POL-4100-1-64

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 128

ข้อสอบ POL 4100 1/64 1

การสอบไล่ภาค 1 ปีการศึกษา 2564


......................
 คาสั่ง : ให้นักศึกษาเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว (ข้อสอบมีทั้งหมด 100 ข้อ)

1. ศาสตร์แห่งรัฐ (Staatswissenschaft) เป็นการศึกษารัฐศาสตร์ในยุคใด


1. ยุคหลังพฤติกรรมศาสตร์ 2. ยุคปรัชญาการเมือง 3. ยุคสถาบันนิยม
4. ยุคพฤติกรรมศาสตร์ 5. ยุคเปลี่ยนผ่านสู่รัฐศาสตร์สมัยใหม่
ตอบ 3 ยุคสถาบันนิยม (Institutional Period) เป็นยุคที่เริ่มต้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยมีจุดมุ่งหมายหลัก
ของการศึกษาการเมืองในยุคนี้คือ เน้นศึกษา “รัฐ” ดังนั้นนักรัฐศาสตร์จึงเลือกศึกษาสถาบันที่เป็นทางการของรัฐ
(Formal Institution) เพราะเชื่อว่าสถาบันทางการเมืองที่ประกอบกันขึ้นเป็นรัฐจะสามารถสะท้อนความเป็น
จริงของรัฐได้ เช่นรัฐธรรมนูญ กฎหมายมหาชน รัฐสภา ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร เป็นต้น ซึ่งทาให้การศึกษา
รัฐศาสตร์ในยุคนี้ถูกเรียกว่า ศาสตร์แห่งรัฐ (Staatswissenschft)

2. “การศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้พบข้อเท็จจริง” ข้อความดังกล่าวสัมพันธ์กับตัวเลือกใดมากที่สุด


1. Remember 2. Research 3. Recover
4. Researcher 5. Resume
ตอบ 2 การวิจัย (Research) คือ การศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ ข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้พบข้อเท็จจริง หรือ
หลักการไปใช้ในการตั้งกฎ ทฤษฎี หรือแนวทางในการปฏิบัติ หรือการค้นหาคาตอบในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างเป็น
ระบบ ซึ่งเป็นกระบวนการในการแสวงหาความรู้โดยอยู่บนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ และเน้นภาวะวิสัย
(Objective) โดยความรู้ต้องสามารถสังเกตได้อย่างมีระบบ สามารถพิสูจน์ซ้าได้ มีการแยกค่านิยมออกจากสิ่งที่
ศึกษา (Value Free) และมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อเป็นการพิสูจน์ (Verify) และการอธิบาย (Explanation)
ตลอดจนการทานาย

3. การคาดเดาคาตอบ คือขั้นตอนใดของการแสวงหาความรู้แบบวิทยาศาสตร์
1. การสังเกตและระบุปัญหา 2. การตั้งสมมติฐาน 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. การสรุปผล
ตอบ 2 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) มี 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. การสังเกตและระบุปัญหา (Observation and Problem Identification) เป็นการรับรู้ผ่านประสาท
สัมผัสทั้ง 5 และเกิดความสงสัยจนนาไปสู่การตั้งคาถามการวิจัย
2. การตั้งสมมุติฐาน (Assumption /Hypothesis) เป็นขั้นตอนหลังจากตั้งคาถามการวิจัยแล้ว นักวิจัยจะต้อง
คาดเดาคาตอบล่วงหน้า ถ้าไม่ทาจะไม่สามารถกาหนดแนวทางในการค้นหาคาตอบได้
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) เช่น การเก็บข้อมูลด้วยการสังเกต การเก็บข้อมูลจากเอกสาร
ขั้นต้น การสอบถามผู้รู้โดยวิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group)
4. การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) เป็นการนาข้อมูลมาจัดเรียงหรือพิจารณาว่าข้อมูลดิบที่ได้นั้นสามารถ
นามาใช้ตอบคาถามได้หรือไม่
5. การสรุปผล (Conclusion) เป็นการนาคาตอบที่ค้นพบได้มากล่าวอย่างย่อ ๆ ซ้าอีกรอบหนึ่ง
ข้อสอบ POL 4100 1/64 2

4. สมาคมรัฐศาสตร์อเมริกัน (APSA) มีความเกี่ยวข้องกับการศึกษารัฐศาสตร์ยุคใด


1. ยุคหลังพฤติกรรมศาสตร์ 2. ยุคปรัชญาการเมือง 3. ยุคสถาบันนิยม
4. ยุคพฤติกรรมศาสตร์ 5. ยุคเปลี่ยนผ่านสู่รัฐศาสตร์สมัยใหม่
ตอบ 5 ยุคเปลี่ยนผ่านสู่รัฐศาสตร์สมัยใหม่ (Transitional Period) เป็นยุคที่มีการก่อตั้งสมาคมรัฐศาสตร์
อเมริกัน (American Political Science Association : APSA) ในปี ค.ศ. 1908 โดยนักรัฐศาสตร์
อเมริกันเริ่มมองว่า วิธีการศึกษาแบบเก่า หรือการศึกษาเชิงโครงสร้าง ไม่สามารถสะท้อนความเป็นจริงออกมาได้
ดังนั้นการศึกษาในยุคนี้จึงเป็นการเริ่มกรุยทางไปสู่ศักราชใหม่ของรัฐศาสตร์แบบวิทยาศาสตร์การเมือง อย่างไรก็
ตาม วิธีการศึกษาแบบเก่าคือ สถาบันนิยม ยังคงมีอิทธิพลอยู่ เพียงแต่เริ่มมีการท้าทายจากวิธีการศึกษาแบบ
อเมริกัน

5. การวิจัยประเภทใดที่ข้อมูลไม่ได้วัดออกมาเป็นตัวเลข เช่น ความคิดทางการเมือง


1. การวิจัยเชิงคุณภาพ 2. การวิจัยเชิงสารวจ 3. การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
4. การวิจัยแบบผสม 5. การวิจัยเชิงปริมาณ
ตอบ 1 การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการวิจัยของข้อมูลที่ไม่ได้วัดออกมาเป็นตัวเลข
เช่น ทัศนคติทางการเมือง ความคิดทางการเมือง ความเชื่อในเรื่องต่าง ๆ ประวัติชีวิตของคนๆ หนึ่ง เป็นต้น

6. การศึกษารัฐศาสตร์ในยุคคลาสสิคเป็นการศึกษาประเด็นใด
1. การเมืองเปรียบเทียบ 2. การปกครองเปรียบเทียบ 3. สถาบันทางการเมือง
4. ปรัชญาการเมือง 5. พฤติกรรมทางการเมือง
ตอบ 4 ยุคคลาสสิค (Classical) เป็นยุคแรกเริ่มของการศึกษาการเมืองไม่มีการแยกสาขาของความรู้ โดยถือ
กาเนิดจากยุคกรีกซึ่งเกิดจากคาถามพื้นฐานของมนุษย์รับและผู้มีอานาจ เช่น ผู้นาที่ดีต้องมีคุณสมบัติอย่างไร
การเมืองที่ดีควรจะเป็นอย่างไร ฯลฯ ซึ่งความเป็นสากลของคาถามพื้นฐานเหล่านี้สามารถตั้งคาถามชุดเดียวกัน
โดยไม่จากัดกรอบเวลาหรือวัฒนธรรม แต่ในขณะเดียวกันก็สามารถมีคาตอบได้หลากหลาย ดังนั้นการศึกษา
รัฐศาสตร์ในยุคนี้จึงมีลักษณะเป็นการศึกษาแนวปรัชญาการเมือง (Political Philosophy Approach)

7. นายสิระทาวิจัยเรื่องนโยบายป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่นของสานักงาน ป.ป.ช. หลังจากเก็บรวบรวมข้อมูลเสร็จ


แล้ว ขั้นตอนการวิจัยต่อไปที่ต้องทาคือขั้นตอนใด
1. การสังเกตและระบุปัญหา 2. การตั้งสมมติฐาน 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. การสรุปผล
ตอบ 4 ดูคาอธิบายข้อ 3. ประกอบ

8. การตอบคาถามของการวิจัย คือขั้นตอนใดของการแสวงหาความรู้แบบวิทยาศาสตร์
1. การสังเกตและระบุปัญหา 2. การตั้งสมมติฐาน 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. การสรุปผล
ตอบ 4 ดูคาอธิบายข้อ 3. ประกอบ
ข้อสอบ POL 4100 1/64 3

9. ยุคย้อนกลับแห่งการศึกษาการเมืองแบบยุโรป เป็นการศึกษารัฐศาสตร์ยุคใด
1. ยุคหลังพฤติกรรมศาสตร์ 2. ยุคปรัชญาการเมือง 3. ยุคสถาบันนิยม
4. ยุคพฤติกรรมศาสตร์ 5. ยุคเปลี่ยนผ่านสู่รัฐศาสตร์สมัยใหม่
ตอบ 1 ยุคหลังพฤติกรรมศาสตร์ (Post-Behavioral Period) เป็นยุคของการศึกษารัฐศาสตร์ในปัจจุบันคือ
ยุคตั้งแต่ทศวรรษ 1970 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันในยุคนี้ถือเป็นยุคแห่งการกลับมาของการศึกษาแบบเดิมที่ถูกละ
ทิ้งและไม่ให้ความสนใจจากการพยายามครอบงาของพวกพฤติกรรมศาสตร์การศึกษาแบบปรัชญาการเมืองและ
การศึกษาแบบสถาบันจึงได้เริ่มกลับมาได้รับความสนใจและทาการศึกษากันอีกครั้งหนึ่ง นักวิชาการบางคนจะ
เรียกยุคดังกล่าวว่า ยุคย้อนกลับแห่งการศึกษาการเมืองแบบยุโรป (Period of Re-Europeanization)

10. นายเนวินมีความสนใจที่จะทาวิทยานิพนธ์หัวข้อบทบาททางการเมืองของนักการเมืองในจังหวัดบุรีรัมย์ โดยการตั้ง


คาถามในสิ่งที่สนใจ ขั้นตอนการวิจัยดังกล่าวคือขั้นตอนใด
1. การสังเกตและระบุปัญหา 2. การตั้งสมมติฐาน 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. การสรุปผล
ตอบ 1 ดูคาอธิบายข้อ 3. ประกอบ

11. นางนวลพรรณทาวิจัยเรื่องฟุตบอลกับการเมืองไทย ขั้นตอนการวิจัยขั้นตอนสุดท้ายที่ต้องทาคือขั้นตอนใด


1. การสังเกตและระบุปัญหา 2. การตั้งสมมติฐาน 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. การสรุปผล
ตอบ 5 ดูคาอธิบายข้อ 3. ประกอบ

12. นายชูวิทย์ทาวิจัยเรื่องปัญหาการวิ่งเต้นแต่งตั้งโยกย้ายตารวจภายในสานักงานตารวจแห่งชาติ และมีการคาดเดา


คาตอบล่วงหน้าต่อปัญหาที่เกิดขึ้น ขั้นตอนการวิจัยดังกล่าวคือขั้นตอนใด
1. การสังเกตและระบุปัญหา 2. การตั้งสมมติฐาน 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. การสรุปผล
ตอบ 2 ดูคาอธิบายข้อ 3. ประกอบ

13. จุดเริ่มต้นของการวิจัย คือขั้นตอนใดของการแสวงหาความรู้แบบวิทยาศาสตร์


1. การสังเกตและระบุปัญหา 2. การตั้งสมมติฐาน 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. การสรุปผล
ตอบ 1 ดูคาอธิบายข้อ 3. ประกอบ

14. นายชลน่านทาวิจัยเรื่องข้อเสนอการแก้ไขรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 มีการแจกแบบสอบถามไปยังประชาชน 2,000


คน เพื่อต้องการข้อมูลไปวิเคราะห์ ขั้นตอนการวิจัยดังกล่าวคือขั้นตอนใด
1. การสังเกตและระบุปัญหา 2. การตั้งสมมติฐาน 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. การสรุปผล
ตอบ 3 ดูคาอธิบายข้อ 3. ประกอบ
ข้อสอบ POL 4100 1/64 4

15. นายทัตเทพทาวิจัยเรื่องการชุมนุมของม็อบทะลุฟ้า โดยเข้าไปสังเกตดูว่าการเคลื่อนไหวของม็อบทะลุฟ้า มีการ


เคลื่อนไหวระดมพลอย่างไร การทาวิจัยของนายทัตเทพคือประเภทของการวิจัยแบบใด
1. การวิจัยเชิงเอกสาร 2. การวิจัยเชิงสารวจ 3. การวิจัยประยุกต์
4. การวิจัยเชิงสังเกต 5. การวิจัยเชิงอธิบาย
ตอบ 4 การวิจัยเชิงสังเกต (Observatory Research) เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยนั้นจะเข้าไปเฝ้าสังเกตการณ์
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่ต้องการศึกษา เช่น การเข้าไปสังเกตการณ์ชุมนุมทางการเมืองของม็อบทะลุฟ้า เป็นต้น

16. นายชัชชาติทาวิจัยการสารวจผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร การทาวิจัยของนายชัชชาติ


คือประเภทของการวิจัยแบบใด
1. การวิจัยเชิงเอกสาร 2. การวิจัยเชิงสารวจ 3. การวิจัยประยุกต์
4. การวิจัยเชิงสังเกต 5. การวิจัยเชิงอธิบาย
ตอบ 2 การวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) เป็นการวิจัยเพื่อเก็บข้อมูลพื้นฐานในด้านต่าง ๆ โดยจะไม่
เน้นการอธิบายหรือวิเคราะห์ถึงสาเหตุการเกิดขึ้นของข้อมูล แต่จะมุ่งเก็บข้อมูลที่เป็นรูปธรรมที่สังเกตเห็นได้ง่าย
ตัวอย่างเข่น การสารวจผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งของไทยในการเลือกตั้งปี พงศ. 2562 ว่ามีผู้มาใช้สิทธิกี่คน ไม่มา
ใช้สิทธิกี่คน การสารวจผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นต้น

17. นายโทนี่ทาวิจัยเรื่องการตลาดทางการเมืองของรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา โดยใช้ข้อมูลจากหนังสือ ตารา


และบทความต่าง ๆ การทาวิจัยของนายโทนี่คือประเภทของการวิจัยแบบใด
1. การวิจัยเชิงเอกสาร 2. การวิจัยเชิงสารวจ 3. การวิจัยประยุกต์
4. การวิจัยเชิงสังเกต 5. การวิจัยเชิงอธิบาย
ตอบ 1 การวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) เป็นการวิจัยแบบหนึ่งที่ใช้ข้อมูลจากเอกสารสื่อ
สิ่งพิมพ์ต่างๆ หรือสื่อข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต เช่น หนังสือพิมพ์ เอกสารราชการ หนังสือ ตารา บทความต่าง ๆ
คลิป YouTube เป็นต้น

18. นายสมชัยทาวิจัยเรื่องการแก้ปัญหาการซื้อสิทธิ์ขายเสียงการเลือกตั้ง โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อนาไปใช้การทาวิจัยของ


นายสมชัยคือประเภทของการวิจัยแบบใด
1. การวิจัยเชิงเอกสาร 2. การวิจัยเชิงสารวจ 3. การวิจัยประยุกต์
4. การวิจัยเชิงสังเกต 5. การวิจัยเชิงอธิบาย
ตอบ 3 การวิจัยประยุกต์ (Applied Research) เป็นการวิจัยที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อนาไปใช้ ซึ่งเป็นการวิจัย
ตลาด การวิจัยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ เช่น การวิจัยเพื่อแก้ปัญหาการซื้อสิทธิ์ขาย
เสียงการเลือกตั้ง เป็นต้น

19. บุคคลใดมีวิธีการเขียน “ที่มาและความสาคัญของปัญหาการวิจัย” ได้อย่างเหมาะสมมากที่สุด


1. นายสืบศักดิ์นาเสนอประเด็นทั้งหมดเท่าที่วงวิชาการมีการศึกษามา
2. นายชัชชาติหลีกเลี่ยงการอ้างอิงแหล่งข้อมูลเพื่อความสั้นกระชับของเนื้อหา
3. นายหมูป่าขมวดประเด็นในย่อหน้าสุดท้ายเพื่อปูทางไปสู่หัวข้อในวัตถุประสงค์การวิจัย
4. นายประวิตรเลือกนาเสนอเพียงบางประเด็นที่น่าสนใจของงานวิจัยเท่านั้น
ข้อสอบ POL 4100 1/64 5

5. นายชูศักดิ์เลือกการนาเสนอด้วยตารางแทนการเขียนพรรณนาทั้งหมด
ตอบ 3 การเขียนที่มาและความสาคัญของปัญหาการวิจัยที่เหมาะสม ผู้วิจัยต้องคานึงถึงหลักสาคัญดังนี้คือ
1. การเขียนให้ตรงประเด็น ไม่เยิ่นเย้อหรืออ้อมค้อมวกวน
2. การเขียนให้ครอบคลุมประเด็นสาคัญของปัญหา
3. การเขียนให้มีความยาวเหมาะสมไม่สั้นจนเกินไป
4. การหลีกเลี่ยงการนาตัวเลขและตารางยาว ๆ หรือข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้องมาใส่
5. มีการอ้างอิงแหล่งที่มาของเอกสารประกอบอย่างสมบูรณ์เสมอ
6. ผู้วิจัยต้องขมวดหรือสรุปประเด็นในย่อหน้าสุดท้ายให้มีส่วนเชื่อมโยงกับหัวข้อในวัตถุประสงค์การวิจัยเป็นต้น

20. การสารวจผู้มีสิทธิเลือกตั้งของไทยในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2562 ว่ามีผู้มาใช้สิทธิกี่คน ไม่มาใช้สิทธิกี่คนคือประเภท


ของการวิจัยแบบใด
1. การวิจัยเชิงเอกสาร 2. การวิจัยเชิงสารวจ 3. การวิจัยประยุกต์
4. การวิจัยเชิงสังเกต 5. การวิจัยเชิงอธิบาย
ตอบ 2 ดูคาอธิบายข้อ 19. ประกอบ

21. เป็นข้อมูลที่ไม่ได้วัดออกมาเป็นตัวเลข เช่น ความคิดทางการเมือง คือประเทของการวิจัยแบบใด


1. การวิจัยเชิงปริมาณ 2. การวิจัยเชิงสังเกต 3. การวิจัยประยุกต์
4. การวิจัยเชิงคุณภาพ 5. การวิจัยบริสุทธิ์
ตอบ 4 ดูคาอธิบายข้อ 8. ประกอบ

22. เป็นข้อมูลทีส่ ามารถจะวัดออกมาเป็นตัวเลขได้ เช่น ระดับการศึกษา คือประเภทของการวิจัยแบบใด


1. การวิจัยเชิงปริมาณ 2. การวิจัยเชิงสังเกต 3. การวิจัยประยุกต์
4. การวิจัยเชิงคุณภาพ 5. การวิจัยบริสุทธิ์
ตอบ 1 การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็นการวิจัยของข้อมูลที่สามารถจะวัดออกมาเป็น
ตัวเลขได้ และหาความสัมพันธ์ระหว่างค่าตัวแปรนั้น ๆ โดยใช้เครื่องมือทางสถิติมาศึกษาปรากฏการณ์ เช่น ระดับ
รายได้ ระดับการศึกษา อัตราการอ่านออกเขียนได้ของประชาชน มีผลต่อการที่ประเทศหนึ่ง ๆ มีระดับของความ
เป็นประชาธิปไตยได้มากน้อยแค่ไหน โดยคิดออกมาเป็นเปอร์เซ็นต์ เป็นต้น

23. Review Literature คือสิ่งใด


1. โครงร่างการวิจัย 2. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ 3. การออกแบบการวิจัย
4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5. การเผยแพร่ผลงานวิจัย
ตอบ 4 การทบทวนวรรณกรรม (Review Literature) เป็นการศึกษาถึงงานวิจัยอื่นๆ ที่เคยทามาในอดีต ว่า
เคยมีการศึกษาเรื่องที่เราสงสัยไว้แล้วหรือไม่ เพราะบางครั้งในอดีตอาจจะมีคนที่สงสัยในเรื่องหนึ่ง ๆ เช่นเดียวกับ
เรา เราก็อาจจะทางานวิจัยของเราเพิ่มเติมจากสิ่งที่คนอื่นได้เคยทาไปแล้วในอดีต งานวิจัยในอดีต ตลอดจนตารา
หรือเอกสารต่าง ๆ เหล่านี้ เราเรียกว่า วรรณกรรม (Literature) หรือบางทีอาจจะเรียกว่า “งานวิจัยที่
เกี่ยวข้อง” ก็ได้
ข้อสอบ POL 4100 1/64 6

24. ญาณวิทยาของการหาความรู้แบบวิทยาศาสตร์ คือแบบใด


1. แบบปทัสฐานนิยม 2. แบบปฏิฐานนิยม 3. แบบสถาบันนิยม
4. แบบหลังปทัสฐานนิยม 5. แบบหลังปฏิฐานนิยม
ตอบ 2 แนวคิดสานักปฏิฐานนิยม (Positivism) เป็นแนวคิดที่ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยมีความเชื่อว่า
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติสามารถอธิบายได้ด้วยกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ และมนุษย์
สามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 โดยความรู้จะเข้าสู่จิตใจของมนุษย์ผ่านประสาทสัมผัสและมนุษย์จะเก็บ
ความรู้นั้นไว้ในรูปของความจาและความจาจะสามารถผสมผสานหรือรวมกันได้โดยใช้จินตนาการ ในแง่ของญาณ
วิทยาพบว่าวิธีการแสวงหาความรู้แบบปฏิฐานนิยมเป็นวิธีการแสวงหาความรู้แบบวิทยาศาสตร์หรือแบบสมัยใหม่
นั่นเอง
25. นายวิษณุทาวิจัยเรื่องความชอบธรรมของผู้ปกครอง กรณีศึกษานายกรัฐมนตรีของไทยที่มาจากการเลือกตั้ง โดยมี
จุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มพูนความรู้ในทางวิชาการ การทาวิจัยของนายวิษณุคือประเภทของการวิจัยแบบใด
1. การวิจัยเชิงปริมาณ 2. การวิจัยเชิงสังเกต 3. การวิจัยประยุกต์
4. การวิจัยเชิงคุณภาพ 5. การวิจัยบริสุทธิ์
ตอบ 5 การวิจัยบริสุทธิ์ (Pure Research) เป็นการวิจัยที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มพูนความรู้ในทางวิชาการ ซึ่ง
เป็นการวิจัยในทางเชิงทฤษฎีต่าง ๆ เช่น การวิจัยเรื่องความชอบธรรมของผู้ปกครอง, การวิจัยเรื่องความยุตะรรม
ในกฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นต้น

26. “เปรียบเสมือนแว่นตาที่ใช้การมองดูปรากฏการณ์ต่าง ๆ” ข้อความดังกล่าวสัมพันธ์กับตัวเลือกใดมากที่สุด


1. วิธีการวิจัย 2. การสรุปผล 3. แนวการวิเคราะห์
4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5. ระเบียบวิธีวิจัย
ตอบ 3 แนวการวิเคราะห์ (Approach) หรือกรอบการวิเคราะห์ เป็นเครื่องมือในการมองปรากฏการณ์ ซึ่ง
เปรียบเสมือนแว่นตาที่ใช้การมองดูปรากฏการณ์ต่าง ๆ กล่าวคือ วิธีการมองปรากฏการณ์ใด ๆ โดยผ่านกรอบการ
วิเคราะห์นั้นมันจะเหมือนกับการใส่แว่นสีต่างๆ หรือด้วยเลนส์ขนาดต่าง ๆ ที่จะช่วยให้เรามองเห็นปรากฏการณ์
นั้นชัดขึ้น อีกทั้งยังช่วยในเรื่องวิธีการศึกษาปรากฏการณ์ทางการเมืองด้วย ทั้งนี้เพราะกรอบการวิเคราะห์หนึ่งจะ
มาพร้อมกับวิธีการวิจัยหรือวิธีการศึกษาปรากฏการณ์โดยอัตโนมัติ

27. นายชวนมีข้อค้นพบการวิจัยที่ว่า “การที่ประชาชนขายเสียงในการเลือกตั้งเพราะคานวณแล้วว่ารับเงินมาแล้วไป


เลือกตั้งดีกว่า ดังนั้นจึงรับเงินและไปลงคะแนนให้คนที่ให้เงินมากที่สุดจึงเป็นการสนองประโยชน์ของตนได้ดีที่สุด”
ข้อค้นพบการวิจัยของนายชวนสอดคล้องกับแนวการวิเคราะห์ใด
1. แนวการวิเคราะห์การตัดสินใจอย่างมีเหตุมีผล 2. แนวการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์
3. แนวการวิเคราะห์กลุ่มผลประโยชน์ 4. แนวการวิเคราะห์สถาบัน
5. แนวการวิเคราะห์จิตวิทยา
ตอบ 1 แนวการวิเคราะห์การตัดสินใจอย่างมีเหตุมีผล (Rational Approach) หรือบางทีก็เรียกว่า
Rational Choice Approach จะมีสมมุติฐานที่สาคัญคือ มนุษย์ทุกคนเป็นมนุษย์ที่มีเหตุมีผล เวลาจะทาอะไร
แล้วจะคานวณอยู่ตลอดเวลาว่าตนเองได้ประโยชน์อย่างไร และเสียประโยชน์อย่างไร และเมื่อคานวณดูผลลัพธ์
ในทางต่าง ๆ ที่น่าจะเป็นแล้ว คน ๆ นั้นก็จะทาตามในทางที่ตนเองได้ประโยชน์มากที่สุด หรือในกรณีที่ตนเองไม่มี
ข้อสอบ POL 4100 1/64 7

ทางจะได้ประโยชน์คนๆ นั้นก็จะเลือกวิธีการที่ตนเองจะเสียเปรียบน้อยที่สุด ซึ่งเป็นแนวคิดที่ได้รับอิทธิพลจากวิธี


คิดทางเศรษฐศาสตร์

28. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการศึกษารัฐศาสตร์ในยุคพฤติกรรมศาสตร์
1. การศึกษาแนวปทัสฐานนิยม 2. การศึกษาแนวปฏิฐานนิยม 3. วิทยาศาสตร์การเมือง
4. วิธีการศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ 5. การศึกษาแบบมุ่งทานาย
ตอบ 1 ยุคพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Period) เป็นยุคที่ปรากฏในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ.
1950-1960) ซึ่งพบว่าการวิจัยในทางรัฐศาสตร์นั้นมีลักษณะเป็นแบบ “ปฏิฐานนิยม” (Positivism) และยังเน้น
การทานายพฤติกรรมทางการเมือง การตัดสินใจในทางการเมือง ดังนั้นการศึกษาในยุคนี้จึงเป็นการศึกษาแบบมุ่ง
ทานาย ไม่เน้นพรรณนาบรรยายอย่างในยุคก่อนหน้า ซึ่งในยุคนี้รัฐศาสตร์ถูกเรียกว่า “วิทยาศาสตร์การเมือง”
(Political Science) เพราะต้องการเน้นย้าให้เห็นว่าเป็นวิธีการศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การศึกษา
จิตวิทยาผู้นาทางการเมือง พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง วัฒนธรรมทางการเมือง เป็นต้น

29. การเขียนบทความวิจัยเผยแพร่ลงในวารสาร ตรงกับขั้นตอนการวิจัยทางรัฐศาสตร์ขั้นตอนใด


1. การทบทวนวรรณกรรม 2. การตั้งสมมติฐาน 3. การนาเสนอรายงานการวิจัย
4. การกาหนดปัญหาการวิจัย 5. การออกแบบการวิจัย
ตอบ 3 การนาเสนอรายงานการวิจัย (Reporting) เมื่อผู้วิจัยได้ข้อมูล และได้วิเคราะห์เพื่อหาคาตอบของการ
วิจัยได้เรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยก็จะต้องเขียนรายงานผลการวิจันออกมาเป็นรูปเล่ม เช่น วิทยานิพนธ์หรือปริญญา
นิพนธ์ บทความที่ลงในวารสาร (วารสารทางวิชาการ และวารสารสาหรับประชาชนทั่วไป) บทความที่ลงใน
หนังสือพิมพ์ หรือเผยแพร่ทางสื่อมวลชนชนิดอื่น ๆ เป็นต้น

30. วิธีการสัมภาษณ์ แบบสอบถาม การสนทนากลุ่ม ตรงกับขั้นตอนการวิจัยทางรัฐศาสตร์ขั้นตอนใด


1. การทบทวนวรรณกรรม 2. การตั้งสมมติฐาน 3. การนาเสนอรายงานการวิจัย
4. การกาหนดปัญหาการวิจัย 5. การออกแบบการวิจัย
ตอบ 5 การออกแบบการวิจัย (Designing Research) เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยพิจารณาเพื่อเลือกวิธีการในการ
ที่จะเก็บข้อมูลหรือเลือกเครื่องมือต่าง ๆ ที่จะนาไปเก็บข้อมูล เช่น การใช้วิธีการสัมภาษณ์ การเก็บแบบสอบถาม
การสนทนากลุ่ม เป็นต้น

31. “วิธีการต่าง ๆ ที่จะใช้ในการให้ได้มากซึ่งข้อมูล และรวมถึงวิธีการในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อหาคาตอบต่อปัญหา


ในการวิจัย” ข้อความดังกล่าวสัมพันธ์กับตัวเลือกใดมากที่สุด
1. การทบทวนวรรณกรรม 2. วิธีการวิจัย 3. ระเบียบวิธีวิจัย
4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5. สมมติฐาน
ตอบ 2 วิธีการวิจัย (Research Methods) หมายถึง วิธีการต่าง ๆ ที่ใช้ในการค้นหาคาตอบ หรือกล่าวง่าย ๆ
ก็คือ วิธีการต่าง ๆที่ตะใช้ในการให้ได้มาซึ่งข้อมูล และรวมถึงวิธีการในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อหาคาตอบต่อ
ปัญหาในการวิจัยในเรื่องหนึ่ง ๆ
ข้อสอบ POL 4100 1/64 8

32. “องค์ความรู้ที่มุ่งศึกษาเกี่ยวกับวิธีการต่าง ๆ ที่นามาใช้ในการวิจัย ตลอดจนเป็นการศึกษาถึงแนวคิดพื้นฐานความ


เชื่อต่าง ๆ ที่อยู่ภายใต้วิธีการวิจัยในแต่ละแบบ” ข้อความดังกล่าวสัมพันธ์กับตัวเลือกใดมากที่สุด
1. การทบทวนวรรณกรรม 2. วิธีการวิจัย 3. ระเบียบวิธีวิจัย
4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5. สมมติฐาน
ตอบ 3 ระเบียบวิธีวิจัย (Methodology) หมายถึง องค์ความรู้ที่มุ่งมั่นศึกษาเกี่ยวกับวิธีต่าง ๆ ที่นามาใช้ในการ
วิจัย ตลอดจนจะเป็นการศึกษาถึงแนวคิดพื้นฐาน ความเชื่อต่าง ๆ ที่อยู่ภายใต้การวิจัยในแต่ละแบบ ซึ่งใน
การศึกษาทางรัฐศาสตร์สมัยใหม่สามารถนามาใช้ในการอธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองที่ผ่านการศึกษาค้นคว้า
อย่างเป็นระบบ

33. นายเสรีพิศุทธ์นาเสนอหัวข้อวิจัยเรื่อง “พัฒนาการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในสังคมไทย”


นายเสรีพิศุทธ์ใช้แนวการวิเคราะห์ใดในการนาเสนอหัวข้อวิจัย
1. แนวการวิเคราะห์การตัดสินใจอย่างมีเหตุมีผล 2. แนวการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์
3. แนวการวิเคราะห์กลุ่มผลประโยชน์ 4. แนวการวิเคราะห์สถาบัน
5. แนวการวิเคราะห์จิตวิทยา
ตอบ 2 แนวการวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์ (Historical Approach) มีสมมติฐานว่า ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้นในปัจจุบันนั้นมีที่มาจากพัฒนาการที่คลี่คลายตามลาดับเหตุการณ์อันเชื่อมโยงมาจากเหตุการณ์ที่สาคัญ ๆ
ก่อนหน้านั้น ดังนั้นนักรัฐศาสตร์ที่ศึกษาปรากฏการณ์ทางการเมืองต่าง ๆ ตามช่วงเวลาในอดีตหรือปัจจุบัน จึง
จาเป็นที่จะต้องย้อนกลับไปดูวิวัฒนาการของเหตุการณ์ก่อนหน้าในช่วงยาว แล้วพิจารณาดูว่าเหตุการณ์ไหนเป็น
เหตุการณ์ตั้งต้นที่เป็นสาเหตุของเหตุการณ์ในปัจจุบัน เช่น พัฒนาการป้องกันและปราบปรามการทุจริตใน
สังคมไทย เป็นต้น

34. นายประวิตรนาเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์เรื่อง “การเกิดขึ้นของกลุ่มการเมืองในพรรคพลังประชารัฐ”


หัวข้อวิทยานิพนธ์ของนายประวิตรสอดคล้องกับแนวการวิเคราะห์ใด
1. แนวการวิเคราะห์การตัดสินใจอย่างมีเหตุมีผล 2. แนวการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์
3. แนวการวิเคราะห์กลุ่มผลประโยชน์ 4. แนวการวิเคราะห์สถาบัน
5. แนวการวิเคราะห์จิตวิทยา
ตอบ 3 แนวการวิเคราะห์เชิงกลุ่มผลประโยชน์ (Group Approach) เกิดขึ้นมาจากนักรัฐศาสตร์ที่ชื่อ
Arthur F. Bentley โดยเขาเสนอว่า พฤติกรรมทางการเมืองของแต่ละคนนั้นไม่ได้มีบทบาททางการเมืองแต่
อย่างใด คนแต่ละคนจะมีบทบาทได้นั้น คนต้องร่วมกันเป็นกลุ่มเพื่อเรียกร้องหรือต่อต้านต่อระบบการเมือง
พฤติกรรมของแต่ละคนนั้นเมื่ออยู่คนเดียวก็จะมีพฤติกรรมอย่างหนึ่ง แต่เมื่อไปอยู่รวมกลุ่ม มนุษย์แต่ละคนก็จะมี
พฤติกรรมอีกอย่างหนึ่ง ตัวอย่างเช่น การเกิดขึ้นของกลุ่มการเมืองในพรรคพลังประชารัฐ เป็นต้น
35. นางสาวเฌอเอมทาวิทยานิพนธ์เรื่อง “การเปรียบเทียบระบอบประชาธิปไตยกับระบอบเผด็จการ”
นางสาวเฌมเอมใช้แนวการวิเคราะห์ใดในการทาวิทยานิพนธ์
1. แนวการวิเคราะห์การตัดสินใจอย่างมีเหตุมีผล 2. แนวการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์
3. แนวการวิเคราะห์กลุ่มผลประโยชน์ 4. แนวการวิเคราะห์สถาบัน
5. แนวการวิเคราะห์จิตวิทยา
ข้อสอบ POL 4100 1/64 9

ตอบ 4 แนวการวิเคราะห์เชิงสถาบัน (Institutionalism/Institutional Approach) เป็นการศึกษา


รัฐศาสตร์ที่เน้นหนักในเรื่องกฎหมายรัฐธรรมนูญ และอิทธิพลของโครงสร้างทางการเมืองที่มีต่อการเมือง โดยเชื่อ
ว่าโครงสร้างทางการเมืองและสถาบันทางการเมืองต่าง ๆ เป็นตัวกาหนดให้เกิดพฤติกรรมทางการเมืองต่าง ๆ
ออกมา ซึ่งแนวการวิเคราะห์นี้เลือกที่จะศึกษาเป็นรายประเทศ หรือนาสองประเทศหรือหลายประเทศมาทาการ
เปรียบเทียบรูปแบบการปกครอง องค์กร และสถาบันทางการเมืองในประเทศนั้นๆ มาร่วมด้วยก็ได้ ตัวอย่างเช่น
การเปรียบเทียบระบอบประชาธิปไตยกับระบอบเผด็จการ เป็นต้น

36. นายครูใหญ่ทาวิจัยเรื่อง “ปัจจัยทางจิตวิทยาที่มีผลต่อการออกไปชุมนุมต่อต้านรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ของกลุ่ม


เยาวชนปลดแอก” นายครูใหญ่ใช้แนวการวิเคราะห์ใดในการทาวิจัย
1. แนวการวิเคราะห์การตัดสินใจอย่างมีเหตุมีผล 2. แนวการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์
3. แนวการวิเคราะห์กลุ่มผลประโยชน์ 4. แนวการวิเคราะห์สถาบัน
5. แนวการวิเคราะห์จิตวิทยา
ตอบ 5 แนวการวิเคราะห์เชิงจิตวิทยา (Psychological Approach) มีความเชื่อพื้นฐานว่าสาเหตุในการ
กระทาเรื่องใด ๆ ของมนุษย์ทุกคนนั้นมีที่มาจากปัจจัยในด้านจิตวิทยาเป็นหลัก ซึ่งมองว่าปัจจัยทางจิตวิทยาต่าง
ๆ เช่น ทัศนคติ บุคลิกภาพ ความคิดเห็น มุมมองทางการเมือง ค่านิยม ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมทางการเมือง เช่น
การตัดสินใจของผู้มาลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง การออกไปชุมนุมต่อต้านรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ ของกลุ่มเยาวชน
ปลดแอก เป็นต้น

37. ในกรณีที่งานวิจัยมีผู้วิจัยหลายคน การระบุรายชื่อของนักวิจัยที่หน้าปกใช้หลักการในข้อใดต่อไปนี้ในการ


เรียงลาดับรายชื่อที่อยู่บนหน้าปก
1. ตัวอักษร ก. ขึ้นก่อนไล่เรียงไปจนถึงตัวอักษร ฮ.
2. ผู้ที่มีอายุมากที่สุดขึ้นก่อนไล่เรียงไปถึงผู้ที่อายุน้อยที่สุด
3. ผู้ที่มีภาระในการลงมือทามากที่สุดขึ้นก่อน
4. ผู้ที่มีภูมิลาเนาในจังหวัดเดียวกันกับหน่วยงานผู้ให้ทุนขึ้นก่อน
5. ผู้ที่ออกเงินทุนในการวิจัยมากที่สุดขึ้นก่อน
ตอบ 3 ส่วนประกอบตอนต้นของงานวิจัย ทาหน้าที่ในฐานะการเปิดม่านเพื่อนาเสนอให้ผู้อ่านรู้จักงานวิจัยใน
เบื้องต้นว่างานวิจัยฉบับนี้มีผู้วิจัยเป็นใคร หรือใครเป็นคณะผู้วิจัยบ้าง กรณีที่งานวิจัยมีผู้วิจัยหลายคนนั้นมักเรียง
ตามภาระงานการมีส่วนร่วมจากมากไปหาน้อยเป็นสาคัญ กล่าวคือ ผู้ที่มีภาระในการลงมือทามากที่สุดจะมีรายชื่อ
ขึ้นก่อนในการเรียงลาดับรายชื่อที่อยู่บนหน้าปก

38. รายงานการวิจัยประเภทใดที่สามารถเกิดขึ้นได้ในขณะที่การวิจัยยังไม่เสร็จสิ้น
1. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2. รายงานการวิจัยฉบับสั้น
3. บทความตีพิมพ์ลงในวารสาร 4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 4 รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย (Interim Report) เป็นรายงานการวิจัยที่เขียนขึ้นในช่วงที่การ
วิจัยยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ดังนั้นจึงไม่จาเป็นต้องมีรายละเอียดในส่วนของขอบเขตการวิจัยและผลการศึกษา แต่
ผู้วิจัยจะมีเป้าหมายเพื่อรายงานผลการวิจัยแก่ผู้ให้ทุนหรือหน่วยงานต้นสังกัดเป็นระยะ ๆ ซึ่งรายงาน
ข้อสอบ POL 4100 1/64 10

ความก้าวหน้าดังกล่าวจะมีความสาคัญอย่างมากต่อการพิจารณาจัดสรรงบประมาณต่อเนื่องให้แก่ผู้วิจัย หรือการ
ตัดงบประมาณและระงับการให้ทุนได้หากผลการวิจัยไม่เป็นไปตามเงื่อนไขหรือสัมฤทธิผลที่ได้ทาสัญญากันไว้และ
ยังมีผลในการพิจารณาขยายระยะเวลาส่งงานวิจัยตามกาหนดอีกด้วย

39. “ขอบเขตของการวิจัยและผลการศึกษา” ไม่จาเป็นต้องปรากฏอยู่ในรายงานการวิจัยประเภทใด


1. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2. รายงานการวิจัยฉบับสั้น
3. บทความตีพิมพ์ลงในวารสาร 4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 4 ดูคาอธิบายข้อ 38. ประกอบ

40. รายงานการวิจัยประเภทใดที่มักย่อส่วนมาให้มีขนาดสั้นลงเพื่อความสะดวกในการเผยแพร่วางบนชั้นหนังสือใน
ห้องสมุด 1. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
2. รายงานการวิจัยฉบับสั้น 3. บทความตีพิมพ์ลงในวารสาร
4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย 5. การเขียนรายงานการวิจัยทุกประเภท
ตอบ 2 รายงานการวิจัยฉบับสั้น เป็นรายงานการวิจัยที่มีรายละเอียดย่อส่วนลงมาจากรายงานการวิจัยฉบับ
สมบูรณ์ โดยให้มีขนาดสั้นลงเพื่อความสะดวกในการเผยแพร่และวางบนชั้นหนังสือในห้องสมุด ซึ่งมักมีความหนา
ประมาณ 50 หน้ากระดาษ A4

41. รายงานการวิจัยประเภทใดที่มีผลต่อการพิจารณาขยายระยะเวลาส่งงานวิจัยตามกาหนดให้แก่ผู้วิจัย
1. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2. รายงานการวิจัยฉบับสั้น 3. บทความตีพิมพ์ลงในวารสาร
4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย 5. การเขียนรายงานการวิจัยทุกประเภท
ตอบ 4 ดูคาอธิบายในข้อ 38. ประกอบ

42. คาว่า Research Article สอดคล้องกับรายงานการวิจัยประเภทใดมากที่สุด


1. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2. รายงานการวิจัยฉบับสั้น 3. บทความตีพิมพ์ลงในวารสาร
4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย 5. การเขียนรายงานการวิจัยทุกประเภท
ตอบ 3 บทความวิจัย (Research Article) หรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ลงในวารสาร เป็นรายงานการวิจัย
ที่มักมีความยาวอยู่ที่ระหว่าง 15 – 25 หน้า ซึ่งวารสารทางวิชาการฉบับต่าง ๆ ได้รับการจัดประเภทโดย
หน่วยงานศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index : TCI)

43. รายงานการวิจัยประเภทใดที่จาเป็นต้องมีลายเซ็นของคณะกรรมการการสอบวิทยานิพนธ์ปรากฏอยู่เสมอ
1. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2. รายงานการวิจัยฉบับสั้น 3. บทความตีพิมพ์ลงในวารสาร
4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย 5. การเขียนรายงานการวิจัยทุกประเภท
ตอบ 1 รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เป็นรายงานที่มีความหนามากที่สุดในบรรดาการเขียนรายงานทั้งหมด
ทั้งนี้เนื่องจากเป็นรายงานที่มีรายละเอียดของการทาวิจัยครบทั้งหมด มีรูปแบบเคร่งครัด ส่วนใหญ่ใช้คาศัพท์ทาง
วิชาการ เป็นการนาเสนอที่ผ่านขั้นตอนต่างๆ จนพิมพ์ออกมาเป็นรูปเล่มสมบูรณ์แบบ โดยประกอบไปด้วย
ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนเนื้อเรื่อง และส่วนประกอบตอนท้าย ซึ่งเป็นรายงานประเภทนี้จาเป็นต้องมีลายเซ็นของ
คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ปรากฏอยู่เสมอ
ข้อสอบ POL 4100 1/64 11

44. รายงานการวิจัยประเภทใดที่มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย
1. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2. รายงานการวิจัยฉบับสั้น 3. บทความตีพิมพ์ลงในวารสาร
4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย 5. การเขียนรายงานการวิจัยทุกประเภท
ตอบ 3 ดูคาอธิบายข้อ 42. ประกอบ

45. รายงานการวิจัยประเภทใดที่ผู้วิจัยส่งให้หน่วยงานผู้สนับสนุนทุนวิจัยได้ดาเนินการวิจัยไปได้ครึ่งทาง
1. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2. รายงานการวิจัยฉบับสั้น 3. บทความตีพิมพ์ลงในวารสาร
4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย 5. การเขียนรายงานการวิจัยทุกประเภท
ตอบ 4 ช่วงที่ 2 ของการรายงานความก้าวหน้าของการวิจัยก็คือ ‘’ช่วงของการรายงานความก้าวหน้า”
(Interim Report) ซึ่งหมายถึง รายงานที่จัดทาขึ้นภายหลังจากที่ได้ดาเนินการวิจัยไปแล้วระยะหนึ่งตามที่ผู้วิจัย
ได้ทาการตกลงหรือทาสัญญาไว้กับผู้ให้ทุน โดยทั่วไปแล้ว รายงานความก้าวหน้ามักส่งให้หน่วยงานผู้สนับสนุนทุน
วิจัยได้ดาเนินการวิจัยไปได้ครึ่งทางหรือในช่วงระยะเวลาร้อยละ 50 ของระยะเวลาตามสัญญา เช่น ถ้าเป็น
งานวิจัย 1 ปี ก็จะรายงานในช่วง 6 เดือน เป็นต้น

46. รายงานการวิจัยประเภทใดที่ผู้วิจัยต้องแสดงให้เห็นถึงแผนการดาเนินงานในช่วงเริ่มต้น
1. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2. รายงานการวิจัยฉบับสั้น 3. บทความตีพิมพ์ลงในวารสาร
4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย 5. การเขียนรายงานการวิจัยทุกประเภท
ตอบ 4 ช่วงที่ 1 ของรายงานความก้าวหน้าของการวิจัยก็คือ “ช่วงของการรายงานผลวิจัยขั้นต้น” (Inception
Report) ซึ่งหมายถึง การสรุปผลการดาเนินงาน หลังจากที่ผู้วิจัยได้รับการอนุมัติหัวข้อวิจัยและโครงร่างนาเสนอ
การวิจัย โดยรายงานการวิจัยในขั้นต้นนี้ผู้วิจัยต้องแสดงให้เห็นถึงแผนการดาเนินงานในขั้นแรกหรือในช่วงเริ่มต้น
ตลอดจนรายละเอียดของการปรับแก้ในส่วนต่าง ๆ ตามที่คณะกรรมการพิจารณาโครงร่างได้เสนอแนะไว้

47. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่การแบ่งประเภทของผลการวิจัยโดยหน่วยงาน “วช.”


1. งานวิจัยเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 2. งานวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
3. งานวิจัยเชิงนโยบาย 4. งานวิจัยเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน
5. งานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ
ตอบ 2 สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้แบ่งประเภทของการนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ออกเป็น 4 ประเภท ประกอบด้วย
1. งานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ 2. งานวิจัยเชิงนโยบาย
3. งานวิจัยเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 4. งานวิจัยเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

48. งานวิจัยประเภทใดที่ให้ความสาคัญกับนักคิด นักปรัชญา และการถกเถียง


1. งานวิจัยเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 2. งานวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
3. งานวิจัยเชิงนโยบาย 4. งานวิจัยเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน
5. งานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ
ตอบ 5 งานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ เป็นงานวิจัยที่มีเป้าหมายเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ในเชิง
วิชาการ ซึ่งได้แก่ ฐานคิดใหม่, ทฤษฎีใหม่, วิธีการศึกษาแบบใหม่ หรือเครื่องมือในการศึกษาแบบใหม่ หรือ
ข้อสอบ POL 4100 1/64 12

เครื่องมือในการศึกษาแบบใหม่ โดยงานวิจัยประเภทนี้จะให้ความสาคัญกับนักคิด นักปรัชญาและการถกเถียง


ทั้งนี้เพราะธรรมชาติของงานวิจัยลักษณะนี้ก็คือ การมีความเป็นอิสระ การมีระเบียบวิธีที่เข้มข้น การมีวงการหรือ
ชุมชนวิชาการในการตรวจสอบนั่นเอง

49. งานวิจัยประเภทใดที่ให้ความสาคัญกับการสร้างรายได้ของภาครัฐและเอกชน
1. งานวิจัยเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 2. งานวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
3. งานวิจัยเชิงนโยบาย 4. งานวิจัยเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน
5. งานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ
ตอบ 1 งานวิจัยเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เป็นงานวิจัยที่มีเป้าหมายเพื่อผลตอบแทนหรือการลงทุนเป็นหลัก
และให้ความสาคัญกับการสร้างรายได้ของภาครัฐและเอกชน โดยผู้วิจัยสามารถสารวจความต้องการของภาคการ
ผลิตต่าง ๆ เป็นรายสาขาเพื่อนาไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่อุตสาหกรรมต้นน้ากลางน้าและปลายน้า ดังนั้น
ธรรมชาติของงานวิจัยประเภทนี้จึงมักสอดคล้องกับกลไกตลาดและนักวิจัยอาจไม่สามารถเปิดเผยผลการวิจัย
ทั้งหมดได้ เนื่องจากความจาเป็นในการแข่งขันทางด้านการตลาด

50. งานวิจัยเพื่อสนับสนุนทางเลือกเชิงนโยบาย (Policy Choice) ของรัฐบาลในการแก้ไจปัญหาให้แก่ประชาชน


1. งานวิจัยเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 2. งานวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
3. งานวิจัยเชิงนโยบาย 4. งานวิจัยเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน
5. งานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ
ตอบ 3 งานวิจัยเชิงนโยบาย เป็นงานวิจัยที่มีเป้าหมายเพื่อสนับสนุนข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเชิง
นโยบายในด้านต่าง ๆ ของรัฐบาล หรือสนับสนุนทางเลือกเชิงนโยบาย (Policy Choice) ของรัฐบาล ตลอดจน
การนานโยบายไปปฏิบัติ เพื่อนาไปสู่การประเมินผลกระทบและการผลักดันผลสัมฤทธิ์ของนโยบายสาธารณะ
ตัวอย่างเช่น แนวทางในการแก้ไขปัญหาของรถไฟฟ้าในช่วงเวลาเร่งด่วน, แนวทางในการพัฒนาพุน้าร้อนเค็มคลอง
ท่อมจังหวัดกระบี่อย่างยั่งยืน เป็นต้น

51. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับขั้นตอนการวิจัยทางรัฐศาสตร์
1. นายธีระวัฒน์มีความสนใจเรื่องการแพร่ระลาดของไวรัสโควิด 19 สายพันธุ์โอไมครอน ขั้นตอนแกรกที่ต้องทา
คือการกาหนดปัญหาการวิจัย
2. นายจักรทิพย์ได้ตั้งคาถามการวิจัยเรื่องการสอบสวนของตารวจไทยแล้ว ขั้นตอนต่อไปที่ต้องทาคือการไปศึกษา
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3. นายอนุทินทาการออกแบบการวิจัยเสร็จแล้ว จะต้องเขียนโครงร่างการวิจัยเพื่อขอสอบหัวข้อการวิจัยก่อนที่จะ
ทาการเก็บข้อมูล
4. นายรณรงค์มีความสนใจเรื่องการซื้อขายสินค้าออนไลน์ของพิมรี่พาย ขั้นตอนแรกที่ต้องทาคือ การวิเคราะห์
ข้อมูล
5. นายกรรชัยทาการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาคาตอบของการวิจัยเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนสุดท้ายคือต้องเขียน
รายงานผลการวิจัยออกมาเป็นรูปเล่มและเผยแพร่ผลการวิจัย
ตอบ 4 ขั้นตอนของการวิจัยทางรัฐศาสตร์ มี 7 ขั้นตอน สรุปได้ดังนี้
ข้อสอบ POL 4100 1/64 13

1. การกาหนดปัญหาการวิจัย (Research Question) เป็นขั้นตอนแรกที่ต้องทาซึ่งในทางปฏิบัติเราจะต้องตั้ง


คาถามการวิจัยก่อนที่เราจะต้องการหาคาตอบ
2. การทบทวนวรรณกรรม (Review Literature) คือ การไปศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3. การตั้งสมมติฐาน (Assumption/Hypothesis) คือคาตอบที่เราตอบไว้ล่วงหน้าก่อนที่เราจะทาการหา
คาตอบ
4. การออกแบบการวิจัย (Design Research) เมื่อท่านได้ออกแบบการวิจัยเสร็จแล้ว จะต้องเขียนโครงร่าง
การวิจัยเพื่อขอสอบหัวข้อหรือสอบขออนุญาตในการทาวิจัยก่อนที่จะทาการเก็บข้อมูลได้
5. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collecting Data) โดยจะต้องบันทึกที่ได้รับและใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลให้เป็นระบบ
เพี่อที่จะง่ายเมื่อจะต้องนามาประมวลข้อมูล
6. การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) เพื่อหาคาตอบของการวิจัย
7. การจัดทาและนาเสนอรายงานการวิจัย (Reporting) เป็นขั้นตอนสุดท้าย โดยผู้วิจัยต้องเขียนรายงาน
ผลการวิจัยออกมากเป็นรูปเล่มและทาการเผยแพร่ผลการวิจัยด้วย
52. “ชุดของภาษาหรือชุดในการอธิบายเพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในทางการเมืองหรือเรื่องราว
ของความสัมพันธ์ของคนในสังคมที่เกี่ยวข้องกับอานาจ” ข้อความดังกล่าวสัมพันธ์กับตัวเลือกใดมากที่สุด
1. ปรัชญาการเมือง 2. สังคมวิทยาการเมือง 3. จิตวิทยาการเมือง
4. มานุษยวิทยาการเมือง 5. ทฤษฎีการเมือง
ตอบ 5 ทฤษฎีการเมือง (Political Theory) หมายถึง ชุดของภาษาหรือชุดในการอธิบายเพื่อทาความเข้าใจ
เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในทางการเมืองหรือเรื่องราวของความสัมพันธ์ของคนในสังคมที่เกี่ยวข้องกับอานาจ

53. “เป็นการแสวงหาความรู้ที่เริ่มจากหลักเกณฑ์หรือข้อเท็จจริงทั่วไป และนาไปทดลองยืนยันด้วยการรวบรวม


ข้อเท็จจริง เป็นการหาจากส่วนใหญ่ไปสู่ส่วนย่อย” คือวิธีการแสวงหาความรู้แบบใด
1. เหตุผลเชิงอนุมาน 2. สถิติขั้นสูง 3. เหตุผลเชิงอุปมาน
4. แบบสอบถาม 5. การสังเกต
ตอบ 1 เหตุผลเชิงอนุมาน (Deductive Reasoning) เป็นการแสวงหาความรู้ที่เริ่มจากหลักเกณฑ์หรือ
ข้อเท็จจริงทั่วไป และนาไปทดสอบยืนยันด้วยการรวบรวมข้อเท็จจริงเป็นการหาจากส่วนใหญ่ไปสู่ส่วนย่อย เช่น
การวิจัยเชิง ปริมาณ เป็นต้น

54. “เป็นการแสวงหาความรู้ที่เริ่มต้นจากข้อเท็จจริงเฉพาะ ซึ่งได้จากประสบการณ์หรือเหตุการณ์ที่ศึกษาและนาไปสู่


ข้อสรุปหรือกฎเกณฑ์ เป็นการหาจากส่วนย่อยไปสู่ส่วนใหญ่” คือวิธีการแสวงหาความรู้แบบใด
1. เหตุผลเชิงอนุมาน 2. สถิติขั้นสูง 3. เหตุผลเชิงอุปมาน
4. แบบสอบถาม 5. การสังเกต
ตอบ 3 เหตุผลเชิงอุปมาน (Inductive Reasoning) เป็นการแสวงหาความรู้ที่เริ่มต้นจากข้อเท็จจริงเฉพาะ
ซึ่งได้จากประสบการณ์หรือเหตุการณ์ที่ศึกษา และนาไปสู่ข้อสรุปหรือกฎเกณฑ์ เป็นการหาส่วนย่อยไปสู่ส่วนใหญ่
เช่น การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นต้น
ข้อสอบ POL 4100 1/64 14

55. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลรูปแบบใดที่ถูกนามาใช้อย่างมากทั้งในการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ
1. การสัมภาษณ์ 2. แบบสอบถาม 3. การสนทนากลุ่ม
4. การสังเกต 5. การทบทวนวรรณกรรม
ตอบ 2 แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมที่ถูกนามาใช้อย่างมากทั้งใน
การวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งส่วนมากวิธีการนี้มักจะถูกใช้ในการรวบรวมข้อมูลในการวิจัยเชิง
สารวจ ในกรณีที่กลุ่มตัวอย่างหรือประชากรที่จะรวบรวมข้อมูลนั้นอยู่ในลักษณะที่กระจัดกระจายกันมาก ๆ

56. นายนิพนธ์ทาวิจัยเรื่องการพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่ อ.จะนะ จ. สงขลา โดยรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์


กับกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ในประเด็นปัญหาที่เฉพาะเจาะจง โดยนายนิพนธ์จะเป็นคนตั้งประเด็นต่าง ๆ ด้วยตนเอง คือ
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลรูปแบบใด
1. การสัมภาษณ์ 2. แบบสอบถาม 3. การสนทนากลุ่ม
4. การสังเกต 5. การทบทวนวรรณกรรม
ตอบ 3 การสนทนากลุ่ม (Focus Group) หรือบางตาราอาจจะเรียกว่า การสัมภาษณ์กลุ่ม (Group
Interview) เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสนทนากับกลุ่มจากผู้ให้ข้อมูลในประเด็นปัญหาที่เฉพาะเจาะจง โดย
มีผู้ดาเนินการสนทนา (Moderator) ซึ่งอาจจะเป็นผู้วิจัยเอง หรือเป็นคนอื่นที่ได้รับมอบหมายมาให้ทาหน้าที่
เป็นผู้คอยจุดประเด็นในการสนทนาเพื่อชักจูงให้กลุ่มเกิดแนวคิดและแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือแนว
ทางการสนทนาอย่างกว้างขวางละเอียดลึกซึ้ง โดยวิธีการดังกล่าวนี้จะสัมพันธ์กับคาว่า “การสัมภาษณ์เชิงลึก”
มากที่สุด

57. นายธรรมนัสต้องการจะได้ข้อมูลการชุมนุมของกลุ่มรักษ์จะนะว่าเป็นการชุมนุมแบบไหน และเป็นอย่างไร นาย


ธรรมนัสต้องใช้เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลรูปแบบใด
1. การสัมภาษณ์ 2. แบบสอบถาม 3. การสนทนากลุ่ม
4. การสังเกต 5. การทบทวนวรรณกรรม
ตอบ 4 การสังเกต (Observation) เป็นการเก็บข้อมูลที่ผู้วิจัยออกไปรับรู้โดยตรงจากปฏิกิริยาท่าทางหรือ
เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะหนึ่งหรือที่ใดที่หนึ่ง ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของตัวผู้วิจัยเอง
ตัวอย่างเช่น นายธรรมนัสต้องการจะให้ข้อมูลว่า การชุมนุมของกลุ่มรักษ์จะนะนั้นเป็นการชุมนุมแบบไหน และ
เป็นอย่างไร เป็นต้น

58. ข้อใดต่อไปนี้คือชื่อของ “ประเภทรายการอ้างอิง” ในการศึกษาสังคมศาสตร์


1. British Companions of Law
2. British Committee on the Theory of International Politics
3. American Political Science Review
4. American Psychological Association
5. American Political Science Association
ตอบ 4 บรรณานุกรม (Bibliography) เป็นส่วนที่แสดงให้เห็นถึงหลักฐาน เอกสาร และวรรณกรรมทั้งหมดที่
ใช้ในการเขียนรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ รวมถึงรายชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ด้วย โดยจัดเรียงเป็นหมวดหมู่และ
ข้อสอบ POL 4100 1/64 15

เรียงลาดับตามตัวอักษรให้เป็นมาตรฐานสากล ซึ่งในปัจจุบันประเภทหรือระบบการอ้างอิงที่ได้รับความนิยมใน
งานวิจัยหรืองานวิชาการในสายสังคมศาสตร์ ได้แก่การอ้างอิงระบบเอพีเอ (American Psychological
Association : APA) และการอ้างอิงระบบทูราเบียน (Turabian)

59. การวัดความพึงพอใจของการรับบริการด้วยการกาหนดให้ พอใจมากที่สุด คือ 5 / พอใจ คือ 4 / เฉย ๆ คือ 3/ ไม่


พอใจ คือ 2/ และไม่พอใจอย่างมาก คือ 1 สอดคล้องกับมาตรวัดในข้อใดต่อไปนี้มากที่สุด
1. Rating Scale 2. Ratio Scale 3. Likert Scale
4. Yamane Scale 5. Sum Meted Rating Scale
ตอบ 3 Likert Scale เป็นมาตรวัดที่มีผู้นิยมมากที่สุด และใช้กันอยู่อย่างแพร่หลาย เพราะความง่ายในการ
สร้าง โดยจะเรียงข้อความที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา ซึ่งข้อความแต่ละข้อความจะมีตัวเลือกในการตอบโต้ 5 ทาง
เช่น การวัดความพึงพอใจต่อการรับบริการด้วยการกาหนดให้ พอใจมากที่สุด คือ 5, พอใจ คือ 4, เฉย ๆ คือ3, ไม่
พอใจ คือ 2 และไม่พอใจอย่างมากคือ 1 เป็นต้น

60. คาว่า “ระบบทูราเบียน” สอดคล้องกับข้อใดต่อไปนี้มากที่สุด


1. บรรณานุกรม 2. ประวัติย่อผู้วิจัย 3. ภาคผนวก
4. ปทานุกรม 5. กิตติกรรมประกาศ
ตอบ 1 ดูคาอธิบายข้อ 58. ประกอบ

61. ข้อใดต่อไปนี้เรียงลาดับการเขียนรายงานความก้าวหน้าของการวิจัยได้อย่างถูกต้องที่สุด
1. Inception Report Interim Report Final Report
2. Inception Report Final Report Interim Report
3. Interim Report Inception Report Final Report
4. Interim Report Final Report Inception Report
5. Final Report Interim Report Inception Report
ตอบ 1 การเขียนรายงานความก้าวหน้าของการวิจัย แบ่งออกเป็น 3 ช่วงเวลาซึ่งสามารถเรียงลาดับได้ดังนี้
ช่วงที่ 1 ช่วงของการรายงานผลการวิจัยขั้นต้น (Inception Report)

ช่วงที่ 2 ช่วงของการรายงานความก้าวหน้า (Interim Report)

ช่วงที่ 3 ช่วงของการรายงานผลการวิจัยขั้นสุดท้าย (Final Report)


62. “ค่าเฉลี่ย” สอดคล้องกับตัวเลือกใดต่อไปนี้มากที่สุด
1. ผลรวมของข้อมูลทุกชุด หารด้วยจานวน 100
2. ผลรวมของคะแนนของข้อมูลทั้งชุด หารด้วยจานวนข้อมูลทั้งหมด
3. ผลรวมของผลรวมข้อมูลทุกชุด ลบด้วยหนึ่ง
4. ผลรวมของตัวแปรทั้งหมด ยกกาลังสอง
5. ผลรวมของตัวแปรทั้งหมด หารด้วยจานวนข้อมูลทั้งหมด
ข้อสอบ POL 4100 1/64 16

ตอบ 2 ค่าเฉลี่ย (Mean) คือ ผลรวมของคะแนนของข้อมูลทั้งชุด หารด้วยจานวนข้อมูลทั้งหมด โดยค่าเฉลี่ยจะ


เป็นตัวแทนที่ดีของข้อมูลต่อเมื่อมีค่าใกล้เคียงกับโค้งปกติเท่านั้น

63. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึง “บทคัดย่อ” ได้อย่างถูกต้องน้อยที่สุด


1. การเขียนเพื่อประโยชน์ในเชิงวิชาการ 2. การนาเสนอผลการศึกษาและข้อค้นพบ
3. การนาเสนอวิธีการวิจัย 4. การนาเสนอเครื่องมือวิจัย
5. การนาเสนอที่มาของทฤษฎี
ตอบ 5 บทคัดย่อที่ดี ประกอบไปด้วยเนื้อหา 3 ส่วนได้แก่
1. การกล่าวถึงปัญหาและวัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อชี้ให้ผู้อ่านเห็นว่าเพราะเหตุใดหัวข้อวิจัยชิ้นนี้จึงควร
คุณค่าแก่การศึกษา
2. การกล่าวถึงวิธีการในการดาเนินการวิจัย เพื่อชี้ให้เห็นว่าตามวัตถุประสงค์ในข้างต้น ผู้วิจัยมีการนาเสนอ
เครื่องมือวิจัยหรือวิธีการวิจัยในการค้นหาคาตอบเหล่านั้นได้อย่างไร
3. การกล่าวถึงผลของการศึกษา ข้อค้นพบและข้อเสนอแนะ เพื่อชี้ให้ผู้อ่านได้เห็นภาพของงานวิจัยอย่างรวดเร็ว
หรือทราบสาระสังเขปของงานวิจัยทั้งหมด ซึ่งมีประโยชน์อย่างมากในเชิงวิชาการ
64. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่การนาเสนอข้อค้นพบของการวิจัยที่เหมาะสม
1. การนาเสนอทั้งตารางและความเรียง 2. การนาเสนอด้วยความเรียงเป็นหลัก
3. การนาเสนอด้วยตารางเป็นหลัก 4. การนาเสนอด้วยข้อมูลที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมา
5. ทุกข้อเป็นการนาเสนอการวิจัยที่เหมาะสม
ตอบ 4 บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล ในส่วนของการนาเสนอข้อมูล (Presentation of Data)
หรือข้อค้นพบของการวิจัยนั้น ผู้วิจัยสามารถทาเป็นลักษณะความเรียง (Text Presentation) ความเรียงกึ่ง
ตาราง (Semi-Tabulation Presentation) หรือแบบตาราง (Tabulation Presentation) ก็ได้ ในกรณีที่
มีข้อมูลเป็นจานวนมากนั้นการมีตารางหรือแผนภูมิประกอบ ย่อมจะทาให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจข้อมูลทั้งหมดของ
งานวิจัยได้ง่ายมากยิ่งขึ้น แต่ผู้วิจัยไม่ควรนาเสนอด้วยข้อมูลที่สร้างขึ้นมาเอง

65. การทบทวนวรรณกรรมที่มีการเรียงงานวิจัยตามรายชื่อบุคคลต่าง ๆ หรือปีที่มีการเผยแพร่ต่อ ๆ กันไปโดยขาด


