมการที่ 7-5 สำหรับภาระกระทำโมเมนต ดัด
และสมการที่ 7-6 สำหรับภาระกระทำเปนแรงในแนวแกน สวนแกน x กำหนดเริ่มตนจำนวนรอบ
( N1 ) ที่ 1000 รอบ โดยรูป (a) ใชสำหรับ S-N ไดอะแกรมแบบที่ 1 ซึ่งเมื่อจำนวนรอบ ( N 2 ) ถึง 106
ความแข็งแรงมีคาคงที่ เรียกคา ขีดจำกัดความทนทาน, Se
สำหรับภาระกระทำโมเมนตดัด
S m = 0.9Sut (7-5)
สำหรับภาระกระทำเปนแรงในแนวแกน
S m = 0.75Sut (7-6)
และรูป (b) ใชสำหรับ S-N ไดอะแกรมแบบที่ 2 โดยเมื่อจำนวนรอบเลย 106 แลวความแข็งแรงยังคง
ลดลงตอเนื่อง จึงใชวิธีการกำหนดจำนวนรอบ ( N 2 ) เพื่อระบุความแข็งแรงของวัสดุ, S f โดยในชวงตน
สามารถเขียนสมการความสัมพันธของ ความแข็งแรง S และจำนวนรอบ N ตามสมการที่ 7-7
S ( N ) = aN b (7-7)

1 S 
โดย
b = log  m 
z  Se 
=z log( N1 ) − log( N 2 )
log(a ) =log( S m ) − b log( N1 ) =l og( S m ) − 3b
โดย S-N ไดอะแกรมแบบที่ 1 ภายหลังที่จำนวนรอบเกิน 106 รอบ คาความแข็งแรงจะมีคาคงที่ Se
สวน S-N ไดอะแกรมแบบที่ 2 คาความแข็งแรง S f ขึ้นกับการระบุคา N 2 ซึ่งเมื่อระบุคา N 2 ทำให
ไดคา z ตามตารางที่ 7-3

ตารางที่ 7-3 คา z ที่การระบุคา N 2 คาตางๆ


คา N 2 คา z
1e6 -3.000
5e6 -3.699
1e7 -4.000
5e7 -4.699
1e8 -5.000
5e8 -5.699
1e9 -6.000
5e9 -6.699
7-13

7.6 การประมาณความแข็งแรงวัสดุเมื่อรับภาระกระทำแบบลาภายใตปจจัยการใชงาน
จากวิธีการหาคาความแข็งวัสดุเมื่อรับภาระกระทำแบบลานั้น คาที่ไดเปนคาที่ยังไมคิดผลของ
ปจจัยขณะใชงาน ซึ่งมีผลทำใหความแข็งแรงมีคาลดลง โดยปจจัยที่มีผลตอการใชงาน เชน ประเภท
ของภาระกระทำ ขนาดชิ้นงาน ผิวชิ้นงาน อุณหภูมิทำงาน ความนาเชื่อถือของการออกแบบ และอื่นๆ
เปนตน ในการหาคาความแข็งแรงวัสดุเมื่อรับภาระกระทำแบบลานั้น จะแยกสวนออกเปน 2 สวน
คือ สวนการประมาณคาความแข็งแรงเมื่อรับภาระกระทำแบบลาและสวนปจจัยที่มีผลตอความ
แข็งแรงเมื่อภาระกระทำแบบลา
7.6.1 การประมาณคาความแข็งแรงเมื่อรับภาระกระทำแบบลา
ฉะนั้นเพื่อใหสามารถหาคาความแข็งแรงวัสดุ เมื ่อรับภาระกระทำแบบลาได ง าย จึงมีการ
ประมาณคาโดยแยกตามกลุมของวัสดุ ซึ่งคาโดยประมาณของคาความแข็งวัสดุเมื่อรับภาระกระทำ
แบบลาของวัสดุตัวอยาง ดังสมการที่ 7-8 ถึง สมการที่ 7-11 นั้นไดจากการทดลองวัสดุ แลวหา
ความสัมพันธเปรียบเทียบกับคาความเคนสูงสุดที่ไดจากการทดสอบวัสดุมาตรฐาน โดยรูปที่ 7-10
แสดงความสัมพันธของวัสดุตัวอยาง
1.) วัสดุกลุมเหล็ก
เหล็กกลา (Steel)
0.5Sut for Sut < 200 kpsi (1400 Mpa )
Se′ ≅  (7-8)
100 kpsi (700 MPa ) for Sut ≥ 200 kpsi (1400 Mpa )
เหล็กหลอ (Cast Iron)

0.4 Sut for Sut < 60 kpsi (400 Mpa )


Se′ ≅  (7-9)
24 kpsi (160 Mpa ) for Sut ≥ 60 kpsi (400 Mpa )
2.) วัสดุนอกกลุมเหล็ก
อะลูมิเนียม (Aluminums)
0.4 Sut for Sut < 48 kpsi (330 Mpa )
S ′f @5 E 8 ≅  (7-10)
19 kpsi (130 Mpa ) for Sut ≥ 48 kpsi (330 Mpa )
ทองแดงผสม (Copper alloys)
0.4 Sut for Sut < 40 kpsi (280 Mpa )
S ′f @5 E 8 ≅  (7-11)
14 kpsi (100 Mpa ) for Sut ≥ 40 kpsi (280 Mpa )

โดย ความหมายของ S ′f @5 E 8 คือ คาความแข็งแรงเมื่อวัสดุรับภาระกระทำแบบลาที่ยังไมคิดผลของ


ปจจัยจากการใชงาน โดยระบุความแข็งแรงที่จำนวนรอบ N 2 = 5E8 รอบเปนตำแหนงความแข็งแรง
ของวัสดุนั้นๆ
7-14

Steel

Wrought &
Cast iron

Aluminum
alloys

Copper
alloys

รูปที่ 7-10 ความสัมพันธของความแข็งแรงวัสดุตัวอยาง เมื่อรับความเคนดัดภายใตภาระกระทำ


แบบลาเปรียบเทียบกับคาความแข็งแข็งสูงสุดของวัสดุ
7-15

7.6.2 ปจจัยที่มีผลตอความแข็งแรงเมื่อรับภาระกระทำแบบลา
คาความแข็งแรงวัสดุเมื่อรับภาระกระทำแบบลา ที่ไดจากการทดสอบความลามาตรฐานหรือได
จากการประมาณ เปนการไดมาจากการทดสอบแบบสถิต จำเปนตองนำมาปรับคาตามเงื่อนไขทาง
กายภาพที่ตางกันระหวางเงื่อนไขจากการทดสอบในหองปฏิบัติการและเงื่อนไขสำหรับการใชงานจริง
ประกอบการออกแบบ ประกอบดวยปจจัยตางๆ 5 ปจจัย ซึ่งทำใหคาความแข็งแรงที่ไดจากการ
ทดสอบความลามาตรฐานหรือจากการประมาณมีคาลดลง ทำใหคาความแข็งแรงของวัสดุเมื่อรับภาระ
กระทำแบบลา สามารถหาไดดังสมการที่ 7-12

Se = Cload CsizeCsurf Ctemp Creliab Se′


(7-12)
S f = Cload CsizeCsurf Ctemp Creliab S ′f

เมื่อ Cload คือ ปจจัยเนื่องจากประเภทของภาระกระทำ (Load factor)


Csize คือ ปจจัยเนื่องจากขนาดของชิ้นงาน (Size factor)
Csurf คือ ปจจัยเนื่องจากผิวของชิ้นงาน (Surface factor)
Ctemp คือ ปจจัยเนื่องจากอุณหภูมิของการใชงาน (Temperature factor)
Creliab คือ ปจจัยเนื่องจากความนาเชื่อถือของการออกแบบ (Reliability factor)
โดยมีขอกำหนดของคาปจจัยตางๆ ดังตอไปนี้
1.) ปจจัยเนื่องจากประเภทของภาระกระทำ (Load factor) คา Cload จะพิจารณาจากกลุม
ภาระกระทำ 3 ประเภทคือ ภาระกระทำจากโมเมนตดัด (Bending) ภาระกระทำจาก
โมเมนตบิด และภาระกระทำจากแรงในแนวแกน (Axial loading) คา Cload ระบุค าดั ง
สมการที่ 7-13 โดยผลที่เกิดจากโมเมนตดัดและโมเมนตบิดคาเทากัน เนื่องจากจากทฤษฎี
ความเสียหายของหรับภาระกระทำแบบแบบสถิต จากทฤษฎี DET ความแข็งแรงเมื่ อ
ชิ้นงานรับความเคนเฉือน มีคาเปน 0.577 เทาของความเคนที่เกิดจากผลการทดสอบแรง
ดึงมาตรฐาน ฉะนั้นจึงไมสงผลตอความเสียหายเมื่อรับภระกระทำแบบลา จึงกำหนดใหใช
คาเทากัน

Bending & torsion : Cload = 1


(7-13)
Axial loading : Cload = 0.70

2.) ปจจัยเนื่องจากขนาดของชิ้นงาน (Size factor) คา Csize จะพิจารณาขนาดและรูปราง


ของหนาตัดชิ้นงาน โดยจากการทดสอบความลา ชิ้นงานทดสอบเปนชิ้นงานหนาตัดกลม
และหมุนภายใตภาระกระทำเปนความเคนดัดแบบสลับ ฉะนั้นหากชิ้นงานมีขนาดและ
รูปรางที่ตางออกไป จึงตองมีปจจัยของขนาดเขามาเกี่ยวของ มีผูแนะนำการใชคา Csize ที่
แตกตางกัน โดยในเอกสารไดยึดตามคำแนะนำของ Shigley และ Mitchell ซึ่งแสดงในรูป
7-16

สมการความสัมพันธของคา Csize กับขนาดเสนผานศูนยกลางชิ้นงาน โดยพิจารณาชิ้นงาน


หนาตัดกลมและหมุน และชิ้นงานหนาตัดแบบอื่นๆ ที่ไมหมุน ดังตอไปนี้
ชิ้นงานหนาตัดกลมและหมุน
for d ≤ 0.3 in. (8 mm) : Csize =
1
for 0.3 in. < d ≤ 10 in. : 0.869d −0.097
C size =
(7-14)
for 8 mm. < d < 250 mm. : 1.189d −0.097
C size =
for d larger : C size = 0.6

ชิ้นงานหนาตัดอื่นๆ ไมหมุน สมการ (7-14) ใชไดเฉพาะกรณีชิ้นงานหนาตัดกลมและหมุน


เทานั้น แตสำหรับกรณชิ้นงานหนาอื่นๆ ทั้งกลมหมุน กลมไมหมุน และรวมถึงชิ้นงานหนา
ตัดไมกลม Kuguel ไดแนะนำใหใชสมการที่ระบุในรูปของพื้นที่หนาตัดที่รับความเคนเกิน
กวา 95% จากความเคนสูงสุด ซึ่งเกิดที่ผิวนอกสุดของชิ้นงาน โดยนิยามเปน A95 ดัง
แสดงในรูปที่ 7-11

(a) การกระจายความเคนตั้งแต 95% ถึงคาสูงสุด (b) พื้นที่ 95% ของชิ้นงานหนาตัดกลม


รูปที่ 7-11 พื้นที่ A95 ตัวอยางหนาตัดกลม เพื่อประกอบการวิเคราะหกรณีหนาตัดไมกลม
จากรูปที่ 7-11 พื้นที่ 95% กรณีชิ้นงานหนาตัดกลม สามารถหาคาไดดังสมการที่ 7-15

 d 2 − ( 0.95d )2 
=A95 π=
  0.0766d 2 (7-15)
 4 

จากนั้น กรณีหนาตัดชิ้นงานกรณีอื่นๆ ใหใชคาเสนผานศูนยกลางสมมูล dequiv โดยเขียนหาคาไดจาก


สมการที่ 7-16 โดยที่ A95 หาจากรูปที่ 7-12 และยอนกลับใชสมการที่ 7-14 เพื่อหาคา Csize

A95
d equiv = (7-16)
0.0766
7-17

(a) หนาตัดกลมหรือกลวง (b) หนาตัดรูปตัว C

(c) หนาตัวรูปสี่เหลี่ยมผืนผา (d) หนาตัดรูปตัว I


รูปที่ 7-12 สูตรการหาพื้นที่ A95 กรณีหนาตัดอื่นๆ
3.) ปจจัยเนื่องจากผิวของชิ้นงาน (Surface factor) ชิ้นงานทดสอบความลาโดยทั่วไปจะ
ทำการขัดเงาอยางดีกอนทำการทดสอบ ฉะนั้นในความเปนจริงผิวชิ้นงานมีหลากหลาย
รูปแบบ ทำใหการพิจารณาคา Csurf จึงมีหลากหลาย เชน ของ Juvinall , R.C Johnson
รวมถึง Shiglay และ Mischke ในเอกสารใชตามขอมูลของ Shigley และ Mischke โดย
แนะนำใหใชตามสมการที่ 7-17 โดยแยกตามประเภทของผิวชิ้นงาน ตามตารางที่ 7-4

Csurf ≅ ASut b : if Csurf > 0 set Csurf =


1 (7-17)

ตารางที่ 7-4 ตัวแปรสำหรับหาคา Csurf ตามสมการที่ 7-17


สำหรับ Sut หนวย ksi, kpsi
สำหรับ Sut หนวย MPa
ลักษณะผิวจากกระบวนการผลิต (ไมไช psi)
A b A b
งานเจียขึ้นรูป (Ground) 1.58 -0.085 1.34 -0.085
งานผลิตจากเครื่องจักรหรือ
การขึ้นรูปเย็น 4.51 -0.265 2.7 -0.265
(Machined or cold -rolled
การขึ้นรูปรอน (Hot rolled) 57.7 -0.718 14.4 -0.718
การตีขึ้นรูป (As forged) 272 -0.995 39.9 -0.995

4.) ปจจัยเนื่องจากอุณหภูมิของการใชงาน (Temperature factor) โดยปกติการทดสอบ


ความลาของวัสดุมักทดสอบที่อุณหภูมิหอง ความเหนียวในวัสดุจะลดลงที่อุณหภูมิต่ำ
ขณะที่จะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น (เกินกวา 350 ๐C) แตสำหรับวัสดุที่มี S-N ไดอะแกรม
7-18

