Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 130

บทที่ 8

ระบบประปา (Plumbing System) และสุขาภิบาล (Sanitary System )

1. ข%อกําหนดทั่วไป
1.1 ขอบเขตของงาน
ผูรับจางจะตองดําเนินการดังตอไปนี้

(1) จัดหา ติดตั้ง ทดสอบระบบทอโสโครก ทออากาศ ทอน้ําทิ้ง และทอน้ําฝน

(2) จัดหาและติดตั้งระบบระบายน้ําฝน และระบบระบายน้ําเสียของโครงการตอเขากับระบบเดิม

(3) จัดหา ติดตั้ง ทดสอบระบบทอจายน้ําประปา พรอมทั้งระบบควบคุมจากถังเก็บน้ําใตดิน

(4) จัดหา ติดตั้ง ทดสอบสุขภัณฑ7 อุปกรณ7ประกอบและชิ้นสวนที่เกี่ยวของ

(5) จัดหา ติดตั้ง ทดสอบชองระบบน้ําพื้นและหลังคา (Floor & Roof Drain)

(6) จัดหา ติดตั้ง ทดสอบรวมทั้งงานขุดและถมดิน เพื่อการบรรจบทอประปาเมนของ


โครงการจากวาล7วลูกลอย (Float Valve) ในถังเก็บน้ําใตดินเขากับทอของการประปาฯ
รวมทั้งการดําเนินการขออนุญาตในการติดตั้งมิเตอร7ประปาในนามของผูวาจางกับการประปา

(7) จัดหา ติดตั้ง ทดสอบงานระบบไฟฟPาที่เกี่ยวของกับงานระบบประปา

(8) จัดหา ติดตั้ง ทดสอบเครื่องสูบน้ําขึ้นถังสูง (Water Transfer Pump) และเครื่องสูบน้ําเพิ่ม


ความดัน (Water Booster) และสวนประกอบอื่นๆ ตามรายละเอียดและขอกําหนดที่กลาว
ตอไปนี้

(9) จั ด ใหมี ส วนประกอบอื่น ๆ ที่ เ กี่ ย วของซึ่ ง ประกอบไปดวย เหล็ ก แขวนทอและที่ ร องรั บ
(Hanger & Support) ปลอกรอยทอ (Sleeve) และชองเป`ดตามพื้นผนัง ระบบกันการรั่วซึม
ของผนังถังน้ําบริเวณที่มีทอฝaงผานวาล7วลูกลอย อุปกรณ7ควบคุมระดับน้ําฯลฯ

8-1
1.2 มาตรฐานและกฎเกณฑ7ที่ใชอางอิง
ถามิไดกําหนดไวเปdนอยางอื่น มาตรฐานทั่วไปของวัสดุ อุปกรณ7การประกอบแบบการติดตั้งที่ระบุ
ไวในแบบรายละเอียดประกอบแบบ เพื่อใชอางอิงสําหรับงานตามสัญญาในโครงการนี้ ใหถือตาม
มาตรฐานของสถาบันที่เกี่ยวของดังตอไปนี้
มอก - สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ7อุตสาหกรรม
วสท. - วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย
AHAM - Association of Home Appliance Manufacturers
AMCA - Air Moving and Conditioning Association
ANSI - American National Standard Institute
API - American Petroleum Institute
ASHRAE - American Society of Heating, Refrigerating and Air-conditioning
Engineers
ASME - American Society of Mechanical Engineers
ASTM - American Society of Testing Materials
BS - British Standard
FM - Factory Mutual
IEC - International Elector-technical Commission
NEC - National Electrical Code
NEMA - National Electrical Manufacturers Association
NFPA - National Fire Protection Association
SMACNA - Sheet Metal and Air-conditioning Contractors National Association
Inc.
UL - Underwriters Laboratories, Inc.
1.3 พนักงาน
1) ผูรับจางเปdนผูรับผิดชอบในการดําเนินงานและควบคุมการติดตั้งใหเปdนไปตามแบบรายการ และ
ขอกําหนดใหถูกตองตามหลักวิชา และวิธีปฏิบัติซึ่งเปdนที่ยอมรับการลงนามในเอกสารขณะ
ปฏิบัติงาน จะถือเปdนความผูกพันของผูรับจางไมวากรณีใด ๆ ผูรับจางจะยกขออางถึงการที่ตนไม
ทราบขอเท็จจริงตาง ๆ เพื่อประโยชน7ของตนมิได
2) วิศวกรผูรับผิดชอบโครงการของผูรับจาง ตองเปdนวิศวกรที่ไดรับอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกร
ควบคุมตามพระราชบัญญัติควบคุมวิชาชีพวิศวกรรม และเปdนผูลงนามรับรองผลงานในเอกสาร
การสงมอบงานทั้งหมด
3) ผูรับจางตองจัดหาวิศวกร หัวหนาชาง และชางชํานาญงานที่มีประสบการณ7ความสามารถที่
เหมาะสมกับงานที่ไดรับมอบหมายเขามาปฏิบัติงานโดยมีวิธีการจัดงาน และทํางานที่ถูกตองตาม
หลักวิชาการ และมีจาํ นวนเพียงพอสําหรับการปฏิบัติงานไดทันทีและแลวเสร็จทันตามความ
ประสงค7ของเจาของโครงการ
4) เจาของโครงการสงวนสิทธิ์ ที่จะสั่งใหผูรับจางเปลี่ยนพนักงานที่เห็นวาปฏิบัติงานไมดีพอหรืออาจ
เกิดความเสียหายหรือกอใหเกิดอันตราย ผูรับจางตองจัดหาพนักงานใหมที่มีประสิทธิภาพดีพอมา
ทํางานแทนโดยทันทีและคาใชจายใด ๆ ทีเ่ กิดขึ้นใหอยูในความรับผิดชอบของผูรับจางทั้งสิ้น

8-2
5) ผูรับจางตองรับผิดชอบตออุบัติเหตุ อันตราย หรือความเสียหายใด ๆ อันเกิดแกชีวิตบุคคล และ
ทรัพย7สินของพนักงาน
1.4 วัสดุ และอุปกรณ7
1) ผูรับจางตองจัดหาตัวอยางวัสดุ และอุปกรณ7 รวมทั้งเอกสารของผูผลิตที่แสดงรายละเอียดทาง
เทคนิค ขนาด และรูปรางที่ชัดเจนของวัสดุ และอุปกรณ7แตละชิน้ ใหผูวาจางไดตรวจลวงหนา
อยางนอย 60 วัน กอนนําไปทําการติดตั้ง และวัสดุอุปกรณ7ที่ไดรับอนุมัติแลว มิไดหมายความวา
เปdนการพนความรับผิดชอบของผูรับจาง หากตรวจพบขอผิดพลาดในภายหลัง ผูรับจางตอง
ดําเนินการแกไขใหมใหถูกตอง
2) ในกรณีที่ผูคุมงานมีความประสงค7ใหผูรับจางแสดงวิธีการติดตั้ง เพื่อเปdนตัวอยางหรือความ
เหมาะสมแลวแตกรณี ผูรับจางตองแสดงการติดตั้ง ณ สถานที่ติดตั้งจริง ตามที่ผูคุมงานกําหนด
เมื่อวิธีและการติดตั้งนั้น ๆ ไดรับอนุมัติแลว ใหถือเปdนมาตรฐานในการปฏิบัติตอไป
3) ถาผูควบคุมงานหรือผูวาจางเห็นวา วัสดุและอุปกรณ7ที่นํามาใชมีคณ ุ สมบัตไิ มดีเทาที่กําหนดไวใน
รายการ ผูควบคุมงานหรือผูวาจางมีสิทธิ์ที่จะไมยอมใหนํามาใชงานนี้ ในกรณีที่ผูควบคุมงาน หรือ
ผูวาจางมีความเห็นวาควรสงใหสถาบันที่ผูควบคุมงานหรือผูวาจางเชื่อถือทําการทดสอบ
คุณสมบัติเพื่อเปรียบเทียบกับขอกําหนดกอนที่จะอนุมัตใิ หนํามาใชได ผูรับจางตองเปdน
ผูดําเนินการใหโดยมิชักชา และตองเปdนผูออกคาใชจายเองทั้งสิ้น
4) วัสดุและอุปกรณ7ที่นํามาติดตั้งตองเปdนของใหม และไมเคยถูกนําไปใชงานมากอน หากมีความ
จําเปdนอันกระทําใหผูรับจางไมสามารถหาวัสดุหรืออุปกรณ7ตามทีไ่ ดแจงในรายละเอียดหรือตาม
ตัวอยางที่ไดใหไวแกผูควบคุมงานหรือผูวาจาง และจะตองจัดหาวัสดุหรืออุปกรณ7อื่นมาทดแทน
แลว ผูรับจางจะตองชี้แจงเปรียบเทียบรายการละเอียดของสิ่งของดังกลาวพรอมทั้งแสดง
หลักฐานขอพิสูจน7จนเปdนที่พอใจแกผูควบคุมงานหรือผูวาจาง

5) การติดตั้งทั่วไป

ความสะดวกตอการใชงาน (Accessibility)

(1) ผูรับจางจะตองจัดขนาดของชองทอตางๆ ระยะหางจากฝPาเพดาน ฯลฯ ใหมีระยะเพียงพอ


ตอการทํางาน
(2) ผูรับจางจะตองติดตั้งอุปกรณ7ตางๆ ในตําแหนงที่สะดวกตอการใชงานและงายตอการซอม
บํารุง ซึ่งหมายรวมถึงวาล7ว แทรป ชองระบายน้ํา ชองทําความสะอาด มอเตอร7 อุปกรณ7
ควบคุม Switch gear และจุดที่จะตองระบายน้ํา ติดตั้งประตู (Access Door) บริเวณที่
จําเปdน อนุโลมใหขยับตําแหนงไปจากแบบไดบาง ถาจะทําใหการทํางานสะดวกขึ้น ในกรณี
ที่เปลี่ยนตําแหนงอุปกรณ7ผิดไปจากแบบตองไดรับความเห็นชอบจากวิศวกรกอนดําเนินงาน

8-3
ฐานรองรับและการยึด

(1) ผูรับจางตองจัดหาและติดตั้งฐานราก ฐานรองรับ (Pads) Bases และตอมอเพื่อรองรับ


เครื่องมือติดตั้งอื่นๆ ของระบบประปา เครื่องสูบน้ํา Tanks ตลอดจนอุปกรณ7ติดตั้งอื่นๆ ที่อยู
ภายใตสัญญา ผูรับจางตองเสนอแบบตอวิศวกรผูควบคุมงาน เพื่อตรวจสอบและอนุมัติกอนที่
จะดําเนินการกอสราง

(2) การกอสรางแทนรองรับทั้งหมดที่อยูสูงจากระดับพื้น จะตองใชวัสดุอยางเดียวกันกับวัสดุใชใน


การสรางพื้น

(3) เครื่องมืออื่นๆ นอกเหนือจากที่ไดกลาว จะตองติดตั้งกับโครงสรางของตัวอาคารในลักษณะ


ที่ถูกตองปลอดภัย การติดตั้งจะตองมีสภาพแข็งแรงและทนทาน ในกรณีที่อุปกรณ7การ
ติดตั้งใดซึ่งวิศวกรผูควบคุมงานเห็นวาไมแข็งแรงเพียงพอจะตองมีการเปลี่ยนแปลงแกไข

การตัดและป`ดทับ (Cutting and Patching)

(1) ผูรับจางจะตองทําการตัดปะและป`ดทับบริเวณที่จําเปdนสําหรับการติดตั้งที่สมบูรณ7 ตาม