ความเชื่อมโยง เรียกว่าปัญหาใดของงานวิจัย
1. รถไฟ 2. ขึ้นหิ้ง 3. งูกินหาง 4. โดมิโน 5. ขนมชั้น
ตอบ 5 คาว่า “ขนมชั้น” เป็นปัญหาของงานวิจัย ซึ่งหมายถึง การเรียงเอกสารงานวิจัยตามรายชื่อบุคคลหรือปี
ที่มีการเผยแพร่ต่อกันไปเรื่อย ๆ โดยขาดความเชื่อมโยง ซึ่งมักปรากฏให้เห็นในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการทบทวน
วรรณกรรมและรายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง

66. หลักเบื้องต้นในการออกแบบการวิจัยขั้นตอนใดที่บอกว่าทาไปเพื่อสารวจ เพื่อพรรณนา หรือเพื่ออธิบาย


1. การตั้งวัตถุประสงค์ในการวิจัย 2. การทบทวนวรรณกรรม
3. การสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย 4. เครื่องมือต่าง ๆ ในการวิจัย 5. การเขียนโครงร่างในการวิจัย
ข้อสอบ POL 4100 1/64 17

ตอบ 1 การตั้งวัตถุประสงค์ในการวิจัย (Research Objective) คือ การบอกจุดมุ่งหมายในการทาวิจัยว่าจะ


ทาไปเพื่ออะไร ซึ่งจะมีวิธีการตั้งประโยคด้วยการใช้คาขึ้นต้นคาว่า “เพื่อ” เช่น เพื่อสารวจ เพื่อพรรณนา เพื่อ
อธิบาย เพื่อสร้างความเข้าใจ เพื่อวัดผล เป็นต้น

67. “การสื่อสารด้วยสายตา” เป็นเครื่องมือที่มีความสาคัญกับตัวเลือกในข้อใดต่อไปนี้มากที่สุด


1. Commentators 2. Oral Presentation 3. Proceedings
4. Power Point 4. Poster Presentation
ตอบ 2 การนาเสนอด้วยวาจา (Oral Presentation) สาหรับในช่วงของการนาเสนอผู้นาเสนอจาเป็นต้องมี
สติและความมั่นใจ ไม่ควรแสดงท่าทีกังวลหรือประหม่าออกมา ลักษณะของการพูดควรเป็นไปอย่างช้า ๆ และ
มั่นคง สิ่งที่พึงระวังอย่างยิ่งคือ หลีกเลี่ยงการอ่านข้อความให้ผู้ฟังฟังตาม ดังนั้นผู้นาเสนออาจต้องสื่อสารทาง
สายตา (Eye Contact) กับผู้ฟังเป็นระยะ ทั้งนี้เพื่อสังเกตว่าผู้ฟังเข้าใจในข้อความที่สื่อสารออกไปหรือไม่
อย่างไร

68. ข้อใดต่อไปนี้เป็นวิธีการที่สามารถใช้ลดข้อผิดพลาดจาก “การสุ่ม” ได้อย่างเหมาะสมมากที่สุด


1. การเพิ่มจานวนตัวอย่าง 2. การลดจานวนตัวอย่าง 3. การใช้ประชากรที่มีความแตกต่างกัน
4. การเจาะจงกลุ่มตัวอย่าง 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 1 การลดข้อผิดพลาดจากการสุ่ม พิจารณาได้จากจานวนตัวอย่าง และคุณสมบัติของประชากร กล่าวคือ
การสุ่มที่มีการเพิ่มจานวนตัวอย่างจานวนมากนั้นจะช่วยลดความคลาดเคลื่อนที่จะเกิดขึ้นได้ และการใช้ประชากร
ที่มีความคล้ายกันก็ยังเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่สามารถช่วยลดความคลาดเคลื่อนให้น้อยลง และมีความเป็นตัวแทนมาก
ขึ้น

69. ให้นักศึกษาดูตารางด้านล่างนี้
กิจกรรม เดือนที่ 1 – 3 เดือนที่ 4 – 6 เดือนที่ 7 – 6 เดือนที่ 10- 12
(1) การนาเสนอโครงร่างการวิจัย
(2) การสัมภาษณ์
(3) การเขียนรายงานการวิจยั
(4) การนาเสนอและเผยแพร่ผลการวิจยั

1. Gantt’s Chart 2. Progressive Chart 3. Pie Chart


4. Line Chart 5. Bar Chart
ตอบ 1 แผนภูมิแกนต์ (Gantt’s Chart) เป็นการนาเสนอแผนงานของโครงการวิจัย ซึ่งจะแสดงข้อมูล
รายละเอียดของกิจกรรม ระยะเวลา และช่วงเวลาได้อย่างเหมาะสม โดยข้อมูลดังกล่าวนี้จะมีความสาคัญต่อการ
ทาให้ผู้ให้ทุนเห็นแผนงานที่ผู้วิจัยจะดาเนินการต่อไป อีกทั้งผู้วิจัยเองก็สามารถวางแผนการดาเนินงานต่อไปได้
อย่างเป็นระบบ

70. ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป คือบทใดของรายงานการวิจัย


1. บทที่ 1 2. บทที่ 2 3. บทที่ 3 4. บทที่ 4 5. บทที่ 5
ตอบ 5 การเขียนรายงานการวิจัย ประกอบด้วยเนื้อหา 5 บท ดังนี้
ข้อสอบ POL 4100 1/64 18

บทที่ 1 บทนา ประกอบด้วย ที่มาและความสาคัญของปัญหา คาถามของการวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย


(หรือ “สัญญา” ของการวิจัย) สมมติฐานของการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ขอบเขตของการวิจัย
ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ข้อตกลงเบื้องต้น (ถ้ามี) อุปสรรคและข้อจากัดของการวิจัย (ถ้ามี) และนิยาม
ศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย
บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม ประกอบด้วย การทบทวนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ (Authorities) การ
ทบทวนแนวคิด ทฤษฎี เอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องและกรอบแนวคิดของการวิจัย
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัยหรือ “ระเบียบวิธีวิจัย” (Research Methodology) ประกอบด้วย ประชากรและ
การเลือกกลุ่มตัวอย่าง พื้นที่ที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล (Data
Collection) วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล และวิธีการรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 4 ผลการศึกษาหรือ “ผลการวิจัยและผลการวิเคราะห์ข้อมูล” โดยการเปรียบเทียบข้อมูลหรือใช้สถิติเป็น
เครื่องมือในการวิเคราะห์
บทที่ 5 สรุปผล การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

71. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ปรากฏอยู่ในบทใดต่อไปนี้


1. บทที่ 1 บทนา 2. บทที่ 2 ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและกรอบแนวคิดของการวิจัย
3. บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการศึกษา
5. บทที่ 5 สรุปผล การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ตอบ 3 ดูคาอธิบายข้อ 70. ประกอบ

72. ใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ปรากฏอยู่ในบทใดต่อไปนี้


1. บทที่ 1 บทนา 2. บทที่ 2 ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและกรอบแนวคิดของการวิจัย
3. บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการศึกษา
5. บทที่ 5 สรุปผล การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ตอบ 4 ดูคาอธิบายข้อ 70. ประกอบ

73. คาแนะนาของผู้วิจัยที่มีต่อผู้อื่นหากมีการทาวิจัยในหัวข้อลักษณะนี้อีก ปรากฏอยู่ในบทใดต่อไปนี้


1. บทที่ 1 บทนา 2. บทที่ 2 ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและกรอบแนวคิดของการวิจัย
3. บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการศึกษา
5. บทที่ 5 สรุปผล การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ตอบ 5 ในทางปฏิบัติ การเขียนข้อเสนอแนะ (Recommendations) สามารถนาเสนอได้ในประเด็นเกี่ยวกับ
การนาเสนอผลการวิจัยไปใช้ ทั้งนี้เพื่อแสดงให้เห็นว่าผลการวิจัยดังกล่าวก่อให้เกิดประโยชน์ใดได้บ้าง เพราะผู้วิจัย
สามารถชี้ให้ผู้อ่านเห็นถึงจุดเด่น จุดด้อย หรือข้อควรระวังของระเบียบวิธีวิจัยที่ผู้วิจัยได้ทาไว้ นอกจากนี้คาแนะนา
ของผู้วิจัยยังจะมีต่อผู้อื่นหากมีการทาวิจัยในหัวข้อลักษณะเดียวกันอีก ซึ่งจะทาให้ผู้ที่สนใจทาปัญหาวิจัย
คล้ายคลึงกันได้เห็นประเด็นที่ควรศึกษาต่อไป
ข้อสอบ POL 4100 1/64 19

74. ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ (Authorities) ปรากฏอยู่ในบทใดต่อไปนี้


1. บทที่ 1 บทนา 2. บทที่ 2 ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและกรอบแนวคิดของการวิจัย
3. บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการศึกษา
5. บทที่ 5 สรุปผล การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ตอบ 2 ดูคาอธิบายข้อ 70. ประกอบ

75. ที่มาของปัญหา คาถามการวิจัย วัตถุประสงค์ในการวิจัย สมมติฐานในการวิจัย ขอบเขตในการวิจัย ประโยชน์ที่


ได้รับในการวิจัย ระยะเวลาที่ใช้ในการดาเนินการวิจัย คือบทใดของรายงานการวิจัย
1. บทที่ 1 2. บทที่ 2 3. บทที่ 3 4. บทที่ 4 5. บทที่ 5
ตอบ 1 ดูคาอธิบายข้อ 70. ประกอบ

76. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง คือบทใดของรายงานการิจัย


1. บทที่ 1 2. บทที่ 2 3. บทที่ 3 4. บทที่ 4 5. บทที่ 5
ตอบ 1 ดูคาอธิบายข้อ 70. ประกอบ

77. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่มาจากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ปรากฏอยู่ในบทใดต่อไปนี้


1. บทที่ 1 บทนา 2. บทที่ 2 ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและกรอบแนวคิดของการวิจัย
3. บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการศึกษา
5. บทที่ 5 สรุปผล การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ตอบ 2 ดูคาอธิบายข้อ 70. ประกอบ

78. การอธิบายว่างานวิจัยที่มีมาก่อนหน้านี้แตกต่างจากผลการศึกษาของงานเราอย่างไรปรากฏอยู่ในบทใดต่อไปนี้
1. บทที่ 1 บทนา 2. บทที่ 2 ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและกรอบแนวคิดของการวิจัย
3. บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการศึกษา
5. บทที่ 5 สรุปผล การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ตอบ 5 บทที่ 5 การสรุปผล การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ของรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์นั้นพบว่า การ
อภิปรายผลเป็นการเขียนเพื่อประเมินและขยายความผลการวิจัยที่ได้ เพื่อยืนยันให้ผู้อ่านได้เห็นว่าผลการวิจัยที่ได้
นั้นน่าเชื่อถือ ถูกต้อง และเป็นจริง โดยชี้ให้เห็นว่าผลการศึกษานั้นสอดคล้องกับงานวิจัยที่มีมาก่อนหน้าอย่างไร
หรือมีความแตกต่างจากผลการศึกษาของงานเราอย่างไร ซึ่งผู้วิจัยจะต้องขยายความต่อว่าเพราะเหตุใดหรือปัจจัย
ใดที่อาจส่งผลให้ผลการศึกษาดังกล่าวไม่สอดคล้องกับงานวิจัยชิ้นอื่น

79. ข้อค้นพบของการวิจัย ปรากฏอยู่ในบทใดต่อไปนี้


1. บทที่ 1 บทนา 2. บทที่ 2 ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและกรอบแนวคิดของการวิจัย
3. บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการศึกษา
5. บทที่ 5 สรุปผล การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ตอบ 4 ดูคาอธิบายข้อ 64. ประกอบ
ข้อสอบ POL 4100 1/64 20

80. กรอบแนวคิดของการวิจัยที่เกิดจากแนวคิดทางวิชาการต่าง ๆ ปรากฏอยู่ในบทใดต่อไปนี้


1. บทที่ 1 บทนา 2. บทที่ 2 ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและกรอบแนวคิดของการวิจัย
3. บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการศึกษา
5. บทที่ 5 สรุปผล การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ตอบ 2 ดูคาอธิบายข้อ 70. ประกอบ

81. “สัญญา” ของการวิจัย ปรากฏอยู่ในบทใดต่อไปนี้


1. บทที่ 1 บทนา 2. บทที่ 2 ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและกรอบแนวคิดของการวิจัย
3. บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการศึกษา
5. บทที่ 5 สรุปผล การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ตอบ 1 ดูคาอธิบายข้อ 70. ประกอบ

82. อุปสรรคและข้อจากัดของการวิจัยที่ส่งผลให้งานวิจัยฉบับนี้ไม่เป็นไปตามที่วางแผนไว้ในตอนแรก ปรากฏอยู่ในบท


ใดต่อไปนี้
1. บทที่ 1 บทนา 2. บทที่ 2 ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและกรอบแนวคิดของการวิจัย
3. บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการศึกษา
5. บทที่ 5 สรุปผล การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ตอบ 1 ดูคาอธิบายข้อ 70. ประกอบ

83. “งานวิจัยที่ทาเสร็จสมบูรณ์ แต่ไม่สามารถนาไปปฏิบัติได้จริง” สอดคล้องกับข้อใดต่อไปนี้มากที่สุด


1. งานวิจัยขึ้นเขียง 2. งานวิจัยหอคอย 3. งานวิจัยดวงดาว
4. งานวิจัยขึ้นหิ้ง 5. งานวิจัยถนนลูกรัง
ตอบ 4 “งานวิจัยขึ้นหิ้ง” หมายถึง งานวิจัยที่ทาเสร็จจนสมบูรณ์หรือเสร็จสิ้นโครงการแล้ว แต่ไม่สามารถนาไป
ปฏิบัติได้จริง หรือมิได้ก่อให้เกิดประโยชน์ในวงวิชาการแต่อย่างใด

84. คาว่า “ศูนย์แท้” เป็นคุณสมบัติที่สาคัญของตัวเลือกในข้อใดต่อไปนี้


1. Nominal Scale 2. Ordinal Scale 3. Interval Scale
4. Ratio Scale 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4 Ratio Scale เป็นการวัดที่มีคุณสมบัติของมาตรวัดแบบช่วงทุกประการ แต่มีคุณสมบัติเพิ่มเติมคือ มี
จุดเริ่มต้นที่ศูนย์แท้หรือศูนย์ที่แท้จริง เช่น อายุ น้าหนัก ความสูง เงินเดือน รายได้ เป็นต้น

85. ในกรณีที่ผู้ประเมินไม่สามารถไปวัดผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้จริงโดยตรงได้ การวัดด้วยวิธีการใดสามารถใช้ในการ


แก้ปัญหา ดังกล่าวได้อย่างเหมาะสมมากที่สุด 1. Proximate Measures
2. Multiple Measures 3. Organizational Measures
4. Equivalence Measures 5. การวัดทุกข้อสามารถนามาปรับใช้ได้ทั้งสิ้น
ตอบ 1 การวัดโดยประมาณการ (Proximate Measures) หมายถึง การวัดผลโดยใช้ตัวแทน (Proxy) ใน
การวัด ในกรณีที่ผู้ประเมินไม่สามารถไปวัดผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้จริงโดยตรงได้ เช่น โครงการรณรงค์ให้คนเลิกสูบ
ข้อสอบ POL 4100 1/64 21

บุหรี่ โดยมีเป้าหมายเพื่อที่จะลดอัตราการเป็นมะเร็งในปอดในอนาคต ซึ่งนักประเมินนั้นไม่อาจไปวัดอัตราการเป็น


มะเร็งได้โดยตรง จึงใช้ “อัตราการสูบบุหรี่” เป็นตัวแทนในการชี้วัดถึงอัตราการเป็นมะเร็งในปอดในอนาคต เป็น
ต้น

86. ข้อใดต่อไปนี้เป็น “ข้อจากัด” ของนักบริหารที่นามาสู่การเขียนบทสรุปผู้บริหารของผู้วิจัย


1. งบประมาณ 2. ความรู้ 3. เวลา
4. ปริมาณงาน 5. ความเป็นผู้นา
ตอบ 3 บทสรุปสาหรับผู้บริหาร (Executive Summary) เป็นข้อความโดยสรุปของรายงานการวิจัยที่
กะทัดรัด ชัดเจนและครอบคลุมเนื้อหาการวิจัยทั้งหมด โดยจะมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้บริหารซึ่งมีเวลาไม่มาก สามารถ
ทาความเข้าใจงานวิจัยทั้งหมดเพื่อนาไปสู่การตัดสินใจหรือการกาหนดนโยบายต่าง ๆ ดังนั้นการเขียนบทสรุป
สาหรับผู้บริหารของผู้วิจัยจึงมีคุณูปการอย่างมากในการช่วยให้ผู้บริหาร ซึ่งมีข้อจากัดคือ “เวลา” ได้ทราบ
สาระสังเขปของงานวิจัยทั้งหมด โดยไม่ต้องใช้เวลาอ่านรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์หรือบทความฉบับเต็ม

87. โครงร่างการวิจัย มีความสัมพันธ์กับข้อใดต่อไปนี้มากที่สุด


1. Bibliography 2. Vitae 3. TCI
4. Research Proposal 5. Gantt’s Chart
ตอบ 4 โครงร่างการวิจัย หรือที่รู้จักกันดีในชื่อของ “Research Proposal” ซึ่งผู้วิจัยจะต้องนาเสนอเกี่ยวกับ
แผนการของเรื่องที่จะทาวิจัยไว้ล่วงหน้าในการทาวิจัยทุกครั้ง ไม่ว่าจะเป็นการทาวิจัยเพื่อฝีกฝน หรือทาเป็น
วิทยานิพนธ์ (Thesis) เพื่อขอรับปริญญาในระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอก หรือทาวิจัยเพื่อขอรับเงินอุดหนุน
โดยผู้วิจัยจะต้องจัดทาโครงร่างการวิจัยทุกครั้ง เพื่อให้กรรมการหรือผู้สอนพิจารณาโครงร่างเบื้องต้นก่อนที่จะทา
การวิจัย

88. คาว่า “Interim Report” สัมพันธ์กับข้อใดต่อไปนี้มากที่สุด


1. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2. รายงานการวิจัยฉบับสั้น
3. บทความสัมพันธ์ลงในวารสาร 4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 4 ดูคาอธิบายข้อ 38. ประกอบ

89. ข้อใดต่อไปนี้เป็นการเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่เหมาะสมมากที่สุด
1. การเขียนที่สามารถลงมือทาได้จริงได้หรือไม่ก็ได้
2. การเขียนที่สามารถเขียนเป็นประโยคปฏิเสธและแบ่งเป็นข้อ ๆ
3. การเขียนที่อยู่ในรูปของวิธีการดาเนินการ
4. การเขียนให้มีจานวนข้อน้อยที่สุดเพื่อให้ทาวิจัยง่ายที่สุด
5. การเขียนที่คานึงถึงระยะเวลาที่เหมาะสมในการทาวิจัย
ตอบ 5 การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่เหมาะสม ได้แก่
1. การเขียนให้มีความชัดเจน เพื่อให้ผู้อ่านทราบว่าผู้วิจัยต้องการศึกษาอะไร
2. การเขียนให้อยู่ในขอบเขตของการวิจัยที่ได้ตั้งเอาไว้
3. การเขียนที่สามารถลงมือทาได้จริงได้
ข้อสอบ POL 4100 1/64 22

4. การเขียนที่สามารถเขียนเป็นประโยคบอกเล่า โดยแบ่งเป็นข้อ ๆ
5. การเขียนไม่ควรอยู่ในรูปของวิธีการดาเนินการ
6. การเขียนไม่ควรมีจานวนข้อมากเกินไป
7. การเขียนที่คานึงถึงระยะเวลาที่เหมาะสม ฯลฯ

90. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของโครงร่างการวิจัย
1. ระเบียบวิธีวิจัย 2. วัตถุประสงค์ในการวิจัย 3. ภาคผนวก
4. ความสาคัญของปัญหา 5. คาถามวิจัย
ตอบ 3 โครงร่างการวิจัย ประกอบด้วย
1. ชื่อเรื่อง 2. สภาพปัญหาหรือ “ความสาคัญของปัญหา” หรือ “ที่มาของปัญหา”
3. คาถามในการวิจัย 4. วัตถุประสงค์ในการวิจัย 5. สมมติฐาน
6. การทบทวนวรรณกรรมและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย 7. ขอบเขตของการวิจัย
8. ประโยชน์ที่จะได้รับ 9. นิยามศัพท์สาคัญ 10. วิธีการในการดาเนินการวิจัยหรือระเบียบวิธีวิจัย

91. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการตั้งคาถามการวิจัย
1. คาถามการวิจัยประเภท “อย่างไร” ต้องการทราบสาเหตุของปรากฏการณ์ทางการเมือง
2. คาถามการวิจัยประเภท “อะไร” ต้องการให้อธิบายกระบวนการของปรากฏการณ์ทางการเมือง
3. คาถามการวิจัยประเภท “ทาไม” เป็นการหาคาตอบในลักษณะบรรยาย
4. การตั้งคาถามการวิจัยที่ดีควรใช้คาถาม “ทาไม อย่างไร อะไร”
ตอบ 4 การตั้งคาถามการวิจัย (Research Question) ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการวิจัยภายหลังจากที่ผู้วิจัย
สังเกตเห็นถึงปัญหาต่าง ๆ รอบตัว การตั้งคาถามที่ดีนั้นไม่ควรใช้คาถาม “ใช่หรือไม่” แต่ควรใช้คาถาม “ทาไม
อย่างไร อะไร” ซึ่งคาถามประเภท “ทาไม” จะเป็นคาถามที่ต้องการทราบสาเหตุหรือเหตุผลของปรากฏการณ์ทาง
การเมือง คาถามประเภท “อย่างไร” จะเป็นคาถามที่ต้องการให้อธิบายกระบวนการของปรากฏการณ์ทาง
การเมือง ส่วนคาถามประเภท “อะไร” จะเป็นคาถามที่มุ่งให้ค้นหาคาตอบในลักษณะบรรยาย

92. ข้อใดต่อไปนี้คือการคัดลอกผลงานโดยไม่มีการอ้างอิง
1. Plagiarism 2. Report 3. Recycle
4. Reference 5. Research
ตอบ 1 การคัดลอกผลงานโดยไม่มีการอ้างอิง หรือที่เรียกว่า “Plagiarism” เป็นสิ่งที่ผู้วิจัยหรือผู้อ่านที่จะนา
วิจัยไปใช้ประโยชน์ต้องพึงระวังอย่างมาก เพราะถือว่าเป็นความผิดที่ร้ายแรงอย่างมากในวงวิชาการ ซึ่งในปัจจุบัน
การตรวจสอบสามารถกระทาได้อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับการ
ตรวจสอบการคัดลอกผลงาน เช่น โปรแกรมอักขราวิสุทธิ์ หรือโปรแกรมเทิร์น อิท อิน (Turn it in) เป็นต้น
93. ข้อใดต่อไปนี้ปรากฏในส่วนท้ายของรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
1. ประวัติการศึกษาและอาชีพของคณะผู้วิจัย
2. ข้อจากัดของงานวิจัยที่ผู้วิจัยพบระหว่างการทาวิจัย
3. กิตติกรรมประกาศ 4. ลายเซ็นของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ข้อสอบ POL 4100 1/64 23

5. ผลการศึกษา
ตอบ 1 ประวัติย่อผู้วิจัย (Vitae) ซึ่งปรากฏในส่วนท้ายของ “รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์” จะเป็นส่วนที่
แสดงให้เห็นถึงประวัติของนักวิจัย/คณะผู้วิจัย ซึ่งมักจะประกอบไปด้วย ชื่อ – สกุล ประวัติการศึกษา อาชีพ
ตาแหน่ง สถานที่ทางาน เบอร์โทรศัพท์ เป็นต้น

94. “.....ส่วนที่ผู้วิจัยต้องการแสดงข้อมูลหรือส่วนขยายเพิ่มเติมของรายงานการวิจัยให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
ตัวอย่างเช่น พระราชบัญญัติหรือเนื้อความจากกฎหมายฉบับเต็ม เครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูล รายละเอียด
เกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูล หรือตารางแสดงตัวเลขต่าง ๆ ....” สอดคล้องกับตัวเลือกใดมากที่สุด
1. บรรณานุกรม 2. รายการดัชนี 3. ภาคผนวก
4. สารานุกรม 5. บทคัดย่อ
ตอบ 3 ภาคผนวก (Appendix) ซึ่งปรากฏในส่วนท้ายของ “รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์” จะเป็นส่วนที่
ผู้วิจัยต้องการแสดงข้อมูลหรือส่วนขยายเพิ่มเติมของรายงานการวิจัยให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น
พระราชบัญญัติหรือเนื้อความจากกฎหมายฉบับเต็ม เครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูล รายละเอียดเกี่ยวกับการ
วิเคราะห์ข้อมูล หรือตารางแสดงตัวเลขต่าง ๆ เป็นต้น

95. ปัญหาที่เรียกว่า “Plagiarism” สัมพันธ์กับข้อใดต่อไปนี้มากที่สุด


1. การศึกษางานวิจัยที่มีคนเคยศึกษาไว้แล้ว 2. ข้อค้นพบสาคัญของการวิจัยไม่สาคัญมากพอ
3. คุณูปการต่อวงวิชาการมีน้อยเกินไป 4. การคัดลอกผลงานของบุคคลที่สาม
5. การลงพื้นที่ไม่ได้ตามกาหนดเวลา
ตอบ 4 ดูคาอธิบายข้อ 92. ประกอบ

96. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับแนวการวิเคราะห์ระบบ
1. ได้รับอิทธิพลมาจากวิธีคิดในทางชีววิทยา
2. ถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งของระบบการเมืองทางานผิดพลาด อาจทาให้ระบบการเมืองมีปัญหาทั้งระบบได้
3. นักรัฐศาสตร์คนสาคัญของแนวการิเคราะห์ระบบ เข่น Harold Lasswell, Robert Dahl
4. ปรากฏการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ้น คือ ผลลัพธ์ของการทาหน้าที่ของระบบที่ทาเพื่อรักษาหรือดารงไว้ซึ่ง
ระบบทางสังคม
5. หากระบบการเมืองใดไม่ทาหน้าที่เพื่อรักษาหรือดารงไว้ซึ่งระบบทางสังคม ระบบการเมืองก็จะล่มสลาย
ตอบ 3 แนวการวิเคราะห์เชิงระบบ (System Approach/Functional Approach)

97. ข้อใดต่อไปนี้ให้นิยม “รายงานการวิจัย” ได้เหมาะสมที่สุด


1. เอกสารแสดงอาณาเขตของงานวิจัยเพื่อมิให้ผู้อื่นทาหัวข้อคล้ายกัน
2. เอกสารในการเผยแพร่นวัตกรรมหรือข้อค้นพบใหม่ในวงวิชาการ
3. เอกสารแสดงความสามารถอันโดดเด่นของนักวิจัย
4. เอกสารในการจับจองพื้นที่ของประเด็นที่ทาการศึกษา
5. เอกสารในการป้องกันกับผู้อื่นนาไปใช้ในประโยชน์ในทางวิชาการ
ตอบ 2 ความสาคัญของการเขียนรายงานการวิจัย ได้แก่
ข้อสอบ POL 4100 1/64 24

1. เพื่อเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้ทราบว่ามี “นวัตกรรม” หรือ “ข้อค้นพบ” ใหม่ในวงวิชาการ


2. เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการนาไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่าการทาวิจัยแล้วมีคนเพียงจานวนเดียวเท่านั้นที่ทราบใน
เนื้อหาของการวิจัยนั้น
3. เพื่อบอกเล่าให้ผู้อ่านทราบว่าปัญหานั้นได้มีผู้ศึกษาอยู่แล้ว
4. เพื่อแสดงให้เห็นถึงความเป็นเจ้าของใน “ลิขสิทธิ์” ของวรรณกรรมหรือ “สิทธิบัตร” ในสิ่งประดิษฐ์นั้น

98. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกระบวนการแสวงหาความรู้แบบวิทยาศาสตร์
1. ปฏิฐานนิยม 2. เน้นภาวะวิสัย 3. สามารถอธิบายได้
4. สามารถพิสูจน์ซ้าได้ 5. ไม่แยกค่านิยมออกจากสิ่งที่ศึกษา
ตอบ 5 ดูคาอธิบายข้อ 24. ประกอบ

99. ตัวแปรในข้อใดสัมพันธ์กับระดับของอุณหภูมิของปรากฏการณ์โลกร้อน
1. Nominal Scale 2. Ordinal Scale 3. Internal Scale
4. Ration Scale 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 3 Internal Scale เป็นมาตรวัดที่สามารถกาหนดช่วงห่างของความแตกต่างได้อย่างแน่นอน บอกความ
แตกต่างระหว่างกลุ่มได้ สามารถนาข้อมูลมาเปรียบเทียบและคานวณได้ และยังสามารถบวกและลบกันได้ แต่
ศูนย์ของข้อมูลประเภทนี้เป็นศูนย์สมมติ ไม่มีศูนย์แท้ เช่น ระดับของอุณหภูมิ คะแนนสอบ IQ เป็นต้น

100. ข้อใดต่อไปนี้สัมพันธ์กับเนื้อหาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ “Research Methodology”


1. Acknowledgement 2. Appendix 3. Bibliography
4. Data Collection 5. Vitae
ตอบ 4 ดูคาอธิบาข้อ 70. ประกอบ


โทรปรึกษาการเรียน 081-4969907
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 1
............................................................................................................................................................................................
การสอบไล่ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2563
…………..

คำสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (ข้อสอบมีทั้งหมด 100 ข้อ)


1. เป็นการวิจัยที่มุ่งค้นหาข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น
1. Methodology 2. Pure Research 3. Descriptive Research
4. Analytical Research 5. Applied Research
ตอบ 3 การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) การวิจัยที่มุ่งค้นหาข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น โดยการ
วิจัยเช่นนี้ไม่ต้องการที่จะตอบคำถามประเภทว่าอะไรเป็นสาเหตุของปรากฏการณ์ทางการเมืองหนึ่ง หรือ
ปรากฏการณ์ทางการเมืองหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นมาได้อย่างไร มีปัจจัยอะไรที่ทำให้เกิด ยกตัวอย่างการวิจัยประเภทนี้
เช่น ศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนะในจังหวัดนนทบุรี การวิจัยว่าตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการ
ปกครอง พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบัน มีการทำรัฐประหารทั้งหมดกี่ครั้งและใครเป็นหัวหน้าผู้ก่อการทำรัฐประหาร
เป็นต้น
2. “การศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆเพื่อให้พบข้อเท็จจริง” ข้อความดังกล่าวสัมพันธ์กับตัวเลือกใดมากที่สุด
1. Remember 2. Research 3. Recover
4. Researcher 5. Resume
ตอบ 2 การวิจัย (Research) คือ การศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ ข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้พบข้อเท็จจริง หรือ
หลักการไปใช้ในการตั้งกฎ ทฤษฎี หรือแนวทางในการปฏิบัติ หรือการค้นหาคำตอบในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างเป็น
ระบบ ซึ่งเป็นกระบวนการในการแสวงหาความรู้โดยอยู่บนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ และเน้นภาวะวิสัย
(Objective) โดยความรู้ต้องสามารถสังเกตได้อย่างเป็นระบบ สามารถทำซ้ำได้ มีการแยกค่านิยมออกจากสิ่งที่
ศึกษา (Value Free) และมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อเป็นการพิสูจน์ (Verify) และการอธิบาย (Explanation)
ตลอดจนการทำนาย (Predictive)
3. การวิจัยประเภทใดที่มักสอดคล้องกับกลไกตลาดและนักวิจัยอาจไม่สามารถเปิดเผยผลการวิจัยทั้งหมดได้เนื่องจาก
ความจำเป็นในการแข่งขันทางด้านการตลาด
1. งานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ 2. งานวิจัยเชิงนโยบาย
3. งานวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ 4. งานวิจัยเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน
5. งานวิจัยเพื่อประโยชนางเศรษฐกิจ
ตอบ 5 งานวิจัยเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เป็นงานวิจัยที่มีเป้าหมายเพื่อผลตอบแทนหรือการลงทุนเป็นหลัก
โดยผู้วิจัยสามารถสำรวจความต้องการของภาคการผลิตต่าง ๆเป็นรายสาขา เพื่อนำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่
อุตสาหกรรมต้นน้ำ กลางน้ำและปลายน้ำตั้งแต่เปลี่ยนแปลง ดังนั้นธรรมชาติของงานวิจัยประเภทนี้จึงมัก
สอดคล้องกับกลไกตลาดและนักวิจัยอาจไม่สามารถเปิดเผยผลการวิจัยทั้งหมดได้ เนื่องจากความจำเป็นในการ
แข่งขันทางด้านการตลาด ตัวอย่างของงานวิจัยนี้ เช่น การเพิ่มมูลค่าของยางพาราด้วยการศึกษายุทธวิธีการค้า
แบบต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำจากบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ เป็นต้น
4. ข้อจำกัดของการวิจัย
1. บทที่ 1 บทนำ 2. บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
3. บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล 5. บทที่ 5 การสรุปผล
ตอบ 1 การเขียนรายงานการวิจัย ประกอบด้วยเนื้อหา 5 บท ดังนี้
บทที่ 1 บทนำ ประกอบด้วย ที่มาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะ
ได้รับ ขอบเขตของการวิจัย ข้อตกลงเบื้องต้น (ถ้ามี) ข้อจำกัดของการวิจัย (ถ้ามี) และนิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 2
............................................................................................................................................................................................
บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม ประกอบด้าย การทบทวนแนวความคิดของผู้เชี่ยวชาญ (Authority Review)
การทบทวนทฤษฎี (Theoretical Review) และการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (Research Review)
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัยหรือระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) ประกอบด้วย ประชากรและการ
เลือกลุ่มตัวอย่าง พื้นที่ที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการวิเคราะห์
ข้อมูล และวิธีการรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 5 การสรุปผล การอภิปรายผล และการเขียนข้อเสนอแนะ (Recommendations)
5. ข้อมูลที่สามารถจะวัดออกมาเป็นตัวเลขได้ เช่น รายได้ คือการวิจัยประเภทใด
1. Applied Research 2. Qualitative Research 3. Survey Research
4. Quantitative Research 5. Observatory Research
ตอบ 4 การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็นการวิจัยของข้อมูลที่สามารถจะวัดผลออกมา
เป็นตัวเลขได้ และหาความสัมพันธ์ระหว่างค่าตัวแปรนั้น ๆ โดยใช้เครื่องมือทางสถิติมาศึกษาปรากฏการณ์ เช่น
ระดับรายได้ ระดับการศึกษา อัตราการอ่านออกเขียนได้ของประชาชน มีผลต่อการที่ประเทศหนึ่ง ๆ มีระดับของ
ความเป็นประชาธิปไตย ได้มากน้อยแค่ไหน โดยคิดออกมาเป็นเปอร์เซ็นต์ เป็นต้น
6. เขียนรายงานผลการวิจัยออกมาเป็นรูปเล่ม
1. Hypothesis 2. Data Analysis 3. Collecting Data
4. Review Literature 5. Reporting
ตอบ 5 การจัดทำและการนำเสนอรายงานการวิจัย (Reporting) กล่าวคือเมื่อผู้วิจัยได้ข้อมูล และได้
วิเคราะห์เพื่อหาคำตอบของการวิจัยได้เรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยก็จะต้องเขียนรายงานผลการวิจัยออกมากเป็นรูปเล่ม
สำหรับในกรณีที่ผู้วิจัยทำวิจัยเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการจบการศึกษา หรือทำการวิจัยโดยรับเงินสนับสนุนจาก
องค์กรต่าง ๆ มา ผู้วิจัยจึงจำเป็นจะต้องทำการเผยแพร่ผลการวิจัยด้วย
7. เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสนทนากับกลุ่มจากผู้ให้ข้อมูลในประเด็นปัญหาที่เฉพาะเจาะจง โดยมีผู้ดำเนินการ
สนทนา คือเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลรูปแบบใด
1. Observation 2. Interview 3. Questionnaire
4. Focus Group 5. Approach
ตอบ 4 การสนทนากลุ่ม (Focus Group) หรือบางตำราอาจจะเรียกว่า การสัมภาษณ์กลุ่ม (Group
Interview) เป็นการรวบรวมข้อมูลจาการสนทนากับกลุ่มจากผู้ให้ข้อมูลในประเด็นปัญหาที่เฉพาะเจาะจง โดยมี
ผู้ดำเนินการสนทนา (Moderator) ซึ่งอาจจะเป็นผู้วิจัยเอง หรือเป็นคนอื่นที่ได้รับมอบหมายมาให้ทำหน้าที่เป็น
ผู้คอยจุดประเด็นในการสนทนา เพื่อชักจูงให้กลุ่มเกิดแนวคิดและแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือแนวทางการ
สนทนาอย่างกว้างขวางละเอียดลึกซึ่งได้ โดยวิธีการดังกล่าวนี้จะสัมพันธ์กับคำว่า “การสัมภาษณ์เชิงลึก” มาก
ที่สุด
8. วิธีการทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับข้อใด
1. การฟัง 2. การสังเกต 3. การทดลอง
4. การสัมภาษณ์ 5. ทุกข้อเกี่ยวข้อง
ตอบ 5 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) มี 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. การสังเกตและระบุปัญหา (Observation and Problem Identification) เป็นขั้นตอนแรกสุดของการ
วิจัย โดยการรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสและเกิดความสงสัยจนนำไปสู่การตั้งคำถามการวิจัย
2. การตั้งสมมุติฐาน (Assumption/Hypothesis) เป็นขั้นตอนหลังจากตั้งคำถามการวิจัยแล้ว นักวิจัย
จะต้องคาดเดาคำตอบล่วงหน้า ถ้าไม่ทำจะไม่สามารถกำหนดแนวทางในการค้นหาคำตอบได้
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 3
............................................................................................................................................................................................
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) เช่น การสัมภาษณ์ (การฟัง) การสังเกต การทดลองเป็นต้น
4. การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis)
5. การสรุปผล (Conclusion)
9. ตัวแปรนี้เป็นผลของตัวแปรอิสระที่ทำให้เกิดตัวแปรตาม ลักษณะของตัวแปรประเภทนี้จะอยู่ระหว่างตัวแปรอิสระ
และตัวแปรตาม ถ้าไม่มีตัวแปรประเภทนี้จะทำให้ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
1. ตัวแปรภายนอก (Extraneous Variables) 2. ตัวแปรองค์ประกอบ (Component Variables)
3. ตัวแปรนำ (Antecedent Variables) 4. ตัวแปรแทรกซ้อน (Intervening Variables)
5. ตัวแปรกด (Suppressor Variables)
ตอบ 4 ตัวแปรแทรกซ้อน (Intervening Variables) เป็นผลของตัวแปรอิสระที่จะทำให้เกิดตัวแปรตาม
ลักษณะของตัวแปรแทรกซ้อนจะอยู่ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ถ้าไม่มีตัวแปรแทรกซ้อนจะทำให้ไม่มี
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ดังนั้นความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
จะต้องส่งผ่านตัวแปรแทรกซ้อน
10. การทำแผนที่ทางความคิดของการวิจัยคือหลักเบื้องต้นในการออกแบบการวิจัยขั้นตอนใด
1. Literature Review 2. Conceptual Framework 3. Research Objective
4. Research Question 5. Data Collection
ตอบ 2 การสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย (Conceptual Framework) เป็นขั้นตอนของการนำเอาประเด็น
ที่ต้องการทำวิจัยมาเชื่อมโยงกับแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในรูปของคำบรรยายแบบจำลองแผนภาพ ซึ่งการสร้าง
กรอบแนวคิดในการวิจัยนี้เป็นเสมือนการทำแผนที่ทางความคิดเกี่ยวกับการทำวิจัย หรือเป็นการสรุปความคิด
รอบยอดของผู้ทำวิจัยเพื่อชี้ให้เห็นว่าการวิจัยจะมีรูปแบบและทิศทางใด ตลอดจนมีประเด็นใดบ้างที่ต้องการทำ
วิจัย
11. ภววิทยา ญาณวิทยา วิธวี ิทยา มีความสัมพันธ์กับข้อความใดต่อไปนี้
1. ปฏิฐานนิยมยุคเริ่มต้น 2. ปฏิฐานนิยมในฐานะที่เป็นสำนักทางปรัชญาสังคมศาสตร์
3. ความรู้ของสำนักเหตุผลนิยม 4. ความรู้ของสำนักประจักษ์นิยม
5. ความรู้ของสำนักปฏิบัตินิยม
ตอบ 2 ปฏิฐานนิยมในฐานะที่เป็นสำนักทางปรัชญาสังคมศาสตร์นั้น จะเกี่ยวข้องกับแนวคิดเรื่องภววิทยา
ญาณวิทยา และวิธีวิทยาในการตรวจสอบและประเมินถึงการแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์ในสาขาและ
แนวทางต่าง ๆ
12. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่หน้าที่ของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย
1. พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อสืบค้นผลงานวิจัยและผลงานวิชาการ
2. รายงานค่า Journal Impact Factors ของวารสารวิชาการไทยที่อยู่ในฐานข้อมูล
3. ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ H-Index และคุณภาพผลงานวิจัยในระดับสากล
4. วิจัยและเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อยกระดับผลงานวิจัยไทยในเวทีนานาชาติ
5. รักษาความเป็นเอกเทศและระมัดระวังการร่วมมือกับหน่วยงานระดับชาติ
ตอบ 5 หน้าที่ของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย มีอยู่ 5 ประการ ได้แก่
1. พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้นผลงานวิจัยและผลงานวิชาการ
2. คำนวณและรายงานค่า Journal Impact Factors ของวารสารวิชาการไทยที่อยู่ในฐานข้อมูล
3. ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ Journal Impact Factors, H-Index และคุณภาพผลงานวิจัยในระดับ
สากล
4. วิจัยและเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อยกระดับผลงานวิจัยไทยในเวทีนานาชาติ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 4
............................................................................................................................................................................................
5. ร่วมมือกับหน่วยงานระดับชาติและนานาชาติเพื่อพัฒนาวารสารไทย
13. David Easton, Gabriel Almond
1. Rational Approach 2. Institutional Approach 3. System Approach
4. Psychological Approach 5. Group Approach
ตอบ 3 แนวการวิเคราะห์เชิงระบบ (System Approach/Functional Approach) เชื่อว่าในทุกสังคม
นั้นมีลักษณะเป็นระบบที่ทำการรักษาตนเองให้อยู่รอดเสมอ ๆ วิธีคิดในลักษณะนี้ได้รับอิทธิพลมาจากวิธีคิด
ในทางชีววิทยา (Biology) ที่มองสังคมหรือรัฐก็เหมือนร่างกายที่ประกอบไปด้วยอวัยวะต่างๆ ทำงานสอด
ประสานกัน นักรัฐศาสตร์คนสำคัญของแนวการวิเคราะห์นี้ เช่น David Easton, Gabriel Almond,
Bingham Powell เป็นต้น
14. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของโครงร่างการวิจัย
1. ชื่อเรื่อง 2. คำถามในการวิจัย 3. ภาคผนวก
4. ขอบเขตของการวิจัย 5. นิยามศัพท์สำคัญ
ตอบ 3 โครงร่างการวิจัย (Research Proposal) ประกอบด้วย 1. ชื่อเรื่อง (Research Title)
2. สภาพปัญหาหรือที่มาของปัญหา (Problem Statement) 3. คำถามในการวิจัย (Research
Question) 4. วัตถุประสงค์ในการวิจัย (Objective) 5. สมมุติฐาน (Hypothesis) 6. การทบทวน
วรรณกรรมและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย (Review Literature) 7. ขอบเขตของการวิจัย (Scope)
8. ประโยชน์ที่จะได้รับ 9. นิยามศัพท์สำคัญ (Operational Definition) ฯลฯ
15. ตัวแปรนี้เป็นสาเหตุของตัวแปรอิสระที่จะทำให้เกิดตัวแปรตาม ถ้าไม่มีตัวแปรประเภทนี้จะทำให้ไม่มี
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
1. ตัวแปรภายนอก (Extraneous Variables) 2. ตัวแปรองค์ประกอบ (Component Variables)
3. ตัวแปรนำ (Antecedent Variables) 4. ตัวแปรแทรกซ้อน (Intervening Variables)
5. ตัวแปรกด (Suppressor Variables)
ตอบ 3 ตัวแปรนำ (Antecedent Variables) เป็นสาเหตุของตัวแปรอิสระที่จะทำให้เกิดตัวแปรตาม
ลักษณะของตัวแปรนำจะมาก่อนตัวแปรอิสระและทำให้เกิดตัวแปรตาม ถ้าไม่มีตัวแปรนำจะทำให้ไม่มี
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
16. จัดทำและนำเสนอรายงานการวิจัย
1. Hypothesis 2. Data Analysis 3. Collecting Data
4. Review Literature 4. Reporting
ตอบ 5 ดูคำอธิบายข้อ 6. ประกอบ
17. สถาบันทางการเมืองเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมทางการเมืองต่างๆ
1. Rational Approach 2. Institutional Approach 3. System Approach
4. Psychological Approach 5. Group Approach
ตอบ 2 แนวการวิเคราะห์แบบสถาบันนิยม (Institutional Approach/Legal Approach) เป็นการศึกษา
รัฐศาสตร์ที่เน้นหนักในเรื่องกฎหมายรัฐธรรมนูญ และอิทธิพลของโครงสร้างทางการเมืองที่มีต่อการเมือง โดย
เชื่อว่าโครงสร้างทางการเมืองหรือสถาบันทางการเมืองต่าง ๆเป็นตัวกำหนดให้เกิดพฤติกรรมทางการเมืองต่าง ๆ
ออกมานั่นเอง
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 5
............................................................................................................................................................................................
18. จากภาพด้านล่างนี้สะท้อนให้เห็นถึงมาตรวัดแบบใด
ข้อ ประเด็น มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1 บุคลากร
2 งบประมาณ
3. วัสดุ
4. การจัดการ

1. Rating Scale 2. Likert Scale 3. Sum Meted Scale


4. Guttman Scale 5. Semantic Differential Scale
ตอบ 2 Likert Scale เป็นวิธีการวัดที่มีผู้นิยมมากที่สุด และใช้กันอยู่แพร่หลายเพราะความง่ายในการสร้าง
โดยจะเรียงข้อความที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา ซึ่งข้อความแต่ละข้อความจะมีตัวเลือกในการตอบได้ 5 ทาง เช่น
เห็นด้วยอย่างยิ่ง (ได้ 5 คะแนน) เห็นด้วย (ได้ 4 คะแนน) ไม่แน่ใจ (ได้ 3 คะแนน) ไม่เห็นด้วย (ได้ 2 คะแนน)
และไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง (ได้ 1 คะแนน) มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด เป็นต้น
19. Interpretation of Data
1. บทที่ 1 บทนำ 2. บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
3. บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล 5. บทที่ 5 การสรุปผล
ตอบ 4 บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล ของรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ มีเทคนิคในการเขียน
ผลการวิจัยที่สำคัญ 2 ส่วน ได้แก่ 1. การนำเสนอข้อมูล (Presentation of Data) สามารถกระทำได้ทั้งแบบ
“นิรนัย” และแบบ “อุปนัย” 2. การตีความข้อมูล (Interpretation of Data) เป็นการที่ผู้วิจัยชี้ให้เห็นถึง
ข้อเท็จจริงและข้อค้นพบจากการวิจัยนั้น
20. ข้อใดต่อไปนี้หมายถึงการวิจัยที่มีตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัว ขึ้นไป
1. Univariate 2. Multivariate 3. Uni-Research
4. Multi-Research 5. Mixvariate
ตอบ 2 Multivariate หมายถึง การวิจัยที่มีตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป ซึ่งเป็นการวิจัยที่ศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปร หรือศึกษาความเป็นเหตุและผลของตัวแปร
21. ข้อใดต่อไปนี้คือตัวย่อของ “มูลนิธิสถาบันเพื่อการพัฒนาประเทศไทย”
1. TEI 2. TDRI 3. NRCT 4. NECTEC 5. NEXUS
ตอบ 2 ตัวอย่างของหน่วยงานวิจัยหลักในประเทศไทย เช่น สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
สำนักกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) มูลนิธิสถาบันเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
(TDRI) สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (TEI) เป็นต้น
22. ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
1. บทที่ 1 บทนำ 2. บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
3. บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล 5. บทที่ 5 การสรุปผล
ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 4. ประกอบ
23. เหตุผลเชิงอนุมาน
1. Deductive Reasoning 2. Inductive Reasoning 3. Survey Reasoning
4. Field Research 5. Probability Sampling/Non-Probability Sampling
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 6
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 1 เหตุผลเขิงอนุมาน (Deductive Reasoning) เป็นวิธีที่เริ่มจากหลักเกณฑ์หรือข้อเท็จจริงทั่วไป และ
นำไปทดสอบยืนยันด้วยการรวบรวมข้อเท็จจริง ซึ่งเป็นการหาจากส่วนใหญ่ไปสู่ส่วนย่อย เช่น การวิจัยเชิง
ปริมาณ เป็นต้น
24. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการตั้งคำถามการวิจัย
1. คำถามการวิจัยประเภท “ทำไม” เป็นการหาคำตอบไปลักษณะบรรยาย
2. คำถามการวิจัยประเภท “อย่างไร” ต้องการทราบสาเหตุของปรากฏการณ์ทางการเมือง
3. คำถามการวิจัยประเภท “อะไร” ต้องการให้อธิบายกระบวนการของปรากฏการณ์ทางการเมือง
4. การตั้งคำถามการวิจัยที่ดีควรใช้คำถาม “ทำไม อย่างไร อะไร”
5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4 การตั้งคำถามการวิจัย (Research Question) ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการวิจัยภายหลังจากที่ผู้วิจัย
สังเกตเห็นถึงปัญหาต่าง ๆ รอบตัว การตั้งคำถามที่ดีนั้นไม่ควรใช้คำถาม “ใช่หรือไม่” แต่ควรใช้คำถาม “ทำไม
อย่างไร อะไร” ซึ่งคำถามประเภท “ทำไม” จะเป็นคำถามที่ต้องการทราบสาเหตุหรือเหตุผลของปรากฏการณ์
ทางการเมือง คำถามประเภท “อย่างไร” จะเป็นคำถามที่ต้องการให้อธิบายกระบวนการของปรากฏการณ์ทาง
การเมือง ส่วนคำถามประเภท “อะไร” จะเป็นคำถามที่มุ่งให้ค้นหาคำตอบในลักษณะบรรยาย (Descriptive
Answer)
25. หน่วยงานใดทำหน้าที่ในการพัฒนาโปรแกรมอักขราวิสุทธิ์
1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3. พระจอมเกล้าลาดกระบัง
4. พระจอมเกล้าธนบุรี 5. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตอบ 1 โปรแกรมอักขราวิสุทธิ์ ได้รับการพัฒนาโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และบริษัทอินสไปก้า จำกัด โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบงานเขียนเพื่อค้นหาข้อความที่อาจจะเป็นการลอกเลียนผลงานผู้อื่นด้วย
26. ปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะ (Logical Positivism) มีความสัมพันธ์กับกลุ่มใด
1. กลุ่มนักวิชาการเยอรมัน (German Circle) 2. กลุ่มนักวิชาการปรัสเซีย (Prussia Circle)
3. กลุ่มนักวิชาการปารีส (Paris Circle) 4. กลุ่มนักวิชาการเวียนนา (Vienna Circle)
5. กลุ่มนักวิชาการเหตุผลนิยม (Rationalism Circle)
ตอบ 4 ปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะ (Logical Positivism) มีการพัฒนาโดยกลุ่มนักวิชาการเวียนนา (Vienna
Circle) ในศตวรรษที่ 20 ซึ่งในช่วงนี้แนวคิดแบบปฏิฐานนิยมได้มีลักษณะเป็นสถาบันมากขึ้น และแผ่ขยาย
ออกไปนอกทวีปยุโรปและเติบโตอย่างมีชีวิตชีวาในสหรัฐอเมริกาในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
27. ข้อใดต่อไปนี้สะท้อนให้เห็นว่างานวิจัยอยู่ในช่วงเริ่มต้นเท่านั้น
1. Appendix 2. Research Article 3. Interim Report
4. Inception Report 5. Full Report
ตอบ 4 การรายงานผลวิจัยเบื้องต้น (Inception Report) คือ การสรุปผลการดำเนินงานหลังจากที่ผู้วิจัย
ได้รับการอนุมัติหัวข้อวิจัยและโครงร่างนำเสนอการวิจัย โดยรายงานการวิจัยในขั้นต้นนี้ผู้วิจัยต้องแสดงให้เห็นถึง
แผนการดำเนินงานในขั้นแรกหรือในช่วงเริ่มต้นเท่านั้น ตลอดจนรายละเอียดของการปรับแก้ในส่วนต่าง ๆ ตามที่
คณะกรรมการพิจารณาโครงร่างได้เสนอแนะไว้
28. การเข้าไปสังเกตการณ์ชุมนุมทางการเมืองของกลุ่ม REDEM คือการวิจัยประเภทใด
1. Observatory Research 2. Experimental Research 3. Survey Research
4. Documentary Research 5. Applied Research
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 7
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 1 การวิจัยเชิงการสังเกต (Observatory Research) เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยนั้นจะเข้าไปเฝ้า
สังเกตการณ์ปรากฏการณ์ต่างๆ ที่ต้องการศึกษา เช่น การเข้าไปสังเกตการชุมนุมทางการเมืองของกลุ่ม
REDEM เป็นต้น
29. ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการวิจัยทางรัฐศาสตร์
1. Data Analysis 2. Reporting 3. Collecting Data
4. Review Literature 5. Research Question
ตอบ 5 ขั้นตอนของการวิจัยทางรัฐศาสตร์ มี 7 ขั้นตอนดังนี้
1. การกำหนดปัญหาการวิจัย (Research Question)
2. การทบทวนวรรณกรรม (Review Literature)
3. การตั้งสมมุติฐาน (Assumption/Hypothesis)
4. การออกแบบการวิจัย (Designing Research)
5. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collecting Data)
6. การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis)
7. การจัดทำและนำเสนอรายงานการวิจัย (Reporting)
30. การวิจัยเชิงปริมาณ
1. Inductive Reasoning 2. Deductive Reasoning 3. Applied Research
4. Basic Research 5. Mixed Research
ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 23. ประกอบ
31. การศึกษาการเมืองจำเป็นต้องใช้วิธีการแบบวิทยาศาสตร์ในการหาความรู้ (Scientific Method) คือ
พัฒนาการของรัฐศาสตร์ในยุคใด
1. The Post Behavioral 2. Classical Period 3. Institutional Period
4. The Transitional Period 5. The Behavioral Period
ตอบ 5 ยุคพฤติกรรมศาสตร์ (The Behavioral Period) เป็นยุคที่ปรากฏในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
(ค.ศ. 1950 –1960) ซึ่งพบว่าการวิจัยในทางรัฐศาสตร์นั้นมีลักษณะเป็นแบบ “ปฏิฐานนิยม” (Positivism)
มากที่สุด โดยนักรัฐศาสตร์ในยุคนี้มองว่าการศึกษาการเมืองจำต้องใช้วิธีการแบบวิทยาศาสตร์ในการหาความรู้
กล่าวคือ การศึกษาการเมืองไม่ควรเป็นไปในลักษณะเดิม คือ ศึกษาโครงสร้างและสถาบัน หรือศึกษาในเชิง
ปรัชญาการเมืองอีกต่อไป ตัวอย่างของแนวทางการศึกษาแบบนี้ ได้แก่ การศึกษาจิตวิทยาผู้นำทางการเมือง การ
ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง วัฒนธรรมทางการเมือง เป็นต้น
32. Non-Directive Interview, Directive Interview, In-Depth Interview คือ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ
ข้อมูลรูปแบบใด
1. Observation 2. Interview 3. Questionnaire
4. Focus Group 5. Approach
ตอบ 2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลของการสัมภาษณ์ (Interview) ได้แก่ การสัมภาษณ์แบบที่ไม่มีกา
เจาะจง (Non-Directive Interview) การสัมภาษณ์แบบเจาะจง (Directive Interview) การสัมภาษณ์เชิง
ลึก (In-Depth Interview) การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) และการสัมภาษณ์
แบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Interview)
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 8
............................................................................................................................................................................................
33. ไปศึกษาถึงงานวิจัยอื่น ๆ ที่เคยทำมาในอดีต
1. Hypothesis 2. Data Analysis 3. Collecting Data
4. Review Literature 5. Reporting
ตอบ 4 การทบทวนวรรณกรรม (Review Literature) เป็นการศึกษาถึงงานวิจัยอื่น ๆ ที่เคยทำมาในอดีต
ว่าเคยมีการศึกษาเรื่องที่เราสงสัยไว้แล้วหรือไม่ เพราะบางครั้งในอดีตอาจจะมีคนที่สงสัยในเรื่องหนึ่งๆ
เช่นเดียวกับเรา เราก็อาจจะทำงานวิจัยของเราเพิ่มเติมจากสิ่งที่คนอื่นได้เคยทำไปแล้วในอดีต งานวิจัยในอดีต
ตลอดจนตำราหรือเอกสารต่าง ๆ เหล่านี้ เราเรียกว่าวรรณกรรม (Literature) หรือบางทีอาจจะเรียกว่า
“งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง” ก็ได้
34. ข้อมูลที่ไม่ได้วัดออกมาเป็นตัวเลข เช่น ความคิดทางการเมือง คือการวิจัยประเภทใด
1. Applied Research 2. Qualitative Research 3. Survey Research
4. Quantitative Research 5. Observatory Research
ตอบ 2 การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการวิจัยของข้อมูลที่ไม่ได้วัดออกมาเป็นตัวเลข
เช่น ทัศนคติทางการเมือง ความคิดทางการเมือง ความเชื่อในเรื่องต่างๆ ประวัติศาสตร์ของคน ๆ หนึ่ง เป็นต้น
35. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่การกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น
1. Quota Sampling 2. Cluster Sampling 3 Stratified Sampling
4. Systematic Sampling 5. Simple Random Sampling
ตอบ 1 การกำหนดกลุ่มตัวอย่าง (Sampling) แบ่งเป็น 2 วิธีคือ
1. การกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น (Probability Sampling) เช่น การสุ่มตัวอย่างแบบ
ง่าย (Simple Random Sampling), การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (Systematic Sampling), การสุ่ม
ตัวอย่างแบบแยกประเภทสุ่ม (Stratified Sampling), การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นกลุ่ม (Cluster
Sampling) เป็นต้น
2. การกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น (Non-Probability Sampling) เช่น การเลือก
ตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling), การเลือกตัวอย่างแบบกำหนดโควตา (Quota Sampling)
, การเลือกตัวอย่างโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญระบุ (Expert Choice Sampling) เป็นต้น
36. คำว่า “American Psychological Association” (APA) สัมพันธ์กับข้อใดต่อไปนี้มากที่สุด
1. สารบัญ 2. วิธีดำเนินการวิจัย 3. วัตถุประสงค์
4. บรรณานุกรม 5. จิตวิทยาของผู้วิจัย
ตอบ 4 บรรณานุกรม (Bibliography) เป็นส่วนที่แสดงให้เห็นถึงหลักฐาน เอกสาร และวรรณกรรมทั้งหมดที่
ใช้ในการเขียนรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ รวมถึงรายชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ด้วย โดยจัดเรียงเป็นหมวดหมู่และ
เรียงลำดับตามตัวอักษรให้เป็นมาตรฐานสากล ซึ่งในปัจจุบันระบบการอ้างอิงที่ได้รับความนิยมในงานวิจัยหรือ
งานวิชาการในสายสังคมศาสตร์ ได้แก่ การอ้างอิงระบบเอพีเอ (American Psychological Association:
APA) และการอ้างอิงระบบทูราเบียน (Turabian)
37. ตัวแปรในข้อใดสามารถระบุสิ่งที่เรียกว่า “ศูนย์แท้” ได้
1. Nominal Scale 2. Ordinal Scale 3. Interval Scale
4. Ratio Scale 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4 Ratio Scale เป็นการวัดที่มีคุณสมบัติของมาตรวัดแบบช่วงทุกประการ แต่มีคุณสมบัติเพิ่มเติมคือ มี
จุดเริ่มต้นที่ศูนย์แท้หรือศูนย์ที่แท้จริง เช่น อายุ น้ำหนัก ความสูง เงินเดือน รายได้ เป็นต้น
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 9
............................................................................................................................................................................................
38. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. Hypothesis 2. Data Analysis 3. Collecting Date
4. Review Literature 5. Reporting
ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 33. ประกอบ
39. ตัวแปรที่ทำให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ถ้าไม่มีตัวแปรประเภทนี้จะทำให้ไม่มี
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
1. ตัวแปรภายนอก (Extraneous Variables) 2. ตัวแปรองค์ประกอบ (Component Variables)
3. ตัวแปรนำ (Antecedent Variables) 4. ตัวแปรแทรกซ้อน (Intervening Variables)
5. ตัวแปรกด (Suppressor Variables)
ตอบ 1 ตัวแปรภายนอก (Extraneous Variables) เป็นตัวแปรที่ทำให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
อิสระและตัวแปรตาม โดยลักษณะของตัวแปรภายนอกจะมีความเกี่ยวข้องกับตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ถ้าไม่
มีตัวแปรภายนอกจะทำให้ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
40. การใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลชนิดต่าง ๆ
1. Hypothesis 2. Data Analysis 3. Collecting Date
4. Review Literature 5. Reporting
ตอบ 3 การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collecting Data) เมื่อได้ออกแบบการวิจัยเรียบร้อยแล้วและโครงร่างได้รับ
การอนุมัติ ผู้วิจัยก็จะทำตามสิ่งที่ได้ออกแบบไว้โดยการใช้เครื่องเมือเก็บรวบรวมข้อมูลชนิดต่าง ๆ ที่จะนำมา
วิเคราะห์เพื่อหาคำตอบ ซึ่งผู้วิจัยจะต้องบันทึกข้อมูลที่ได้รับและใช้เครื่องมือข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อให้ง่ายเมื่อ
จะต้องนำมาประมวลผลหรือวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาคำตอบ โดยจะต้องเก็บข้อมูลให้ได้มากที่สุด กล่าวคือ การ
เก็บข้อมูลจะสิ้นสุดลงเมื่อเห็นว่าได้ข้อมูลอย่างเพียงพอแล้ว ซึ่งบางคนอาจใช้เวลาเก็บข้อมูลเพียงสั้น ๆ แต่บาง
คนอาจจะใช้เวลาเก็บข้อมูลเป็นปี ๆ
41. เก็บรวบรวมข้อมูลให้ได้มากที่สุด
1. Hypothesis 2. Data Analysis 3. Collecting Date
4. Review Literature 5. Reporting
ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 40. ประกอบ
42. วิธีวิทยา
1. Methodology 2. Pure Research 3. Descriptive Research
4. Analytical Research 5. Applied Research
ตอบ 1 วิธีวิทยา (Methodology) หมายถึง หลักการหรือลักษณะของวิธีการที่ใช้ในการได้มาซึ่งความรู้
โดยวิธีวิทยานี้จะมีความเกี่ยวข้องกับการออกแบบงานวิจัย (Research Design) การเลือกใช้เครื่องมือและ
เทคนิคต่างๆ ในการวิจัยหรือได้มาซึ่งความรู้
43. การพยายามหาคำตอบจากข้อมูลที่ได้
1. Hypothesis 2. Data Analysis 3. Collecting Date
4. Review Literature 5. Reporting
ตอบ 2 การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) เมื่อได้ทำการเก็บข้อมูลมาอย่างเพียงพอจนคิดว่าครบถ้วน
แล้ว ผู้วิจัยก็จะนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ ซึ่งคำว่าวิเคราะห์นี้ก็คือการพยายามหาคำตอบจากข้อมูลที่ได้ โดย
อาจจะนำมาหาความสัมพันธ์ระหว่างกันว่าในข้อมูลที่ได้ว่าอะไรคือสาเหตุของการเกิดปรากฏการณ์ หรือในทาง
ปริมาณก็อาจจะนำข้อมูลที่ได้มาจัดประเภทว่าอะไรเป็นตัวแปรตั้งต้น และอะไรเป็นตัวแปรตาม
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 10
............................................................................................................................................................................................
44. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ไม่ถูกต้อง
1. ประกอบด้วยส่วนประกอบตอนต้น ส่วนเนื้อเรื่อง และส่วนประกอบตอนท้าย
2. ประกอบด้วยเนื้อหาจำนวน 5 บท
3. มีความหนามากที่สุดในบรรดาการเขียนรายงานทั้งหมด
4. ต้องระบุประวัติย่อผู้วิจัยโดยละเอียด
5. มีความยาวประมาณ 50 หน้ากระดาษ A4
ตอบ 5 รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เป็นรายงานที่มีความหนามากที่สุดในบรรดาการเขียนรายงานทั้งหมด
ทั้งนี้เนื่องจากเป็นรายงานที่มีรายละเอียดของการทำวิจัยครบทั้งหมด มีรูปแบบเคร่งครัด ส่วนใหญ่ใช้ศัพท์ทาง
วิชาการ เป็นการนำเสนอที่ผ่านขั้นตอนต่าง ๆจนพิมพ์ออกมาเป็นรูปเล่มสมบูรณ์แบบ โดยจะประกอบด้วย
ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนเนื้อเรื่อง (ประกอบด้วยเนื้อหาจำนวน 5 บท) และส่วนประกอบตอนท้าย ซึ่งจะ
ปรากฎประวัติย่อผู้วิจัยโดยละเอียด
45. สามารถเกิดขึ้นได้ในขณะที่การวิจัยยังไม่เสร็จสิ้น
1. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2. รายงานการวิจัยแบบสั้น
3. บทความการวิจัยลงพิมพ์ในวารสาร 4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย
5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 4 รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย เป็นรายงานการวิจัยที่เขียนขึ้นในช่วงที่การวิจัยยังไม่เสร็จสมบูรณ์
แต่ผู้วิจัยมีเป้าหมายเพื่อรายงานผลการวิจัยแก่ผู้ให้ทุนหรือหน่วยงานต้นสังกัดเป็นระยะ ๆ ซึ่งรายงาน
ความก้าวหน้าดังกล่าวจะมีความสำคัญอย่างมากต่อการพิจารณาจัดสรรงบประมาณต่อเนื่องให้แก่ผู้วิจัย หรือการ
ตัดงบประมาณและระงับการให้ทุนได้หากผลการวิจัยไม่เป็นไปตามเงื่อนไขหรือสัมฤทธิผลที่ได้ทำสัญญากันไว้
46. เป็นวิธีการศึกษาการเมืองที่เก่าแก่ที่สุด 1. ปรัชญาการเมือง
2. ประวัติศาสตร์การเมือง 3. พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์
4. ศึกษาถึงสิ่งที่เป็นธรรมชาติ 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 1 การศึกษาแนวปรัชญาการเมือง (Political Philosophy Approach) นับว่าเป็นแนวที่เก่าแก่ที่สุด
ของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ซึ่งการศึกษาแนวนี้มีลักษณะเป็นการพรรณนาหรืออธิบาย พร้อมทั้งมีการให้
คำแนะนำหรือเสนอมาตรการเอาไว้ด้วย และยังเป็นการศึกษาแนวปทัสถาน (Normative) คือ มีลักษณะของ
การใช้ค่านิยมส่วนตัวของผู้ศึกษามากที่สุด
47. ความสำคัญของการเขียนรายงานการวิจัย
1. เพื่อแสดงอาณาเขตของงานวิจัยเพื่อมิให้ผู้อื่นทำหัวข้อคล้ายกัน
2. เพื่อแสดงความสามารถอันโดดเด่นของนักวิจัย
3. เพื่อเผยแพร่นวัตกรรมหรือข้อค้นพบใหม่ในวงวิชาการ
4. เพื่อป้องกันผู้อื่นนำไปใช้ประโยชน์ในทางวิชาการ
5. เพื่อจับจองพื้นที่ของประเด็นที่ทำการศึกษา
ตอบ 3 ความสำคัญชองการเขียนรายงานการวิจัย ได้แก่
1. เพื่อเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้ทราบว่ามี “นวัตกรรม” หรือ “ข้อค้นพบ” ใหม่ในวงวิชาการ
2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการนำไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่าการทำวิจัยแล้วมีคนเพียงจำนวนเดียวเท่านั้นที่ทราบใน
เนื้อหาของการวิจัยนั้น
3. เพื่อบอกเล่าให้ผู้อ่านทราบว่าปัญหานั้นได้มีผู้ศึกษาอยู่แล้ว
4. เพื่อแสดงให้เห็นถึงความเป็นเจ้าของใน “ลิขสิทธิ์” ของวรรณกรรม หรือ “สิทธิบัตร” ในสิ่งประดิษฐ์นั้น
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 11
............................................................................................................................................................................................
48. มักมีความยาวอยู่ระหว่าง 15 – 25 หน้า 1. รายการการวิจัยฉบับสมบูรณ์
2. รายงานการวิจัยฉบับสั้น 3. บทความวิจัยลงพิมพ์ในวารสาร
4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย 5. บทความพิเศษตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์
ตอบ 3 บทความการวิจัยลงพิมพ์ในวารสาร เป็นรายงานการวิจัยที่มักมีความยาวอยู่ที่ระหว่าง 15 -25 หน้า ซึ่ง
วารสารทางวิชาการฉบับต่าง ๆ ได้รับการจัดประเภทโดยหน่วยงานศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-
Journal Citation Index: TCI)
49. ข้อใดเป็นลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ 1. ต้องการทดสอบทฤษฎี
2. เป็นการเลือกเฉพาะกลุ่มที่ต้องการศึกษา 3. เน้นข้อมูลที่เป็นตัวเลข
4. สรุปจากข้อเท็จจริงโดยใช้สถิติเป็นข้อพิสูจน์ 5. มีทฤษฎีเป็นกรอบในการศึกษา
ตอบ 2 ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ คือ
1. เน้นที่การมองปรากฏการณ์ในภาพรวม 2. เป็นการศึกษาระยะยาวและเจาะลึก
3. เป็นการเลือกเฉพาะกลุ่มที่ต้องการศึกษาเป็นกรณีศึกษา
4. ศึกษาปรากฏการณ์ในสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ
5. คำนึงถึงความเป็นมนุษย์ของผู้วิจัย
6. จะใช้เครื่องมือที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ เป็นต้น
50. Recommendations 1. บทที่ 1 บทนำ
2. บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม 3. บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
4. บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล 5. บทที่ 5 การสรุปผล
ตอบ 5 ดูคำอธิบายข้อ 4. ประกอบ
51. องค์ความรู้ที่นักวิชาการต่าง ๆ กำหนดขึ้น ซึ่งอาจจะถูกรวบรวมอยู่ในรูปแบบของทฤษฎีหรือผลงานวิจัยต่าง ๆ
1. Concepts 2. Measurement 3. Abstract Concepts
4. Indicants 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 1 กรอบแนวความคิด (Concepts) คือ องค์ความรู้ที่นักวิชาการต่าง ๆ กำหนดขึ้น ซึ่งอาจจะถูก
รวบรวมอยู่ในรูปแบบของทฤษฎีหรือผลงานวิจัยต่าง ๆ โดยกรอบแนวความคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์นั้นจะช่วย
ให้เข้าใจในปรากฏการณ์ที่เป็นปัญหา ซึ่งหาความสัมพันธ์ของความเป็นจริงที่จะพิสูจน์และทดสอบได้
52. รายงานการวิจัยประเภทใดที่มักมีความหนาประมาณ 50 หน้ากระดาษ A4
1. รายการการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2. รายงานการวิจัยฉบับสั้น
3. บทความวิจัยลงพิมพ์ในวารสาร 4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย
5. บทความพิเศษตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์
ตอบ 2 รายงานการวิจัยฉบับสั้น เป็นรายงานการวิจัยที่มีรายละเอียดย่อส่วนลงมาจากรายงานการวิจัยฉบับ
สมบูรณ์ โดยมีความหนาประมาณ 50 หน้ากระดาษ A4
53. คำสำคัญในข้อใดต่อไปนี้ไม่เกี่ยวข้องกับการเขียนรายงานการวิจัย
1. นวัตกรรม 2. ลิขสิทธิ์ 3. สิทธิบัตร
4. ข้อค้นพบ 5. เศรษฐกิจ
ตอบ 5 ดูคำอธิบายข้อ 47. ประกอบ
54. นักคิดในข้อใดต่อไปนี้ไม่สอดคล้องกับการตั้งปัญหาวิจัยเชิงปทัสถาน
1. Aristotle 2. Thomas Hobbes 3. Rousseau
4. Plato 5. Karl Marx
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 12
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 5 นักคิดที่อยู่ในแนวทางการศึกษาแบบปทัสถาน เช่น เพลโต (Plato) อริสโตเติล (Aristotle), โทมัส
ฮอบส์ (Thomas Hobbes), จอห์น ล็อค (John Locke) และรุสโซ (Rousseau) เป็นต้น
55. ข้อใดต่อไปนี้เรียงลำดับความเป็นนามธรรมไปสู่รูปธรรมได้อย่างถูกต้องมากที่สุด
1. Conceptualization – Real Definition – Nominal Definition – Measurement
2. Conceptualization – Nominal Definition – Real Definition – Measurement
3. Nominal Definition – Real Definition – Measurement – Conceptualization
4. Real Definition – Nominal Definition – Measurement – Conceptualization
5. Conceptualization – Operation Definition – Real Definition - Measurement
ตอบ 2 กระบวนการเปลี่ยนรูปจากนามธรรม (Abstract) ไปสู่รูปธรรม (Concrete) เขียนได้ดังรูป
การสร้างกรอบแนวความคิด (Conceptualization)
นิยามความหมาย (Nominal Definition)
นิยามความจริง (Real Definition)