แบบที่ 1 พบวา อุณหภูมิทำใหจำนวนรอบที่คาความแข็งแรงนั้นลดลง โดยวัสดุบางชนิด


อาจจะลดลงเกือบ 50% ทำใหตองพิจารณาผลของความคืบ (Creep effect) สมการการ
ประมาณค า ได เ สนอให ใชโ ดย Shigley และ Mitchell ได แนะนำการหาค า Ctemp ตาม
สมการที่ 7-18

for T ≤ 450 0 C : Ctemp =


1
for 450 0 C< T ≤ 550 0 C : Ctemp =1-0.0058 (T − 450 ) (7-18)
for 840 0 F< T ≤ 1020 0 F : Ctemp =1-0.0032 (T − 840 )

แตเกณฑตามสมการที่ 7-18 ใชไดเฉพาะเหล็กกลาเทานั้น ไมเหมาะสำหรับใชกับวัสดุ


ประเภทอื่น เชน อะลูมิเนียม แม็กนีเซียม และทองแดงผสม
5.) ปจจัยเนื่องจากความนาเชื่อถือ (Reliability factor) เปนปจจัยเกี่ยวเนื่องกับความ
นาเชื่อถือของผลการทดสอบ ภายใตการทดสอบเดียวกันเงื่อนไขเดียวกัน โดย Haugen
และ Wirsching ไดแนะนำคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของคาความแข็งแรงภายใตภาระกระทำ
แบบลาที่เกินกวา 8% ของคาเฉลี่ย โดยกำหนดคา Creliab ตามตารางที่ 7-5 จะเห็นวา ที่
50% ความเชื่อมั่น Creliab = 1 และมีคาลดลงเมื่อเลือกคาความเชื่อมั่นที่สูงขึ้น เชน ที่
99.99% ความเชื่อมั่น คา Creliab = 0.702 เปนตน

ตารางที่ 7-5 คา Creliab ที่คาความเชื่อมั่นของผลทดสอบตางๆ


% ของคาความเชื่อมั่น คา Creliab
50 1.000
90 0.897
99 0.814
99.9 0.753
99.99 0.702
99.999 0.659
7-19

ตัวอยาง 7-2 จงสราง S-N ไดอะแกรม สำหรับบารเหล็กกลา (Steel bar) สรางสมการในแตละชวง


รอบการทำงาน และหาจำนวนรอบเมื่อระดับความเคนมีคาเทากับ 100 MPa ในชวงของการออกแบบ
ที่สามารถระบุอายุการใชงานได
กำหนดให Sut = 600 MPa
บารหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัสกวาง 150 มิลลิเมตร
ขึ้นรูปดวยกรรมวิธีขึ้นรูปรอน
ใชงานที่อุณหภูมิสูงสุด 500 ๐C
ภาระกระทำเปนความเคนยอนกลับชนิดเต็มรูปแบบ
คาที่สมมุติ ออกแบบชิ้นงานชนิดจำกัดอายุใชงาน
ใชงานกระทั้งถึงขีดจำกัดความทนทานของวัสดุ
ใชผลทดสอบที่ 99.9% คาความเชื่อมั่น
วิธีทำ
1.) ประมาณคาความแข็งแรงเมื่อรับความลา เมื่อไมคิดผลปจจัยของการใชงาน ใชตามสมการที่
7-8 ที่เงื่อนไข Sut = 600 MPa<1200 MPa
Se′ ≅ 0.5Sut= 0.5 ( 600=
) 300 Mpa

2.) คา Cload พิจารณาจากสมการที่ 7-13


Bending : Cload = 1

3.) คา Csize เนื่องจากชิ้นงาน เปนชิ้นงานหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัส จำเปนตองใชสมการที่ 7-14 ตอง


เริ่มตนจาก หากคา A95 จากรูปที่ 7-12 (c) และหาคา dequiv จากสมการที่ 7-16

= =
A95 0.05 = 1125 mm 2
bh 0.05(150)(150)
1125
=
d equiv = 121.2 mm
0.0766
จากสมการที่ 7-14 เนื่องจาก 8 mm. < dequiv < 250 mm. ฉะนั้น
d −0.097 1.189 (121.2 )
−0.097
= =
C size 1.189 = 0.747
4.) คา Csurf หาคาไดตามสมการที่ 7-17 โดยชิ้นงานขึ้นรูปดวยการขึ้นรูปรอน (Hot Rolled) ใช
ขอมูลประกอบจากตารางที่ 7-4 ใชสำหรับคา Sut หนวย MPa นั่นคือ
Csurf ≅ ASut b =57.7 ( 600 )
−0.097
=0.584
5.) คา Ctemp หาคาตามสมการที่ 7-18 โดยโจทยใชงานที่อุณหภูมิสูงสุด 500 ๐C ซึ่งอุณหภูมิมีคา
อยูระหวาง 450 -550 ๐C จะไดวา
Ctemp =1-0.0058 (T − 450 ) = 1 − 0.0058(500 − 450) = 0.71
7-20

6.) คา Creliab โดยโจทยกำหนดใหใชผลการทดสอบที่คาความเชื่อมั่น 99.9% จากตารางที่ 7-5


จะไดวา Creliab = 0.753
7.) จากคาปจจัยทั้งหาที่กลาวมา สามารถหาคาความความแข็ งแรงเนื่ องจากความลา หรือ
ขีดจำกัดความทนทาน เมื่อคิดปจจัยการใชงาน ตามสมการที่ 7-12 ดังนี้
Se = Cload CsizeCsurf Ctemp Creliab Se′
= 1.0 ( 0.747 )( 0.584 )( 0.71)( 0.753)( 300 )
= 70 MPa
8.) ในการสราง S-N ไดอะแกรม สำหรับ S-N ไดอะแกรม แบบที่ 1 โดยโจทยกำหนดภาระ
กระทำเปนความเคนดัด ใชคา Sm ตามสมการที่ 7-5
= =
S m 0.9 Sut 0.9 (= 600 ) 450 MPa
9.) หาคาสมการตามสมการที่ 7-7 โดยมีขั้นตอนการหาตัวแปรตางๆ ดังตอไปนี้
S-N ไดอะแกรมแบบที่ 1 จะระบุ N1 = 103 รอบและ N 2 = 106 รอบจะไดวา
z = log( N1 ) − log( N 2 ) = log(103 ) − log(106 )
=3log(10) − 6 log(10) =3 − 6 =−3
1 S  1  450 
b= log  m  = log   = −0.295765
z  Se  −3  70 
log(a ) =log( S m ) − b log( N1 ) =l og( S m ) − 3b
= log(540) − 3(−0.295765)
= 3.619689
= =
a 10 3.619689
4165.707

ฉะนั้นสมการของ S-N ไดอะแกรม ชวง 103 ≤ N ≤ 106


S (= =
N ) aN b
4165.707 N −0.295765 Ans
และชวง N > 106 : S ( N=) S=e 70 MPa Ans
ซึ่งสามารถเขียน S-N ไดอะแกรมไดดังรูป
7-21

10.) หาจำนวนรอบของการรับภาระกระทำที่ระดับความเคน 100 MPa จากสมการของ S-N


ไดอะแกรมในชวงที่ 103 ≤ N ≤ 106 และคา S ( N ) = 100 MPa แลวแกสมการหาคา N
ไดดังนี้
S(N= ) 100= 4165.707 N −0.295765
100
=N −0.295765 = 0.024006
4165.707
ใสฟงกชัน log ทั้งสองดานของสมการจะไดวา
log ( N −0.295765 ) = log(0.024006) = −1.61968
−0.295765log( N ) =−1.61968
−1.61968
=
log( N ) = 5.47625
−0.295765
ยกกำลังดวย 10 ทั้งสองขางของสมการ
10log( N=
)
N= 105.47625= 299398.8 ≈ 3.0 E 5 รอบ Ans
ตัวอยาง 7-3 จงสราง S-N ไดอะแกรม สำหรับบารอลูมิเนียม (Aluminum bar) สรางสมการของ
S-N ไดอะแกรม และความแข็งแรงเมื่อวัสดุรับความลาที่ปรับคาปจจัยการใชงานแลวที่ 2 E 7 รอบ
กำหนดให วัสดุอะลูมิเนียม 6061-T6-aluminum มีคา Sut = 450000 psi
บารหนาตัดกลมตันเสนผานศูนยกลาง 1.5 นิ้ว
ขึ้นรูปดวยกรรมวิธีตีขึ้นรูป (Forged)
ใชงานที่อุณหภูมิสูงสุด 300 ๐F
ภาระกระทำเปนโมเมนตบิดแบบยอนกลับชนิดเต็มรูปแบบ
คาที่สมมุติ ออกแบบชิ้นงานชนิดจำกัดอายุใชงาน
วัสดุจำกัดความแข็งแรงเมื่อรับความลา (Fatigue strength) ถึง N 2 = 5E8 รอบ
ใชผลทดสอบที่ 99.0% คาความเชื่อมั่น
วิธีทำ
1.) ประมาณคาความแข็งแรงเมื่อรับความลา เมื่อไมคิดผลปจจัยของการใชงาน ใชตามสมการที่
7-10 ที่เงื่อนไข Sut = 45 kpsi <48 kpsi จะไดวา
S ′f 0.4
= = = 18.0 kpsi
Sut 0.4(45)

2.) คา Cload พิจารณาจากสมการที่ 7-13


Torsion : Cload = 1

3.) คา Csize เนื่องจากชิ้นงานเปนชิ้นงานหนาตัดกลมหมุน สามารถใชสมการที่ 7-16 ไดเลย โดย


ใชคาขนาดเสนผานศูนยกลาง d = 1.5 นิ้ว จะไดวา เนื่องจาก 0.3 in. < d < 10 in. ฉะนั้น
(1.5)
−0.097
= =
C size 0.869 d −0.097 0.869= 0.835
7-22

4.) คา Csurf หาคาไดตามสมการที่ 7-17 โดยชิ้นงานขึ้นรูปดวยการตีขึ้นรูป (Forged) ใชขอมูล


ประกอบจากตารางที่ 7-4 ใชสำหรับคา Sut หนวย kpsi นั่นคือ
Csurf ≅ ASut b =39.9 ( 45 )
−0.995
=
0.904
5.) คา Ctemp หาคาตามสมการที่ 7-18 ใชไดเฉพาะเหล็กกลา โดยโจทยกำหนดใหใชงานที่อุณภูมิ
สูงสุด 300 ๐F ซึ่งหากไมคิดผลของปจจัยดังกลาว จะไดวา
Ctemp =1
6.) คา Creliab โดยโจทยกำหนดใหใชผลการทดสอบที่คาความเชื่อมั่น 99.0% จากตารางที่ 7-5
จะไดวา Creliab = 0.814
7.) จากคาปจจัยทั้งหาที่กลาวมา สามารถหาคาความความแข็ งแรงเนื่ องจากความลา หรือ
ขีดจำกัดความทนทาน เมื่อคิดปจจัยการใชงาน ตามสมการที่ 7-12 ดังนี้
S f = Cload CsizeCsurf Ctemp Creliab S ′f
= 1.0 ( 0.835 )( 0.904 )(1.0 )( 0.814 )(18.0 )
= 11.063 kpsi
8.) ในการสราง S-N ไดอะแกรม สำหรับ S-N ไดอะแกรมแบบที่ 2 โจทยกำหนดภาระกระทำ
เปนโมเมนตบิด ซึ่งใชไดเชนเดียวกันกับโมเมนตดัดในการหาคา Sm ตามสมการที่ 7-5
= S m 0.9= Sut 0.9= ( 45) 40.5 kpsi
9.) หาคาสัมประสิทธิ์ของสมการที่ 7-7 โดยมีขั้นตอนการหาดังตอไปนี้
หาคา z จากตารางที่ 7-3 ที่ N 2 = 5 ×108 รอบ จะไดคา z = -5.699
1 S  1  40.5 
b= log  m  = log   = −0.0989
−5.699  Se  −5.699  11.063 
=
log(a ) l og( S m ) − 3b
= log(40.5) − 3(−0.0989)
= 1.904155
= =
a 101.904155
80.193

จะไดสมการของ S-N ไดอะแกรมแบบที่ 2 ที่จำนวนรอบ 103 ≤ N ≤ 106 คือ


S (= =
N ) aN b
80.193N −0.0989 Ans

ฉะนัน้ ที่ จำนวนรอบ N = 2 E 7 รอบ จะไดคาความแข็งแรงเมื่อรับภาระกระทำลาคือ


S (2 E 7) = 80.193 ( 2 ×107 )
−0.0989
= 15.209 kpsiAns
7.7 ความเคนหนาแนนกรณีภาระกระทำแบบลา (Fatigue stress concentration factor)
คำว า น อทช (Notch) ใช ส ำหรับ อธิบ ายชิ้น งานที่มีร ู (Hole) มี ร  อง (Groove) มีร ัศมีเหวา
(Fillet) และชิ้นงานที่มีการเปลี่ยนแปลงหนาตัดจากใหญไปเล็ก หรือจากขนาดเล็กไปเปนขนาดที่ใหญ
ขึ้น บริเวณที่กลาวมาจะเรียกวาสวนที่จะทำใหเกิดความเคนหนาแนนทั้งสิ้น โดยในบทที่ 4 ไดนำเสนอ
วิธีการหาคาปจจัยความเคนหนาแนนกรณีที่ภาระกระทำเปนแบบสถิต โดยสำหรับภาระกระทำแบบ
7-23

ลา วัสดุจะมีความไวตอผลของความเคนหนาแนนที่ตางกัน ซึ่งความไวตอความเคนหนาแนน ของ


ชิ้นงานบริเวณที่เรียกวานอทชนี้จะเรียกวา คาความไวของนอทช (Notch sensitivity, q) โดยวัสดุ
เหนียวจะมีคาความไวของนอทชตำ่ กวาในวัสดุเปราะ คาปจจัยความเคนหนาแนนจำเปนตองมีการ
ปรับเพิ่มเติม เรียกคาใหมนี้วา คาปจจัยของความเคนหนาแนนที่เกิดจากความเคนแบบลา (Fatigue
stress concentration factor) โดยพิจารณาเปนตัวคูณกับคาความเคนในแตละสวนประกอบของคา
ความเคนแบบลาดังนี้
สำหรับความเคนตั้งฉากสวนประกอบสลับ แทนดวย K f
สำหรับความเคนเฉือนสวนประกอบสลับ แทนดวย K fs
สำหรับความเคนตั้งฉากสวนประกอบเฉลี่ย แทนดวย K fm
สำหรับความเคนเฉือนสวนประกอบเฉลี่ย แทนดวย K fsm
โดยผูที่ศึกษาผลกระทบของ Notch เปนคนแรกคือ Neuber ในป ค.ศ. 1937 โดยนำเสนอในรูปของ
สมการ ปจจัยของความเคนหนาแนนแบบลา (Fatigue concentration factor) และมีการปรับปรุง
งานของ Neuber อี ก ครั ้ ง โดย Kuhn ซึ ่ ง พั ฒ นาในรู ป การณ ท ดลองและหาค า คงที ่ ข อง Neuber
(Neuber constant) โดยมีคาคุณสมบัติวัสดุอยูในสมการดวย จากนั้น Peterson นำเสนอตอในรูป
ของความไวของนอทช ,q ที่นิยามตามสมการที่ 7-19