แบบ วัสดุป`ดทับตองเหมือนกับวัสดุที่อยูใกลเคียง

(2) หามทําการตัด เป`ด ทะลุโครงสรางกอนไดรับอนุญาต และตองทําตามคําแนะนําของวิศวกร


ที่ปรึกษาเทานั้น

ปลอกรอยทอ (Pipe Sleeves)

(1) ผูรับจางตองทําการติดตั้งปลอกรอยทอ และเหล็กฝaงในที่กอนที่จะมีการเทพื้นหรือผนัง ใน


กรณีที่ผูรับจางมิไดฝaงปลอกรอยทอไวลวงหนาหรือผิดตําแหนง ผูรับจางจะตองดําเนินการ
ตัดและปะโครงสรางดวยคาใชจายของผูรับจางเอง เพื่อใหการเดินทอแลวเสร็จ

(2) ใหฝaงปลอกรอยทอเขากับโครงสราง คสล. บริเวณที่มีทอลอดผาน หามฝaงปลอกรอยทอ


กับทอที่ถูกออกแบบใหฝaงในคอนกรีต

(3) บริเวณที่ทอและปลอกรอยทออยูใตดิน ใหอุดชองวางดวยการอัดหมันและหยอดตะกั่ว กัน


น้ําเขา

(4) บริเวณที่ทอมีโอกาสเคลื่อนตัว ขยายตัว หดตัว ตองใชปลอกรอยทอที่มีขนาดใหญพอที่จะ


ทําใหทอเคลื่อนที่ไปมาไดอยางอิสระ ขนาดความยาวของปลอกรอยทอใหเปdนไปดังตอไปนี้

(4.1) ใหตัดปลอกรอยทอเรียบเสมอกําแพง ผนัง และเพดาน


(4.2) ทอที่ซอนอยูในชองทอใหตัดปลอกรอยทอเสมอพื้น
(4.3) บริเวณที่มองเห็นทอ (ทอลอย) ใหตัดปลอกรอยทอโดยใหสูงกวาระดับพื้น ¼"

8-4
(4.4) ถาบริเวณพื้นนั้นมีชองระบายน้ําที่พื้น (Floor Drain) ใหตัดปลอกรอยทอสูงกวา
ระดับพื้น ¾"

(5) ปลอกรอยทอที่ฝaงในพื้นคอนกรีต ผนัง หรือโครงสรางอาคาร ใหทําดวยทอเหล็กอาบสังกะสี


ถาใชเหล็กเหนียวจะตองทาสีกันสนิมอยางนอย 2 ชั้น ยกเวนระบุไวเปdนอยางอื่น

(6) กอนการกอสรางใหยึดปลอกรอยทอเขากับพื้น/ผนัง โดยจะตองมีความแข็งแรงพอที่จะไม


ขยับเคลื่อนตําแหนงขณะเทคอนกรีต ตองปPองกันคอนกรีตเขาไปอุดในชองวางระหวางทอ
และปลอกรอยทอ

(7) แผนป`ด (Escutcheon Plate) ใชสําหรับป`ดทับทอที่ไมมีฉนวนหุม และเปdนทอที่สามารถ


มองเห็นจากภายนอกได เปdนแผนชุบโครเมี่ยมขนาดสอดคลองกับขนาดทอ ในกรณีที่ปลอก
รอยทอยื่นโผลจากระดับพื้น ใหเลือกใชแผนโลหะครอบแบบโผล (Recessed Plate) เพื่อ
ซอนปลอกรอยทอ

(8) ชองวางระหวางทอกับปลอกรอยทอ ใหอุดดวยวัสดุทนไฟชนิดที่สามารถทนไฟไดไมนอยกวา


2 ชั่วโมง วัสดุที่ใช และวิธีการอุดจะตองเปdนไปตามมาตรฐานของ UL หรือมาตรฐาน
ของผูผลิต

การอุดชองทอและชองเจาะ

(1) หลังจากที่ติดตั้งวัสดุและอุปกรณ7เรียบรอยแลว ผูรับจางจะตองอุดหรือป`ดบริเวณที่วัสดุหรื


อุปกรณ7ทะลุผานผนังดัวยวัสดุปPองกันไฟและควันลาม เพื่อปPองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นไดอัน
เนื่องมาจากการเกิดเพลิงลุกไหมลามจากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่ง วัสดุปPองกันไฟ และ
ควันลามนี้ตองมีคุณสมบัติตามขอกําหนดของ NEC ASTM และตองไดรับการรับรองจาก UL

ผูรับจางจะตองติดตั้งลิ้นกันไฟ (Fire damper) ตามบริเวณที่ทอลมทะลุผานผนังกันไฟทุก ๆ


จุด และจะตองติดตั้ง Cover หรือ Escutcheon Plate บริเวณจุดที่ทะลุผานที่ปรากฏแก
สายตาทุกจุด และใหอยูในความเห็นชอบของผูควบคุมงาน รวมถึงทอรอยสายไฟ สายไฟฟPา
และ Raceway ที่ติดตั้งในชองทอหรือชองเป`ดบนพื้นตาง ๆ ชองเป`ดที่เหลือหลังการติดตั้ง
ระบบเรียบรอยแลวจะตองถูกป`ดดวยวัสดุที่กลาวขางตนที่มีความสามารถกันไฟไดไมนอยกวา
2 ชั่วโมง

(2) ใหติดตั้งอุปกรณ7หรือวัสดุปPองกันไฟและควันตามตามตําแหนงตาง ๆ ดังตอไปนี้

ก. ชองเป`ด ทุกชองไมวาจะอยูที่ใ ดของผนัง พื้น หรือคาน และชาฟท7ทอตาง ๆ ซึ่งได


เตรีย มไวสํ าหรั บการใชงานติ ด ตั้ ง ระบบทอ หลั ง จากที่ ไ ดติ ด ตั้ ง ทอไปแลว และมี
ชองวางเหลืออยูระหวางทอกับแผนป`ดชองทอ
ข. ชองเป`ดหรือชองลอด (Blockout or Sleeve) ที่เตรียมการไวสําหรับติดตั้งระบบทอ
ในอนาคต

8-5
ค. ชองเป`ดหรือชองลอด (Blockout or Sleeve) ที่ใชสายไฟฟPาหรือทอรอยสายไฟฟPาที่
มีชองวางอยูแมเพียงชองเล็กนอยก็ตาม
ง. ภายในทอที่วางทะลุพื้นคอนกรีต ผนังคอนกรีต ซึ่งเปdนผนังทนไฟ เพื่อปPองกันไฟและ
ควันลามตามทอ
จ. ชองวางระหวางทอกับสลีฟ

(3) การเลือกใชวัสดุและวิธีการติดตั้ง จะตองเสนอเพื่อขออนุมัติกอน

ระบบกันซึม (Waterproofing)

ในกรณีที่ทอผานโครงสรางซึ่งตองมีระบบปPองกันการรั่วซึม กรรมวิธีการติดตั้งอุปกรณ7นั้น ๆ ตอง


ไดรับความเห็นชอบจากวิศวกรที่ปรึกษา ผูรับจางตองจัดหาปลอกรอยทอ วัสดุสําหรับอุด
ชองวาง (Caulking Compound) และแผนป`ดกันซึมเพื่อปPองกันการ รั่วซึม

งานขุดและถม (Excavating and Backfilling)

(1) ผูรับจางจะตองขุดดินใหไดระดับตามขอกําหนด เพื่อทําการฝaงทอหรือกอสรางทอ ระบาย


น้ําและทําการถม พรอมทั้งปรับผิวหนาดินใหเรียบรอย ตลอดจนเตรียมการ ปPองกัน
อันตรายตางๆ ซึ่งอาจเกิดกับบุคคลและทรัพย7สิน โดยผูรับจางตองปฏิบัติตามกฎขอบังคับ
วาดวยความปลอดภัยอยางเครงครัด นอกจากนั้นผูรับจางจะตองตรวจสอบระดับความลึก
ต่ําสุด ไมใหอยูต่ํากวาระดับฐานราก หากพบวาอยูต่ํากวาฐานรากตองแจงใหวิศวกรผู
ควบคุมงานทราบทันทีเพื่อทําการแกไขหรือออกแบบใหม

(2) การวางทรายรองรับทอ (Sand Bedding) การกลบ การถมและการบดอัด จะตองเปdนไป


ตามขอกําหนดของงานทางดานวิศวกรรมโยธา

8-6
1.5 เครื่องมือ
ผูรับจางตองมีเครื่องมือเครื่องใช เครื่องผอนแรง ที่มีประสิทธิภาพ และความปลอดภัยสําหรับใช
ในการปฏิบัติงาน เปdนชนิดที่เหมาะสม อีกทั้งจํานวนเพียงพอกับปริมาณงาน เจาของโครงการมีสิทธิที่จะ
ขอใหผูรับจางเปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มจํานวนใหเหมาะสมกับการใชงาน
1.6 ปPาย และเครื่องหมายของวัสดุ และอุปกรณ7
1) ผูรับจางจะตองจัดหา หรือจัดทําปPายชื่อเปdนตัวหนังสือ และเครื่องหมายแสดงตาง ๆ เพื่อแสดง
ชื่อ และขนาดของอุปกรณ7 และการใชงาน โดยใชภาษาไทย และ/หรือภาษาอังกฤษ
2) ปPายชื่อใหทําดวยแผนพลาสติกพื้นสีดํา แกะสลักตัวอักษรสีขาวขนาดโตอยางนอย 1/2 นิ้ว และ
เคลือบพลาสติกอีกชั้นหนึ่ง ปPายตองยึดติดใหมั่นคงถาวร ปPายชื่อดังกลาวจะตองจัดหาใหกับ
อุปกรณ7ตอไปนี้ คือ
− แผงควบคุมไฟฟPาทั้งหมด
− เครื่องจักร และอุปกรณ7ทั้งหมด
3) สีที่พนเปdนตัวหนังสือ และเครื่องหมายใหใชสีสเปรย7กระป•อง โดยจะตองจัดทําแบบสําหรับการ
พนสี
4) เพื่อใหวัสดุ และอุปกรณ7ตางๆ ที่ติดตั้งแลวสามารถเปdนไดอยางชัดเจน ตองแสดงเครื่องหมาย
และอักษรยอหรือขอความที่สั้นกระทัดรัดงายตอการเขาใจ
1.7 การขนสงเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ7
1) ผูรับจางตองรับผิดชอบในการขนสงเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ7มายังสถานที่ติดตั้งรวมทั้งการยก
เขาไปยังที่ติดตั้ง คาใชจายทั้งหมดเปdนของผูรับจางเองทั้งสิ้น
2) ผูรับจางจะตองรับผิดชอบตอความเสียหาย อันเกิดจากการขนสง วัสดุอุปกรณ7หรือเครื่องมือตาง
ๆ มายังสถานที่ติดตั้ง
3) ผูรับจางจะตองจัดทํากําหนดการในการนําวัสดุ และอุปกรณ7เขามายังหนางาน และแจงใหผู
ควบคุมงานทราบกอนลวงหนา พรอมทั้งจัดเตรียมสถานที่สําหรับเก็บรักษาวัสดุและอุปกรณ7อยาง
ถูกตองลวงหนา โดยประสานงานกับผูรับจางอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ
4) เมื่อวัสดุ และอุปกรณ7เขาถึงยังหนางาน ผูรับจางจะตองแจงใหผูควบคุมงานทราบ เพื่อที่จะได
ตรวจสอบวัสดุ และอุปกรณ7เหลานั้นใหถูกตองตามที่ผูออกแบบไดอนุมัติไวกอนที่จะนําวัสดุและ
อุปกรณ7เขามายังสถานที่เก็บรักษาตอไป
1.8 การเก็บรักษา เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ7
1) ผูรับจางเปdนผูจัดหาสถานที่เก็บรักษาเครื่องมือวัสดุ อุปกรณ7 ที่นํามาใชในการติดตั้งภายในบริเวณ
ที่กอสรางอาคารเอง เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ7ดังกลาวจะยังคงเปdนกรรมสิทธิ์ของผูรับจาง
ทั้งหมด ซึ่งผูรับจางจะตองรับผิดชอบตอการสูญหายเสื่อมสภาพ หรือถูกทําลายจนกวาจะได
ติดตั้งเสร็จสิ้นโดยสมบูรณ7 และสงมอบงานแลว
2) หากจะเก็บรักษาวัสดุ และอุปกรณ7ภายในอาคารที่กอสรางแลว จะตองไดรับความเห็นชอบจาก
วิศวกรโครงการเสียกอน ผูรับจางจะตองตรวจสอบความแข็งแรงของโครงสรางอาคารในสวนที่จะ
ใชในการเก็บรักษาวัสดุ และอุปกรณ7 ในสวนที่จะตองขนวัสดุผานเพื่อปPองกันความเสียหายที่
อาจจะเกิดขึ้นกับโครงสรางอาคาร