นิยามปฏิบัติการ (Operation Definition)


การสร้างเครื่องมือวัด (Measurement)

56. ค้นหาประเด็นต่าง ๆ ในแง่ของแนวคิด ทฤษฎี รวมถึงวิธีการที่ค้นพบจากผลงานวิจัย จากเอกสาร ตำรา


หนังสือที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย คือ หลักเบื้องต้นในการออกแบบวิจัยขั้นตอนใด
1. Review Literature 2. Conceptual Framework 3. Research Objective
4. Research Question 5. Data Collection
ตอบ 1 หลักเบื้องต้นในการออกแบบการวิจัยขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรม (Review Literature) คือ
การอ่าน การรวบรวม การศึกษาค้นคว้าข้อมูลและเอกสารต่าง ๆ เพื่อค้นหาประเด็นต่าง ๆ ในแง่ของแนวคิด
ทฤษฎี รวมถึงวิธีการที่ค้นพบจากผลงานวิจัยจากเอกสาร ตำรา หนังสือ วารสาร หรือสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับงานวิจัย
57. คำตอบที่ได้ตอบไว้ล่วงหน้าก่อนที่จะทำการหาคำตอบ
1. Hypothesis 2. Data Analysis 3. Collecting Data
4. Review Literature 5. Reporting
ตอบ 1 สมมุติฐาน (Hypothesis) คือ คำตอบที่ได้ตอบไว้ล่วงหน้าก่อนที่จะทำการหาคำตอบ ซึ่งคำตอบ
ล่วงหน้าหรือสมมุติฐานนี้อาจจะถูกหรือผิดก็ได้ สำหรับการวิจัยในทางรัฐศาสตร์บางประเภท เช่น การวิจัย
เอกสาร หรือการวิจัยคุณภาพบางอย่าง อาจจะไม่มีการตั้งสมมุติฐานก็ได้
58. มักจะถูกใช้ในการรวบรวมข้อมูลในการวิจัยเชิงสำรวจ ในกรณีที่กลุ่มตัวอย่างหรือประชากรที่จะรวบรวมข้อมูลนั้น
อยู่ในลักษณะที่กระจัดกระจายกันมาก ๆ คือ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลรูปแบบใด
1. Observation 2. Interview 3. Questionnaire
4. Focus Group 5. Approach
ตอบ 3 แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นวิธีการหนึ่งที่ถูกนำมาใช้อย่างมากทั้งในการวิจัยเชิงคุณภาพและ
การวิจัยเชิงประมาณ ซึ่งส่วนมากวิธีการนี้มักจะถูกใช้ในการรวบรวมข้อมูลในการวิจัยเชิงสำรวจ ในกรณีที่กลุ่ม
ตัวอย่างหรือประชากรที่จะรวบรวมข้อมูลนั้นอยู่ในลักษณะที่กระจัดกระจายกันมาก ๆ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 13
............................................................................................................................................................................................
59. จากประโยคที่ว่า “.......การชี้แจงสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการให้ผู้อ่านทราบเป็นพิเศษ เช่น มูลเหตุที่ทำวิจัยเรื่องนั้นการทำ
วิจัยในครั้งนั้นทำขึ้นเพื่ออะไร มีความมุ่งหมายและขอบเขตสำคัญอย่างๆร และผลการวิจัยของเรื่องนำไปใช้
ประโยชน์อะไรได้บ้าง รวมทั้งเป็นส่วนที่ใช้กล่าวขอบคุณผู้ที่ให้ความสนับสนุนช่วยเหลือในการวิจัยนั้นสำเร็จลุล่วง
ไปด้วยความเรียบร้อย โดยระบุชื่อสกุลผู้เชี่ยวชาญที่ให้คำแนะนำหรือความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ....”
สอดคล้องกับข้อใดต่อไปนี้มากที่สุด
1. Bibliography 2. Journal 3. Acknowledgement
4. Abstract 5. Authority Review
ตอบ 3 จินตนาภา โสภณ ได้ให้อรรถาธิบายของ “กิตติกรรมประกาศ” หรือ ประกาศคุณูปการ
(Acknowledgement) ไว้ว่า ที่ว่า “.......การชี้แจงสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการให้ผู้อ่านทราบเป็นพิเศษ เช่น มูลเหตุที่
ทำวิจัยเรื่องนั้นการทำวิจัยในครั้งนั้น การทำวิจัยในครั้งนั้นทำขึ้นเพื่ออะไร มีความมุ่งหมายและขอบเขตสำคัญ
อย่างๆร และผลการวิจัยของเรื่องนำไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง รวมทั้งเป็นส่วนที่ใช้กล่าวขอบคุณผู้ที่ให้ความ
สนับสนุนช่วยเหลือในการวิจัยนั้นสำเร็จลุล่วงไปด้วยความเรียบร้อย โดยระบุชื่อสกุลผู้เชี่ยวชาญที่ให้คำแนะนำ
หรือความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ....”
60. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวแปรในการวิจัย
1. การค้นหาตัวแปรจะต้องมาจากการสำรวจวรรณกรรม
2. การวิจัยที่ดีจะต้องมีตัวแปรที่น้อยที่สุดที่จะตอบปัญหาการวิจัยได้
3. ผู้วิจัยควรคัดเลือกเฉพาะตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัยเท่านั้น
4. ตัวแปรและความสัมพันธ์ของตัวแปรเป็นตัวกำหนดวัตถุประสงค์
5. งานวิจัยในอดีตสามารถนำมาใช้กำหนดตัวแปรในการวิจัยได้
ตอบ 4 การกำหนดตัวแปรในการวิจัยนั้นจะขึ้นอยู่กับปัญหาการวิจัยและกรอบความคิด ซึ่งการค้นหาตัวแปร
จะต้องมาจากการสำรวจวรรณกรรมหรือผลงานวิจัยในอดีตที่จะนำมาใช้กำหนดตัวแปรและความสัมพันธ์ของตัว
แปรดังกล่าว การวิจัยที่ดีจะต้องมีตัวแปรที่น้อยที่สุดที่จะตอบปัญหาการวิจัยได้ ดังนั้นผู้วิจัยจึงต้องคัดเลือกตัว
แปรที่ไม่สำคัญออกไปหรือควรคัดเลือกเฉพาะตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัยเท่านั้น ซึ่งจะสัมพันธ์กับ
วัตถุประสงค์ในการวิจัยด้วย กล่าวคือ วัตถุประสงค์จะเป็นตัวกำหนดตัวแปรและความสัมพันธ์ของตัวแปร
61. ถ้าต้องการทำความเข้าใจวิวัฒนาการของประชาธิปไตยไทย ควรใช้แนวการวิเคราะห์ใด
1. Rational Approach 2. Institutional Approach 3. System Approach
4. Psychological Approach 5. Historical Approach
ตอบ 5 แนวการวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์ (Historical Approach) มีสมมุติฐานว่า ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที
เกิดขึ้นในปัจจุบันนั้นมีที่มาจากพัฒนาการที่คลี่คลายตามลำดับเหตุการณ์อันเชื่อมโยงมาจากเหตุการณ์ที่สำคัญ ๆ
ก่อนหน้านั้น ดังนั้นนักรัฐศาสตร์ที่ศึกษาปรากฏการณ์ทางการเมืองต่าง ๆ ตามช่วงเวลาในอดีตหรือปัจจุบัน จึง
จำเป็นที่จะต้องย้อนกลับไปดูวิวัฒนาการของเหตุการณ์ก่อนหน้าในช่วงยาว แล้วพิจารณาดูว่าเหตุการณ์ไหนเป็น
เหตุการณ์ตั้งต้นที่เป็นสาเหตุของเหตุการณ์ในปัจจุบัน เช่น การทำความเข้าใจวิวัฒนาการของประชาธิปไตยไทย
หรือการเกิดขึ้นของเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 เป็นต้น
62. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ลักษณะของงานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ
1. การปราศจากชุมชนวิชาการในการตรวจสอบ
2. การมีความเป็นอิสระ 3. การมีระเบียบวิธีที่เข้มข้น
4. การมีฐานคิดใหม่ 5. การสร้างเครื่องมือการศึกษาแบบใหม่
ตอบ 1 งานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ เป็นงานวิจัยที่มีเป้าหมายเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ในเชิง
วิชาการ ซึ่งได้แก่ ฐานคิดใหม่ ทฤษฎีใหม่ วิธีการศึกษาแบบใหม่หรือเครื่องมือในการศึกษาแบบใหม่ ซึ่งธรรมชาติ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 14
............................................................................................................................................................................................
ของงานวิจัยลักษณะนี้คือ การมีความเป็นอิสระ การมีระเบียบวิธีที่เข้มข้น การมีวงการหรือชุมชนวิชาการในการ
ตรวจสอบ
63. การประเมินแนวคิดเชิงประจักษ์ที่เป็นกลุ่มของดัชนีที่จะชี้วัดตัวแทนที่ถูกเลือกมาให้สอดคล้องกับแนวความคิด
1. Concepts 2. Measurement 3. Abstract Concept
4. Indicants 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 4 ตัวบ่งชี้ (Indicants) การประเมินแนวคิดเชิงประจักษ์ที่เป็นกลุ่มของดัชนีที่จะชี้วัดตัวแทนที่ถูกเลือก
มาให้สอดคล้องกับแนวความคิด
64. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการวิจัย
1. Objective 2. Verify 3. Explanation
4. Predictive 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 5 ดูคำอธิบายข้อ 2. ประกอบ
65. การกำหนดกลุ่มตัวอย่างของการวิจัยเชิงปริมาณ
1. Deductive Reasoning 2. Inductive Reasoning 3. Survey Reasoning
4. Field Research 5. Probability Sampling/Non-Probability Sampling
ตอบ 5 ดูคำอธิบายข้อ 35. ประกอบ
66. รูปแบบการวิจัยของการวิจัยเชิงปริมาณ
1. Deductive Reasoning 2. Inductive Reasoning 3. Survey Reasoning
4. Field Research 5. Probability Sampling/Non-Probability Sampling
ตอบ 4 การวิจัยสนาม (Field Research) เป็นรูปแบบการวิจัยหนึ่งของการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งเป็นการวิจัย
ที่ผู้วิจัยเลือกหมู่บ้านใดหมู่บ้านหนึ่ง หรือพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเพื่อทำการศึกษา เพื่อให้เข้าใจในพื้นที่นั้นๆ โดยการ
วิจัยประเภทนี้มีข้อจำกัดอยู่ว่า ไม่สามารถนำมาขยายผลในพื้นที่อื่นได้ เพราะผลการวิจัยเป็นลักษณะเฉพาะขอว
แต่ละพื้นที่ แต่จะมีข้อดีคือเข้าใจตัวอย่างที่ศึกษาได้อย่างละเอียด ครอบคลุมในทุกประเด็นที่ต้องการศึกษา
67. การนำข้อมูลที่รวบรวมได้มาทำการวิเคราะห์
1. Hypothesis 2. Data Analysis 3. Collecting Data
4. Review Literature 5. Reporting
ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 43. ประกอบ
68. ข้อใดต่อไปนี้สัมพันธ์กับคำว่า “การสัมภาษณ์เชิงลึก” มากที่สุด
1. Stakeholders 2. Likert-Scale Questionnaire 3. Focus Group
4. Key-Informants 5. Executive Summary
ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 7. ประกอบ
69. การวิจัยตลาด การวิจัยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์
1. Methodology 2. Pure Research 3. Descriptive Research
4. Analytical Research 5. Applied Research
ตอบ 5 การวิจัยประยุกต์ (Applied Research) เป็นการวิจัยที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำไปใช้ซึ่งเป็นการวิจัย
ตลาด การวิจัยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ เช่น การวิจัยเพื่อแก้ปัญหาคอร์รัปชั่น
เป็นต้น
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 15
............................................................................................................................................................................................
70. Authority Review
1. บทที่ 1 บทนำ 2. บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
3. บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล 5. บทที่ 5 การสรุปผล
ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 4. ประกอบ
71. ข้อใดต่อไปนี้คือหลักการที่สำคัญที่สุดในการนำเสนอด้วยโปสเตอร์
1. ความเรียบง่าย 2. การหรูหรา 3. ความตื่นตาตื่นใจ
4. ความถูกต้อง 5. ความสำรวมระมัดระวง
ตอบ 1 การนำเสนอในรูปแบบโปสเตอร์ (Poster Presentation) จำเป็นต้องคำนึงถึงหลักการ3 ส่วน ได้แก่
การวางแผน รูปแบบโปสเตอร์ และเนื้อหาของโปสเตอร์ โดยผู้วิจัยจะต้องเลือกเนื้อหาที่มีความเรียบง่าย
(Simplify) มากที่สุด
72. การวิจัยทางรัฐศาสตร์อาจจะไม่มีก็ได้
1. Hypothesis 2. Data Analysis 3. Collecting Data
4. Review Literature 5. Reporting
ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 57. ประกอบ
73. ตัวแปรที่ทำให้ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ทั้ง ๆ ที่มีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
อิสระและตัวแปรตามอยู่
1. ตัวแปรภายนอก (Extraneous Variables) 2. ตัวแปรองค์ประกอบ (Component Variables)
3. ตัวแปรนำ (Antecedent Variables) 4. ตัวแปรแทรกซ้อน (Intervening Variables)
5. ตัวแปรกด (Suppressor Variables)
ตอบ 5 ตัวแปรกด (Suppressor Variables) เป็นตัวแปรที่ทำให้ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ
และตัวแปรตาม ทั้ง ๆ ที่มีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามอยู่ ถ้าไม่มีตัวแปรประเภทนี้จะทำ
ให้พบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
74. ขั้นตอนการอภิปรายผล
1. บทที่ 1 บทนำ 2. บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
3. บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล 5. บทที่ 5 การสรุปผล
ตอบ 5 ดูคำอธิบายข้อ 4. ประกอบ
75. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย
1. ความถูกต้อง 2. ความแจ่มแจ้งชัดเจน 3. ความตรงประเด็น
4. ความกำกวมระมัดระวัง 5. ถ้อยคำสุภาพ
ตอบ 4 เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย มี 8 เทคนิค ได้แก่
1. การจัดรูปแบบ 2. ความเป็นเอกภาพ 3. ความถูกต้อง
4. ความแจ่มแจ้งชัดเจน 5. ความตรงประเด็น 6. ความสำรวมระมัดระวัง
7. ถ้อยคำสุภาพ 8. การอ้างอิง
76. มาตรวัดที่พัฒนาขึ้นโดยออสกูดและคณะ (Osgood) เพื่อศึกษามิติของความแตกต่างโดยมาจากการตัดสิน
คำศัพท์คู่ที่ตรงกันข้าม
1. Rating Scale 2. Likert Scale 3. Sum Meted Scale
4. Guttman Scale 5. Semantic Differential Scale
ตอบ 5 Semantic Differential Scale เป็นมาตรวัดที่พัฒนาขึ้นโดยออสกูดและคณะ (Osgood) เพื่อ
ศึกษามิติของความแตกต่างโดยมาจากการตัดสินคำศัพท์คู่ที่ตรงกันข้าม โดยแต่ละแนวคิดจะปรากฏอยู่ตรงกัน
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 16
............................................................................................................................................................................................
ข้ามภายใต้คะแนน 7 -11 และให้ผู้ตอบตัดสินแนวคิดโดยเลือกช่วงที่เหมาะสมกับความรู้สึกมากที่สุด
ตัวอย่างเช่น
คำถาม : ความรู้สึกต่อชีวิตปัจจุบันของท่านเป็นอย่างไร
คำตอบ : ชีวิตไร้ค่า ชีวิตมีค่า
สิ้นหวัง มีความหวัง
เบื่อหน่าย น่าสนใจ
ยาก ง่าย
77. ขั้นตอนในการเลือกสุ่มตัวอย่าง
1. บทที่ 1 บทนำ 2. บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
3. บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล 5. บทที่ 5 การสรุปผล
ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 4. ประกอบ
78. Semi-Tabulation Presentation
1. บทที่ 1 บทนำ 2. บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
3. บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล 5. บทที่ 5 การสรุปผล
ตอบ 4 บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล ในส่วนของการนำเสนอข้อมูล (Presentation of Data)
นั้น ผู้วิจัยสามารถทำเป็นลักษณะความเรียง (Text Presentation) ความเรียงกึง่ ตาราง (Semi-
Tabulation Presentation) หรือแบบตาราง (Tabulation Presentation) ทั้งนี้เนื่องจากในกรณีที่มี
ข้อมูลเป็นจำนวนมากการมีตารางหรือแผนภูมิประกอบย่อมจะทำให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจข้อมูลทั้งหมดของ
งานวิจัยได้ง่ายมากขึ้น
79. ผลสรุปสุดท้ายของ “กระบวนการสร้างกรอบแนวความคิด” (Conceptualization Process) นำไปสู่สิ่งใด
ต่อไปนี้
1. Set of Indicators 2. Set of Variants 3. Set of Concepts
4. Set of Abstract Concepts 5. สามารถนำไปสู่สิ่งใดก็ได้ในตัวเลือก 1 - 4
ตอบ 1 ผลสรุปสุดท้ายของกระบวนการสร้างกรอบแนวความคิด (Conceptualization Process) นำไปสู่
กลุ่มของดัชนีที่ชี้วัด (Set of Indicators) ซึ่งจะเป็นตัวบ่งชี้ของผลของการศึกษา แนวคิดที่กำลังศึกษา โดยที่ผู้
ศึกษาสามารถกำหนดกลุ่มของดัชนีที่ชี้วัดนี้ออกเป็นมิติ (Dimension)
80. เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยพิจารณาเพื่อเลือกเครื่องมือต่าง ๆ ที่จะนำไปเก็บข้อมูล
1. Review Literature 2. Designing Research 3. Gantt’s Chart
4. TCI 5. Bibliography
ตอบ 2 การออกแบบการวิจัย (Designing Research) เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยพิจารณาเพื่อเลือกวิธีการใน
การที่จะเก็บข้อมูล หรือเลือกเครื่องมือต่างๆ ที่จะนำไปเก็บข้อมูล เช่น การใช้วิธีการสัมภาษณ์ การเก็บ
แบบสอบถาม เป็นต้น
81. เหตุผลเชิงอุปมาน 1. Deductive Reasoning 2. Inductive Reasoning
3. Survey Reasoning 4. Blind Contact
5. Probability Sampling/Non-Probability Sampling
ตอบ 2 เหตุผลเชิงอุปมาน (Inductive Reasoning) เป็นวิธีที่เริ่มต้นจากข้อเท็จจริงเฉพาะซึ่งได้จาก
ประสบการณ์หรือเหตุการณ์ที่ศึกษา และนำไปสู่ข้อสรุปหรือกฎเกณฑ์ เป็นการหาจากส่วนย่อยไปสู่ส่วนใหญ่ เช่น
การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นต้น
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 17
............................................................................................................................................................................................
82. ข้อใดต่อไปนี้คือรูปแบบการสื่อสารที่สำคัญในการนำเสนอด้วยวาจา
1. Technological Contact 2. Ear Contact 3. Eye Contact
4. Blind Contact 5. Statistic Contact
ตอบ 3 การนำเสนอด้วยวาจา (Oral Presentation) สำหรับในช่วงของการนำเสนอผู้นำเสนอจำเป็นต้องมี
สติและความมั่นใจ ไม่ควรแสดงท่าทีกังวลหรือประหม่าออกมา ลักษณะของการพูดควรเป็นไปอย่างช้า ๆ และ
มั่นคง สิ่งที่พึงระวังอย่างยิ่งคือ หลีกเลี่ยงการอ่านข้อความให้ผู้ฟังฟังตาม ดังนั้นผู้นำเสนออาจต้องสื่อสารทาง
สายตา (Eye Contact) กับผู้ฟังเป็นระยะ ทั้งนี้เพื่อสังเกตว่าผู้ฟังเข้าใจในข้อความที่สื่อสารออกไปหรือไม่
อย่างไร
83. กรอบแนวคิดในการวิจัย
1. บทที่ 1 บทนำ 2. บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
3. บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล 5. บทที่ 5 การสรุปผล
ตอบ 2 บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม ชองรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ประกอบด้วยเนื้อหาที่สำคัญ 6
ส่วนได้แก่ 1. แนวคิดของผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญในหัวข้อที่ทำวิจัย 2. ทฤษฎีและกรอบแนวคิดที่เกี่ยวข้อง 3.
เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4. กรอบแนวคิดในการวิจัย 5. สมมุติฐานของการวิจัย 6. นิยามปฏิบัติการ
84. ตัวแปรในข้อใดสัมพันธ์กับระดับของอุณหภูมิในห้องทดลองวัคซีน
1. Nominal Scale 2. Ordinal Scale 3. Interval Scale
4. Ratio Scale 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 3 Interval Scale เป็นมาตรวัดที่สามารถกำหนดช่วงห่างของความแตกต่างได้อย่างแน่นอน บอกความ
แตกต่างระหว่างกลุ่มได้ สามารถนำข้อมูลมาเปรียบเทียบและคำนวณได้ และยังสามารถบวกและลบได้ แต่ศูนย์
ของข้อมูลประเภทนี้เป็นศูนย์สมมุติไม่มีศูนย์แท้ เช่น ระดับของอุณหภูมิ คะแนนสอบ IQ เป็นต้น
85. Research Methodology
1. บทที่ 1 บทนำ 2. บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
3. บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล 5. บทที่ 5 การสรุปผล
ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 4. ประกอบ
86. กลุ่มผลประโยชน์เป็นสิ่งที่ช่วยทำให้สามารถเข้าปรากฏการณ์ทางการเมือง
1. Rational Approach 2. Institutional Approach 3. System Approach
4. Psychological Approach 5. Group Approach
ตอบ 5 แนวการวิเคราะห์เชิงกลุ่มผลประโยชน์ (Group Approach) เกิดขึ้นมาจากนักรัฐศาสตร์ที่ชื่อ
Arthur F. Bentley โดยเขาเสนอว่า พฤติกรรมทางการเมืองของแต่ละคนนั้นไม่ได้มีบทบาททางการเมืองแต่
อย่างใด แต่ละคนจะมีบทบาทได้นั้น คนต้องรวมกันเป็นกลุ่มเพื่อเรียกร้องหรือต่อต้านต่อระบบการเมือง ซึ่งถือว่า
กลุ่มผลประโยชน์เป็นสิ่งที่ช่วยทำให้สามารถเข้าปรากฏการณ์ทางการเมืองได้ดี
87. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงประโยชน์ของ “ตัวแปรเชิงพัฒนา” ได้อย่างเหมาะสมมากที่สุด
1. ตัวแปรที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถของผู้วิจัย
2. ตัวแปรที่จะนำไปใช้ตอบวัตถุประสงค์ของการศึกษา
3. ตัวแปรมาตรฐานที่ต้องมีในทุกการวิจัย
4. ตัวแปรที่ใช้ในการพัฒนาประเทศไทยให้ก้าวหน้า
5. ตัวแปรที่นำไปสู่ข้อเสนอแนะของการวิจัยต่อไป
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 18
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 2 ตัวแปรเชิงพัฒนา หมายถึง ตัวแปรที่จะทำให้คำตอบของสิ่งที่ต้องการศึกษา หรือที่จะนำไปใช้ตอบ
วัตถุประสงค์ของการศึกษา ว่าต้องการพรรณนา อธิบาย ทำนาย หรือควบคุม ตัวอย่างของตัวแปรประเภทนี้
ได้แก่ ความสามารในการบริหารของหน่วยงานของรัฐ การมีส่วนร่วมของประชาชนในด้านต่าง ๆ เป็นต้น
88. เพือ่ สำรวจ เพื่อพรรณนา เพื่ออธิบาย คือหลักเบื้องต้นในการออกแบบการวิจัยขั้นตอนใด
1. Literature Review 2. Conceptual Framework 3. Research Objective
4. Research Question 5. Data Collection
ตอบ 3 วัตถุประสงค์ในการวิจัย (Research Objective) คือ การบอกจุดมุ่งหมายในการทำวิจัยว่าจะทำไป
เพื่ออะไร ซึ่งจะมีวิธีการตั้งประโยคด้วยการใช้คำขึ้นต้นคำว่า “เพื่อ” เช่น เพื่อสำรวจ เพื่อพรรณนา เพื่ออธิบาย
เพื่อสร้างความเข้าใจ เพื่อวัดผล เป็นต้น
89. ขั้นปัญหาวิจัย
1. บทที่ 1 บทนำ 2. บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
3. บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล 5. บทที่ 5 การสรุปผล
ตอบ 1 บทที่ 1 บทนำ เป็นเนื้อหาที่มีความสำคัญอย่างมากในการเปิดประเด็นให้ผู้อ่านเห็นถึงความสำคัญของ
การศึกษาปัญหาวิจัย อันจะนำไปสู่ “การออกแบบงานวิจัย” (Research Design) ต่อไป
90. ข้อใดต่อไปนี้จับคู่การตั้งปัญหาวิจัยจากประเด็นปัญหาที่มีอยู่ได้อย่างถูกต้อง
1. ปัญหาเชิงประจักษ์ – Analytical Problems 2. ปัญหาเชิงประจักษ์ – Normative Problems
3. ปัญหาเชิงวิเคราะห์ – Empirical Problems 4. ปัญหาเชิงวิเคราะห์ – Normative Problems
5. ปัญหาเชิงปทัสถาน – Normative Problems
ตอบ 5 ปัญหาเชิงปทัสถาน (Normative Problems) คือ ลักษณะของปัญหาที่ต้องใช้ความคิด ความรู้เชิง
วิชาการมาประมวลเป็นข้อสรุปหรือกฎ หรือใช้การอ้างอิงจากตำราวิชาการ แนวคิดทฤษฎี หรือนักวิชาการ
ตลอดจนผู้ทรงคุณวุฒิ มายืนยันและตรวจสอบความถูกต้อง
91. การวิจัยที่วิเคราะห์ความเกี่ยวกับระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ตั้งแต่สองตัวขึ้นไปว่าส่งผลอย่างไรกัน
1. Methodology 2. Pure Research 3. Designing Research
4. Analytical Research 5. Applied Research
ตอบ 4 การวิจัยเชิงวิเคราะห์ (Analytical Research) เป็นการวิจัยที่จะวิเคราะห์ความเกี่ยวกันระหว่างตัว
แปรต่าง ๆ ตั้งแต่สองตัวขึ้นไปว่าส่งผลอย่างไรกัน กล่าวคือ การวิจัยนี้จะมุ่งอธิบายว่าทำไมปรากฏการณ์ทาง
การเมืองหนึ่ง ๆ ถึงเกิดขึ้น มีที่มาอย่างไร และทำไมถึงเป็นเช่นนั้น
92. การคัดลอกผลงานโดยไม่มีการอ้างอิง
1. Consistency 2. Redundancy 3. Reference
4. Plagiarism 5. Unity
ตอบ 4 การคัดลอกผลงานโดยไม่มีการอ้างอิง หรือที่เรียกว่า “Plagiarism” เป็นสิ่งทีผ่ ู้วิจัยหรือผู้อ่านที่จะนำ
วิจัยไปใช้ประโยชน์ต้องพึงระวังอย่างมาก เพราะถือว่าเป็นความผิดที่ร้ายแรงอย่างมากในวงวิชาการ ซึ่งใน
ปัจจุบันการตรวจสอบสามารถกระทำได้อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการ
ตรวจสอบการคัดลอกผลงาน เช่น โปรแกรมอักขราวิสุทธิ์ หรือโปรแกรมเทิร์น อิท อิน (Turn it in) เป็นต้น
93. ข้อใดคือขั้นตอนสุดท้ายของการวิจัยทางรัฐศาสตร์
1. Data Analysis 2. Reporting 3. Collecting Data
4. Review Literature 5. Research Question
ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 29. ประกอบ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 19
............................................................................................................................................................................................
94. Research Proposal คือสิ่งใด
1. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2. บทความวิจัย 3. บทความวิชาการ
4. โครงร่างการวิจัย 5. การนำเสนอรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
ตอบ 42 ดูคำอธิบายข้อ 14. ประกอบ
95. ตัวอย่างเช่น ความแปลกแยก (Alienation) การยกย่องสรรเสริญ (Self-Esteem) และความต้องการภายใน
บุคคล (Interpersonal Needs) เป็นต้น
1. Concepts 2. Measurement 3. Abstract Concepts
4. Indicants 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 3 ตัวอย่างของแนวคิดที่เป็นนามธรรม (Abstract Concepts) เช่น ความแปลกแยก (Alienation)
การยกย่องสรรเสริญ (Self-Esteem) และความต้องการภายในบุคคล (Interpersonal Needs) เป็นต้น
96. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่หลักเกณฑ์ในการเลือกหัวข้อวิจัย
1. ความเป็นไปได้ 2. ความทันต่อเหตุการณ์ 3. การประหยัดงบประมาณ
4. ความสนใจของผู้วิจัย 5. ความสามารถที่จะทำให้บรรลุผล
ตอบ 3 หลักเกณฑ์ในการเลือกหัวข้อของการวิจัย ได้แก่
1. ความสำคัญของปัญหา 2. ความเป็นไปได้ 3. ความน่าสนใจและทันต่อเหตุการณ์
4. ความสนใจของผู้ที่จะวิจัย 5. ความสามารถที่จะทำให้บรรลุผล
97. ได้รับอิทธิพลจากวิธีคิดทางเศรษฐศาสตร์
1. Rational Approach 2. Institutional Approach 3. System Approach
4. Psychological Approach 5. Group Approach
ตอบ 1 แนวการวิเคราะห์แบบการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล (Rational Approach) หรือบางทีก็เรียกว่า
Rational Choice Approach จะมีสมมุติฐานที่สำคัญคือ มนุษย์ทุกคนเป็นมนุษย์ที่มีเหตุมีผล เวลาจะทำ
อะไรแล้วจะคำนวณอยู่ตลอดเวลาว่าตนเองได้ประโยชน์อย่างไร และเสียประโยชน์อย่างไร และเมื่อคำนวณดู
ผลลัพธ์ในทางต่าง ๆ ที่น่าจะเป็นแล้ว คน ๆ นั้นก็จะทำความในทางที่ตนเองได้ประโยชน์มากที่สุด หรือในกรณีที่
ตนเองไม่มีทางจะได้ประโยชน์คน ๆ นั้นก็จะเลือกวิธีการที่ตนเองจะเสียเปรียบน้อยที่สุด ซึ่งเป็นแนวคิดที่ได้รับ
อิทธิพลจากวิธีคิดทางเศรษฐศาสตร์
98. ผู้วิจัยจะทำการควบคุมสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เพื่อหาตัวแปรหรือปัจจัยตั้งต้น เพื่อดูความเชื่อมโยงระหว่างตัวแปร
ต่าง ๆ คือการวิจัยประเภทใด
1. Observatory Research 2. Experimental Research 3. Survey Research
4. Documentary Research 5. Applied Research
ตอบ 2 การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยจะทำการควบคุม
สิ่งแวดล้อมต่างๆ เพื่อหาตัวแปรหรือปัจจัยตั้งต้น และเพื่อดูความเชื่อมโยงระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ซึ่งวิธีการวิจัย
ในลักษณะนี้แทบจะไม่ค่อยได้นำมาใช้ในทางรัฐศาสตร์ แต่มักจะถูกนำไปใช้มากในทางศึกษาศาสตร์
99. เป็นการวิจัยในทางเชิงทฤษฎีต่าง ๆ เช่น การวิจัยเรื่องความชอบธรรมของผู้ปกครอง
1. Methodology 2. Pure Research 3. Designing Research
4. Analytical Research 5. Applied Research
ตอบ 2 การวิจัยบริสุทธิ์ (Pure Research) เป็นการวิจยั ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มพูนความรู้ในทางวิชาการ ซึ่ง
เป็นการวิจัยในทางเชิงทฤษฎีต่าง ๆ เช่น การวิจัยเรื่องความชอบธรรมของผู้ปกครอง การวิจัยเรื่องความยุติธรรม
ในกฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นต้น
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 20
............................................................................................................................................................................................
100. การสำรวจผู้มีสิทธิเลือกตั้งของไทยในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2562 ว่ามีผู้มาใช้สิทธิกี่คน ไม่มาใช้สิทธิกี่คน คือการ
วิจัยประเภทใด
1. Observatory Research 2. Experimental Research 3. Survey Research
4. Documentary Research 5. Applied Research
ตอบ 3 การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) เป็นการวิจัยเพื่อเก็บข้อมูลพื้นฐานในด้านต่าง ๆ โดยจะ
ไม่เน้นการอธิบายหรือวิเคราะห์ถึงสาเหตุการเกิดขึ้นของข้อมูล แต่จะมุ่งเก็บข้อมูลที่เป็นรูปธรรมที่สังเกตเห็นได้
ง่าย ตัวอย่างเช่น การสำรวจผู้มีสิทธิเลือกตั้งของไทยในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2562 ว่ามีผู้มาใช้สิทธิกี่คน ไม่มาใช้
สิทธิกี่คน เป็นต้น


ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 21
............................................................................................................................................................................................
การสอบไล่ภาค 1 ปีการศึกษา 2563
…………..

คำสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (ข้อสอบมีทั้งหมด 100 ข้อ)


1. ตัวเลือกใดไม่ใช่วิธีการแบบวิทยาศาสตร์ (1) การอธิบายด้วยทฤษฎี
(2) การคาดเดาคำตอบล่วงหน้า (3) การรวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกต
(4) แล้วแต่บริบท บางครั้งก็ใช้เหตุผล ถ้าไม่จำเป็นก็ไม่ใช้ประสาทสัมผัส
(5) ทุกข้อคือวิธีการแบบวิทยาศาสตร์
ตอบ 4 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) มี 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. การสังเกตและระบุปัญหา (Observation and Problem Identification) เป็นการรับรู้ผ่าน
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 และเกิดความสงสัยจนนำไปสู่การตั้งคำถามการวิจัย
2. การตั้งสมมุติฐาน (Assumption /Hypothesis) เป็นขั้นตอนหลังจากตั้งคำถามการวิจัยแล้ว
นักวิจัยจะต้องตาดเดาคำตอบล่วงหน้า ถ้าไม่ทำจะไม่สามารถกำหนดแนวทางในการค้นหาคำตอบได้
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) เช่น การเก็บข้อมูลด้วยการสังเกต การเก็บข้อมูล
จากเอกสารขั้นต้น การสอบถามผู้รู้โดยวิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group)
4. การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) เป็นการนำข้อมูลมาจัดเรียงหรือพิจารณาว่าข้อมูลดิบที่
ได้นั้นสามารถนำมาใช้ตอบคำถามได้หรือไม่
5. การสรุปผล (Conclusion) เป็นการนำคำตอบที่ค้นพบได้มากล่าวอย่างย่อ ๆ ซ้ำอีกรอบหนึ่ง
2. ตัวเลือกข้อใดเกี่ยวกับความหมายของการวิจัยมากที่สุด
(1) การค้นหาเรื่องหนึ่งอย่างซ้ำ ๆ จนกว่าจะเจอคำตอบที่ผู้วิจัยสงสัย
(2) การค้นพบคำตอบที่ไม่มีใครเคยตอบมาก่อน
(3) การค้นหาสัจธรรมหรือความจริงแท้ของโลกใบนี้
(4) การพยายามพิสูจน์ความเชื่อที่ไม่มีใครเคยพิสูจน์ได้มาก่อน (5) ข้อ 2. และข้อ 3. ถูกทั้งสองข้อ
ตอบ 1 การวิจัย (Research) หมายถึง การพยายามค้นหาคำตอบจากปัญหาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งผ่านการ
สังเกตอย่างรอบด้าน หรือการเก็บข้อมูลที่ใช้นำมาวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีแบบแผนซึ่งข้อมูลที่ว่านี้อาจจะได้มา
จากการค้นหาตามเอกสารต่าง ๆ หรือจากการลงพื้นที่ไปสัมภาษณ์หรือด้วยวิธีการอื่น ๆ ที่ทำให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่
ต้องการ และเมื่อได้ข้อมูลมาแล้วก็นำมาวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือต่าง ๆ หรือขบคิดอย่างละเอียด จนได้มาซึ่งคำตอบที่
ต้องการ
3. องค์ความรู้ใดใกล้เคียงกับวิทยาศาสตร์มากที่สุด (1) Behaviorism
( 2) History (3) Law (4) Philosophy (5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 1 ปฏิฐานนิยม (Positivism) ได้แก่ แนวคิดที่ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ หรือการวิจัยเชิงปริมาณเป็น
เครื่องมือ โดยมีความเชื่อที่ว่าปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติสามารถอธิบายได้ด้วยกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่
ในธรรมชาติ และมนุษย์สามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 โดยเฉพาะเมื่อสาขาวิชารัฐศาสตร์รับเอาแนวคิดแบบ
พฤติกรรมศาสตร์ (Behaviorism) ในช่วงตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา
4. เมื่อได้คำตอบหลังจากกำหนดคำถามการวิจัยเรียบร้อยแล้ว นักวิจัยต้องทำอะไรต่อไป
(1) Data Collection (2) Data Analysis (3) Review Literature
(4) Data Synthetic (5) Conclusion
ตอบ 3 ขัน้ ตอนการวิจัยทางรัฐศาสตร์ มี 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. การกำหนดปัญหาการวิจัย (Research Question)
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 22
............................................................................................................................................................................................
2. การทบทวนวรรณกรรม (Review Literature)
3. การตั้งสมมติฐาน (Assumption / Hypothesis)
4. การออกแบบการวิจัย (Designing Research)
5. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collecting Data)
6. การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis)
7. การจัดทำและนำเสนอรายงานการวิจัย (Reporting)
5. เมื่อได้คำตอบหลังจากทบทวนวรรณกรรมเรียบร้อยแล้ว นักวิจัยต้องทำอะไรต่อไป
(1) Data Collection (2) Data Analysis (3) Problem Statement
(4) Data Synthetic (5) Assumption
ตอบ 5 ดูคำอธิบายข้อ 4. ประกอบ
ข้อ 6. – 12. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ตอบในแต่ละข้อ โดยให้มีความสัมพันธ์มากที่สุดกับโจทย์คำถาม
(1) Data Collection (2) Assumption (3) Data Analysis
(4) Observation and Problem Identification (5) Conclusion
6. นำข้อมูลมาจัดเรียงหรือพิจารณาว่าข้อมูลดิบที่ได้นั้นสามารถนำมาใช้ตอบคำถามได้หรือไม่
ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 1. และข้อ 4. ประกอบ
7. เป็นการกำหนดคำตอบล่วงหน้าว่าน่าจะเป็นเช่นไร
ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 1. และข้อ 4. ประกอบ
8. ขั้นตอนสุดท้ายของการวิจัย
ตอบ 5 ดูคำอธิบายข้อ 1. และข้อ 4. ประกอบ
9. ขั้นตอนแรกของการวิจัย
ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 1. และข้อ 4. ประกอบ
10. การแจกแบบสอบถามจำนวน 400 ชุด
ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 1. และข้อ 4. ประกอบ
11. การค้นคว้าจากเอกสารชั้นรองในห้องสมุด
ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 1. และข้อ 4. ประกอบ
12. การนำคำตอบที่ค้นพบได้มากล่าวอย่างย่อ ๆ ซ้ำอีกรอบหนึ่ง
ตอบ 5 ดูคำอธิบายข้อ 1. และข้อ 4. ประกอบ
13. สาขาความรู้ใดมีอิทธิพลต่อรัฐศาสตร์สมัยใหม่น้อยที่สุด (1) ชีววิทยา
(2) ปรัชญาการเมือง (3) ฟิสิกส์ (4) จิตวิทยา (5) วิทยาศาสตร์
ตอบ 2 แนวการวิเคราะห์หรือกรอบการวิเคราะห์ (Approach) มาจากศัพท์ภาษอังกฤษที่แปลว่า การเข้าไป
ใกล้ ๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากต่อการศึกษารัฐศาสตร์สมัยใหม่ หรือในการทำวิจัยทางรัฐศาสตร์ที่ได้รับอิทธิพลมา
จากการหาความรู้แบบวิทยาศาสตร์ ทั้งในแง่ของการแสวงหาความรู้ในแนวชีววิทยา ฟิสิกส์ และความรู้ด้านจิตวิทยา
เนื่องจากกรอบการวิเคราะห์จะเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นตัวกำหนดมุมมองในการทำวิจัย ซึ่งถ้า
เปรียบไปแล้วแนวการวิเคราะห์ก็คือเข็มทิศหรือแผนที่ของการวิจัย
14. ปรากฏการณ์ใด ๆ ก็ตาม เกิดขึ้นจากการทำงานของระบบการเมือง แนวคิดดังกล่าวนี้ตรงกับ Approach
ใดมากที่สุด (1) Political Philosophy Approach
(2) Group Approach (3) System Approach
(4) Development Approach (5) Power Approach
ตอบ 3 แนวการวิเคราะห์เชิงระบบ (System Approach / Functional Approach) เชื่อว่าในทุกสังคม
นั้นมีลักษณะเป็นระบบที่ทำการรักษาตนเองให้อยู่รอดเสมอ ๆ ปรากฏการณ์ใด ๆ เกิดขึ้นจากการทำงานของระบบ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 23
............................................................................................................................................................................................
การเมือง โดยได้รับอิทธิพลมาจากวิธีคิดในทางชีววิทยา (Biology) ที่มองสังคมหรือรัฐก็เหมือนร่างกายที่ประกอบไป
ด้วยอวัยวะต่าง ๆ ทำงานสอดประสานกัน เมื่อใดก็ตามที่อวัยวะหนึ่งทำงานผิดพลาด ร่างกายก็จะรวนไปทั้งหมด
เช่นเดียวกันกับสังคม อันประกอบไปด้วยกลไกทางสังคมต่าง ๆ ซึ่งจำเป็นต่อการรักษาระบบให้ทำงานต่อไปอย่างมี
ประสิทธิภาพได้
15. Approach ใดได้รับอิทธิพลมาจากสาขาความรู้ทางเศรษฐศาสตร์
(1) Political Philosophy Approach (2) Group Approach
(3) System Theory (4) Development Approach
(5) Rational Choice Approach
ตอบ 5 แนวการคิดวิเคราะห์แบบการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล (Rational Approach) หรือบางทีก็เรียกว่า
Rational Choice Approach จะมีสมมุติฐานที่สำคัญคือ มนุษย์ทุกคนเป็นมนุษย์ที่มีเหตุมีผล เวลาจะทำอะไรแล้ว
จะคำนวณอยู่ตลอดเวลาว่าตนเองได้ประโยชน์อย่างไร และเสียประโยชน์อย่างไร และเมื่อคำนวณดูผลลัพธ์ในทางต่าง
ๆ ที่น่าจะเป็นแล้ว คน ๆ นั้นก็จะทำตามในทางที่ตนเองได้ประโยชน์มากที่สุด (Maximize Utility) หรือในกรณีที่
ตนเองไม่มีทางจะได้ประโยชน์ คน ๆ นั้นก็จะเลือกวิธีการที่ตนเองจะเสียเปรียบน้อยที่สุด (Maximin) ซึ่งเป็นแนวคิด
ที่ได้รับอิทธิพลจากวิธีคิดในทางเศรษฐศาสตร์
16. ข้อใดเกี่ยวข้องกับ Transitional Period มากที่สุด
(1) ยุคย้อนกลับแห่งการศึกษาการเมืองแบบยุโรป (2) ยุคหลังพฤติกรรมศาสตร์
(3) ยุคที่เริ่มเปลี่ยนไปสู่การศึกษารัฐศาสตร์สมัยใหม่ (4) เน้นการใช้เครื่องมือทางสถิติเป็นหลัก
(5) ทุกข้อไม่เกี่ยวข้องกับ Transitional Period
ตอบ 3 ยุคเปลี่ยนผ่านสู่รัฐศาสตร์สมัยใหม่ (Transitional Period) เป็นยุคที่มีการก่อตั้งสมาคมรัฐศาสตร์
อเมริกัน (American Political Science Association : APSA) ในปี ค.ศ. 1908 โดยนักรัฐศาสตร์อเมริกันเริ่ม
มองว่า วิธีการศึกษาแบบเก่า หรือการศึกษาเชิงโครงสร้าง ไม่สามารถสะท้อนความเป็นจริงออกมาได้ ดังนั้นการศึกษา
ในยุคนี้จึงเป็นการเริ่มกรุยทางไปสู่ศักราชใหม่ของรัฐศาสตร์แบบวิทยาศาสตร์การเมือง อย่างไรก็ตาม วิธีการศึกษา
แบบเก่าคือ สถาบันนิยม ยังคงมีอิทธิพลอยู่ เพียงแต่เริ่มมีการท้าทายจากวิธีการศึกษาแบบอเมริกัน

17. ข้อใดเป็นวิธีการศึกษาการเมืองที่เก่าแก่ที่สุด (1) ปรัชญาการเมือง


(2) กฎหมาย (3) พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์
(4) พฤติกรรมของมนุษย์ (5) ข้อ 1. ข้อ 2. ถูกทั้งสองข้อ
ตอบ 1 การศึกษาแนวปรัชญาการเมือง (Political Philosophy Approach) นับว่าเป็นแนวที่เก่าแก่ที่สุด
ของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ซึ่งการศึกษาแนวนี้มีลักษณะเป็นการพรรณนาหรืออธิบาย พร้อมทั้งมีการให้คำแนะนำ
หรือเสนอมาตรการเอาไว้ด้วย และยังเป็นการศึกษาแนวปทัสถาน (Normative) คือ มีลักษณะของการใช้ค่านิยม
ส่วนตัวของผู้ศึกษามากที่สุด
18. “คำอธิบายเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางการเมืองที่ผ่านการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ” เกี่ยวข้องกับตัวเลือกใด
มากที่สุด (1) Methodology (2) ระเบียบวิธีวิจัย
(3) Political Theory (4) Normative (5) ข้อ 1. และข้อ 2. ถูกทั้งสองข้อ
ตอบ 5 ระเบียบวิธีวิจัย (Methodology) หมายถึง องค์ความรู้ที่มุ่งมั่นศึกษาเกี่ยวกับวิธีต่าง ๆ ที่นำมาใช้ใน
การวิจัย ตลอดจนจะเป็นการศึกษาถึงแนวคิดพื้นฐาน ความเชื่อต่าง ๆ ที่อยู่ภายใต้การวิจัยในแต่ละแบบ ซึ่งใน
การศึกษาทางรัฐศาสตร์สมัยใหม่สามารถนำมาใช้ในการอธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองที่ผ่านการศึกษาค้นคว้า
อย่างเป็นระบบ
19. การสำรวจผู้มีสิทธิเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2562 เกี่ยวข้องกับข้อใดมากที่สุด
(1) Political Philosophy (2) Normative Research (3) Survey Research
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 24
............................................................................................................................................................................................
(4) Research Proposal (5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 3 การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) เป็นการวิจัยที่เน้นการสำรวจข้อมูลพื้นฐานทั่วไป ซึ่งส่วน
ใหญ่ไม่ได้ลงลึกมากนัก โดยจัดทำแบบสอบถามไปยังกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของหน่วยในการศึกษา การวิจัยนี้จะไม่
เน้นการอธิบายหรือวิเคราะห์ถึงสาเหตุของการเกิดขึ้นของข้อมูล แต่จะมุ่งเก็บข้อมูลที่เป็นรูปธรรมที่สังเกตเห็นได้ง่าย
ตัวอย่างเช่น การสำรวจผู้มีสิทธิเลือกตั้งของไทยในแต่ละปี การสำรวจสำมะโนครัว (Census) การสำรวจรายได้ เป็น
ต้น
20. โครงร่างของการวิจัย ที่นักวิจัยจะต้องนำเสนอก่อนที่จะเริ่มทำวิจัย
(1) Pure Research (2) Applied Research (3) Survey Research
(4) Research Proposal (5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 4 โครงร่างวิจัย (Research Proposal) เป็นกระบวนการเบื้องต้นที่ผู้วิจัยต้องจัดทำแผนในการวิจัย
เพื่อให้ผู้สอนหรือกรรมการพิจารณาโครงร่างก่อนที่จะทำการวิจัย
➢ ข้อ 21. – 25. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ตอบในแต่ละข้อ โดยให้มีความสัมพันธ์มากที่สุดกับโจทย์คำถาม
(1) Documentary Research (2) Dependent Variable (3) Independent Variable
(4) Survey Research (5) Unit of Analysis

21. ถ้าต้องการศึกษาหมอกควันในเขตกรุงเทพมหานครเปรียบเทียบระหว่างปี พ.ศ. 2562 กับ พ.ศ. 2563 ด้วย


วิธีการดูรายงานของทางรัฐบาลเปรียบเทียบ“การดูรายงานของรัฐบาล” ในทางการวิจัยเรียกว่าเป็นวิธีการอะไร
ตอบ 1 การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) เป็นการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารโดยกำหนด
ประเด็นที่ต้องการศึกษา และทำการค้นคว้าข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ตำรา
เอกสารการวิจัย เอกสารทางราชการ หนังสือพิมพ์ หนังสือวารสารต่าง ๆ โบราณวัตถุ ศิลาจารึก เป็นต้น
22. มุ่งเก็บข้อมูลที่เป็นรูปธรรมที่สังเกตเห็นได้ง่าย ตัวอย่างของการวิจัยเช่นนี้ก็เช่น การสำรวจผู้มีสิทธิเลือกตั้งของ
ไทยในการเลือกตั้งปี พ.ศ.2562 ว่ามีผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนกี่คน
ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 19. ประกอบ
23. นักอ่านจารึกได้ทำงานค้นหาว่าภาษาที่เขียนในจารึกนั้นเป็นภาษาอะไร การวิจัยลักษณะนี้คืองานวิจัยประเภทใด
ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 21. ประกอบ
24. เป็นตัวแปรที่ผู้ศึกษาได้ทำการเปลี่ยนไปมาเพื่อจะดูผลที่ตามมา
ตอบ 2 ตัวแปรที่กำหนดความสัมพันธ์โดยตรง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) หรือตัวแปรต้น เป็นตัวแปรที่เป็นสาเหตุหรือเป็น
ความสัมพันธ์ตั้งต้นที่ก่อให้เกิดผล เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดตัวแปรตาม โดยผู้ศึกษาสามารถเปลี่ยนไปมาเพื่อจะดูผลที่
ตามมา มักจะใช้สัญลักษณ์แทนเป็นตัวอักษร X เช่น ระดับการศึกษาที่ส่งผลต่อการตัดสินใจลงคะแนน, ภูมิหลังของ
บุคคล,การอยู่อาศัยในท้องถิ่น เป็นต้น
2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) เป็นตัวแปรที่เป็นผลหรือเปลี่ยนแปลงตามอิทธิพลของตัว
แปรอื่น มักจะใช้สัญลักษณ์แทนเป็นตัวอักษร Y เช่น ผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิประเทศ, การมีส่วนร่วม
ทางการเมือง, ความพึงพอใจในการทำงาน, ประสิทธิผลในการทำงาน เป็นต้น
25. การสำรวจรายได้ทั่วประเทศของประชาชนในเขตจังหวัดนครปฐม การวิจัยประเภทนี้เรียกว่าอะไร
ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 19. ประกอบ
➢ข้อ 26. – 31. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ตอบในแต่ละข้อ โดยให้มีความสัมพันธ์มากที่สุดกับโจทย์คำถาม
(1) Research Question (2) Observation (3) Research Objective
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 25
............................................................................................................................................................................................
(4) Approach (5) Method

26. โดยรูปศัพท์ภาษาอังกฤษ แปลว่า “การเข้าไปใกล้ ๆ” ในทางรัฐศาสตร์เรียกแนวการวิเคราะห์


ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 13. ประกอบ
27. การรับรู้สิ่งต่าง ๆ ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า
ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 1. ประกอบ
28. วิธีการตั้งประโยคต้องใช้คำขึ้นต้น คำว่า “เพื่อ” โดยการตั้งนั้นต้องเป็นประโยคบอกเล่า
ตอบ 3 วัตถุประสงค์ในการวิจัย (Research Objective) คือ การบอกจุดมุ่งหมายในการทำวิจัยว่าจะทำไป
เพื่ออะไร ซึ่งจะมีวิธีการตั้งประโยคด้วยการใช้คำขึ้นต้นคำว่า “เพื่อ” เช่น เพื่อสำรวจ เพื่อพรรณนา เพื่ออธิบาย เพื่อ
สร้างความเข้าใจ เป็นต้น
29. ต้องตั้งด้วยประโยคประเภท “อะไร ทำไม ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร”
ตอบ 1 คำถามการวิจัย (Research Question) หมายถึง คำถามที่ต้องการหาคำตอบจากปรากฏการณ์ที่
นำมาศึกษาวิจัย โดยจะต้องเป็นคำถามที่ยังไม่มีคำตอบ หรือเป็นคำถามที่ไม่สามารถหาคำตอบได้โดยง่าย หรือมี
คำตอบแต่ยังไม่ชัดเจน ใช้คำถามปลายเปิดเป็นส่วนใหญ่ ไม่ควรตั้งในลักษณะปลายปิด และจะต้องเป็นคำถามที่
น่าสนใจที่จะหาคำตอบด้วย มักจะตั้งด้วยประโยคประเภท “อะไร ทำไม ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร”
30. วิธีการเก็บข้อมูล
ตอบ 5 คำว่า Method หมายถึง วิธีการของคน ๆ หนึ่งที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเพื่อนำมาทำความเข้าใจหรือใช้
อธิบายบางสิ่งบางอย่าง ซึ่งอาจจะแปลเป็นภาษาไทยว่า “วิธีการ”
31. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 13. ประกอบ

➢ ข้อ 32. - 35. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ตอบในแต่ละข้อ โดยให้มีความสัมพันธ์มากที่สุดกับโจทย์คำถาม


(1) Institutional Approach (2) Rational Choice Approach
(3) Historical Approach (4) Political Culture
(5) Psychological Approach

32. ถ้าเรารู้กติกาของกีฬา เราก็จะสามารถเข้าใจพฤติกรรมของผู้เล่นได้ไม่ยาก วิธีคิดดังกล่าวคล้ายกับแนวคิดของ