K f −1
q= (7-19)
Kt − 1

เมื่อ q คือ คาความไวของนอทช มีคาระหวาง 0 ถึง 1


K t คือ คาปจจัยความเคนหนาแนนที่พิจารณาจากภาระกระทำสถิต
จากสมการที่ 7-19 หากยายขางเพื่อหาความสัมพันธของปจจัยความเคนหนาแนนสำหรับภาระกระทำ
แบบลากับปจจัยความเคนหนาแนนสำหรับภาระกระทำแบบสถิต จะไดดังสมการที่ 7-20

Kf =
1 + q ( K t − 1) (7-20)

ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนตามสวนประกอบของความเคนแบบตางๆ เชน
สำหรับความเคนตั้งฉากสวนประกอบสลับ : σ a ,max = K f σ a ,nom
สำหรับความเคนเฉือนสวนประกอบสลับ : τ a ,max = K fsτ a ,nom
สำหรับความเคนตั้งฉากสวนประกอบเฉลี่ย : σ m,max = K fmσ m,nom
สำหรับความเคนเฉือนสวนประกอบเฉลี่ย : τ m,max = K fmsτ m,nom
สมการที่ 7-20 ใชไดทั้งคาความเคนหนาแนนสำหรับความเคนสวนประกอบสลับ (ความเคนตั้งฉาก
สลับและความเคนเฉือนสลับ) สวนกรณีความเคนหนาแนนสวนประกอบเฉลี่ยสามารถหาคาไดภายใต
เงื่อนไขตามสมการที่ 7-21 ถึง 7-23
7-24

เงื่อนไขที่ 1 ถา K f σ max nom < S y ใหใช K fm = K f (7-21)


S y − K f σ a ,nom
เงื่อนไขที่ 2 ถา K f σ max nom > S y ใหใช K fm = (7-22)
σ m,nom
เงื่อนไขที่ 3 ถา K f σ max nom − σ min nom > 2 S y ใหใช K fm = 0 (7-23)
นอกจากนี ้ ค า ความไวของน อ ทช , q ยั งถูก นิย ามโดยสมการ Kuhn Hardrath formula ที่เป น
ฟงกชันของคาคงที่ของ Neuber และรัศมีสวนที่เปนบริเวณ Notch ดังสมการที่ 7-24
1
q= (7-24)
a
1+
r

เมื่อ คือ คาคงที่ของ Neuber


a
r คือ คารัศมีของสวนบริเวณ Notch
ค าคงที ่ ของ Neuber สำหรั บ เหล็กกลา หาไดจ ากตารางที่ 7-6 สำหรับ อลูมิเนีย มชนิดอบออน
(Anealed aluminum) หาไดจากตารางที่ 7-7 และ สำหรับอลูมิเนียมชนิดเพิ่มความแข็ง (Hardened
aluminum) หาไดจากตารางที่ 7-8
ตารางที่ 7-6 คาคงที่ของ Neuber สำหรับเหล็กกลาที่คา Sut ตางๆ
คา Sut (ksi) a ( in −0.5 )
50 0.130
55 0.118
60 0.108
70 0.093
80 0.080
90 0.070
100 0.062
110 0.055
120 0.049
130 0.044
140 0.039
160 0.031
180 0.024
200 0.018
220 0.013
240 0.009
7-25

ตารางที่ 7-7 คาคงที่ของ Neuber สำหรับอะลูมิเนียมชนิดอบออนที่คา Sut ตางๆ


คา Sut (kpsi) a ( in −0.5 )
10 0.500
15 0.341
20 0.264
25 0.217
30 0.180
35 0.152
40 0.126
45 0.111

ตารางที่ 7-8 คาคงที่ของ Neuber สำหรับอะลูมิเนียมชนิดเพิ่มความแข็งที่คา Sut ตางๆ (ตอ)


คา Sut (kpsi) a ( in −0.5 )
15 0.475
20 0.380
30 0.278
40 0.219
50 0.186
60 0.162
70 0.144
80 0.131
90 0.122

นอกจากนี้คาคงที่ของ Neuber ยังสามารถหาคาไดจากรูปที่ 7-13

รูปที่ 7-13 คาคงที่ของ Neuber ของเหล็กหลาและอะลูมิเนียม ที่คา Sut ตางๆ


7-26

นอกจากนี้ คาความไวของนอทช, q ยังสามารถหาไดจากรูปที่ 7-14 สำหรับเหล็กกลา โดยในกรณี


ภาระกระทำเปนโมเมนตบิด ใหบวกคา Sut อีก 20 kpsi สวนรูปที่ 7-15 สำหรับอะลูมิเนียมที่ทำการ
อบชุบดวยความรอน และรูปที่ 7-16 สำหรับอลูมิเนียมที่อบออนและชนิดเพิ่มความแข็ง

รูปที่ 7-14 คาความไวของนอทช สำหรับเหล็กกลา

รูปที่ 7-15 คาความไวของนอทช สำหรับอะลูมิเนียมที่ทำการอบชุบดวยความรอน


7-27

รูปที่ 7-16 คาความไวของนอทช สำหรับอะลูมิเนียมที่ทำอบออนและชนิดเพิ่มความแข็ง


------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตัวอยาง 7-4 จงหา Fatigue stress concentration factor, K f ของชิ้นงานที่ทำจากเหล็กกลา โดย
มีขนาดตามที่กำหนดให

กำหนดให : D = 2 in. , d = 1.8 in. , r = 0.25 in. , Sut = 100 kpsi


วิธีทำ
1. หาคา Kt ที่ = D d 2= =
/1.8 1.111 , r d 0.25
= /1.8 0.138889
ใชวิธีหาคา Kt ดวยวิธีสมการ โดยคา A = 1.0147 และ b = −0.2179 ตามตาราง จะไดวา
( r d ) 1.0147 ( 0.138889 )
−0.2179
วิธีสมการ= คือ Kt A= b
= 1.56
2. หาคาความไวของนอทช โดยใชวิธีแทนคาตามสมการที่ 7-24 โดยคาคงที่ของ Neuber หาได
จากตารางที่ 7-6 ที่ Sut = 100 kpsi ไดคา a = 0.062 จะไดวา
1 1
=q = = 0.89
a 1+ 0.062
1+
r 0.25
7-28

3. หาคา Kf จากสมการที่ 7-20 จะไดวา

K f =1 + q ( K t − 1) =1 + 0.89 (1.56 − 1) =1.50

นอกจากนี้ คาความไวของนอทช ยังสามารถใชวิธีการเปดจากกราฟ จากรูปที่ 7-14 โดยใชที่


รัศมีของน อทช เทากั บ r = 0.2 in. และคา Sut = 100 kpsi ได คา q = 0.89 และเมื่อแทนค า ใน
สมการที่ 7-20 ก็จะไดคา K f เทากัน คือ K f = 1.50 Ans
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
7.8 การออกแบบสำหรับภาระกระทำแบบความลา (Design for fatigue loading)
จากหั ว ข อ 7.4 นั กศึ กษาได ร ู จ ั ก ประเภทของภาระกระทำแบบล า อั น ประกอบดว ยสอง
สวนประกอบของภาระกระทำ คือ สวนประกอบสลับ และสวนประกอบเฉลี่ยของภาระกระทำ ซึ่งยัง
สามารถเขียนสว นประกอบทั ้งสองในรู ป ของผลที ่เ กิ ดจากภาระกระทำได เชน ความเคนตั้ง ฉาก
สวนประกอบสลับ, σ a ความเคนตั้งฉากสวนประกอบเฉลี่ย, σ m ความเคนเฉือนสวนประกอบสลับ, τ a
ความเคนเฉือนสวนประกอบเฉลี่ย, τ m เปนตน ซึ่งในการออกแบบนั้นโดยกำหนดตามทฤษฎีความ
เสียหายสำหรับกรณีภาระกระทำแบบลานั้น จำเปนตองใชสวนประกอบทั้งสองของความเคน รวมกับ
ความแข็งแรงวัสดุเมื่อรับภาระกระทำแบบลา ทั้งขีดจำกัดความทนทาน, Se หรือ ความแข็งแรงวัสดุ
เมื่อรับความลา, S f โดยจะพิจารณาจำนวนรอบของความเคนในยานรอบความลาสูง (High cycle
fatigue, HCF) ซึ่งในเอกสารใชจำนวนรอบตั้งแต 1000 รอบเปนตนไป เพื่อใชในการออกแบบ เพื่อให
งายในการเขาใจการออกแบบภายใตภาระกระทำแบบลา จะแบงการออกแบบภายใตรูปแบบภาระ
แบบล า ชนิ ด ไปกลั บ แบบเต็ ม รู ป แบบ (Fully reverse loading) และภาระแบบล า ชนิ ด แกว งค า
(Fluctuating loading)
7.8.1 การออกแบบสำหรับความลาชนิดไปกลับแบบเต็มรูปแบบ
สำหรับหัวขอนี้ จะเปนภาระกระทำแบบลาชนิดที่งายที่สุดคือ เปนความเคนในแนวแกนเดียว
แบบลา โดยงานที่ประยุกตใชงานคือชิ้นงานเพลาที่รับภาระแบบโมเมนตดัดชนิดหมุน (Rotating
bending) รับภาระกระทำคงที่ หรือเพลาที ่ร ับภาระกระทำเป นโมเมนตบิดชนิดไปกลับแบบเต็ม
รูปแบบซึ่งมีคาเฉลี่ยของภาระกระทำมีคาเปนศูนย ดังรูปที่ 7-5 (a) ซึ่งจะอธิบายขั้นตอนการออกแบบ
เปนลำดับดังนี้
1.) หาจำนวนรอบของภาระกระทำ, N ที่ตองการทำในชวงอายุการใชงาน
2.) หาความเคนสวนประกอบสลับ, σ a ตามสมการที่ 7-1
3.) หาคาปจจัยของความเคนหนาแนน, Kt กรณีความเคนตั้งฉาก และ, K s กรณีความเคนเฉือน
4.) หาคาขีดจำกัดความทนทาน, Se (คาความแข็งแรงเมื่อรับภาระแบบลา, S f ) โดยพิจารณา
ปจจัยหรือผลกระทบการใชงาน
5.) หาคาความไวของนอทช, q ตามสมการที่ 7-19 หรือสมการที่ 7-21
7-29

6.) หาความเคนหนาแนนสำหรับรับภาระกระทำแบบลาของแตละสวนประกอบของความเคน,
K f สำหรับความเคนตั้งฉากสลับ, K fm สำหรับความเคนตั้งฉากเฉลี่ย, K fs สำหรับความเคนเฉือนสลับ
และ K fsm สำหรับความเคนตั้งฉากเฉลี่ย
7.) หาคาความเคน จากภาระกระทำทั้งความเคนตั้งฉากสลับ และความเคนเฉือนสลับ(ถามี)
โดยหากมีความเคนทั้งสองแบบ ใหใชความเคนสลับในรูปความเคนสลับของ Von Mises ตามสมการ
ที่ 7-25 สำหรับสวนประกอบสลับ และสมการที่ 7-26 สำหรับสวนประกอบเฉลี่ย
สำหรับสวนประกอบสลับ : σ a′
= σ a2 + 3τ a2 (7-25)
สำหรับสวนประกอบเฉลี่ย : σ m′
= σ m2 + 3τ m2 (7-26)
8.) หาคาความปลอดภัย โดยพิจารณา 2 กรณี
8.1) กรณีจำนวนรอบความเคนนอยกวา 100000 รอบ สำหรับวัสดุที่มี S-N ไดอะแกรม
แบบที่ 1 ความแข็งแรงเมื่อรับความลาหาไดจากสมการที่ 7-7 และระบุความแข็งแรงดวย Sn จะไดคา
ความปลอดภัยตามสมการที่ 7-27 ซึ่งถือเปนการออกแบบงานที่ระบุอายุการใชงานจำกัด (Finite Life
Design, FLD)
Sn
N= (7-27)
σ a′
8.2) สวนกรณีที่จำนวนรอบเกิน 106 รอบ รอบ สำหรับวัสดุที่มี S-N ไดอะแกรมแบบที่ 1
ความแข็งแรงเมื่อรับความลาหาไดจากสมการที่ 7-7 และระบุความแข็งแรงดวย Se คาความปลอดภัย
หาไดตามสมการที่ 7-28 จะเปนการออกแบบที่ไมจำกัดอายุการใชงาน (Infinite Life Design, ILD)
Se
N= (7-28)
σ a′
8.3) กรณีวัสดุมี S-N ไดอะแกรมแบบที่ 2 ความแข็งแรงเมื่อรับความลาหาไดจากสมการที่
7-7 และระบุความแข็งแรงดวย Sn เชนเดียวกับหัวขอ 8.1 ซึ่งมีความตางในการสรางสมการที่ 7-7 โดย
ชวงของจำนวนรอบความเคนออกแบบตั้งแต 1000 รอบถึง คา N 2
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตัวอยาง 7-5 วิธีจำลองการออกแบบ Bracket ชนิดคานยื่นสำหรับรับภาระดัดชนิดไปกลับเต็มรูปแบบ
กำหนดให ชุดประกอบปอนวัสดุแบบหมุน ติดตั้งสวนปลายดวย Support แบบคานยื่น ดังรูป
7-30