8-7
1.9 การตรวจสอบแบบ และขอกําหนด
1) ผูรับจางตองตรวจสอบแบบ และรายการขอกําหนดตาง ๆ จนแนใจวาเขาใจถึงขอกําหนด และ
เงื่อนไขตาง ๆ โดยชัดแจง
2) ผูรับจางตองตรวจสอบรายละเอียดการติดตั้งจากแบบสถาปนิก และโครงสรางพรอมไปกับแบบ
ทางวิศวกรรมสุขาภิบาล และไฟฟPากอนดําเนินการติดตั้งเสมอ
3) เมื่อพบขอขัดแยงระหวางแบบ และรายการหรือขอสงสัย หรือขอผิดพลาดเกี่ยวกับแบบ และ
รายการ ใหรีบแจงตอผูควบคุมงาน หรือผูวาจางโดยฉับพลัน และการตีความในขอความขัดแยงใด
ๆ ใหตีความไปในแนวทางที่ดีกวา ถูกตองกวา ใชวัสดุอุปกรณ7ที่มีคุณภาพดีกวา ครบถวนกวา
ทั้งสิ้น
1.10 การแกไขเปลี่ยนแปลงแบบ ขอกําหนด และวัสดุอุปกรณ7
1) การเปลี่ยนแปลงแบบ ขอกําหนด วัสดุและอุปกรณ7ที่ผิดไปจากขอกําหนดและเงื่อนไขตามสัญญา
ดวยความจําเปdน หรือความเหมาะสมก็ดี ผูรับจางตองแจงเปdนลายลักษณ7อักษรตอเจาของ
โครงการ เพื่อขออนุมัตเิ ปdนเวลาอยางนอย 30 วัน กอนดําเนินการจัดซื้อหรือทําการติดตั้ง
2) ในกรณีที่ผลิตภัณฑ7ของผูรับจาง มีลักษณะสมบัติอันเปdนเหตุใหอุปกรณ7ตามรายการที่ผูออกแบบ
กําหนดไวเกิดความไมเหมาะสม หรือไมทํางานโดยถูกตองผูรับจางจะตองไมเพิกเฉยละเลยที่
จะแจงขอความเห็นชอบจากผูออกแบบในการแกไขเปลี่ยนแปลงใหถูกตอง โดยชี้แจงแสดง
หลักฐานจากบริษัทผูผลิต มิฉะนั้นผูรับจางจะตองเปdนผูรับผิดชอบตอความเสียหายที่อาจจะ
เกิดขึ้นแตเพียงผูเดียว
3) ถางานสวนหนึ่งสวนใดที่ผูรับจางกําลังติดตั้งหรือติดตั้งเสร็จแลวก็ดี ผิดไปจากแบบและขอกําหนด
หรือใชวัสดุอุปกรณ7ไมตรงกับรายการที่กําหนดไว ผูวาจางมีสิทธิ์ในการสั่งใหผูรับจางหยุดงานเปdน
การชั่วคราว และตองทําการแกไขใหถูกตองทันที แตความลาชาอันเนื่องมาจากเหตุดังกลาวผู
รับจางจะถือเปdนเหตุขอยืดวันทําการออกไป หรือกลาวอางเปdนขอแกตัวตอการแลวเสร็จสมบูรณ7
ของงานทั้งหมดไมได
1.11 แบบใชงาน (Shop Drawing)
ผูรับจางจะตองทําแบบใชงาน แสดงรายละเอียดการติดตั้งของระบบตางๆ ตามทีไ่ ดตรวจสอบ
จากสภาพสถานที่ติดตั้งตามความเปdนจริง และจากการปรึกษารวมกับผูรับจางระบบงานอื่นแลว เปdน
แบบอัตราสวน 1:100 และถาจําเปdนใหขยายภาพตัดเปdน 1:25 หรือ 1:50 ใหแกผูวาจางพิจารณา
อนุมัติอยางนอย 5 ชุด แบบใชงานนี้จะตองสงไปขอความเห็นชอบจากวิศวกรผูควบคุมงานกอน
ดําเนินการติดตั้งในเวลาอันสมควร แตจะไมนอยกวา 30 วัน
1.12 แบบสรางจริง (AS-Built Drawings)
1) ในระหวางดําเนินการติดตั้ง ผูรับจางจะตองทําแผนผัง และแบบตามที่สรางจริง แสดงตําแหนง
ของอุปกรณ7และการติดตั้งอุปกรณ7ตามทีเ่ ปdนจริง รวมทั้งการแกไขอื่น ๆ ที่ปรากฏในงานระหวาง
การติดตั้ง
2) แบบสรางจริงนี้ วิศวกรผูควบคุมการติดตั้ง จะตองลงนามรับรองความถูกตองและสงมอบใหแก
ผูวาจาง 4 ชุด ในวันสงมอบงาน แบบนี้ประกอบดวยแบบตนฉบับในกระดาษไขสามารถพิมพ7ได
1 ชุด และแบบพิมพ7เขียวอีก 4 ชุด มีขนาด และมาตราสวนเดียวกันกับของผูออกแบบหรือใช
งาน

8-8
3) สงแบบสรางจริงเปdนแบบขอมูล AutoCad บันทึกลง CD-ROM จํานวน 2 ชุด
1.13 ความรับผิดชอบ ตอวัสดุอุปกรณ7เดิมของอาคาร
การรื้อถอนวัสดุ และอุปกรณ7ที่ตองใชงานชั่วคราว และกระทําใหอยูในสภาพดีเชนเดิม ภายหลัง
จากสงมอบงานแลว ก็ยังคงอยูในความรับผิดชอบของผูรับจางเชนกัน
1.14 ความรับผิดชอบ ณ สถานที่ติดตั้ง
1) ผูรับจางตองระมัดระวังความปลอดภัย รวมทั้งอัคคีภัยเกี่ยวกับทรัพย7สินทั้งปวง และบุคคลรวม
ปฏิบัติงาน
2) ผูรับจางตองรับผิดชอบเต็มที่เกี่ยวกับเหตุเสียหายตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานการ
ติดตั้งและทดลองเดินเครื่อง
3) ผูรับจางตองดูแลสถานที่ปฏิบัติงานที่พักชั่วคราว ที่เก็บของตาง ๆ ใหสะอาดเรียบรอย และอยูใน
สภาพปลอดภัยตลอดเวลา
4) ผูรับจางตองพยายามทํางานใหเงียบ และสั่นสะเทือนนอยที่สุดเทาที่จะสามารถทําได เพื่อมิใหเกิด
ความเดือดรอน และมีผลกระทบกระเทือนตอคน หรืองานอื่น ๆ ที่อยูใกลสถานที่ติดตั้ง
5) ผูรับจางไดทําการติดตั้งสมบูรณ7แลว ผูรับจางตองขนยายเครื่องมือ เครื่องใชตลอดจนรื้อถอน
อาคารชั่วคราว ซึ่งผูรับจางไดปลูกสรางขึ้นสําหรับงานนี้ ออกไปใหพนจากสถานที่โดยสิ้นเชิง สิ่ง
ใดที่จะตองสงคืนใหแกผูวาจางก็ตองจัดการสงใหเรียบรอยเสร็จสิ้นไปกอนที่จะสงมอบงาน

6) ผูรับจางจะตองจัดใหมีชองทางเขาถึงเครื่องจักร และอุปกรณ7โดยมีขนาดทีเ่ หมาะสมเพื่อให


สะดวกแกการขนสง และการซอมบํารุงรักษา
1.15 การประสานงาน
ผูรับจางจะตองใหความสําคัญเกี่ยวกับการประสานงานอยางจริงจัง โดยจะตองปรึกษาและ
ประสานงานอยางใกลชิดกับการติดตั้งระบบในสวนที่เกี่ยวของกับผูรับจางรายอื่น ๆ เชนผูรับจางงาน
โครงสรางอาคาร, ผูรับจางงานระบบไฟฟPา, ผูรับจางงานระบบสุขาภิบาล, ผูรับจางงานตกแตงภายใน
เปdนตน อยูเสมอเพื่อลดปaญหาการขัดแยงกับผูวาจางระบบงานอื่น ๆ และเพื่อทําใหงานดําเนินไปได
โดยสะดวกราบรื่น
1.16 การรายงานผล และความคืบหนาของงาน
1) ผูรับจางจะตองสงรายงานสรุปผลความคืบหนาของการปฏิบัติงานติดตั้งเปdนลายลักษณ7อักษร
จํานวน 4 ชุด ใหแกผูวาจางโดยสม่ําเสมอเปdนรายอาทิตย7 และสิ้นสุดลงเมื่อสงมอบงานใหแกผูวา
จางเรียบรอยแลว
2) รายงานดังกลาวในขอ 1. จะตองเริ่มทําตั้งแตเมื่อเริ่มมีการปฏิบัติงานที่หนางานและสิ้นสุดลงเมื่อ
มอบงานใหแกผูวาจางเรียบรอยแลว

8-9
1.17 การทดสอบเดินเครื่อง และระบบ
1) ผูรับจางจะตองทําตารางแผนงานแสดงกําหนดการทดสอบเครื่อง และอุปกรณ7ตาง ๆ เสนอตอผู
วาจาง รวมทั้งจะตองจัดเตรียมเอกสารขอแนะนําจากผูผลิตในการทดสอบเครื่องเสนอตอผูวาจาง
จํานวน 2 ชุด
2) ผูรับจางจะตองทําการทดสอบเครือ่ งและอุปกรณ7การใชงานทั้งระบบตามหลักวิชาการ เพื่อแสดง
ใหเห็นวางานที่ทําถูกตองตามแบบและรายการที่กําหนดทุกประการ โดยมีผูแทนของผูวาจางรวม
ในการทดสอบดวย และผูรับจางจะตองเปdนผูเสียคาใชจายในการนี้ทงั้ สิ้น
3) อุปกรณ7 และเครื่องมือที่ใชในการทดสอบ ผูรับจางจะตองเปdนผูจัดหามาทั้งหมด
4) การทดสอบเครื่องและระบบตาง ๆ ใหเปdนไปตามกฎของการไฟฟPาและหนวยราชการที่เกี่ยวของ
ตลอดจนมาตรฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
1.18 การฝ„กอบรมเจาหนาที่รักษาเครื่อง
ผูรับจางจะตองจัดการฝ„กอบรมเจาหนาที่ควบคุมเครื่อง และรักษาเครื่องของผูวาจางใหมีความรู
ความสามารถในการใชงาน และการบํารุงรักษากอนสงมอบงาน