Approach ใด
ตอบ 1 แนวการวิเคราะห์แบบสถาบันนิยม (Institutionalism / Institutional Approach) เป็น
การศึกษารัฐศาสตร์ที่เน้นหนักในเรื่องกฎหมายรัฐธรรมนูญ และอิทธิพลของโครงสร้างทางการเมืองที่มีต่อการเมือง
โดยเชื่อว่าโครงสร้างทางการเมืองหรือสถาบันทางการเมืองต่าง ๆ เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมมนุษย์ นักรัฐศาสตร์
สมัยใหม่แนวสถาบันนิยม
33. ทัศนคติ แบบแผน หรือมุมมองทางการเมืองของคนในแต่ละสังคมนั้นแตกต่างกัน และก่อให้เกิดปรากฏการณ์
ทางสังคม วิธีคิดดังกล่าวคล้ายกับแนวคิดของ Approach ใด
ตอบ 5 แนวการวิเคราะห์เชิงจิตวิทยา (Psychological Approach) มีความเชื่อพื้นฐานว่าสาเหตุในการ
กระทำเรื่องใด ๆ ของมนุษย์ทุกคนนั้นมีที่มาจากปัจจัยในด้านจิตวิทยาเป็นหลัก ซึ่งมองว่าปัจจัยทางจิตวิทยาต่าง ๆ
เช่น ทัศนคติ บุคลิกภาพ ความคิดเห็น มุมมองทางการเมือง ค่านิยม ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมทางการเมือง เช่น การ
ตัดสินใจของผู้มาลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง เป็นต้น
34. มนุษย์จะเลือกตัวเลือกที่ก่อให้ตัวเองได้ประโยชน์สูงสุด วิธีคิดดังกล่าวคล้ายกับแนวคิดของ Approach ใด
ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 15. ประกอบ
35. ถ้าอยากเข้าใจเหตุการณ์ทำรัฐประหารปี พ.ศ. 2557 จำเป็นต้องย้อนกลับไปดูการทำรัฐประหารปี พ.ศ. 2549
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 26
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 3 แนวคิดการวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์ (Historical Approach) มีสมมุติฐานว่าปรากฏการณ์ต่าง ๆ
ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันนั้นมีที่มาจากพัฒนาการที่คลี่คลายตามลำดับเหตุการณ์อันเชื่อมโยงมาจากเหตุการณ์ที่สำคัญ ๆ
ก่อนหน้านั้น ด้วยเหตุนี้เองนักรัฐศาสตร์ที่ศึกษาปรากฏการณ์ทางการเมืองต่าง ๆ ตามช่วงเวลาในอดีตหรือปัจจุบัน นัก
รัฐศาสตร์ก็จำเป็นที่จะต้องย้อนกลับไปดูวิวัฒนาการของเหตุการณ์ต่าง ๆ ก่อนหน้าในช่วงยาว แล้วพิจารณาดูว่า
เหตุการณ์ไหนเป็นเหตุการณ์ตั้งต้นที่เป็นสาเหตุของเหตุการณ์ในปัจจุบัน
36. คำถามที่ใช้มาตรวัดแบบ Likert Scale จัดเป็นคำถามในลักษณะใด
(1) Check-list Question (2) Multiple Choice Question
(3) Multi-response Question (4) Rank Priority Question
(5) Ranking Scale Question
ตอบ 5 คำถามในลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า (Ranking Scale Question) จัดเป็นแบบสอบถามปลาย
ปิดชนิดหนึ่ง โดยแบบที่นิยมใช้และรู้จักกันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ มาตรวัดแบบ Likert Scale, มาตรวัดแบบ
Guttman Scale, มาตรวัดแบบ Osgood Scale และมาตรวัดแบบ Thurstone Scale เป็นต้น
37. ข้อใดไม่ใช่เกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาคุณภาพของเครื่องมือวัด
(1) ประสิทธิภาพ (2) ความเชื่อถือได้ (3) การมีความหมาย
(4) ความเป็นปรนัย (5) ทำนายอนาคตได้อย่างแน่นอน
ตอบ 5 คุณภาพของเครื่องมือวัด มีเกณฑ์ในการพิจารณา ดังนี้
1. ความเชื่อถือได้ (Reliability) 2. ความแม่นตรง (Validity)
3. ความเป็นปรนัย (Objectivity) 4. ความแม่นยำ (Precision)
5. การมีประสิทธิภาพสูง (Efficiency) 6. ความไวในการแบ่งแยก (Sensibility)
7. การมีความหมายของการวัด (Meaningfulness)
8. การนำเครื่องมือนั้นไปปฏิบัติได้ง่าย (Practicality)
38. ในการทดสอบความน่าเชื่อถือได้ (Reliability) ต้องพิจารณาเรื่องใด
(1) ความมีเสถียรภาพ (2) การทดแทนซึ่งกันและกันได้
(3) การเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (4) ข้อ 1. และข้อ 3. ถูกเท่านั้น (5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 5 การทดสอบความเชื่อถือได้ (Reliability) มีเกณฑ์ในการพิจารณา ดังนี้
1. ความมีเสถียรภาพ (Stability) 2. การทดแทนซึ่งกันและกันได้ (Equivalence)
3. การเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (Homogeneity)
39. ข้อใดเป็นข้อจำกัดของการใช้แบบสอบถาม (1) สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย
(2) ต้องอาศัยผู้มีความรู้ความชำนาญพิเศษ (3) เกิดความลำเอียงหรืออคติได้ง่าย
(4) ไม่สามารถเก็บข้อมูลกับผู้ที่อ่านเขียนหนังสือไม่ได้ (5) สามารถกลับไปซักถามต่อได้
ตอบ 4 ข้อจำกัดของการส่งแบบสอบถาม มีดังนี้
1. ไม่แน่ใจว่าได้ข้อมูลตรงกับความจริงหรือไม่ ถ้าเครื่องมือวัดไม่ดีพอ
2. มีลักษณะยืดหยุ่นน้อย 3. มักได้แบบสอบถามกลับคืนมาจำนวนน้อย
4. ไม่สามารถใช้กับประชากรที่ไม่สามารถอ่านออกเขียนได้ 5. ไม่สามารถกลับมาซักถามได้ เป็นต้น
40. ข้อใดเป็นลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ (1) ต้องการทดสอบทฤษฎี
(2) เป็นการเลือกเฉพาะกลุ่มที่ต้องการศึกษา (3) เน้นข้อมูลที่เป็นตัวเลข
(4) สรุปจากข้อเท็จจริงโดยใช้สถิติเป็นข้อพิสูจน์ (5) มีทฤษฎีเป็นกรอบในการศึกษา
ตอบ 2 ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ คือ
1. เน้นที่การมองปรากฏการณ์ในภาพรวม 2. เป็นการศึกษาระยะยาวและเจาะลึก
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 27
............................................................................................................................................................................................
3. เป็นการเลือกเฉพาะกลุ่มที่ต้องการศึกษาเป็นกรณีศึกษา
4. ศึกษาปรากฏการณ์ในสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ 5. คำนึงถึงความเป็นมนุษย์ของผู้วิจัย
6. จะใช้เครื่องมือที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ เป็นต้น
41. ข้อใดเป็นลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงปริมาณ (1) เน้นที่การมองปรากฏการณ์ในภาพรวม
(2) เป็นการศึกษาระยะยาวและเจาะลึก (3) ต้องการทดสอบทฤษฎี
(4) ศึกษาปรากฏการณ์ในสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ (5) คำนึงถึงความเป็นมนุษย์ของผู้วิจัย
ตอบ 3 ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงปริมาณ คือ
1. ต้องการทดสอบทฤษฎีด้วยเครื่องมือทางสถิติ 2. เน้นข้อมูลที่เป็นตัวเลข
3. มีทฤษฎีเป็นกรอบในการศึกษา 4. เป็นการเลือกประชากรทั้งหมด
5. มีวิธีการเก็บข้อมูล โดยการใช้การสอบถามและการสัมภาษณ์ตามแนวเป็นหลัก
6. สรุปจากข้อเท็จจริงที่รวมรวมมาได้โดยใช้สถิติเป็นข้อพิสูจน์ เป็นต้น
42. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงปริมาณ (1) ต้องการทดสอบทฤษฎี
(2) เป็นการเลือกเฉพาะกลุ่มที่ต้องการศึกษา (3) เน้นข้อมูลที่เป็นตัวเลข
(4) สรุปจากข้อเท็จจริงโดยใช้สถิติเป็นข้อพิสูจน์ (5) มีทฤษฎีเป็นกรอบในการศึกษา
ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 40. และ 41. ประกอบ
43. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ (1) เน้นที่การมองปรากฏการณ์ในภาพรวม
(2) เป็นการศึกษาระยะยาวและเจาะลึก (3) ต้องการทดสอบทฤษฎี
(4) ศึกษาปรากฏการณ์ในสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ (5) คำนึงถึงความเป็นมนุษย์ของผู้วิจัย
ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 40. และ 41. ประกอบ
44. การใช้ตรรกะหรือแนวทางในความเป็นเหตุและผลที่กำหนดวิธีการในการแก้ไขปัญหาและใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์มา
เป็นข้อพิสูจน์ความถูกต้องของแนวคิดเกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
(1) Scientific Approach (2) Empirical Approach (3) Rational Approach
(4) Objective Truth (5) Subjective Truth
ตอบ 1 แนวทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Approach) เป็นการใช้ตรรกะหรือแนวทางในความเป็นเหตุและ
ผลที่กำหนดวิธีการในการแก้ปัญหา และใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์มาเป็นข้อพิสูจน์ความถูกต้องของแนวคิด
45. คำตอบในหนังสือหน้าหนึ่งในแต่ละวันตลอดสัปดาห์ เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
(1) Scientific Approach (2) Empirical Approach (3) Rational Approach
(4) Objective Truth (5) Subjective Truth
ตอบ 2 แนวทางเชิงประจักษ์ (Empirical Approach) คือ แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับความจริงที่สังเกตได้ด้วย
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 และนำมาพิสูจน์ความเชื่อว่าสิ่งที่สัมผัสได้นั้นถูกต้อง เช่น การนับจำนวนคำว่า “ประชาธิปไตย”
ในหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งในประเทศไทยตลอดปี พ.ศ. 2560 เป็นต้น
46. สิ่งที่ทุกคนรับรู้ร่วมกันและเหมือนกันทุก ๆ คน เรียกว่าอะไร
(1) Scientific Approach (2) Empirical Approach (3) Rational Approach
(4) Objective Truth (5) Subjective Truth
ตอบ 4 ความจริงแบบวัตถุวิสัยหรือปรนัย (Objective Truth) คือ สิ่งที่ทุกคนรับรู้ร่วมกันและเหมือนกันทุก ๆ
คน ส่วนความจริงแบบอัตวิสัย/จิตวิสัยหรืออัตนัย (Subjective Truth) คือ สิ่งที่รับรู้เฉพาะบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซึ่ง
แฝงไปด้วยอคติและค่านิยมของแต่ละบุคคล
47. สิ่งที่ทุกคนรับรู้เฉพาะบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เรียกว่าอะไร
(1) Scientific Approach (2) Empirical Approach (3) Rational Approach
(4) Objective Truth (5) Subjective Truth
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 28
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 5 ดูคำอธิบายข้อ 46. ประกอบ
48. การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหรือแนวคิดเพื่อการทดสอบว่าเป็นความจริงหรือไม่ เกี่ยวข้องกับเรื่องใด
มากที่สุด (1) การสำรวจและการทบทวนวรรณกรรม
(2) ขอบข่ายและการตั้งปัญหาวิจัย (3) การกำหนดสมมุติฐานเพื่อการทดสอบ
(4) การเลือกรูปแบบการวิจัย (5) การกำหนดประชากรเป้าหมายและการสุ่มตัวอย่าง
ตอบ 3 การกำหนดสมมุติฐานเพื่อการทดสอบ เป็นการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหรือแนวคิดเพื่อ
การทดสอบว่าเป็นความจริงหรือไม่ การพิสูจน์โดยรวบรวมข้อมูลมายืนยันตามสมมุติฐานที่กำหนด เพื่อทำนาย
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการวิจัยเชิงปริมาณจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีสมมุติฐาน
49. การกำหนดวิธีการที่สัมพันธ์กับปัญหา เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
(1) การสำรวจและการทบทวนวรรณกรรม (2) ขอบข่ายและการตั้งปัญหาวิจัย
(3) การกำหนดสมมุติฐานเพื่อการทดสอบ (4) การเลือกรูปแบบการวิจัย
(5) การกำหนดประชากรเป้าหมายและการสุ่มตัวอย่าง
ตอบ 4 การเลือกรูปแบบการวิจัย เป็นการกำหนดวิธีการศึกษาที่สัมพันธ์กับปัญหากรอบความคิด และเลือก
วิธีการเก็บข้อมูลที่สอดคล้องกับสมมุติฐาน โดยการเลือกรูปแบบการวิจัยต้องเลือกวิธีการศึกษาโดยกำหนดกิจกรรม
ต่าง ๆ ที่ต้องการทำ ตั้งแต่การเลือกตัวแปร การเลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและเลือกวิธีวิเคราะห์ข้อมูลที่จะตอบ
ปัญหาการวิจัย
50. การกำหนดพื้นที่เป้าหมาย และกำหนดหน่วยในการศึกษา เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
(1) การสำรวจและการทบทวนวรรณกรรม (2) ขอบข่ายและการตั้งปัญหาวิจัย
(3) การกำหนดสมมุติฐานเพื่อการทดสอบ (4) การเลือกรูปแบบการวิจัย
(5) การกำหนดประชากรเป้าหมายและการสุ่มตัวอย่าง
ตอบ 5 การกำหนดประชากรเป้าหมายและการสุ่มตัวอย่าง เป็นการกำหนดหน่วยในการศึกษาหรือหน่วยที่ใช้
ในการเก็บข้อมูล อาจเป็นคุณสมบัติของบุคคล กลุ่ม องค์การ สังคมหรือพื้นที่แล้วแต่เป้าหมายการวิจัย ซึ่งจะมีผลต่อ
การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล และจะแตกต่างไปตามเครื่อมือที่ใช้ในการวิจัย
51. การแปลงความหมายของแนวคิดออกมาเป็นสภาพความเป็นจริงเพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูล เกี่ยวข้องกับเรื่องใด
มากที่สุด (1) การนิยามปฏิบัติการและการสร้างเครื่องมือวัด
(2) การเก็บรวบรวมข้อมูล (3) การวิเคราะห์ข้อมูล
(4) การเขียนรายงานการวิจัย (5) การเขียนแบบเสนอโครงการวิจัย
ตอบ 1 การนิยามปฏิบัติการและการสร้างเครื่องมือวัด เป็นการแปลงความหมายของแนวคิดออกมาเป็นสภาพ
ความเป็นจริงเพื่อช่วยให้สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้
52. การสังเกต การสัมภาษณ์ และการออกแบบสอบถาม เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
(1) การนิยามปฏิบัติการและการสร้างเครื่องมือวัด (2) การเก็บรวบรวมข้อมูล
(3) การวิเคราะห์ข้อมูล (4) การเขียนรายงานการวิจัย (5) การเขียนแบบเสนอโครงการวิจัย
ตอบ 2 การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นกระบวนการที่จะได้มาซึ่งข้อมูลที่ตอบปัญหาการวิจัยโดยวิธีการต่าง ๆ คือ
การได้ข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ การสังเกต การสัมภาษณ์ การออกแบบสอบถาม และการได้ข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ การ
รวบรวมเอกสารหรืองานวิจัย เป็นต้น
53. การเปรียบเทียบข้อมูลหรือการใช้สถิติ เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
(1) การนิยามปฏิบัติการและการสร้างเครื่องมือวัด (2) การเก็บรวบรวมข้อมูล
(3) การวิเคราะห์ข้อมูล (4) การเขียนรายงานการวิจัย (5) การเขียนแบบเสนอโครงการวิจัย
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 29
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 3 การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการนำข้อมูลที่รวบรวมมาได้ เอามาวิเคราะห์โดยการเปรียบเทียบข้อมูลหรือใช้
สถิติเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่จะตอบปัญหาการวิจัย
54. การจัดทำแผนในการวิจัย เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด (1) การนิยามปฏิบัติการและการสร้างเครื่องมือวัด
(2) การเก็บรวบรวมข้อมูล (3) การวิเคราะห์ข้อมูล
(4) การเขียนรายงานการวิจัย (5) การเขียนแบบเสนอโครงการวิจัย
ตอบ 5 ดูคำอธิบายข้อ 20. ประกอบ
55. เมื่อทราบความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ จากกรอบทฤษฎีผ่านการตรวจสอบความเป็นจริงจนแน่ใจว่าถูกต้อง
สามารถนำไปสรุปเรื่องใดได้บ้าง (1) การบุกเบิกหรือรวบรวมแหล่งความรู้
(2) การบรรยาย (3) การอธิบาย
(4) การทำนายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น (5) การตั้งปัญหาการวิจัย
ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 48. ประกอบ
56. การกล่าวถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ ที่เป็นเหตุและผลซึ่งกันและกัน เรียกว่าอะไร
(1) การบุกเบิกหรือรวบรวมแหล่งความรู้ (2) การบรรยาย (3) การอธิบาย
(4) การทำนายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น (5) การตั้งปัญหาการวิจัย
ตอบ 3 การอธิบาย หมายถึง ความพยายามที่จะตอบคำถามว่าทำไม เช่น ทำไมคนถึงยากจน ทำไมระบบ
ราชการถึงไม่มีประสิทธิภาพ โดยจะกล่าวถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ ที่เป็นเหตุและผลซึ่งกันและกันซึ่งเป็นแก่น
สำคัญในการศึกษารัฐศาสตร์
57. การกล่าวถึงลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา เพื่อให้ผู้สนใจได้เห็นภาพตามลักษณะที่ผู้วิจัยกล่าวถึง
เรียกว่าอะไร (1) การบุกเบิกหรือรวบรวมแหล่งความรู้
(2) การบรรยาย (3) การอธิบาย
(4) การทำนายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น (5) การตั้งปัญหาการวิจัย
ตอบ 2 การบรรยาย หมายถึง ความพยายามในการตอบคำถามว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่และอย่างไร ซึ่ง
เป็นการกล่าวถึงลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา เพื่อให้ผู้สนใจได้เห็นภาพตามลักษณะที่ผู้วิจัยกล่าวถึง
58. การตั้งปัญหาในลักษณะที่ยังไม่มีผู้ศึกษามาก่อน และผู้วิจัยสนใจศึกษา โดยทำการประมวลเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้นและจัดเป็นระบบ เรียกว่าอะไร (1) การบุกเบิกหรือรวบรวมแหล่งความรู้
(2) การบรรยาย (3) การอธิบาย
(4) การทำนายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น (5) การตั้งปัญหาการวิจัย
ตอบ 1 จุดมุ่งหมายในการตั้งปัญหาเพื่อบุกเบิกหรือรวบรวมแห่งความรู้ (Exploration) เป็นการตั้งปัญหาใน
ลักษณะที่ยังไม่มีผู้ศึกษามาก่อน และผู้วิจัยสนใจในการศึกษา โดยทำการประมวลเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นและ
จัดเป็นระบบ
59. การเชื่อมโยงระหว่างกรอบแนวคิดกับสิ่งที่สามารถสังเกตเห็นได้ เกี่ยวข้องกับเรื่องใด
(1) Variable (2) Concept (3) Hypothesis
(4) Attribute (5) Measurement
ตอบ 5 มาตรวัด (Measurement) คือ กระบวนการเชื่อมโยงระหว่างกรอบแนวคิดกับสิ่งที่สามารถสังเกตเห็น
ได้ มาสู่ตัวบ่งชี้ในสถานการณ์ที่เป็นจริง
60. แนวคิดที่มีมากกว่า 1 ค่า เกี่ยวข้องกับเรื่องใด
(1) Variable (2) Concept (3) Hypothesis
(4) Attribute (5) Measurement
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 30
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 1 ตัวแปร (Variable) หมายถึง แนวคิดที่มีมากกว่า 1 ค่า เช่น เพศ (แบ่งเป็นเพศชาย เพสหญิง), อาชีพ
(แบ่งเป็นรับราชการ ธุรกิจส่วนตัว รับจ้าง) เป็นต้น
61. ชุดของตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กันตามกรอบของทฤษฎี เกี่ยวข้องกับเรื่องใด
(1) Variable (2) Concept (3) Hypothesis
(4) Attribute (5) Measurement
ตอบ 2 แนวคิด (Concept) หมายถึงชุดของตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กันตามกรอบของทฤษฎี ภายใต้แนวคิด
หนึ่ง ๆ จะประกอบไปด้วยตัวแปรต่าง ๆ ตามแต่ละสาขาวิชา
62. คุณลักษณะที่แบ่งแยกประเภทของตัวแปร เกี่ยวข้องกับเรื่องใด
(1) Variable (2) Concept (3) Hypothesis
(4) Attribute (5) Measurement
ตอบ 4 คุณค่าของตัวแปร (Attribute) หมายถึง คุณลักษณะที่แบ่งแยกประเภทของตัวแปร
63. ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์เชิงพรรณนา
(1) เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างภูมิหลังของบุคคลกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง
(2) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดนนทบุรี
(3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ของประชาชนกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง
(4) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน
(5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 2 การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) คือ การวิจัยที่มุ่งค้นหาข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น โดยการ
วิจัยเช่นนี้ไม่ต้องการที่จะตอบคำถามประเภทว่าอะไรเป็นสาเหตุของปรากฏการณ์ทางการเมืองหนึ่ง ๆ หรือ
ปรากฏการณ์ทางการเมืองหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นมาได้อย่างไร มีปัจจัยอะไรที่ทำให้เกิด ยกตัวอย่างการวิจัยประเภทนี้ เช่น
การศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดนนทบุรี การวิจัยว่าตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.
2475 จนถึงปัจจุบัน มีการทำรัฐประหารทั้งหมดกี่ครั้งและใครเป็นหัวหน้าผู้ก่อการทำรัฐประหาร เป็นต้น
64. วิธีการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ที่เป็นระบบ มีเหตุผลและเป็นวัตถุวิสัย เพื่อที่จะบรรยาย อธิบาย หรือทำนาย
ปรากฏการณ์ ที่สามารถสังเกตเห็นได้ เรียกวิธีการนั้นว่าอะไร (1) ทฤษฎี
(2) สมมุติฐาน (3) ศาสตร์ (4) องค์ความรู้ (5) กรอบแนวคิด
ตอบ 3 ศาสตร์ หมายถึง วิธีการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ที่เป็นระบบ มีเหตุมีผลและเป็นวัตถุวิสัย (Objective)
เพื่อที่จะบรรยาย อธิบาย และทำนายปรากฏการณ์ที่สามารถสังเกตเห็น
65. กระบวนการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่เป็นนามธรรมในการศึกษากับสิ่งที่เป็นรูปธรรมที่สังเกตได้ ได้แก่
(1) กรอบแนวความคิด (2) มาตรวัด (3) ตัวบ่งชี้เชิ งประจักษ์
(4) นิยามความหมาย (5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 59. ประกอบ
66. ข้อใดต่อไปนี้เป็นวัตถุประสงค์ของการเขียนรายงานการวิจัย
(1) การแสดงความสามารถอันโดดเด่นของนักวิจัย
(2) การแสดงอาณาเขตของงานวิจัยเพื่อมิให้ผู้อื่นทำหัวข้อคล้ายกัน
(3) การจับจองพื้นที่ของประเด็นที่ทำการศึกษา
(4) การป้องกันผู้อื่นนำไปใช้ประโยชน์ในทางวิชาการฃ
(5) การเผยแพร่นวัตกรรมหรือข้อค้นพบใหม่ในวงวิชาการ
ตอบ 5 การเขียนรายงานการวิจัย เป็นการนำความรู้ที่ได้จากการศึกษามารวบรวม หรือเป็นการจัดทำแผนใน
การวิจัย และเขียนเป็นรายงานเพื่อเผยแพร่ความรู้นวัตกรรมหรือข้อค้นพบใหม่ในวงวิชาการต่อไป
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 31
............................................................................................................................................................................................
➢ข้อ 67. - 72 ขอให้นักศึกษาใช้ตัวเลือกดังต่อไปนี้ ตอบคำถาม
(1) รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ (2) รายงานการวิจัยฉบับสั้น
(3) บทความวิจัยลงพิมพ์ในวารสาร (4) บทความพิเศษตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์
(5) รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย
67. รายงานการวิจัยฉบับใดเป็นรายงานที่มีความหนามากที่สุดในบรรดาการเขียนรายงานทั้งหมด
ตอบ 1 รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เป็นรายงานโดยละเอียดมีรูปแบบเคร่งครัด ส่วนใหญ่ใช้ศัพท์ทางวิชาการ
เป็นการนำเสนอที่ผ่านขั้นตอนต่าง ๆ จนพิมพ์ออกมาเป็นรูปเล่มสมบูรณ์แบบ ซึ่งประกอบด้วย ส่วนประกอบตอนต้น
ส่วนเนื้อเรื่อง และส่วนประกอบตอนท้าย โดยเป็นรายงานที่มีความหนามากที่สุดในบรรดาการเขียนรายงานทั้งหมด
มักจะปรากฏประวัติผู้วิจัยและภาคผนวกโดยละเอียด

68. รายงานการวิจัยประเภทใดที่มักมีความยาวอยู่ระหว่าง 15 – 25 หน้ากระดาษ A4


ตอบ 3 บทความการวิจัยลงพิมพ์ในวารสาร เป็นรายงานการวิจัยที่มักมีความยาวอยู่ระหว่าง 15 – 25 หน้า ซึ่ง
วารสารทางวิชาการฉบับต่าง ๆ ได้รับการจัดประเภทโดยหน่วยงานศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai –
Journal Citation Index : TCI)
69. รายงานการวิจัยประเภทใดที่ผู้วิจัยมักมีเป้าหมายเพื่อรายงานผลการวิจัยแก่ผู้ให้ทุนหรือหน่วยงานต้นสังกัดเป็น
ระยะ ๆ
ตอบ 5 รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย เป็นรายงานการวิจัยที่ผู้วิจัยมักมีเป้าหมายเพื่อรายงานผลการวิจัย
แก่ผู้ที่ให้ทุน หรือหน่วยงานต้นสังกัดเป็นระยะ ๆ มักจะเขียนขึ้นในขณะที่งานวิจัยยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ซึ่งอาจมีเฉพาะ
ส่วนที่ว่าด้วยหลักการ เหตุผลและวิธีการ และอาจจะยังไม่มีผลการวิจัยก็ได้ หรือมีผลการวิจัยแล้วแต่เป็นผลการวิจัย
เบื้องต้น
70. รายงานการวิจัยประเภทใดประกอบไปด้วย ส่วนต้น ส่วนเนื้อเรื่อง และส่วนท้าย
ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 67. ประกอบ
71. รายงานการวิจัยประเภทใดที่มักมีความยาวประมาณ 50 หน้ากระดาษ A4
ตอบ 2 รายงานการวิจัยฉบับสั้น เป็นรายงานการวิจัยที่มีรายละเอียดย่อส่วนลงมาจากรายงานการวิจัยฉบับ
สมบูรณ์ โดยมีความยาวประมาณ 50 หน้า
72. รายงานการวิจัยประเภทใดที่มักเขียนขึ้นในขณะที่งานวิจัยยังไม่เสร็จสมบูรณ์
ตอบ 5 ดูคำอธิบายข้อ 69. ประกอบ
73. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับส่วนประกอบตอนต้นของรายงานการวิจัย
(1) ปกหลักจะมีหรือไม่มีก็ได้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของโครงการวิจัย
(2) รายละเอียดที่ปรากฏบนปกต้องมีความแตกต่างจากปกหลักเพื่อมิให้ซ้ำซ้อน
(3) ในกรณีของงานวิทยานิพนธ์ หน้าอนุมัติอาจจะมีหรือไม่มีก็ได้
(4) บทย่อความควรทำเป็นสองภาษาทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
(5) สารบัญเนื้อหาและสารบัญรูปภาพไม่จำเป็นต้องแยกออกจากัน
ตอบ 4 ส่วนประกอบตอนต้นของรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ มีดังนี้
1. ปกหลัก เป็นส่วนที่สำคัญที่ต้องมีโดยระบุคำว่า “รายงานการวิจัย”
2. หน้าปกใน จะมีเนื้อหารายละเอียดเช่นเดียวกับปกหลัก
3. หน้าอนุมัติ จะระบุถึงคำอนุมัติจากต้นสังกัด
4. บทคัดย่อภาษาไทย 5. บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 32
............................................................................................................................................................................................
6. หน้าประกาศคุณูปการหรือกิตติกรรมประกาศ 7. สารบัญ
8. สารบัญตาราง (ถ้ามี) 9. สารบัญภาพ (ถ้ามี)
10. คำอธิบายสัญลักษณ์และคำย่อที่ใช้ในการวิจัย

➢ ข้อ 74. - 80 ขอให้นักศึกษาใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ ตอบคำถาม


(1) บทที่ 1 (2) บทที่ 2 (3) บทที่ 3 (4) บทที่ 4 (5) บทที่ 5

74. ผลการวิจัยที่ผู้วิจัยได้ดำเนินการศึกษาและรวบรวมมา ควรปรากฏอยู่ในบทใด


ตอบ 4 รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ประกอบด้วยเนื้อหา 5 บท ดังนี้คือ
บทที่ 1 บทนำ ประกอบด้วย ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ สมมุติฐานในการ
วิจัย ขอบเขต ข้อจำกัด ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับและนิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นบทที่เกี่ยวข้องกับการทบทวนวรรณกรรม เอกสารและ
รายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัยหรือระเบียบวิธี (Methodology) ที่ใช้ในการวิจัยหรือระเบียบวิธีวิจัย
ประกอบด้วย ประเภทการวิจัย ประชากร (Population) กลุ่มตัวอย่าง ขนาดกลุ่มตัวอย่าง วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่าง
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล และวิธีการรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 4 ผลการวิจัยหรือผลการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นบทที่มีเนื้อหาเป็นการนำเสนอผลการวิจัยที่ผู้วิจัยได้
ดำเนินการศึกษาหรือรวบรวมมา
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลการวิจัย และข้อเสนอแนะ
75. การทบทวนเอกสารและรายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง ควรปรากฏอยู่ในบทใด
ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 74. ประกอบ
76. วัตถุประสงค์ สมมติฐาน ขอบเขต และข้อจำกัดของงานวิจัย ควรปรากฏอยู่ในบทใด
ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 74. ประกอบ
77. หากนักศึกษาต้องการอธิบายถึงขั้นตอนในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาควรรายงานไว้ในบทใด
ตอบ 3 ดูคำอธิบายข้อ 74. ประกอบ
78. การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะจากการวิจัย ควรปรากฏอยู่ในบทใด
ตอบ 5 ดูคำอธิบายข้อ 74. ประกอบ
79. หากอาจารย์ถามนักศึกษาว่า “.......งานวิจัยฉบับนี้มีความสำคัญอย่างไร เพราะเหตุใดนักศึกษาต้องศึกษาและใช้
เวลาในการทำงานวิจัยฉบับนี้ขึ้นมา.......” นักศึกษาจะให้อาจารย์ท่านนั้นไปอ่านงานวิจัยบทใด
ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 74. ประกอบ
80. หากนายภพธรอยากทราบว่า เพราะเหตุใดผลงานวิจัยที่คุณดาวิกาได้ทำนั้น จึงได้ผลการศึกษาที่แตกต่างจาก
งานวิจัยของผู้ที่ทำไว้ก่อนหน้านี้แล้ว นายภพธรควรศึกษาที่งานวิจัยบทใดของคุณดาวิกา
ตอบ 1 ดูคำอธิบายข้อ 74. ประกอบ
81. การเรียงงานวิจัยตามรายชื่อบุคคลหรือปีที่มีการเผยแพร่ต่อ ๆ กันไปเรื่อย ๆ เรียกว่าอะไร
(1) ขนมเปียกปูน (2) ขนมชั้น (3) ขนมสาลี่
(4) ขนมปัง (5) ขนมขลับ
ตอบ 2 การเรียงงานวิจัยตามรายชื่อบุคคลหรือปีที่มีการเผยแพร่ต่อ ๆ กันไปเรื่อย ๆ เรียกว่า ขนมชั้น หรือ
คอนโดงานวิจัย
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 33
............................................................................................................................................................................................
82. หากนายเอกมัยต้องการทราบว่านายหมอชิตไปทำการคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาหรือไม่ นายเอกมัยต้องใช้
โปรแกรมใดในการตรวจสอบผลงานของนายหมอชิต
(1) Turn it down (2) Turn it up (3) อักขราวิสุทธิ์
(4) อักขราบริสุทธิ์ (5) ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 3 โปรแกรมอักขราวิสุทธิ์ ใช้ในการตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการ และตรวจสอบงานเขียนเพื่อ
ค้นหาข้อความที่อาจเป็นการลอกเลียนแบบผลงานของผู้อื่น
83. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ “ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย”
(1) ชื่อภาษาอังกฤษคือ Thai – Journal Citation Index หรือ TCI
(2) ทำหน้าที่คำนวณและรายงานค่า Journal Impact Factors ของวารสารวิชาการไทย
(3) ดำเนินการจัดวารสารวิชาการออกเป็น 4 กลุ่ม
(4) วารสารในกลุ่มที่ 1 จะถูกคัดเลือกเข้าสู่ฐานข้อมูล ASEAN Citation Index ต่อไป
(5) ทำการวิจัยและเผยแพร่ผลงานวิจัย เพื่อนำไปสู่การยกระดับผลงานวิจัยไทยในเวทีนานาชาติ
ตอบ 3 ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai – Journal Citation Index หรือ TCI) เป็นศูนย์ที่ทำการ
วิจัยและเผยแพร่ผลงานวิจัย เพื่อนำไปสู่การยกระดับผลงานวิจัยไทยในเวทีนานาชาติ และทำหน้าที่คำนวณและ
รายงานค่า Journal Impact Factors ของวารสารวิชาการไทย โดยดำเนินการจัดวารสารวิชาการออกเป็น 3 กลุ่ม
ซึ่งวารสารในกลุ่มที่ 1 จะถูกคัดเลือกเข้าสู่ฐานข้อมูล ASEAN Citation Index ต่อไป
84. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเขียนบทคัดย่อ (Abstract)
(1) บทคัดย่อที่ดีควรทำเป็นภาษาเดียวเท่านั้น
(2) เป้าหมายหลักของการเขียนบทคัดย่อคือการนำไปใช้ในการบริหารงาน
(3) บทคัดย่อที่ดีควรมีความยาวมากกว่า 5 หน้าขึ้นไป
(4) บทคัดย่อที่ดีควรแสดงวัตถุประสงค์ของการวิจัยให้มีความครบถ้วนชัดเจน
(5) บทคัดย่อที่ดีไม่ควรแสดงผลการศึกษาเนื่องจากผู้อ่านจะไม่อยากติดตามอ่านต่อ
ตอบ 4 บทคัดย่อ (Abstract) มีลักษณะดังนี้
1. บทคัดย่อช่วยให้ผู้อ่านทราบสาระสังเขปของงานวิจัยทั้งหมดโดยไม่ต้องอ่านทั้งหมด
2. บทคัดย่อที่ดีควรแสดงวัตถุประสงค์ของการวิจัยให้มีความครบถ้วนชัดเจน
3. บทคัดย่อควรทำเป็นสองภาษาทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
4. ควรมีความยาวไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ A4
85. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการเขียนบทสรุปผู้บริหาร (Executive summary)
(1) เป้าหมายหลักของการเขียนบทคัดย่อคือการนำไปใช้ในการบริหารงาน
(2) ไม่ควรระบุสิ่งที่ไม่ปรากฏในเนื้อเรื่องและนำเอาชื่อเรื่องมากล่าวซ้ำ
(3) ควรพยายามรักษาบทสรุปสำหรับผู้บริหารให้มีความยาวไม่เกิน 3 - 5 หน้ากระดาษ A4
(4) ต้องไม่ปรากฏรูปภาพหรือตารางใด ๆ ในบทสรุปผู้บริหาร
(5) ต้องไม่ปรากฏบัญชีรายชื่อเอกสารอ้างอิงในบทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ตอบ 4 การเขียนบทสรุปสำหรับผู้บริหารมีข้อควรระวังอยู่ 4 ประการ
1. ไม่ควรระบุสิ่งที่ไม่ปรากฏในเนื้อเรื่องและนำเอาชื่อเรื่องมากล่าวซ้ำ
2. อาจมีรูปภาพและตารางในบทสรุปผู้บริหารเท่าที่จำเป็นได้
3. ต้องไม่ปรากฏบัญชีรายชื่อเอกสารอ้างอิงในบทสรุปสำหรับผู้บริหาร
4. ควรพยายามรักษาบทสรุปสำหรับผู้บริหารให้มีความยาวไม่เกิน 3 - 5 หน้ากระดาษ A4 และถ้าเป็น
บทสรุปเพื่อสื่อมวลชนไม่ควรมีความยาวเกินกว่า 2 หน้ากระดาษ A4
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 34
............................................................................................................................................................................................
86. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย
(1) ความถูกต้อง (2) ความกำกวมระมัดระวัง (3) การอ้างอิง
(4) ถ้อยคำสุภาพ (5) ความตรงประเด็น
ตอบ 2 เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัยมีดังนี้
1. การจัดรูปแบบ 2. ความเป็นเอกภาพ 3. ความถูกต้อง
4. ความแจ่มแจ้งชัดเจน 5. ความตรงประเด็น 6. ความสำรวมระมัดระวัง
7. ถ้อยคำสุภาพ 8. การอ้างอิง
87. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ควรปรากฏอยู่ในการนำเสนอผลงานวิจัยด้านโปสเตอร์
(1) ชื่อเรื่อง (Title) (2) ภาคผนวก (Annex)
(3) บทนำและเอกสารที่เกี่ยวข้อง (Introduction and Related Literatures)
(4) วิธีดำเนินการวิจัย (Research Method) (5) ผลการวิจัย (Research Results)
ตอบ 2 องค์ประกอบของการนำเสนอผลงานวิจัยในรูปแบบโปสเตอร์มักประกอบด้วยเนื้อหา 5 ส่วนหลักดังนี้
1. ชื่อเรื่อง (Title) 2. บทคัดย่อ (Summary)
3. บทนำและเอกสารที่เกี่ยวข้อง (Introduction and Related Literatures)
4. วิธีดำเนินการ (Research Method) 5. ผลการวิจัย (Research Results)
88. คำใดต่อไปนี้หมายถึง “การนำเสนอผลงานวิจัยด้วยวาจา”
(1) Oral Presentation (2) Mouth Presentation (3) Speaking Presentation
(4) Talking Presentation (5) Poster Presentation
ตอบ 1 การนำเสนอผลงานวิจัยด้วยวาจา (Oral Presentation) เป็นวิธีการที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในเชิง
วิชาการ ซึ่งเป็นการรายงานข้อค้นพบจากการวิจัยและข้อเสนอแนะด้วยวาจาต่อที่ประชุม และนำเสนอโดยไม่มี
รูปแบบที่เคร่งครัด ความยาวไม่มากเกินไป ซึ่งผู้วิจัยควรที่จะเตรียมตัวนำเสนอเฉพาะช่วงที่นำเสนอเท่านั้น เพื่อความ
สมจริง อาจจะนำเสนอด้วยแบบสไลด์หรือ PowerPoint ก็ได้

➢ ข้อ 89. – 90. ขอให้นักศึกษาใช้ตัวเลือกดังต่อไปนี้ ตอบคำถาม


(1) งานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ (2) งานวิจัยเชิงนโยบาย
(3) งานวิจัยเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ (4) งานวิจัยเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน
(5) งานวิจัยเชิงวัฒนธรรม
89. อาจารย์แจ๊สต้องการทราบว่าระบบประกันคุณภาพการศึกษาของประเทศไทยประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว
เพื่อนำเสนอต่อรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ งานวิจัยของอาจารย์แจ๊สจัดเป็นงานวิจัยประเภทใด
ตอบ 2 งานวิจัยเชิงนโยบาย เป็นงานวิจัยที่มีเป้าหมายเพื่อสนับสนุนข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ
เชิงนโยบายในด้านต่าง ๆ ของรัฐบาล ตลอดจนการนำนโยบายไปปฏิบัติเพื่อนำไปสู่การประเมินผลกระทบและการ
ผลักดันผลสัมฤทธิ์ของนโยบายสาธารณะ (Public Policy) ตัวอย่างโครงงานวิจัยนี้ เช่น แนวทางในการแก้ปัญหา
ของรถไฟฟ้าในช่วงเวลาเร่งด่วน แนวทางในการพัฒนาพุน้ำร้อนเค็มคลองท่อมจังหวัดกระบี่อย่างยั่งยืน เป็นต้น
90. ชาวบ้านกลุ่มหนึ่งในจังหวัดศรีสะเกษต้องการให้มีนักวิจัยถึงกระบวนการแก้ปัญหาสิทธิในที่ดินทำกิน เพื่อสร้าง
การเรียนรู้ให้กับผู้คนในพื้นที่และยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในท้องถิ่น งานวิจัยดังกล่าวจัดเป็นงานวิจัย
ประเภทใด
ตอบ 4 งานวิจัยเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน เป็นงานวิจัยที่มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาในท้องถิ่นให้มีความเจริญ
อย่างเหมาะสม ซึ่งผลงานวิจัยที่ได้ออกมาจะนำไปสู่การแก้ปัญหาชุมชนของชุมชนในท้องถิ่น และเสริมสร้างพลังทาง
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 35
............................................................................................................................................................................................
สังคมให้แก่ชุมชนต่าง ๆ ตัวอย่างของงานวิจัยนี้เช่น การวางแผนแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในจังหวัด
สมุทรสงคราม เป็นต้น
91. ข้อใดเป็นสิ่งจำเป็น ในการสร้างมาตรวัด (1) ทฤษฎี
(2) นิยามปฏิบัติการ (3) ตัวแปร (4) ดัชนีชี้วัด (5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 5 สิ่งจำเป็นในการสร้างมาตรวัด คือ การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรและตัวชี้วัดหรือดัชนีชี้วัด
ที่สัมพันธ์กัน ต่อจากนั้นจึงกำหนดข้อคำถามที่ตรงกับตัวชี้วัดก็จะได้มาตรวัดตัวแปรตามที่ต้องการ
92. เพศเป็นการวัดระดับใด (1) Nominal scale (2) Ordinal scale
(3) Interval scale (4) Ratio scale (5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 1 Nominal scale เป็นวิธีการวัดที่ง่ายที่สุด เพียงแต่การกำหนดเกณฑ์แบ่งแยกประชากรที่ศึกษา
ออกเป็นกลุ่ม แล้วตั้งชื่อให้แต่ละกลุ่มที่มีคุณสมบัติเหมือนกันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน ตัวเลขหรือสัญลักษณ์เป็นเพียงแต่
ชื่อไม่สามารถเอามาคำนวณทางเลขคณิตได้ เช่น เพศ สถานภาพการสมรส ภูมิลำเนา อาชีพเป็นต้น
93. อายุเป็นการวัดระดับใด (1) Nominal scale (2) Ordinal scale
(3) Interval scale (4) Ratio scale (5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 4 Ratio scale เป็นการวัดที่มีคุณสมบัติของมาตรวัดแบบช่วงทุกประการ แต่มีคุณสมบัติเพิ่มเติมคือ
มีจุดเริ่มต้นที่ศูนย์ที่แท้จริงเช่น อายุ น้ำหนัก ความสูง เงินเดือน รายได้ เป็นต้น
94. การศึกษาเป็นการวัดระดับใด (1) Nominal scale (2) Ordinal scale
(3) Interval scale (4) Ratio scale (5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 2 Ordinal scale เหมือนกับการแบ่งกลุ่ม แต่สามารถจัดอันดับอัตราความแตกต่างระหว่างกันและกัน
ได้ ซึ่งอาจใช้ข้อความว่า มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ตัวเลขหรือสัญลักษณ์ที่แสดงไม่มีผลต่อการคำนวณ
แต่จะบอกความสำคัญเท่านั้น ไม่สามารถบอกปริมาณและความแตกต่างได้ เช่น ระดับการศึกษา เกรด ความคิดเห็น
ความพึงพอใจ เป็นต้น

95. จุดประสงค์ในการใช้สถิติ t-Test ใช้เพื่อทดสอบอะไร


(1) ทดสอบระหว่างตัวแปรที่มี 2 กลุ่ม (2) ทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มีมากกว่า 2 กลุ่ม
(3) ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร (4) ทดสอบปัจจัยที่มีอิทธิพลระหว่างตัวแปร
(5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 1 สถิติ t-Test ใช้เพื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มี 2 กลุ่ม โดยมีเงื่อนไขในการใช้คือ ต้องมี
การแจกแจงแบบโค้งปกติ ข้อมูลของตัวแปรตามต้องมีระดับการวัดเป็น Interval scale ขึ้นไป และใช้เพื่อ
ทดสอบสมมติฐานความแตกต่างระหว่างตัวแปร
96. จุดประสงค์ในการใช้สถิติ F-Test ใช้เพื่อทดสอบอะไร
(1) ทดสอบระหว่างตัวแปรที่มี 2 กลุ่ม (2) ทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มีมากกว่า 2 กลุ่ม
(3) ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร (4) ทดสอบปัจจัยที่มีอิทธิพลระหว่างตัวแปร
(5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 2 สถิติ F-Test หรือ Oneway ANOVA ใช้เพื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มีมากกว่า
2 กลุ่ม โดยมีเงื่อนไขในการใช้เหมือน t-Test แต่ไม่จำเป็นต้องมีการแจกแจงแบบโค้งปกติ
97. จุดประสงค์ในการใช้สถิติ Correlation ใช้เพื่อทดสอบอะไร
(1) ทดสอบระหว่างตัวแปรที่มี 2 กลุ่ม (2) ทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มีมากกว่า 2 กลุ่ม
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 36
............................................................................................................................................................................................
(3) ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร (4) ทดสอบปัจจัยที่มีอิทธิพลระหว่างตัวแปร
(5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 3 สถิติ Correlation ใช้เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร โดยข้อมูลทั้งตัวแปรอิสระและตัวแปร
ตามต้องมีระดับการวัดเป็น Interval scale แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวใดเป็นเหตุหรือตัวใดเป็นผล ทราบแต่เพียง
ความสัมพันธ์ของตัวแปรและขนาดของความสัมพันธ์เท่านั้น
98. Rating scale เป็นมาตรวัดระดับใด
(1) Nominal scale (2) Ordinal scale (3) Interval scale
(4) Ratio scale (5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 2 Rating scale เป็นมาตรวัดระดับ Ordinal scale ที่ใช้ในการกำหนดค่าคะแนนให้กับข้อคำถามที่ใช้
วัดตัวแปรต่าง ๆ โดยมีคะแนนแตกต่างกันตามลักษณะของตัวแปร เช่น 3 5 7 9 หรือ 11 ดังนั้นการใช้
Rating scale ผู้ให้คะแนนควรมีความรู้การให้คะแนนเป็นอย่างดี
99. เทคนิคการทดสอบสหสัมพันธ์เฉลี่ยระหว่างข้อ เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
(1) การทดสอบทฤษฎี (2) การทดสอบความแม่นตรงของมาตรวัด
(3) การทดสอบความเชื่อถือได้ของมาตรวัด (4) ไม่มีข้อใดถูก
(5) ถูกทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3
ตอบ 3 เทคนิคการทดสอบความเชื่อถือได้ของมาตรวัด มีดังนี้
1. เทคนิคการทดสอบซ้ำ (Test - Retest ) 2. เทคนิคการทดสอบแบบแบ่งครึ่ง Split – Half )
3. เทคนิคการทดสอบคู่ขนาน (Parallel Form)
4. เทคนิคการทดสอบสหสัมพันธ์เฉลี่ยระหว่างข้อ (Average Inter Correlation)
100. Content validity เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
(1) การทดสอบทฤษฎี (2) การทดสอบความแม่นตรงของมาตรวัด
(3) การทดสอบความเชื่อถือได้ของมาตรวัด (4) ไม่มีข้อใดถูก
(5) ถูกทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3
ตอบ 2 Zeller & Cammines จำแนกความแม่นตรงของบ้านวัดออกเป็น 3 ประเภท
1. ความแม่นตรงเชิงเนื้อหา (Content validity)
2. ความแม่นตรงที่สัมพันธ์กับมาตรฐาน (Criterion – Related Validity)
3. ความแม่นตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity)


ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 37
............................................................................................................................................................................................
การสอบไล่ภาค 1 ปีการศึกษา 2562
..................
➢ คำสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (มีข้อสอบทั้งหมด 100 ข้อ)
1. ข้อใดไม่ใช่จุดมุ่งหมายของการตั้งปัญหาในการวิจัย
1. เพื่อบรรยาย 2. เพื่ออธิบาย 3. เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
4. เพื่อการทำนาย 5. เป็นจุดมุ่งหมายทุกข้อ
ตอบ 3. จุดมุ่งหมายของการตั้งปัญหาในการวิจัยมีดังนี้
1. เพื่อบุกเบิกหรือรวบรวมแหล่งความรู้ 2. เพื่อบรรยาย
3. เพื่ออธิบาย 4. เพื่อทำนายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
2. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์ในการเลือกหัวข้อของการวิจัย
1. ความเป็นไปได้ 2. ความน่าสนใจและทันต่อเหตุการณ์
3. ความสนใจของผู้วิจัย 4. ความยากง่ายในการศึกษา 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4. หลักเกณฑ์ในการเลือกหัวข้อของการวิจัย
1. ความสำคัญของปัญหา 2. ความเป็นไปได้
3. ความน่าสนใจและทันต่อเหตุการณ์ 4. ความสนใจของผู้ที่จะวิจัย
5. ความสามารถที่จะทำให้บรรลุผล
3. ลักษณะของปัญหาที่ต้องใช้ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆมากำหนดความสัมพันธ์เรียกว่าปัญหาประเภท
ใด 1. ปัญหาเชิงวิเคราะห์ 2. ปัญหาเชิงประจักษ์
3. ปัญหาเชิงปทัสถาน 4. ปัญหาเชิงสังเคราะห์ 5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 2. ปัญหาเชิงประจักษ์ (Empirical Problems) คือลักษณะของปัญหาที่ต้องใช้ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นใน
สถานการณ์นั้น ๆมากำหนดความสัมพันธ์
4. ลักษณะของปัญหาที่ต้องใช้ความคิด ความรู้ในเชิงวิชาการมาประมวลเป็นข้อสรุปหรือกฎ หรืออ้างอิงจากแนวคิด
ทฤษฎี หรือนักวิชาการ เรียกว่าปัญหาประเภทใด
1. ปัญหาเชิงวิเคราะห์ 2. ปัญหาเชิงประจักษ์ 3. ปัญหาเชิงปทัสถาน
4. ปัญหาเชิงสังเคราะห์ 5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 3. ปัญหาเชิงปทัสถาน (Normative Problems) คือ ลักษณะของปัญหาที่ต้องใช้ความคิดความรู้เชิง
วิชาการมาประมวลเป็นข้อสรุปหรือกฎ หรือใช้การอ้างอิงจากตำราวิชาการ แนวคิดทฤษฎี หรือนักวิชาการ ตลอดจน
ผู้ทรงคุณวุฒิ มายืนยันและตรวจสอบความถูกต้อง
5. วัตถุประสงค์ในการวิจัย “เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่าภูมิหลังของบุคคลกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง” เป็น
วัตถุประสงค์ประเภทใด
1. วัตถุประสงค์เชิงพรรณนา 2. วัตถุประสงค์เชิงอธิบาย 3. วัตถุประสงค์เชิงทำนาย
4. ปัญหาเชิงเปรียบเทียบ 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 4. การกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัยมีดังนี้ 1. วัตถุประสงค์เชิงพรรณนา เช่น เพื่อศึกษาการมีส่วน
ร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดนนทบุรี เป็นต้น 2. วัตถุประสงค์เชิงเปรียบเทียบ เช่น เพื่อศึกษาความ
แตกต่างระหว่างภูมิหลังของบุคคลกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง เป็นต้น
6. การมีส่วนร่วมทางการเมืองในวัตถุประสงค์ข้างต้นเป็นตัวแปรประเภทใด 1. ตัวแปรอิสระ
2. ตัวแปรแทรกซ้อน 3. ตัวแปรต้น 4. ตัวแปรตาม 5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 4. ตัวแปรที่กำหนดความสัมพันธ์โดยตรง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 38
............................................................................................................................................................................................
1. ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) หรือตัวแปรต้น เป็นตัวแปรที่เป็นสาเหตุหรือเป็น
ความสัมพันธ์ตั้งต้นที่ก่อให้เกิดผล เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดตัวแปรตาม มักจะใช้สัญลักษณ์แทนเป็นตัว x เช่น ระดับ
การศึกษาที่ส่งผลต่อการตัดสินใจลงคะแนน, ภูมิหลังของบุคคล, การอยู่อาศัยในท้องถิ่น เป็นต้น
2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) เป็นตัวแปรที่เป็นผลหรือเปลี่ยนแปลงตามอิทธิพลของ
ตัวแปรอื่น มักจะใช้สัญลักษณ์แทนเป็นตัวอักษร Y เช่น ผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิประเทศ, การมีส่วน
ร่วมทางการเมือง, ความพึงพอใจในการทำงาน, ประสิทธิหผลในการทำงาน เป็นต้น
7. ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์เชิงพรรณนา
1. เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างภูมิหลังของบุคคลกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง
2. เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดนนทบุรี
3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ของประชาชนกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง
4. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน
5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 5 ประกอบ
8. กระบวนการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่เป็นนามธรรมในการศึกษากับสิ่งที่เป็นรูปธรรมที่สังเกตได้แก่
1. กรอบแนวความคิด 2. มาตรวัด 3. ตัวบ่งชี้เชิงประจักร
4. นิยามความหมาย 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 2. มาตรวัด (Measurement) คือ กระบวนการระหว่างสิ่งที่เป็นนามธรรมในการศึกษากับสิ่งที่เป็น
รูปธรรมที่สังเกตได้
9. วิธีการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ที่เป็นระบบ มีเหตุมีผลและเป็นวัตถุวิสัย เพื่อที่จะบรรยาย อธิบายหรือทำนาย
ปรากฎการณ์ที่สามารถสังเกตเห็นได้ เรียกวิธีการนั้นว่าอะไร
1. ทฤษฎี 2. สมมุติฐาน 3. ศาสตร์ 4. องค์ความรู้ 5. กรอบแนวคิด
ตอบ 3. ศาสตร์ หมายถึง วิธีการวิเคราะห์ปรากฎการณ์ที่เป็นระบบ มีเหตุมีผลและเป็นวัตถุวิสัย
(Objectivity) เพื่อที่จะบรรยาย อธิบาย และทำนายปรากฎการณ์ที่สามารถสังเกตเหตุได้
10. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามกรอบของทฤษฎีที่ผู้วิจัยคาดว่าจะเกิดขึ้นและรอการพิสูจน์ เรียกว่าอะไร
1. ตัวแปร 2. สมมุติฐาน 3. ศาสตร์ 4. องค์ความรู้ 5. กรอบความคิด
ตอบ 2. สมมุติฐาน (Hypothesis) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามกรอบของทฤษฎีที่ผู้วิจัยคาดว่าจะ
เกิดขึ้น และรอการพิสูจน์ต่อไป
11. ภูมิหลังของประชากร ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ การศึกษา เรียกว่าตัวแปรประเภทใด
1. ตัวแปรเชิงพัฒนา 2. ตัวแปรมาตรฐาน 3. ตัวแปรหลัก
4. ตัวแปรองค์ประกอบ 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 2. ตัวแปรมาตรฐาน คือ ตัวแปรที่จำเป็นตัวมีในการวิจัยทุก ๆ เรื่อง ได้แก่ คุณสมบัติของสิ่งที่ศึกษา เช่น
ภูมิหลังของประชากร ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ การศึกษา เป็นต้น
12. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรซึ่งเมื่อตัวแปรตัวหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปทำให้ตัวแปรอีกตัวหนึ่งเปลี่ยนแปลไปด้วย
ในลักษณะคงที่ เรียกความสัมพันธ์นั้นว่าอย่างไร
1. ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล 2. ความสัมพันธ์เชิงซ้อน 3. ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง
4. ความสัมพันธ์เชิงตอบโต้ 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 3 . ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง คือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรซึ่งเมื่อตัวแปรหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปจะทำให้
ตัวแปรอีกตัวหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วยในลักษณะคงที่ เช่น ปริมาณที่ขายสินค้ากับรายได้ เป็นต้น
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 39
............................................................................................................................................................................................
13. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว ที่มีทิศทางของความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันโดยไม่ทราบลำดับก่อนหลังของตัว
แปร เรียกความสัมพันธ์นั้นว่าอย่างไร
1. ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล 2. ความสัมพันธ์เชิงซ้อน 3. ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง
4. ความสัมพันธ์เชิงตอบโต้ 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 4. ความสัมพันธ์เชิงตอบโต้ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว ที่มีทิศทางของความสัมพันธ์ซึ่งกัน
และกันโดยไม่ทราบลำดับก่อนหลังของตัวแปร
14. ตัวแปรที่พิสูจน์ได้ว่ามีความสัมพันธ์กันโดยทราบลำดับก่อนหลังและพิสูจน์ได้ว่าไม่มีสิ่งใดมาแทรกซ้อน เรียก
ความสัมพันธ์นั้นว่าอย่างไร
1. ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล 2. ความสัมพันธ์เชิงซ้อน 3. ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง
4. ความสัมพันธ์เชิงตอบโต้ 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 1. ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล คือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว โดยที่ตัวแปรสาเหตุ (x) จะต้อง
เกิดก่อนตัวแปรที่เป็นผล (Y) นั่นคือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่พิสูจน์ได้ว่ามีความสัมพันธ์กันโดยทราบลำดับ
ก่อนหลังและพิสูจน์ได้ว่าไม่มีสิ่งใดมาแทรกซ้อน
15. ข้อใดเป็นสิ่งจำเป็นในการสร้างมาตรวัด 1. ข้อคำถาม
2. นิยามปฏิบัติการ 3. ตัวแปร 4. ดัชนีชี้วัด 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 5. สิ่งจำเป็นในการสร้างมาตรวัด คือกำหนดนิยามปฏิบัติการของตัวแปรและตัวชี้วัดหรือดัชนีชี้วัดที่
สัมพันธ์กัน ต่อจากนั้นจึงกำหนดข้อคำถามที่ตรงกับตัวชี้วัดก็จะได้มาตรวัดตัวชี้วัดก็จะได้มาตรวัดตามที่ต้องการ
16. เพศ เป็นการวัดระดับใด
1. Nominal Scale 2. Ordinal Scale 3. Interval Scale
4. Ratio Scale 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 1. Nominal Scale เป็นวิธีการวัดที่ง่ายที่สุด เพียงแต่การกำหนดเกณฑ์แบ่งแยกประชากรที่ศึกษา
ออกเป็นกลุ่ม แล้วตั้งชื่อให้แต่ละกลุ่มที่มีคุณสมบัติเหมือนกันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน ตัวเลขหรือสัญลักษณ์เป็นเพียงแต่
ชื่อไม่สามารถเอามาคำนวณทางเลขคณิตได้ เช่น เพศ สถานภาพการสมรส ภูมิลำเนา อาชีพ เป็นต้น
17. อายุ เป็นการวัดระดับใด
1. Nominal Scale 2. Ordinal Scale 3. Interval Scale
4. Ratio Scale 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 4. Ratio Scale เป็นการวัดที่มีคุณสมบัติของมาตรวัดแบบช่วงทุกประการแต่มีคุณสมบัติเพิ่ม คือ มี
จุดเริ่มต้นที่ศูนย์ที่แท้จริง เช่น อายุ น้ำหนัก ความสูง เงินเดือน รายได้ เป็นต้น
18. การศึกษา เป็นการวัดระดับใด
1. Nominal Scale 2. Ordinal Scale 3. Interval Scale
4. Ratio Scale 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 2. Ordinal Scale เหมือนกับการแบ่งกลุ่ม แต่สามารถจัดอันดับอัตราความแตกต่างระหว่างกันและกัน
ได้ ซึ่งอาจใช้ข้อความว่า มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ตัวเลขหรือสัญลักษณ์ที่แสดงไม่มีผลต่อการคำนวณ
แต่จะบอกความสำคัญเท่านั้น ไม่สามารถบอกปริมาณและความแตกต่างได้ เช่น ระดับการศึกษา เกรด ความคิดเห็น
ความพึ่งพอใจ เป็นต้น
19. จุดประสงค์ในการใช้สถิติ t – Test ใช้เพื่อทดสอบอะไร
1. ทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มี 2 กลุ่ม
2. ทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มีมากกว่า 2 กลุ่ม
3. ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 40
............................................................................................................................................................................................
4. ทดสอบปัจจัยที่มีอิทธิพลระหว่างตัวแปร 5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 1. สถิติ t – Test ใช้เพื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มี 2 กลุ่มโดยมีเงื่อนไขในการใช้ คือ
ต้องมีการแจกแจงแบบโค้งปกติ ข้อมูลของตัวแปรตามต้องมีระกับการวัดเป็น Interval Scale ขึ้นไป และใช้เพื่อ
ทดสอบสมมุติฐานความแตกต่างระหว่างตัวแปร
20. จุดประสงค์ในการใช้สถิติ F – Test ใช้เพื่อทดสอบอะไร
1. ทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มี 2 กลุ่ม
2. ทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มีมากกว่า 2 กลุ่ม
3. ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
4. ทดสอบปัจจัยที่มีอิทธิพลระหว่างตัวแปร 5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 2. สถิติ F – Test หรือ Oneway ANOVA ใช้เพื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มีมากกว่า
2 กลุ่ม โดยมีเงื่อนไขในการใช้เหมือน t – Test แต่ไม่จำเป็นต้องมีการแจกแจงแบบโค้งปกติ
21. จุดประสงค์ในการใช้สถิติ Correlation ใช้เพื่อทดสอบอะไร
1. ทดสอบความแตกตางระหว่างตัวแปรที่มี 2 กลุ่ม
2. ทดสอบความแตกตางระหว่างตัวแปรที่มีมากกว่า 2 กลุ่ม
3. ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
4. ทดสอบปัจจัยที่อิทธิพลระหว่างตัวแปร 5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 3. สถิติ Correlation ใช้เพื่อทดสอบความแตกตางระหว่างตัวแปร โดยข้อมูลทั้งตัวแปรอิสระและตัว
แปรตามต้องมีระดับการวัดเป็น Interval Scale แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวใดเป็นเหตุหรือตัวใดเป็นผล ทราบแต่
เพียงความสัมพันธ์ของตัวแปรและขนาดของความสัมพันธ์เท่านั้น
22. Rating Scale เป็นมาตรวัดระดับใด
1. Nominal Scale 2. Ordinal Scale 3. Interval Scale
4. Ratio Scale 5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 2. Rating Scale เป็นมาตรวัดระดับ Ordinal Scale ที่ใช้ในการกำหนดค่าคะแนนให้กับคำถามที่
ใช้วัดตัวแปรต่างๆโดยมีคะแนนแตกต่างกันตามลักษณะของตัวแปรเช่น 3 5 7 9 หรือ 11 ดังนั้นการใช้ Rating
Scale ผู้ให้คะแนนควรมีความรู้ในการให้คะแนนเป็นอย่างดี
23. เทคนิคการทดสอบสหสัมพันธ์เฉลี่ยระหว่างข้อเกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
1. การทดสอบทฤษฎี 2. การทดสอบบความแม่นตรงของมาตรวัด
3. การทดสอบความเชื่อถือได้ของมาตรวัด 4. ไม่มีข้อถูก 5. ถูกทั้งข้อ 1 2 และ 3
ตอบ 3. เทคนิคการทดสอบความเชื่อถือได้ของมาตรวัด มีดังนี้
1. เทคนิคการทดสอบซ้ำ (Test-Retest)
2. เทคนิคการทดสอบแบบแบ่งครึ่ง (Split-Half)
3. เทคนิคการทดสอบคู่ขนาน (Parallel Form)
4. เทคนิคการทดสอบสหสัมพันธ์เฉลี่ยระหว่างข้อ (Average Inter Correlation)
24. Content Validity เกี่ยวข้อกับเรื่องใดมากที่สุด
1. การทดสอบทฤษฎี 2. การทดสอบบความแม่นตรงของมาตรวัด
3. การทดสอบความเชื่อถือได้ของมาตรวัด 4. ไม่มีข้อถูก 5. ถูกทั้งข้อ 1 2 และ 3
ตอบ 2. Zeller & Cammines ได้จำแนกความแม่นตรงของมาตรวัดออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. ความแม่นตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity)
2. ความแม่นตรงที่สัมพันธ์กับมาตรฐาน (Criterion-Related Validity)
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 41
............................................................................................................................................................................................
3. ความแม่นตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity)
25. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของเครื่องมือวัด 1. การทดสอบทฤษฎี
2. การทดสอบความแม่นตรงของมาตรวัด 3. การทดสอบความเชื่อถือได้ของมาตรวัด
4. การมีความหมายของการวัด 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 1. คุณภาพของเครื่องมือวัดมีเกณฑ์ในการพิจารณาดังนี้ 1. ความเชื่อถือได้ 2. ความแม่นตรง
3. ความเป็นปรนัย 4. ความแม่นยำ 5. ความไวในการแบ่งแยก
6. การมีความหมายของการวัด 7. การนำเครื่องมือนั้นไปปฏิบัติได้ง่าย
8. การมีประสิทธิภาพสูง
26. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ตัวแปรที่มีความซับซ้อนอาจใช้ดัชนีหลายๆอันประกอบกัน
2. การสร้างมาตรวัดทำความเข้าใจประเภทของตัวแปรและระดับการวัดของตัวแปร
3. มาตรวัดระดับสูงสามารถลดระดับลงมาเป็นระดับต่ำได้
4. มาตรวัดระดับต่ำสามารถยกระดับให้สูงได้ 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4. ข้อสังเกตที่สำคัญของมาตรวัดคือมาตรฐานระดับสูงนั้นสามารถลดระดับลงมาแบบต่ำได้แต่มาตรวัด
ระดับต่ำไม่สามารถยกระดับให้สูงขึ้นได้
27. ท่านสามารถใกล้ชิดกับเกย์ได้เพียงใด 1. นั่งใกล้ๆ ได้
2. กินข้าวร่วมกันได้ 3. อยู่บ้านเดียวกันได้ 4. นอนห้องเดียวกันได้
เป็นมาตรวัดประเภทใด 1. Likert Scale 2. Guttman Scale
3. Semantic Differential Scale 4. Rating Scale 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 2. Guttman Scale เป็นคำตอบในมิติเดียว โดยแต่ละคำถามจะถูกการกลั่นกรองและเรียงลำดับข้อที่
ได้คะแนนสูงกว่าจะมีการสะสมข้อที่ได้คะแนนน้อยกว่า ตัวอย่างเช่น
คำถาม : ท่านสามารถใกล้ชิดกับเกย์ได้มากน้อยเพียงใด
คำตอบ : 1. นั่งใกล้ๆได้ 2. กินข้าวร่วมกันได้ 3. อยู่บ้านเดียวกันได้ 4. นอนห้องเดียวกันได้
ถ้าตอบข้อ 1 ท่านสามารถทำข้อ 1 ได้เพียงข้อเดียว
ถ้าตอบข้อ 2 ท่านสามารถทำทั้งข้อ 1 และข้อ 2 ได้
ถ้าตอบข้อ 3 ท่านสามารถทำทั้งข้อ 1 และ 2 และ 3 ได้
ถ้าตอบข้อ 4 ท่านสามารถทำได้ทุกข้อ
28. ความรู้สึกต่อชีวิตประจำวันของท่านเป็นอย่างไร
ชีวิตไร้ค่า_ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ ชีวิตมีค่า
สิ้นหวัง_ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ มีความหวัง
เป็นมาตรวัดประเภทใด
1. Likert Scale 2. Guttman Scale 3. Semantic Differential Scale
4. Rating Scale 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 3. Semantic Differential Scale เป็นมาตรวัดที่พัฒนาขึ้นโดย Osgood และคณะเพื่อศึกษามิติ
ความแตกต่างโดยมาจากการตัดสินคำศัพท์คู่ที่ตรงข้าม โดยแต่ละแนวคิดจะปรากฏอยู่ตรงกันข้ามภายใต้คะแนน
7-11 และให้ผู้ตอบตัดสินแนวคิด โดยเลือกช่วงที่เหมาะสมกับความรู้สึกมากที่สุด ตัวอย่างเช่น
คำถาม : ความรู้สึกต่อชีวิตปัจจุบันของท่านเป็นอย่างไร
คำตอบ : ชีวิตไร้ค่า ชีวิตมีค่า
สิ้นหวัง มีความหวัง
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 42
............................................................................................................................................................................................
เบื่อหน่าย น่าสนใจ
ยาก ง่าย
29. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร โดยกำหนดประเด็นที่ต้องการศึกษาและทำการค้นคว้าหาข้อมูลจากหลักฐาน
เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องเป็นการวิจัยประเภทใด
1. Survey Research 2. Documentary Research 3. Field Research
4. Experimental Research 5. Descriptive Research
ตอบ 2. การวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) เป็นการวิจัยแบบหนึ่งที่มีการเก็บรวบรวม
ข้อมูลเอกสาร สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ หรือสื่อข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต โดยกำหนดประเด็นที่ต้องการศึกษา และทำการค้นคว้า
หาข้อมูล ซึ่งต้องใช้ทักษะด้านการอ่านมากที่สุดในการศึกษา จากหลักฐานเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น หนังสือพิมพ์
เอกสารราชการ หนังสือ ตำรา คลิป YouTube รวมไปถึงหลักฐาน/เอกสารทางประวัติศาสตร์ โบราณวัตถุ และสิง
ปรักหักพัง ศิลาจารึก เป็นต้น
30. ผู้วิจัยสามารถควบคุมตัวแปรต่างๆ โดยวิธีกำหนดกลุ่มควบคุมและกลุ่มเปรียบเทียบเพื่อให้การวิจัยมีความ
เชื่อถือได้สูงเป็นการวิจัยประเภทใด
1. Survey Research 2. Documentary Research 3. Field Research
4. Experimental Research 5. Descriptive Research
ตอบ 4. การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยสามารถควบคุมสิ่งแวดล้อม
และตัวแปรต่างๆดดยวิธีกำหนดกลุ่มควบคุมและกลุ่มเปรียบเทียบเพื่อให้การวิจัยมีความเชื่อถือได้สูง ซึ่งวิธีการวิจัยใน
ลักษณะนี้แทบจะไม่ค่อยได้นำมาใช้ในทางรัฐศาสตร์ แต่มักจะถูกนำมาใช้มากในศึกษาศาสตร์
31. การวิจัยโดยจัดทำแบบสอบถามไปยังกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของหน่วยการศึกษาเป็นการวิจัยประเภทใด
1. Survey Research 2. Documentary Research 3. Field Research
4. Experimental Research 5. Descriptive Research
ตอบ 1. การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) เป็นการวิจัยที่เน้นการสำรวจข้อมูลพื้นฐานทั่วไป ซึ่งส่วน
ใหญ่ไม่ได้ลงลึกมากนัก โดยจัดทำแบบสอบถามไปยังกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของหน่วยในการศึกษา การวิจัยนี้จะไม่
เน้นการอธิบายหรือวิเคราะห์ถึงสาเหตุการเกิดขึ้นของข้อมูลแต่จะมุ่งเก็บข้อมูลที่เป็นรูปธรรมที่สังเกตเห็นได้ง่าย
ตัวอย่างเช่น การสำรวจผู้มีสิทธิเลือกตั้งของไทยในการเลือกตั้ง ปี พ.ศ. 2562 ว่ามีผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนกี่คน ไม่มาช้
สิทธืกี่คน เป็นต้น
32. การวิจัยที่ผู้วิจัยเลือกหมู่บ้านใดหมู่บ้านหนึ่งหรือพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเพื่อทำการศึกษาเพื่อให้เข้าใจในพื้นที่นั้นๆเป็น
การวิจัยประเภทใด
1. Survey Research 2. Documentary Research 3. Field Research
4. Experimental Research 5. Descriptive Research
ตอบ 3. การวิจัยสนาม (Field Research) เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยเลือกหมู่บ้านใดหมู่บ้านหนึ่งหรือพื้นที่ใด
พื้นที่หนึ่งเพื่อทำการศึกษา เพื่อให้เข้าใจพื้นที่นั้นๆดดยการวิจัยประเภทนี้มีข้อจำกัดอยู่ว่า ไม่สามารถนำมาขยายผลใน
พื้นที่อื่นได้ เพราะผลการวิจัยเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละพื้นที่แต่จะมีข้อดีคือ เข้าใจตัวอย่างที่ศึกษาได้อย่างละเอียด
คลอบคลุมในทุกประเด็นที่ต้องการศึกษา
33. การวิจัยเพื่อมุ่งหาข้อเท็จจริงใหม่ๆ เท่านั้น ไม่ต้องการอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นการวิจัยประเภทใด
1. Survey Research 2. Documentary Research 3. Field Research
4. Experimental Research 5. Descriptive Research
ตอบ 5. การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) เป็นการวิจัยเพื่อมุ่งหาข้อเท็จจริงใหม่ ๆเท่านั้น
ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายว่าปรากฏการณ์ที่ศึกษานั้นเกิดขึ้นมาได้อย่างไร หรือมีปัจจัยอะไรที่ทำให้เกิด
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 43
............................................................................................................................................................................................
34. ข้อใดที่การสุ่มตัวอย่างไม่สามารถเป็นตัวแทนประชากรทั้งหมดได้
1. การสุ่มตัวอย่างแบบง่ายๆ 2. การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ
3. การเลือกตัวอย่างแบบกำหนดโควตา 4. การสุ่มตัวอย่างแบบแยกประเภทสุ่ม
5. การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นกลุ่ม
ตอบ 3. การกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น เป็นการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจงเจตนาใช้
ความสะดวกหรือความสนใจของผู้วิจัยเป็นหลัก ซึ่งไม่สามารถเป็นตัวแทนประชากรทั้งหมดได้ เช่นการเลือกตัวอย่าง
แบบกำหนดโควตา การเลือกตัวอย่างโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญระบบ การเลือกตัวอย่างแบบลูกโซ่ เป็นต้น
35. ข้อใดเป็นสถิติอนุมาน 1. การแจกแจงความถี่ 2. การวัดการกระจาย
3. การประมาณค่า 4. ไม่มีข้อถูก 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 3. สถิติอนุมาน (Inferential Statistics) แบ่งออกเป็น 3 เทคนิคย่อย ได้แก่
1. การประมาณค่า 2. การทดสอบสมมุติฐาน 3. การกระจายของกลุ่มประชากร
36. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัยตามหลัก “SMART”
1. สามารถวัดและตรวจสอบได้ 2. สามารถทำได้จริง 3. สอดคล้องกับปัญหา
4. ใช้ระยะเวลาอย่างเต็มที่ไม่จำกัด 5. มีความเหมาะสมกับผู้วิจัย
ตอบ 4. วัตถุประสงค์ที่มีลักษณะ “SMART” ประกอบด้วย ความเหมาะสม (Sensible : S) การวัดและ
ตรวจสอบได้ (Measurable : M) การบรรลุและทำได้จริง (Attainable : A) ความสมเหตุสมผลสอดคล้องกับ
ปัญหา (Reasonable : R) และการคำนึงถึงระยะเวลาที่เหมาะสม (Time : T)
37. ข้อใดต่อไปนี้เป็นการเขียนที่มาและความสำคัญของปัญหาที่เหมาะสม
1. การเขียนอารัมภบทให้น่าอ่านและได้อรรถรส
2. การเขียนบางประเด็นที่น่าสนใจมากกว่าความครอบคลุมทั้งหมด
3. การอ้างอิงแหล่งที่มาเท่าที่จำเป็นเท่านั้น
4. การนำตัวเลขและตารางมาประกอบให้มากที่สุด
5. การขมวดประเด็นที่จะศึกษาในย่อหน้าสุดท้าย
ตอบ 5. การเขียนที่มาและความสำคัญของปัญหาที่เหมาะสมผู้วิจัยต้องคำนึงถึงหลักสำคัญได้แก่ 1. การ
เขียนให้ตรงประเด็นไม่เยิ่นเย้อหรืออ้อมค้อม 2. การเขียนให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญทั้งหมด 3. การเขียนให้มีความ
ยาวเหมาะสมไม่สั้นจนเกินไป 4. การหลีกเลี่ยงการนำตัวเลขและตารางยาวๆหรือข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้องมาใส่
5. การอ้างอิงแหล่งที่มาของเอกสารประกอบอย่างสมบูรณ์เสมอ 6. การขมวดหรือสรุปประเด็นที่จะศึกษาในย่อหน้า
สุดท้ายเป็นต้น
38. การเขียนบทนำให้มีความชัดเจนและดึงดูดผู้อ่านสามารถเริ่มจากสิ่งใดได้
1. ปัญหาสังคมในวงกว้าง 2. ข่าวสารบ้านเมืองทั่วไป 3. ความลับของนักการเมือง
4. เรื่องเล่าเกี่ยวกับดารา 5. ประเด็นที่นักวิจัยต้องการศึกษาเป็นส่วนตัว
ตอบ 1. การเขียนบทนำให้มีความชัดเจนและดึงดูดผู้อ่านให้ได้ โดยทั่วไปแล้วควรเริ่มต้นจากสภาพการณ์หรือ
เหตุการณ์บางอย่างที่ก่อให้เกิดปัญหาทางสังคมอย่างกว้างๆเพื่อชี้ให้เห็นว่าสังคมกำลังมีความเดือดร้อนหรือความ
ยุ่งยากอย่างไรบ้างถ้าหากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องไม่รีบหาทางแก้ไขปัญหาเหล่านั้นย่อมนำไปสู่ความสูญเสียที่มากขึ้นได้
39. คำว่า “การออกแบบงานวิจัย” ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
1. Research Result 2. Research Project 3. Research Design
4. Research Outcome 5. Research Method
ตอบ 3. บทนำ เป็นเนื้อหาที่มีความสำคัญอย่างมากในการเปิดประเด็นให้ผู้อ่านเห็นถุงความสำคัญของ
การศึกษาปัญหาวิจัย อันจะนำไปสู่ “การออกแบบงานวิจัย” Research Design ต่อไป
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 44
............................................................................................................................................................................................
40. ข้อตกลงที่เรียกว่า “สัญญา” ในการทำวิจัย สอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด
1. ความสำคัญของการศึกษา 2. วัตถุประสงค์ 3. สมมุติฐาน
4. ประโยชน์ในการทำวิจัย 5. ข้อตกลงในการทำวิจัย
ตอบ 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย เป็นการอธิบายที่ต้องการบอกเป้าหมายหรือความต้องการของงานวิจัยว่า
ผู้วิจัยต้องการทราบอะไรเพื่อใช้เป็นแนวทางในการออกแบบการวิจัยที่มีความเหมาะสมต่อไป หรืออาจกล่าวอีกนัย
หนึ่งว่า วัตถุประสงค์ของการวิจัยเปรียบเทียบได้กับ “สัญญา” ที่ผู้วิจัยได้กระทำไว้ว่าผู้อ่านจะได้รับทราบข้อมูล
เหล่านั้นในรายงานการวิจัยฉบับนี้ได้
41. ประโยคที่ว่า “.......เพื่อแก้ปัญหาในการดำเนินงานของหน่วยงานที่ทำวิจัย เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ในเชิง
วิชาการ เพื่อบริการให้ความรู้แก่ประชาชน......” เป็นตัวอย่างของข้อใดต่อไปนี้
1. ความสำคัญของการศึกษา 2. วัตถุประสงค์ 3. สมมุติฐาน
4. ประโยชน์ในการทำวิจัย 5. ข้อตกลงในการทำวิจัย
ตอบ 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับในการทำวิจัย เป็นการแสดงให้ผู้อ่านได้เห็นคุณค่าหรือประโยชน์ของข้อ
ค้นพบที่ได้จากการศึกษาวิจัย ทั้งนี้ผู้วิจัยจำเป็นต้องแสดงประโยชน์ให้อยู่ในขอบเขตของวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่ง
ผู้วิจัยสามารถแสดงได้หลายทาง ตัวอย่างเช่น เพื่อแก้ปัญหาในการดำเนินงานของหน่วยงานที่ทำวิจัย เพื่อสร้างองค์
ความรู้ใหม่ในเชิงวิชาการ เพื่อบริการความรู้ให้แก่ประชาชน เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการและภาคธุรกิจ เป็นต้น
42. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ขอบเขตของการทำวิจัย
1. ขอบเขตด้านประชากร 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา 3. ขอบเขตด้านเวลา
4. ขอบเขตด้านสถานที่ 5. ขอบเขตด้านวิธีการวิจัย
ตอบ 5. ขอบเขตของการวิจัย เป็นการทำให้ผู้อ่านเห็นภาพทั้งหมดของงานวิจัยว่า การศึกษาของผู้วิจัยนั้น
ครอบคลุมในประเด็นใด พื้นที่ใด หรือระยะเวลาใดบ้าง ซึ่งการกำหนดขอบเขตที่ชัดเจนนั้นจะทำให้ผู้วิจัยตีกรอบที่
ชัดเจนว่างานวิจัยมีความเกี่ยวข้องกับอาณาบริเวณของคลังข้อมูลจำนวนมหาศาลเพียงใด ดังนั้นขอบเขตของงานวิจัย
จึงสามารถปรากฏได้ในหลายลักษณะ เช่น ขอบเขตด้านสถานที่ ประชากร เนื้อหาสาระ เวลา เป็นต้น
43. การทำให้ผู้อ่านทราบถึงปัญหาความคลาดเคลื่อน (Error) ในช่วงระหว่างการวิจัย โดยที่ผู้วิจัยไม่สามารถ
ควบคุมหรือหลีกเลี่ยงปัจจัยดังกล่าวได้ จนกระทั่งอาจส่งผลต่อผลการศึกษาหรือข้อค้นพบของงานวิจัยนั้น
หมายถึงข้อใดต่อไปนี้ 1. ข้อตกลงในการทำวิจัย 2. ข้อจำกัดของการวิจัย
3. นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย 4. ขอบเขตของการวิจัย 5. ประโยชน์ในการทำวิจัย
ตอบ 2. ข้อจำกัดของการวิจัย เป็นการทำให้ผู้อ่านทราบถึงปัญหาความคลาดเคลื่อนในช่วงระหว่างการวิจัย
โดยที่ผู้วิจัยไม่สามารถควบคุมหรือหลีกเลี่ยงปัจจัยดังกล่าวได้จนกระทั่งอาจส่งผลต่อผลการศึกษาหรือข้อค้นพบของ
งานวิจัยนั้น
44. คำว่า “ขนมชั้น” มักปรากฏให้เห็นในส่วนใดของการวิจัย
1. ความสำคัญของการศึกษา 2. นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย 3. การทบทวนวรรณกรรม
4. การเก็บข้อมูลการวิจัย 5. การเขียนข้อเสนอแนะ
ตอบ 3 คำว่า “ขนมชั้น” ในงานวิจัย หมายถึง การเรียงเอกสารงานวิจัยตามรายชื่อหรือปีที่มีการเผยแพร่ต่อ
กันไปเรื่อย ๆ ซึ่งมักปรากฏให้เห็นในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการทบทวนวรรณกรรมและรายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง
45. คำว่า “ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง” สัมพันธ์กับข้อใดต่อไปนี้มากที่สุด
1. Research Methodology 2. Research Result 3. Research Conclusion
4. Recommendation 5. Research Findings
ตอบ 1. บทที 3 วิธีดำเนินการวิจัย ของรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์จะเกี่ยวข้องกับระเบียบวิธีวิจัย
(Research Methodology) ซึ่งเป็นการแสดงให้ผุ้อ่านได้เห็นว่าการค้นหาคำตอบตามวัตถุประสงค์ข้างต้นนั้นได้ใช้
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 45
............................................................................................................................................................................................
วิธีการในการแสวงหาคำตอบอย่างไร มีรูปแบบการวิจัยประชากรและกลุ่มตัวอย่าง พื้นที่ที่ใช้ในการวิจัย วิธีการสร้าง
เครื่องมือ การตรวจสอบเครื่องมือ การทดสอบเครื่องมือ วิธีการและขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผล
และการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร

➢ จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถาม ข้อ 46. – 55.


1. บทที่ 1 บทนำ 2. บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและการสำรวจองค์ความรู้
3. วิธีดำเนินการวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล
5. บทที่ 5 การสรุปผล การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
46. วิธีการและขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 45 ประกอบ
47. เงื่อนไขของงานวิจัยที่กำลังศึกษาว่าเป็นไปในลักษณะใด
ตอบ 1. บทที่ 1 บทนำ ในส่วนของข้อตกลงเบื้องต้น (ถ้ามี) เป็นการทำให้ผู้อ่านทราบถึงเงื่อนไขของงานวิจัย
ที่กำลังศึกษาว่าเป็นไปในลักษณะใด โดยอาจจะเป็นเงื่อนไขที่ผู้วิจัยไม่ได้ทำการตรวจสอบหรือไม่ได้ศึกษาอย่าง
เพียงพอ
48. การนำเสนอข้อมูลของงานวิจัย สามารถกระทำได้ทั้งแบบ “นิรนัย” และแบบ “อุปนัย”
ตอบ 4. บทที่ 4 ผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล ของรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ มีเทคนิคในการเขียน
ผลการวิจัยที่สำคัญ 2 ส่วน ได้แก่ 1. การนำเสนอข้อมูล สามารถกระทำได้ทั้งแบบ “นิรนัย” และแบบ “อุปนัย”
2. การตีความข้อมูล เป็นการที่ผู้วิจัยชี้ให้เห็นถึงข้อเท็จจริงและข้อค้นพบจากการวิจัยนั้น
49. การเขียนเพื่อประเมินและขยายความผลการวิจัยได้เพื่อยืนยันให้ผู้อ่านได้เห็นว่าผลการวิจัยที่ได้นั้นน่าเชื่อถือ
ถูกต้อง และเป็นจริง
ตอบ 5. บทที่ 5 การสรุปผล การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ของรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์นั้นพบว่า
การอภิปรายเป็นผลการเขียนเพื่อประเมินและขยายความผลการวิจัยที่ได้ เพื่อยืนยันให้ผู้อ่านได้เห็นว่าผลการวิจัยที่ได้
นั้นน่าเชื่อถือ ถูกต้องและเป็นจริง
50. ขั้นการวิเคราะห์ข้อมูล
ตอบ 4. ดูคำอธิบายข้อ 48 ประกอบ
51. เอกสารวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ตอบ 2. บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและการสำรวจองค์ความรู้ของรายงานฉบับสมบูรณ์ ประกอบด้วย
เนื้อหาสำคัญ 6 ส่วนได้แก่ 1. แนวคิดของผู้รู้หรือผู้เชียวชาญในหัวข้อที่ทำวิจัย 2. ทฤษฏีและกรอบความคิด
ที่เกี่ยวข้อง 3. เอกสารวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4. กรอบแนวคิดในการทำวิจัย 5. สมมุติฐานของการวิจัย 6. นิยาม
ปฏิบัติการ
52. การแสดงให้ผู้อ่านได้เห็นว่า การค้นหาคำตอบถามวัตถุประสงค์ข้างต้น งานวิจัยฉบับนี้ได้ใช้วิธีการในการ
แสวงหาคำตอบอย่างไร
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 45 ประกอบ
53. วิธีการสร้างเครื่องมือ การตรวจสอบเครื่องมือ และการทดสอบเครื่องมือ
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 45. ประกอบ
54. เป็นการให้ความหมายเฉพาะของคำศัพท์บ้างคำที่ผู้วิจัยนำมาใช้ในงานวิจัยโดยเป็นคำที่คนจำนวนน้อยเท่านั้นที่
ทราบ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 46
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 1. บทที่ 1 บทนำ ในส่วนของนิยามคำศัพท์ที่ใช้ในการวิจัยเป็นการให้ความหมายเฉพาะของคำศัพท์บาง
คำที่ผู้วิจัยนำมาใช้ในงานวิจัยโดยเป็นคำที่คนจำนวนน้อยเท่านั้นที่ทราบ หรือเป็นคำที่มีความหมายอัน
หลากหลายจนกระทั่งผู้อ่านอาจเกิดความสับสนและเข้าใจในวัตถุประสงค์ของผู้วิจัยคลาดเคลื่อนไป
55. สมมุติฐานของการวิจัย
ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 51 ประกอบ
56. ข้อใดต่อไปนี้ถือเป็นการเขียนข้อเสนอแนะของการวิจัยที่เหมาะสมได้
1. ข้อเสนอแนะอาจสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงหรือไม่ก็ได้
2. ข้อเสนอแนะเป็นเรื่องที่คนทั่วไปรับรู้กันอยู่แล้ว
3. ข้อเสนอแนะไม่จำเป็นต้องตระหนักถึงข้อจำกัดและความจำเป็นต่างๆ
4. ข้อเสนอแนะต้องมาจากสามัญสำนึกของผู้วิจัยเป็นหลัก
5. ข้อเสนอแนะต้องมีรายละเอียดมากพอสมควร
ตอบ 5. ข้อควรระวังในการเขียนข้อเสนอแนะของการวิจัย คือ
1. ข้อเสนอแนะต้องเป็นเนื้อหาสาระจากการวิจัยมากกว่าสามัญสำนึกของผู้วิจัยเอง
2. ข้อเสนอแนะต้องเป็นเรื่องใหม่ที่มิใช่เรื่องที่รับรู้กันอยู่แล้ว
3. ข้อเสนอแนะต้องสามารถปฏิบัติหรือทำได้จริง
4. ข้อเสนอแนะต้องเป็นผลที่ได้ตะหนักถึงข้อจำกัดและความจำเป็นต่างๆแล้ว
5. ข้อเสนอแนะต้องมีรายละเอียดมากพอสมควรที่นำไปสู่การปฏิบัติได้จริง
57. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงหน้าที่ของบทคัดย่อได้อย่างเหมาะสม
1. ช่วยอธิบายถึงที่มาและความสำคัญของการศึกษา
2. ทำให้ผู้อ่านวิจัยเข้าใจเนื้อหาทั้งหมดได้ในเวลาอันรวดเร็ว
3. ช่วยประหยัดเวลาของผู้บริหาร
4. ช่วยอธิบายถึงนิยามเชิงปฏิบัติของการวิจัย
5. ช่วยอธิบายถึงเครื่องมือของการวิจัยได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน
ตอบ 2. บทคัดย่อ (Abstract) มีความสำคัญในการทำให้ผู้อ่านวิจัยสามารถทำความเข้าใจงานวิจัยหรือ
บทความวิชาการทั้งหมดได้ในเวลาอันรวดเร็ว ดังนั้นบทคัดย่อจึงเป็นข้อความสรุปของรายงานการวิจัยที่สั้นกะทัดรัด
แต่ได้ข้อความครอบคลุมเนื้อหาของรายงานการวิจัยทั้งหมด
58. ข้อใดต่อไปนี้ตรงกับคำว่า “ผู้ให้ข้อมูลคนสำคัญ”
1. Key Informants 2. Key Factors 3. Population
4. Sampling 5. Literature Review
ตอบ 1. องค์ประกอบของบทสรุปสำหรับผู้บริหารประการหนึ่งคือ บทสรุปควรประกอบด้วยรายละเอียด
เกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัย ซึ่งเนื้อหาในส่วนนี้ควรครอบคลุมถึงรูปแบบการวิจัยประชากร ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ผู้วิจัย
ได้ทำการศึกษา ผู้ให้ข้อมูลคนสำคัญ (Key Informants) ขั้นตอนและวีการเก็บรวบรวมแนวทางการสัมภาษณ์และ
วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
59. การเขียน “กิตติกรรมประกาศ” มีประโยชน์อย่างไร
1. การแสดงความภาคภูมิใจของนักวิจัยต่อความสำเร็จของงาน
2. การระบุถึงอุปสรรคที่นักวิจัยพบและสามารถผ่านมาได้
3. การขอบคุณหรือให้เกียรติผู้ที่มีส่วนส่งเสริมให้การวิจัยนี้สำเร็จ
4. การนำเสนอรายงานฉบับสมบูรณ์ของการวิจัย
5. การนำเสนอรายงานความก้าวหน้าของการวิจัย
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 47
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 3. กิตติกรรมประกาศ เป็นหนึ่งในองค์ประกอบที่สำคัญซึ่งอยู่ในส่วนประกอบตอนต้นของรายงานการ
วิจัยฉบับสมบูรณ์ งานวิจัยบางฉบับอาจเรียกว่าเป็น “ประกาศคุณูปการ” โดยใช้ภาษาอังกฤษคำว่า
“Acknowledgement” ซึง่ ผู้วิจัยส่วนใหญ่มักใช้พื้นที่ในส่วนนี้เพื่อเป็นการให้เกียรติและแสดงความขอบคุณผู้
ที่มีส่วนช่วยเหลือหรือผลักดันให้งานวิจัยสำเร็จลุล่วงไปได้ไม่ว่าจะเป็นผู้เชียวชาญที่ให้คำแนะนำ หน่วยงานต้น
สังกัดหรือผู้ให้ทุนวิจัย
60. การเขียนรายงานการวิจัยประเภทใดที่สามารถเกิดขึ้นได้ในขณะที่การวิจัยยังไม่เสร็จสิ้น
1. การรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2. รายงานการวิจัยแบบสั้น
3. บทความการวิจัยลงพิมพ์ในวารสาร 4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย
5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย เป็นรายงานการวิจัยที่เขียนขึ้นในช่วงที่การวิจัยยังไม่เสร็จ
สมบูรณ์ แต่ผู้วิจัยมีเป้าหมายเพื่อรายงานผลการวิจัยแก่ผุ้ให้ทุนหรือหน่วยงานต้นสังกัดเป็นระยะๆ ซึ่งรายงาน
ความก้าวหน้าดังกล่าวจะมีความสำคัญอย่างมากต่อการพิจารณาจัดสรรงบประมาณต่อเนื่องให้แก่ผู้วิจัย หรือการตัด
งบประมาณและระงับการให้ทุนได้หากผลการวิจัยไม่เป็นไปตามเงื่อนไขหรือสัมฤทธิผลที่ได้ทำสัญญากันไว้
61. ตัวเลือกใดไม่ใช้วิธีการแบบวิทยาศาสตร์
1. การตั้งคำถามการวิจัย 2. การคาดเดาคำตอบล่วงหน้า 3. การรวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกต
4. การเก็บข้อมูลจากเอกสารขั้นต้น 5. ทุกข้อคือวิธีการแบบวิทยาศาสตร์
ตอบ 5. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) มี 5 ขั้นตอนดังนี้ 1. การสังเกตและระบุปัญหา
(Observation and Problem Identification) เป็นขั้นตอนแรกสุดของการวิจัย โดยการรับรู้ผ่านประสาทสัมผัส
และเกิดความสงสัยจนนำไปสู่การตั้งคำถามการวิจัย 2. การตั้งสมมุติฐาน (Assumption/Hypothesis) เป็น
ขั้นตอนหลังจากการตั้งคำถามการวิจัยแล้วนักวิจัยจะต้องคาดเดาคำตอบล่วงหน้า ถ้าไม่ทำจะไม่สามารถกำหนด
แนวทางในการค้นหาคำตอบได้ 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) เช่น การเก็บข้อมูลด้วยการสังเกต
การเก็บข้อมูลจากเอกสารขั้นต้น การสอบถามผู้รู้โดยวิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) 4. การวิเคราะห์ข้อมูล
(Data Analysis) 5. การสรุปผล (Conclusion)
62. ตัวเลือกข้อใดเกี่ยวข้องกับความหมายของการวิจัยมากที่สุด
1. การค้นหาคำตอบจากปัญหาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 2. การค้นพบคำตอบที่ไม่เคยมีใครตอบได้มาก่อน
3. การค้นหาสัจธรรมหรือความจริงแท้ของโลกใบนี้ 4. การพิสูจน์ความเชื่อที่ไม่มีใครเคยพิสูจน์ได้มาก่อน
5. ไม่มีข้อใดเกี่ยวข้องกับความหมายของการวิจัยเลย
ตอบ 1. การวิจัย หมายถึง การพยายามค้นหาคำตอบจากปัญหาในเรื่องเรื่องหนึ่ง ผ่านการสังเกตอย่างรอบ
ด้าน หรือการเก็บข้อมูลที่จะใช้นำมาวิเคราะห์อย่างเป็นระบบมีแบบแผน ซึ่งข้อมูลที่ว่านี้อาจจะได้มาจากการค้นหา
ตามเอกสารต่างๆ หรือการลงพื้นที่ไปสัมภาษณ์หรือด้วยวิธีอื่นๆ ที่ทำให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่ต้องการ และเมื่อได้ข้อมูล
มาแล้วก็นำมาวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือต่างๆหรือขบคิดอย่างละเอียด จนได้มาซึ่งคำตอบที่ต้องการ
63. รายงานการวิจัยประเภทใดที่มีความละเอียดมากที่สุด
1. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย 2. บทความวิจัยตีพิมพ์ลงวารสาร
3. รายงานการวิจัยฉบับสั้น 4. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 4. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เป็นรายงานที่มีความละเอียดมากที่สุดและผู้วิจัยทุกคนต้องเขียนขึ้น
ซึ่งเริ่มตั้งแต่บทนำ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิจัย สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ
รวมทั้งบรรณานุกรมและภาคผนวก
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 48
............................................................................................................................................................................................
64. เมื่อได้คำตอบหลังจากเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเรียบร้อยแล้ว นักวิจัยต้องทำอะไรต่อไป
1. Data Collection 2. Data Analysis 3. Observation
4. Data Synthetic 5. Conclusion
ตอบ 5. ดูคำอธิบายข้อ 61 ประกอบ
65. ใครเป็นคนแรกที่แปลคำว่า “Staatswissenschaft” เป็นภาษาไทย
1. หลวงวิจิตรวาทการ 2. รัชกาลที่ 6 3. พระยาอนุมานราชธน
4. พระยายมราช 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 5. พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราทิปพงศ์ประพันธ์หรือพระองค์วรรณฯคือ
คนไทยคนแรกที่สร้างคำว่า “รัฐศาสตร์” ขึ้นมา โดยแปลมาจากภาษาเยอรมันคำว่า “Staatswissenschaft”

➢ ตั้งแต่ข้อ 66. – 72. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ไปตอบในแต่ละข้อโดยให้มีความสัมพันธ์กับโจทย์คำถาม


1. Data Collection 2. Assumption
3. Data Analysis 4. Observation and Problem Identification
5. Conclusion
66. การเก็บข้อมูลจากเอกสาร
ตอบ 1. ดูคำอธิบายข้อ 61 ประกอบ
67. เป็นขั้นตอนหลังจากตั้งคำถามการวิจัยแล้วนักวิจัยจะต้องคาดเดาคำตอบล่วงหน้า
ตอบ 2 . ดูคำอธิบายข้อ 61 ประกอบ
68 การสอบถามผู้รู้โดยใช้วิธีการ Focus Group
ตอบ 1. ดูคำอธิบายข้อ 61 ประกอบ
69. การรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสและเกิดความสงสัยจนนำไปสู่การตั้งคำถามการวิจัย
ตอบ 1. ดุคำอธิบายข้อ 61 ประกอบ
70. หลังจากได้คำตอบแล้วกล่าวสรุปเฉพาะใจความสำคัญ
ตอบ 5. การสรุปผล (Conclusion) เป็นกรสรุปข้อมูลหรือผลการวิเคราะห์ที่เกิดขึ้นจากการเก็บข้อมูลโดย
อาจจะสรุปว่า สมมุติฐานที่ตั้งมาในข้างต้นนั้นถูกหรือผิด หรือผลของการทดลองหรือผลจากการเก็บข้อมูลเป็นอย่างไร
หลังจากได้คำตอบแล้ว ทั้งนี้เพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพรวมทั้งหมด ซึ่งผู้วิจัยไม่ควรจะนำเสนออะไรใหม่ที่นอกเหนือจากที่ได้
กล่าวไปแล้วในส่วนของเนื้อหาอีก ควรกล่าวสรุปเฉพาะใจความสำคัญๆที่เป็นข้อค้นพบของการวิจัย
71. หลังจากเก็บข้อมูลครบเรียบร้อยจนมั่นใจแล้ว นักวิจัยต้องทำอะไรต่อไป
ตอบ 3. ดุคำอธิบายข้อ 61 ประกอบ
72. จะไม่สามารถกำหนดแนวทางในการค้นหาคำตอบได้ถ้าไม่คาดการณ์คำตอบล่วงหน้าเสียก่อน
ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 61 ประกอบ
73. ความหมายของการวิจัยสมัยใหม่อาจจะเทียบได้กับสิ่งใดในพระธรรมปิฎก
1. เหตุผล 2. ความรู้ 3. ปัญญา 4. ความจริง 5. ทักษะ
ตอบ 3. พระธรรมปิฎก ได้กล่าวถึง “การวิจัย” ไว้ว่า เป็นคำที่ใช้ในความหมายสมัยใหม่ในวงวิชาการ เป็น
กิจกรรมอย่างหนึ่งของสังคมสมัยใหม่ ซึ่งอาจเทียบได้กับภาษาบาลีว่า “ปัญญา” ทั้งนี้เพราะการวิจัยนั้นเป็นลักษณะ
หนึ่งของการใช้ปัญญา ทำให้เกิดปัญหาหรือทำให้ปัญญาพัฒนาขึ้น
74. ถ้าอยากเข้าใจการเมืองต้องทำความเข้าใจกลุ่มทางการเมืองแนวคิดดังกล่าวนี้ตรงกับ Approach ใดที่สุด
1. Political Philosophy Approach 2. Group Approach
3. System Approach 4. Developmental Approach
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 49
............................................................................................................................................................................................
5. Power Approach
ตอบ 2. แนวการวิเคราะห์เชิงกลุ่มผลประโยชน์ (Group Approach) เกิดขึ้นมาจากนักรัฐศาสตร์ที่ชื่อ
Arthur F. Bentley โดยเขาเสนอว่า พฤติกรรมทางการเมืองของแต่ละคนนั้นไม่ได้มีบทบาททางการเมืองแต่อย่างใด
คนแต่ละคนจะมีบทบาทได้นั้น คนต้องร่วมกันเป็นกลุ่มเพื่อเรียกร้องหรือต่อต้านต่อระบบการเมือง พฤติกรรมของแต่
ละคนนั้นเมื่ออยู่คนเดียวก็จะมีพฤติกรรมอย่างหนึ่ง แต่เมื่อไปอยู่ร่วมกลุ่ม มนุษย์แต่ละคนก็จะมีพฤติกรรมอีกอย่าง
หนึ่ง ดังนั้นถ้าอยากเข้าใจปรากฏการณ์ทางการเมืองต้องทำความเข้าใจกลุ่มทางการเมือง
75. Approach ใดได้รับอิทธิพลจากสาขาความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์มากที่สุด
1. Political Philosophy Approach 2. Group Approach 3. System Approach
4. Developmental Approach 5. Power Approach
ตอบ 3. แนวการวิเคราะห์เชิงระบบ System Approach เชื่อว่าในทุกสังคมนั้นมีลักษณะเป็นระบบที่ทำ
การรักษาตนเองให้อยู่รอดเสมอ วิธีคิดในลักษณะนี้ได้รับอิทธิพลมาจากความคิดในทางชีววิทยาและวิศวกรรมศาสตร์
มากที่สุดนักวิชาการแนวนี้ เช่น David Easton, Gabriel Almond, Bengham Powell เป็นต้น
76. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับ The Post Behavioral Period
1. ยุคย้อนกลับแห่งการศึกษาการเมืองแบบยุโรป 2. ยุคหลังพฤติกรรมศาสตร์
3. ในยุคนี้มีการศึกษาแบบปรัชญาการเมืองด้วย 4. เน้นการใช้เครื่องมือทางสถิติเป็นหลัก
5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 4. ยุคหลังพฤติกรรมศาสตร์ (The Post Behavioral Period) เป็นยุคของการศึกษารัฐศาสตร์ใน
ปัจจุบัน คือยุคตั้งแต่ทศวรรษ 1970 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ในยุคนี้ถือเป็นยุคแห่งการกลับมาของการศึกษาแบบเดิม
ที่ถูกละทิ้งและไม่ให้ความสนใจจากการพยายามครอบงำของพวกพฤติกรรมศาสตร์ การศึกษาแบบปรัชญาการเมือง
และการศึกษาแบบสถาบันจึงได้เริ่มกลับมาได้รับความสนใจและทำการศึกษากันอีกครั้ง
77. เป็นวิธีการศึกษาการเมืองที่เก่าแก่ที่สุด 1. ปรัชญาการเมือง
2. ประวัติศาสตร์การเมือง 3. พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์
4. ศึกษาถึงสิ่งที่เป็นธรรมชาติของสิ่งที่เป็นนักการเมือง 5. ข้อ 1 และ 2 ถูกทั้งสองข้อ
ตอบ 1. การศึกษาแนวปรัชญาการเมือง นับว่าเป็นแนวที่เก่าแก่ที่สุดของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ซึง่
การศึกษาแนวนี้มีลักษณะเป็นการพรรณนาหรืออธิบาย พร้อมทั้งมีการให้คำแนะนำหรือเสนอมาตรการเอาไว้ด้วยและ
ยังเป็นการศึกษาแนวปทัสถาน คือ มีลักษณะของการใช้ค่านิยมส่วนตัวของผู้ศึกษามากที่สุด

78. “คำอธิบายเกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในทางการเมืองที่เกี่ยวข้องกับอำนาจ” สัมพันธ์กับตัวเลือกใด


1. Methodology 2. ระเบียบวีวิจัย 3. Political Theory
4. Normative 5. ข้อ 1 และ 2 ถูกทั้งสองข้อ
ตอบ 3. Political Theory หมายถึง ชุดของภาษาหรือชุดในการอธิบายเพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับ
ปรากฏการณ์ต่างๆ ในทางการเมืองหรือเรื่องราวของความสัมพันธ์ของคนในสังคมที่เกี่ยวข้องกับอำนาจ
79. “การวิจัยที่เน้นการสำรวจข้อมูลพื้นฐานทั่วไป ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้ลงลึกมากนัก”
1. Pure Research 2. Applied Research 3. Survey Research
4. Research Proposal 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 31 ประกอบ
80. วีรยาสนใจเรื่องการทำรัฐประหารในประเทศไทย แต่ก่อนที่จะศึกษานั้นวีรยาได้ไปอ่านงานเขียนของนักวิชาการ
ที่ได้ศึกษาเรื่องดังกล่าวก่อนที่จะศึกษา สิ่งที่วีรยาทำเรียกว่าอะไร
1. Review Observation 2. Review Reading 3. Review Literature
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 50
............................................................................................................................................................................................
4. Repeat Literature 5. ข้อ 3 และ 4 ถูกทั้งสองข้อ
ตอบ 3. การทบทวนวรรณกรรม (Review Literature) เป็นการศึกษาถึงงานวิจัยอื่นๆ ที่เคยทำมาในอดีต
ว่าเคยมีการศึกษาเรื่องที่เราสงสัยไว้แล้วหรือไม่ เพราะบางครั้งในอดีตอาจจะมีคนที่สงสัยในเรื่องหนึ่งๆ เช่นเดียวกับ
เรา ตัวอย่างเช่น วีรยาสนใจเรื่องการทำรัฐประหารในประเทศไทย แต่ก่อนที่จะศึกษานั้นวีรยาได้ไปอ่านงานเขียนของ
นักวิชาการที่ได้ศึกษาเรื่องดังกล่าวก่อนที่จะศึกษา เป็นต้น
➢ ตั้งแต่ข้อ 81. – 85. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ไปตอบในแต่ละข้อโดยให้มีความสัมพันธ์กับโจทย์คำถาม
1. Documentary Research 2. Dependent Variable 3. Independent Variable
4. Unit of Analysis 5. Survey Research

81. ประยุทธต้องการศึกษาหมอกควันในเขตกรุงเทพมหานครเปรียบเทียบกับหมอกควันในจังหวัดเชียงใหม่
“หมอกควัน” ในทางการวิจัยเรียกว่าอะไร
ตอบ 4. หน่วยในการวิเคราะห์ (Unit of Analysis) หมายถึง หน่วยของสิ่งที่นักวิจัยนำลักษณะหรือ
คุณสมบัติของสิ่งๆนั้นมาวิเคราะห์
82. มุ่งเก็บข้อมูลที่เป็นรูปธรรมที่สังเกตได้ง่าย ตัวอย่างของการวิจัยเช่นนี้ก็เช่น การสำรวจผู้มีสิทธิเลือกตั้งของไทยใน
การเลือกตั้ง ปี พ.ศ. 2562 ว่ามีผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนกี่คน
ตอบ 5. ดูคำอธิบายข้อ 31. ประกอบ
83. การศึกษารัฐธรรมนูญผ่านตำราและเอกสารการวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการวิจัยนี้เรียกว่าอะไร
ตอบ 1. ดูคำอธิบายข้อ 29. ประกอบ
84. ตัวแปรตาม
ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 6. ประกอบ

85. ตัวแปรตั้งต้น
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 6. ประกอบ
➢ ตั้งแต่ข้อ 86. – 91. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ไปตอบในแต่ละข้อโดยให้มีความสัมพันธ์กับโจทย์คำถาม
1. Research Question 2. Observation 3. Research Objective
4. Approach 5. Method
86. ไม่ควรตั้งในลักษณะปลายปิด
ตอบ 1. คำถามการวิจัย (Research Question) หมายถึง คำถามที่ต้องการหาคำตอบจากปรากฎการณ์ที่
นำมาศึกษาวิจัย โดยจะต้องเป็นคำถามที่ยังไม่มีคำตอบ หรือเป็นคำถามที่ไม่สามารถหาคำตอบได้โดยง่าย หรือมี
คำตอบแต่ยังไม่ชัดเจน ใช้คำถามปลายเปิดเป็นส่วนใหญ่ ไม่ควรตั้งในลักษณะปลายปิด และจะต้องเป็นคำถามที่
น่าสนใจที่จะหาคำตอบด้วยซึ่งคำถามในการวิจัยนั้นมีอยู่ 3 ประเภท ได้แก่
1. คำถามประเภท “อะไร” เช่น ทฤษฎีในการพัฒนาเศรษฐกิจมีกี่ประเภท อะไรบ้าง ฯลฯ
2. คำถามประเภท “ทำไม” เช่น ทำไมน้ำจึงท่วมในเขตกรุงเทพมหานครง่ายมาก ฯลฯ
3. คำถามประเภท “อย่างไร” เช่น ประเทศไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ได้อย่างไร ฯลฯ
87. เป็นขั้นตอนแรกที่สุดของการเริ่มต้นวิจัย
ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 61 ประกอบ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 51
............................................................................................................................................................................................
88. วิธีการตั้งประโยคต้องใช้คำขึ้นต้นคำว่า “เพื่อ”
ตอบ 3. วัตถุประสงค์ในการทำวิจัย (Research Objective) คือการบอกจุดมุ่งหมาย ในการทำวิจัยว่าจะ
ทำไปเพื่ออะไร ซึ่งจะมีวิธีการตั้งประโยคด้วยการใช้คำขึ้นต้นว่า “เพื่อ” เช่น เพื่อสำรวจ เพื่อพรรณนา เป็นต้น
89. ต้องตั้งด้วยประโยคประเภท “อะไร ทำไม อย่างไร”
ตอบ 1. ดูคำอธิบายข้อ 86 ประกอบ
90. วิธีการเก็บข้อมูล
ตอบ 5. คำว่า Method หมายถึง วิธีการของคน ๆ หนึ่งที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเพื่อนำมาทำความเข้าใจหรือใช้
อธิบายบางสิ่งบางอย่าง ซึ่งอาจจะแปลเป็นภาษาไทยว่า วิธีการ
91. การวิเคราะห์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นการเฉพาะ
ตอบ 4. แนวการวิเคราะห์ (Approach) หมายถึง กรอบหรือเค้าโครงทางความคิดอย่างกว้าง อันเป็น
พื้นฐานในการพรรณนาความหรือการอธิบายหรือการวิเคราะห์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นการเฉพาะโดยใน Approach
หนึ่งๆ จะประกอบไปด้วยสมมุติฐานเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองในเรื่องนั้น ๆ เช่น ทฤษฎีเกม (Game Theory)
➢ ตั้งแต่ข้อ 92. – 95. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ไปตอบในแต่ละข้อโดยให้มีความสัมพันธ์กับโจทย์คำถาม
1. Institutional Approach 2. Rational Choice Approach
3. Historical Approach 4. System Approach 5. Psychological Approach
92. ถ้าอยากเข้าใจการเมืองไทยให้ไปศึกษารัฐธรรมนูญ
ตอบ 1. แนวการวิเคราะห์แบบสถาบันนิยม (Institutional Approach) เป็นการที่ศึกษารัฐศาสตร์ที่
เน้นหนักในเรื่องกฎหมายรัฐธรรมนูญ และอิทธิพลของโครงสร้างทางการเมืองที่มีต่อการเมือง โดยเชื่อว่าโครงสร้างทาง
การเมืองหรือสถาบันทางการเมืองต่าง ๆ เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมมนุษย์ นักรัฐศาสตร์สมัยใหม่แนวสถาบันนิยม ได้แก่
1. เฮอร์มัน ไฟเนอร์ ผู้เขียนงานเรื่อง The Theory and Practice of Modern Government
2. วูดโรว์ วิลสัน ผู้เขียนงานเรื่อง Congressional Government : A Study in American Politics
93. เชื่อว่าในทุกสังคมนั้นมีลักษณะเป็นระบบที่ทำการรักษาตนเองให้อยู่รอดเสมอๆนักคิดคนสำคัญได้แก่ Gabriel
Almond
ตอบ 4. ดูคำอธิบายข้อ 75 ประกอบ
94. Maximize Utility และ Maximin
ตอบ 2. แนวคิดวิเคราะห์แบบการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล (Rational Approach) จะมีสมมุติฐานที่สำคัญ
คือ มนุษย์ทุกคนเป็นมนุษย์ที่มีเหตุผล เวลาจะทำอะไรแล้วจะคำนวณอยู่ตลอดเวลาว่าตนเองได้ประโยชน์อย่างไรและ
เสียประโยชน์อย่างไร และเมื่อคำนวณดูผลลัพธ์ในทางต่างๆแล้วคนๆนั้นก็จะทำตามในทางที่ตนเองได้ประโยชน์มาก
ที่สุด (Maximize Utility) หรือในกรณีตนเองไม่มีทางจะได้ประโยชน์ คน ๆ นั้นก็จะเลือกวิธีการที่ตนเองจะ
เสียเปรียบน้อยที่สุด (Maximin)
95. ถ้าอยากเข้าใจปรากฏการณ์ปัจจุบัน จำเป็นจะต้องไปศึกษาเหตุการณ์ก่อนหน้า
ตอบ 3. แนวทางการวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์ (Historical Approach) มีสมมุติฐานว่า ปรากฏการณ์
ต่างๆที่เกิดขึ้นในปัจจุบันนั้นมีที่มาจากพัฒนาการที่คลี่คล้ายตามลำดับเหตุการณ์อันเชื่อมโยงมาจากเหตุการณ์ที่
สำคัญๆก่อนหน้านั้น ด้วยเหตุนี้เองนักรัฐศาสตร์ที่ศึกษาปรากฏการณ์ทางการเมืองต่างๆ ตามช่วงเวลาในอดีตหรือ
ปัจจุบัน นักรัฐศาสตร์ก็จำเป็นที่จะต้องย้อนกลับไปดูวิวัฒนาการของเหตุการณ์ก่อนหน้าในช่วงยาว แล้วพิจารณาดูว่า
เหตุการณ์ไหนเป็นเหตุการณ์ตั้งต้นที่เป็นสาเหตุของเหตุการณ์ในปัจจุบัน
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 52
............................................................................................................................................................................................
96. คำถามที่ใช้มาตรวัดแบบ Likert Scale จัดเป็นคำถามในลักษณะใด
1. Check-List Question 2. Multiple Choice Question
3. Multi-Response Question 4. Rank Primary Question
5. Rating Scale Question
ตอบ 5. คำถามในลักษณะมาตรส่วนประมาณค่า Rating Scale Question จัดเป็นแบบสอบถามปลาย
ปิดชนิดหนึ่ง โดยแบบที่นิยมใช้และรู้จักกันอย่างแพร่หลายได้แก่ มาตรวัดแบบ Likert Scale, มาตรวัดแบบ
Guttman Scale, มาตรวัดแบบ Osgood Scale, มาตรวัดแบบ Thurstone Scale เป็นต้น
97. ข้อใดไม่ใช่เกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาคุณภาพของเครื่องมือวัด
1. ความแม่นตรง 2. ความเชื่อถือได้ 3. การมีประสิทธิภาพ
4. การมีความหมาย 5. ความเป็นปรนัย
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 25 ประกอบ
98. ในการทดสอบความเชื่อถือได้ (Reliability) ต้องพิจารณาในเรื่องใด
1. ความมีเสถียรภาพ 2. การทดแทนซึ่งกันและกันได้ 3. การเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
4. ข้อ 1 และ 3 ถูก 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 5. การทดสอบความเชื่อถือได้ต้องพิจารณาดังนี้ 1. ความมีเสถียรภาพ (Stability)
2. การทดแทนซึ่งกันและกันได้ (Equivalence) 3. การเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (Homogeneity)
99. ข้อใดเป็นข้อจำกัดของการใช้แบบสอบถาม
1. สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย 2. เกิดความลำเอียงหรืออคติได้งาย
3. ต้องอาศัยผู้มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ
4. ไม่สามารถที่จะเก็บข้อมูลกับผู้ที่อ่านเขียนหนังสือไม่ได้ 5. สามารถกลับไปซักถามต่อได้
ตอบ 4. ข้อจำกัดของการส่งแบบสอบถาม มีดังนี้
1. ไม่แน่ใจว่าข้อมูลที่ได้ตรงกับความจริงหรือไม่ถ้าเครื่องมือวัดไม่ดีพอ
2. มีลักษณะยืดหยุ่นน้อย 3. มักได้แบบสอบถามกลับคืนมาจำนวนน้อย
4. ไม่สามารถใช้กับประชากรที่ไม่สามารถอ่านออกเขียนได้ 5. ไม่สามารถกลับไปซักถามต่อได้
100. ข้อใดคือลักษณะทั่วไปของการวิจัยเชิงปริมาณ
1. ตีความจากเอกสาร 2. ใช้การสอบถามเป็นหลัก
3. มีลักษณะเป็นNormative 4. ทดสอบทฤษฎีด้วยเครื่องมือทางสถิติ
5. ให้ความสำคัญกับความหมายของสิ่งที่ศึกษา
ตอบ 4. ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงปริมาณ คือ 1. ต้องการทดสอบทฤษฎีด้วยเครื่องมือทางสถิติ
2. เน้นข้อมูลที่เป็นตัวเลข 3. มีทฤษฎีเป็นกรอบการศึกษา
4. เป็นการเลือกประชากรทั้งหมด
5. มีวิธีการเก็บข้อมูล โดยใช้การสอบถามและการสัมภาษณ์ตามแนวเป็นหลัก
6. สรุปจากข้อเท็จจริงที่รวบรวมมาได้โดยใช้สถิติเป็นข้อพิสูจน์


ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 53
............................................................................................................................................................................................
การสอบไล่ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2561
………………

➢ คำสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (มีข้อสอบทั้งหมด 100 ข้อ)