โดยระบบปอนรับภาระกระทำแบบไปกลับชนิดเต็มรูปแบบดวยขนาดแอมฟลิจูด 1000 lb โดยรองรับ


ดวย Bracket สองฝงดวยภาระกระทำแบงออกเทาๆ กัน
จงประเมิ น คาความปลอดภัย ของ Bracket ชนิดคานยื่น ที่ร องรับ ภาระกระทำโมเมนตดัด แบบ
ยอนกลับชนิดเต็ม ดวยขนาดแรงกระทำ 500 lb แอมฟลิจูด กระทั่งจำนวนรอบ 109 รอบ โดยกำหนด
มิติตามรูปดังนี้
1) b = 1 in. , d = 0.75 in. , D = 0.94 in. , r = 0.25 in. , a = 5 in. , l = 6 in.
2) b = 2 in. , d = 1 in. , D = 1.25 in. , r = 0.5 in. , a = 5 in. , l = 6 in.
มีเงื่อนไขคือ ชิ้นงานไมเกิดความเสียหาย และการเสียรูปไมเกิน 0.01 นิ้ว
กำหนดให
ภาระกระทำแบบเปนแบบไปกลับชนิดเต็มรูปแบบ ใชงานที่อุณหภูมิหองสูงสุด 120 ๐F พื้นที่
ยอมใหสามารถใสคานยื่นไดยาว 6 นิ้ว มีชิ้นสวนทั้งสิ้น 10 ชิ้น วัสดุทำจากเหล็กกลาคารบอน AISI
1035 CR
วิธีทำ
ขอยอยที่ 1 : b = 1 in. , d = 0.75 in. , D = 0.94 in. , r = 0.25 in. , a = 5 in. , l = 6 in.
1.) หาภาระกระทำ คือแรงกระทำที่ปลายคานยื่ น ขนาด F = 500 lb ระบุอายุการใช งาน
กระทั่งจำนวนรอบที่รับความเคนดัด คือ N = 109 รอบ

2.) หาความเคนสวนประกอบสลับ, σ a ตามสมการที่ 7-1 โดยความเคนสลับเกิดจากแรงที่


กระทำที่ปลายแบบสลับ คือ Fa = 500 lb โดยแรงที่จุดยึด พิจารณาจากผลรวมของแรงในแนวแกน
ขวาง จะได R= F= 500 lb ซึ่งจากรูป หากไมระบุตำแหนงการจับยึด จะพิจารณาหาโมเมนตดัดที่
กระทำที่จุด B ดวยการหาผลรวมของโมเมนตรอบจุดปลายของคานยื่น ตามสมการ
M a= R(l ) − Fa (l − a)= 500(6) − 500(6 − 5)= 2500 lb − in.

จะได โมเมนตที่กระทำเทากับ 2500 lb-in


M ac
σ a ,nom =
I
d 0.75
c= = = 0.375 in.
2 2
bd 3 1( 0.75 )
3

=I = = 0.0352 in 4
12 12
7-31

M a c 2500 ( 0.375 )
σ a=
, nom= = 26667 psi
I 0.0352
3.)หาคาปจจัยของความเคนหนาแนน, Kt กรณีความเคนตั้งฉาก และ, K s กรณีความเคนเฉือน
กรณีนี้ตัดผลของความเคนเฉือนเนื่องจากมีคานอย จึงคิดเฉพาะปจจัยจากความเคนในแนวตั้งฉาก
เนื่องจากโมเมนตดัด โดยใชขอมูลประกอบรูปที่ จ-10 ภายใตเงื่อนไขขอมูล
D 0.94
, r 0.25
= = 1.25= = 0.333
d 0.75 d 0.75

ทำการคำนวณคาระหวางชวง (Interpolation) จะได A = 0.9658 และ b = −0.266


จะไดคา
b
r
  0.9658 ( 0.333 )
−0.266
=K t A= = 1.29
d 
4.) หาคาขีดจำกัดความทนทาน, Se (คาความแข็งแรงเมื่อรับภาระแบบลา, S f ) โดยพิจารณา
ปจจัยหรือผลกระทบการใชงาน จากภาคผนวก ค-9 วัสดุคือเหล็กกลาคารบอน AISI 1035 CR มีคา
Sut = 80 kpsi จะไดวา การประมาณคาความแข็งแรงเมื่อรับความลา เมื่อไมคิดผลปจจัยของการใช
งาน ใชตามสมการที่ 7-8 ที่เงื่อนไข Sut = 80 kpsi<200 kpsi
Se′ ≅ 0.5Sut = 0.5 ( 80 ) = 40 kpsi

พิจารณาปจจัยตางๆ ตามที่โจทยกำหนดใหดังนี้
Cload = 1 เนื่องภาระกระทำเปนโมเมนตดัด
Csize พิจารณาหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผา
= A95 0.05 = db 0.05 ( 0.75= )(1) 0.04 in 2
A95 0.04
=
d equiv = = 0.700 in.
0.0766 0.0766
( dequiv )
−0.097
( 0.700 )
−0.097
จะไดวา Csize 0.869
= = =
0.869 0.900

Csurf พิ จ ารณาที ่ ค  า Sut = 80 kpsi จากตารางที่ 7-4 พิ จ ารณาการขึ ้ น รู ป ผิ ว ด ว ย


เครื่องจักร (Machined) จะไดวา
( Sut ) 2.7 (80 )
−0.265
=
Csurf A= =
b
0.845

Ctemp พิจารณาการทำงานที่อุณหภูมิหอง จะไดวา Ctemp = 1


Creliab พิจารณา % คาความเชื่อมั่นของผลทดสอบที่ 99.9% จากตารางที่ 7-5 จะไดวา

Creliab = 0.753

จากขอมูลทั้งหมดจะได ขีดจำกัดความทนทานตามสมการที่ 7-12 คือ


7-32

Se = Cload CsizeCsurf Ctemp Creliab Se′


= ( 0.900 )( 0.845)(1)( 0.753) 40000 22907 psi
Se 1=

5.) หาคาความไวของนอทช, q ตามวิธีการในหัวขอ 7.7 สมการที่ 7-19 หรือสมการที่ 7-24 ใน


ที่นี่ใชตามสมการที่ 7-24 โดยพิจารณาคาคงที่ของ Neuber ที่ Sut = 80 kpsi จากตารางที่ 7-6 ได
คา a = 0.08 จะไดวา
1 1
=q = = 0.862
a 1+ 0.08
1+
r 0.25

6.) หาความเคนหนาแนนสำหรับรับภาระกระทำแบบลา โดยพิจารณาเฉพาะสวนประกอบ


ความเคนสลับเทานั้น โดยใชสมการที่ 7-20 โดยที่ q = 0.862 และ Kt = 1.29 จะไดวา
K f =1 + q ( K t − 1) =1 + 0.862 (1.29 − 1) =1.25

7.) หาคาความเคนสลับสูงสุด ในรูปของความเคนของ Von Mises จะไดวา


= σ a ,max K= f σ a , nom 1.25 (=
26667 ) 33343 psi


σ= σ a2,max + 3τ= 333432 + 3 ( 0 )= 33343
2 2
a a

8.) หาคาความปลอดภัย และการเสียรูป โดยพิจารณากรณีที่ชิ้นงานรับความเคนเกิน 106 รอบ


จะไดวา
Se 22907
=
N = = 0.69 Ans
σ a′ 33343
สวนการเสียรูป พิจารณาไดตามสมการ
F  3
= x − 3ax 2 − x − a 
3
y
6 EI  
500 ( 6 )3 − 3 ( 5 )( 6 )2 − ( 6 − 5 )3  =
y@ x =l = −0.026 in.
6 ( 3e7 )( 0.0352 )  

จากค า ความปลอดภั ยที ่ ไ ด พบว า ชิ้น งานเกิด ความเสียหาย คื อ ความความปลอดภั ย


เทากับ 0.69 อีกทั้งการเสียรูปเกินกวาที่กำหนดคือ 0.026 นิ้วซึ่งเกินกวาที่กำหนดคือ 0.01 นิ้ว จึง
ตองออกแบบขนาดชิ้นงานใหม
ขอยอยที่ 2 b = 2 in. , d = 1 in. , D = 1.25 in. , r = 0.5 in. , a = 5 in. , l = 6 in.
1.) หาภาระกระทำและอายุการใชงาน คาเทากันกับขอยอยที่ 1
2.) หาความเคนสวนประกอบสลับ, σ a เนื่องจาก a = 5 in. , l = 6 in. ซึ่งคาเทากันกับขอ
ยอยที่ 1 ทำให ภาระกระทำจากโมเมนตดัดมีคาเทากันกับขอยอยที่1 คือ M a = −2500 lb − in. แต
คาความเคนตั้งฉากจะมีคาตางกันเนื่องจากมีคา b = 2 in. , d = 1 in. , D = 1.25 in. , r = 0.5 in.
แตกตางจากเดิม จะไดวา
7-33

M ac
σ a ,nom =
I
d 1
c= = = 0.50 in.
2 2
bd 3 2 (1)
3

=I = = 0.1667 in 4
12 12
M a c 2500 ( 0.50 )
σ a=
, nom = = 7498.5 psi
I 0.1667

3.) หาคาปจจัยของความเคนหนาแนน, Kt กรณีความเคนตั้งฉาก และ, K s กรณีความเคนเฉือน


กรณีนี้ไมคิดผล เนื่องจากคาความเคนเฉือนมีคานอย จึงคิดเฉพาะปจจัยจากความเคนในแนวตั้งฉาก
เนื่องจากโมเมนตดัด โดยใชขอมูลประกอบ รูปที่ จ-10 ภายใตเงื่อนไขขอมูล
D 1.125 r 0.5
= = 1.125 , = = 0.50
d 1 d 1

ทำการคำนวณคาระหวางชวง (Interpolation) จะได A = 1.0112 และ b = −0.2212


จะไดคา
b
r
  1.0112 ( 0.50=
)
−0.2212
=K t A= 1.18
d 

4.) หาคาขีดจำกัดความทนทาน, Se′ ยังคงเดิม Se′ ≅ 0.5Sut = 0.5 ( 80 ) = 40 kpsi


พิจารณาปจจัยตางๆ ตามที่โจทยกำหนดใหดังนี้
Cload = 1 เทาเดิม
Csize พิจารณาหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผา
= =
A95 0.05 db 0.05 (= 1)( 2 ) 0.10 in 2
A95 0.10
=
d equiv = = 1.14 in.
0.0766 0.0766
( dequiv )
−0.097
(1.14 )
−0.097
จะไดวา Csize 0.869
= = =
0.869 0.86
Csurf พิ จ ารณาที ่ ค  า Sut = 80 kpsi จากตารางที่ 7-4 พิ จ ารณาการขึ ้ น รู ป ผิ ว ด ว ย
เครื่องจักร (Machined) จะไดวา
( Sut ) 2.7 (80 )
−0.265
= Csurf A= =
b
0.845
Ctemp พิจารณาคาเดิม
Creliab พิจารณาคาเดิม
จากขอมูลทั้งหมดจะได ขีดจำกัดความทนทานตามสมการที่ 7-12 คือ
Se = Cload CsizeCsurf Ctemp Creliab Se′
= ( 0.86 )( 0.845)(1)( 0.753) 40000 21888 psi
Se 1=
5.) หาคาความไวของนอทช, q พิจารณาคาเดิม
7-34

6.) หาความเคนหนาแนนสำหรับรับภาระกระทำแบบลา โดยพิจารณาเฉพาะสวนความเคน


สลับเทานั้น โดยใชสมการที่ 7-20 โดยที่ q = 0.862 และ Kt = 1.18 จะไดวา
K f =1 + q ( K t − 1) =1 + 0.862 (1.18 − 1) =1.16

7.) หาคาความเคนสลับสูงสุด ในรูปของความเคนของ Von Mises จะไดวา


= σ a ,max K= f σ a , nom 1.16 ( =
7498.5 ) 8698.3 psi


σ= σ a2,max + 3τ= 8698.32 + 3 ( 0 )= 8698.3
2 2
a a

8.) หาคาความปลอดภัย โดยพิจารณากรณีที่ชิ้นงานรับความเคนเกิน 106 รอบ จะไดวา


Se 22888
=
N = = 2.63 Ans
σ a′ 8698.3

สวนการเสียรูป พิจารณาไดตามสมการ
F  3
= x − 3ax 2 − x − a 
3
y
6 EI  
500 ( 6 )3 − 3 ( 5 )( 6 )2 − ( 6 − 5 )3  =
y@ x =l = −0.005 in.
6 ( 3e7 )( 0.1667 )  

จากคาความปลอดภัยที่ได พบวาไมเกิดความเสียหาย คือคาความปลอดภัยเทากับ 2.63 อีกทั้ง


การเสียรูปไมเกินที่กำหนด โดยเสียรูปเทากับ 0.005 นิ้ว จึงเปนคาที่สามารถใชงานไดตามเงื่อนไข
ที่กำหนด Ans
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
7.8.2 ขั้นตอนการออกแบบสำหรับความลาชนิดแกวงคา
กอนอธิบายขั้นตอนการออกแบบกรณีภาระกระทำแบบลาชนิดแกวงคา นักศึกษาตองเขาใจ
กอนวา ความเคนชนิดซ้ำคา (Repeating) และความเคนชนิดแกวงคา (Fluctuating) ซึ่งสองเปนชนิด
ที่ความเคนสวนประกอบเฉลี่ยมีคาไมเปนศูนย ซึ่งจำเปนตองนำมารวมพิจารณาในการประเมินคา
ความปลอดภัย โดยจากรูปที่ 7-17 แสดงใหเห็นถึงผลของความเคนสวนคาเฉลี่ยและความเคนสลับ
เมื่อชิ้นงานรับภาระกระทำเปนแรงดึงแบบลา ของเหล็กกลาที่รับภาระกระทำตั้งแต 107 ถึง 108 รอบ
และอลูมิเนียมผสมรับภาระกระทำ 5x08 รอบ โดยทำการทดลองแปรคาความเคนทั้งสองสวนไปหลาย
ระดับรวมกัน โดยเขียนความสัมพันธแกน y เปนสัดสวนความเคนสลับตอความแข็งแรงวัสดุเมื่อ
รับภาระกระทำแบบลา σ a S f และแกน x เปนสัดสวนของความเคนเฉลี่ยต อความแข็งแรงเมื่ อ
รับภาระกระทำแรงดึง σ m Sut
7-35