1.19 หนังสือคูมือการใช และบํารุงรักษาเครื่อง และอุปกรณ7


1) ผูรับจางตองจัดทํารายละเอียดของอุปกรณ7ที่ใชประกอบดวยวิธใี ช และระยะเวลาของการ
บํารุงรักษา รายการอะไหล และอืน่ ๆ เปdนภาษาไทย และ/หรือภาษาอังกฤษ สําหรับเครื่องและ
อุปกรณ7ทุกชิ้นที่ผูรับจางนํามาใชจํานวน 4 ชุด มอบใหแกผูวาจางในวันสงมอบงาน
2) หนังสือคูมือทั้งหมดผูรับจางตองสงรางเสนอผูวาจาง 1 ชุด เพื่อตรวจสอบและอนุมัติกอนการสง
มอบฉบับจริง
3) บทความโฆษณาของผูผลิตหรือแคตตาล็อค ไมถือวาเปdนหนังสือคูมือการใช และบํารุงรักษา
1.20 การรับประกัน
1) ผูรับจางตองรับประกันคุณภาพ ของเครื่องภายในระยะเวลา 2 ป† นับจากวันที่เครื่องติดตั้งแลว
เสร็จ และลงนามในเอกสารรับมอบงานแลว
2) ภายในชวงเวลาดังกลาวหากเครื่องวัสดุ และอุปกรณ7เสีย หรือเสื่อมคุณภาพ อันเนื่องจาก
โรงงานผลิต ผูรับจางตองดําเนินการเปลี่ยน หรือแกไขซอมแซมใหอยูในสภาพดีเชนเดิมโดยไม
ชักชา และรับผิดชอบในคาใชจายทั้งหมด
3) ผูรับจางตองรับประกันเปลี่ยน และ/หรือ แกไขวัสดุ อุปกรณ7 และงานตามขอกําหนดรวมทั้ง
ขอผิดพลาด ซึ่งผูวาจางตรวจพบไมวากอนหรือหลังจากการตรวจรับงาน
4) ผูรับจางตองรับประกันอุปกรณ7ของระบบตาง ๆ ดังกลาวขางตน ทําการแกไขที่ไมถูกตอง เปลี่ยน
วัสดุและอุปกรณ7ที่เสียหายหรือเสือ่ มคุณภาพ รวมทั้งการบริการรายเดือน และในกรณีฉุกเฉิน
ภายในระยะเวลา 2 ป† นับจากวันสงมอบงาน หากผูรับจางไมแกไข และดําเนินการใหเสร็จ
เรียบรอย ผูวาจางสงวนสิทธิ์ที่จะดําเนินการเองแลวคิดคาใชจายทั้งหมดจากผูรับจาง

8-10
1.21 การบริการ
1) ผูรับจางตองจัดเตรียมชางผูชํานาญงานในแตละระบบไวสําหรับการตรวจซอมแซม และ
บํารุงรักษาเครื่อง และอุปกรณ7ใหอยูในสภาพที่ใชงานไดดีเปdนประจําทุกเดือน ภายในระยะเวลา
2 ป† รวมอยางนอย 12 ครั้ง
2) ผูรับจางตองจัดทํารายการผลการตรวจสอบอุปกรณ7ทุกชิ้น และการบํารุงรักษาทุกครั้งเสนอตอผู
วาจางภายใน 7 วัน นับจากวันทีบ่ ริการ
3) ในกรณีผูวาจางมีความจําเปdนตองใชบริการฉุกเฉิน นอกเวลาทํางานปกติ ผูรับจางตองรับจัดทํา
โดยไมชักชา
1.22 การสงมอบงาน
1) ผูรับจางตองเป`ดเครื่อง และอุปกรณ7ตาง ๆ ใหอยูในสภาพที่ใชงานเต็มที่ หรือพรอมที่จะใชงานได
เต็มที่ เปdนเวลา 24 ชั่วโมง ติดตอกันหรือจนเปdนที่พอใจของผูวาจาง
2) ผูรับจางตองการทดสอบเครื่อง วัสดุ และอุปกรณ7ตามที่ผูวาจางจะกําหนดใหทดสอบ จนกวาจะ
ไดผลเปdนที่พอใจ และเปdนที่แนใจของผูวาจางวาเครื่องวัสดุ และอุปกรณ7เหลานั้นสามารถทํางาน
ไดดี ถูกตองตามขอกําหนดทุกประการ
3) รายการสงของตาง ๆ ตอไปนี้ที่ผูรับจางจะตองสงมอบใหแกผูวาจาง ในวันสงมอบงานถือเปdนสวน
หนึ่งของการตรวจรับมอบงานดวยคือ
− แบบสรางจริง
− หนังสือคูมือการใชและบํารุงรักษาเครื่องและอุปกรณ7
− เครื่องมือพิเศษสําหรับใชในการปรับแตง ซอมบํารุงเครื่องจักรและอุปกรณ7 ซึ่งโรงงาน
ผูผลิตสงมาใหดวย
4) คาใชจายที่เกิดขึ้นในการทดสอบเครื่องและตรวจรับมอบงานอยูในความรับผิดชอบของผูรับจาง
ทั้งสิ้น

8-11
ระบบประปา และสุขาภิบาล
2. ระบบน้ําประปา ท1อน้ํา และการติดตั้ง
2.1 ความตองการทั่วไป
1) ทอน้ําและอุปกรณ7ที่ใชเปdนวัสดุที่ผลิตภายในประเทศ ภายใตมาตรฐานผลิตภัณฑ7อุตสาหกรรม
หรือ มอก. และไดรับใบรับรองจาก มอก. ดวย
2) ทอน้ําและอุปกรณ7ที่นําเขาจากตางประเทศ จะตองไดรับการรับรองจากมาตรฐาน BS Standard
หรือ ASTM Standard หรือ JIS Standard
2.2 วัสดุและโครงสราง
1) ทอน้ําประปา
1. ทอเมนประปาในแนวดิ่ง (Up Feed & Down Feed) ใหใชทอเหล็กชุบสังกะสี (Hot Dip
Galvanized Schedule 40) ตามมาตรฐาน ASTM A-53 และตองมีวาล7วระบายน้ําทิ้ง
ขนาด 25 มิลลิเมตร (1 นิ้ว) ประกอบดวยที่จุดต่ําสุดของทอเมนนั้น ๆ
2. ทอภายในอาคาร (ทอน้ําเย็น) ใหใชทอ PE-Lined or PVC –Lined Steel Pipe ตาม
มาตรฐาน BS 1387-1985 Class M
3. ทอภายนอกอาคารใหใชทอ HDPE ตามมาตรฐาน ASTM D-2239 และ มาตรฐาน
มอก. 982-2533 ขนาดมาตรฐาน PN 10
2) ทอน้ําดื่ม
ทอน้ําดื่มภายในอาคาร ใหใชทอ Stainless Steel ตามมาตรฐาน ASTM A312, ANSI-
B3619 และ มอก. 1006-2533 TYPE 316
3) ทอสวมและทอน้ําทิ้ง
1. ทอระบายน้ําทิ้งจากสุขภัณฑ7ใหใชทอเหล็กหลอ Class Extra Heavy ตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ7อุตสาหกรรมที่ มอก. 533-2530 ตอดวยปลอกรัด พรอมสลักและสกรู ทํา
ดวยเหล็กกลาไรสนิม
2. ทอที่ฝaงดิน ใหใชทอ High - Density Polyethylene (HDPE) ตามมาตรฐาน ASTM D-
2239 และมาตรฐาน มอก. 982-2533 ขนาดมาตรฐาน PN 6.3
4) ทอระบายอากาศ
1. ทอโดยทั่วไปในหองน้ํา และทอในแนวดิ่ง ใหใชทอเหล็กอาบสังกะสี ตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ7อุตสาหกรรมที่ มอก. 277-2532 (Galvanized Steel Pipe Class B)
2. ทอที่ฝaงดิน ใหใชทอ High - Density Polyethylene (HDPE) ตามมาตรฐาน ASTM D-
2239 และมาตรฐาน มอก. 982-2533 ขนาดมาตรฐาน PN 6.3
5) ทอระบายน้ําฝน
1. ทอน้ําฝนภายในอาคารใหใชทอเหล็กอาบสังกะสี (Galvanized Steel Pipe Class B)
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ7อุตสาหกรรมที่ มอก. 277-2532
2. ทอระบายน้ําฝนรอบอาคารที่ฝaงดินกอนเขาบอพักน้ําฝน ใหใชทอ High – Density
Polyethylene (HDPE) ตามมาตรฐาน ASTM D-2239 และมาตรฐาน มอก. 982-
2533 ขนาดมาตรฐาน PN 6.3

8-12
6) ทอระบายน้ํารอบบริเวณ
ใหใชทอระบายน้ําคอนกรีตเสริมเหล็กชนิดปากลิ้นรางตามมาตรฐานผลิตภัณฑ7
อุตสาหกรรมที่ มอก. 128-2528 ชั้นที่ 3
7) ทอระบายน้ําเสียรอบบริเวณ
ทอระบายน้ําเสียที่ตดิ ตั้งภายนอกอาคาร และตออยูระหวางบอบําบัดน้ําเสียเบื้องตน ให
ใชเปdนทอ High Density Polyethylene (HDPE) ขนาดตามมาตรฐาน ASTM D-2239 และ
มาตรฐาน มอก. 982-2533 PN 6.3
8) ทอระบายน้ําทิ้งจากครัว (Kitchen Waste Pipe)
ใหใชมาตรฐานเดียวกันกับทอน้ําทิ้ง
9) ทอน้ํารอน
ใหใชทอ PPR-80 แบบ Fiber composite pipe SDR 6 (PN 20)
Durable class ทนอุณหภูมิได 95 oC ผลิตตามมาตรฐาน DIN 8077/78 และ ISO
15874 การตอทอใหใชวิธีเชื่อม หรือขันเกลียวตามมาตรฐานผูผลิต

ทอน้ํารอนขนาด Ø ไมเกิน 1½” ใหหุมดวยฉนวน Fiber glass ที่มีอลูมิเนียมฟอยด7


ชนิดทนไฟป`ดอยูผิวนอก ฉนวนใหใชชนิดที่มีความหนาแนนไมนอยกวา 3.5 ปอนด7/ลบ.
ม. หรือหุมดวยฉนวนยาง Closed cell Foam electrometric ขนาดความหนาฉนวนให
เลือกใชดังนี้
ขนาดทอ ความหนาฉนวน (นิ้ว)
ฉนวน Fiber Glass ฉนวนยาง
ไมเกิน Ø ½” 1½” 1”
ตั้งแต 2” ขึ้นไป 2” 1½”

ทอน้ํารอนสวนที่ฝaงผนังใหใชฉนวนยางหนาไมนอยกวา 3/8”

ทอหุมฉนวนสวนที่เดินอยูภายนอกอาคารใหหุมดวยแผนอลูมิเนียมหนาไมนอยกวา 0.6
มม.