1. ข้อใดไม่ใช่จุดมุ่งหมายของการตั้งปัญหาในการวิจัย
1. เพื่อบรรยาย 2. เพื่ออธิบาย 3. เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
4. เพื่อการทำนาย 5. เป็นจุดมุ่งหมายทุกข้อ
ตอบ 3. จุดมุ่งหมายของการตั้งปัญหาในการวิจัยมีดังนี้ 1. เพื่อบุกเบิกหรือรวบรวมแหล่งความรู้
2. เพื่อบรรยาย 3. เพื่ออธิบาย 4. เพื่อทำนายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
2. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์ในการเลือกหัวข้อของการวิจัย
1. ความเป็นไปได้ 2. ความน่าสนใจและทันต่อเหตุการณ์
3. ความสนใจของผู้วิจัย 4. ความยากง่ายในการศึกษา 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4. หลักเกณฑ์ในการเลือกหัวข้อของการวิจัย 1. ความสำคัญของปัญหา
2. ความเป็นไปได้ 3. ความน่าสนใจและทันต่อเหตุการณ์ 4. ความสนใจของผู้ที่จะวิจัย
5. ความสามารถที่จะทำให้บรรลุผล
3. ลักษณะของปัญหาที่ต้องใช้ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆมากำหนดความสัมพันธ์ เรียกว่าปัญหา
ประเภทใด 1. ปัญหาเชิงวิเคราะห์ 2. ปัญหาเชิงประจักษ์
3. ปัญหาเชิงปทัสถาน 4. ปัญหาเชิงสังเคราะห์ 5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 2. ปัญหาเชิงประจักษ์ (Empirical Problems) คือลักษณะของปัญหาที่ต้องใช้ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นใน
สถานการณ์นั้น ๆมากำหนดความสัมพันธ์
4. ลักษณะของปัญหาที่ต้องใช้ความคิด ความรู้ในเชิงวิชาการมาประมวลเป็นข้อสรุปหรือกฎ หรืออ้างอิงจากแนวคิด
ทฤษฎี หรือนักวิชาการ เรียกว่าปัญหาประเภทใด
1. ปัญหาเชิงวิเคราะห์ 2. ปัญหาเชิงประจักษ์ 3. ปัญหาเชิงปทัสถาน
4. ปัญหาเชิงสังเคราะห์ 5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 3. ปัญหาเชิงปทัสถาน (Normative Problems) คือ ลักษณะของปัญหาที่ต้องใช้ความคิด ความรู้เชิง
วิชาการมาประมวลเป็นข้อสรุปหรือกฎ หรือใช้การอ้างอิงจากตำราวิชาการ แนวคิดทฤษฎี หรือนักวิชาการ ตลอดจน
ผู้ทรงคุณวุฒิ มายืนยันและตรวจสอบความถูกต้อง
5. วัตถุประสงค์ในการวิจัย “เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่าภูมิหลังของบุคคลกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง” เป็น
วัตถุประสงค์ประเภทใด 1. วัตถุประสงค์เชิงพรรณนา
2. วัตถุประสงค์เชิงอธิบาย 3. วัตถุประสงค์เชิงทำนาย
4. ปัญหาเชิงเปรียบเทียบ 5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 4. การกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย มีดังนี้
1. วัตถุประสงค์เชิงพรรณนา เช่น เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดนนทบุรี เป็นต้น
2. วัตถุประสงค์เชิงเปรียบเทียบ เช่น เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างภูมิหลังของบุคคลกับการมีส่วนร่วม
ทางการเมือง เป็นต้น
6. การมีส่วนร่วมทางการเมืองในวัตถุประสงค์ข้างต้นเป็นตัวแปรประเภทใด
1. ตัวแปรอิสระ 2. ตัวแปรแทรกซ้อน 3. ตัวแปรต้น
4. ตัวแปรตาม 5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 4. ตัวแปรที่กำหนดความสัมพันธ์โดยตรง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 54
............................................................................................................................................................................................
1. ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) หรือตัวแปรต้น เป็นตัวแปรที่เป็นสาเหตุหรือเป็นความสัมพันธ์ตั้ง
ต้นที่ก่อให้เกิดผล เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดตัวแปรตาม มักจะใช้สัญลักษณ์แทนเป็นตัว x เช่น ระดับการศึกษาที่ส่งผลต่อ
การตัดสินใจลงคะแนน, ภูมิหลังของบุคคล, การอยู่อาศัยในท้องถิ่น เป็นต้น
2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) เป็นตัวแปรที่เป็นผลหรือเปลี่ยนแปลงตามอิทธิพลของตัวแปรอื่น
มักจะใช้สัญลักษณ์แทนเป็นตัวอักษร Y เช่น ผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิประเทศ, การมีส่วนร่วมทางการ
เมือง, ความพึ่งพอใจในการทำงาน, ประสิทธิผลในการทำงาน เป็นต้น
7. ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์เชิงพรรณนา
1. เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างภูมิหลังของบุคคลกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง
2. เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดนนทบุรี
3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ของประชาชนกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง
4. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน
5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 5 ประกอบ
8. กระบวนการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่เป็นนามธรรมในการศึกษากับสิ่งที่เป็นรูปธรรมที่สังเกตได้แก่
1. กรอบแนวความคิด 2. มาตรวัด 3. ตัวบ่งชี้เชิงประจักร
4. นิยามความหมาย 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 2. มาตรวัด (Measurement) คือ กระบวนการระหว่างสิ่งที่เป็นนามธรรมในการศึกษากับสิ่งที่เป็น
รูปธรรมที่สังเกตได้
9. วิธีการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ที่เป็นระบบ มีเหตุมีผลและเป็นวัตถุวิสัย เพื่อที่จะบรรยาย อธิบายหรือทำนาย
ปรากฎการณ์ที่สามารถสังเกตเห็นได้ เรียกวิธีการนั้นว่าอะไร
1. ทฤษฎี 2. สมมุติฐาน 3. ศาสตร์ 4. องค์ความรู้ 5. กรอบแนวคิด
ตอบ 3. ศาสตร์ หมายถึง วิธีการวิเคราะห์ปรากฎการณ์ที่เป็นระบบ มีเหตุมีผลและเป็นวัตถุวิสัย
(Objectivity) เพื่อที่จะบรรยาย อธิบาย และทำนายปรากฎการณ์ที่สามารถสังเกตเหตุได้
10. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามกรอบของทฤษฎีที่ผู้วิจัยคาดว่าจะเกิดขึ้นและรอการพิสูจน์ เรียกว่าอะไร
1. ตัวแปร 2. สมมุติฐาน 3. ศาสตร์ 4. องค์ความรู้ 5. กรอบความคิด
ตอบ 2. สมมุติฐาน (Hypothesis) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามกรอบของทฤษฎีที่ผู้วิจัยคาดว่าจะ
เกิดขึ้น และรอการพิสูจน์ต่อไป
11. ภูมิหลังของประชากร ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ การศึกษา เรียกว่าตัวแปรประเภทใด
1. ตัวแปรเชิงพัฒนา 2. ตัวแปรมาตรฐาน 3. ตัวแปรหลัก
4. ตัวแปรองค์ประกอบ 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 2. ตัวแปรมาตรฐาน คือ ตัวแปรที่จำเป็นตัวมีในการวิจัยทุก ๆ เรื่อง ได้แก่ คุณสมบัติของสิ่งที่ศึกษา เช่น
ภูมิหลังของประชากร ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ การศึกษา เป็นต้น
12. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรซึ่งเมื่อตัวแปรตัวหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปทำให้ตัวแปรอีกตัวหนึ่งเปลี่ยนแปลไปด้วยใน
ลักษณะคงที่ เรียกความสัมพันธ์นั้นว่าอย่างไร
1. ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล 2. ความสัมพันธ์เชิงซ้อน 3. ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง
4. ความสัมพันธ์เชิงตอบโต้ 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 3 . ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง คือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรซึ่งเมื่อตัวแปรหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปจะทำให้
ตัวแปรอีกตัวหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วยในลักษณะคงที่ เช่น ปริมาณที่ขายสินค้ากับรายได้ เป็นต้น
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 55
............................................................................................................................................................................................
13. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว ที่มีทิศทางของความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันโดยไม่ทราบลำดับก่อนหลังของตัว
แปร เรียกความสัมพันธ์นั้นว่าอย่างไร
1. ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล 2. ความสัมพันธ์เชิงซ้อน 3. ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง
4. ความสัมพันธ์เชิงตอบโต้ 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 4. ความสัมพันธ์เชิงตอบโต้ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว ที่มีทิศทางของความสัมพันธ์ซึ่งกัน
และกันโดยไม่ทราบลำดับก่อนหลังของตัวแปร
14. ตัวแปรที่พิสูจน์ได้ว่ามีความสัมพันธ์กันโดยทราบลำดับก่อนหลังและพิสูจน์ได้ว่าไม่มีสิ่งใดมาแทรกซ้อน เรียก
ความสัมพันธ์นั้นว่าอย่างไร
1. ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล 2. ความสัมพันธ์เชิงซ้อน 3. ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง
4. ความสัมพันธ์เชิงตอบโต้ 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 1. ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล คือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว โดยที่ตัวแปรสาเหตุ (x) จะต้อง
เกิดก่อนตัวแปรที่เป็นผล (Y) นั่นคือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่พิสูจน์ได้ว่ามีความสัมพันธ์กันโดยทราบลำดับ
ก่อนหลังและพิสูจน์ได้ว่าไม่มีสิ่งใดมาแทรกซ้อน
15. ข้อใดเป็นสิ่งจำเป็นในการสร้างมาตรวัด
1. ข้อคำถาม 2. นิยามปฏิบัติการ 3. ตัวแปร 4. ดัชนีชี้วัด 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 5. สิ่งจำเป็นในการสร้างมาตรวัด คือกำหนดนิยามปฏิบัติการของตัวแปรและตัวชี้วัดหรือดัชนีชี้วัดที่
สัมพันธ์กัน ต่อจากนั้นจึงกำหนดข้อคำถามที่ตรงกับตัวชี้วัดก็จะได้มาตรวัดตัวชี้วัดก็จะได้มาตรวัดตามที่ต้องการ
16. เพศ เป็นการวัดระดับใด 1. Nominal Scale 2. Ordinal Scale
3. Interval Scale 4. Ratio Scale 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 1. Nominal Scale เป็นวิธีการวัดที่ง่ายที่สุด เพียงแต่การกำหนดเกณฑ์แบ่งแยกประชากรที่ศึกษา
ออกเป็นกลุ่ม แล้วตั้งชื่อให้แต่ละกลุ่มที่มีคุณสมบัติเหมือนกันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน ตัวเลขหรือสัญลักษณ์เป็นเพียงแต่
ชื่อไม่สามารถเอามาคำนวณทางเลขคณิตได้ เช่น เพศ สถานภาพการสมรส ภูมิลำเนา อาชีพ เป็นต้น
17. อายุ เป็นการวัดระดับใด 1. Nominal Scale 2. Ordinal Scale
3. Interval Scale 4. Ratio Scale 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 4. Ratio Scale เป็นการวัดที่มีคุณสมบัติของมาตรวัดแบบช่วงทุกประการแต่มีคุณสมบัติเพิ่ม คือ มี
จุดเริ่มต้นที่ศูนย์ทแี่ ท้จริง เช่น อายุ น้ำหนัก ความสูง เงินเดือน รายได้ เป็นต้น
18. การศึกษา เป็นการวัดระดับใด 1. Nominal Scale 2. Ordinal Scale
3. Interval Scale 4. Ratio Scale 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 2. Ordinal Scale เหมือนกับการแบ่งกลุ่ม แต่สามารถจัดอันดับอัตราความแตกต่างระหว่างกันและกัน
ได้ ซึ่งอาจใช้ข้อความว่า มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ตัวเลขหรือสัญลักษณ์ที่แสดงไม่มีผลต่อการคำนวณ
แต่จะบอกความสำคัญเท่านั้น ไม่สามารถบอกปริมาณและความแตกต่างได้ เช่น ระดับการศึกษา เกรด ความคิดเห็น
ความพึ่งพอใจ เป็นต้น
19. จุดประสงค์ในการใช้สถิติ t – Test ใช้เพื่อทดสอบอะไร
1. ทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มี 2 กลุ่ม
2. ทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มีมากกว่า 2 กลุ่ม
3. ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
4. ทดสอบปัจจัยที่มีอิทธิพลระหว่างตัวแปร 5. ไม่มีข้อถูก
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 56
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 1. สถิติ t – Test ใช้เพื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มี 2 กลุ่มโดยมีเงื่อนไขในการใช้ คือ
ต้องมีการแจกแจงแบบโค้งปกติ ข้อมูลของตัวแปรตามต้องมีระกับการวัดเป็น Interval Scale ขึ้นไป และใช้
เพื่อทดสอบสมมุติฐานความแตกต่างระหว่างตัวแปร
20. จุดประสงค์ในการใช้สถิติ F – Test ใช้เพื่อทดสอบอะไร
1. ทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มี 2 กลุ่ม
2. ทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มีมากกว่า 2 กลุ่ม
3. ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
4. ทดสอบปัจจัยที่มีอิทธิพลระหว่างตัวแปร 5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 2. สถิติ F – Test หรือ Oneway ANOVA ใช้เพื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างตัวแปรที่มีมากกว่า
2 กลุ่ม โดยมีเงื่อนไขในการใช้เหมือน t – Test แต่ไม่จำเป็นต้องมีการแจกแจงแบบโค้งปกติ
21. จุดประสงค์ในการใช้สถิติ Correlation ใช้เพื่อทดสอบอะไร
1. ทดสอบความแตกตางระหว่างตัวแปรที่มี 2 กลุ่ม
2. ทดสอบความแตกตางระหว่างตัวแปรที่มีมากกว่า 2 กลุ่ม
3. ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
4. ทดสอบปัจจัยที่อิทธิพลระหว่างตัวแปร 5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 3. สถิติ Correlation ใชเพื่อทดสอบความแตกตางระหว่างตัวแปร โดยข้อมูลทั้งตัวแปรอิสระและตัว
แปรตามต้องมีระดับการวัดเป็น Interval Scale แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวใดเป็นเหตุหรือตัวใดเป็นผล ทราบแต่
เพียงความสัมพันธ์ของตัวแปรและขนาดของความสัมพันธ์เท่านั้น
22. Rating Scale เป็นมาตรวัดระดับใด 1. Nominal Scale
2. Ordinal Scale 3. Interval Scale 4. Ratio Scale 5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 2. Rating Scale เป็นมาตรวัดระดับ Ordinal Scale ที่ใช้ในการกำหนดค่าคะแนนให้กับคำถามที่
ใช้วัดตัวแปรต่างๆโดยมีคะแนนแตกต่างกันตามลักษณะของตัวแปรเช่น 3 5 7 9 หรือ 11 ดังนั้นการใช้ Rating
Scale ผู้ให้คะแนนควรมีความรู้ในการให้คะแนนเป็นอย่างดี
23. เทคนิคการทดสอบสหสัมพันธ์เฉลี่ยระหว่างข้อเกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
1. การทดสอบทฤษฎี 2. การทดสอบบความแม่นตรงของมาตรวัด
3. การทดสอบความเชื่อถือได้ของมาตรวัด 4. ไม่มีข้อถูก 5. ถูกทั้งข้อ 1 2 และ 3
ตอบ 3. เทคนิคการทดสอบความเชื่อถือได้ของมาตรวัด มีดังนี้
1. เทคนิคการทดสอบซ้ำ (Test-Retest)
2. เทคนิคการทดสอบแบบแบ่งครึ่ง (Split-Half)
3. เทคนิคการทดสอบคู่ขนาน (Parallel Form)
4. เทคนิคการทดสอบสหสัมพันธ์เฉลี่ยระหว่างข้อ (Average Inter Correlation)
24. Content Validity เกี่ยวข้อกับเรื่องใดมากที่สุด 1. การทดสอบทฤษฎี
2. การทดสอบบความแม่นตรงของมาตรวัด 3. การทดสอบความเชื่อถือได้ของมาตรวัด
4. ไม่มีข้อถูก 5. ถูกทั้งข้อ 1 2 และ 3
ตอบ 2. Zeller & Cammines ได้จำแนกความแม่นตรงของมาตรวัดออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. ความแม่นตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity)
2. ความแม่นตรงที่สัมพันธ์กับมาตรฐาน (Criterion-Related Validity)
3. ความแม่นตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity)
25. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของเครื่องมือวัด
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 57
............................................................................................................................................................................................
1. การทดสอบทฤษฎี 2. การทดสอบความแม่นตรงของมาตรวัด
3. การทดสอบความเชื่อถือได้ของมาตรวัด 4. การมีความหมายของการวัด 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 1. คุณภาพของเครื่องมือวัดมีเกณฑ์ในการพิจารณาดังนี้ 1. ความเชื่อถือได้
2. ความแม่นตรง 3. ความเป็นปรนัย 4. ความแม่นยำ
5. ความไวในการแบ่งแยก 6. การมีความหมายของการวัด
7. การนำเครื่องมือนั้นไปปฏิบัติได้ง่าย 8. การมีประสิทธิภาพสูง
26. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ตัวแปรที่มีความซับซ้อนอาจใช้ดัชนีหลายๆอันประกอบกัน
2. การสร้างมาตรวัดทำความเข้าใจประเภทของตัวแปรและระดับการวัดของตัวแปร
3. มาตรวัดระดับสูงสามารถลดระดับลงมาเป็นระดับต่ำได้
4. มาตรวัดระดับต่ำสามารถยกระดับให้สูงได้ 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4. ข้อสังเกตที่สำคัญของมาตรวัดคือมาตรฐานระดับสูงนั้นสามารถลดระดับลงมาแบบต่ำได้แต่มาตรวัด
ระดับต่ำไม่สามารถยกระดับให้สูงขึ้นได้
27. ท่านสามารถใกล้ชิดกับเกย์ได้เพียงใด 1. นั่งใกล้ๆ ได้
2. กินข้าวร่วมกันได้ 3. อยู่บ้านเดียวกันได้ 4. นอนห้องเดียวกันได้
เป็นมาตรวัดประเภทใด 1. Likert Scale 2. Guttman Scale
3. Semantic Differential Scale 4. Rating Scale 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 2. Guttman Scale เป็นคำตอบในมิติเดียว โดยแต่ละคำถามจะถูกการกลั่นกรองและเรียงลำดับข้อที่
ได้คะแนนสูงกว่าจะมีการสะสมข้อที่ได้คะแนนน้อยกว่า ตัวอย่างเช่น
คำถาม : ท่านสามารถใกล้ชิดกับเกย์ได้มากน้อยเพียงใด
คำตอบ : 1. นั่งใกล้ๆได้ 2. กินข้าวร่วมกันได้ 3. อยู่บ้านเดียวกันได้ 4. นอนห้องเดียวกันได้
ถ้าตอบข้อ 1 ท่านสามารถทำข้อ 1 ได้เพียงข้อเดียว
ถ้าตอบข้อ 2 ท่านสามารถทำทั้งข้อ 1 และข้อ 2 ได้
ถ้าตอบข้อ 3 ท่านสามารถทำทั้งข้อ 1 และ 2 และ 3 ได้
ถ้าตอบข้อ 4 ท่านสามารถทำได้ทุกข้อ
28. ความรู้สึกต่อชีวิตประจำวันของท่านเป็นอย่างไร
ชีวิตไร้ค่า_ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ ชีวิตมีค่า
สิ้นหวัง_ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ มีความหวัง
เป็นมาตรวัดประเภทใด
1. Likert Scale 2. Guttman Scale 3. Semantic Differential Scale
4. Rating Scale 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 3. Semantic Differential Scale เป็นมาตรวัดที่พัฒนาขึ้นโดย Osgood และคณะเพื่อศึกษามิติ
ความแตกต่างโดยมาจากการตัดสินคำศัพท์คู่ที่ตรงข้าม โดยแต่ละแนวคิดจะปรากฏอยู่ตรงกันข้ามภายใต้คะแนน
7-11 และให้ผู้ตอบตัดสินแนวคิด โดยเลือกช่วงที่เหมาะสมกับความรู้สึกมากที่สุด ตัวอย่างเช่น
คำถาม : ความรู้สึกต่อชีวิตปัจจุบันของท่านเป็นอย่างไร
คำตอบ : ชีวิตไร้ค่า ชีวิตมีค่า
สิ้นหวัง มีความหวัง
เบื่อหน่าย น่าสนใจ
ยาก ง่าย
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 58
............................................................................................................................................................................................
29. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร โดยกำหนดประเด็นที่ต้องการศึกษาและทำการค้นคว้าหาข้อมูลจากหลักฐาน
เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องเป็นการวิจัยประเภทใด
1. Survey Research 2. Documentary Research 3. Field Research
4. Experimental Research 5. Descriptive Research
ตอบ 2. การวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) เป็นการวิจัยแบบหนึ่งที่มีการเก็บรวบรวม
ข้อมูลเอกสาร สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ หรือสื่อข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต โดยกำหนดประเด็นที่ต้องการศึกษา และทำการค้นคว้า
หาข้อมูล ซึ่งต้องใช้ทักษะด้านการอ่านมากที่สุดในการศึกษา จากหลักฐานเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น หนังสือพิมพ์
เอกสารราชการ หนังสือ ตำรา คลิป YouTube รวมไปถึงหลักฐาน/เอกสารทางประวัติศาสตร์ โบราณวัตถุ และสิง
ปรักหักพัง ศิลาจารึก เป็นต้น
30. ผู้วิจัยสามารถควบคุมตัวแปรต่างๆ โดยวิธีกำหนดกลุ่มควบคุมและกลุ่มเปรียบเทียบเพื่อให้การวิจัยมีความ
เชื่อถือได้สูงเป็นการวิจัยประเภทใด
1. Survey Research 2. Documentary Research 3. Field Research
4. Experimental Research 5. Descriptive Research
ตอบ 4. การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยสามารถควบคุมสิ่งแวดล้อม
และตัวแปรต่าง ๆ โดยวิธีกำหนดกลุ่มควบคุมและกลุ่มเปรียบเทียบ เพื่อให้การวิจัยมีความเชื่อถือได้สูง ซึ่งวิธีการวิจัย
ในลักษณะนี้แทบจะไม่ค่อยได้นำมาใช้ในทางรัฐศาสตร์แต่มักจะถูกนำมาใช้มากในศึกษาศาสตร์
31. การวิจัยโดยจัดทำแบบสอบถามไปยังกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของหน่วยการศึกษาเป็นการวิจัยประเภทใด
1. Survey Research 2. Documentary Research 3. Field Research
4. Experimental Research 5. Descriptive Research
ตอบ 1. การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) เป็นการวิจัยที่เน้นการสำรวจข้อมูลพื้นฐานทั่วไปซึ่งส่วน
ใหญ่ไม่ได้ลงลึกมากนักโดยจัดทำแบบสอบถามไปยังกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของหน่วยในการศึกษาการวิจัยนี้จะไม่
เน้นการอธิบายหรือวิเคราะห์ถึงสาเหตุการเกิดขึ้นของข้อมูลแต่จะมุ่งเก็บข้อมูลที่เป็นรูปธรรมที่สังเกตเห็นได้ง่าย
32. การวิจัยที่ผู้วิจัยเลือกหมู่บ้านใดหมู่บ้านหนึ่งหรือพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเพื่อทำการศึกษาเพื่อให้เข้าใจในพื้นที่นั้นๆเป็น
การวิจัยประเภทใด
1. Survey Research 2. Documentary Research 3. Field Research
4. Experimental Research 5. Descriptive Research
ตอบ 3. การวิจัยสนาม (Field Research) เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยเลือกหมู่บ้านใดหมู่บ้านหนึ่งหรือพื้นที่ใด
พื้นที่หนึ่งเพื่อทำการศึกษาเพื่อให้เข้าใจพื้นที่นั้นๆดดยการวิจัยประเภทนี้มีข้อจำกัดอยู่ว่าไม่สามารถนำมาขยายผลใน
พื้นที่อื่นได้เพราะผลการวิจัยเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละพื้นที่แต่จะมีข้อดีคือ เข้าใจตัวอย่างที่ศึกษาได้อย่างละเอียด
คลอบคลุมในทุกประเด็นที่ต้องการศึกษา
33. การวิจัยเพื่อมุ่งหาข้อเท็จจริงใหม่ๆ เท่านั้น ไม่ต้องการอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นการวิจัยประเภทใด
1. Survey Research 2. Documentary Research 3. Field Research
4. Experimental Research 5. Descriptive Research
ตอบ 5. การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) เป็นการวิจัยเพื่อมุ่งหาข้อเท็จจริงใหม่ๆเท่านั้น
ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายว่าปรากฏการณ์ที่ศึกษานั้นเกิดขึ้นมาได้อย่างไร หรือมีปัจจัยอะไรที่ทำให้เกิด
34. ข้อใดที่การสุ่มตัวอย่างไม่สามารถเป็นตัวแทนประชากรทั้งหมดได้
1. การสุ่มตัวอย่างแบบง่ายๆ 2. การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ
3. การเลือกตัวอย่างแบบกำหนดโควตา 4. การสุ่มตัวอย่างแบบแยกประเภทสุ่ม
5. การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นกลุ่ม
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 59
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 3. การกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น เป็นการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจงเจตนาใช้
ความสะดวกหรือความสนใจของผู้วิจัยเป็นหลัก ซึ่งไม่สามารถเป็นตัวแทนประชากรทั้งหมดได้ เช่นการเลือกตัวอย่าง
แบบกำหนดโควตา การเลือกตัวอย่างโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญระบบ การเลือกตัวอย่างแบบลูกโซ่ เป็นต้น
35. ข้อใดเป็นสถิติอนุมาน 1. การแจกแจงความถี่ 2. การวัดการกระจาย
3. การประมาณค่า 4. ไม่มีข้อถูก 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 3. สถิติอนุมาน (Inferential Statistics) แบ่งออกเป็น 3 เทคนิคย่อย ได้แก่
1. การประมาณค่า 2. การทดสอบสมมุติฐาน 3. การกระจายของกลุ่มประชากร
36. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการทราบขอบข่ายและแนวทางของการศึกษารัฐศาสตร์ก่อนที่จะศึกษาถึงการวิจัยทาง
รัฐศาสตร์
1. เพื่อให้ทราบว่ารัฐศาสตร์คืออะไร 2. เพื่อช่วยในการกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
3. เพื่อช่วยให้เลือกวิธีการที่เหมาะสมได้ 4. เพื่อช่วยให้ประเมินจุดดีจุดด้อยของงานวิจัย
5. เป็นทางลัดที่สามารถทำให้ทราบผลวิจัยก่อนที่จะลงมือเก็บข้อมูลได้
ตอบ 5. ประโยชน์ของการทราบขอบข่ายและแนวทางของการศึกษารัฐศาสตร์ก่อนที่จะศึกษาถึงการวิจัยทาง
รัฐศาสตร์ มีดังนี้ 1. เพื่อให้ทราบว่ารัฐศาสตร์คืออะไร 2. เพื่อช่วยในการกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
3. เพื่อช่วยให้เลือกวิธีการที่เหมาะสมได้ 4. เพื่อช่วยให้ประเมินจุดดีจุดด้อยของงานวิจัย
37. การศึกษารัฐศาสตร์แนวการวิเคราะห์เชิงสถาบันนิยมเน้นองค์ความรู้ใดมากที่สุด
1. กฎหมาย 2. ปรัชญา 3. ชีววิทยา 4. จิตวิทยา 5. วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
ตอบ 1. แนวการวิเคราะห์แบบสถาบันนิยม Institutional Approach เป็นการที่ศึกษารัฐศาสตร์ที่เน้นหนักใน
เรื่องกฎหมายรัฐธรรมนูญ และอิทธิพลของโครงสร้างทางการเมืองที่มีต่อการเมือง โดยเชื่อว่าโครงสร้างทางการเมือง
หรือสถาบันทางการเมืองต่างๆเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมมนุษย์
1. เฮอร์มัน ไฟเนอร์ ผู้เขียนงานเรื่อง The Theory and Practice of Modern Government
2. วูดโรว์ วิลสัน ผู้เขียนงานเรื่อง Congressional Government : A Study in American Politics
38. นักรัฐศาสตร์คนใดเป็นคนกล่าวว่า “การเมืองคือการใช้อำนาจในการจัดสรรสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม”
1. Rousseau 2. J.D.B Miller 3. William Mckinley
4. Harold Lasswell 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 5. David Easton กล่าวว่า “การเมืองคือการใช้อำนาจจัดสรรสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม” โดยคำว่าคุณค่าใน
สังคมนั้นหมายถึง ทรัพยากรและผลประโยชน์ต่างๆ ที่นำมาจัดสรรกัน เช่น อำนาจหน้าที่ ลประโยนช์ทาง
เศรษฐกิจ เป็นต้น
39. ตัวเลือกข้อใดใช่ประเภทของ Approach ตามการจัดแบ่งของ Alan C. Isaak
1. Behavioral Approach 2. Group Approach
3. Political Philosophy Approach 4. Power Approach
5. Communication Approach
ตอบ 3. Alan C. Isaak แบ่งประเภทของแนวการวิเคราะห์หรือแนวทางการศึกษา (Approach) วิชา
รัฐศาสตร์ ออกเป็น 5 แนวทาง ได้แก่ 1. Behavioral Approach 2. Group Approach 3. System
Theory and Functional Analysis Approach 4. Communication Approach 5. Power
Approach
40. Approach ใดที่มีลักษณะของการใช้ค่านิยมส่วนตัวของผู้ศึกษามากที่สุด
1. Group Approach 2. Political Philosophy Approach
3. System Theory 4. Developmental Approach
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 60
............................................................................................................................................................................................
5. Power Approach
ตอบ 2. การศึกษาแนวปรัชญาการเมือง (Political Philosophy Approach) นับว่าเป็นแนวที่เก่าแก่
ที่สุดของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ซึ่งการศึกษาแนวนี้มีลักษณะเป็นการพรรณนาหรืออธิบาย พร้อมทั้งมีการให้
คำแนะนำหรือสนอมาตรการเอาไว้ด้วย และยังเป็นการศึกษาแนวปทัสถาน (Normative) คือมีลักษณะของการใข้
ค่านิยมส่วนตัวของผู้ศึกษามากที่สุด
41. Positivism เป็นการศึกษาทางรัฐศาสตร์ โดยเน้นหนักในเรื่องอะไรต่อไปนี้มากที่สุด
1. อธิบายกฎหมาย 2. อธิบายโครงสร้างสถาบันทางการเมือง
3. อธิบายปฏิสัมพันธ์ของกลุ่ม
4. ศึกษาสิ่งที่แน่นอนและสามารถรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4. ปฏิฐานนิยม (Positivism) ได้แก่ แนวคิดที่ใช้วิธีการทางวิทยาศาตร์ หรือ การวิจัยเชิงปริมาณเป็น
เครื่องมือ โดยมีความเชื่อว่าปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติสามารถอธิบายด้วยกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่มีอยู่ใน
ธรรมชาติ โดยเน้นศึกษาสิ่งที่แน่นอนและมนุษย์สามารถรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
42. Talcott Parsons เกี่ยวข้องกับการศึกษาในลักษณะใดมากที่สุด
1. เน้นศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์เท่านั้น 2. เน้นการศึกษากลุ่มทางการเมือง
3. ศึกษาทฤษฎีพัฒนาการทางการเมือง 4. ศึกษาเชิงโครงสร้างหน้าที่ 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4. แนวการศึกษาเชิงโครงสร้างและหน้าที่ (Structural – Functional Approach) เป็นแนว
การศึกษาที่มีวิวัฒนาการมาจากการวิเคราะห์เชิงสถาบัน โดยเริ่มขยายขอบเขตการวิเคราะห์จากสถาบันที่เป็นทางการ
และเป็นรูปธรรมมากไปสู่การวิเคราะห์สถาบันที่เป็นรูปธรรมน้อย นักวิชาการแนวนี้ ได้แก่ Talcott Parsons
43. Behaviorism เกี่ยวข้องกับตัวเลือกใดต่อไปนี้
1. Charles Merriam 2. Plato 3. Aristotle
4. J.J Rousseau 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 1. แนวการศึกษาเชิงพฤติกรรมหรือพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) หรือที่เรียกว่า “พฤติกรรมทาง
การเมือง” นั้นไม่ได้เป็นวิธีการศึกษาที่ครอบคลุมเฉพาะการกระทำของบุคคลที่แสดงออกให้เห็นเท่านั้น แต่ยังรวมไป
ถึงแรงจูงใจและทัศนะ ซึ่งจะช่วยแสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์ทางการเมืองของบุคคล ตลอดจนข้อเรียกร้อง ความ
คาดหวัง ระบบความเชื่อ ค่านิยม และจุดมุ่งหมายทางการเมืองของบุคคลนั้น นักรัฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับแนว
การศึกษานี้ ได้แก่ Charles Merriam, G.E.G Catlin และ William B. Munro
44. Approach ใดต่อไปนี้เป็นการศึกษารัฐศาสตร์ในยุค Classic
1. Behaviorism 2. Communication Approach
3. Power Approach 4. Developmental Approach
5. Political Philosophy Approach
ตอบ 5. ยุคคลาสสิค (Classical) เป็นยุคแรกเริ่มของการศึกษาการเมืองไม่มีการแยกสาขาของความรู้ โดย
ถือกำเนิดจากยุคกรีกซึ่งเกิดจากคำถามพื้นฐานของมนุษย์รับและผู้มีอำนาจ เช่น ผู้นำที่ดีต้องมีคุณสมบัติอย่างไร
การเมืองที่ดีควรจะเป็นอย่างไร ฯลฯ ซึ่งความเป็นสากลของคำถามพื้นฐานเหล่านี้สามารถตั้งคำถามชุดเดียวกันโดยไม่
จำกัดกรอบเวลาหรือวัฒนธรรม แต่ในขณะเดียวกันก็สามารถมีคำตอบได้หลากหลาย ดังนั้นการศึกษารัฐศาสตร์ในยุค
นี้จึงมีลักษณะเป็นการศึกษาแนวปรัชญาการเมือง (Political Philosophy Approach)
45. ตัวเลือกใดเกี่ยวข้องกับยุคพฤติกรรมศาสตร์ 1. อธิบายเฉพาะสิ่งที่สามารถรับรู้ผ่านประสาทสัมผัส
2. ใช้แต่เหตุผลเป็นหลัก 3. ศึกษาปรากฎการณ์
4. เน้นพรรณนาปรากฎการณ์ 5. เน้นทำนายปรากฎการณ์
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 61
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 5. ยุคพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Period) เป็นยุคที่นำแนวคิดเกี่ยวกับจิตวิทยาตลอดจนสาขา
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์แบบอื่นๆมาใช้ศึกษาการเมืองอย่างจริงจัง โดยจะเน้นทำนายปรากฏการณ์ทางการเมืองหรือ
พฤติกรรมทางการเมือง การตัดสินใจทางการเมืองไม่เน้นพรรณนาบรรยายอย่างในยุคก่อนหน้า ซึ่งในยุคนี้รัฐศาสตร์ถูก
เรียกว่า วิทยาศาสตร์ทางการเมือง (Political Science)
46. การวิจัยเชิงเอกสารนั้นใช้ทักษะด้านใดมากที่สุด 1. การสังเกต
2. การสอบถาม 3. การอ่านเอกสาร 4. หลักฐานเชิงประจักษ์ 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 29. ประกอบ
47. Explanation คืออะไร 1. การทำนายสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้น
2. การอธิบายถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ 3. การคาดเดาสิ่งต่างๆ ล่วงหน้า
4. การคาดคะเนตัวแปรต่างๆ 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 2. จุดมุ่งหมายในการตั้งปัญหาเพื่ออธิบาย (Explanation) เป็นการกล่าวถึงความสัมพันธ์ของตัวแปร
ต่างๆที่เป็นเหตุและผลซึ่งกันและกัน โดยอธิบายว่าตัวแปรใดเป็นสาเหตุให้เกิดผลตามที่มุ่งหวังไว้ เช่น การศึกษาปัญหา
อุปสรรคในการพัฒนาระบบประชาธิปไตย ว่ามีสาเหตุมาจากอะไรบ้าง เป็นต้น
48. ข้อใดไม่ผิดจรรยาบรรณของนักวิจัย
1. คัดบางส่วนของงานวิจัยอื่นๆประมาณ 80% มาเขียนในงานวิจัยของตัวเองแม้มีการทำอ้างอิง
2. เผยแพร่ข้อมูลในลักษณะเจาะจง หรือเป็นรายบุคคล
3. เลือกที่จะนำเสนอข้อมูลเพื่อให้ผลออกมาตรงกับสมมุติฐาน
4. ปรับผลงานวิจัยเพื่อจุดประสงค์ของนักวิจัยเอง
5. ทุกข้อผิดจรรยาบรรณของนักวิจัย
ตอบ 5. การกระทำที่ผิดจรรยาบรรณของนักวิจัย เช่น 1. คัดบางส่วนของงานวิจัยอื่นๆประมาณ 80% มา
เขียนในงานวิจัยของตัวเองแม้มีการทำอ้างอิง 2. เผยแพร่ข้อมูลในลักษณะเจาะจง หรือเป็นรายบุคคล
3. เลือกที่จะนำเสนอข้อมูลเพื่อให้ผลออกมาตรงกับสมมุติฐาน 4. ปรับผลงานวิจัยเพื่อจุดประสงค์ของนักวิจัยเอง
49. ข้อใดไม่ใช่ชนิดของเอกสารการวิจัย 1. หนังสือ
2. ตำรา 3. บทความที่ลงในวารสาร
4. ข้อ 1 กับข้อ 2 ไม่ใช่ชนิดของเอกสารการวิจัย 5. ข้อ 1,2,3 ไม่ใช่ชนิดของเอกสารการวิจัย
ตอบ 4. ชนิดของเอกสารการวิจัย มีอยู่ในรูปแบบต่างๆ ดังนี้
1. รายงานการวิจัยทั่วไป 2. วิทยานิพนธ์ 3. บทความที่ลงในวารสาร
4. บทความที่ลงในหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนชนิดอื่น เช่น วิทยุและโทรทัศน์ เป็นต้น
50. ข้อใดไม่ใช่ข้อจำกัดของการวิจัยในทางรัฐศาสตร์
1. เปลี่ยนแปลงตามสภาพแวดล้อม 2. มีความซับซ้อนเกินกว่าจะทำนายได้
3. ไม่สามารถศึกษาประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมืองของมนุษย์ได้
4. ไม่สามารถทดลองในห้องปฏิบัติการได้ 5. ทุกข้อคือข้อจำกัดของการวิจัยแบบสมัยใหม่
ตอบ 3. ข้อจำกัดของการวิจัยในทางรัฐศาสตร์ ได้แก่
1. พฤติกรรมมนุษย์มีลักษณะไม่คงที่ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามสภาพแวดล้อม 2. พฤติกรรมมนุษย์มีความ
ซับซ้อนเกินกว่าจะทำนายได้ 3. ไม่สามารถนำเอามนุษย์มาทดลองในห้องปฏิบัติการได้
4. การสัมภาษณ์จากมนุษย์เชื่อถือไม่ได้ ฯลฯ
51. ข้อใดเป็นจุดมุ่งหมายของการศึกษาวิจัยทางรัฐศาสตร์แบบพฤติกรรมศาสตร์
1. พรรณนากิจกรรมทางการเมือง 2. ทำนายพฤติกรรมทางการเมือง
3. ให้คำแนะนำแก่ผู้บริหารหรือนักการเมืองในการกำหนดนโยบาย 4. อธิบายกิจกรรมทางการเมือง
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 62
............................................................................................................................................................................................
5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 5. จุดมุ่งหมายของการศึกษาวิจัยทางรัฐศาสตร์แบบพฤติกรรมศาสตร์ คือ
1. เพื่อพรรณนาและอธิบายกิจกรรมต่างๆ ทางการเมือง
2. เพื่อทำนาย/ คาดคะเนพฤติกรรมหรือกิจกรรมทาการเมือง
3. ให้คำแนะนำแก่ผู้บริหาร หรือนักการเมืองและบุคคลอื่นๆ ในการตัดสินใจการกำหนดนโยบาย และในการ
ปฏิบัติงาน
52. ขั้นตอนแรกสุดของการเริ่มทำการวิจัยคืออะไร
1. ตั้งสมมุติฐาน 2. สังเกต 3. กำหนดชื่อเรื่อง
4. สอบถามจากู้รู้มนประเด็นที่เป็นปัญหา 5. พิจารณาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ตอบ 2. สังเกตและระบุปัญหา (Observation and Problem Identification/Problem
Statement) ขั้นตอนแรกของการเริ่มต้นทำการวิจัย โดยผู้วิจัยจะสังเกตและตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว
หรือปรากฏการณ์ใดปรากฏการณ์หนึ่งที่นักวิจัยประสบปัญหาอุปสรรคในสภาพแวดล้อมอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งเมื่อพบ
ปัญหาพวกนี้ต้องคิดไตร่ตรองว่าปัญหาเกิดขึ้นได้อย่างไร และรู้สึกคับข้องใจจนต้องการที่จะหาคำตอบว่าสาเหตุที่มา
และสิ่งที่เกิดขึ้นต่อไปในอนาคตเป็นอย่างไร
53. การตั้งสมมุติฐาน คืออะไร 1. การใช้ตาดูปรากฏการณ์ต่างๆ
2. การพิจารณาเอกสาร 3. การลงไปเก็บข้อมูลแบบมีส่วนร่วม
4. การพิจารณาสิ่งต่างๆรอบตัวโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
5. การคาดเดาคำตอบเพื่อเป็นแนวทางในการหาข้อมูล
ตอบ 5. การตั้งสมมุติฐาน (Hypothasis) คือ คาดเดาคำตอบไว้ล่วงหน้าเพื่อเป็นแนวทางในการหาข้อมูลหรือ
เป็นการตีกรอบในการศึกษา และเป็นการนำทางในการค้นหาคำตอบของตัวผู้วิจัยเองในเบื้องต้น จะต้องอาศัย
เหตุผลหรือประสบการณ์หรือความรู้เท่าที่ตนมี หรืออาจจะนำมาจากทฤษฎีที่นักวิจัยก่อนหน้าใช้อธิบาย ซึ่งใน
การวิจัยเชิงคุณภาพอาจจะมีหรือไม่มีสมมุติฐานก็ได้ นอกจากนี้สมมุติฐานที่ดีจะต้องเขียนได้ชัดเจนสัมพันธ์กับ
เรื่องและคำถามการวิจัยหรือปัญหาการวิจัย เช่น
คำถามการวิจัย : ทำไมน้ำจึงท่วมในเขตกรุงเทพมหานครง่ายมาก
สมมุติฐาน : พื้นที่ของกรุงเทพมหานครต่ำกว่าระดับน้ำทะเล น้ำจึงท่วมได้ง่ายมาก เป็นต้น
54. ตัวเลือกใดอยู่ในขั้นตอนของการวางแผนการวิจัย
1. เลือกวิธีการเก็บข้อมูล 2. เก็บรวบรวมข้อมูล 3.แปลความหมายข้อมูล
4. วิเคราะห์ข้อมูล 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 1. ขั้นตอนของการวางแผนการวิจัย ได้แก่
1. การกำหนดชื่อเรื่อง ปัญหา และจุดมุ่งหมายของการวิจัย 2. การกำหนดสมมุติฐานการวิจัย
3. การกำหนดและนิยามตัวแปร 4. การเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างคร่าวๆ
5. การกำหนดวิธีการวิจัยหรือการออกแบบการวิจัย (เลือกใช้วิธีการวิจัยเครื่องมือและวิธีการเก็บข้อมูล,การ
เลือกตัวอย่าง ฯลฯ) 6. การแก้ไขปรับปรุงแบบแผนการวิจัย หรือโครงการเสนอเพื่อการวิจัยหรือโครงการวิจัย
55. สิ่งใดสำคัญที่สุดสำหรับ Documentary Research
1. การทำสำเนาเอกสารที่ใช้ทั้งหมดทุกชิ้น
2. ปริมาณของเอกสารที่จำเป็นต้องอ่านเพื่อให้ครอบคลุมกับปัญหา
3. จัดลำดับความสำคัญด้วยการบันทึกเป็นลายมือเท่านั้น
4. อ่านเอกสารให้ได้มากที่สุด 5. ต้องมีอ้างอิงทุกครั้ง
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 63
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 5. สิ่งสำคัญที่สุดสำหรับการทำวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) คือ ถ้ามีการนำ
ข้อความหรือข้อเขียนของบุคคลอื่นมาใช้อ้างอิงในงานวิจัยของตนเองเกิน 3 ประโยคขึ้นไป ผู้วิจัยจะต้องมีการอ้างอิง
ทุกครั้ง โดยระบุแหล่งที่มาของเอกสารหรือสิ่งพิมพ์เหล่านั้นว่ามีที่มาจากไหน ใครเป็นผู้เขียน จะให้มีความน่าเชื่อถือ
และเป็นการให้เกียรติแก่เจ้าของผลงานที่เขาได้ทำเอาไว้ก่อนแล้ว
➢ ตั้งแต่ข้อ 56. – 66. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ไปตอบในแต่ละข้อโดยให้มีความสัมพันธ์กับโจทย์คำถาม
1. Unit of Analysis 2. Independent Variable 3. Dependent Variable
4. Intervening Variable 5. Qualitative Research
56. ตัวแปรแทรกซ้อน
ตอบ 4. ตัวแปรแทรกซ้อน (Intervening Variable) เป็นตัวแปรประเภทหนึ่งที่จะอยู่ระหว่างตัวแปรอิสระ
และตัวแปรตาม ซึ่งเป็นตัวแปรที่ไม่ต้องการศึกษา แต่มีอิทธิพลต่อตัวแปรที่ทำการศึกษาโดยผู้วิจัยไม่ทราบล่วงหน้า
และไม่ปรารถนาให้เกิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งจิตใจของมนุษย์ หรือสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปมาจนยากแก่การ
ควบคุม
57. เป็นความสัมพันธ์ตั้งต้นที่ก่อให้เกิดผล
ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 6. ประกอบ
58. หน่วยในการวิเคราะห์
ตอบ 1. หน่วยในการวิเคราะห์ (Unit of Analysis) หมายถึง หน่วยของสิ่งที่นักวิจัยนำลักษณะหรือ
คุณสมบัติของสิ่งๆ นั้นมาวิเคราะห์ ซึ่งอาจแบ่งเป็น 6 ระดับ คือ
1. ระดับปัจเจกบุคคล (เช่น เพศ อายุ การศึกษา)
2. ระดับกลุ่ม (เช่น รายได้เฉลี่ย อายุเฉลี่ย)
3. ระดับองค์การ (เช่น บริษัท สำนักงาน มหาวิทยาลัย)
4. ระดับสถาบัน (เช่น สถาบันบ้านเมือง สถาบันครอบครัว)
5. ระดับพื้นที่ (เช่น ตำบล อำเภอ จังหวัด)
6. ระดับสังคม (เช่น ประเทศ) ดังนั้นเวลาต้องการจะเปรียบเทียบจะต้องเลือกหน่วยที่จะศึกษาให้
เป็นแบบเดียวกัน นั่นคือ ไม่สามารถกระทำข้ามหน่วยหรือคนละหน่วยกันได้
59. มักใช้สัญลักษณ์แทนเป็นตัวอักษร Y โดยสิ่งนี้มันจะเป็นผลของสาเหตุ
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 6. ประกอบ
60. ไม่สามารถกระทำข้ามหน่วยหรือคนละหน่วยกันได้
ตอบ 1. ดูคำอธิบายข้อ 58. ประกอบ
61. ผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิประเทศ ผลกระทบนี้คือตัวแปรประเภทใด
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 6. ประกอบ
62. เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงตามอิทธิพลของสิ่งอื่นๆ
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 6. ประกอบ
63. ตัวแปรอิสระ
ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 6. ประกอบ
64. จิดใจของมนุษย์ หรือสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปมาจนยากแก่การควบคุม
ตอบ 4. ดูคำอธิบายข้อ 56. ประกอบ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 64
............................................................................................................................................................................................
65. วิจัยเชิงเอกสาร
ตอบ 5. การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) คือ งานวิจัยที่ไม่เน้นจำนวนหรือปริมาณ ซึง่
ความหมายของข้อมูลในที่นี้ก็คือ ข้อมูลที่ไม่ได้วัดตัวเลข การวิจัยในลักษณะดังกล่าวนั้นมีความสัมพันธ์กับการเก็บ
ข้อมูลโดยการล้วงความลับการตะล่อมกล่อมเกลา (Probe) รวมทั้งการวิจัยเชิงเอกสาร เช่น การศึกษาความคิดทาง
การเมืองของนักการเมือง โดยผู้วิจัยได้ทำการศึกษาความคิดทางการเมืองของนักการเมืองผ่านเอกสารที่บันทึกคำ
สัมภาษณ์ของเขา ซึ่งได้แก่ หนังสือพิมพ์ บทความในนิตยสาร เป็นต้น
66. Probe
ตอบ 5. ดูคำอธิบายข้อ 65. ประกอบ

➢ ตั้งแต่ข้อ 67. – 76. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ไปตอบในแต่ละข้อโดยให้มีความสัมพันธ์กับโจทย์คำถาม


1. Research Question 2. Research Title 3. Hypothesis
4. Approach 5. Conceptual Framework
67. สมมุติฐาน
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 53. ประกอบ
68. ห้ามตั้งในลักษณะปลายปิด
ตอบ 1. คำถามการวิจัย (Research Question) หมายถึง คำถามที่ต้องการหาคำตอบจากปรากฏการณ์ที่
นำมาศึกษาวิจัย โดยจะต้องเป็นคำถามที่ยังไม่มีคำตอบ หรือเป็นคำถามที่ไม่สามารถหาคำตอบได้โดยง่าย หรือมี
คำตอบยังไม่ชัดเจน ใช้คำถามปลายเปิดเป็นส่วนใหญ่ ไม่ควรตั้งในลักษณะปลายปิด และจะต้องเป็นคำถามที่
น่าสนใจที่จะหาคำตอบด้วย ซึ่งคำถามในการวิจัยนั้นมีอยู่ 3 ประเภท ได้แก่
1. คำถามประเภท “อะไร” เช่น ทฤษฎีในการพัฒนาเศรษฐกิจมีกี่ประเภทประเภทอะไรบ้าง ฯลฯ
2. คำถามประเภท “ทำไม” เช่น ทำไมน้ำจึงท่วมกรุงเทพมหานครง่ายมาก ฯลฯ
3. คำถามประเภท “อย่างไร” เช่น ประเทศไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ได้อย่างไร
69. เนื่องจากพื้นที่ของกรุงเทพต่ำกว่าระดับน้ำทะเล น้ำจึงท่วมง่ายมาก
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 53. ประกอบ
70. นโยบายจำนำข้าวในช่วงรัฐบาลยิ่งลักษณ์
ตอบ 2. ชื่อเรื่องในการวิจัย (Research Title) หมายถึง หัวข้อเรื่องที่ผู้วิจัยจะทำการศึกษาวิจัย มักจะมา
จากคำถามหรือปัญหาในการวิจัย ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องกินใจความและสาระสัมพันธ์ทั้งหมดของการวิจัย โดยการเขียนชื่อ
เรื่องจะไม่เขียนเป็นประโยค ไม่ว่าจะเป็นประโยคบอกเล่าหรือประโยคคำถาม แต่จะเขียนเป็นวลี และจะไม่ใช้ตัวย่อใน
การเขียนชื่อเรื่อง เช่น ความรู้ความเข้าใจของคนรากหญ้าที่มีต่อระบอบประชาธิปไตย, นโยบายจำนำข้าวในช่วง
รัฐบาลยิ่งลักษณ์, บทบาทของมหาวิทยาลัยรามคำแหงในการพัฒนาประชาธิปไตย เป็นต้น
71. เป็นสิ่งที่ต้องกินใจความและสารสำคัญทั้งหมดของการวิจัย
ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 70. ประกอบ
72. Rational Choice Theory
ตอบ 4. แนวการวิเคราะห์ (Approach) หมายถึง เขาคงทางความคิดอย่างกว้างๆอันเป็นพื้นฐานในการ
พัฒนาความหรือการอธิบายหรือการวิเคราะห์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นการเฉพาะ โดยใน Approach หนึ่งๆ ประกอบ
ไปด้วยสมมุติฐานเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองในเรื่องนั้นๆ ตลอดจนทฤษฎีต่างๆจำนวนมาก รวมถึงแนวทางในการศึกษา
เรื่องนั้นๆ เช่น ทฤษฎีเกม (Game Theory), ทฤษฎีการตัดสินใจเลือกอย่างมีเหตุผล (Rational Choice
Theory), ทฤษฎีระบบ (System Theory), แนวการวิเคราะห์เชิงโครงสร้าง (Structural Approach) เป็นต้น
73. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ ที่ใช้อธิบายในงานวิจัยนั้น
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 65
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 5. กรอบแนวคิดการวิจัย (Conceptual Framework) เป็นขั้นตอนของการนำเอาประเด็นที่ต้องการ
ทำวิจัยมาเชื่อมโยงกับแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในรูปของคำบรรยายแบบจำลองแผนภาพ และเป็นการสรุปความคิด
รวบยอดของผู้ทำวิจัยเพื่อชี้ให้เห็นว่าการวิจัยจะมีรูปแบบและทิศทางใด ตลอดจนมีลักษณะที่เป็นการสรุปภาพรวม
ทั้งหมด พร้อมชี้ให้เห็นว่าตัวแปรต่าง ๆ ที่ใช้อธิบายในงานวิจัยนั้นมีความสัมพันธ์ระหว่างกันอย่างไร
74. ในการวิจัยคุณภาพอาจจะมีหรือไม่มีก็ได้
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 53. ประกอบ
75. ทำไมน้ำจึงท่วมในเขตกรุงเทพมหานครง่ายมาก
ตอบ 1. ดูคำอธิบายข้อ 68. ประกอบ
76. Structural Approach
ตอบ 4. ดูคำอธิบายข้อ 72. ประกอบ
➢ ตั้งแต่ข้อ 77. – 86. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ไปตอบในแต่ละข้อโดยให้มีความสัมพันธ์กับโจทย์คำถาม
1. Population 2. Sample 3. Documentary Research
4. Questionnaire 5. Structured Interview
77. แบบสอบถามที่นำไปแจกเพื่อให้ครบจำนวน
ตอบ 4. แบบสอบถาม (Questionnaire) ถือเป็นเครื่องมือที่สำคัญและนิยมใช้กันมากในการการวิจัยเชิง
ปริมาณ (Quantitative Research) เพราะการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) เป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ใน
การสำรวจผู้ให้ข้อมูลที่มีเป็นจำนวนมากซึ่งมักจะนำไปใช้เก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างในเรื่องต่างๆ
เช่น เพศ อายุ การศึกษ าอาชีพ รายได้ ความคิดเห็น ความนิยม ความพึงพอใจ ทัศนคติหรือเจตคติ เป็นต้น ผู้ให้
ข้อมูลจะเป็นผู้ตอบข้อคำถามหรือเป็นผู้กรอกข้อมูลเองในแบบสอบถามด้วยตนเองซึ่งชนิดของแบบสอบถามนั้นมีทั้ง
ปลายปิด (Close - Ended Questionnaire) และปลายเปิด (Open - Ended Questionnaire)
78. การอ่านจากศิลาจารึก
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 29. ประกอบ
79. การใช้สูตรคำนวณเพื่อหาตัวแทน
ตอบ 2. กลุ่มตัวอย่าง (Sample) หมายถึง กลุ่มย่อยของประชากรที่ผู้วิจัยเลือกมาใช้ในการศึกษา ถูกใจ
จะต้องทำการเลือกหรือการสุ่มตัวอย่าง (Sample) เพื่อให้ได้มาซึ่งตัวแทนที่ดีของประชากรทั้งหมด ดังนั้นจึงต้อง
อาศัยเทคนิควิธีการสุ่มตัวอย่างและขนาดของตัวอย่างเพื่อหาตัวแทนของประชากร เช่น การใช้สูตรคํานวณทาโร ยามา
เน่ (Taro Yamane), ตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster), การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (Systematic), การเลือก
ตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental) ฯลฯ
80. เป็นสิ่งที่ผู้ให้ข้อมูลจะต้องกรอกเอง
ตอบ 4. ดูคำอธิบายข้อ 77. ประกอบ
81. Cluster, Systematic, Accidental ฯลฯ
ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 79. ประกอบ
82. มีการกำหนดคำถามไว้ก่อน
ตอบ 5. วิธีการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) เป็นวิธีการสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยมีการ
กำหนดคำถามไว้ก่อนอย่างชัดเจนในรูปแบบสัมภาษณ์ (Structured Interview) โดยจัดทำรายละเอียดเหมือน
แบบสอบถาม แต่จะถามโดยผู้สัมภาษณ์ ซึ่งผู้สัมภาษณ์ / ผู้ถามจะข้อมูลตามสิ่งที่กำหนด สิ่งที่นอกเหนือจะไม่สนใจ
และจะต้องจดคำตอบด้วยตนเอง
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 66
............................................................................................................................................................................................
83. เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจผู้ให้ข้อมูลที่มีเป็นจำนวนมาก
ตอบ 4. ดูคำอธิบายข้อ 77. ประกอบ
84. ผู้ถามจะถามข้อมูลตามสิ่งที่กำหนด สิ่ที่นอกเหนือจะไม่สนใจ
ตอบ 5. ดูคําอธิบายข้อ 82. ประกอบ
85. จำนวน นศ. ทั้งหมดของรามคำแหง
ตอบ 1. ประชากร (Population) หมายถึง กลุ่มของสิ่งต่างๆ ที่สมาชิกทุกหน่วยของสิ่งนั้นเป็น
กลุ่มเป้าหมายที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา เช่น จำนวนนักศึกษาทั้งหมดของมหาวิทยาลัยรามคำแหง, ชาวนาทั้งหมดในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นต้น
86. มีทั้งแบบปลายเปิดและปลายปิด
ตอบ 4. ดูคำอธิบายข้อ 77. ประกอบ
87 . ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงกะบวนการ “วิจัย” ได้อย่างเหมาะสม
1. วิธีการค้นคว้าด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลทางสถิติ 2. วิธีการค้นคว้าด้วยการเก็บรวบรวม
3. กระบวนการค้นหาคำตอบด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
4. กระบวนการค้นหาคำตอบด้วยวิธีการคาดการณ์ล่วงหน้า 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 3. กระบวนการ “วิจัย” หมายถึง วิธีการ ขั้นตอน และกระบวนการค้นหาคำตอบของปัญหาใดปัญหา
หนึ่งอย่างเป็นระบบด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
88. คำสำคัญ (Key words) ในข้อใดต่อไปนี้ไม่เกี่ยวข้องกับข้องกับการเขียนรายงานการวิจัย
1. นวัตกรรม 2. ลิขสิทธิ์ 3. สิทธิบัตร 4. ข้อค้นพบ 5. เศรษฐกิจ
ตอบ 5. การเขียนรายงานการวิจัย มีความสำคัญในการเผยเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้ทราบว่ามี “นวัตกรรม” หรือ
“ข้อค้นพบ” ใหม่ในวงวิชาการ ส่งเสริมให้เกิดการนำไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่าการทำวิจัยแล้วมีคนเพียงจำนวนเดียว
เท่านั้นที่ทราบในเนื้อหาของการวิจัยนั้น และเป็นการบอกเล่าให้ผู้อ่านทราบว่าปัญหานั้นมีผู้ศึกษาอยู่แล้ว ตลอดจน
เป็นการแสดงให้เห็นถึงความเป็นเจ้าของใน “ลิขสิทธิ์” ของวรรณกรรมหรือ “สิทธิบัตร” ในสิ่งประดิษฐ์นั้นๆได้
89. ข้อใดต่อไปนี้อธิบายส่วนประกอบของรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้อย่างเหมาะสม
1. คำนำ - สารบัญ – เนื้อเรื่อง 2. คำนำ - เนื้อเรื่อง - บทสรุป
3. ตอนต้น - ตอนกลาง – บทสรุป 4. ตอนต้น - เนื้อเรื่อง - ตอนท้าย
5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 4. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ 1. ส่วนประกอบตอนต้น
2. ส่วนเนื้อเรื่อง 3. ส่วนประกอบตอนท้าย
90. การให้เกียรติและแสดงความขอบคุณผู้ที่มีส่วนช่วยเหลืองานวิจัย ปรากฏในส่วนใดต่อไปนี้
1. จดหมายขอบคุณ 2. กิตติกรรมประกาศ 3. ประกาศนียบัตร
4. บรรณานุกรม 5. บทคัดย่อ
ตอบ 2. กิตติกรรมประกาศ เป็นหนึ่งในองค์ประกอบที่สำคัญซึ่งอยู่ในส่วนประกอบตอนต้นของรายงานการ
วิจัยฉบับสมบูรณ์ ใจบางฉบับอาจเรียกส่วนนี้ว่าเป็น “ประกาศคุณปการ” ใช้ภาษาอังกฤษคำว่า
“Acknowledgement” ผูช้ ายส่วนใหญ่มักใช้พื้นที่ในส่วนนี้เพื่อเป็นการให้เกียรติและแสดงความขอบคุณผู้ที่มี
ส่วนช่วยเหลือ หรือผลักดันให้งานวิจัยสำเร็จลุล่วงไปได้ไม่ว่าจะเป็นผู้เชี่ยววชาญที่ให้คำแนะนำ หน่วยงานต้น
สังกัดหรือผู้ให้ทุนวิจัย
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 67
............................................................................................................................................................................................
91. คำว่า “ขนมชั้น” ในงานวิจัย มีความหมายว่าอย่างไร
1. ข้อค้นพบที่ได้เป็นของใหม่ที่ไม่มีใครค้นพบมาก่อน 2. ข้อค้นพบที่ได้เป็นประโยชน์ต่อวงวิชาการ
3. ผลการศึกษาเป็นไปในเชิงบวก 4. การเรียงรายชื่อเอกสารต่อกันไปเรื่อย ๆ
5. ระเบียบวิธีการวิจัยง่ายต่อการนำไปใช้
ตอบ 4 “ขนมชั้น” ในงานวิจัย หมายถึง การเรียงเอกสารงานวิจัยตามรายชื่อหรือปีที่มีการเผยแพร่ต่อกันไป
เรื่อยๆ
92. ระบบเอพีเอ (American Psychological Association : APA) หมายถึงสิ่งใดต่อไปนี้
1. การอ้างอิง 2. การเขียนรายงานการวิจัย 3. ภาคผนวก
4. การสำรวจวรรณกรรม 5. การอธิปรายผล
ตอบ 1. ระบบการอ้างอิงในปัจจุบันที่ได้รับความนิยมในงานวิจัย หรืองานวิชาการในสายสังคมศาสตร์ ได้แก่
การอ้างอิงระบบเอพีเอ (American Psychological Association : APA) และการอ้างอิงระบบทูราเบียน
(Turabian)
93. ข้อใดต่อไปนี้ไม่จำเป็นต้องระบุลงไปในประวัติย่อผู้วิจัย
1. ชื่อ - สกุล 2. ประวัติการศึกษา 3. อาชีพและตำแหน่ง
4. อีเมลที่สามารถติดต่อได้ 5. กิจกรรมในเวลาว่าง
ตอบ 5. ประวัติย่อผู้วิจัย (Vitae) เป็นส่วนที่แสดงให้เห็นถึงประวัติของนักวิจัย / คณะผู้วิจัย เพื่อให้ผู้อ่าน
เห็นข้อมูลพื้นฐานของคณะผู้วิจัยได้ และทำให้ผู้อ่านเกิดความเชื่อมั่น โดยทั่วไปแล้วรายละเอียดของประวัติย่อผู้วิจัย
มักประกอบไปด้วย ชื่อ - สกุล ประวัติการศึกษา อาชีพ ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน สาขาที่เชี่ยวชาญ สถานที่สามารถ
ติดต่อได้ อีเมล เบอร์โทรศัพท์ ประสบการณ์เกี่ยวกับการวิจัย เป็นต้น
94. ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai – Journal Citation Index : TCI) จัดประเภทวารสารไว้กี่กลุ่ม
1. 2 กลุ่ม 2. 3 กลุ่ม 3. 4 กลุ่ม
4. 5 กลุ่ม 5. ขึ้นกับปีที่ประกาศในแต่ละรอบ
ตอบ 1. ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai – Journal Citation Index : TCI) ได้จัดประเภท
วารสารไว้ 3 กลุ่ม (ข้อมูล ณ วันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2560) คือ
1. วารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI จะถูกคัดเลือกเข้าสู่ฐานข้อมูล
ASEAN Citation Index (ACI) ต่อไป 2. วารสารที่อยู่ระหว่างการปรับปรุงคุณภาพ และอยู่ในฐานข้อมูล TCI
3. วารสารที่ไม่ผ่านการรับรองคุณภาพและอาจไม่ปรากฏอยู่ในฐานข้อมูล TCI ในอนาคต
95. “วารสารเอเชียพิจาร” เป็นวารสารที่สังกัดสถาบันใด
1. คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2. คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3. คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยรามคำแหง
5. สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตอบ 1. ตัวอย่างวารสารทางวิชาการของมหาวิทยาลัยรามคำแหง เช่น
1. “วารสารวิจัยรามคําแหง ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์” สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัย
รามคำแหง
2. “วารสารวิจัยรามคำแหง ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” ของสถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัย
รามคําแหง
3. “วารสารเอเชียพิจาร” ของศูนย์ศึกษาเอเชีย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เป็นต้น
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 68
............................................................................................................................................................................................
96. การนำเสนอแผนงานของโครงการวิจัยที่ดำเนินการต่อไป มักปรากฏในแผนภูมิประเภทใด
1. Pie Chart 2. Line Chart 3. Gantt’s Chart
4. Bar Chart 5. Radar Chart
ตอบ 3. การนำเสนอแผนงานของโครงงานวิจัยที่จะดำเนินต่อไป มักปรากฏในรูปแผนภูมิแกนต์ (Gantt’s
Chart) ซึ่งจะแสดงข้อมูลรายละเอียดของกิจกรรม ระยะเวลา และช่วงเวลาได้อย่างเหมาะสม โดยข้อมูลดังกล่าวนี้มี
ความสำคัญต่อการทำให้ผู้ให้คุณเห็นผลงานที่ผู้วิจัยจะดำเนินการต่อไป ในขณะเดียว กันผู้วิจัยก็สามารถวางแผนการ
ดำเนินงานต่อไปได้อย่างเป็นระบบ
97. คำว่า “Interim Report” หมายถึงข้อใดต่อไปนี้
1. การรายงานผลการวิจัยเบื้องต้น 2. การรายงานความก้าวหน้าของงานวิจัย
3. การรายงานผลการวิจัยขั้นสุดท้าย 4. โครงร่างของการวิจัย
5. การนำเสนองานวิจัยในที่สาธารณะ
ตอบ 2. การรายงานความก้าวหน้าของงานวิจัย (Interim Report) หมายถึงรายงานที่จะทำขึ้นภาย
หลังจากที่ได้ดำเนินการวิจัยไปแล้วระยะหนึ่งตามที่ผู้วิจัยได้ทำการตกลงหรือทำสัญญาไว้กับผู้ให้ทุน โดยทั่วไปแล้ว
รายงานความก้าวหน้ามักรายงานในช่วงระยะเวลาหนึ่งร้อยละ 50 ของระยะเวลาตามสัญญา เช่น ถ้าเป็นงานวิจัย 1 ปี
ก็จะรายงานในช่วง 6 เดือน เป็นต้น
98. วัตถุประสงค์ของการวิจัยเปรียบได้กับสิ่งใดต่อไปนี้
1. แผนที่ 2. มูลเหตุ 3. สัญญา 4. หลักฐาน 5. การนำไปใช้ประโยชน์
ตอบ 3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย เป็นการอธิบายที่ต้องการบอกเป้าหมายหรือความต้องการของงานวิจัยว่า
ผู้วิจัยต้องการทราบอะไรเพื่อใช้เป็นแนวทางในการออกแบบการวิจัยที่มีความเหมาะสมต่อไป หรืออาจกล่าวอีกนัย
หนึ่งคือ วัตถุประสงค์ของการวิจัยเปรียบได้กับ “สัญญา” ที่ผู้วิจัยได้กระทำไว้ว่าผู้อ่านจะได้รับทราบข้อมูลเหล่านั้นใน
รายงานการวิจัยฉบับนี้ก็ได้
99. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่วัตถุประสงค์ที่มีลักษณะ “SMART”
1. ความเรียบง่าย 2. ความเหมาะสม 3. การบรรลุและทำได้จริง
4. ความสมเหตุสมผล 5. การนำไปใช้ประโยชน์
ตอบ 1. วัตถุประสงค์ที่มีลักษณะ “SMART” ประกอบความเหมาะสม (Sensible : S), การวัดและ
ตรวจสอบได้ (Measurable : M), การบรรลุและทำได้จริง (Attainable : A), ความสมเหตุสมผล
(Reasonable : R) และการคำนึงถึงระยะเวลาที่เหมาะสม (Time : T)
100. “......ปัญหาความคลาดเคลื่อน (Error) ในช่วงระยะระหว่างการวิจัย โดยที่ผู้วิจัยไม่สามารถควบคุมหรือ
หลีกเลี่ยงปัจจัยดังกล่าวได้ จนกระทั่งอาจส่งผลต่อการศึกษาหรือข้อค้นพบของงานวิจัยนั้น..…” สัมพันธ์กับข้อใด
ต่อไปนี้มากที่สุด
1. วัตถุประสงค์ของงานทำวิจยั 2. ขอบเขตการวิจัย 3. ข้อตกลงเบื้องต้น
4. ข้อจำกัดของการวิจัย 5. นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย
ตอบ 4. ข้อจำกัดของการวิจัย เป็นการทำให้ผู้อ่านทราบถึงปัญหาความคลาดเคลื่อน (Error) ในช่วงระหว่าง
การวิจัยโดยที่ผู้วิจัย ไม่สามารถควบคุมหรือหลีกเลี่ยงปัจจัยดังกล่าวได้ จนกระทั่งอาจส่งผลต่อการศึกษาหรือข้อ
ค้นพบของงานวิจัยนั้น


ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 69
............................................................................................................................................................................................
การสอบไล่ภาค 1 ปีการศึกษา 2561
..................
➢ คำสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (มีข้อสอบทั้งหมด 100 ข้อ)
➢ จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 1. - 5.
1. Inductive Reasoning 2. Deductive Reasoning 3. Positivism
4. Anti-Positivism 5. Rational Approach

1. การเริ่มต้นจากข้อเท็จจริงเฉพาะได้จากประสบการณ์หรือเหตุการณ์และนำข้อสรุปกฎเกณฑ์เรียกว่าการแสวงหา
ความรู้แบบใด
ตอบ 1. เหตุผลเชิงอุปมาน (Inductive Reasoning) เป็นวิธีเริ่มต้นจากข้อเท็จจริงเฉพาะซึ่งได้จาก
ประสบการณ์หรือเหตุการณ์ที่ศึกษาและนำไปสู่ข้อสรุปหรือกฎเกณฑ์เป็นการหาจากส่วนย่อยไปสู่ส่วนใหญ่ เช่น
การวิจัยเชิงคุณภาพเป็นต้น
2. วิธีที่เริ่มจากหลักเกณฑ์ทั่วไปและนำไปทดสอบยืนยันด้วยการรวบรวมข้อเท็จจริง เรียกว่าอะไร
ตอบ 2. เหตุผลเชิงอนุมาน (Deductive Reasoning) เป็นวิธีที่เริ่มจากหลักเกณฑ์หรือข้อเท็จจริงทั่วไป
และนำไปทดสอบยืนยันด้วยการรวบรวมข้อเท็จจริงเป็นการหาจากส่วนใหญ่ไปสู่ส่วนย่อย เช่น การวิจัยเชิง
ปริมาณ เป็นต้น
3. ความเชื่อที่ว่าปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติสามารถอธิบายด้วยกฎเกณฑ์ต่าง ๆที่มีอยู่ในธรรมชาติ
และมนุษย์สามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
ตอบ 3. ปฏิฐานนิยม Positivism ได้แก่ แนวคิดที่ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือการวิจัยเชิงปริมาณเป็น
เครื่องมือ โดยมีความเชื่อที่ว่าปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติสามารถอธิบายด้วยกฎเกณฑ์ต่างๆที่มีอยู่ใน
ธรรมชาติ และมนุษย์สามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5
4 แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการมีชีวิตอยู่ด้วยตัวของเราเองตามความเชื่อของแต่ละบุคคลอยู่ภายใต้แนวคิดใด
ตอบ 4. อัตภาวะนิยม ภายใต้แนวคิดของกลุ่มคัดค้านปฏิฐานนิยม (Anti-Positivism) คือ แนวความคิดที่
เกี่ยวข้องกับการมีชีวิตอยู่ด้วยตัวของเราเอง ตามความเชื่อของแต่ละบุคคลซึ่งเป็นความจริงอัตวิสัย
5. การเข้าใจกฎต่างๆของธรรมชาติโดยนำหลักพื้นฐานที่มีอยู่มาประมวลผลให้เกิดความรู้ความเข้าใจในสถานการณ์
ที่เป็นสาเหตุของปัญหาเกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
ตอบ 5. แนวการวิเคราะห์แบบการตัดสินใจอย่างมีเหตุผลRational Approach คือการเข้าใจกฎต่างๆของ
ธรรมชาติโดยนำหลักพื้นฐานที่มีอยู่มาประมวลให้เกิดความรู้ความเข้าใจในสถานการณ์ที่เป็นสาเหตุของปัญหา

➢ จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ต้องคำถามข้อ 6. - 10.
1. Institutionalism 2. Phenomenology 3. Ethnomethodolog
4. Symbolic Interactionism 5. Empirical Approach