(a) วัสดุเหล็กกลา (b) อลูมิเนียมผสม


รูปที่ 7-17 ผลของความเคนเฉลี่ยและความเคนสลับ ตอความแรงแรงวัสดุเมื่อรับภาระกระทำแบบลา
จากรูปเมื่อพิจารณาภายใตกรอบแนวเสนตรง และกรอบแนวเสนโคง โดยกรอบแนวเสนตรง เรียกวา
เสนของกูดแมน (Goodman line) และกรอบเสนโคง เรียกวา เสนของเกอเบอร (Gerber line)
ซึ่งสวนประกอบของความเคนทั้งสองถือเปนสวนหลักที่เกิดในเครื่องจักร จากรูปที่ 7-18 แสดงเสน
กรอบของความเคนทั้งสองสวน เทียบกับเสนของกูดแมนปรับคา (Modified Goodman line)
เสนของเกอเบอรแบบพาลาโบลา (Gerber parabola line) และยังมีเพิ่มเติมเมื่อใชกรอบความ
แข็งแรงวัสดุ ณ จุดคราก กับความแข็งแรงวัสดุเมื่อรับภาระลา คือ เสนของโซเดอเบิรก (Soderberg
line) และเสนคราก (Yield line) คือ เสนที่ลากจากคาความแข็งแรง ณ จุดครากของทั้งสองแกน
ความเคน

รูปที่ 7-18 เสนกรอบความเสียหายวัสดุเมื่อรับภาระแบบลาแบบแกวงคา

โดยเมื่อพิจารณาความเคนทั้งสวนประกอบสลับเปนแกน y และสวนประกอบเฉลี่ยเปนแกน x โดย


พิจารณาเปนเสนภาระกระทำ คือเสนที่ลากจากจุดกำเนิดไปยังคูลำดับของความเคนทางสองและตอ
ลากยาวออกไป หาจุดคูลำดับอยูภายในกรอบของแตละเสนตามทฤษฎี ถือวาชิ้นงานนั้นปลอดภัยตาม
กรอบความเสียหายนั้ นๆ โดยที่คาความปลอดภั ยเทากับ 1 แตละทฤษฎี มีสมการความสัม พั น ธ
ระหวางความเคนทั้งสองตามสมการที่ 7-29 ถึง 7-32 ตามลำดับ
7-36

กรอบความเสียหายภายใต เสนเกอเบอรพาราโบลา (Gerber parabola line)


 σ m2 
σ a Se 1 − 2 
= (7-29)
 Sut 
กรอบความเสียหายภายใต เสนปรับปรุงของกูดแมน (Modified Goodman line)
 σ 
σ a Se 1 − m 
= (7-30)
 Sut 

กรอบความเสียหายภายใต เสนโซเดอเบิรก (Soderberg line)


 σ 
σ a Se 1 − m 
=

(7-31)
 S y 

กรอบความเสียหายภายใต เสนคราก (Yield line)


 σ 
σ a S y 1 − m 
=
 S 
(7-32)
 y 

โดยจากรูปที่ 7-17 นั้นจะเห็นไดวาขอมูลผลการทดลอง ใหผลใกลเคียงกับเสนเกอเบอรพาราโบลา


มากที่สุด โดยเสนปรับปรุงของกูดแมน ไดมีการใชเสนครากเปนกรอบเพิ่มเติม กรณีประเมินความ
เสียหายในรอบความเคนแรกของชิ้นงาน เพื่อยืนยังวาไมเกิดความเสียหายภายใตภาระกระทำแบบลา
แตทั้งนี้ยังทีเสนโซเดอเบิรก ที่ใชกรอบความเสียหายระหวางขีดจำกัดความทนทานหรือความแข็งแรง
วัสดุเมื่อรับภาระกระทำแบบลาและคาความเคน ณ จุดคราก ซึ่งถือเปนเกณฑความเสียหายแบบ
อนุรักษนิยม โดยไมตองใชเสนครากประเมินในรอบความเคนแรก เพื่อความเขาใจในการนำไปใช ใน
เอกสารจะนำเสนอเฉพาะการใชกรอบความเสียหายภายใตเสนปรับปรุงของกูดแมน โดยกำหนดกรอบ
ภาระกระทำทั้งดานความเคนแรงดึงและความเคนแรงกดตามรูปที่ 7-19 โดยกรณีที่เปนความเคน
ดานกด จะใชเสนครากเปนกรอบความเสียหาย

รูปที่ 7-19 เสนกรอบความเสียหายภายใตเสนปรับปรุงของกูดแมน


7-37

สวนความเคนดานแรงดึง มีขั้นตอนการประเมินคาความปลอดภัยเชนเดียวกับหัวขอ 7.8.1 โดยมี


ความต า งคื อเพิ ่ มสว นของความเคนและคาปจจัย ของความเคน หนาแนน สวนประกอบเฉลี่ย ซึ่ง
พิจารณาตามลำดับแตละกรณีศึกษาดังนี้
กรณีศึกษา 1. ความเคนสวนประกอบสลับคงที่ ความเคนสวนประกอบเฉลี่ยปรับเปลี่ยนคา

รูปที่ 7-20 เสนกรอบความเสียหายภายใตเสนปรับปรุงของกูดแมน กรณีศึกษาที่ 1


จากรูปที่ 7-20 ความเสียหาจะเกิดขึ้นที่จุด Q คาความปลอดภัยประเมินไดจากอัตราสวนของเสน YQ
ตอ YZ ซึ่งคาความเคนสวนประกอบเฉลี่ยหาไดจากสมการที่ 7-33
 σ′ 
σ m @ Q= 1 − a  S y
 S 
(7-33)
 y 

และสมการคาความปลอดภัยจากสมการ (7-34)
σ m @ Q S y  σ a′ 
=
Nf = 1 −  (7-34)
σ m @ Z σ m′  S y 

โดยหากคาความเคนสวนประกอบสลับ σ a′ มี ค  า สู ง กว า ความเค น ส ว นประกอบเฉลี ่ ย σ m′ มากๆ


จะตองใชการหาคาความเคนสวนประกอบเฉลี่ยตามสมการ 7-35 แทนนั่นคือ
 σ′ 
σ m @ Q= 1 − a  Sut (7-35)
 Se 
และสมการคาความปลอดภัยใหมตามสมการที่ 7-36
σ m @ Q Sut  σ a′ 
=
Nf = 1 −  (7-36)
σ m @ Z σ m′  Se 
กรณีศึกษา 2. ความเคนสวนประกอบสลับปรับเปลี่ยนคา ความเคนสวนประกอบเฉลี่ยคงที่

รูปที่ 7-21 เสนกรอบความเสียหายภายใตเสนปรับปรุงของกูดแมน กรณีศึกษาที่ 2


7-38

จากรูปที่ 7-21 ความเสียหายจะเกิดขึ้นที่จุด P คาความปลอดภัยประเมินไดจากอัตราสวนของเสน


XP ตอ XZ ซึ่งคาความเคนสวนประกอบเฉลี่ยหาไดจากสมการที่ 7-37
 σ m′ 
σ a @ P= 1 −  Se (7-37)
 Sut 

และสมการคาความปลอดภัยจากสมการ (7-38)
σ a @ P Se  σ m′ 
=
Nf = 1 −  (7-38)
σ a @ Z σ a′  Sut 

โดยหากคาความเคนสวนประกอบเฉลี่ย σ m′ มีคาสูงกวาความเคนสวนประกอบสลับ σ a′ มากๆ จะตอง


ใชการหาคาความเคนสวนประกอบเฉลี่ยตามสมการที่ 7-32 แทน นั่นคือ
 σ′ 
σ a @ P= 1 − m  S y
 S 
(7-39)
 y 

และสมการคาความปลอดภัยใหมตามสมการที่ 7-40
σ a @ P S y  σ m′ 
=
Nf = 1 −  (7-40)
σ a @ Z σ a′  S y 

กรณีศึกษา 3. ความเคนสวนประกอบสลับและความเคนสวนประกอบเฉลี่ยปรับเปลี่ยนคา

รูปที่ 7-22 เสนกรอบความเสียหายภายใตเสนปรับปรุงของกูดแมน กรณีศึกษาที่ 3


จากรูปที่ 7-22 ความเสียหายจะเกิดขึ้นที่จุด R คาความปลอดภัยประเมินไดจากอัตราสวนของเสน
XR ตอ XZ โดยใชความสัมพันธตามหลักการของสามเหลี่ยมคลาย ในรูปของ σ m @ R σ m @ Z หรือ
σ a @ R σ a @ Z ซึ่งคาความเคนสวนประกอบเฉลี่ยหาไดจากสมการที่ 7-41

 σ m′ @ R 
σ a @ R= 1 −  Se (7-41)
 Sut 

ความสัมพันธตามหลักการของสามเหลี่ยมคลาย จะไดวา
 σ a′ @ Z   σ′ 
=σ a @ R = 
 σ m′ @ Z 
σ m′ @ R  a  σ m′ @ R (7-42)
   σ m′ 
7-39

แกระบบสมการทั้งสมการที่ 7-41 และ 7-42 จะไดวา


Se σ m′ Se Sut
σ m@ R
= =
σ a′ Se σ a′ Sut + σ m′ Se
(7-43)
+
σ m′ Sut

และสมการคาความปลอดภัยจากสมการที่ 7-44
σ m@ R Se Sut
=
Nf = (7-44)
σ m @ Z σ a′ Sut + σ m′ Se

ในกรณีความเคนสวนประกอบเฉลี่ย σ m′ มีคานอยกวาความเคนสวนประกอบสลับ σ a′ มากๆ จะตอง


ใชการหาคาความเคนสวนประกอบเฉลี่ยตามสมการที่ 7-32 แทน
 σ a′ @ R 
σ m @ R= 1 −
  Sy (7-45)
 S y 

โดยใชหลักการของสามเหลี่ยมคลาย จะไดวา
 σ m′ @ Z  σ′ 
=σ m @ R = 
 σ a′ @ Z 
σ a′ @ R  m  σ a′ @ R (7-46)
   σ a′ 

แกระบบสมการทั้งสมการที่ 7-45 และ 7-46 จะไดวา

Sy σ m′ S y
σ m@ R
= = (7-47)
 σ a′  σ a′ + σ m′
 ′ + 1
σm 
และสมการคาความปลอดภัยใหมตามสมการที่ 7-48
σ m′ S y
σ m @ R σ a′ + σ m′ Sy
=
Nf = = (7-48)
σ m@ Z σ m′ σ a′ + σ m′

กรณีศึกษา 4. ความเคนสวนประกอบสลับและความเคนสวนประกอบเฉลี่ยปรับเปลี่ยนค า
อยางอิสระ

รูปที่ 7-23 เสนกรอบความเสียหายภายใตเสนปรับปรุงของกูดแมน กรณีศึกษาที่ 4


7-40

ความสัมพันธของความเคนสวนประกอบสลับและสวนประกอบเฉลี่ยจะเปนแบบสุม หรือไมทราบคา
โดยจุด S ซึ่งอยูบนกรอบความเสียหายที่ใกลเคียงกับสภาวะความเคน ณ จุด Z ที่สุด หากพิจารณาตอ
เสนภาระกระทำจากจุด Z กระทั่งถึงจุด S’ ซึ่งเปนจุดที่อยูในแนวเสนรอบวงของสวนโคง SS’ ซึ่งถือ
เป น จุ ดเสี ย หายของชิ ้ น งาน เส น ZS เปน เสน ที่ตั้ งฉากกับ เสน CD ใชความสัมพัน ธส มการทาง
คณิตศาสตรของจุด S บนเสน CD รวมกับเสนภาระกระทำที่ตอจากจุด Z จะสามารถหาความเคนของ
สวนประกอบเฉลี่ยและสวนประกอบสลับตามสมการที่ 7-49 และ 7-50 ตามลำดับ
Sut ( Se2 − Seσ a′ + Sutσ m′ )
σ m′ @ S = (7-49)
Se2 + Sut2

− e (σ m′ @ S ) + Se
S
σ a′ @ S = (7-50)
Sut

จากนั้นหาระยะจากจุด Z ถึง S ตามสมการที่ 7-53

(σ ′ − σ ′ ) + (σ ′ − σ ′ ) (7-51)
2 2
ZS= m m@ S a a@S

คาความปลอดภัย สามารถหาคาไดจากอัตราสวนของความยาวระหวางผลรวมระยะ OZ กับ ZS ตอ


ความยาวระยะ OZ โดยระยะ OZ หาไดจากสมการที่ 7-52 ทำใหคาความปลอดภัยหาไดตามสมการ
ที่ 7-53
= (σ a′ ) + (σ m′ ) (7-52)
2 2
OZ
OZ + ZS
Nf = (7-53)
OZ

ในกรณี ความเค น ส ว นประกอบเฉลี่ย σ m′ มี ค  า น อ ยกว า ความเค น สว นประกอบสลั บ σ a′ มากๆ


สามารถใชวิธีการเชนเดียว โดย σ m′ @ S และ σ a′ @ S หาคาไดตามสมการที่ 7-54 และ 7-55 ตามลำดับ

S y ( Se2 − Seσ a′ + S yσ m′ )
σ m′ @ S = (7-54)
Se2 + S y2

− e (σ m′ @ S ) + Se
S
σ a′ @ S = (7-55)
Sy

จากนั้นดำเนินการเชนเดียวกันกับขั้นตอนขางตน เพื่อประเมินหาคาความปลอดภัยจากสมการที่ 7-51


ถึง 7-53 ตามลำดับ
ขั้นตอนการออกแบบสำหรับความลาชนิดแกวงคานั้น มีขั้นตอนคลายๆ กับชนิดไปกลับแบบ
เต็มรูปแบบ แตจะมีสวนที่ตองพิจารณาองคประกอบเพิ่มเติม ของความเคนสวนประกอบเฉลี่ย ทั้ง
สวนความเคนหนาแนนทั้งความเคนตั้งฉากและความเคนเฉือน กอนที่จะทำการยุบรวมใหอยูในรูป
ของความเคนของ Von Mises ในทั้งสองสวนประกอบ
7-41