10) ทอน้ําออน

ใชทอเหล็กอาบสังกะสีชั้นคุณภาพ 2 ผลิตตามมาตรฐาน มอก. 277-2521

11) ขอตอทอเหล็กอาบสังกะสี
สําหรับทอขนาด 80 มิลลิเมตร (3 นิ้ว) หรือเล็กกวา ใหใชเหล็กอาบสังกะสีชนิดเหนียวตอ
ดวยเกลียวตามมาตรฐานผลิตภัณฑ7อุตสาหกรรมที่ มอก. 249-2520 การตอทอเหล็กอาบ
สังกะสีใหใชเทปพันเกลียวสําหรับการตอทอเหล็กอาบสังกะสี สําหรับทอขนาดตั้งแต 100
มิลลิเมตร (4 นิ้ว) ขึ้นไป ใหตอดวยหนาแปลน หรือตอเชื่อมในกรณีทอระบายน้ําฝน

8-13
12) ขอตอทอ HDPE
1. การเชื่อมทอพีอีตองเปdนแบบ Butt Fusion Welding หรือการเชื่อมแบบหนาจาน โดยใช
Stub end และ Backing Ring ใหเปdนไปตามการออกแบบของผูผลิต
2. การตอเชื่อมแบบ Butt-Fusion Melt Flow Index ของวัสดุที่ใชทําทอและอุปกรณ7ที่
นํามาตอจะตองมีคาตางกันไมเกิน 0.5
3. ความหนาและการเจาะรู Backing Ring ใหเปdนไปตามที่กําหนดในมาตรฐาน ISO 13
13) ขอตอทอ PE-Lined or PVC –Lined Steel Pipe
การตอทอใหเปdนไปตามมาตรฐานและคําแนะนําจากผูผลิต
14) ขอตอทอเหล็กหลอ
ขอตอทอเหล็กหลอชนิดปลอกรัดจะมีปลายเรียบทั้ง 2 ดาน ใชการตอดวยปลอกยาง
Neoprene ที่เปdนยางสังเคราะห7 ผลิตตามมาตรฐาน ASTM D-15 ปลอกรัดที่มีสลักและสกรูทํา
ดวยเหล็กกลาไรสนิม (Stainless Steel) เกรด 304 การทดสอบคุณสมบัติยาง Neoprene
จะตองเปdนไปตามมาตรฐาน ASTM D 15
การตอทอเหล็กหลอซึ่งใชเปdนทอโสโครกใหใชขอตอเหล็กแบบปากระฆังชนิดหนา (Extra
Heavy Weight Cast Iron Bell and Spigot Fittings) การตอขอตอแบบนี้ทําไดโดยการ
สอดปลายดาน Spigot เขาไปในปากระฆังจนสุด จากนั้นก็ใชเครื่องมืออัด (Caulking
Tool) ประเก็นเสนปอ (Oakum) เขาไปโดยรอบแลว จึงทําการเทตะกั่วหลอมเหลว
เขาไปจนเต็ม การตอขอตอแบบปากระฆัง ตองอาศัยความชํานาญมากกวาการตอดวย
เกลียว

15) ระบบน้ําใช (Water Supply System)

(1) วาล7วลูกลอย (Float Valve)


สําหรับควบคุม 2 ระดับ วาล7วเปdนแบบ Hydraulically Opened Globe Type
Main Valve และมี Modulating Type Float Pilot รักษาระดับน้ําโดยการเป`ด
วาล7วและป`ดวาล7วตามระดับที่ตั้งเอาไวลวงหนา ตัววาล7วทําดวยเหล็กหลอ Seat
และ Stem ทําดวยสเตนเลสสตีล Disc ทําดวยโปลียูรีเทน ไดอะแฟรมทําดวย
Reinforced Synthetic Rubber ไพลอทวาล7วทําดวยทองเหลือง ลูกลอยทํา
ดวยสเตนเลสสตีล

ใชกับ : ถังน้ําใตดิน
ขอตอ : แบบหนาจาน ANSI 125
อุณหภูมิใชงาน : น้ําเย็นธรรมดา (ราว 28 องศาเซลเซียส)

(2) สวิทซ7ควบคุมระดับน้ํา (Liquid Level Control)


เปdนสวิทซ7แบบใชอีเลคโทรด Electrode Holder แบบหนาแปลน มี Induction
Relay ใชสําหรับควบคุม การทํางานของเครื่องสูบน้ําเขาถัง อีเลคโทรดเปd น
แบบสเตนเลสสตีล หุมดวย Plastic Shield Relay มีอยู 2 แบบ ดังนี้

8-14
(ก) แบบ 3 อีเลคโทรด ใชกับถังเก็บน้ําใตดิน มีการทํางาน ดังนี้
- จะสั่งตัดไฟออกจากเครื่องสูบน้ํา เมื่อระดับน้ําในถังลดลงต่ําสุด (Low
Water Level)
- ตอไฟใหเครื่องสูบน้ําทํางาน เมื่อระดับน้ําในถังสูงขึ้นถึงระดับที่ตั้งไว
- ถาระดับน้ําสูงขึ้นจนเกือบถึง หรือถึงระดับทอน้ําลน (High Water
Level) จะสงสัญญาณเสียง Alarm ใหทํางาน

(ข) เปdนแบบ 5 อีเลคโทรด ใชกับถังเก็บน้ําบนหลังคา มีการทํางาน ดังนี้


- สั่งตัดไฟ, หยุดเครื่องสูบน้ํา CWP-1 หรือ CWP-2 เมื่อระดับน้ําสูงถึง
กําหนด
- เดินเครื่องสูบน้ําเมื่อระดับน้ําลดต่ําลงถึงจุดต่ําสุดที่กําหนดไว (Low
Water Level)
- สั่งตอไฟใหเครื่องสูบน้ําทั้งสองเดินเสริมกันเมื่อระดับน้ําใชลดลง ถึง
ระดับน้ําสํารองสําหรับดับเพลิง
- ถาระดับน้ําใชในถังสูงเกือบถึงหรือถึงระดับทอน้ําลน จะมีสัญญาณ
เตือนที่แผงควบคุมชั้นลาง (High Water Level Alarm)
- ถาระดับน้ําใชในถังลดลงไปต่ํากวานี้อีก จะมีสัญญาณเตือน แสดงวา
เครื่องสูบน้ําขัดของ

(3) มิเตอร7น้ําประปา
เปdนมิเตอร7แบบ Horizontal หรือ Vertical Magnetic Drive ตามที่แสดงไวใน
แบบ สํ า หรั บวัด ปริม าณน้ํ า ประปา ตัว เรือ นทํา ดวยเหล็ กหลอ มี ตั วเลขวัด น้ํ า
(Totalizer) อานไดละเอียดเปdนหนวยลูกบาศก7เมตร/ชั่วโมง และมีตัวเลขอานได
ละเอียดเปdนหนวยลิตร/ชั่วโมง มีความคลาดเคลื่อนไมเกิน 5% ไดรับการรับรอง
การผลิตตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก. 1021

16) ทอระบายน้ํารอบโครงการ

- ใหใชทอคอนกรีตเสริมเหล็กชนิดปากลิ้นราง ตามมาตรฐาน มอก. 128-2528


ชั้นที่ 2 หรือทอซีเมนต7ใยหิน ตามมาตรฐาน มอก. 106-2517
- บอพักสําหรับทอระบายน้ําฝน จะตองสรางดวยคอนกรีตเสริมเหล็กพรอมฝาป`ด
ชนิดคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือฝาตะแกรงเหล็กตามที่แสดงไวแบบ จะตองทําการ
กอสรางบอพัก ตามตําแหนงที่ระบุ ไวในแบบ และตรงจุด ที่มีการเปลี่ยนแปลง
ทิศทาง หรือบรรจบของทอ
- รางระบายน้ําเพื่อจะรวบรวมน้ําฝนไปสูบอพัก ทําดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก มีฝาป`ด
ทําดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือตะแกรงเหล็กตามที่ระบุไวในแบบ
- ติดตั้งบอดักขยะ หรือบอตรวจคุณภาพน้ํา เพื่อรับน้ําที่มาจากพื้นที่กอนตอเขากับ
บอพักระบายน้ําสาธารณะ แมวาจะมิไดระบุไวในแบบก็ตาม บอดักขยะหรือบอ
ตรวจเปdนคสล. ถาไมไดระบุไวในแบบใหใชขนาดภายใน 1.80 x 0.80 มีฝาเปdน

8-15
ตะแกรงเหล็ก ภายในบอจะมีตะแกรงดักขยะทําดวยเหล็กแบนขนาด 25 x 6
มม. ติดภายในบอเปdนมุมไมนอยกวา 60 องศา กับแนวระดับ ตะแกรงเหล็กตอง
ทาดวย Coal-Tar Epoxy อยางนอย 2 ชั้น

17) ทอระบายน้ําของสวน

ทอระบายน้ําใตดินของสวนหรือสนามหญาใหใชทอ Flexible Permeable Hose ตัวทอ


เปdนแกนเหล็กผสมคาร7บอน เคลือบดวยวัสดุกันสนิมและพลาสติกพีวีซี ตัวทอจะหุมหอ
ดวยเสนใยสังเคราะห7ที่เ คลือบดวยพีวีซีสลั บกับผากรอง การตอทอใหใชวิธีมัด เสนใย
สังเคราะห7ที่อยูปลายทอเขาดวยกันใหแนน หรือใชลวดเหล็กชุบสังกะสีรัดใหแนน แลว
กลบบริเวณขอตอโดยรอบดวยหินเบอร7 2
18) ทอรวบรวมน้ําเสีย (Wastewater Pipe)

ใหใชทอ HDPE (High Density Polyethylene Pipe) ตามมาตรฐาน DIN 8074,


8075 Class PN6 และใหใชทอ HDPE (High Density Polyethylene Pipe) ตาม
มาตรฐาน DIN 8074, 8075 Class PN10 สําหรับทอสวนฝaงดินลอดถนน ถาตอแบบ
หนาแปลน, น’อต, สกรู, แหวน จะตองทําดวย Stainless Steel

19) ขอตอทอเหล็กอาบสังกะสี

ใหใชชนิดเหล็กอบเหนียว (Malleable Iron) ตอดวยเกลียวตามาตรฐาน มอก. 249-


2520 การตอทอเหล็กเหนียวอาบสังกะสีใหใชเทปพันเกลียว สําหรับการตอทอเหล็ก
เหนียวอาบสังกะสี สําหรับทอขนาด 3" และใหญกวาใหตอโดยใชหนาแปลน (Flange)
ขนาด 150 ปอนด7

20) ขอตอทอพีวีซี

ใหใชอุปกรณ7 พีวีซี สําหรับทอระบายน้ํา หรือทอรับความดัน สําหรับการตอทอแบบใช


น้ํายาประสาน (Solvent Cement) ใหใชน้ํายาของบริษัทผูผลิตเทานั้น และใหปฏิบัติตาม
ขอแนะนําของผูผลิตอยางเครงครัด

21) ขอตอทอพีพีอาร7 (PPR)

ใหใชอุปกรณ7พีพีอาร7 ตอแบบเชื่อม (Welding Socket) หรือขันเกลียวตามมาตรฐานของ


ผูผลิต

8-16
22) ทอคอนกรีตเสริมเหล็ก

การตอทอคอนกรีตเสริมเหล็ก จะตองสวมทอใหแนบสนิท อัดซิเมนต7โดยรอบและตลอด


ความยาวของทอที่เหลื่อมกัน แลวพอกดวยซิเมนต7ผสมทรายละเอียดในอัตราสวน 1:2
ผสมน้ําพอประมาณ โดยรอบบริเวณรอยตอ ขนาดของรอยตอกวาง 10 ซม. และหนา 5
ซม.