6. แนวคิดที่เชื่อว่าโครงสร้างทางการเมืองเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์
ตอบ 1. แนวการวิเคราะห์แบบสถาบันนิยม (Institutionalism / Institutional Approach) เป็น
การศึกษารัฐศาสตร์ที่เน้นหนักในเรื่องกฎหมายรัฐธรรมนูญและอิทธิพลของโครงสร้างทางการเมืองที่มีต่อการเมืองโดย
เชื่อว่าโครงสร้างทางการเมืองหรือสถาบันทางการเมืองต่าง ๆ เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์นักรัฐศาสตร์
สมัยใหม่แนวสถาบันนิยม ได้แก่
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 70
............................................................................................................................................................................................
1. เซอร์มันไฟเนอร์ (Herman Finer) ผู้เขียนงานเรื่อง The Theory and Practice of Modern
Government
2. วุตโรว์ วิสสัน (Woodrow Wilson) ผู้เขียนงานเรื่อง Congressional Government A Study in
American Politics เป็นต้น
7. แนวคิดที่เชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีจิตสำนึกที่จะรู้สึกนึกคิด เป็นตัวกำหนดประสบการณ์ของแต่ละบุคคลเกี่ยวข้องกับ
เรื่องใดมากที่สุด
ตอบ 2. ปรากฏการณ์นิยม (Phenomenology) เชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีจิตสำนึกที่จะรู้สึกนึกคิดเป็น
ตัวกำหนดประสบการณ์ของแต่ละบุคคลไม่ควรเชื่อจากคำพรรณนาของสื่อมวลชน แต่ให้แสวงหาข้อเท็จจริงจาก
ประสบการณ์ตรงในเรื่องนั้น
8. แนวคิดที่เชื่อว่า การให้ความหมายต่อโลกแห่งชีวิตประจำวันในแต่ละสังคมมีความเชื่อต่อกันอย่างไร
เป็นการศึกษาให้เข้าใจกิจกรรมต่างๆที่มนุษย์มีต่อกันภายใต้สังคมใดสังคมหนึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
ตอบ 3. ชาติพันธุ์วิทยา (Ethnomethodology) คือ แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการมีชีวิตอยู่ด้วยการให้
ความหมายต่อโลกแห่งชีวิตประจำวันในแต่ละสังคมมีความเชื่อต่อกันอย่างไร ปฏิบัติต่อกันอย่างไร และเป็น
การศึกษาให้เข้าใจกิจกรรมต่าง ๆ ที่มนุษย์มีต่อกันภายใต้สังคมใดสังคมหนึ่ง
9. แนวคิดที่เชื่อว่ามนุษย์มีปฏิสัมพันธ์ต่อสิ่งต่างๆบนพื้นฐานของความหมายที่เขาให้แก่สิ่งนั้นเกี่ยวข้องกับเรื่องใด
มากที่สุด
ตอบ 4. สัญลักษณ์ปฏิสัมพันธ์นิยม (Symbolic Interactionism) เชื่อว่ามนุษย์มีปฏิสัมพันธ์ต่อสิ่งต่าง ๆ
บนพื้นฐานของความหมายที่เขาให้แก่สิ่งนั้น ซึ่งจะมีกระบวนการให้ความหมายและตีความหมายแก่สิ่งต่าง ๆ โดยผ่าน
สัญลักษณ์และเกิดขึ้นในบริบทของสังคม
10. ความจริงที่สังเกตุได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้าและนำมาพิสูจน์ความเชื่อว่าสิ่งที่สัมผัสได้นั้นถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องใด
มากที่สุด
ตอบ 2. แนวทางเชิงประจักษ์ (Empirical Approach) คือแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับความจริงที่สังเกตได้ด้วย
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 และนำมาพิสูจน์ความเชื่อว่าสิ่งที่สัมผัสได้นั้นถูกต้อง เช่น การนับจำนวนคำว่า “ประชาธิปไตย”
ในหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งในประเทศไทยตลอดปี พ.ศ. 2560
11. การใช้ตรรกะหรือแนวทางในความเป็นเหตุและผลที่กำหนดวิธีการในการแก้ปัญหามาเป็นข้อพิสูจน์ความถูกต้อง
ของแนวคิดเกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
1. Scientific Approach 2. Normative Approach 3. Rational Approach
4. Objective Truth 5. Subjective Truth
ตอบ 1. แนวทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Approach) เป็นการใช้ตรรกะหรือแนวทางในความเป็นเหตุ
และผลที่กำหนดวิธีการในการแก้ปัญหา โดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์มาเป็นข้อพิสูจน์ความถูกต้องของแนวคิด
12. การนับจำนวนคำว่า“ ประชาธิปไตย” ในหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งในประเทศไทยตลอดปี พ.ศ. 2560 เกี่ยวข้องกับ
เรื่องใดมากที่สุด
1. Scientific Approach 2. Normative Approach 3. Rational Approach
4. Objective Truth 5. Subjective Truth
ตอบ 2 . ดูคำอธิบายข้อ 10. ประกอบ
13. การแปลงความหมายของแนวคิดออกมาเป็นสภาพความเป็นจริงเพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวข้องกับเรื่องใด
มากที่สุด 1. การนิยามปฏิบัติการและการสร้างเครื่องมือวัด
2. การเก็บรวบรวมข้อมูล 3. การวิเคราะห์ข้อมูล
4. การเขียนรายงานการวิจัย 5. การเขียนแบบเสนอโครงการวิจัย
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 71
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 1. การนิยามปฏิบัติการและการสร้างเครื่องมือวัดเป็นการแปลงความหมายของแนวคิดออกมาเป็น
สภาพความเป็นจริงเพื่อช่วยให้สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้
14. การสังเกตการสัมภาษณ์และการออกแบบสอบถามเกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
1. การนิยามปฏิบัติการและการสร้างเครื่องมือวัด 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
3. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การเขียนรายงานการวิจัย
5. การเขียนแบบเสนอโครงการวิจัย
ตอบ 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นกระบวนการที่จะได้มาซึ่งข้อมูลที่ตอบปัญหาการวิจัยโดยมีวิธีการต่าง ๆ
คือ การได้ข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ การสังเกต การสัมภาษณ์ การออกแบบสอบถาม และการได้ข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ การ
รวบรวมเอกสารหรืองานวิจัยเป็นต้น
15. การเปรียบเทียบข้อมูลหรือการใช้สถิติเกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
1. การนิยามปฏิบัติการและการสร้างเครื่องมือวัด 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
3. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การเขียนรายงานการวิจัย
5. การเขียนแบบเสนอโครงการวิจัย
ตอบ 3. การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการนำข้อมูลที่รวบรวมมาได้มาวิเคราะห์โดยการเปรียบเทียบข้อมูลหรือใช้
สถิติเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่จะตอบปัญหาการวิจัย
➢ จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 16. – 20.
1.ขอบข่ายและการตั้งปัญหาการวิจัย 2.การสำรวจและการทบทวนวรรณกรรม
3.การกำหนดสมมติฐานเพื่อการทดสอบ 4.การเลือกรูปแบบการวิจัย
5.การกำหนดประชากรเป้าหมายและการสุมตัวอย่าง
16. การกำหนดหัวเรื่องที่ต้องการศึกษาเกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
ตอบ 1. ขอบข่ายและการตั้งปัญหาการวิจัยเป็นการกำหนดหัวเรื่องที่ต้องการศึกษาหรือวิจัย ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นใน
การศึกษาหรือวิจัย และจะมีผลต่อกระบวนการวิจัยลำดับต่อไป
17. การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเพื่อให้ได้คำตอบของปัญหาการวิจัยเกี่ยวข้องกับเรื่องใด
มากที่สุด
ตอบ 2 การสำรวจและการทบทวนวรรณกรรมเป็นการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
เพื่อให้ได้คำตอบของปัญหาการวิจัยซึ่งอาจจะประมวลจากเอกสารทางวิชาการผลงานวิจัยและเอกสารทาง
ราชการอื่น ๆ
18. การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหรือแนวคิดเพื่อการทดสอบว่าเป็นความจริงหรือไม่ เกี่ยวข้องกับเรื่องใด
มากที่สุด
ตอบ 3. การกำหนดสมมุติฐานเพื่อการทดสอบเป็นการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหรือแนวคิดเพื่อ
การทดสอบว่าเป็นความจริงหรือไม่การพิสูจน์โดยรวบรวมข้อมูลมายืนยันตามสมมุติฐานที่กำหนดโดยเฉพาะการวิจัย
เชิงปริมาณจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีสมมุติฐาน
19. การกำหนดวิธีการที่สัมพันธ์กับปัญหา เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
ตอบ 4. การเลือกรูปแบบการวิจัย เป็นการกำหนดวิธีการศึกษาที่สัมพันธ์กับปัญหา กรอบความคิด และ
เลือกวิธีการเก็บข้อมูลที่สอดคล้องกับสมมุติฐาน โดยการเลือกรูปแบบการวิจัยต้องเลือกวิธีการศึกษาโดยกำหนด
กิจกรรมต่าง ๆ ที่ต้องการทำ ตั้งแต่การเลือกตัวแปรการเลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและเลือกวิธีวิเคราะห์ข้อมูลที่
จะตอบปัญหาการวิจัย
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 72
............................................................................................................................................................................................
20. การกำหนดพื้นที่เป้าหมายและกำหนดหน่วยในการศึกษาเกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
ตอบ 5. การกำหนดประชากรเป้าหมายและการสุ่มตัวอย่างเป็นการกำหนดหน่วยในการศึกษาหรือหน่วยที่ใช้
ในการเก็บข้อมูลอาจเป็นคุณสมบัติของบุคคลกลุ่มองค์การสังคมหรือพื้นที่แล้วแต่เป้าหมายการวิจัยซึ่งจะมีผลต่อการ
เก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลฯ และจะแตกต่างไปตามเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
21. การจัดทำแผนในการวิจัยเกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
1. การนิยามปฏิบัติการและการสร้างเครื่องมือวัด 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
3. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การเขียนรายงานการวิจัย
5. การเขียนแบบเสนอโครงการวิจัย
ตอบ 5. การจัดทำโครงร่างการวิจัยหรือการเขียนแบบเสนอโครงการวิจัย(Research Proposal) เป็น
กระบวนการเบื้องต้นที่ผู้วิจัยต้องจัดทำแผนในการวิจัยเพื่อให้ผู้สอนหรือกรรมการพิจารณาโครงร่างก่อนที่จะ
ดำเนินการทำวิจัยจริง
22. การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการวิจัยเกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
1. การนิยามปฏิบัติการและการสร้างเครื่องมือวัด 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
3. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การเขียนรายงานการวิจัย 5. การตั้งคำถามการวิจัย
ตอบ 2. การเขียนรายงานการวิจัยถือเป็นสิ่งสำคัญในทุกขั้นตอนของการทำวิจัย เพื่อเป็นหลักฐานการวิจัย
และนำไปเผยแพร่ให้ผู้สนใจได้ศึกษาและนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป
23. ความสนใจของผู้วิจัย เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
1. เพื่อบุกเบิกหรือรวบรวมแหล่งความรู้ 2. เพื่อบรรยาย 3. เพื่ออธิบาย
4. เพื่อทำนายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 5. เพื่อตั้งปัญหาการวิจัยตอบ
ตอบ 3. จุดมุ่งหมายในการตั้งปัญหาเพื่อบุกเบิกหรือรวบรวมแหล่งความรู้ (Exploration) เป็นการตั้งปัญหา
ในลักษณะที่ยังไม่มีผู้ศึกษามาก่อนและผู้วิจัยสนใจในการศึกษ าโดยทำการประมวลเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นและ
จัดเป็นระบบ
24. เมื่อทราบความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ จากกรอบทฤษฎีผ่านการตรวจสอบความเป็นจริงจนแน่ใจว่าถูกต้อง
สามารถนำไปสรุปในเรื่องใดได้
1. เพื่อบุกเบิกหรือรวบรวมแหล่งความรู้ 2. เพื่อบรรยาย 3. เพื่ออธิบาย
4. เพื่อทำนายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 5. เพื่อตั้งปัญหาการวิจัยตอบ
ตอบ 4. จุดมุ่งหมายในการตั้งปัญหาเพื่อทำนายเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น (Predictable) เป็นการนำผล
การศึกษาเพื่อทำนายอนาคตที่ยังไม่เกิดขึ้นโดยผลการศึกษาจะต้องมาจากวิธีการอธิบายเมื่อทราบความสัมพันธ์ของตัว
แปรต่าง ๆ จากกรอบทฤษฎีและผ่านการตรวจสอบความเป็นจริงจนแน่ใจว่าถูกต้อง
25. ความหมายของการวิจัยสมัยใหม่อาจจะเทียบได้กับสิ่งใดในพระธรรมปิฎก
1. เหตุผล 2. ความรู้ 3. ปัญญา 4. ความจริง 5. ทักษะ
ตอบ 3. พระธรรมปิฎกได้กล่าวถึง “การวิจัย” ไว้ว่าเป็นคำที่ใช้ในความหมายสมัยใหม่ในวงวิชาการเป็น
กิจกรรมอย่างหนึ่งของสังคมสมัยใหม่ซึ่งอาจเทียบได้กับภาษาบาลีว่า “ปัญญา” เพราะการวิจัยนั้นเป็นลักษณะหนึ่ง
ของการใช้ปัญญาทำให้เกิดปัญญาหรือทำให้ปัญญาพัฒนาขึ้น
26. ข้อใดไม่ใช่เป้าหมายของการวิจัย 1. เพื่อบรรยาย
2. เพื่ออธิบาย 3. เพื่อทำนาย
4. เพื่อควบคุมปรากฏการณ์ต่าง ๆ 5. ทุกข้อเป็นเป้าหมายการวิจัย
ตอบ 5. นงลักษณ์ วิรัชชัย ได้กำหนดเป้าหมายที่สำคัญของการวิจัย คือ เพื่อบรรยายเพื่ออธิบาย เพื่อทำนาย
และเพื่อควบคุมปรากฏการณ์ต่าง ๆ อันจะช่วยพัฒนาชีวิตและความเป็นอยู่ของมวลมนุษย์และสังคมให้ดีขึ้น
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 73
............................................................................................................................................................................................
27. การศึกษาปัญหาอุปสรรคในการพัฒนาระบบประชาธิปไตยว่ามีสาเหตุมาจากอะไรบ้างการศึกษาในลักษณะ
ดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่ออะไร
1. การบุกเบิกหรือรวบรวมแหล่งความรู้ 2. การบรรยาย 3. การอธิบาย
4. การท้านายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 5. การตั้งปัญหาการวิจัย
ตอบ 3. จุดมุ่งหมายในการตั้งปัญหาเพื่ออธิบาย (Explanation) เป็นการกล่าวถึงความสัมพันธ์ของตัวแปร
ต่าง ๆ ที่เป็นเหตุและผลซึ่งกันและกัน โดยอธิบายว่าตัวแปรใดเป็นสาเหตุให้เกิดผลตามที่มุ่งหวังไว้ เช่น การศึกษา
ปัญหาอุปสรรคในการพัฒนาระบบประชาธิปไตยว่ามีสาเหตุมาจากอะไรบ้าง เป็นต้น
28. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ
1. เน้นที่การมองปรากฏการณ์ในภาพรวม 2. เป็นการศึกษาระยะยาวและเจาะลึก
3. ต้องการทดสอบทฤษฎีด้วยเครื่องมือทางสถิติ 4. คำนึงถึงความเป็นมนุษย์ของผู้วิจัย
5. ศึกษาปรากฏการณ์ในสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ
ตอบ 3. ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพคือ 1. เน้นที่การมองปรากฏการณ์ในภาพรวม 2. เป็น
การศึกษาระยะยาวและเจาะลึก 3. เป็นการเลือกเฉพาะกลุ่มที่ต้องการศึกษาเป็นกรณีศึกษา 4. ศึกษาปรากฏการณ์ใน
สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ 5. คำนึงถึงความเป็นมนุษย์ของผู้วิจัยเป็นต้น
29. ข้อใดเป็นลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงปริมาณ
1. เน้นที่การมองปรากฏการณ์ในภาพรวม 2. เป็นการศึกษาระยะยาวและเจาะลึก
3. ต้องการทดสอบทฤษฎีด้วยเครื่องมือทางสถิติ 4. คำนึงถึงความเป็นมนุษย์ของผู้วิจัย
5. ศึกษาปรากฏการณ์ในสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ
ตอบ 3. ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงปริมาณคือ 1. ต้องการทดสอบทฤษฎีด้วยเครื่องมือทางสถิติ 2. เน้น
ข้อมูลที่เป็นตัวเลข 3. มีทฤษฎีเป็นกรอบในการศึกษา 4. เป็นการเลือกประชากรทั้งหมด 5. สรุปจากข้อเท็จจริงที่
รวบรวมมาได้โดยใช้สถิติเป็นข้อพิสูจน์ เป็นต้น
30. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงปริมาณ 1. ต้องการทดสอบทฤษฎี
2. เน้นข้อมูลที่เป็นตัวเลข 3. มีทฤษฎีเป็นกรอบในการศึกษา
4. เป็นการเลือกเฉพาะกลุ่มที่ต้องการศึกษา 5. สรุปจากข้อเท็จจริงโดยใช้สถิติเป็นข้อพิสูจน์
ตอบ 4. ดูคำอธิบายข้อ 29. ประกอบ
31. ข้อใดเป็นลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ 1. ต้องการทดสอบทฤษฎี
2. เน้นข้อมูลที่เป็นตัวเลข 3. มีทฤษฎีเป็นกรอบในการศึกษา
4. เป็นการเลือกเฉพาะกลุ่มที่ต้องการศึกษา 5. สรุปจากข้อเท็จจริงโดยใช้สถิติเป็นข้อพิสูจน์
ตอบ 4. ดูคำอธิบายข้อ 28. ประกอบ
32. การเชื่อมโยงระหว่างกรอบแนวคิดกับสิ่งที่สามารถสังเกตเห็นได้ เกี่ยวข้องกับเรื่องใด
1. Variable 2. Concept 3. Hypothesis 4. Attribute 5. Measurement
ตอบ 5. มาตรวัด (Measurement) คือ กระบวนการเชื่อมโยงระหว่างกรอบแนวคิดกับสิ่งที่สามารถ
สังเกตเห็นได้มาสู่ตัวบ่งชี้ในสถานการณ์ที่เป็นจริง
33. แนวคิดที่มีมากกว่า 1 ค่าเกี่ยวข้องกับเรื่องใด
1. Variable 2. Concept 3. Hypothesis 4. Attribute 5. Measurement
ตอบ 1. ตัวแปร (Variable) หมายถึงแนวคิดที่มีมากกว่า 1 ค่าเช่นเพศ (แบ่งเป็นเพศ ชายเพศหญิง), อาชีพ
(แบ่งเป็นรับราชการ ธุรกิจส่วนตัว รับจ้าง) เป็นต้น
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 74
............................................................................................................................................................................................
34. ลักษณะของปัญหาที่ต้องใช้ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้น ๆ มากำหนดความสัมพันธ์เรียกว่าปัญหา
ประเภทใด 1. ปัญหาเชิงวิเคราะห์ 2. ปัญหาเชิงประจักษ์
3. ปัญหาเชิงปทัสถาน 4. ปัญหาเชิงสังเคราะห์ 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 2. ปัญหาเชิงประจักษ์ (Empirical Problems) คือ ลักษณะของปัญหาที่ต้องใช้ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น
ในสถานการณ์นั้น ๆ มากำหนดความสัมพันธ์
35. ลักษณะของปัญหาที่ต้องใช้ความคิดความรู้ในเชิงวิชาการมาประมวลเป็นข้อสรุปหรือกฎหรืออ้างอิงจากแนวคิด
ทฤษฎี หรือนักวิชาการ เรียกว่าปัญหาประเภทใด
1. ปัญหาเชิงวิเคราะห์ 2. ปัญหาเชิงประจักษ์ 3. ปัญหาเชิงปทัสถาน
4. ปัญหาเชิงสังเคราะห์ 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 3. ปัญหาเชิงปทัสถาน (Normative Problems) คือ ลักษณะของที่ต้องใช้ความคิดความรู้เชิง
วิชาการมาประมวลเป็นข้อสรุปหรือกฎหรือใช้การอ้างอิงวิชาการแนวคิดทฤษฎีหรือนักวิชาการตลอดจน
ผู้ทรงคุณวุฒิมายืนยันและตรวจสอบ
36. Predictable คืออะไร 1. การทำนายถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้น
2. หยั่งรู้ถึงสิ่งต่างๆว่าดำรงอยู่อย่างไร 3. การให้ความหมายต่อสิ่งต่าง ๆ
4. การอธิบายถึงรายละเอียดของปรากฏการณ์ 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 1. ดูคำอธิบายข้อ 24. ประกอบ
37. Non-Value Free เกี่ยวข้องกับข้อใดที่สุด 1. ห้ามใช้อคติเข้ามาศึกษา
2. ห้ามใช้ทัศนคติตัดสินสิ่งต่าง ๆ ในทางการเมือง 3. การศึกษาต้องเป็นแบบวิทยาศาสตร์เท่านั้น
4. การเมืองเป็นสิ่งแยกไม่ออกจากการใช้ความรู้สึก ความเชื่อ เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษา
5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 4. การศึกษาที่ได้แยกคุณค่าออกจากสิ่งที่ศึกษา (Non-Value Free) เป็นรูปแบบศึกษาที่ผู้ศึกษาจะ
คิดวิเคราะห์ไตร่ตรองด้วยตนเองในเรื่องที่เกี่ยวกับการเมืองที่ควรจะเป็นดังนั้นจึงทำให้การเมืองเป็นสิ่งที่แยกไม่ออก
จากการใช้ความรู้สึก ความเชื่อ เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษา
38. ในช่วงเวลาใดต่อไปนี้ถือได้ว่าการวิจัยในทางรัฐศาสตร์นั้นมีลักษณะเป็นแบบปฏิฐานนิยม (Positivism)
มากที่สุด 1. ค.ศ. 1800–1810 2. ค.ศ. 1850-1860
3. ค.ศ. 1890-1900 4. ค.ศ. 1901-1910 5. ค.ศ. 1950-1960
ตอบ 5. ยุคพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Period) เป็นยุคที่ปรากฏในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ.
1950-1960) ซึ่งพบว่าการวิจัยในทางรัฐศาสตร์นั้นมีลักษณะเป็นแบบ “ปฏิฐานนิยม” (Positivism) มากที่สุดโดยนัก
รัฐศาสตร์ในยุคนี้มองว่า การศึกษาการเมืองจำต้องใช้วิธีการแบบวิทยาศาสตร์ในการหาความรู้ กล่าวคือ การศึกษา
การเมืองไม่ควรเป็นไปในลักษณะเดิม คือ ศึกษาโครงสร้างและสถาบันหรือศึกษาในเชิงปรัชญาการเมืองอีกต่อไป
ตัวอย่างของแนวทางการศึกษาแบบนี้ ได้แก่ การศึกษาจิตวิทยาผู้นำทางการเมืองการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
วัฒนธรรมทางการเมืองเป็นต้น
39. ตั้งแต่ทศวรรษ 1970 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันในทางการศึกษารัฐศาสตร์ถือว่าเป็นยุคใด
1. Pre-Behavioral Period 2. Political Philosophy Period
3. Institutional Period 4. Post-Behavioral Period 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 4. ยุคหลังพฤติกรรมศาสตร์ (Post-Behavioral Period) เป็นยุคของการศึกษารัฐศาสตร์ในปัจจุบัน
คือยุคตั้งแต่ทศวรรษ 1970 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันในยุคนี้ถือเป็นยุคแห่งการกลับมาของการศึกษาแบบเดิมที่ถูกละ
ทิ้งและไม่ให้ความสนใจจากการพยายามครอบงำของพวกพฤติกรรมศาสตร์การศึกษาแบบปรัชญาการเมืองและ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 75
............................................................................................................................................................................................
การศึกษาแบบสถาบันจึงได้เริ่มกลับมาได้รับความสนใจและทำการศึกษากันอีกครั้งหนึ่ง นักวิชาการบางคนจะเรียก
ยุคดังกล่าวว่า ยุคย้อนกลับแห่งการศึกษาการเมืองแบบยุโรป (Period of Re-Europeanization)
40. จากตัวเลือกดังต่อไปนี้ช่วงเวลาใดที่การศึกษาการเมืองหรือรัฐศาสตร์ในประเทศไทยนั้นได้รับอิทธิพลมาจาก
การศึกษาการเมืองแบบอเมริกันมากที่สุด
1. ช่วงสิบปีก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 2. ช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 กับสงครามโลกครั้งที่ 2
3. ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
4. รัฐศาสตร์ในประเทศไทยไม่เคยได้รับอิทธิพลจากการศึกษาการเมืองแบบอเมริกัน
5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 3. ในช่วงหลังปี พ.ศ. 2490 รัฐศาสตร์ในประเทศไทยนั้นได้รับอิทธิพลมาจากการศึกษาการเมืองแบบ
อเมริกันมากที่สุดนับตั้งแต่ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ตลอดจนได้รับเงินช่วยเหลือสนับสนุนทางการศึกษาจาก
อเมริกาเป็นจำนวนมากทั้งในด้านของการให้ทุนการศึกษาใบเรียนต่อที่สหรัฐอเมริกาและการส่งผู้เชี่ยวชาญอาจารย์
จากอเมริกามาสอนที่คณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทย
41. Institutional Approach เป็นการศึกษารัฐศาสตร์ที่เน้นหนักในเรื่องอะไรต่อไปนี้มากที่สุด
1. เน้นเรื่องการทำนายปรากฏการณ์ทางการเมืองใช้เครื่องมือทางสถิติ
2. กฎหมายรัฐธรรมนูญและอิทธิพลของโครงสร้างทางการเมืองที่มีต่อการเมือง
3. เน้นหนักในด้านปฏิกิริยาทางการเมืองและการศึกษาถึงสิ่งที่เป็นธรรมชาติในทางการเมือง
4. อธิบายปฏิสัมพันธ์ของกลุ่มทางการเมืองต่าง ๆ 5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 2. คูคำอธิบายข้อ 6. ประกอบ
42. “ การพยายามค้นหาคำตอบจากปัญหาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งผ่านการสังเกตอย่างรอบด้านหรือการเก็บข้อมูลที่จะ
ใช้นำมาวิเคราะห์อย่างเป็นระบบมีแบบแผนซึ่งข้อมูลที่ว่านี้อาจจะได้มาจากการค้นหาตามเอกสารต่าง ๆ หรือ
การลงพื้นที่ไปสัมภาษณ์หรือด้วยวิธีการอื่น ๆ ที่ทำให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่ต้องการและเมื่อได้ข้อมูลมาแล้วก็นำมา
วิเคราะห์ด้วยเครื่องมือต่าง ๆ หรือขบคิดอย่างละเอียดจนได้มาซึ่งคำตอบที่ต้องการ” ข้อความดังกล่าวเกี่ยวข้อง
กับตัวเลือกใดมากที่สุด 1. Epistemology
2. Philosophy 3. Ethics 4. Research 5. Economics
ตอบ 4. การวิจัย (Research) หมายถึง การพยายามค้นหาคำตอบจากปัญหาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผ่านการ
สังเกตอย่างรอบด้าน หรือการเก็บข้อมูลที่จะใช้น้ำมาวิเคราะห์อย่างเป็นระบบมีแบบแผน ซึ่งข้อมูลที่ว่านี้อาจจะได้มา
จากการค้นหาตามเอกสารต่างๆ หรือการลงพื้นที่ไปสัมภาษณ์หรือด้วยวิธีการอื่นๆ ที่ทำให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่ต้องการและ
เมื่อได้ข้อมูลมาแล้วก็นำมาวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือต่างๆ หรือขบคิดอย่างละเอียดจนได้มาซึ่งคำตอบที่ต้องการ
43. “องค์ความรู้ที่มุ่งศึกษาเกี่ยวกับวิธีการต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการวิจัยตลอดจนจะเป็นการศึกษาถึงแนวคิดพื้นฐาน
ความเชื่อต่าง ๆ ที่อยู่ภายใต้การวิจัยในแต่ละแบบ” ข้อความดังกล่าวเกี่ยวข้องกับตัวเลือกให้มากที่สุด
1. Methodology 2. Epistemology 3. Phenomenology
4. Philosophy 5. Positivism
ตอบ 1. Methodology หมายถึง องค์ความรู้ที่มุ่งศึกษาเกี่ยวกับวิธีการต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการวิจัย
ตลอดจนจะเป็นการศึกษาถึงแนวคิดพื้นฐาน ความเชื่อต่าง ๆ ที่อยู่ภายใต้การวิจัยในแต่ละแบนซึ่งในภาษาไทยมักจะ
คนแปลว่า “ระเบียบวิธีวิจัย” นั่นเอง
44. Approach ใดต่อไปนี้เป็นการศึกษารัฐศาสตร์ในยุค Classic
1. Institutional Approach 2. Behaviorism 3. Communication Approach
4. Developmental Approach 5. Political Philosophical Approach
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 76
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 5. ยุคคลาสสิค (Classical Period) เป็นยุคแรกเริ่มของการศึกษาการเมือง ไม่มีการแยกสาขาของ
ความรู้ โดยถือกำเนิดจากยุคกรีกซึ่งเกิดจากคำถามพื้นฐานของมนุษย์กับรัฐและผู้มีอำนาจเช่น ผู้นำที่ดีต้องมีคุณสมบัติ
อย่างไรการเมืองที่ดีควรจะเป็นอย่างไร ฯลฯ ซึ่งความเป็นสากลของคำถามพื้นฐานเหล่านี้สามารถตั้งคำถามชุดเดียวกัน
โดยไม่จำกัดกรอบเวลาหรือวัฒนธรรม แต่ในขณะเดียวกันก็สามารถมีคำตอบได้หลากหลาย ดังนั้นการศึกษารัฐศาสตร์
ในยุคนี้จึงได้กษณะเป็นแนวการวิเคราะห์เชิงปรัชญาการเมือง (Political Philosophical Approach)
45. ตัวเลือกใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเป้าหมายของการวิจัย
1. เป็นการต้องการค้นหาคำตอบที่สงสัย 2. ต้องเชื่อถือได้และใช้วิธีการแบบ Positivism
3. อธิบายปรากฏการณ์ทางการเมือง 4. บรรยายปรากฏการณ์ทางการเมือง
5. ข้อ 1 และ 2 กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการวิจัย
ตอบ 5. ดูคำอธิบายข้อ 26. ประกอบ
➢ ตั้งแต่ข้อ 46. – 52. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ไปตอบในแต่ละข้อโดยให้มีความสัมพันธ์กับโจทย์คำถามมากที่สุด
1. Positivism 2. Post-Behavioral Period 3. Transitional Period
4. Classical Period 5. Institutional Period
46. การก่อตั้งสมาคมรัฐศาสตร์อเมริกัน (American Political Science Association – APS4) ในปี 1908
เกิดขึ้นในยุคใด
ตอบ 3 . ยุคเปลี่ยนผ่านสู่รัฐศาสตร์สมัยใหม่ (Transitional Period) เป็นยุคที่มีการก่อตั้งสมาคมรัฐศาสตร์
อเมริกัน (American Political Science Association – AESA) ในปี 1903 โดยนักรัฐศาสตร์อเมริกันเริ่มมอง
ว่า วิธีการศึกษาแบบเก่าหรือการศึกษาเชิงโครงสร้างไม่สามารถสะท้อนความเป็นจริงออกมาได้ ดังนั้นการศึกษาในยุค
นี้จึงเป็นการเริ่มกรุยทางไปสู่ศักราชใหม่ของรัฐศาสตร์แบบวิทยาศาสตร์การเมือง อย่างไรก็ตาม วิธีการศึกษาแบบเก่า
คือสถาบันนิยมยังคงมีอิทธิพลอยู่เพียง แต่เริ่มมีการท้าทายจากวิธีการศึกษาแบบอเมริกัน
47. เป็นยุคที่นักรัฐศาสตร์อเมริกันเริ่มมองว่าวิธีการศึกษาแบบเก่าหรือการศึกษาเชิงโครงสร้างไม่สามารถสะท้อน
ความเป็นจริงออกมาได้
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 46. ประกอบ
48. นักวิชาการบางคนจะเรียกยุคดังกล่าวว่ายุคย้อนกลับแห่งการศึกษาการเมืองแบบยุโรป (Period of Re-
Europeanization)
ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 39. ประกอบ
49. นักรัฐศาสตร์โดยทั่วไปในยุคนี้จะมองว่าการศึกษาการเมืองจำต้องใช้วิธีการแบบวิทยาศาสตร์ในการหาความรู้
กล่าวคือการศึกษาการเมืองไม่ควรเป็นไปในลักษณะเดิมคือศึกษาโครงสร้างและสถาบันหรือศึกษาในเชิงปรัชญา
การเมืองอีกต่อไป
ตอบ 1. ดูคำอธิบายข้อ 38. ประกอบ
50. วิธีการศึกษาแบบเก่าคือสถาบันนิยมยังคงมีอิทธิพลอยู่เพียงแต่เริ่มมีการท้าทายจากวิธีการศึกษาแบบอเมริกัน
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 46. ประกอบ
51. เป็นยุคของการศึกษารัฐศาสตร์ในปัจจุบัน
ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 39. ประกอบ
52. ตัวอย่างของแนวทางการศึกษาแบบนี้ ได้แก่ การศึกษาจิตวิทยาผู้นำทางการเมืองการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
วัฒนธรรมทางการเมืองเป็นต้น
ตอบ 1. ดูคำอธิบายข้อ 38. ประกอบ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 77
............................................................................................................................................................................................
53. ก่อนปี พ.ศ. 2490 ประเทศไทยมีการศึกษารัฐศาสตร์ในลักษณะใด
1. การศึกษาโดยได้รับอิทธิพลจากอเมริกันเต็มที่
2. มีการศึกษาหาความรู้ทางการเมืองในประเทศไทย
3. มีการศึกษาโดยใช้วิธีการทางสถิติผสมกับการศึกษาแบบปรัชญาการเมือง
4. มีการสอนในเรื่องโครงสร้างของรัฐและรูปแบบการปกครองรัฐ
5. ศึกษาแบบปรัชญาการเมืองเรานั้น
ตอบ 4. ก่อนปี พ.ศ. 2490 การเรียนการสอนรัฐศาสตร์ในประเทศไทยนั้นพบว่ายังไม่มีการศึกษาหาความรู้
ทางการเมืองหรือสอนวิชาเพื่อทำความเข้าใจการเมือง แต่อย่างใดมีเพียงผลิตข้าราชการ แต่เพียงอย่างเดียวซึ่งในปี
พ.ศ. 2477 ได้มีการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ขึ้นตามเจตนารมณ์ของคณะราษฎรโดยวิชาที่สอนจะเน้นในเรื่อง
โครงสร้างของรัฐรูปแบบการปกครองรัฐสิทธิหน้าที่พลเมืองเป็นต้น
54. “การสรุปผลข้อมูล” ข้อความดังกล่าวสัมพันธ์กับตัวเลือกใดมากที่สุด 1. Approach
2. Method 3. Conclusion 4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง 5. Theory
ตอบ 3. การสรุปผล (Conclusion) เป็นการสรุปผลข้อมูลหรือผลการวิเคราะห์เกิดขึ้นจากการเก็บข้อมูล
โดยอาจจะสรุปว่าสมมติฐานที่ตั้งมานั้นถูกหรือผิด หรือผลของการทดลองหรือผลจากการเก็บข้อมูลเป็นอย่างไร
55. ลักษณะใดต่อไปนี้ไม่ใช่ลักษณะของการศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ 1. Reliability
2. Objective 3. Verify 4. Predictive 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 1. ลักษณะของการศึกษาแบบวิทยาศาสตร์คือการเน้นภาวะวิสัย (Objective) โดยความรูต้ ้องสามารถ
สังเกตได้อย่างมีระบบสามารถทำได้มีการแยกค่านิยมออกจากสิ่งที่ศึกษา (Value Free) และมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อ
เป็นการพิสูจน์ (Verify) การอธิบาย (Explanation) และการทำนาย (Predictive)
➢ ตั้งแต่ข้อ 56. – 60 จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ไปตอบในแต่ละข้อโดยให้มีความสัมพันธ์กับโจทย์คำถามมากที่สุด
1. Experimental Research 2. Pure Research 3. Analytical Research
4. Documentary Research 5. Quantitative Research
56. บางครั้งการวิจัยที่มีไว้เพื่อตอบคำถาม ไม่ได้มีไว้เพื่อการพัฒนาต่อยอดหรือใช้ในเชิงพาณิชย์เสมอไป
ตอบ 2. การวิจัยบริสุทธิ์ (Pure Research) เป็นการวิจัยที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มพูนความรู้ในทางวิชาการ
ซึ่งพบว่าบางครั้งการวิจัยก็มีไว้เพื่อตอบคำถามไม่ได้มีไว้เพื่อการพัฒนาต่อยอดหรือใช้ในเชิงพาณิชย์เสมอไป
57. เป็นการวิจัยที่แทบจะไม่ค่อยได้นำมาใช้ในทางรัฐศาสตร์
ตอบ 1. การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental (Research) เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยจะทำการควบคุม
สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เพื่อหาตัวแปรหรือปัจจัยตั้งต้นและเพื่อดูความเชื่อมโยงระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ซึ่งวิธีการวิจัยใน
ลักษณะนี้แทบจะไม่ค่อยได้นำมาใช้ในทางรัฐศาสตร์ แต่มักจะถูกนำไปใช้มากในทางศึกษาศาสตร์
58. ใช้เครื่องมือทางสถิติมาศึกษาปรากฏการณ์ทางการเมือง
ตอบ 5. การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็นข้อมูลที่วัดได้เป็นตัวเลขและหา
ความสัมพันธ์ระหว่างค่าตัวแปรนั้น ๆ โดยใช้เครื่องมาศึกษาปรากฏการณ์ เช่นระดับรายได้ ระดับการศึกษา เป็นต้น
59. การศึกษาคำปราศรัยของนายกรัฐมนตรีผ่านคลิป YouTube ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557-2560 วิธีการดังกล่าวเป็น
การวิจัยผ่านวิธีการใด
ตอบ 4. การวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) เป็นการวิจัยแบบหนึ่งที่ใช้ข้อมูลหลักมาจาก
เอกสารสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ หรือสื่อข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต เช่น หนังสือพิมพ์ เอกสารราชการ หนังสือ ตำรา คลิป
YouTube เป็นต้น
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 78
............................................................................................................................................................................................
60. เป็นการวิจัยที่มุ่งอธิบายว่าทำไมปรากฏการณ์ทางการเมืองจึงเกิดขึ้นมีที่มาอย่างไร
ตอบ 3. การวิจัยเชิงวิเคราะห์ (Analytical Research) เป็นการวิจัยที่จะวิเคราะห์ความเกี่ยวกันระหว่าง
ตัวแปรต่าง ๆ ตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปว่าส่งผลอย่างไรกันกล่าวคือการวิจัยนี้จะมุ่งอธิบายว่าทำไมปรากฏการณ์ทางการเมือง
หนึ่ง ๆ ถึงเกิดขึ้นมีที่มาอย่างไรและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น
➢ ตั้งแต่ข้อ 61. – 66 จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ไปตอบในแต่ละข้อโดยให้มีความสัมพันธ์กับโจทย์คำถามมากที่สุด
1. Review Literature 2. Designing Research 3. Data Analysis
4. Collecting Data 5. Hypothesis
61. ผู้วิจัยจำเป็นจะต้องคาดเดาคำตอบล่วงหน้าเพื่อเป็นแนวทางหรือเป็นการตีกรอบในการศึกษา
ตอบ 5. การตั้งสมมุติฐาน (Hypothesis) เป็นการคาดเดาคำตอบไว้ล่วงหน้าก่อนลงมือค้นหาคำตอบ ทั้งนี้
เพื่อเป็นแนวทางหรือเป็นการตีกรอบในการศึกษาซึ่งคำตอบล่วงหน้าหรือสมมุติฐานนี้อาจจะผิดหรือถูกก็ได้
ตัวอย่างเช่น นักวิจัยคาดว่าการถ่ายท้องอย่างรุนแรงของชาวเมืองลอนดอนในประเทศอังกฤษน่าจะมาจากการบริโภค
น้ำไม่สะอาด เป็นต้น
62. เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยจะต้องบันทึกข้อมูลที่ได้รับและใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลให้เป็นระบบ
ตอบ 4 การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collecting Data) เมื่อได้ออกแบบการวิจัยเรียบร้อยแล้วและโครงร่าง
ได้รับการอนุมัติผู้วิจัยก็จะทำตามสิ่งที่ได้ออกแบบไว้โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่จะนำมาวิเคราะห์เพื่อหา
คำตอบซึ่งผู้วิจัยจะต้องบันทึกข้อมูลที่ได้รับและใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลให้เป็นระบบเพื่อให้ง่ายเมื่อจะต้องนำมา
ประมวลผลหรือวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาคำตอบ
63. ก่อนการลงมือค้นหาคำตอบ นักวิจัยคาดว่าการถ่ายท้องอย่างรุนแรงของชาวเมืองลอนดอนในประเทศอังกฤษ
น่าจะมาจากการบริโภคน้ำไม่สะอาด
ตอบ 4. ดุคำอธิบายข้อ 61 ประกอบ
64. เมื่อทำการเก็บข้อมูลมาอย่างเพียงพอจนคิดว่าครบถ้วนแล้วผู้วิจัยก็จะนำข้อมูลที่ได้มาหาความสัมพันธ์ ระหว่าง
กันว่า ในข้อมูลที่นักวิจัยได้อะไรคือสาเหตุของการเกิดปรากฏการณ์
ตอบ 3. การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) เมื่อทำการเก็บข้อมูลมาอย่างเพียงพอจนคิดว่าครบถ้วนแล้ว
ผู้วิจัยก็จะนำข้อมูลที่ได้มาหาความสัมพันธ์ระหว่างกันว่าในข้อมูลที่นักวิจัยได้อะไรคือสาเหตุของการเกิด
ปรากฏการณ์หรือในทางปริมาณก็อาจจะนำข้อมูลที่ได้มาจัดประเภทว่าอะไรเป็นตัวแปรตั้งต้นและอะไรเป็นตัว
แปรตาม
65. การพิจารณาว่างานวิจัยในอดีตที่เกี่ยวข้องกับงานที่ตัวเองสงสัยนั้นในช่วงเวลาก่อนหน้ามีใครเคยศึกษาไว้บ้าง
ตอบ 1. การทบทวนวรรณกรรม (Review Literature) เป็นการศึกษาถึงงานวิจัยอื่น ๆ ที่เคยทำมาในอดีต
ว่าเคยมีการศึกษาเรื่องที่เราสงสัยไว้แล้วหรือไม่เพราะบางครั้งในอดีตอาจจะมีคนที่สงสัยในเรื่องหนึ่ง ๆ
เช่นเดียวกับเรา
66. เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยพิจารณาเพื่อเลือกเครื่องมือต่าง ๆ ที่จะนำไปเก็บข้อมูล
ตอบ 2 การออกแบบการวิจัย (Designing Research) เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยพิจารณาเพื่อเลือกวิธีการใน
การที่จะเก็บข้อมูลหรือเลือกเครื่องมือต่าง ๆ ที่จะนำไปเก็บข้อมูล เช่น การใช้วิธีการสัมภาษณ์ การเก็บแบบสอบถาม
เป็นต้น
➢ ตั้งแต่ข้อ 67.- 69. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ไปตอบในแต่ละข้อโดยให้มีความสัมพันธ์กับโจทย์คำถามมากที่สุด
1. August Comte 2. Sir Isaac Newton 3. Vienna Circle
4. Johannes Kepler 5. Galileo Galilei
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 79
............................................................................................................................................................................................
67. The Stary Messenger เป็นหนังสือที่มีบทบาทอย่างมากต่อการเกิด Modern Science ซึ่งงานชิ้น
ดังกล่าวใครเป็นคนแต่ง
ตอบ 5. กาลิเลโอ กาลิเลอิ (Galileo Galilei) เป็นผู้แต่งหนังสือ The Starry Messenger ตีพิมพ์ในปี
ค.ศ. 1610 ซึ่งเป็นหนังสือที่มีบทบาทอย่างมากต่อการเกิดวิธีการแสวงหาความรู้แบบสมัยใหม่ (Modern
Science)
68.. ใครเป็นคนเขียน Mathematical Principles of Natural Philosophy ตีพิมพ์ ค.ศ. 1687 ที่งานดังกล่าว
เป็นการพยายามอธิบายว่าทำไมดวงดาวในจักรวาลจึงเคลื่อนที่ในรูปแบบเดิมเช่นเดียวกันกับการเดินของนาฬิกา
ที่มีความเที่ยงตรง
ตอบ 2. เซอร์ไอแซค นิวตัน (Sir Isaac Newton) เป็นผู้แต่งหนังสือ Mathematical Principles of
Natural Philosophy ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1687 ซึ่งเป็นการพยายามอธิบายว่าทำไมดวงดาวในจักรวาลจึงเคลื่อนที่
แบบเดิมเช่นเดียวกันกับการเดินของนาฬิกาที่มีความเที่ยงตรง
69. เป็นกลุ่มในศตวรรษที่ 20 ที่เชื่อมั่นในความเป็นหนึ่งเดียวของศาสตร์และปรัชญาความรู้แบบประจักษ์นิยม
(Empiricism or Phenomenalism) ในฐานะที่ประสาทสัมผัสเป็นจุดเริ่มต้นและที่มาของความรู้
ตอบ 3. กลุ่มนักวิชาการเวียนนา (Vienna Circle) เป็นกลุ่มนักคิดในยุคศตวรรษที่ 20 ที่เชื่อมั่นในความ
เป็นหนึ่งเดียวของศาสตร์และปรัชญาความรู้แบบประจักษ์นิยม (Empiricism or Phenomenalism) ในฐานะที่
ประสาทสัมผัสเป็นจุดเริ่มต้นและที่มาของความรู้
➢ ตั้งแต่ข้อ 70.-75. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ไปตอบในแต่ละข้อโดยให้มีความสัมพันธ์กับโจทย์คำถามมากที่สุด
1. Psychological Approach 2. System Approach / Functional Approach
3. Institutional Approach 4. Historical Approach
5. Rational Choice Approach
70. โครงสร้างทางการเมืองเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 6. ประกอบ
71. งานของ Herman Finer ผูเ้ ขียนงานเรื่อง The Theory and Practice of Modern Government
สามารถจัดเป็น Approach ใด
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 6. ประกอบ
72. "ได้รับอิทธิพลมาจากวิธีคิดในทางชีววิทยา (Biology) ที่มองสังคม หรือรัฐก็เหมือนร่างกายที่ประกอบไปด้วย
อวัยวะต่าง ๆ ทำงานสอดประสานกัน เมื่อใดก็ตามที่อวัยวะหนึ่งทำงานผิดพลาดร่างกายก็จะรวนไปทั้งหมด
เช่นเดียวกันกับสังคมอันประกอบไปด้วยกลไกทางสังคมต่าง ๆ ซึ่งจำเป็นต่อการรักษาระบบให้ทำงานต่อไปอย่าง
มีประสิทธิภาพได้” ข้อความดังกล่าวนี้เป็นสมมุติฐานของApproach ใด
ตอบ 2. สมมติฐานของแนวการวิเคราะห์เชิงระบบ(System Approach / Functional Approach)
เชื่อว่าในทุกสังคมนั้นมีลักษณะเป็นระบบที่ทำการรักษาตนเองให้อยู่รอดเสมอ ๆ โดยได้รับอิทธิพลมาจากวิธีคิดในทาง
ชีววิทยา (Biology) ที่มองสังคมหรือรัฐก็เหมือนร่างกายที่ประกอบไปด้วยอวัยวะต่าง ๆ ทำงานสอดประสานกัน
เมื่อใดก็ตามที่อวัยวะหนึ่งทำงานผิดพลาดร่างกายก็จะรวนไปทั้งหมดเช่นเดียวกันกับสังคมอันประกอบไปด้วยกลไกทาง
สังคมต่าง ๆ ซึ่งจำเป็นต่อการรักษาระบบให้ทำงานต่อไปอย่างมีประสิทธิภาพได้
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 80
............................................................................................................................................................................................
73. “ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันนั้นมีที่มาจากพัฒนาการที่คลี่คลายตามลำดับเหตุการณ์อันเชื่อมโยงมา
จากเหตุการณ์ที่สำคัญ ๆ ก่อนหน้านั้นด้วยเหตุนี้เองนักรัฐศาสตร์ที่ศึกษาปรากฏการณ์ทางการเมืองต่าง ๆ ตาม
ช่วงเวลาในอดีตหรือปัจจุบันนักรัฐศาสตร์ก็จำเป็นที่จะต้องย้อนกลับไปดูวิวัฒนาการของเหตุการณ์ก่อนหน้า
ในช่วงยาวแล้วพิจารณาดูว่าเหตุการณ์ไหนเป็นเหตุการณ์ตั้งต้นที่เป็นสาเหตุของเหตุการณ์ในปัจจุบัน” ข้อความ
ดังกล่าวนี้เป็นสมมุติฐานของ Approach ใด
ตอบ 4. สมมุติฐานของแนวการวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์ (Historical Approach) เชื่อว่าปรากฏการณ์
ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันนั้นมีที่มาจากพัฒนาการที่คลี่คลายตามลำดับเหตุการณ์อันเชื่อมโยงมาจากเหตุการณ์ที่
สำคัญ ๆ ก่อนหน้านั้น ด้วยเหตุนี้เองนักรัฐศาสตร์ที่ศึกษาปรากฏการณ์ทางการเมืองต่าง ๆ ตามช่วงเวลาในอดีตหรือ
ปัจจุบัน นักรัฐศาสตร์ก็จำเป็นที่จะต้องย้อนกลับไปดูวิวัฒนาการของเหตุการณ์ก่อนหน้าในช่วงยาวแล้วพิจารณาดูว่า
เหตุการณ์ไหนเป็นเหตุการณ์ตั้งต้นที่เป็นสาเหตุของเหตุการณ์ในปัจจุบัน
74. Anthony Downs ผู้เขียนงานเรื่อง An Economic Theory of Democracy, James M. Buchanan
และ Gordon Tullock เจ้าของงานเรื่อง The Calculus of Consent และ Mancur Olson เจ้าของ
ผลงานเรื่อง The logic Collective Action งานเหล่านี้เป็นตัวแบบการศึกษา Approach ใด
ตอบ 5. นักรัฐศาสตร์ในแนวการวิเคราะห์แบบการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล (Rational Approach หรือ
Rational Choice Approach) ได้แก่ 1. แอนโทนี ดาวน์ส (Anthony Downs) ผู้เขียนงานเรื่อง An
Economic Theory of Democracy 2. เจมส์ เอ็ม. บูแคนัน dames M. Buchanan) และกอร์ดอน
ทัลลอค (Gordon Tullock) ผู้เขียนงานเรื่อง The Calculus of Consent 3. แมนเศอร์ โอลสัน (Mancur
Olson) ผู้เขียนงานเรื่อง The logic of Collective Action เป็นต้น
75. งานเรื่อง Power and Personality ของ Harold Dwight Lasswell เป็นตัวอย่างการศึกษาใน
Approach ใด
ตอบ 1. แนวการวิเคราะห์เชิงจิตวิทยา (Psychological Approach) เชื่อว่าสาเหตุในการกระทำเรื่องใด
ๆ ของมนุษย์ทุกคนนั้นมีที่มาจากปัจจัยในด้านจิตวิทยาเป็นหลักซึ่งไม่เว้นแม้แต่พฤติกรรมทางการเมืองของคนในรัฐ
ด้วยนักรัฐศาสตร์ในแนวการวิเคราะห์เชิงจิตวิทยา ได้แก่ แฮโรลด์ ดไวท์ ลาสเวลล์ (Harold Dwight Lasswell)
ผู้เขียนงานเรื่อง Power and Personality และ Psychopathology and Politics เป็นต้น
76. ข้อใดต่อไปนี้หมายถึงการนำเสนอผลงานวิจัยด้วยวาจา
1. Speaking Proposal 2. Oral Presentation 3. Oral Proposal
4. Mouth Presentation 5. Chart Presentation
ตอบ 2. การนำเสนอผลงานวิจัยด้วยวาจา (Oral Presentation) เป็นวิธีการที่ได้รับความนิยมมากที่สุดใน
เชิงวิชาการ ซึ่งในทางปฏิบัติเมื่อผู้วิจัยที่มีรายชื่อในเวทีมีการนำเสนอด้วยวาจาเสร็จแล้ว ผลงานของผู้นำเสนอจะถูก
นำมาตีพิมพ์ในรายงานการประชุมฉบับสมบูรณ์ที่เรียกว่า “Proceedings” แต่หากไม่ได้ขึ้นเวทีนำเสนอก็จะถูกคัด
ออกและไม่ปรากฏอยู่ในรายงานการประชุมฉบับดังกล่าว
77. เมื่อมีการนำเสนอด้วยวาจาเสร็จแล้ว ผลงานวิจัยข้องผู้นำเสนอจะถูกนำมาตีพิมพ์ในรายงานการประชุมฉบับ
สมบูรณ์ รายงานการประชุมดังกล่าวเรียกว่าอะไร
1. Article 2. Research Proposal 3. Proceed
4. Proceedings 5. Progress Report
ตอบ 4. ดูคำอธิบายข้อ 76 ประกอบ
78.. การนำเสนอด้วยวาจา โดยทั่วไปแล้วผู้นำเสนอมักถูกกำหนดให้นำเสนอในช่วงระยะเวลาเท่าใด
1. 3-5 นาที 2. 15-20 นาที 3. 30-60 นาที
4. 60 นาทีขึ้นไป 5. ไม่มีข้อกำหนดที่ชัดเจนขึ้นอยู่กับผู้นำเสนอเป็นหลัก
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 81
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 2. การนำเสนอด้วยวาจา ผู้วิจัยจำเป็นต้องเตรียมสไลด์สำหรับผู้นำเสนอทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการ
ลำดับความคิดและเนื้อหาสำหรับผู้นำเสนอโดยทั่วไปแล้วผู้นำเสนอมักจะถูกกำหนดให้นำเสนอในช่วงระยะเวลาเพียง
15-20 นาทีเท่านั้น
79. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่หลักในการจัดทำสไลด์สำหรับการนำเสนอผลงานด้วยวาจา
1. การใช้ลูกเล่นให้มากที่สุดเพื่อดึงดูดผู้ชม 2. การกำหนดเนื้อหาที่ไม่แน่นจนเกินไป
3. จำนวนที่เหมาะสมกับเวลา 4. การคำนึงถึงลักษณะของเวทีและผู้เข้าฟัง
5. ทุกข้อข้างต้นมีความเหมาะสม
ตอบ 1. หลักการในการจัดทำสไลด์สำหรับการนำเสนอผลงานด้วยวาจา ได้แก่
1. การเลือกโครงร่างที่เหมาะสมกับผู้ที่เข้าร่วมประชุม 2. การใช้ลูกเล่นสไลด์อย่างเหมาะสม
3. การออกแบบสไลด์ให้มีการเหมาะสมกับช่วงเวลา 4. การคำนึงถึงลักษณะของเวทีและผู้เข้าฟัง เป็นต้น
80. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่การฝึกฝนของผู้วิจัยที่เหมาะสมในช่วงก่อนนำเสนอด้วยวาจา
1 การฝึกจับเวลาในการนำเสนอเพื่อนำเสนอได้ครบถ้วนตามเวลา
2 การฝึกฝนท่าทางในการนำเสนอเพื่อเพิ่มความราบรื่นในการนำเสนอ
3 การฝึกตอบคำถามผู้เข้าฟังเพื่อให้มีความพร้อมและตรงประเด็นมากที่สุด
4 การเตรียมตัวคาดเดาคำวิจารณ์จากผู้วิพากษ์เพื่อเตรียมตัวป้องกัน
5 การเตรียมตัวแนะนำด้านสถานที่และที่ตั้งต่าง ๆ ให้แก่ผู้เข้าฟัง
ตอบ 5. การฝึกฝนของผู้วิจัยที่เหมาะสมในช่วงก่อนนำเสนอด้วยวาจา ได้แก่
1. การฝึกจับเวลาในการนำเสนอเพื่อนำเสนอได้ครบถ้วนตามเวลา
2. การฝึกฝนทาทางในการนาเสนอเพื่อเพิ่มความราบรื่นในการนำเสนอ
3. การฝึกตอบคำถามผู้เข้าฟังเพื่อให้มีความพร้อมและตรงประเด็นมากที่สุด
4. การเตรียมตัวคาดเดาคำวิจารณ์จากผู้วิพากษ์เพื่อเตรียมตัวป้องกันเป็นต้น
81. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่องค์ประกอบของการนำเสนอด้วยโปสเตอร์
1. ชื่อเรื่อง 2. บทคัดย่อ 3. ผลการวิจัย
4. วิธีดำเนินการวิจัย 5. ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งถัดไป
ตอบ 5. องค์ประกอบของการนำเสนอด้วยโปสเตอร์ ประกอบด้วย 1. ชื่อเรื่อง 2. บทคัดย่อ
3. ผลการวิจัย 4. วิธีดำเนินการวิจัย 5. บทนำและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
➢ จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 82. – 85.
1. งานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ 2. งานวิจัยเชิงนโยบาย
3. งานวิจัยเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 4. งานวิจัยเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง

82. นางสาววีร์ยาพบว่า เธอมีข้อค้นพบและคำอธิบายใหม่เกี่ยวกับคำอธิบายบทบาทของ “นายหนังตะลุง” ซึง่


แตกต่างออกไปจากงานศึกษาที่มีผู้เคยศึกษาไว้แล้ว เธอจึงเขียนรายงานการวิจัยเพื่อนำเสนอคำอธิบายใหม่ของ
เธอในวงวิชาการ งานวิจัยชิ้นนี้เป็นงานวิจัยประเภทใด
ตอบ 1. งานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการเป็นงานวิจัยที่มีเป้าหมายเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ในเชิง
วิชาการ ซึ่งได้แก่ ฐานคิดใหม่, ทฤษฎีใหม่, วิธีการศึกษาแบบใหม่ หรือเครื่องมือในการศึกษาแบบใหม่ ตัวอย่าง
ของงานวิจัยนี้ เช่น ข้อค้นพบและคำอธิบายใหม่เดียวกันบทบาทของ “นายหนังตะลุง”, มโนทัศน์เรื่องนาคของชน
ชาติไท เป็นต้น
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 82
............................................................................................................................................................................................
83. คุณตาคำไผ่พบว่า ในจังหวัดสมุทรสงครามเป็นพื้นที่ที่มีปัญหาเรื่องแหล่งน้ำมาโดยตลอด ในช่วงหน้าแล้งน้ำมี
ปริมาณไม่พอต่อการบริโภค ในขณะที่หน้าฝนเกิดปรากฏการณ์น้ำท่วมมาโดยตลอด คุณตาคำไผ่จึงต้องการให้มี
การวางแผนแบบมีส่วนร่วมในท้องถิ่นเพื่อสร้างความมั่นคงด้านน้ำในจังหวัดสมุทรสงครามระหว่างภาครัฐ
ภาคเอกชนและภาคประชาชน โดยเขียนขึ้นมาเป็นวิจัยเพื่อเผยแพร่ งานวิจัยชิ้นนี้เป็นงานวิจัยประเภทใด
สมุทรสงคราม เป็นต้น
ตอบ 4. งานวิจัยเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชนเป็นงานวิจัยที่มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาในท้องถิ่นให้มีความเจริญ
อย่างเหมาะสม ซึ่งผลงานวิจัยที่ได้ออกมาจะนำไปสู่การแก้ไขปัญหาของชุมชน ปัญหาในท้องถิ่น และการเสริมสร้าง
พลังทางสังคมให้แก่ชุมชนต่างๆ ตัวอย่างของงานวิจัยนี้ เช่น การวางแผนแบบมีส่วนรวมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำใน
จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นต้น
84. นางโสภณมีสวนยางที่บ้านจำนวน 100 ไร่ แต่เธอพบว่าในช่วงที่ผ่านมายางพารามีราคาตกต่ำ เธอจึงต้องการเพิ่ม
มูลค่าของยางพารา ด้วยการศึกษายุทธวิธีการค้าแบบต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำจากบริษัทเครือเจริญโภค
ภัณฑ์ในที่สุดเธอได้เขียนรายงานการวิจัยออกมา งานวิจัยชิ้นนี้เป็นงานวิจัยประเภทใด
ตอบ 3. งานวิจัยเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เป็นงานวิจัยที่มีเป้าหมายเพื่อผลตอบแทนหรือการลงทุนเป็น
หลักโดยผู้วิจัยสามารถสำรวจความต้องการของภาคการผลิตต่าง ๆ เป็นรายสาขาเพื่อนำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่
อุตสาหกรรมต้นน้ำกลางน้ำและปลายน้ำตัวอย่างของงานวิจัยนี้ เช่น การเพิ่มมูลค่าของยางพาราด้วยการศึกษายุทธวิธี
การค้าแบบต้นน้ำกลางน้ำและปลายน้ำจากบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ เป็นต้น
85. เด็กชายลาบและเด็กชายลามี ได้ขึ้นรถไฟฟ้าเพื่อไปเรียนหนังสือทุกวัน พวกเขาพบว่ารถไฟฟ้ามักมีปัญหาใน
ช่วงเวลาเร่งด่วน (rush hour) ในขณะที่ช่วงเวลากลางวันมักไม่เกิดปัญหา ทัง้ สองจึงพูดคุยว่าหน่วยงานภาครัฐ
ที่เกี่ยวข้องควรเร่งส่งคณะผู้วิจัยมาศึกษาว่า ปัญหาของรถไฟฟ้าคืออะไรเพื่อนำไปสู่การประเมินผลกระทบและ
การผลักดันผลสัมฤทธิ์ของนโยบายสาธารณะ งานวิจัยดังกล่าวจัดเป็นงานวิจัยประเภทใด
ตอบ 2. งานวิจัยเชิงนโยบายเป็นงานวิจัยที่มีเป้าหมายเพื่อสนับสนุนข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ
เชิงนโยบายในด้านต่าง ๆ ของรัฐบาลตลอดจนการนำนโยบายไปปฏิบัติเพื่อนำไปสู่การประเมินผลกระทบและการ
ผลักดันผลสัมฤทธิ์ของนโยบายสาธารณะ(Public Policy) ตัวอย่างของงานวิจัยนี้เช่น แนวทางในการแก้ไขปัญหา
ของรถไฟฟ้าในช่วงเวลาเร่งด่วน, แนวทางในการพัฒนาพุน้ำร้อนเค็มคลองท่อมจังหวัดกระบี่อย่างยั่งยืนเป็นต้น
86. ข้อใดเรียงลำดับการนำเสนอบทคัดย่อ (Abstract) ได้อย่างเหมาะสม
1. ปัญหาของการวิจัย→ วัตถุประสงค์ → วิธีการวิจัย→ ผลการวิจัย
2. ผลการวิจัย→ วิธีการวิจยั → วัตถุประสงค์→ ปัญหาของการวิจัย
3. วิธีการวิจัย→ วัตถุประสงค์→ ผลการวิจัย→ ปัญหาของการวิจัย
4. วิธีการวิจัย→ วัตถุประสงค์ → ปัญหาของการวิจัย→ ผลการวิจัย 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 1 บทคัดย่อ (Abstract) ที่ดีควรประกอบไปด้วยเนื้อหา 3 ส่วนคือ
1. ปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย 2. วิธีการในการดำเนินการวิจัย
3. ผลของการวิจัย การค้นพบและข้อเสนอแนะ
จากตัวเลือกที่โจทย์ให้มาจะเห็นว่าการเรียงลำดับการนำเสนอบทคัดย่อที่เหมาะสมก็คือ
ปัญหาของการวิจัย→ วัตถุประสงค์→ วิธีการวิจัย → ผลการวิจัย
87. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับข้อควรระวังในการเขียนบทสรุปสำหรับผู้บริหาร
1. ไม่ควรเอาชื่อเรื่องมากล่าวซ้ำ 2. ไม่ระบุสิ่งที่ไม่ปรากฏในเนื้อเรื่อง
3. แสดงรายชื่อเอกสารอ้างอิงเพื่อให้ผู้บริหารสามารถค้นคว้าได้
4. แสดงรูปภาพและตารามเท่าที่จำเป็นได้ 5. มีความยาวระหว่าง 3 - 5 หน้ากระดาษ A4
ตอบ 3. ข้อควรระวังในการเขียนสรุปสำหรับผู้บริหาร คือ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 83
............................................................................................................................................................................................
1. ไม่ระบุสิ่งที่ไม่ปรากฏในเนื้อเรื่องหรือเอาชื่อเรื่องมากล่าวซ้ำ
2. ต้องไม่แสดงบัญชีรายชื่อเอกสารอ้างอิงในบทสรุปสำหรับผู้บริหาร
3. แสดงรูปภาพและตารามเท่าที่จำเป็นได้
4. มีความยาวระหว่าง 3-5 หน้ากระดาษ A4
88. คำว่า “ กิตติกรรมประกาศ” ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
1 Curriculum Vitae 2 Interim Report 3 Management
4 Knowledge 5 Acknowledgement
ตอบ 5. กิตติกรรมประกาศ เป็นหนึ่งในองค์ประกอบที่สำคัญของการเขียนรายงานการวิจัย งานวิจัยบางฉบับ
อาจเรียกส่วนนี้ว่าเป็น “ประกาศคุณูปการ” โดยใช้ภาษาอังกฤษคำว่า “Acknowledgement” ซึ่งผู้วิจัยส่วน
ใหญ่มักใช้พื้นที่ในส่วนนี้กล่าวขอบคุณผู้เชี่ยวชาญที่ให้คำแนะนำ ผู้ที่ให้ความช่วยเหลือ และชี้ให้เห็นถึงขอของ
หน่วยงานต้นสังกัดหรือผู้ให้ทุนวิจัย
89. ข้อใดคือตัวแสดงหลักที่ไม่จำเป็นต้องปรากฏอยู่ในกิตติกรรมประกาศ
1. ผู้เชี่ยวชาญที่ให้คำแนะนำ 2. ผู้ที่ให้การช่วยเหลือในการทำวิจัย
3. หน่วยงานต้อนสังกัด 4. ผู้ที่เป็นแรงบันดาลใจ 5. ผู้ให้ทุนวิจัย
ตอบ 4 ดูคำอธิบายข้อ 88 ประกอบ
90. คำว่า “ความเป็นเอกภาพ” ในการเขียนรายงานการวิจัยสัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด
1 การมีความคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกับผู้รู้
2 การมีความคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกับวรรณกรรมที่มีอยู่แล้ว
3 การเขียนบทสรุปที่น่าเชื่อถือได้ 4 การใช้เหตุผลของวิจัยเป็นใหญ่
5 การร้อยเรียงเรื่องราวส่วนต่างๆในงานวิจัยเข้าด้วยกัน
ตอบ 5. “ความเป็นเอกภาพ” ในการเขียนรายงานการวิจัย หมายถึง การที่ผู้วิจัยเขียนเนื้อหาของงานวิจัยให้
มีความสอดคล้องกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกันตลอด ตั้งแต่ส่วนนำของงานวิจัยไปจนกระทั่งถึงส่วนสรุปของงานวิจัย
ดังนั้น สิ่งที่ผู้วิจัยควรคำนึงก็ คือ การร้อยเรียงเรื่องราวส่วนต่าง ๆ ในงานวิจัยเข้าด้วยกันอย่างเป็นเอกภาพ
(Unity) นั่นเอง
91. การคัดลอกผลงานโดยไม่มีการอ้างอิงเรียกว่าอะไร
1. Plagiarism 2. Redundancy 3. Unity
4. Consistency 5. Reference
ตอบ 1 การคัดลอกผลงานโดยไม่มีการอ้างอิงหรือที่เรียกว่า Plagiarism เป็นสิ่งที่ผู้วิจัยหรือผู้อ่านที่จะนำ
วิจัยไปใช้ประโยชน์ต้องพึงระวังอย่างมาก เพราะถือว่าเป็นความผิดที่ร้ายแรงอย่างมากในวงวิชาการ ซึ่งในปัจจุบันการ
ตรวจสอบสามารถกระทำได้อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น เนื่องจากมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการตรวจสอบการ
คัดลอกผลงาน เช่น โปรแกรมอักขราวิสุทธิ์ เป็นต้น
92. ข้อใดต่อไปนี้เป็นชื่อโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับตรวจสอบการคัดลอกผลงาน
1. สยามสมาคม 2. สยามนุกูลกิจ 3. อักขราวิสุทธิ์
4. อักษรสาส์น 5. จินดามณี
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 91 ประกอบ
93. ข้อใดต่อไปนี้คือประโยชน์ของการเขียนรายงานการวิจัย
1 เพื่อให้ครบถ้วนสมบูรณ์ตามกระบวนการของการวิจัย
2 เพื่อป้องกันมิให้ผู้ใดมาทำวิจัยในหัวข้อใกล้เคียงกันอีก
3 เพื่อแสวงหาประโยชน์ทางเศรษฐกิจให้มากที่สุด
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 84
............................................................................................................................................................................................
4 เพื่อบอกเล่าให้ผู้อ่านทราบว่าปัญหานั้นได้มีผู้ศึกษาอยู่แล้ว 5 ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบ 4. ประโยชน์ของการเขียนรายงานการวิจัยคือ 1. เพื่อเผยแพรให้ผู้อื่นได้ทราบว่ามีนวัตกรรมหรือข้อ
ค้นพบใหม่ในวงวิชาการ 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการนำไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่าการทำวิจัยแล้วมีคนเพียงจำนวนเดียว
เท่านั้นที่ทราบในเนื้อหาของการวิจัยนั้น 3. เพื่อบอกเล่าให้ผู้อ่านทราบว่าปัญหานั้นได้มีผู้ศึกษาอยู่แล้ว 4. เพื่อแสดงให้
เห็นถึงความเป็นเจ้าของในลิขสิทธิ์ของวรรณกรรมหรือสิทธิบัตรในสิ่งประดิษฐ์นั้น
94. รายงานการวิจัยประเภทใดที่มีความละเอียดมากที่สุดและผู้วิจัยทุกคนต้องเขียนขึ้น
1. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย 2. บทความวิจัยตีพิมพ์ลงวารสาร
3. รายงานการวิจัยฉบับสั้น 4. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 5. ทุกประเภท
ตอบ 4. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เป็นรายงานที่มีความละเอียดมากที่สุดและผู้วิจัยทุกคนต้องเขียนขึ้น ซึง่
จะเริ่มตั้งแต่บทนำเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิจัยสรุปอภิปราย และข้อเสนอแนะ
รวมทั้งบรรณานุกรมและภาคผนวก
95. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่องค์ประกอบของ“ส่วนประกอบตอนท้าย”ในรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
1. Appendix 2. Acknowledgement 3. Curriculum Vitae
4. Bibliography 5. ทุกข้อเป็นส่วนประกอบตอนท้าย
ตอบ 2. “ส่วนประกอบตอนท้าย” มีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วนคือ
1. บรรณานุกรม (Bibliography) 2. ภาคผนวก (Appendix) 3.. ประวัติย่อผู้วิจัย (Curriculum Vitae)
96. ในรายงานความก้าวหน้าของการวิจัยคำว่า “Inception Report” หมายถึงอะไร
1. การรายงานผลการวิจัยขั้นต้น 2. การรายงานความก้าวหน้า
3. การรายงานผลการวิจัยขั้นสุดท้าย 4. การรายงานการวิจัยฉบับสั้น
5. การรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
ตอบ 1 การรายงานผลการวิจัยขั้นต้น (Inception Report) หมายถึง การสรุปผลการดำเนินงานหลังจาก
ที่ผู้วิจัยได้รับการอนุมัติหัวข้อวิจัยและโครงร่างนำเสนอการวิจัย โดยมีเป้าหมายเพื่อแสดงให้เห็นถึงแผนการ
ดำเนินงานในขั้นแรก ตลอดจนรายละเอียดของการปรับแก้รายละเอียดในส่วนต่างๆตามที่คณะกรรมการ
พิจารณาโครงร่างได้เสนอแนะไว้
97. จากข้อ 96. คำว่า “Inception Report” มีเป้าหมายเพื่ออะไร
1. เพื่อแสดงว่างานวิจัยอยู่ในขั้นตอนสุดท้ายแล้ว
2. เพื่อแสดงให้เห็นว่าขั้นตอนการทำวิจัยดำเนินไปแล้วกว่าร้อยละ 50 ของขั้นตอนทั้งหมด
3. เพื่อแสดงถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานวิจัยนั้น
4. เพื่อแสดงถึงแผนการดำเนินงานในขั้นแรก
5. เพื่อแสดงว่าผู้วิจัยเขียนรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เสร็จแล้ว
ตอบ 4. ดูคำอธิบายข้อ 96. ประกอบ
98. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่เป้าหมายของการเขียนบทนำของการวิจัย
1. เพื่อแสดงถึงวัตถุประสงค์ของการวิจัย 2. เพื่อแสดงถึงข้อจำกัดของการวิจัย
3. เพื่อแสดงถึงการอภิปรายผลของการวิจัย 4. เพื่อแสดงถึงที่มาและความสำคัญของปัญหา
5. เพื่อแสดงถึงประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ตอบ 3. เป้าหมายของการเขียนบทนำของการวิจัยก็คือ เพื่อแสดงถึงที่มาและความสำคัญของปัญหา
วัตถุประสงค์ของการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ขอบเขตของการวิจัย ข้อตกลงเบื้องต้น(ถ้ามี) และนิยาม
ศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 85
............................................................................................................................................................................................
99. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเป้าหมายของการเขียนระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology)
1. เพื่อแสดงให้เห็นถึงประชากรและกลุ่มตัวอย่างของการวิจัย
2. เพื่อบอกผู้อ่านว่างานวิจัยนั้นทำอย่างไร
3. เพื่อแสดงถึงการสร้างเครื่องมือและการตรวจสอบเครื่องมือ
4. เพื่อแสดงถึงวิธีการในการเก็บรวบรวมข้อมูล
5. เพื่อปรากฏในงานวิจัยเชิงปริมาณเท่านั้น
ตอบ 5. เป้าหมายของการเขียนระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) ก็คือ เพื่อบอกให้ผู้อ่านได้
ทราบว่างานวิจัยนั้นทำอย่างไรผลการวิจัยและข้อสรุปที่ได้มีคุณค่ามากน้อยเพียงใด ซึ่งจะปรากฏในงานวิจัยเชิง
ปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยแบบผสมนอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นถึงประชากรและกลุ่มตัวอย่างของการ
วิจัย พื้นที่ที่ใช้ในการวิจัย การสร้างเครื่องมือและการตรวจสอบเครื่องมือ วิธีการและขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล
รวมทั้งการประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูล
100. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่การสรุปผลการวิจัยที่เหมาะสม
1. สรุประเบียบวิธีวิจัยอย่างเป็นขั้นตอน
2. หลีกเลี่ยงการกล่าวถึงการนำไปวิจัยไปใช้ครั้งต่อไป
3. สรุปตรงตามข้อเท็จจริงของข้อมูล
4. ตอบคำถามวิจัยและวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่ตั้งไว้
5. หลีกเลี่ยงความลำเอียงและอคติส่วนบุคคล
ตอบ 2 การสรุปผลการวิจัยที่เหมาะสมมีดังนี้ 1. ต้องสรุประเบียบวิธีวิจัยอย่างเป็นขั้นตอน 2. ต้องเป็น
ประโยชน์ต่อการนำไปใช้และการวิจัยเพิ่มเติม 3. ต้องสรุปตรงตามข้อเท็จจริงของข้อมูล 4. ต้องตอบคำถามวิจัยปัญหา
วิจัยวัตถุประสงค์และสมมุติฐานของการวิจัยที่ตั้ง 5. หลีกเลี่ยงความลำเอียงและอคติส่วนบุคคล เป็นต้น


ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 86
............................................................................................................................................................................................
การสอบไล่ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2560
..................
➢ คำสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (มีข้อสอบทั้งหมด 100 ข้อ)
1. ข้อใดเป็นลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ 1. ต้องการทดสอบทฤษฎี
2. เน้นข้อมูลที่เป็นตัวเลข 3. มีทฤษฎีเป็นกรอบในการศึกษา
4. เป็นการเลือกเฉพาะกลุ่มที่ต้องการศึกษา 5. สรุปจากข้อเท็จจริงโดยใช้สถิติเป็นข้อพิสูจน์
ตอบ 4. การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีลักษณสำคัญดังนี้
1. เน้นที่การมองปรากฏการณ์ในภาพรวม 2. เป็นการศึกษาระยะยาวและเจาะลึก ซึ่งเป็นการเจาะจงเลือก
เฉพาะกลุ่มที่ต้องการศึกษาเป็นกรณีศึกษา โดยที่ไม่สามารถเป็นตัวแทนทั้งหมดได้ 3. ศึกษาปรากฏการณ์ใน
สภาพแวดล้อมธรรมชาติ 4. คำนึงถึงความเป็นมนุษย์ของผู้วิจัย
5. เป็นงานวิจัยที่ใช้การศึกษาผ่านเอกสารทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้นและชั้นรอง ฯลฯ
2 การกำหนดหัวเรื่องที่ต้องการศึกษา เกี่ยวข้อกับเรื่องใดมากที่สุด
1. ขอบข่ายและการตั้งปัญหาการวิจัย 2. การสำรวจและการทบทวนวรรณกรรม
3. การกำหนดสมมติฐานเพื่อการทดสอบ 4. การเลือกรูปแบบการวิจัย
5. การกำหนดประชากรเป้าหมายและการสุ่มตัวอย่าง
ตอบ 1. ขอบข่ายและการตั้งปัญหาการวิจัย เป็นการกำหนดหัวเรื่องที่ต้องการศึกษ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นใน
การศึกษา และจะมีผลต่อกระบวนการต่างๆต่อไป