ตัวอยาง 7-6 วิธีจำลองการออกแบบ Bracket ชนิดคานยื่น สำหรับรับภาระดัดชนิดแกวงคา


กำหนดให ชุดประกอบปอนวัสดุแบบหมุน ติดตั้งสวนปลายดวย Support แบบคานยื่น ดังรูป

โดยระบบปอนรับภาระกระทำเปนแรงดัดชนิดแกวงคา มีคาสูงสุด 1100 lb ต่ำสุด 100 lb และมี


ค า เฉลี ่ ย ที ่ 600 lb โดยรั บ ด ว ย Bracket สองฝ  ง ด ว ยภาระกระทำแบ ง ออกเท า ๆ กั น ใช ง านที่
อุณหภูมิหอง โดยอุณหภูมิสูงสุดที่ 120 ๐F ความยาวของคานยอมใหมีคามากที่สุดคือ 6 นิ้ว
จงประเมินคาความปลอดภัย ของ Bracket ชนิดคานยื่นที่รองรับภาระกระทำโมเมนตดัดชนิดแกวง
คา ดวยขนาดแรงกระทำตั้งแต 100 ถึง 1100 lb กระทั่งจำนวนรอบ 109 รอบ โดยการเสียรูปไมเกิน
0.02 นิ้ว
วิธีทำ
ขอยอยที่ 1 : b = 1 in. , d = 0.75 in. , D = 0.94 in. , r = 0.25 in. , a = 5 in. , l = 6 in.
1.) จากข อ มู ล กำหนดให ข องภาระกระทำ คื อ แรงกระทำที ่ ป ลายคานยื ่ น ขนาดตั ้ ง แต
F = 100 lb ถึง F = 1100 lb ระบุอายุการใชงานกระทั่งจำนวนรอบที่รับความเคนดัด คือ N = 109
รอบ
2.) หาความเคนสวนประกอบสลับ, σ a ตามสมการที่ 7-1 และ σ m ตามสมการที่ 7-2 โดย
ความเคนสวนประกอบสลับ เกิดจากแรงที่กระทำที่ปลายแบบสลับ คือ Fa = 500 lb โดยแรงที่จุดยึด
พิจารณาจากผลรวมของแรงในแนวแกนขวาง จะได
Fmax − Fmin 1100 − 100
R=
a F=
a = = 500 lb
2 2
และความเคนสวนประกอบเฉลี่ย เกิดจากแรงกระทำที่ปลายแบบเฉลี่ย คือ Fa = 600 lb โดยแรงที่
จุดยึด พิจารณาจากผลรวมของแรงในแนวแกนขวาง จะได
Fm a x + Fmin 1100 + 100
R=
m F=
m = = 600 lb
2 2
7-42

ซึ่งหากไมระบุตำแหนงการจับยึด จะพิจารณาหาโมเมนตดัดที่กระทำที่จุด B ดวยการหาผลรวมของ


โมเมนตรอบจุดปลายของคานยื่น ของทั้งสองสวนประกอบ ตามสมการ

M=
a Ra (l ) − Fa (l − a=
) 500(6) − 500(6 − 5)= 2500 lb − in.

M=
m Rm (l ) − Fm (l − a=
) 600(6) − 600(6 − 5)
= 3000 lb − in.

M=
max Rmax (l ) − Fmax (l −=
a ) 1100(6) − 1100(6 −=
5) 5500 lb − in.

จะไดโมเมนตกระทำกับคานยื่นสวนประกอบสลับ 2500 lb-in สวนประกอบเฉลี่ย 3000 lb-in และ


โมเมนตสูงสุด 5500 lb-in เมื่อพิจารณาหาคาความเคนตั้งฉากเนื่องโมเมนตดัด ไดดังนี้
M ac
σ a ,nom =
I
M c
σ m,nom = m
I
d 0.75
โดยที่ c= = = 0.375 in.
2 2
bd 3 1( 0.75 )
3

= I = = 0.0352 in 4
12 12
M a c 2500 ( 0.375 )
จะไดวา σ a=
, nom = = 26634 psi
I 0.0352
M m c 3000 ( 0.375 )
σ m=, nom = = 31960 psi
I 0.0352

3.) หาคาปจจัยของความเคนหนาแนน, Kt กรณีความเคนตั้งฉาก และ, K s กรณีความเคนเฉือน


กรณีนี้ไมมีผลของความเคนเฉือน จึงคิดเฉพาะปจจัยจากความเคนในแนวตั้งฉากเนื่องจากโมเมนตดัด
โดยใชขอมูลประกอบ รูปที่ จ-10 ภายใตเงื่อนไขขอมูล
D 0.94
, r 0.25
= = 1.1253= = 0.33
d 0.75 d 0.75

ทำการคำนวณคาระหวางชวง (Interpolation) จะได A = 0.9658 และ b = −0.266


จะไดคา
b
r
  0.9628 ( 0.5 )
−0.266
=K t A= = 1.29
d 
4.) หาคาขีดจำกัดความทนทาน, Se (คาความแข็งแรงเมื่อรับภาระแบบลา, S f ) โดยพิจารณา
ปจจัยหรือผลกระทบการใชงาน จากภาคผนวก ค-9 วัสดุคือเหล็กกลาคารบอน AISI 1035 CR มีคา
Sut = 80 kpsi จะไดวา การประมาณคาความแข็งแรงเมื่อรับความลา เมื่อไมคิดผลปจจัยของการ
ใชงาน ตามสมการที่ 7-8 ที่เงื่อนไข Sut = 80 kpsi<200 kpsi
7-43

Se′ ≅ 0.5Sut = 0.5 ( 80 ) = 40 kpsi

พิจารณาปจจัยตางๆ ตามที่โจทยกำหนดใหดังนี้
Cload = 1 เนื่องภาระกระทำเปนโมเมนตดัด
Csize พิจารณาหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผา

= =
A95 0.05db 0.05 ( 0.75
= )(1) 0.04 in2
A95 0.04
=
d equiv = = 0.700 in.
0.0766 0.0766
( dequiv )
−0.097
( 0.700 )
−0.097
จะไดวา Csize 0.869
= = =
0.869 0.900

Csurf พิ จ ารณาที ่ ค  า Sut = 80 kpsi จากตารางที่ 7-4 พิ จ ารณาการขึ ้ น รู ป ผิ ว ด ว ย


เครื่องจักร (Machined) จะไดวา

( Sut ) 2.7 (80 )


−0.265
=
Csurf A= =
b
0.845

Ctemp พิจารณาการทำงานที่อุณหภูมิหอง จะไดวา Ctemp = 1


Creliab พิจารณา % คาความเชื่อมั่นของผลทดสอบที่ 99.9% จากตารางที่ 7-5 จะไดวา

Creliab = 0.753

จากขอมูลทั้งหมดจะได ขีดจำกัดความทนทานตามสมการที่ 7-12 คือ

Se = Cload CsizeCsurf Ctemp Creliab Se′


= ( 0.900 )( 0.845)(1)( 0.753) 40000 22907 psi
Se 1=

5.) หาคาความไวของนอทช, q ตามวิธีการในหัวขอ 7.7 สมการที่ 7-19 หรือสมการ 7-24 ใน


ที่นี่ใชตามสมการที่ 7-24 โดยพิจารณาคาคงที่ของ Neuber ที่ Sut = 80 kpsi จากตารางที่ 7-6 ได
คา a = 0.08 จะไดวา
1 1
=q = = 0.862
a 1+ 0.08
1+
r 0.25

6.) หาความเคนหนาแนนสำหรับรับภาระกระทำแบบลา โดยพิจารณาเฉพาะสวนความเคน


สวนประกอบสลับเทานั้น โดยใชสมการที่ 7-20 โดยที่ q = 0.862 และ Kt = 1.29 จะไดวา
K f =1 + q ( K t − 1) =1 + 0.862 (1.29 − 1) =1.25
7-44

ซึ่งคาปจจัยของคาความเคนหนาแนน K f โดยคูณเพิ่มกับความเคนตั้งฉากสวนประกอบสลับ สวน


ความเคนตั้งฉากสวนประกอบเฉลี่ย จะใชคาปจจัยคาความเคนหนาแนน K fm ซึ่งมีเงื่อนไขตามสมการ
ที่ 7-21 นั่นคือ เงื่อนไขที่ 1 โดยคา S y = 60000 psi

M max c 5500 ( 0.375 )


K f σ max nom < S y :1.25 =
1.16 =
59594 < S y
I 0.0352
นั่นคือ K=
fm K=
f 1.25

7.) หาคาความเคนสลับสูงสุด ในรูปของความเคนของ Von Mises จะไดวา

σ a ,max K=
= f σ a , nom 1.25 (=
26634 ) 33293 psi


σ= σ a2,max + 3τ= 332932 + 3 ( 0 )= 33293 psi
2 2
a a

σ m,max K=
= fmσ m , nom ( 31960 ) 39950 psi
1.25=


σ= σ m2 ,max + 3τ= 399502 + 3 ( 0 )= 39950 psi
2 2
m m

8.) หาคาความปลอดภัย จากทั้ง 4 กรณีศึกษาโดยใชเสนปรับปรุงของกูดแมน และเสนคราก


ตามสมการที่ 7-34 หรือ 7-36 สำหรับกรณีศึกษาที่ 1 สมการที่ 7-38 หรือ 7-40 สำหรับกรณีศึกษาที่
2 สมการที่ 7-44 หรือ 7-48 สำหรับกรณีศึกษาที่ 3 และสมการที่ 7-53 สำหรับกรณีศึกษาที่ 4 โดย
จะตองเลือกใชคาที่มีคาความปลอดภัยต่ำที่สุดในการออกแบบ นั่นคือ และคานยื่นตองสามารถ
รับภาระกระทำความเคนดันตามจำนวนรอบที่กำหนดคือ 109 รอบ จะไดวา
กรณีศึกษาที่ 1
จากขอมูล σ a′ = 33293 psi และ σ m′ = 39950 psi นั่นคือ
σ m @ Q S y  σ a′ 
จากสมการที่ 7-33 : =
Nf = 1 − 
σ m @ Z σ m′  S y 
โดยที่ σ m @=
Z
′ 39950 psi
σ=
m

σ m @ Q 60000  33293 
จะไดวา Nf = = 1− =0.6685
σ m @ Z 39950  60000 
σ m @ Q Sut  σ a′ 
จากสมการที่ 7-36 : =
Nf = 1 − 
σ m @ Z σ m′  Se 

σ m @ Q Sut  σ a′  80000  33293 


จะไดวา Nf = = 1 −  = 1 − =−0.908
σ m @ Z σ m′  Se  39950  22907 

ซึ่งเปนไปไมได เนื่องจากคาความปลอดภัยติดลบ
สำหรับกรณีศึกษาที่ 1 คาความปลอดภัยที่นอยที่สุดคือ 0.6685
7-45

กรณีศึกษาที่ 2
จากขอมูล σ a′ = 33293 psi และ σ m′ = 39950 psi นั่นคือ
σ a @ P Se  σ m′ 
จากสมการที่ 7-38 : =
Nf = 1 − 
σ a @ Z σ a′  Sut 
โดยที่ σ a @=
Z
′ 33293 psi
σ=
a

σ a @ P Se  σ m′  22907  39950 
จะไดวา Nf = = 1 − = 1− = 0.3445
σ a @ Z σ a′  Sut  33293  80000 
σ a @ P S y  σ m′ 
จากสมการที่ 7-40 : = Nf = 1 − 
σ a @ Z σ a′  S y 
σ a @ P S y  σ m′  60000  39950 
จะไดวา Nf = = 1 − = 1− = 2.57
σ a @ Z σ a′  S y  33293  60000 

สำหรับกรณีศึกษาที่ 2 คาความปลอดภัยที่นอยที่สุดคือ 0.3445


กรณีศึกษาที่ 3
จากขอมูล σ a′ = 33293 psi และ σ m′ = 39950 psi นั่นคือ
σ m@ R Se Sut
จากสมการที่ 7-44 : =
Nf =
σ m @ Z σ a′ Sut + σ m′ Se
จะไดวา
σ m@ R Se Sut 22907 ( 80000 )
=
Nf = = = 0.512
σ m @ Z σ a′ Sut + σ m′ Se 33293 ( 80000 ) + 39950 ( 22907 )
σ m′ S y
σ m @ R σ a′ + σ m′ Sy
จากสมการที่ 7-48 : = Nf = =
σ m@ Z σ m′ σ a′ + σ m′
σ m@ R Sy 60000
จะไดวา =
Nf = = = 0.8192
σ m @ Z σ a′ + σ m′ 33293 + 39950
สำหรับกรณีศึกษาที่ 3 คาความปลอดภัยที่นอยที่สุดคือ 0.512
กรณีศึกษาที่ 4
จากขอมูล σ a′ = 33293 psi และ σ m′ = 39950 psi นั่นคือ
OZ + ZS
จากสมการที่ 7-53 : Nf =
OZ
7-46

กรณีที่ 1
Sut ( Se2 − Seσ a′ + Sutσ m′ )
σ m′ @ S =
Se2 + Sut2
80000 ( 22907 2 − 22907 ( 33293) + 80000 ( 39950 ) )
= 34174.2 psi
22907 2 + 800002

σ a′ @ S =

Se
Sut
( σ m′ @ S ) + Se =

22907
80000
( 34174.2 ) + 22907 =
13121.7 psi

(σ ′ − σ ′ ) + (σ ′ − σ ′ )
2 2
ZS= m m@ S a a@S

( 39950 − 34174.2 ) + ( 33293 − 13121.7 ) =


2 2
= 20981.9

OZ = (σ a′ ) + (σ m′ ) = 332932 + 399502 = 52004


2 2

OZ + ZS 52004 + 20981.9 +
จะไดวา =Nf = = 1.404
OZ 52004
กรณีที่ 2
S y ( Se2 − Seσ a′ + S yσ m′ )
σ m′ @ S =
Se2 + S y2
60000 ( 22907 2 − 22907 ( 33293) + 60000 ( 39950 ) )
= 31407 psi
22907 2 + 600002

σ a′ @ S =

Se
Sy
( σ m′ @ S ) + Se =

22907
60000
( 31407 ) + 22907 =
10916 psi

(σ ′ − σ ′ ) + (σ ′ − σ ′ )
2 2
ZS= m m@ S a a@S

( 39950 − 31407 ) + ( 33293 − 10916 ) =


2 2
= 23952

OZ = (σ a′ ) + (σ m′ ) = 332932 + 339502 = 47550


2 2

OZ + ZS 47550 + 23952
จะไดวา =Nf = = 1.504
OZ 47550
สำหรับกรณีศึกษาที่ 4 คาความปลอดภัยที่นอยที่สุดคือ 1.404
จากทั้ง 4 กรณีศึกษา คาความปลอดภัยของคานยื่นที่รับภาระกระทำแบบแกวงคา คือ 0.3445 Ans
สวนการเสียรูป พิจารณาไดตามสมการ
Fmax  3
= x − 3ax 2 − x − a 
3
y
6 EI  
1100 ( 6 )3 − 3 ( 5 )( 6 )2 − ( 6 − 5 )3  =
y@ x =l = −0.056 in.
6 ( 3e7 )( 0.10352 )  
จากคาความปลอดภัยที่ได พบวาชิ้นงานเกิดความเสียหาย โดยมีคาความปลอดภัยที่ 0.3345
อีกทั้งการเสียรูปเกินกวา 0.02 นิ้ว ตอบ
7-47

ขอยอยที่ 2 : b = 1 in. , d = 2 in. , D = 1.125 in. , r = 0.5 in. , a = 5 in. , l = 6 in.