23) ขอตอซิเมนต7ใยหิน

ใหใชเปdนแบบแหวนยาง การตอทอซิเมนต7ใยหิน จะตองตอโดยใสแหวนยางในรองในขอ


ตอแลวทาแหวนยาง และปลายทอดวยน้ํายาหลอลื่นทอของบริษัทผูผลิตเสียกอน จึงสวม
ขอตอเขา

24) ขอตอทอ HDPE

ใหใชเปdนแบบเชื่อมโดยใชความรอน (Butt Fusion Welding) หรือเชื่อมหนาแปลน


(Stub End W/Backing) การตอทอ HDPE แบบเชื่อมโดยใชความรอนหลอมทอ (Butt
Fusion Welding) ใหกระทําโดยปากปลายทั้งสองทอที่เชื่อมเขาดวยกันใหเรียบ และ
สะอาดเสียกอน จึงวางแผนความรอนที่มีอุณหภูมิถึง 200oC แลวอัดทอทั้งสองใหติดกับ
แผนความรอนจนทอเริ่มหลวมตัว จึงนําแผนความรอนออก แลวอัดทอทั้งสองเขาดวยกัน
ดวยความดันเดียวกันกับชิ้นความดันของทอ

การตอทอแบบหนาแปลน ใหสวมวงแหวนหนาแปลน (Backing Ring) จากนั้นจึงเชื่อม


หนาแปลน (Stub End) เขากับทอ

25) อุปกรณ7ประกอบทอ (Pipe Fittings)

อุปกรณ7ป ระกอบของทอโสโครก ทอน้ํา ทิ้ง และทอระบายน้ํา จะตองเปdน ขอตอชนิ ด


ระบายน้ํา (Drainage Pattern) งอโคงตอเนื่อง (Smooth Curve) และมีรัศมีความโคง
ยาว (Long Radius) หามใชขอตอ Tee หรือ 90o Elbow โดยเด็ดขาด ทอเปลี่ยนขนาด
ใหใชขอลด (Reducer) หรือ ขอขยาย (Increaser) เทานั้น ทอเปลี่ยนทิศทางใหใชขอตอ
แบบ Y, T-Y ขอโคงรัศมียาว ¼, 1/8 แบบ Sanitary Tee อาจจะนํามาใชกับทอใน
แนวดิ่ง (Vertical Stack) ในกรณีที่จําเปdน

26) การตอทอ (Joints in Piping)

(1) การตอทอแบบเกลียว
ตองทําความสะอาดปลายทอกอนทําเกลียว และหลังจากทําเกลียวแลวใหปaดเอา
เศษขลุยโลหะออกใหหมด การตอทอแบบเกลียวใหใชน้ํายาทาทอลงบนเกลียว
ของทอ (เกลียวตัวผูหรือเกลียวนอก) เทานั้น

8-17
(2) การตอทอพีวีซี
ตอโดยใชขอตอพีวีซีเชื่อมประสานดวยน้ํายาเชื่อมทอ(Solvent Cement)

27) การรองรับทอ (Pipe Support)

ผู รั บ จาง จะตองทํ า การยึ ด และรองรั บ ทอดวยความประณี ต ทอที่ เ ดิ น ในแนวนอน


(Horizontal) ซึ่งอยูในทิศทางขนานกันหลายๆ ทอ กําหนดใหรองรับดวยที่แขวนทอ
แบบ Trapeze Hanger เทาที่จะทําได (ใชกับทอในลักษณะที่ไมตองการคาความลาด
เอียง หรือความลาดเอียงเทากัน) ทอที่เดินเดี่ยว (Single-Run) ใหใชที่แขวนแบบทอ
Clevis ทอที่เดินในแนวดิ่ง (Vertical Run) ใหยึดติดกับองค7อาคารทุกๆ ชั้นดวย Clamp
ยึดทอตามแบบ/รายละเอียด หามใหผูรับจางยึดทอดวยลวดหรือโลหะ ซึ่งเปdนโพรงไม
แข็งแรงโดยเด็ดขาด ในโครงสรางคอนกรีตกําหนดใหผูรับจางทําการฝaงเหล็ก Insert (ซึ่ง
ตองขออนุมัติกอนนํามาใช) เพื่อการรองรับทอ

(1) ระยะหางของเหล็กแขวนทอ (Spacing of Hangers)

ขนาดทอ (นิ้ว) ระยะหาง (ม.)


ชนิดทอวัสดุ ของเหล็กแขวน
ทอเหล็ก (Steel Pipe) ขนาด ¾” และเล็กกวา 1.80
ตั้งแต 1” ถึง 6” 2.50
ขนาด 8” และใหญกวา 3.60
ทอพีวีซีและทอพีบี ขนาด 2” และเล็กกวา 0.90
แนวราบ ขนาด 2½” ถึง 6” 1.80
ทอพีวีซีและทอพีบี ขนาด 2” และเล็กกวา 1.80
แนวดิ่ง ขนาด 2½” ถึง 6” 3.00

(2) ทอในแนวดิ่ง ใหผู รั บจางยึ ด เหล็ กราง (C-Channel) หรื อเหล็ก ฉากเขากั บ
โครงสรางพื้นหรือผนังอาคาร เพื่อใหเปdนฐานสําหรับยึดทอในแนวดิ่ง ระยะหาง
ของเหล็กรางกําหนดใหมีทุกชั้นของอาคาร (ไมเกินหนึ่งชั้นหรือนอยกวา) ทําการ
ยึดทอดวย Clamp เขากับเหล็กราง

ฐานของทอดิ่ง จะตองทําการยึดหรือรองรับใหแนนหนา ในกรณีที่ฐานทอดิ่งอยูต่ํา


กวาระดับดิน ใหรองรับฐานทอดวยอิฐ หิน หรือ ตอมอคอนกรีต พรอมทั้งเหล็ก
แขวนทอ (Hanger) จากพื้นชั้นลางของอาคาร

(3) ทอเปลี่ยนทิศทาง ในกรณีที่ทอเปลี่ยนทิศทาง ใหรองรับทอไมเกินระยะ 60 ซม.


จากจุดเปลี่ยนทิศทาง

8-18
(4) ขนาดเหล็กแขวนทอ (Hanger Rods) ขนาดของเหล็กแขวนทอ ใหเปdนไป
ดังตอไปนี้

1. ทอขนาด 1” และเล็กกวา ขนาดเหล็กเสน 6 มม.


2. ทอขนาด 1½” – 2” ขนาดเหล็กเสน 9 มม.
3. ทอขนาด 2 ½” –4” ขนาดเหล็กเสน 12 มม.
4. ทอขนาด 5” ขนาดเหล็กเสน 15 มม.
5. ทอขนาด 6” และใหญกวา ขนาดเหล็กเสน 18 มม.

2.3 วิธีการกอสราง
1) ฝ†มืองาน
1. ผูรับจางจะตองใชชางฝ†มือดี ซึ่งชํานาญงานโดยเฉพาะในแตละประเภท มาปฏิบัติงาน
ติดตั้งระบบทอ เครื่องสุขภัณฑ7 และอุปกรณ7 และจะตองควบคุมการทํางานของชาง
เหลานี้ ใหดําเนินไปโดยชอบดวยหลักปฏิบัติดังตอไปนี้
2. การตัดทอแตละทอนจะตองใหไดระยะสั้นพอ ตามความตองการทีจ่ ะใช ณ.จุดนั้นๆ ซึ่ง
เมื่อตอทอบรรจบกันแลว จะไดแนวทอที่สม่ําเสมอไมคดโกงและคลาดเคลื่อนจากแนวไป
3. การวางทอจะตองวางในลักษณะทีเ่ มื่อเกิดการหดตัวหรือขยายตัวของทอเนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ การหดตัวหรือการขยายตัวของทอนั้นจะไมทําใหเกิดการเสียหาย
ขึ้นแกตัวทอนั้นเองหรือแกสิ่งใกลเคียง
4. การตัดทอใหใชเครื่องสําหรับตัดทอโดยเฉพาะ และจะตองควานปากทอขูดเศษทอที่ยังติด
คางอยูปากทอออกเสียใหหมด หากจะทําเกลียวจะตองใชเครื่องทําเกลียวที่มีฟaนคม
เพื่อใหฟaนเกลียวเรียบ และไดขนาดตามมาตรฐาน
5. ทุกที่ ที่จะตองเปลี่ยนแนว หรือทิศทางของทอ ใหใชขอตอตามความเหมาะสม (ขอตอ
หมายถึง ขอโคง ของอ สามตา เปdนตน) และหากมีการเปลี่ยนขนาดของทอ ณ จุดใด ให
ใชขอลดเทานั้น
2) ลักษณะการเดินทอ
การติดตั้งทอจะตองกระทําดวยความปราณีต ปรากฏความเปdนระเบียบเรียบรอยแก
สายตา การเลี้ยว การหักมุม การเปลี่ยนแนวระดับจะตองใชขอตอที่เหมาะสมใหกลมกลืนกับ
ลักษณะรูปรางของอาคารในสวนนั้นๆ แนวทอตองใหขนาน หรือตัง้ ฉากกับอาคารเสมอ หรือใหเฉ
หรือเอียง จากแนวอาคาร หากที่ใดจะตองแขวนทอจากเพดาน หรือจากโครงสรางเหนือศรีษะ
และมิไดกําหนดตําแหนงที่แนนอนไวในแบบแลว จะตองแขวนใหทอนั้นชิดดานบนใหมากที่สุด
เทาที่จะทําได ทั้งนี้เพื่อมิใหทอนั้นเปdนที่กีดขวางแกสิ่งที่ติดตั้งเพดาน หรือเหนือศรีษะ เชน โคมไฟ
ทอลม เปdนตน ผูรับจางจะตองตรวจสอบแนวระดับทอของระบบทอตางๆ ใหแนนอนเสียกอน
การติดตั้งระบบทอระบบใดระบบหนึ่ง เพื่อไมใหทอเหลานั้นกีดขวางกัน