➢ ตั้งแต่ข้อ 3. – 7. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้โดยให้มีความสัมพันธ์มากที่สุดกับโจทย์คำถาม
1. Inductive Reasoning 2. Deductive Reasoning 3. Positivism
4. Ani – Positivism 5. Rational Approach

3. การเริ่มต้นจากข้อเท็จจริงเฉพาะซึ่งได้จากประสบการณ์หรือเหตุการณ์ และนำไปสู่ข้อสรุปหรือกฎเกณฑ์เรียกว่า
การแสวงหาความรู้แบบใด
ตอบ 1. เหตุผลเชิงอุปมาน (Inductive Reasoning) เป็นวิธีที่เริ่มต้นจากข้อเท็จจริงเฉพาะซึ่งได้จาก
ประสบการณ์หรือเหตุการณ์ที่ศึกษา และนำไปสู่ข้อสรุปหรือกฎเกณฑ์ เป็นการหาส่วนย่อยไปสู่ส่วนใหญ่ เช่น
การวิจัยเชิงคุณภาพ
4. วิธีที่เริ่มจากหลักเกณฑ์ทั่วไปและนำไปทดสอบยืนยันด้วยการรวบรวมข้อเท็จจริง เรียกว่าอะไร
ตอบ 2. เหตุผลเชิงอนุมาน (Deductive Reasoning) เป็นวิธีที่เริ่มจากหลักเกณฑ์หรือข้อเท็จจริงทั่วไป
และนำไปทดสอบยืนยันด้วยการรวบรวมข้อเท็จจริงเป็นการหาส่วนใหญ่ไปสู่ส่วนย่อย เช่น การวิจัยเชิงปริมาณ
5. ความเชื่อที่ว่าปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติสามารถอธิบายด้วยกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ
และมนุษย์สามารถรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
ตอบ 3. ปฏิฐานนิยม (Positivism) ได้แก่แนวคิดที่ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ หรือการวิจัยเชิงปริมาณเป็น
เครื่องมือ โดยมีความเชื่อว่าปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติสามารถอธิบายด้วยกฎเกณฑ์ต่างๆที่มีอยู่ใน
ธรรมชาติ และมนุษย์สามารถรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5
6. แนวคิดที่เชื่อว่าในแต่ละสังคมมีลักษณะเฉพา ะการที่จะเข้าถึงได้นั้นจะต้องมีวิธีเฉพาะตัวในการเข้าไปศึกษา
ตอบ 4. กลุ่มคัดค้านปฏิฐานนิยม (Ani – Positivism) เชื่อว่าในแต่ละสังคมมีลักษณะเฉพาะ การที่จะ
เข้าถึงได้นั้นจะต้องมีวิธีเฉพาะตัวในการเข้าไปศึกษา ซึ่งแนวคิดนี้ได้แบ่งเป็นกลุ่มปรัชญาได้หลายแบบ เช่น อัต
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 87
............................................................................................................................................................................................
ภาวะนิยม (Existentialism) คือ แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการมีชีวิตอยู่ด้วยตัวของเราเองตามความเชื่อของแต่ละ
บุคคล เป็นต้น
7. เป็นวิธีการที่มองมนุษย์ว่าเป็นสัตว์ที่คิดคำนวณถึงผลประโยชน์อยู่ตลอดเวลา ดังนั้นมนุษย์จึงมีพฤติกรรมที่
คำนวณถึงทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับตัวเอง
ตอบ 5. แนวทางเชิงเหตุผล (Rational Approach) หรือแนวการวิเคราะห์แบบการตัดสินใจเลือกอย่างมี
เหตุผล (Rational Choice Approach) เป็นการตัดสินใจเลือกสิ่งที่ดีที่สุดจากทางเลือกต่างๆที่มีอยู่ โดยคำนึงว่าให้
ตนได้ประโยชน์เสมอหรือมากที่สุด ซึ่งเป็นวิธีการที่มองมนุษย์ว่าเป็นสัตว์ที่คิดคำนวณถึงผลประโยชน์อยู่ตลอดเวลา
ดังนั้นมนุษย์จึงมีพฤติกรรมที่คำนวณถึงทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับตนเอง

➢ ตั้งแต่ข้อ 8. – 12. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้โดยให้มีความสัมพันธ์มากที่สุดกับโจทย์คำถาม


1. Variable 2. Concept 3. Hypothesis
4. Attribute 5. Measurement
8. การเชื่อมโยงระหว่างกรอบแนวคิดกับสิ่งที่สามารถสังเกตเห็นได้ เกี่ยวข้องกับเรื่องใด
ตอบ 5. มาตรวัด (Measurement) คือ กระบวนการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่เป็นนามธรรมในการศึกษากับสิ่ง
ที่เป็นรูปธรรมที่สังเกตได้ หรือเป็นการเชื่อมโยงระหว่างกรอบแนวคิดกับสิ่งที่สามารถสังเกตเห็นได้
9. ความสัมพันธ์ของตัวแปรตามกรอบทฤษฎี เกี่ยวข้องกับเรื่องใด
ตอบ 3. สมมุติฐาน (Hypothesis) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามกรอบของทฤษฎีที่ผู้วิจัยคาดว่าจะ
เกิดขึ้น และรอการพิสูจน์ต่อไป ซึ่งเปรียบเสมือนเครื่องมือที่ช่วยกำหนดความคิดและมุมมองของนักวิจัยในการวิจัย
10. แนวคิดที่มีมากกว่า 1 ค่า เกี่ยวข้องกับเรื่องใด
ตอบ 1. ตัวแปร (Variable) หมายถึง แนวคิดที่มีมากกว่า 1 ค่า เช่น เพศ (แบ่งเป็นเพศชาย เพศหญิง),
อาชีพ (แบ่งเป็นรับราชการ ธุรกิจส่วนตัว รับจ้าง) เป็นต้น
11. ชุดของตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กันตามกรอบของทฤษฎี เกี่ยวข้องกับเรื่องใด
ตอบ 2. แนวคิด (Concept) หมายถึง ชุดของตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กันตามกรอบของทฤษฎี ภายใต้
แนวคิดหนึ่งๆ จะประกอบไปด้วยตัวแปรต่างๆตามแต่ละสาขาวิชา
12. คุณลักษณะที่แบ่งแยกประเภทของตัวแปร เกี่ยวข้องกับเรื่องใด
ตอบ 4. คุณค่าของตัวแปร (Attribute) หมายถึง คุณลักษณะที่แบ่งแยกประเภทของตัวแปร
➢ ตั้งแต่ข้อ 13. – 17. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้โดยให้มีความสัมพันธ์มากที่สุดกับโจทย์คำถาม
1. Main Variables 2. Component Variables 3. Intervening Variables
4. Antecedent Variables 5. Suppressor Variables
13. “เพศ อายุ รายได้ การศึกษา เป็นตัวแปรของแนวคิดเกี่ยวกับคุณสมบัติของบุคคล” จากข้อความดังกล่าวนี้ เพศ
อายุ รายได้ การศึกษา ถือเป็นตัวแปรอะไร
ตอบ 2. ตัวแปรองค์ประกอบ (Component Variables) คือ แนวคิดที่เป็นองค์ประกอบของตัวแปรหลัก
เช่น แนวคิดเกี่ยวกับคุณสมบัติของบุคคล จะมีตัวแปรเป็นตัวแปรองค์ประกอบได้แก่ เพศ อายุ รายได้ การศึกษา
เป็นต้น
14. แนวคิดที่เป็นหลักสำคัญในการศึกษา เป็นภาพรวมของตัวแปรที่ต้องการศึกษา หรือเป็นหมวดหมู่ของเรื่องที่
ศึกษา
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 88
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 1. ตัวแปรหลัก (Main Variables) คือ แนวคิดที่เป็นหลักสำคัญในการศึกษา เป็นภาพรวมของตัว
แปรที่ต้องการศึกษา หรือเป็นหมวดหมู่ที่ศึกษา ได้แก่ คุณสมบัติของบุคคล บรรยากาศองค์การ รูปแบบการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และคุณภาพชีวิต เป็นต้น
15. ตัวแปรประเภทหนึ่งที่จะอยู่ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม และตัวแปรประเภทนี้ผู้วิจัยมักจะไม่ปรารถนา
ให้เกิดขึ้น
ตอบ 3. ตัวแปรแทรกซ้อน (Intervening Variables) เป็นตัวแปรประเภทหนึ่งที่จะอยู่ระหว่างตัวแปร
อิสระและตัวแปรตาม และตัวแปรประเภทนี้ผู้วิจัยมักจะไม่ปรารถนาให้เกิดขึ้น
16. เป็นสาเหตุของตัวแปรอิสระที่จะทำให้เกิดตัวแปรตามและถ้าไม่มีตัวแปรดังกล่าวจะทำให้ไม่มีความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
ตอบ 4. ตัวแปรนำ (Antecedent Variables) เป็นสาเหตุของตัวแปรอิสระที่จะทำให้เกิดตัวแปรตาม และถ้า
ไม่มีตัวแปรนำจะทำให้ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
17. เป็นตัวแปรที่ทำให้ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ทั้งๆ ที่มีความสัมพันธ์ระหว่างตัว
แปรอิสระและตัวแปรตาม ถ้าไม่มีตัวแปรดังกล่าวจะทำให้พบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
ตอบ 5. ตัวแปรกด (Suppressor Variables) เป็นตัวแปรที่ทำให้ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
อิสระและตัวแปรตามทั้งๆ ที่มีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ถ้าไม่มีตัวแปรดังกล่าวจะทำให้พบ
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
➢ ตั้งแต่ข้อ 18. – 20. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้โดยให้มีความสัมพันธ์มากที่สุดกับโจทย์คำถาม
1. ความสัมพันธ์แบบอสมมาตร 2. ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง
3. ความสัมพันธ์เชิงสลับ 4. ความสัมพันธ์แบบก้าวกระโดด
5. ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล
18. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัว โดยที่ตัวแปรตัวหนึ่งเป็นตัวแปรสาเหตุ หรือตัวแปรอิสระและมีผลก่อให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงต่อตัวแปรตาม
ตอบ 5. ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัว โดยที่ตัวแปรตัวหนึ่งเป็น
ตัวแปรสาเหตุ หรือตัวแปรอิสระและมีผลก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อตัวแปรตาม
19. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่มีทิศทางไปในทางเดียวเท่านั้น คือมีตัวแปรหนึ่งเป็นสาเหตุหรือตัวแปรอิสระทำให้
เกิดตัวแปรอีกตัวหนึ่งซึ่งเป็นผลหรือตัวแปรตาม
ตอบ 1. ความสัมพันธ์แบบอสมมาตร หรือความสัมพันธ์ทางเดียว คือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่มีทิศทาง
ไปในทางเดียวเท่านั้น คือมีตัวแปรหนึ่งเป็นสาเหตุหรือตัวแปรอิสระ ทำให้เกิดตัวแปรอีกตัวหนึ่งซึ่งเป็นผลหรือตัวแปร
ตาม
20. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรซึง่ เมื่อตัวแปรตัวหนึ่งเปลี่ยนไปจะทำให้ตัวแปรอีกตัวหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วยใน
ลักษณะคงที่
ตอบ 2. ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง คือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรซึ่งเป็นตัวแปรหนึ่งเปลี่ยนไปจะทำให้ตัว
แปรอีกตัวหนึ่งเปลี่ยนไปจะด้วยในลักษณะคงที่
21. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่เทคนิคของสถิติเชิงพรรณนา
1. ตารางแจกแจงความถี่ 2. แนวโน้มสู่ส่วนกลาง 3. การวัดการกระจาย
4. การประมาณค่า 5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 4. เทคนิคของสถิติเชิงพรรณนา มีดังนี้ 1. การแจกแจงความถี่ 2. แนวโน้มสู่ส่วนกลาง
3. การวัดการกระจาย
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 89
............................................................................................................................................................................................
22. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่คุณสมบัติของ T-Distribution
1. โค้งมีลักษณะเป็นอาสมมาตร 2. ค่าเฉลี่ยและมัยฐานของ T เป็นศูนย์
3. ค่าเฉลี่ยมัธยฐานและฐานนิยมอยู่ที่จุดเดียวกัน 4. ความแปรปรวนเท่ากับ n/n-2
5. ถ้า n มีค่ามากๆการกระจายจะมีลักษณะเป็นโค้งปกติ
ตอบ 1. คุณสมบัติของ T-Distribution มีดังนี้
1. มีโค้งลักษณะเป็นสมมาตร 2. ค่าเฉลี่ยและมัธยฐานของ T เป็น 0 (ศูนย์)
3. ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน และฐานนิยม อยู่ที่จุดเดียวกัน 4. ความแปรปรวนเท่ากับ n/n-2
5. ถ้า n มีค่ามากๆการกระจายจะมีลักษณะเป็นโค้งปกติ

➢ ตั้งแต่ข้อ 23. - 25. จงใช้ข้อมูลดังต่อไปนี้ตอบคำถามในตาราง


1. ที - เทส (T-Test)
2. การวิเคราะห์ความแปรปรวนระดับสูงขึ้น (n-way ANOVA)
3. การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (ANCOVA)
4. การวิเคราะห์ความถดถอยแบบพหู (Multiple Regression Analysis)
5. ถูกทุกข้อ
จำนวนและระดับการวัดของตัวแปรอิสระ จำนวนและระดับการวัดของตัวแปรตาม สถิติที่เหมาะสม
1 ตัวแปรระดับจัดกลุ่มไม่เกิน 2 กลุ่ม 1 ตัวแปรระดับอันตรภาคหรืออัตราส่วน ข้อ 23.
2 ตัวแปรหรือมากกว่าในระดับอัตราภาคหรือ อัตราส่วน 1 ตัวแปรระดับอันตรภาคหรืออัตราส่วน ข้อ 24.
2 ตัวแปรหรือมากกว่าในระดับจัดกลุ่ม 1 ตัวแปรระดับอันตรภาคหรืออัตราส่วน ข้อ 25.
23. ตอบ 1. ตารางแสดงจำนวนและระดับการวัดของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม กับเทคนิคทางสถิติพารา
เมตริก มีดังนี้
จำนวนและระดับการวัดของตัวแปรอิสระ จำนวนและระดับการวัดของตัวแปรตาม สถิติที่เหมาะสม
ที-เทส (T-Test)
1 ตัวแปรระดับจัดกลุ่มไม่เกิน 2 กลุ่ม 1 ตัวแปรระดับอันตรภาคหรืออัตราส่วน
ซี-เทส (Z-Test)
การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม
2 ตัวแปรหรือมากกว่าในระดับอัตราภาคหรือ อัตราส่วน 1 ตัวแปรระดับอันตรภาคหรืออัตราส่วน
(ANCOVA)
การวิเคราะห์ ความแปรปรวน
2 ตัวแปรหรือมากกว่าในระดับจัดกลุ่ม 1 ตัวแปรระดับอันตรภาคหรืออัตราส่วน ระดับสูงขึ้น (n-way
ANOVA)

24. ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 23. ประกอบ


25. ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 23. ประกอบ
26. ข้อใดต่อไปนี้เกี่ยวข้องกับการหากลุ่มตัวอย่าง (n) จากจำนวนประชากรทั้งหมด (N)
1. Chi-Square 2. Cochran Q Test 3. Taro Yamane
4. Scheffe’s Method 5. LSD
ตอบ 3. ขนาดของกลุ่มตัวอย่างหรือขนาดของตัวอย่าง () หมายถึง จำนวนกลุ่มตัวอย่างหรือจำนวนตัวอย่างที่
นักวิจัยจะต้องใช้ในการเก็บข้อมูล โดยนักวิจัยสามารถกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างได้ 3 วิธีดังนี้
1. การพิจารณาจากขนาดของประชากรการ 2. ใช้สูตรคำนวณ เช่น สูตรของทาโร ยามาเน่ (Taro
Yamane) สูตรของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcue and Morgan) เป็นต้น
3. การใช้ตาราง เช่น ตารางของทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) ตารางของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcue
and Morgan) เป็นต้น
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 90
............................................................................................................................................................................................
27. ข้อใดต่อไปนี้เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น
1. การเลือกตัวอย่างแบบกำหนดโควต้า (Quota Sampling)
2. การเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling)
3. เลือกตัวอย่างโดยใช้ผู้เชี่ยววชาญระบุ (Expert-Choice Sampling)
4. การเลือกตัวอย่างแบบลูกโซ่ (Snowball Sampling)
5. การเลือกตัวอย่างแบบแยกประเภทสุ่ม (Stratified Sampling)
ตอบ 5. การสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็นมีดังนี้
1. การเลือกตัวอย่างแบบง่าย 2. การเลือกตัวอย่างแบบมีระบบ
3. การเลือกตัวอย่างแบบแยกประเภทสุ่ม 4. การเลือกตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม
5. การเลือกตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มหลายขั้นตอน
➢ ตั้งแต่ข้อ 28. – 30. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้โดยให้มีความสัมพันธ์มากที่สุดกับโจทย์คำถาม
1. Nominal Scale 2. Ordinal Scale 3. Interval Scale
4. Ratio Scale 5. ไม่สามารถระบุได้
28. เพศและภูมิลำเนา จัดเป็นระดับการวัดประเภทใด
ตอบ 1. ตารางแสดงการเปรียบเทียบคุณสมบัติมาตรวัด (Scale) ตัวแปร/ระดับของตัวแปร (Variable
Level)
คุณสมบัติ
มาตรวัด (Scale) การวัดและ
ประเภท การจัด การจัด ศูนย์แท้หรือ ตัวอย่าง
ระดับของ ตัวแปร การ
ข้อมูล กลุ่ม อันดับ ศูนย์สัมบูรณ์
คำนวณ
Nominal คุณภาพ  × × × เพศ ภูมิภาค ประเทศ สี แนวคิด อาชีพ
ระดับการศึกษา ภาคการศึกษา เกรด ตำแหน่ง
ชั้นยศ ภาวะผู้นำ เทคนิค/วิธีการ ความคิดเห็น
Ordinal คุณภาพ   × ×
ความพึงพอใจ ทัศนคติ ประสิทธิภาพในการ
ทำงาน
อุณหภูมิ คะแนนนิยมพรรคการเมือง ดัชนีวัดการ
Interval ปริมาณ    ×
คอร์รัปชั่น
อายุ น้ำหนัก ส่วนสูง รายได้ เงินเดือน จำนวน
Ratio ปริมาณ     คน/ปริมาณ ประสบการณ์(ปี) คะแนนเสียง
เลือกตั้ง

หมายเหตุ  มาตรวัดและตัวแปรระดับ Interval จะมีค่าศูนย์ไม่สมบูรณ์หรือศูนย์สมมุติ (Arbitrary Zero)


ข้อสังเกต มาตรวัดระดับสูงนั้นสามารถลดระดับลงมาแบบต่ำได้ แต่มาตรวัดระดับต่ำจะใช้ยกระดับให้สูงขึ้นจะทำไม่ได้
29. ระดับอุณภูมิ จัดเป็นระดับการวัดประเภทใด
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 28. ประกอบ
30. น้ำหนักและความสูง จัดเป็นระดับวัดประเภทใด
ตอบ 4. ดูคำอธิบายข้อ 28. ประกอบ
31. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่องค์ประกอบที่สำคัญของหลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์
1. การเขียนรายงานการวิจัย 2. การอ้างอิงตามหลักวิชาการ
3. การเผยแพร่และนำเสนอผลงาน 4. การออกแบบการวิจัย
5. การควบคุมตัวแปรในลักษณะปิด
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 91
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 5. หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์มีองค์ประกอบที่สำคัญดังนี้
1. การเขียนรายงานการวิจัย 2. การอ้างอิงตามหลักวิชาการ
3. การเผยแพร่และนำเสนอผลงาน 4. การออกแบบการวิจัย ฯลฯ
32. ข้อใดต่อไปนี้ให้นิยามเกี่ยวกับ “วิจัย” (Research) ได้อย่างเหมาะสมที่สุด
1. การแก้ไขปัญหาต่างๆ ด้วยการใช้สถิติย้อนหลัง 2. การแก้ไขปัญหาทางสังคมด้วยการใช้ความรู้สึก
3. การค้นหาคำตอบด้วยการสนับสนุนการมีส่วนร่วม
4. การค้นหาคำตอบแบบซ้ำๆ ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
5. ไม่มีข้อถูก
ตอบ 4. การวิจัย (Research) คือ การศึกษาค้นคว้าวิเคราะห์ ข้อมูลต่างๆ เพื่อให้พบข้อเท็จจริง หรือ
หลักการไปใช้ในการตั้งกฎ ทฤษฎี หรือแนวทางในการปฏิบัติ หรือการค้นหาคำตอบในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างเป็นระบบ
ซึ่งเป็นกระบวนการในการแสวงหาความรู้โดยอยู่บนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ และมีการค้นหาคำตอบแบบซ้ำๆ ด้วย
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
33. การแสดงความเป็นเจ้าของในรายงานการวิจัยเกี่ยวข้องกับข้อใดต่อไปนี้
1. ลิขสิทธิ์ 2. เครื่องหมายการค้า 3. นวัตกรรม
4. การปฏิบัติการวิจัย 5. สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
ตอบ 1. การเขียนรายงานการวิจัย เป็นการแสดงให้เห็นถึงความเป็นเจ้าของในลิขสิทธิ์ของวรรณกรรม หรือ
สิทธิบัตรในสิ่งประดิษฐ์นั้นๆ ได้
34. คำว่างานวิจัย “ขึ้นหิ้ง” หมายถึงข้อใดต่อไปนี้
1. งานวิจัยที่ได้รับรางวัลจากสถาบันวิจัยระดับชาติ 2. งานวิจัยที่ได้รับการยกย่องจากสังคม
3. งานวิจัยที่ไม่สามารถนำปฏิบัติได้จริง 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและความเชื่อ
5. งานวิจัยที่ผู้วิจัยปกปิดไว้เนื่องจากมีประเด็นละเอียดอ่อนต่อสังคม
ตอบ 3. งานวิจัยที่ทำเสร็จสิ้นโครงการแบล้ว หรือไม่มีการนำเสนอและเผยแพร่ให้ทราบโดยทั่วถึงกันนั้น
เรียกว่า “งานวิจัยขึ้นหิ้ง” หมายถึง ผลงานวิจัยที่ไม่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง หรือมิได้ก่อให้เกิดประโยชน์ในวง
วิชาการแต่อย่างใด
35. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ประเด็นหลักที่ต้องคำนึงถึงในการเขียนรายงานการวิจัย
1. สิ่งที่ต้องการศึกษา 2. ผลตอบแทนการจากการวิจัย 3. ผลการศึกษา
4. วิธีในการศึกษา 5. ข้อเสนอแนะจากการวิจัย
ตอบ 2. การเขียนรายงานการวิจัย มีประเด็นหลักที่ต้องคำนึงถึงดังนี้ 1. เพื่อแสดงว่างานวิจัยนี้ต้องการ
ศึกษาอะไร 2. เพื่อแสดงวิธีการศึกษางานของงานวิจัย 3. เพื่อแสดงผลการศึกษาของงานวิจัย
4. เพื่อแสดงข้อเสนอแนะและการศึกษาต่อยอด

➢ ตั้งแต่ข้อ 36. – 42. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้โดยให้มีความสัมพันธ์มากที่สุดกับโจทย์คำถาม


1. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2. รายงานการวิจัยฉบับสั้น
3. บทความการวิจัยลงพิมพ์ในวารสาร 4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย 5. ถูกทุกข้อ

36. รายงานการวิจัยประเภทใดที่มักมีจำนวนหน้ามากที่สุด
ตอบ 1. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เป็นรายงานโดยละเอียดมีรูปแบบเคร่งครัด ส่วนใหญ่ใช้คำศัพท์ทาง
วิชาการ เป็นการนำเสนอที่ผ่านขั้นตอนต่างๆจนพิมพ์ออกมาเป็นรูปเล่มสมบูรณ์แบบ โดยประกอบไปด้วย
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 92
............................................................................................................................................................................................
ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนเนื้อเรื่อง และส่วนประกอบตอนท้าย ซึ่งเป็นรายงานที่มีความหนามากที่สุดในบรรดาการ
เขียนรายงานทั้งหมด มักจะปรากฏประวัติผู้วิจัยและภาคผนวกโดยละเอียด
37. รายงานการวิจัยประเภทใดมักจะเขียนขึ้นในช่วงที่การวิจัยยังไม่เสร็จสิ้น
ตอบ 4. รายงานความก้าวหน้าของการวิจัย เป็นการรายงานการวิจัยที่ผู้วิจัยมักมีเป้าหมายเพื่อรายงาน
ผลการวิจัยแก่ผู้ที่ให้ทุน หรือหน่วยงานต้นสังกัดเป็นระยะๆ มักเขียนขึ้นในช่วงที่งานวิจัยยังไม่เสร็จสิ้น ซึ่งอาจมี
เฉพาะส่วนที่ว่าด้วยหลักการ เหตุผลและวิธีการ และอาจจะยังไม่มีผลการวิจัยก็ได้ หรือมีผลการวิจัยแล้วแต่เป็น
ผลการวิจัยเบื้องต้น
38. รายงานการวิจัยประเภทใดที่มักกำหนดให้มีความยาวประมาณ 50 หน้า
ตอบ 2. รายงานการวิจัยฉบับสั้น เป็นรายงานการวิจัยที่มีรายละเอียดย่อส่วนลงมาจากรายงานการวิจัยฉบับ
สมบูรณ์ โดยมีความยาวประมาณ 50 หน้า
39. รายงานการวิจัยประเภทใดมีความเกี่ยวข้องกับหน่วยงานที่ชื่อ TCI
ตอบ 3. บทความการวิจัยลงพิมพ์ในวารสาร เป็นรายงานการวิจัยที่มักมีความยาวอยู่ระหว่าง 15 - 25 หน้า
ซึ่งวารสารทางวิชาการฉบับต่างๆ ได้รับการจัดประเภทโดยหน่วยงานศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai -
Journal Citation Index : TCI)
40. รายงานการวิจัยประเภทใดที่มักกำหนดให้มีความยาวประมาณ 15 ถึง 25 หน้า
ตอบ 3. ดูคำอธิบาย 39. ประกอบ
41. รายงานการวิจัยประเภทใดที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาให้ทุนวิจัยงวดต่อไป
ตอบ 4. ดูคำอธิบาย 37. ประกอบ
42. รายงานการวิจัยประเภทใดที่มักปรากฏประวัติผู้วิจัยและภาคผนวกโดยละเอียด
ตอบ 1. ดูคำอธิบาย 36. ประกอบ
43. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถือว่าเป็นเนื้อหาส่วนประกอบตอนต้นของรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
1. ปกหลัก 2. บทคัดย่อ 3. หน้าอนุมัติ
4. กิตติกรรมประกาศ 5. ระเบียบวิธีวิจัย
ตอบ 5. ส่วนประกอบตอนต้นของรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์มีดังนี้ 1. ปกหลัก 2. หน้าปกใน
3. หน้าอนุมัติ 4. บทคัดย่อภาษาไทย 5. บทคัดย่อภาษาอังกฤษ 6. หน้าประกาศคุณูปการหรือ
กิตติกรรมประกาศ 7. สารบัญ 8. สารบัญตาราง (ถ้ามี) 9. สารบัญภาพ (ถ้ามี)
10. คำอธิบายสัญลักษณ์และคำย่อที่ใช้ในการวิจัย
44. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ภารกิจของ “ศูนย์ดัชนีอ้างอิงวารสารไทย”
1. พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้นผลงานวิจัยและผลงานวิชาการ
2. ให้ทุนวิจัยเพื่อจัดทำวารสารวิชาการ
3. เผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อยกระดับผลงานวิชาการของไทยในระดับนานาชาติ
4. พัฒนาคุณภาพของวารสารวิชาการในประเทศไทย
5. คำนวณและรายงานคำ Journal Impact Factors ในประเทศไทย
ตอบ 2. ภารกิจของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยมีดังนี้
1. พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้นผลงานวิจัยและผลงานวิชาการ
2. ทำหน้าที่คำนวณและรายงานคำ Journal Impact Factors ของวารสารวิชาการไทย
3. พัฒนาคุณภาพของวารสารวิชาการในประเทศไทย
4. ทำการวิจัยและเผยแพร่ผลงานวิจัย เพื่อนำไปสู่การยกระดับผลงานวิจัยไทยในเวทีนานาชาติ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 93
............................................................................................................................................................................................
5. ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ Journal Impact Factors, H-Index และคุณภาพงานวิจัยในระดับ
สากล
45. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบที่สำคัญของการเขียนบทความวิจัยตีพิมพ์ลงวารสาร
1. ชื่อเรื่อง 2. บทคัดย่อ 3. ระเบียบวิธีวิจัย
4. ผลการวิจัย 5. ภาคผนวก
ตอบ 5. องค์ประกอบที่สำคัญของการเขียนบทความวิจัยตีพิมพ์ลงวารสารมีดังนี้
1. ชื่อเรื่อง 2. ชื่อผู้วิจัยและหน่วยงาน 3. บทคัดย่อ
4. ความนำ 5. ระเบียบวิธีวิจัย 6. ผลและการอธิบายผล
7. สรุปและข้อเสนอแนะ 8. เอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม

 ตั้งแต่ข้อ 46. – 55. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้โดยให้มีความสัมพันธ์มากที่สุดกับโจทย์คำถาม


1. บทที่ 1 บทนำ 2. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3. บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย 4. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
5. บทที่ 5 บทสรุป
46. หากต้องการทราบถึงที่มาและความสำคัญของการวิจัย นักศึกษาสามารถหาได้จากบทใด
ตอบ 1. การเขียนรายงานการวิจัยในส่วนเนื้อเรื่องโดยทั่วไปประกอบด้วยเนื้อหา 5 บทดังนี้
บทที่ 1 บทนำ ประกอบด้วย ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์สมมุติฐานในการ
วิจัย ขอบเขต ข้อจำกัด ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับและนิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย
บทที่ 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี วรรณกรรมและการวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีการ/ระเบียบวิธี (Methodology) ที่ใช้ในการวิจัยหรือระเบียบวิจัย ประกอบด้วย
ประเภทการวิจัย ประชากร (Population) กลุ่มตัวอย่าง ขนาดกลุ่มตัวอย่าง วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล และวิธีการรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 4 ผลการวิจัยหรือผลการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 5 สรุปอภิปรายผลการวิจัย และข้อเสนอแนะ
47. เนื้อหาในบทใดที่แสดให้เห็นผลการศึกษาของนักวิชาการคนอื่นๆ ที่ศึกษาหัวข้อคล้ายกับของเด็กชายแจ๊สและ
เด็กชายแมวน้ำ
ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 46. ประกอบ
48. การสำรวจและแนวคิดของผู้รู้ปรากฏอยู่ในบทใดของรายงานการวิจัย
ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 46. ประกอบ
49. การอภิปรายผลและการวิจัยกับงานวิจัยที่เคยมีผู้ศึกษาไปแล้ว ควรปรากฏอยู่ในบทใด
ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 46. ประกอบ

50. ผลการศึกษาที่ได้จากการสัมภาษณ์และแจกแบบสอบถามควรปรากฏอยู่ในบทใด
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 46. ประกอบ
51. หากเด็กชายแจ็คและเด็กชายแมวน้ำมีข้อจำกัดในการวิจัยที่อาจส่งผลให้เกิดการวิจัยไม่ได้ผลการศึกษาตามที่
ต้องการ ทั้งสองควรระบุข้อจำกัดดังกล่าวไว้ในบทใด
ตอบ 1. ดูคำอธิบายข้อ 46. ประกอบ
52. เนื้อหาในบทใดที่แสดงให้เห็นถึงเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลวิจัย
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 46. ประกอบ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 94
............................................................................................................................................................................................
53. หากเด็กชายแจ็คและเด็กชายแมวน้ำออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ และต้องการแสดงสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูลทั้งสองควรแสดงสถิติดังกล่าวในบทใด
ตอบ 4. ดูคำอธิบายข้อ 46. ประกอบ
54. เนื้อหาในบทใดที่มักปรากฏให้เห็นถึง “ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย” เพื่อเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ตอบ 5. ดูคำอธิบายข้อ 46. ประกอบ
55. เนื้อหาในบทใดที่แสดงให้เห็นถึงข้อค้นพบและการตอบคำถามตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่ได้ตั้งเอาไว้
ตอบ 5. ดูคำอธิบายข้อ 46. ประกอบ
56. ข้อใดเป็นประโยชน์ของการเขียน “บทสรุปสำหรับผู้บริหาร” (Executive Summary)
1. ช่วยประหยัดเวลาของผู้บริหารในการกำหนดนโยบาย
2. เพื่อประโยชน์ในเชิงวิชาการของผู้บริหาร
3. เพื่อเก็บเป็นข้อมูลในคลังข้อมูล
4. เพื่อกระตุ้นให้ผู้บริหารอยากอ่านรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
5. เพื่อสร้างผลงานเลื่อนชั้นให้แก่ผู้ที่เสนอบทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ตอบ 1. บทสรุปสำหรับผู้บริหาร (Executive Summary) เป็นข้อความโดยสรุปจากรายงานการวิจัยที่
กะทัดรัด ชัดเจน และครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด ช่วยประหยัดเวลาของผู้บริหารในการกำหนดนโยบาย
57. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบที่สำคัญของการเขียน “บทคัดย่อ” (Abstract)
1. ปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย 2. เป้าหมายของการวิจัย
3. วิธีการในการดำเนินการวิจัย 4. ผลการวิจัยและข้อค้นพบ
5. การอ้างอิงตามหลักวิชาการ
ตอบ 5. องค์ประกอบที่สำคัญของการเขียนบทคัดย่อ (Abstract) มี 3 ส่วนดังนี้
1. ปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย และเป้าหมายของการวิจัย
2. วิธีการในการดำเนินการวิจัย 3. ผลการวิจัย ข้อค้นพบและข้อเสนอแนะ
58. ข้อใดต่อไปนี้เป็นความหมายของ “Poster Presentation”
1. การดำเนินการวิจัยด้วยโปสเตอร์ 2. การดำเนินการวิจัยด้วยวาจา
3. การดำเนินการเสนอผลงานวิจัยด้วยโปสเตอร์ 4. การนำเสนอผลงานวิจัยด้วยวาจา
5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 3. องค์ประกอบของการนำเสนอผลงานวิจัยด้วยโปสเตอร์ (Poster Presentation) มีดังนี้
1. ชื่อเรื่อง 2. บทคัดย่อ 3. บทนำและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
4. วิธีดำเนินการวิจัย 5. ผลการวิจัย
59. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่หลักในการเขียนรายงานการวิจัย
1. อ้างอิงตามหลักวิชาการ
2. การใช้ภาษาที่ดูหรูหราและฟุ่มเฟือยเพื่อสร้างอรรถรสในงานวิจัย
3. การนำเสนอข้อมูลตามข้อเท็จจริงแม้ว่าจะไม่ตรงกับสมมุติฐานที่ตั้งไว้
4. การจัดรูปแบบของหัวข้อให้เป็นระบบสอดคล้องกันทั้งเล่ม
5. การร้อยเรียงเรื่องราวอย่างเป็นเอกภพ
ตอบ 2. หลักในการเขียนรายงานการวิจัยมีดังนี้ 1. อ้างอิงตามหลักวิชาการ
2. การนำเสนอข้อมูลตามข้อเท็จจริงแม้ว่าจะไม่ตรงกับสมมุติฐานที่ตั้งไว้
3. การจัดรูปแบบของหัวข้อให้เป็นระบบสอดคล้องกันทั้งเล่ม
4. การร้อยเรียงเรื่องราวอย่างเป็นเอกภพ ฯลฯ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 95
............................................................................................................................................................................................
60. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของการนำวิจัยไปใช้ประโยชน์ ตามแนวทางของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
1. งานวิจัยเชิงนโยบาย 2. งานวิจัยเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน
3. งานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ 4. งานวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
5. งานวิจัยเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
ตอบ 4. ประเภทของการนำวิจัยไปใช้ประโยชน์ตามแนวทางของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติมีดังนี้
1. งานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ 2. งานวิจัยเชิงนโยบาย
3. งานวิจัยเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 4. งานวิจัยเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน
➢ ตั้งแต่ข้อ 61. – 65. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้โดยให้มีความสัมพันธ์มากที่สุดกับโจทย์คำถาม
1. Hypothesis 2. Data Analysis 3. Data Collection
4. Conclusion 5. Problem Statement
61.. คำตอบที่เราได้ตอบไว้ล่วงหน้าก่อนที่เราจะทำการหาคำตอบ เพื่อเป็นการวางทิศทางของการศึกษา
ตอบ 1. การตั้งสมมุติฐาน (Hypothesis / Assumption) คือ คำตอบที่เราใต้ตอบไว้ล่วงหน้าก่อนที่เราจะ
ทำการหาคำตอบ เพื่อเป็นการวางทิศทางของการศึกษา ซึ่งมีประโยชน์มากในการวิจัยเนื่องจากมันก็จะช่วยทำให้
เรามองภาพของการวิจัยชัดเจนขึ้นเห็นแนวทางบางอย่างก่อนที่จะลงมือทำการวิจัย
62. เป็นการกล่าวถึงที่ไปที่มาของปัญหาในการทำวิจัยว่ามีสาเหตุหรือความสำคัญอย่างไรถึงจำเป็นต้องศึกษา
ตอบ 5. การสังเกตและระบุปัญหา (Observation and Problem Identification / Problem
Statement) เป็นการกล่าวถึงที่ไปที่มาของปัญหาในการทำวิจัยว่ามีสาเหตุหรือความสำคัญอย่างไรถึง
จำเป็นต้องศึกษาซึ่งเป็นขั้นตอนแรกของการทำวิจัย
63. “มีประโยชน์มากในการวิจัยเนื่องจากมันก็จะช่วยทำให้เรามองภาพของการวิจัยชัดเจนขึ้นเห็นแนวทางบางอย่าง
ก่อนที่จะลงมือทำการวิจัย "สิ่งที่กล่าวถึงนี้คืออะไร
ตอบ 1. ดูคำอธิบายข้อ 61. ประกอบ
64. “การพยายามหาคำตอบจากข้อมูลที่ได้โดยอาจจะนำมาหาความสัมพันธ์ระหว่างกันว่าในข้อมูลที่ได้ว่าอะไรคือ
สาเหตุของการเกิดปรากฏการณ์ หรือในทางวิจัยปริมาณก็อาจจะนำข้อมูลที่ได้มาจัดประเภทว่าอะไรเป็นตัวแปร
ตั้งต้น และอะไรเป็นตัวแปรตาม”
ตอบ 2 การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) คือ การพยายามหาคำตอบจากข้อมูลที่ได้โดยอาจจะนำมา
หาความสัมพันธ์ระหว่างกันว่าในข้อมูลที่ได้ว่าอะไรคือสาเหตุของการเกิดปรากฏการณ์ หรือในทางวิจัยปริมาณก็
อาจจะนำข้อมูลที่ได้มาจัดประเภทว่าอะไรเป็นตัวแปรตั้งต้น และอะไรเป็นตัวแปรตาม
65. เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยจะต้องเก็บรวบรวมข้อมูลมาให้ได้มากที่สุดด้วยวิธีการวิจัยต่าง ๆ
ตอบ 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยจะต้องเก็บรวบรวมข้อมูลมาให้ ได้
มากที่สุดด้วยวิธีการวิจัยต่าง ๆ เช่น เก็บข้อมูลด้วยการสังเกตหรือจากสถิติเป็นต้น
66. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับ Positivism
1. Political Behavior 2. Vienna Circle 66 3. Modern Science
4. Political Philosophy 5. Value-Free
ตอบ 4. แนวคิดสำนักปฏิฐานนิยม (Positivism มีลักษณะที่สำคัญดังนี้ 1. เป็นแนวคิดประจักษ์นิยม
(Empiricism) 2. ปราศจากคุณค่าเข้ามาเกี่ยวข้อง (value-Free) 3. เป็นแนวพฤติกรรมทางการเมือง (Political
Behavior) 4. วิธีการแสวงหาความรู้แบบใหม่ (Modern Science) 5. นักวิชาการแนวนี้ ได้แก่ August Conte,
นักวิชาการกลุ่ม Vienna Circle ฯลฯ
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 96
............................................................................................................................................................................................
67. Gabriel Almond and Bingham Powell เกี่ยวข้องกับ Approach ใดมากที่สุด
1. Behavioral Approach 2. Group Approach 3. Functional Approach
4. Developmental Approach 5. Power Approach
ตอบ 3 แนวการวิเคราะห์เชิงระบบ (System Approach / Functional Approach) เชื่อว่าในทุก
สังคมนั้นมีลักษณะเป็นระบบที่ทำการรักษาตนเองให้อยู่รอดเสมอ ๆ วิธีคิดในลักษณะนี้ได้รับอิทธิพลมาจากวิธีคิด
ในทางชีววิทยาและวิศวกรรมศาสตร์นักวิชาการแนวนี้เช่น Gabriel Almond, Bingham Powell เป็นต้น
68 Behaviorism เกี่ยวข้องกับตัวเลือกใดต่อไปนี้
1. David Easton 2. Plato 3. Aristotle
4. J.J. Rousseau 5. ทุกข้อเกี่ยวข้องกับ Behaviorism
ตอบ 1. การศึกษาแนวพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) มีลักษณะที่สำคัญดังนี้ 1. ใช้วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์และหลักวัตถุวิสัย (Objectivity) ในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ 2. ใช้วธิ ีเชิงปริมาณและเทคนิคที่เคร่งครัด
ตายตัวในการวิเคราะห์เช่นสถิติ 3. มุ่งสร้างทฤษฎีที่เป็นระบบและเป็นเชิงประจักษ์ 4. แยกความจริงออกจากค่านิยม
5. มุ่งศึกษาพฤติกรรมของตัวบุคคลหรือกลุ่มมากกว่าสถาบันการเมือง 6. เน้นทำนายปรากฏการณ์ทางการเมืองและ
การตัดสินใจทางการเมือง 7. การศึกษาแบบ Unity of Science 8. นักวิชาการแนวนี้ ได้แก่ David Easton,
Gabriel Almond ฯลฯ
69. Approach ใดต่อไปนี้เกี่ยวข้องกับ Science น้อยที่สุด
1. Behaviorism 2. System Approach 3. Developmental Approach
4. Normative Approach 5. Power Approach
ตอบ 4. แนวการวิเคราะห์หรือกรอบการวิเคราะห์ (Approach) เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากต่อการศึกษา
รัฐศาสตร์สมัยใหม่หรือในการทำวิจัยทางรัฐศาสตร์ที่ได้รับอิทธิพลมาจากการหาความรู้แบบทางวิทยาศาสตร์เนื่องจาก
กรอบการวิเคราะห์เป็นตัวกำหนดมุมมองในการทำวิจัยการเก็บข้อมูลออกแบบวิจัยแบบใดซึ่งเปรียบได้ว่าแนวการ
วิเคราะห์ก็คือเข็มทิศหรือแผนที่ของการวิจัยเช่น 1. System Approach 2. Developmental Approach 3.
Historical Approach 4. Power Approach ฯลฯ
70. ข้อใดไม่ใช่ข้อจำกัดของการวิจัยในทางรัฐศาสตร์สมัยใหม่
1. เปลี่ยนแปลงตามสภาพแวดล้อม 2. มีความซับซ้อนเกินกว่าจะทำนายได้
3. ไม่สามารถทดลองในห้องปฏิบัติการได้
4. ไม่สามารถศึกษาประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมืองของมนุษย์ได้
5. ทุกข้อคือข้อ จำกัด ของการวิจัยในทางรัฐศาสตร์สมัยใหม่
ตอบ 4. ข้อจำกัดของการวิจัยในทางรัฐศาสตร์มีดังนี้ 1. เปลี่ยนแปลงตามสภาพแวดล้อม 2. มีความซับซ้อน
เกินกว่าจะทำนายได้ 3. ไม่สามารถทดลองในห้องปฏิบัติการได้ 4. การสัมภาษณ์จากมนุษย์เชื่อถือไม่ได้ ฯลฯ
71. Prediction คืออะไร 1. การทํานายถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้น
2. หยั่งรู้ถึงสิ่งต่าง ๆ ว่าตำรงอยู่อย่างไร 3. การให้ความหมายต่อสิ่งต่าง ๆ
4. การอธิบายถึงรายละเอียดของปรากฏการณ์ 5. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 1. การทำนาย (Prediction) คือการทำนายถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นเป็นการนำผลการศึกษาเพื่อทำนาย
อนาคตที่ยังไม่เกิดขึ้น
72. ขั้นตอนแรกสุดของการเริ่มทำการวิจัยคืออะไร
1. การกำหนดชื่อเรื่อง 2. พิจารณาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องอย่างคร่าว ๆ
3. สังเกต 4. สอบถามจากผู้รู้ในประเด็นที่เป็นปัญหา
5. เขียนผังโครงร่างอย่างง่าย ๆ ซึ่งอาจจะผิดจะถูกก็ได้
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 97
............................................................................................................................................................................................
ตอบ 3. ดูคำอธิบายข้อ 62. ประกอบ
73. การสังเกตคืออะไร 1. การใช้สายตาดูปรากฏการณ์ต่าง ๆ
2. การพิจารณาจากเอกสาร 3. การลงไปเก็บข้อมูลแบบมีส่วนร่วม
4. การพิจารณาสิ่งต่าง ๆ รอบตัวโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า 5. การเก็บตัวอย่างที่จำเป็นสำหรับการวิจัย
ตอบ 4. การสังเกต (Observation) คือการพิจารณาสิ่งต่าง ๆ รอบตัวโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าซึ่งเป็นวิธี
เก็บข้อมูลแบบหนึ่งที่ผู้วิจัยออกไปรับรู้โดยตรงจากปฏิกิริยาท่าทางหรือเหตุการณ์ (ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะใด
ขณะหนึ่งหรือที่ใดที่หนึ่ง
74. คำว่า“ รัฐศาสตร์” ในภาษาไทยใครเป็นคนบัญญัติขึ้นมา
1. พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าวิวัฒนไชย 2. พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร
3. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 4. พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา
5. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ตอบ 2. พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าวรรณไวทยากรขึ้นมาในภาษาไทยกรมหมื่นนราทิปพงศ์ประพันธ์หรือ
พระองค์วรรณฯ เป็นคนแรกที่บัญญัติคำว่า“ รัฐศาสตร์”
75. “มนุษย์จะเลือกสิ่งที่ตนเองได้ประโยชน์เสมอ” ข้อความนี้ตรงกับตัวเลือกใดมากที่สุด
1. Psychological Approach 2. Rational Choice Approach
3. Historical Approach 4. System Approach / Functional Approach
5. Legal Approach / Institutional Approach
ตอบ 2 ดูคำอธิบายข้อ 7. ประกอบ

➢ ตั้งแต่ข้อ 76. – 20. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้โดยให้มีความสัมพันธ์มากที่สุดกับโจทย์คำถาม


1. Unit of Analysis 2. Quantitative Research
3. Independent Variable 4. Dependent Variable 5. Qualitative
76. "งานวิจัยที่ใช้การศึกษาผ่านเอกสารทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้นและชั้นรอง” เป็นการวิจัยประเภทใด
ตอบ 5. ดูคำอธิบายข้อ 1. ประกอบ
77. เป็นประเภทของการวิจัยที่ใช้ข้อมูลหลักเป็นตัวเลข
ตอบ 2. การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) มีลักษณะสำคัญดังนี้ 1. เป็นการวิจัยที่เน้น
ข้อมูลตัวเลขเป็นหลักใช้หลักการทางสถิติ 2. ต้องการทดสอบทฤษฎี 3. มีทฤษฎีเป็นกรอบในการศึกษา
4. สรุปจากข้อเท็จจริงโดยใช้สถิติเป็นข้อพิสูจน์ ฯลฯ
78. เป็นสิ่งที่นักวิจัยต้องการจะศึกษาในแต่ละเรื่องที่สนใจ
ตอบ 3. ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) เป็นตัวแปรที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดตัวแปรตาม เป็นสิ่งที่
นักวิจัยต้องการจะศึกษาในแต่ละเรื่องที่สนใจ
79. เวลาต้องการจะเปรียบเทียบจะต้องเลือกหน่วยที่จะศึกษาให้เป็นแบบเดียวกัน
ตอบ 1. หน่วยในการวิเคราะห์ (Unit of Analysis) หรือหน่วยที่จะศึกษา (Unit of the Study) หมายถึง
หน่วยของสิ่งที่นักวิจัยนำลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่ง ๆ นั้นมาวิเคราะห์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 6 ระดับคือ
1. ระดับบุคคลเช่นเพศระดับการศึกษาเป็นต้น 2. ระดับกลุ่ม 3. ระดับองค์การเช่นส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ
มหาวิทยาลัยเป็นต้น 4. ระดับพื้นที่เช่นจังหวัดอำเภอตำบลหมู่บ้านเป็นต้น 5. ระดับภูมิภาคเช่นภาคกลาง
ภาคเหนือภาคใต้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นต้น 6. ระดับประเทศเช่นประเทศไทยประเทศอินโดนีเซียเป็นต้น
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 98
............................................................................................................................................................................................
80. “ทัศนคติที่มีผลต่อการทำงานของบุคลากรในองค์กรทัศนคติคือตัวแปรประเภทใด”
ตอบ 4. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) เป็นตัวแปรที่เป็นผลที่เกิดจากตัวแปรอิสระ เช่น ความพึง
พอใจในการทำงาน ประสิทธิผลในการทำงาน ทัศนคติต่อการทำงาน เป็นต้น

81. การใช้ตรรกะหรือแนวทางในความเป็นเหตุและผลที่กำหนดวิธีการในการแก้ปัญหาและใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์มา
เป็นข้อพิสูจน์ความถูกต้องของแนวคิดเกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
1. Scientific Approach 2. Normative Approach 3. Rational Approach
4. Objective Truth 5. Subjective Truth
ตอบ 1. แนวทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Approach) เป็นการใช้ตรรกะหรือแนวทางในความเป็นเหตุ
และผลที่กำหนดวิธีการในการแก้ปัญหา และใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์มาเป็นข้อพิสูจน์ความถูกต้องของแนวคิด
82. การนับจำนวนคำว่า “ประชาธิปไตย” ในหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งในประเทศไทยตลอดปี พ.ศ. 2560 เกี่ยวข้อง
กับเรื่องใดมากที่สุด
1. Normative Approach 2. Empirical Approach 3. Rational Approach
4. Phenomenological Truth 5. Subjective Truth
ตอบ 2. แนวทางเชิงประจักษ์ (Empirical Approach) จะต้องเกี่ยวข้องกับความเป็นจริงที่สังเกตได้ ซึ่งจะ
แตกต่างกันไปในแต่ละช่วงเวลา เช่น การนับจำนวนคำว่า “ประชาธิปไตย” ในหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งในประเทศ
ไทยตลอดปี พ.ศ. 2560 เป็นต้น
83. การแปลงความหมายของแนวคิดออกมาเป็นสภาพความเป็นจริงเพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวข้องกับเรื่องใด
มากที่สุด 1. การนิยามปฏิบัติการและการสร้างเครื่องมือวัด
2. การเก็บรวบรวมข้อมูล 3. การวิเคราะห์ข้อมูล
4. การเขียนรายงานการวิจัย 5. การเขียนแบบเสนอโครงการวิจัย
ตอบ 1 การนิยามปฏิบัติการและการสร้างเครื่องมือวัด คือ การแปลงความหมายของแนวคิดออกมาเป็น
สภาพความเป็นจริงเพื่อช่วยให้สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้
84. การสังเกต การสัมภาษณ์ และการออกแบบสอบถาม เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
1. การนิยามปฏิบัติการและการสร้างเครื่องมือวัด 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
3. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การเขียนรายงานการวิจัย
5. การเขียนแบบเสนอโครงการวิจัย
ตอบ 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นกระบวนการที่จะได้มาซึ่งข้อมูลที่ตอบปัญหาการวิจัย ได้แก่ การสังเกต
การสัมภาษณ์ และการออกแบบสอบถาม
85. การเปรียบเทียบข้อมูลหรือการใช้สถิติเกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
1. การนิยามปฏิบัติการและการสร้างเครื่องมือวัด 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
3. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การเขียนรายงานการวิจัย
5. การเขียนแบบเสนอโครงการวิจัย
ตอบ 3. การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการนำข้อมูลที่รวบรวมมาได้มาวิเคราะห์โดยการเปรียบเทียบพรรณนาหรือ
ใช้สถิติเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่จะตอบปัญหาการวิจัย
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 99
............................................................................................................................................................................................
➢ ตั้งแต่ข้อ 86. – 90. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ไปตอบในแต่ละข้อโดยให้มีความสัมพันธ์กับโจทย์คำถาม
1. Population 2. Sample 3. Focus Group
4. Questionnaire 5. Conceptual Framework
86. การให้บุคคลกลุ่มหนึ่งที่นักวิจัยคัดเลือกมา สนทนาโต้ตอบ แสดงความรู้สึกนึกคิดซึ่งกันและกันในประเด็นต่าง ๆ
ที่นักวิจัยกำหนดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีการนี้จัดเป็นการรวบรวมข้อมูลที่เป็นการผสมเทคนิควิธีการ
เก็บรวบรวมข้อมูลแบบการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์รายบุคคล
ตอบ 2. การสนทนากลุ่ม (Focus Group) เป็นการให้บุคคลกลุ่มหนึ่งที่นักวิจัยคัดเลือกมา สนทนาโต้ตอบ
แสดงความรู้สึกนึกคิดซึ่งกันและกันในประเด็นต่าง ๆ ที่นักวิจัยกำหนดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยวิธีการนี้จัดเป็น
การรวมรวมข้อมูลที่เป็นการผสมเทคนิควิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์
รายบุคคล
87. “บางที่สามารถใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ หรือสูตรทางสถิติอื่นมาคำนวณตัวแทนที่จะต้องศึกษาได้” ตัวแทนที่
กล่าวถึงนี้หมายถึงอะไร
ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 26. ประกอบ
88. อาจจะเป็นจำนวนคนทั้งหมดหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งทั้งหมดในขอบเขตที่ต้องการจะศึกษา
ตอบ 1. ประชากร (Population) หมายถึง หน่วยในการวิเคราะห์ทั้งหมด หรือหน่วยที่จะนำมาศึกษา
ทั้งหมดในการวิจัยไม่ว่าจะเป็น คน พืช สัตว์ สิ่งของหรือสิ่งไม่มีชีวิต
89. เป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการสำรวจผู้ให้ข้อมูลที่มีเป็นจำนวนมาก
ตอบ 4. แบบสอบถาม (Questionnaire) ถือเป็นเครื่องมือที่สำคัญและนิยมใช้กันมากในการวิจัยเชิง
ปริมาณ (Quantitative Research) โดยเฉพาะการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ซึ่งมักจะนำไปใช้เก็บ
ข้อมูลจากกลุ่มประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างในเรื่องต่าง ๆ เช่น เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ ความคิดเห็น ทัศนคติ
หรือเจตคติ ความนิยมและความพึงพอใจ เป็นต้น โดยผู้ให้ข้อมูลจะเป็นผู้ตอบข้อคำถามหรือเป็นผู้กรอกข้อมูลใน
แบบสอบถามด้วยตนเองซึ่งอาจตอบเป็นข้อความ สัญลักษณ์หรือรูปภาพก็ได้
90. เป็นกรอบที่ใช้ในการทำการศึกษา บางครั้งอาจจะได้มาจากการทบทวนงานวิจัยที่เกิดขึ้นมาในอดีต
ตอบ 5. ในการสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย (Conceptual Framework) ซึ่งเป็นกรอบที่กล่าวถึงตัวแปร
และความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรนักวิจัยจะต้องให้นิยามความหมายของตัวแปรต่าง ๆ ที่ปรากฏในงานวิจัยให้ชัดเจน
ว่าตัวแปรแต่ละตัวนั้นหมายถึงอะไรและ ได้แก่ อะไรบ้าง โดยกรอบแนวคิดในการวิจัยนี้จะมีที่มาจากมโนทัศน์หรือ
สังกัป (Concept) ทฤษฎี (Theory) ตำรา บทความ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องหรือประสบการณ์ของนักวิจัยเองก็ได้

➢ ตั้งแต่ข้อ 91. – 94. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ไปตอบในแต่ละข้อโดยให้มีความสัมพันธ์กับโจทย์คำถาม


1. Classical Period 2. Institutional Period 3. Transitional Period
4. Behavioral Period 5. Post-Behavioral Period
91. เป็นยุคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุของการโดนโจมตีในยุคก่อนหน้าว่ามุ่ง แต่ศึกษาเรื่องเล็ก ๆ น้อยเพื่อทดลอง
สมมุติฐานทดสอบเครื่องมือพัฒนาเทคนิควิธีโดยไม่สนใจกับปัญหาต่าง ๆ ของสังคม
ตอบ 5. ยุคหลังพฤติกรรมศาสตร์ (Post-Behavioral Period) เป็นยุคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุของการโดน
โจมตีในยุคก่อนหน้าว่ามุ่งแต่ศึกษาเรื่องเล็กๆ น้อยเพื่อทดลองสมมุติฐานทดสอบเครื่องมือพัฒนาเทคนิควิธีโดยไม่สนใจ
กับปัญหาต่างๆ ของสังคม และเป็นยุคที่ไม่มีการผูกขาดแนวการศึกษาไว้แบบใดแบบหนึ่งอีกต่อไป
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 100
............................................................................................................................................................................................
92. เป็นยุคที่เน้นการศึกษาความคิดทางการเมืองปรัชญาการเมือง
ตอบ 1. ยุคคลาสสิค (Classical Period) เป็นยุคที่เน้นการศึกษาความคิดทางการเมือง ปรัชญาการเมือง
เป้าหมายหลักคือการเสนอแนะหลักปฏิบัติในการปกครองบ้านเมือง ซึ่งการศึกษาการเมืองในยุคนี้ยังไม่ได้รับอิทธิพล
จากวิทยาศาสตร์
93. “พฤติกรรมการเมืองเท่านั้นคือความเป็นจริงเพราะสิ่งอื่นนั้นไม่สามารถรับรู้ได้ผ่านประสาทสัมผัส” วิธีคิด
ดังกล่าวเป็นวิธีคิดสำคัญในยุคใด
ตอบ 4. ยุคพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Period) เป็นยุคที่นำแนวคิดเกี่ยวกับจิตวิทยาตลอดจนสาขา
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์แบบอื่น ๆ มาใช้ศึกษาการเมืองอย่างจริงจังเน้นทำนายปรากฏการณ์ทางการเมืองและการ
ตัดสินใจทางการเมืองซึ่งมองว่าพฤติกรรมการเมืองเท่านั้นคือความเป็นจริงเพราะสิ่งอื่นนั้นไม่สามารถรับรู้ได้ผ่าน
ประสาทสัมผัสในยุคนี้รัฐศาสตร์ถูกเรียกว่าวิทยาศาสตร์การเมือง (Political Science)
94. ยุคใดรัฐศาสตร์ถูกเรียกว่า“ วิทยาศาสตร์การเมือง”
ตอบ 4. ดูคำอธิบายข้อ 93. ประกอบ
➢ ตั้งแต่ข้อ 95. – 99. จงเลือกคำตอบต่อไปนี้ไปตอบในแต่ละข้อโดยให้มีความสัมพันธ์กับโจทย์คำถาม
1. Research Questions 2. Statement of the Problem
3. Assumption and Review Literature 4. Conclusion
5. Data Collection and Analysis
“ นายแดงสอบตกในกระบวนวิชา POL 4100 เป็นจำนวนนับครั้งไม่ถ้วนและตอนนี้ก็ใกล้ครบกำหนดระยะเวลา
เรียน 8 ปีแล้วพ่อแม่ญาติพี่น้องก็มักถามว่าเมื่อไรจะเรียนจบ นายแดงก็โกหกไปเรื่อย ๆ ว่าใกล้เรียนจบแล้วทั้งที่ไม่เป็น
ความจริงและยิ่งเวลางวดใกล้เข้ามาเรื่อย ๆ นายแดงใกล้หมดสภาพนักศึกษาเต็มที่ นายแดงก็ได้สติจึงเกิดความสงสัย
ว่าจริง ๆ แล้วตัวเองก็ไม่ต่างกับนักศึกษาคนอื่น ๆ ทั้งความสามารถและสติปัญญว แต่ทำไมตัวเองจึงจบช้ากว่าเพื่อน ๆ
ตลอดจนทำไมตนเองจึงสอบตกซ้ำซาก (ข้อ 95.)
ด้วยเหตุนี้เองนายแดงจึงตั้งคำถามว่าเพราะสาเหตุใดตนเองจึงเรียนไม่จบเสียทีและทำอย่างไรตนเองจะสามารถ
เรียนจบได้ (ข้อ 96. )
ครั้งแรกนายแดงมองว่าอาจารย์นั้นออกข้อสอบยากเกินความสามารถของนักศึกษาจึงทำให้ตนเองตก ต่อมานาย
แดงได้ไปสอบถามเพื่อน ๆ หลายคนแล้วก็พบว่าเพื่อน ๆ หลายคนต่างสอบวิชานี้แค่รอบเดียวผ่านและได้เกรดดีถึงดี
มาก ทั้ง ๆ ที่เพื่อนนักศึกษาบางคนก็ทำงานไปด้วยและเรียนไปด้วยและบางคนเรียนพร้อม ๆ กันสองปริญญา นาย
แดงจึงคิดว่าสิ่งที่ตัวเองคิดไว้ตอนแรกน่าจะเป็นสิ่งที่ผิด เพราะถ้าเป็นสาเหตุแรกตามที่ตนเองคิดคนอื่น ๆ ก็ต้องไม่ผ่าน
ทั้งหมด (ข้อ 97. )
ดังนั้นนายแดงจึงพยายามลงมือค้นหาคำตอบจริงจัง ๆ ด้วยการสัมภาษณ์เพื่อน ๆ อีกหลายคนตลอดจนทำการ
สำรวจตัวเองด้วยวิธีการต่าง ๆ ในที่สุดนายแดงก็ค้นพบว่าที่ตัวเองสอบไม่ผ่านและสอบตกซ้ำซากนั้นมาจากการที่
ตนเองไม่เรียนและเอาแต่เที่ยว ไม่มีการแบ่งเวลาในชีวิตให้ดี พอใกล้สอบก็จะทำตัวมักง่ายไปท่องจำข้อสอบเก่า หรือ
อ่านเอกสารสรุปย่อ โดยไม่เคยอ่านหนังสือเรียนมาก่อน พอสอบตกก็บอกว่าไม่เห็นเหมือนสิ่งที่ตัวเองท่องมาเลย ยิ่งไป
กว่านั้นนายแตงค้นพบอีกว่า เพื่อนที่สอบผ่านบางคนก็ไม่ได้เคยเข้าชั้นเรียน แต่ดูเทปบรรยายย้อนหลังที่ทาง
มหาวิทยาลัยจัดให้ ตลอดจนอ่านหนังสือจนหมดเล่มและจึงมาฝึกทำข้อสอบเก่า ๆ หรืออ่านเอกสารสรุปทบทวนก่อน
สอบ เพื่อน ๆ นักศึกษาก็สามารถสอบผ่านได้ (ข้อ 98. )
ข้อสอบวิชา POL 4100 (PS 420) หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ 101
............................................................................................................................................................................................
เมื่อเป็นดังนี้นายแดงจึงสรุปว่าจริง ๆ แล้วปัญหานี้เกิดมาจากตนเองที่มักง่ายและไม่ตั้งใจสู้กับอุปสรรคต่าง ๆ ดัง
นั้นเองนายแดงจึงทดลองทำตัวใหม่และสามารถสอบผ่านได้เกรด A ในที่สุด” (ข้อ 99. )

95. ตอบ 1. การตั้งคำถามการวิจัย (Research Questions) คำถามการวิจัยนั้นถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการ


วิจัยภายหลังจากที่ผู้วิจัยสังเกตเห็นถึงปัญหาต่างๆรอบตัวแล้วการวิจัยจําเป็นต้องเริ่มจากการสงสัยต่อสิ่งต่าง ๆ
และมีความต้องการต่อการหาคำตอบต่อสิ่งนั้น ๆ
96. ตอบ 2. ดูคำอธิบายข้อ 62. ประกอบ
97. ตอบ 3. การทบทวนวรรณกรรม (Review Literature) เป็นขั้นตอนที่นักวิจัยจะต้องทำเพื่อให้ทราบว่า
งานวิจัยในอดีตที่เกี่ยวข้องมีใครทำไว้แล้วบ้างและเป็นขั้นตอนที่จำเป็นต้องทำเพื่อสำรวจว่างานวิจัยของเราจะไม่ซ้ำกับ
ใครด้วย (ดูคำอธิบายข้อ 61. ประกอบ)
98. ตอบ 5. ดูคำอธิบายข้อ 64. และ 65. ประกอบ
99. ตอบ 4. การสรุปผล (Conclusion) เป็นการสรุปข้อมูลหรือผลการวิเคราะห์ที่เกิดขึ้นจากการเก็บข้อมูลโดย
อาจจะสรุปว่าสมมุติฐานที่ตั้งมาในข้างต้นนั้นถูกหรือผิดหรือผลของการทดลองหรือผลจากการเก็บข้อมูลเป็น
อย่างไร
100. ผู้ให้ข้อมูลหลักในการวิจัยเรียกว่าอะไร
1. Gate Key Holder 2. Main Key Men 3. Gate Keeper
4. Key Informants 5. ไม่มีข้อใดถูกตอบ
ตอบ 4. การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกหรือเชิงลึก (In-depth Interview) จัดเป็นการสัมภาษณ์แบบไม่มี
โครงสร้าง (unstructured Interview) ชนิดหนึ่งซึ่งนิยมใช้กันมากในการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative
Research) โดยนักวิจัยจะต้องเข้าไปทำความรู้จักคุ้นเคยกับ "ผู้ให้ข้อมูลหลัก” (Key Informants) ซึ่งจะเน้นการ
พูดคุยซักถามในประเด็นที่ลึกซึ้งของปรากฏการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลละเอียดลึกซึ้งหรือข้อมูลเชิงลึกจากผู้ให้
สัมภาษณ์ในสนามวิจัยทั้งนี้จะไม่มีการใช้แบบสัมภาษณ์ แต่จะใช้วิธีการถามคำถามที่ได้จากค้าตอบของผู้ถูกสัมภาษณ์
เจาะลึกลงไปเรื่อย ๆ หรือที่เรียกว่า “Snowball Technique”



ข้อให้โชคดีในการสอบทุกท่าน

You might also like