1.) จากขอมูลกำหนดใหภาระกระทำคือแรงกระทำที่ปลายคานยื่น ขนาดตั้งแต F = 100 lb ถึง
F = 1100 lb ระบุอายุการใชงานกระทั่งจำนวนรอบที่รับความเคนดัด คือ N = 109 รอบ
2.) หาความเคนสวนประกอบสลับ, σ a ตามสมการที่ 7-1 และ σ m ตามสมการที่ 7-2 โดยความ
เคนสลับเกิดจากแรงที่ กระทำที่ ปลายแบบสลับ คือ Fa = 500 lb โดยแรงที่จุดยึด พิจารณาจาก
ผลรวมของแรงในแนวแกนขวาง จะได
Fmax − Fmin 1100 − 100
R=
a F=
a = = 500 lb
2 2
และความเคนสวนประกอบเฉลี่ย เกิดจากแรงกระทำที่ปลายแบบเฉลี่ย คือ Fa = 600 lb โดยแรงที่
จุดยึด พิจารณาจากผลรวมของแรงในแนวแกนขวาง จะได
Fm a x + Fmin 1100 + 100
R=
m F=
m = = 600 lb
2 2
หากไมระบุตำแหนงการจับยึด จะพิจารณาหาโมเมนตดัดที่กระทำที่จุด B ดวยการหาผลรวมของ
โมเมนตรอบจุดปลายของคานยื่น ของทั้งสองสวนประกอบ ตามสมการ

M=
a Ra (l ) − Fa (l − a=
) 500(6) − 500(6 − 5)= 2500 lb − in.

M=
m Rm (l ) − Fm (l − a=
) 600(6) − 600(6 − 5)
= 3000 lb − in.

M=
max Rmax (l ) − Fmax (l −=
a ) 1100(6) − 1100(6 −=
5) 5500 lb − in.

จะไดโมเมนตกระทำกับคานยื่นสวนประกอบสลับ 2500 lb-in สวนประกอบเฉลี่ย 3000 lb-in และ


โมเมนตสูงสุด 5500 lb-in เมื่อพิจารณาหาคาความเคนตั้งฉากเนื่องโมเมนตดัด ไดดังนี้
M ac
σ a ,nom =
I
M c
σ m,nom = m
I
d 1.0
โดยที่ c= = = 0.50 in.
2 2
bd 3 2 (1.0 )
3

= I = = 0.1667 in 4
12 12
M a c 2500 ( 0.5 )
จะไดวา σ a=, nom = = 7500 psi
I 0.1667
M m c 3000 ( 0.5 )
σ m= , nom = = 9000 psi
I 1.1667

3.) หาคาปจจัยของความเคนหนาแนน, Kt กรณีความเคนตั้งฉาก และ, K s กรณีความเคนเฉือน


กรณีนี้ไมมีผลของความเคนเฉือน จึงคิดเฉพาะปจจัยจากความเคนในแนวตั้งฉากเนื่องจากโมเมนตดัด
โดยใชขอมูลประกอบ รูปที่ จ-10 ภายใตเงื่อนไขขอมูล
7-48

D 1.125 r 0.5
= = 1.125 , = = 0.5
d 1.0 d 1.0

คำนวณหาคาระหวางชวง (Interpolation) จะได A = 1.012 และ b = −0.221


จะไดคา
b
r
  1.012 ( 0.5 )
−0.221
=K t A= = 1.18
d 
4.) หาคาขีดจำกัดความทนทาน, Se (คาความแข็งแรงเมื่อรับภาระแบบลา, S f ) โดยพิจารณา
ปจจัยหรือผลกระทบการใชงาน จากภาคผนวก ค-9 วัสดุคือเหล็กกลาคารบอน AISI 1035 CR มีคา
Sut = 80 kpsi จะไดวา การประมาณคาความแข็งแรงเมื่อรับความลา เมื่อไมคิดผลปจจัยของการใช
งาน ใชตามสมการที่ 7-8 ที่เงื่อนไข Sut = 80 kpsi<200 kpsi
Se′ ≅ 0.5Sut = 0.5 ( 80 ) = 40 kpsi

พิจารณาปจจัยตางๆ ตามที่โจทยกำหนดใหดังนี้
Cload = 1 เนื่องภาระกระทำเปนโมเมนตดัด
Csize พิจารณาหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผา

= =
A95 0.05 db 0.05 (1.0
= )( 2 ) 0.10 in2
A95 0.10
=
d equiv = = 1.143 in.
0.0766 0.0766
( dequiv )
−0.097
(1.143)
−0.097
จะไดวา Csize 0.869
= = =
0.869 0.859

Csurf พิ จ ารณาที ่ ค  า Sut = 80 kpsi จากตารางที่ 7-4 พิ จ ารณาการขึ ้ น รู ป ผิ ว ด ว ย


เครื่องจักร (Machined) จะไดวา

( Sut ) 2.7 ( 80 )
−0.265
=
Csurf A= =
b
0.85

Ctemp พิจารณาการทำงานที่อุณหภูมิหอง จะไดวา Ctemp = 1


Creliab พิจารณา % คาความเชื่อมั่นของผลทดสอบที่ 99.9% จากตาราง 7-5 จะไดวา

Creliab = 0.753

จากขอมูลทั้งหมดจะได ขีดจำกัดความทนทานตามสมการที่ 7-12 คือ

Se = Cload CsizeCsurf Ctemp Creliab Se′


= ( 0.589 )( 0.85)(1)( 0.753) 40000 21883 psi
Se 1=
7-49

5.) หาคาความไวของนอทช, q ตามวิธีการในหัวขอ 7.7 สมการที่ 7-19 หรือสมการที่ 7-24 ใน


ที่นี่ใชตามสมการที่ 7-24 โดยพิจารณาคาคงที่ของ Neuber ที่ Sut = 80 kpsi จากตารางที่ 7-6 ได
คา a = 0.08 จะไดวา
1 1
=q = = 0.898
a 1+ 0.08
1+
r 0.5

6.) หาความเคนหนาแนนสำหรับรับภาระแบบลา โดยพิจารณาเฉพาะสวนความเค น สลั บ


เทานั้น โดยใชสมการที่ 7-20 โดยที่ q = 0.898 และ Kt = 1.18 จะไดวา
K f =1 + q ( K t − 1) =1 + 0.898 (1.18 − 1) =1.16

ซึ่งคาปจจัยของคาความเคนหนาแนน K f โดยคูณเพิ่มกับความเคนตั้งฉากสวนประกอบสลับ สวน


ความเคนตั้งฉากสวนประกอบเฉลี่ย จะใชคาปจจัยคาความเคนหนาแนน K fm ซึ่งมีเงื่อนไขตามสมการ
ที่ 7-21 นั่นคือ เงื่อนไขที่ 1 โดยคา S y = 60000 psi

M max c 5500 ( 0.5 )


K f σ max nom < S y :1.16 =
1.16 =
19113 < S y
I 0.1667
นั่นคือ K=
fm K=
f 1.16

7.) หาคาความเคนสวนประกอบสลับสูงสุด ในรูปของความเคนของ Von Mises จะไดวา

σ a ,max K=
= f σ a , nom ( 7500 ) 8711 psi
1.16=


σ= σ a2,max + 3τ= 87112 + 3 ( 0 )= 8711 psi
2 2
a a

σ m,max K=
= fmσ m , nom =
1.16 ( 9000 ) 10454 psi

σ= σ m2 ,max + 3τ= 104542 + 3 ( 0 )= 10454 psi
2 2
m m

8.) หาคาความปลอดภัย หาคาความปลอดภัย จากทั้ง 4 กรณีศึกษาโดยใชเสนปรับปรุงของ


กูดแมนและเสนคราก ตามสมการที่ 7-34 หรือ 7-36 กรณีศึกษาที่ 1 สมการที่ 7-38 หรือ 7-40
กรณีศึกษาที่ 2 สมการที่ 7-44 หรือ 7-48 กรณีศึกษาที่ 3 และสมการที่ 7-53 กรณีศึกษาที่ 4 โดย
เลือกใชคาที่มีคาความปลอดภัยต่ำที่สุดในการออกแบบ นั่นคือ คานยื่นตองสามารถรับภาระกระทำ
ความเคนตามจำนวนรอบที่กำหนดคือ 109 รอบ จะไดวา
กรณีศึกษาที่ 1
จากขอมูล σ a′ = 8711 psi และ σ m′ = 10454 psi นั่นคือ
σ m @ Q S y  σ a′ 
จากสมการที่ 7-33 : =
Nf = 1 − 
σ m @ Z σ m′  S y 
7-50

โดยที่ σ m @=
Z
′ 10454 psi
σ=
m

σ m @ Q 60000  8711 
จะไดวา Nf = = 1 − =4.91
σ m @ Z 10454  60000 
σ m @ Q Sut  σ a′ 
จากสมการที่ 7-36 : =
Nf = 1 − 
σ m @ Z σ m′  Se 
σ m @ Q Sut  σ a′  80000  8711 
จะไดวา Nf = = 1 −  = 1− = 4.61
σ m @ Z σ m′  Se  10454  21883 

สำหรับกรณีศึกษาที่ 1 คาความปลอดภัยที่นอยที่สุดคือ 4.61


กรณีศึกษาที่ 2
จากขอมูล σ a′ = 8711 psi และ σ m′ = 10454 psi นั่นคือ
σ a @ P Se  σ m′ 
จากสมการที่ 7-38 : =
Nf = 1 − 
σ a @ Z σ a′  Sut 
โดยที่ σ a @=
Z
′ 7811 psi
σ=
a

σ a @ P Se  σ m′  21883  10454 
จะไดวา Nf = = 1 − = 1− = 2.44
σ a @ Z σ a′  Sut  7811  80000 
σ a @ P S y  σ m′ 
จากสมการที่ 7-40 : = Nf = 1 − 
σ a @ Z σ a′  S y 
σ a @ P S y  σ m′  60000  10454 
จะไดวา Nf = = 1 − = 1− = 6.34
σ a @ Z σ a′  S y  7811  60000 

สำหรับกรณีศึกษาที่ 2 คาความปลอดภัยที่นอยที่สุดคือ 2.44


กรณีศึกษาที่ 3
จากขอมูล σ a′ = 8711 psi และ σ m′ = 10454 psi นั่นคือ
σ m@ R Se Sut
จากสมการที่ 7-44 : =
Nf =
σ m @ Z σ a′ Sut + σ m′ Se
σ m@ R Se Sut 21883 ( 80000 )
จะไดวา =
Nf = = = 2.05
σ m @ Z σ a′ Sut + σ m′ Se 7811( 80000 ) + 10454 ( 21883)
σ m′ S y
σ m @ R σ a′ + σ m′ Sy
จากสมการที่ 7-48 : = Nf = =
σ m@ Z σ m′ σ a′ + σ m′
σ m@ R Sy 60000
จะไดวา =
Nf = = = 3.28
σ m @ Z σ a′ + σ m′ 7811 + 10454
สำหรับกรณีศึกษาที่ 3 คาความปลอดภัยที่นอยที่สุดคือ 2.05
กรณีศึกษาที่ 4
จากขอมูล σ a′ = 8711 psi และ σ m′ = 10454 psi นั่นคือ
7-51

OZ + ZS
จากสมการที่ 7-53 : Nf =
OZ
กรณีที่ 1
Sut ( Se2 − Seσ a′ + Sutσ m′ )
σ m′ @ S =
Se2 + Sut2
80000 ( 218832 − 21883 ( 7811) + 80000 (10454 ) )
= 13307.51 psi
218832 + 800002
− e (σ m′ @ S ) + Se =
S 21883
σ a′ @ S = − (13307.51) + 21883 =18242.9 psi
Sut 80000

(σ ′ − σ ′ ) + (σ ′ − σ ′ )
2 2
ZS= m m@ S a a@S

= (10454 − 13307.51) + ( 7811 − 18242.9 ) =


2 2
10815.13

OZ = (σ a′ ) + (σ m′ ) = 78112 + 104542 = 13049.82


2 2

OZ + ZS 13049.82 + 10815.13
จะไดวา =Nf = = 1.829
OZ 13049.82
กรณีที่ 2
S y ( Se2 − Seσ a′ + S yσ m′ )
σ m′ @ S =
Se2 + S y2
60000 ( 218832 − 21883 ( 7811) + 60000 (10454 ) )
= 13756.44 psi
218832 + 600002
− e (σ m′ @ S ) + Se =
S 21883
σ a′ @ S = − (13756.44 ) + 21883 =16865.8 psi
Sy 60000

(σ ′ − σ ′ ) + (σ ′ − σ ′ )
2 2
ZS= m m@ S a a@S

= (10454 − 13756.44 ) + ( 7811 − 16865.8 ) =


2 2
9638.23

OZ = (σ a′ ) + (σ m′ ) = 78112 + 104542 = 13049.82


2 2

OZ + ZS 13049.82 + 9638.23
จะไดวา =Nf = = 1.739
OZ 13049.82
สำหรับกรณีศึกษาที่ 4 คาความปลอดภัยที่นอยที่สุดคือ 1.739
จากทั้ง 4 กรณีศึกษา คาความปลอดภัยของคานยื่นที่รับภาระกระทำแบบแกวงคาคือ 1.739 Ans
สวนการเสียรูป พิจารณาไดตามสมการ
Fmax  3
= x − 3ax 2 − x − a 
3
y
6 EI  
1100 ( 6 )3 − 3 ( 5 )( 6 )2 − ( 6 − 5 )3  =
y@ x =l = −0.012 in.
6 ( 3e7 )( 0.1667 )  
จากคาความปลอดภัยที่ได พบวาชิ้นงานไมเกิดความเสีบหาย โดยมีคาความปลอดภัยที่ 1.739 อีก
ทั้งการเสียรูปเกินกวา 0.02 นิ้ว ตอบ
7-52