8-19
3) การวางตําแหนงของสวนประกอบการเดินทอ
บรรดาสวนประกอบตาง ๆ ของระบบทอ เชน วาล7วน้ํา มาตรวัดน้ํา มาตรวัดความดัน
เปdนตน จะตองวางใหอยูในตําแหนงที่เหมาะสมกับการใชงานโดยปกติ และสามารถ ถอดซอม
บํารุงรักษาหรือเปลี่ยนใหมไดโดยงาย
4) ขอหามในการตอทอรวมระหวางระบบทอ
ระบบทอน้ําที่ใชในการบริโภคนั้น หามตอบรรจบกับระบบทอโสโครกและทอระบายน้ํา
ทิ้งเปdนอันขาด หากแนวของทอน้ําที่ใชในการบริโภคจะตองเดินขนาน หรือตัดกับแนวของทอ
โสโครก หรือทอระบายน้ําทิ้งแลว แนวที่ขนานหรือตัดกันนั้น ทอน้าํ ที่ใชในการบริโภคจะตองอยู
เหนือทอโสโครก หรือทอระบายน้าํ ทิ้งเปdนระยะไมนอยกวา 0.30 ม. หรือทอระบายน้ําทิ้งสวนนี้
จะตองเปdนทอชนิดเหล็กหลอ และมีระยะที่ตอยาวออกไปจากจุดตัด หรือสวนที่ขนานกันเปdน
ระยะทางไมนอยกวาขางละ 3.00 ม. ทั้งสองขาง
5) ปลายทางของทอน้ํา และทอระบายน้ํา
หากในแผนผังปรากฏวามีทอน้ําหรือทอระบายน้ําแสดงไว สําหรับตอเติมขยายออกไปใน
อนาคตแลว จะตองตอทอเหลานีอ้ อกไปใหพนจากตัวอาคารไมนอยกวา 1.50 ม. แลวใชปลั๊กอุด
หรือฝาครอบเกลียวป`ดไว และหากจําเปdนจะตองกลบดินในระยะนีเ้ สียกอน ก็อาจจะทําไดโดย
ตอกหลักปaกปPาย แสดงตําแหนง ปลายทอเหลานี้ไว
6) การปPองกันการชํารุดระหวางการติดตั้ง
ใหปฏิบัติตามแนวทางดังตอไปนี.้ -
1. ปลายทอทุกปลายใหใชปลั๊กอุด หรือฝาครอบเกลียวครอบไว หากจะตองละจากงานตอ
ทอในสวนนั้นไปชั่วคราว
2. เครื่องสุขภัณฑ7 และอุปกรณ7 ใหหุมทอหรือปPองกันทอไว เพื่อมิใหเกิดการแตกหักบุบ
สลาย
3. วาล7วน้ํา ขอตอ และสวนประกอบอื่นๆสําหรับการติดตั้งทอ ใหตรวจดูภายใน และทํา
ความสะอาดภายในใหทั่วถึงกอนนํามาประกอบติดตั้ง
4. เมื่อไดกระทําการติดตั้งเสร็จสมบูรณ7แลว จะตองตรวจดูความเรียบรอย และทําความ
สะอาดเครื่องสุขภัณฑ7 และอุปกรณ7เหลานี้อยางทั่วถึง เพื่อสงมอบงานใหแกผูวาจางใน
สถานที่ปราศจากตําหนิ และขอบกพรอง
7) การแขวนโยงทอ และการยึดทอ
ทอที่เดินภายในอาคาร และไมไดฝaงจะตองแขวนโยงหรือยึดติดไวกับโครงสรางของอาคาร
อยางมั่นคงแข็งแรงโยกคลอนแกวงไกวไมได การแขวนโยงทอที่เดินตามแนวราบใหใชเหล็กรัดทอ
ตามขนาดของทอรัดไว แลวใหแขวนยึดติดกับโครงอาคารอยางแข็งแรง หากมีทอหลายทอเดิน
ตามแนวราบขนานกันเปdนแพ จะใชสาแหรกแขวนรับไวทั้งชุดแทนใชเหล็กรัดทอแขวนแตละทอก็
ได ที่แขวนทอ และสาแหรกดังกลาวนั้น หากในแบบระบุไวจะตองมีชะเนาะ (Turnbuckle)
ประกอบใหไดเสร็จเพื่อจัดทอใหไดระดับเดียวกันได ในกรณีที่ไมอาจใชชะเนาะเกลียวได
ผูรับเหมาจะตองจัดหาอุปกรณ7อื่นที่ใชประโยชน7ไดเทากันมาใชแทน หามแขวนทอดวยโซ ลวด
เชือก หรือสิ่งอื่นใดที่มีลักษณะไมมั่นคงแข็งแรง
1. ทอที่ติดตั้งในแนวดิ่งหรือแนวตั้ง
• ทอเหล็กอาบสังกะสีที่มีขนาดตั้งแต 80 มิลลิเมตร (3 นิ้ว) ขึ้นไป ทุกๆระยะ
ครึ่งหนึ่งของความยาวของทอแตละทอนจะตองมีที่ยึด หรือแขวน หรือรองรับ
อยางนอยหนึ่งแหง

8-20
• ทอเหล็กอาบสังกะสีที่มีขนาดตั้งแต 65 มิลลิเมตร (2 1/2 นิ้ว) ลงมา ทุกๆ
ระยะไมต่ํากวา 1.20 ม. จะตองมีที่ยึดหรือแขวนหรือรองรับอยางนอยหนึ่งแหง
• ทอ พีวีซี ทุกๆระยะ 1.00 ม. และทุกๆรอยตอจะตองมีที่ยึดหรือรองรับ หรือ
อยางนอยหนึ่งแหง
• ทอเหล็กหลอ จะตองมีที่ยึดหรือแขวนหรือรองรับทอทุกๆชั้นของอาคารหรือไม
นอยกวาทุกชวงของความยาว ทอแตละทอ และตรงฐานลาง
2. ทอที่วางไวในแนวราบหรือแนวระดับ
• ทอเหล็กอาบสังกะสี ทุกๆ ระยะไมเกิน 2.00 ม. จะตองมีที่ยึด หรือแขวน หรือ
รองรับอยางนอยหนึ่งแหง
• ทอ พีวีซี ทุกๆ ระยะไมเกิน 1.00 ม. และทุกๆรอยตอจะตองมีที่ยึด หรือแขวน
หรือรองรับอยางนอยหนึ่งแหง
• ทอเหล็กหลอที่ตอกันดวยปากแตร หรือปลอกเหล็กอัดดวยแหวนยาง จะตองมีที่
ยึดหรือแขวนหรือรองรับทุกๆระยะขอตอ และทุกๆ ระยะครึ่งทอนของทอ
3. ทอทุกชนิดที่วางอยูในดิน จะตองวางอยูบนพื้นที่อัดแนนตลอดแนวความยาวของทอ และ
เมื่อกลบดินแลว จะตองอัดดินเปdนชั้น ๆ
4. ทอโลหะที่วางอยูในดิน จะตองทาดวยฟลิ้นโคท 1 ชั้น แลวพับดวยผาดิบ จากนั้น ใหทา
ดวยฟลิ้นโคทอีก 1 ชั้น ทั้งนี้ใหรวมทั้งที่รองรับทอดวย
5. ทอที่เดินในแนวระดับ จะตองรองรับดวยที่แขวนหรือที่รองรับแบบชิงชาเหล็กเสนที่ใช
แขวนใหมีขนาดดังนี้ .-
ขนาดของท1อ ขนาดของเหล็กเส%น
15 mm.-40 mm. (φ 1/2"- φ 1 1/2") φ 9 มม.
50 mm.-80 mm. (φ 2 " - φ 3") φ 12 มม.
100 mm.-150 mm. (φ 4 "- φ 6") φ 15มม.
6. ผูรับจางจะตองจัดหาอุปกรณ7ที่เหมาะสมในการยึดทอ และอุปกรณ7ในระบบสุขาภิบาลกับ
โครงสรางอาคาร เชน โครงเหล็ก เหล็กยึดที่ถูกตองตามหลักวิชาการ หากจะใช
Expansion Bolt จะตองเปdน Expansion Bolt ที่ผานการรับรองแลววาสามารถรับ
น้ําหนักตามตองการไดโดยมีคาความปลอดภัยไมต่ํากวา 3 เทา (Safety Factor = 3)
8) การตัดเจาะ และซอมสิ่งกีดขวาง
หากมีสิ่งกอสรางใดๆ กีดขวางแนวของทอแลว ผูรับจางจะตองแจงรายละเอียดใหแกผูวา
จางทราบพรอมกับเสนอวิธีการที่จะตัดเจาะสิ่งกีดขวางนั้นกับวิธีการซอมกลับคืนดวย และจะตอง
ไดรับอนุมัติจากผูวาจางเสียกอนจึงจะปฏิบัติงานได การตัดเจาะและซอมสิ่งกีดขวางนี้ ผูรับจาง
จะตองใชชางที่มีความชํานาญในการนั้นๆ โดยเฉพาะ และจะตองกระทําดวยความระมัดระวัง
รวมทั้งแจงใหผูเกี่ยวของทราบกอนที่จะดําเนินการตัดเจาะดวย

9) การปPองกันการผุกรอน
วัสดุที่เปdนโลหะที่นํามาใชในโครงการนี้ทุกชนิด จะตองผานกรรมวิธีการปPองกันสนิม และ
การผุกรอนที่เหมาะสมมาแลวทั้งสิ้น เชน การพนอบสีจากโรงงาน การทําความสะอาดผิวโลหะ
และทาดวยสีกันสนิม หรือการชุบสังกะสีตามความเหมาะสมหรือตามที่ไดระบุไว หากใชสีกันสนิม
จะตองสีกันสนิมชนิด Lead Oxide โดยจะตองสงสีดังกลาวใหผูวาจางพิจารณาอนุมัติกอนการ
กําหนดการ

8-21
10) ปลอกรองทอ (Sleeves)
ทอที่เดินผานฐานราก พื้นผนัง ฝากั้น และเพดานนอกอาคาร จะตองรองดวยปลอกตาม
ขนาดที่พอเหมาะกับทอเสียกอน หากทอที่จะผานทะลุพื้นอาคารมีจํานวนหลายทอดวยกันให
เจาะพื้นอาคารเปdนชองใหทอผาน แทนการใชปลอกรอง ชองที่เจาะนี้จะตองเสริมกําลังตามความ
จําเปdน และเหมาะสมในอาคารคอนกรีต หากประสงค7จะติดตั้งปลอกรองทอน้ําไว ณ จุดใดก็ให
ติดตั้งในขณะเทคอนกรีตเลยทีเดียว ในผนังอิฐใหติดตั้งปลอกรองทอนี้ ในขณะที่กออิฐมาถึงที่จุด
นั้น ผูรับจางจะตองตรวจสอบรายละเอียดของแบบ และติดตั้งปลอกรองทอไวตามจุดที่จําเปdน
ถึงแมจะไมไดแสดงไวในรายละเอียดของแบบก็ตาม การใชปลอกรองทออาศัยหลักเกณฑ7ดังนี้.-
1. ขนาดของปลอกรองทอ ปลอกรองทอที่จะนํามาใชในการรองทอ จะตองใหมีขนาด
เสนผาศูนย7กลางภายในโตกวา ขนาดผาศูนย7กลางภายนอกของทอไมนอยกวา 10 มม.
เวนไวแตเมื่อทอนั้นจะตองเดินทะลุผานฐานราก หรือผนังที่รับน้ําหนัก ในกรณีเชนนี้
จะตองใหปลอกโตกวาทอไมนอยกวา 15 มม.
2. ชนิดของวัสดุ ปลอกรองทอจะตองเปdนชนิดที่ทําดวยวัสดุดังตอไปนี้
• สําหรับรากฐานใหใชปลอกเหล็กหลอ
• สําหรับผนังที่รับน้ําหนัก หรือฝากั้น ใหใชปลอกเหล็กหลอ เหล็กเหนียว หรือ
เหล็กกลา
• สําหรับคอนกรีต ใหใชปลอกเหล็กเหนียว หรือเหล็กกลา
• สําหรับพื้นที่อาคารธรรมดา ใหใชปลอกเหล็กเหนียว หรือเหล็กกลา
3. ปลอกรองทอที่พื้นอาคาร จะตองฝaงใหปากปลอกรองทอสูงกวาระดับพื้นที่ยังไมไดตบแตง
25 มม. และหลังจากที่เดินทอเสร็จเรียบรอยแลว ใหอุดชองระหวางทอกับปลอกทอดวย
วัสดุประเภทพลาสติคใหแนน และเรียบรอยจนแนใจวาน้ํารั่วซึมผานไมได หรือถาเปdน
ผนังกันไฟใหอุดชองวางดวยสารทนไฟอยางนอย 2 ชั่วโมง โดยจะตองไดรับการอนุมตั ิ
จากผูออกแบบกอน
11) แผนป`ดพื้นผนัง และเพดาน
ทุกๆ จุดที่ทอเดินทะลุผานผนัง ฝากั้น เพดาน และพื้นอาคารซึ่งตบแตงผิวหนาแลวผูรับ
จางจะตองจัดการป`ดชองโหวทั้งทางเขา และทางออกของทอดวยแผนตะกั่ว ซึ่งมีขนาดโต
พอที่จะป`ดชองรอบๆ ทอไดอยางมิดชิด แผนตะกั่วที่ใชที่เพดาน และผนังจะตองป`ดดวยสลักแบบ
เซ็ทสกรู หามใชคลิปสปริง
12) การติดตั้งทอระบบตางๆ
1. การตอทอน้ํา
• วาล7วน้ํา ใหติดตั้งวาล7วน้ําไวที่ทอน้ํากอนเขาเครื่องสุขภัณฑ7 และอุปกรณ7ทุกแหง
ณ ตําแหนงที่ไดแสดงไวในแผนผังโดยกําหนดชนิดของวาล7วไวดังนี้.-
- วาล7วประตู วาล7วตัดตอนน้ําใหใชวาล7วประตูทุกแหง วาล7วประตูขนาด
50 มิลลิเมตร (2 นิ้ว) หรือเล็กกวาใหใชวาล7วทองเหลืองชนิดเกลียว
- โกลบวาล7ว ในระบบทอที่ตองการปรับความดัน และอัตราการไหลของน้ํา
ใหติดตั้งโกลบวาล7วไวทุกแหง และใหใชวาล7วทองเหลืองชนิดเกลียว
- วาล7วกันน้ํากลับ ในระบบทอที่จาํ เปdน และไมตองใหน้ําไหลกลับจะตอง
ติดตั้งวาล7วกันน้ํากลับไวทุกแหง
- ยูเนี่ยน ใหติดตั้งยูเนี่ยนไวทางดานใตน้ําของวาล7วทุกตัว และกอนทอจะ
เขาเครื่องสุขภัณฑ7 และอุปกรณ7ทั้งหมด เวนไวแตกรณีที่เครื่องสุขภัณฑ7