แบบฝกหัด
7-53

1. จากตารางตอไปนี้ จงหา พิสัยของความเคน (Stress range) ความเคนสวนประกอบสลั บ


(Alternating stress, σ a ) ความเคนสวนประกอบเฉลี่ย (Mean stress, σ m ) อัตราสวนความ
เคน (Stress ratio, R ) และสัดสวนแอมฟลิจูด (Amplitude ratio, A )
ตารางประกอบโจทยขอ 1
แถวที่ σ max σ min
a 1000 0
b 1000 -1000
c 1500 500
d 1500 -500
e 500 -1000
f 2500 -1200
g 0 -4500
h 2500 1500

2. จากตารางตอไปนี้ เปนขอมูลความแข็งแรงวัสดุเหล็กกลาตามตาราง จงคำนวณหาขีดจำกัด


ความทนทานที่ยังไมคิดผลของปจจัยการใชงาน (uncorrected endurance limit) และเขียน
S-N ไดอะแกรม
ตารางประกอบโจทยขอ 2
แถวที่ Sut (psi) วัสดุ
a 90000 เหล็กกลา
b 250000 เหล็กกลา
c 120000 เหล็กกลา
d 150000 เหล็กกลา
e 25000 อลูมิเนียม
f 70000 อลูมิเนียม
g 40000 อลูมิเนียม
h 35000 อลูมิเนียม

3. รูปแสดงชิ้นสวน Arm พรอมแปนทีบจักรยาน


7-54

กำหนดให
คนถีบจักรยานออกแรงถีบแปนถีบดวยแรงจาก 0 ถึง 1500 N
หนาตัดขวางของ Arm แปนถีบ มีขนาด d = 15 mm.
Arm แปนถีบยึดเขากับตัวเรือนดวยสกรูลึก 12 mm.
วัสดุที่ทำมีคา Sut = 500 MPa
จงประเมิน คาความปลอดภัยของชิ้นงานภายใตภาระลา

4. สำหรับอะลูมิเนียมในตารางประกอบขอ 2 ใหคำนวณหา ความแข็งแรงวัสดุเมื่อรับภาระแบบ


ลา ที่ระบุจำนวนรอบการรับที่ 5E8 รอบ พรอมเขียน S-N ไดอะแกรม
5. จากตารางตอไปนี้ เปนขอมูลประกอบเพื่อประเมินปจจัยการใชงานเมื่อรับภาระแบบลาของ
ชิ้นงาน จงหาคาขีดจำกัดความทนทาน หรือความแข็งแรงวัสดุเมื่อรับภาระกระทำแบบลาที่คิด
ผลปจจัยการใชงานแลว พรอมเขียน S-N ไดอะแกรม
ตารางประกอบโจทยขอ 5
Row Material Sut Shape Size Surface loading Temp %

(kpsi) (inch) finish F Reliability
a steel 110 round 2 ground torsion room 99.9
b steel 90 square 4 mach. axial 600 99.0
c steel 80 I-beam 16x18* hot rolled bending room 99.99
d steel 200 round 5 forged torsion -50 99.999
e steel 150 square 7 cold rolled axial 900 50
f aluminum 70 round 9 mach. bending room 90
g aluminum 50 square 9 ground torsion room 99.9
h aluminum 85 I-beam 24x36* cold rolled axial room 99.0
i aluminum 60 round 4 ground bending room 99.99
j aluminum 40 square 6 forged torsion room 99.999
k ductile iron 70 round 5 cast axial room 50
l ductile iron 90 square 7 cast bending room 90
m bronze 60 round 9 forged torsion 50 90
n bronze 80 square 6 cast axial 212 99.999
* ความกวางxความสูง
7-55

6. กระบวนการผลิตกระดาษ โดยทำการมวนกระดาษใสในแกนกลวง โดยที่กระดาษมี ความ


หนาแนน 984 kg/m3 ขนาดของมวนกระดาษขณะเต็มมวน มีเสนผานศูนยกลางภายนอก
1.5 เมตร และเสนผานศูนยกลางภายใน 22 เซนติเมตร ซึ่งมีขนาดเทากับเสนผานศูนยกลาง
นอกของแกนเพลา และมีความยาว 3.23 เมตร วางตัวบน Simply support เมื่อกำหนดให
แกนเพลาเป น แบบเพลากลมกลวง (Hollow circular shaft) วั ส ดุ ท ำจากเหล็ ก กล า มี
Sut = 400 MPa จงหา ขนาดความเสนผานศูนยกลางภายในของเพลา เมื่อกำหนดใหการ
คาความปลอดภัยภายใตภาระกระทำแบบลา ทีคาเทากับ 2 การใชงาน 10 ป โดยเครื่อง
ทำงาน 8 ชั่วโมงตอกะ และมี 3 กะตอวัน โดยที่เสนผานศูนยกลางภายนอกของเพลาเทากับ
22 เซนติ เ มตร โดยสมมุ ติใหความยาวเพลามีความยาวหัว ทายของ Support ของม ว น
กระดาษพอดี
7. จากรูปแสดง สปริงบอรด ที่ยึดเปน Overhung beam support กำหนดขนาดหนาตัดขวางคือ
305x32 มิลลิเมตร กำหนดใหการออกแบบเปนชนิดจำกัดอายุการใชงาน โดยวัสดุกำหนดเปน
ไฟเบอร ก ลาสแบบเปราะ มี ค  า ความแข็ ง แรงวั ส ดุ เ มื ่ อ รั บ ภาระกระทำแบบล า คื อ
S f = 39 Mpa และ Sut = 130 MPa จงประเมินคาวามปลอดภัยของสปริ งปอรด ภายใต
ภาระกระทำแบบลา เมื่อมีคนน้ำหนัก 100 กิโลกรัมยืน ณ ตำแหนงปลายสุดของสปริงบอรด

(กำหนด ภาระกระทำแบบลาชนิดซ้ำคา (repeated loading))


8. คานตามรู ป รั บ ภาระกระทำตามเวลาชนิดเปน ฟงกช ัน คลื่น ไซด (Sinusoidal force time
function) โดยกำหนดให Fmax = F และ Fmin = − F 2 โดยข อ มู ล ของคานตามตาราง
ประกอบ จงหา ความเคนที่กระทำ และเลือกวัสดุเ พื่ อใหคาความปลอดภัย มี คาเทากับ 3
สำหรับการใชงานรับภาระกระทำ N = 5 ×108 รอบ
7-56

ตารางประกอบขอที่ 8, 9, 10 และ 11
Row L a b F I c E
a 1.00 0.40 0.60 500 2.85e-8 2.00e-2 steel
b 0.70 0.20 0.40 850 1.70e-8 1.00e-2 steel
c 0.30 0.10 0.20 450 4.70e-9 1.25e-2 steel
d 0.80 0.50 0.60 250 4.90e-9 1.10e-2 steel
e 0.85 0.35 0.50 750 1.80e-8 9.00e-3 steel
f 0.50 0.18 0.40 950 1.17e-8 1.00e-2 steel
g 0.60 0.28 0.50 250 3.30e-9 7.50e-3 aluminum
h 0.20 0.10 0.13 500 4.00e-9 5.00e-3 aluminum
i 0.40 0.15 0.30 200 2.75e-9 5.00e-3 aluminum
j 0.20 0.10 0.15 80 6.50e-10 5.50e-3 aluminum
k 0.40 0.16 0.30 880 4.30e-8 1.45e-2 aluminum
l 0.90 0.25 0.80 600 4.20e-8 7.50e-3 aluminum
m 0.70 0.10 0.60 500 2.10e-8 6.50e-3 aluminum
n 0.85 0.15 0.70 120 7.90e-9 1.00e-2 aluminum
ความยาว หนวยเปน เมตร (m), แรงหนวยเปน นิวตัน (N), I หนวยเปน m4

9. คานตามรู ป รั บ ภาระกระทำตามเวลาชนิดเปน ฟงกช ัน คลื่น ไซด (Sinusoidal force time


function) โดยกำหนดให Fmax = F และ Fmin = F 2 โดยข อ มู ล ของคานตามตาราง
ประกอบขอ 8 จงหา ความเคนที่กระทำ และเลือกวัสดุเพื่อใหคาความปลอดภัยมีคาเทากับ 1.5
สำหรับการใชงานรับภาระกระทำ N = 5 ×108 รอบ

10. คานตามรู ป รั บ ภาระกระทำตามเวลาชนิดเปน ฟงกช ัน คลื่น ไซด (Sinusoidal force time


function) โดยกำหนดให Fmax = F และ Fmin = 0 โดยขอมูลของคานตามตารางประกอบ
ขอ 8 จงหา ความเคนที่กระทำ และเลือกวัสดุเพื่อใหคาความปลอดภัยมีคาเทากับ 2.5 สำหรับ
การใชงานรับภาระกระทำ N = 5 ×108 รอบ
7-57

11. คานตามรู ป รั บ ภาระกระทำตามเวลาชนิดเปน ฟงกช ัน คลื่น ไซด (Sinusoidal force time


function) โดยกำหนดให Fmax = F และ Fmin = − F โดยขอมูลของคานตามตารางประกอบ
ขอ 8 จงหา ความเคนที่กระทำ และเลือกวัสดุเพื่อใหคาความปลอดภัยมีคาเทากับ 6 สำหรับ
การใชงานรับภาระกระทำ N = 5 ×108 รอบ

12. ชิ้นงานมีมีสวนของนอทซ ที่มีมิติของนอทซ r ปจจัยของความเคนหนาแนน Kt คาคุณสมบัติ


วั ส ดุ Sut โดยภาระกระทำตามตาราง จงหา Neuber factor a ค าความไวของนอทซ q
และปจจัยความเคนหนาแนนเมื่อรับภาระกระทำแบบลา K f
ตารางประกอบโจทยขอ 12
Row Sut (kpsi) Kt r (in.) Material loading
a 100 3.3 0.25 steel bending
b 90 2.5 0.55 steel torsion
c 150 1.8 0.75 steel bending
d 200 2.8 1.22 steel torsion
e 20 3.1 0.25 soft aluminum bending
f 35 2.5 0.28 soft aluminum bending
g 45 1.8 0.50 soft aluminum bending
h 50 2.8 0.75 hard aluminum bending
i 30 3.5 1.25 hard aluminum bending
j 90 2.5 0.25 hard aluminum bending

13. ชิ้นงานตามรูป และขอมูลตัวแปลตามตาราง


7-58

ตาราง ขอมูลตัวแปลสำหรับขอที่13, 14 และ 15


row L a t h F OD ID E
a 100 400 10 20 50 20 14 steel
b 70 200 6 80 85 20 6 steel
c 300 100 4 50 95 25 17 steel
d 800 500 6 65 160 46 22 aluminum
e 85 350 5 96 900 55 24 aluminum
f 50 180 4 45 950 50 30 aluminum
g 160 280 5 25 850 45 19 steel
h 200 100 2 10 800 40 24 steel
i 400 150 3 50 950 65 37 steel
j 200 100 3 10 600 45 32 aluminum
k 120 180 3 70 880 60 47 aluminum
l 150 250 8 90 750 52 28 aluminum
m 70 100 6 80 500 36 30 steel
n 85 150 7 60 820 40 15 steel
ความยาวหนวนเปน เมตร (m) แรงหนวยนิวตัน (N)

จากรู ป และข อมู ล ตามตาราง ที่ กำหนดใหช ิ้น งาน Bracket ระภาระกระทำเปน แรงที่เปน
ฟงกชันตามเวลาแบบ Sinusoildal โดย Fmax = F และ Fmin = − F เมื่อ F และตัวแปรอื่น ๆ
คือขอมูลที่เปนไปตามตารางตามระบุในแถว a ถึง n จงหา สภาวะของความเคนที่จุด A และ B
เนื่องจากภาระแบบลาชนิด Fully revers และวัสดุเปนเหล็กหรืออลูมิเนียม ซึ่งมีคาความ
ปลอดภัยเทากับ 2 โดยเหล็กกำหนดใหกำหนดอายุการใชงานไมจำกัด (Infinite life) สวน
อลูมิเนียมกำหนดใชงานกระทั่งรอบการรับความเคนถึง N = 5E8 รอบ กำหนดให คาปจจัย
ความเคนหนาแนนเนื่องจากโมเมนตดัด K f = 2.5 และเนื่องจากโมเมนตบิด K fs = 2.8

14. จากรูปและขอมูลตามตารางในขอ 13 กำหนดใหชิ้นงาน Bracket ระภาระกระทำเปนแรงที่


เปนฟงกชันตามเวลาแบบ Sinusoildal โดย Fmax = F และ Fmin = 0 เมื่อ F และตัวแปรอื่นๆ
คือขอมูลที่เปนไปตามตารางตามระบุในแถว a ถึง n จงหา สภาวะของความเคนที่จุด A และ B
เนื่องจากภาระแบบลาชนิด Fully revers และวัสดุเปนเหล็กหรืออลูมิเนียม ซึ่งมีคาความ
ปลอดภัยเทากับ 2 โดยเหล็กกำหนดใหกำหนดอายุการใชงานไมจำกัด (Infinite life) สวน
อลูมิเนียมกำหนดใชงานกระทั่งรอบการรับความเคนถึง N = 5E8 รอบ กำหนดให คาปจจัย
ความเคนหนาแนนเนื่องจากโมเมนตดัด K f = 2.8 และเนื่องจากโมเมนตบิด K fs = 3.2
7-59

15. ทำซ้ำขอ 13 โดยใชวัสดุเปนเหล็กหลอ (Cast iron)


16. ทำซ้ำขอ 14 โดยใชวัสดุเปนเหล็กหลอ (Cast iron)
17. คานรูป Semicircular ดังรูป โดยมี OD = 150 mm, ID = 100 mm และ t = 25 mm และ
มี ข นาดคู แ รงกระทำ F = ±3 kN โดยกระทำตามแนวเส น ผ า นศู น ย ก ลาง จงหาค า ความ
ปลอดภัยที่ขอบดานในและขอบดานนอกของชิ้นงาน เมื่อ
(a) คานทำจากเหล็กกลา ที่มีคา Sut = 700 MPa
(b) คานทำจากเหล็กหลอ ที่มีคา Sut = 420 MPa

You might also like