8-22
และอุปกรณ7นั้น ๆ ไดมีขอตอชนิดที่สามารถถอดทอออกไดงายติดมาดวย
แลว การติดตั้งยูเนี่ยนนั้นหามติดฝaงไวในกําแพง เพดาน หรือฝากั้น
• ตําแหนง และชนิดของวาล7วน้ํา มีขอกําหนดในการติดตั้งดังนี้
- วาล7วน้ําจะตองติดตั้งตามตําแหนงที่แสดงไวในแบบ และ/หรือ ระบุในขอ
กําหนดนี้ทุกประการ
- ทอน้ําที่แยกหรือตรงเขาอาคารทุก ๆ ทอ ผูรับจางจะตองจัดหาและติดตั้ง
วาล7วประตูน้ําให ณ บริเวณจุดทีท่ อจะเขาอาคารแหงละตัว ทั้งนี้ไมวาจะ
แสดงไวในแผนผังหรือไมก็ตาม
- วาล7วทุกตัวจะตองติดตั้งในตําแหนงที่สะดวกแกการตรวจหรือถอด เพื่อ
ซอมหรือเปลี่ยน หรือมิฉะนั้นก็จะตองจัดใหมีชองทางที่จะจัดการถอด
ออกเพื่อซอม หรือเปลี่ยนได
- การติดตั้งวาล7วทุกตัวบนทอที่เดินในระดับดินนั้น จะตองไมใหกานวาล7ว
อยูต่ํากวาระดับดิน
- วาล7วทุกตัวจะตองเปdนชนิดที่ทําขึ้นเพื่อใหใชกับแรงดันปกติภายในทอไม
นอยกวา 2.5 เทาของความดันใชงาน หรือตามที่แสดงไวในแบบ
• ความลาดเอียงของทอระบายน้ํา ทอน้ําจะตองเดินใหมีความลาดเอียงลงสูทาง
ระบายน้ําทิ้ง ถามีทอสาขาแยกออกจากทอเมนซึ่งติดตั้งไวในแนวดิ่ง ใหตอทอ
สาขานี้เอียงลงสูทอเมน และ ณ จุดที่มรี ะดับต่ําที่สุดในระบบทอน้ํานี้ใหติดตั้ง
วาล7วสําหรับเป`ดระบายน้ําทิ้ง เพื่อจะไดระบายน้ําจากระบบไดหมดสิ้น
• ทอสาขา ทอสาขาที่แยกจากทอเมนนั้น จะแยกจากสวนบน ตอนกลาง หรือใต
ของทอเมนก็ไดทั้ง โดยใชขอตอประกอบใหเหมาะสม
• ขอตอ (แบบเกลียว) การตอแบบเกลียวใหใชสําหรับทอประปาเทานัน้ โดยตัดฟaน
เฉพาะเกลียวตัวผูเทานั้น แลวสวมขอตอเกลียวเขาไป เมื่ออัดแนนแลวเกลียว
จะตองเหลือไมเกิน 2 เกลียวเต็ม เกลียวทอนี้จะตองตัดฟaนใหคมเรียวไปทาง
ปลายทอ และทุกทอเมื่อตัด และทําเกลียวเสร็จแลว จะตองควานปากในปาดเอา
เศษที่ติดอยูรอบๆ ทิ้งใหหมด
• Air Chamber ผูรับจางจะตองติดตั้ง Air Chamber ไวที่ปลายสุดของทอแยกที่
ตอกับเครื่องสุขภัณฑ7 Air Chamber จะตองมีขนาดไมเล็กกวาทอที่จะแยกเขา
เครื่องสุขภัณฑ7นั้น ๆ และจะตองมีขนาดไมเล็กกวา 15 มิลลิเมตร (1/2 นิ้ว)
และยาวไมนอยกวา 450 มิลลิเมตร (18 นิ้ว) ที่ปลายของ Air Chamber ใหใส
Cap อุด
2. การติดตั้งทอโสโครก และทอระบายน้ํา
• ทอใตดิน ทอโสโครก ทอระบายน้าํ และขอตอตาง ๆ ที่ฝaงใตดินใหใชวิธีการ และ
วัสดุตามที่กําหนดไวในขอตอไปนี:้ -
- การอุดรอยตอ สําหรับทอเคลือบใหใชเชือกมะลิลา หรือเชือกแอส
เบสต’อสพันโดยรอบแลวใชตะกั่วเทอุดใหเรียบรอยไมใหรั่ว ถาเปdนทอ
ดีพลาสต7และทอพลาสติกใหใชน้ํายาตอทอของผูผลิตแทน
- กนรอง ตองกระทุงดินใหแนนโดยตลอด ถาดินเดิมไมดีตองขุดออกให
หมดแลวนําวัสดุอื่นซึ่งไดรับความเห็นชอบจากผูวาจางมาใสแทน แลว
กระทุงใหแนน

8-23
- แนวตอ ตองตรงไมคดไปมา ความลาดตองถูกตองตามแบบ
- รอยตอ ทุกอันจะตองแนนสนิท น้ําซึมไมได เมื่อหยุดพักงานจะตองป`ด
ปากทอ เพื่อปPองกันไมใหน้ํา ทราย ดิน เขาไปในทอ
- ทอลอดถนน จะตองเทหุมดวยคอนกรีตหนาไมนอยกวา 0.10 ม. และ
ดินที่อยูใตและเหนือที่สวนนี้จะตองกระทุงใหแนนเปdนชั้นๆ ไป
• ทอเหนือพื้นดิน สําหรับทอระบาย ทอโสโครก การใชขอตอและอุปกรณ7ตางๆ ให
เปdนไปตามที่ผูผลิตทอแตละชนิดแนะนํา การหักมุมใหใชขอโคงเสมอ เวนไวแต
ในกรณีพิเศษซึ่งระบุใหใชของอการตอในระยะสั้นๆ อาจใชตอดวยขอตอเหล็ก
เหนียวชนิดเกลียว หรือดวยขอตอเหล็กหลอประเภทที่ใชกับระบบทอระบายน้ํา
ก็ได
• ความลาดเอียง ทอโสโครก และทอระบายจะตองติดตั้งใหมีความลาดเอียงลงไปสู
ปลายทอ 1 : 50 เวนไวแตจะแสดงไวในแบบเปdนอยางอื่น
• การประกอบทอ การประกอบทอใหกระทําตามขอกําหนดดังนี้:-
- การลดขนาดของทอ ใหใชขอลดดวยขนาดและแบบที่เหมาะสม
- การหักเลี้ยว ใหใชขอตอรูป Y ประกอบกับขอโคงเพื่อใหไดแนวตาม
ตองการเวนไวแต
- การหักเลี้ยวในแนวดิ่ง อาจใชสามตา TY ได
- ในกรณีที่น้ําโสโครกไหลจากแนวราบขึ้นสูแนวดิ่ง จะใชขอโคงสั้น 90° ก็
ได
- การหักเลี้ยวของทอสงน้ําโสโครกจากหมอสวม จะใชขอโคงสั้น 90° ก็ได
• ที่ดักผง การติดตั้งที่ดักผง ซึ่งรวมถึงคอหาน และถวยสําหรับทอระบายน้ํา มี
ขอกําหนดดังนี้.-
- ทอทุกทอที่เดินจากเครื่องสุขภัณฑ7 หรืออุปกรณ7ทุกชิ้นลงสูทอระบาย
ผูรับจางจะตองจัดหา และติดตั้งที่ดักผงใหดวย ยกเวนในกรณีที่สขุ ภัณฑ7
หรืออุปกรณ7นั้น ๆ มีที่ดักผง หรืออุปกรณ7อื่น อันมีความมุงหมายทํานอง
เดียวกับประกอบติดอยูในตัวแลว
- ที่ดักผงจะตองติดตั้งใกลเคียงกับเครื่องสุขภัณฑ7 และอุปกรณ7ใหมากที่สุด
เทาที่จะทําได
- เครื่องสุขภัณฑ7 และอุปกรณ7แตละชุด หามมิใหติดเครื่องดักผงมากกวา 1
ที่
- ที่ดักผงซึ่งติดตั้งอยูในตําแหนงที่เขาถึงไดงายนั้น จะตองติดปลั๊กหรือ
อุปกรณ7อื่นใดที่ผูวาจางเห็นเหมาะสมในการถอดออก เพื่อถายผงทิ้ง และ
ทําความสะอาดภายในไดสะดวก
- ขอตอแบบสวม จะนํามาใชตอเขากับที่ดักผงไดก็เฉพาะเมื่อตอเหนือที่ดัก
ผงขึ้นมาเทานั้น
• ชองทําความสะอาด (Pipe Cleanout) ผูรับจางจะตองติดตัง้ ชองทําความ
สะอาดสําหรับทอสวม หรือทอระบายน้ําตามจุดตางๆ และขนาดตางๆ ดังนี้
- ชองที่ทําความสะอาดที่พื้น ทุกๆ ระยะ 15 เมตร (50 ฟุต) สําหรับทอ
สวม หรือทอน้ําทิ้งใน แนวนอนที่มีขนาด 100 มิลลิเมตร (4 นิ้ว) หรือ

8-24
เล็กกวา และติดตั้งทุกๆระยะ 30 เมตร (100 ฟุต) สําหรับทอสวม หรือ
ทอน้ําทิ้ง ในแนวนอน ที่มีขนาดใหญกวา 100 มิลลิเมตร (4 นิ้ว) ขึ้นไป
- ในตําแหนงที่ทอสวม หรือทอน้ําทิ้งเปลี่ยนทิศทางเกินกวา 45o
- ที่ฐานของทอสวม หรือทอน้ําทิ้งในแนวดิ่ง (Base of Stack)
- ในสวนที่ใกลสวนตอระหวางทอสวม ทอน้ําทิ้งภายในอาคาร และ
ภายนอกอาคาร
- ทอสวม หรือทอน้ําทิ้งที่ฝaงดิน จะตองมีชองทําความสะอาดตอขึ้นมา
จนถึงระดับดิน
- ชองทําความสะอาดจะตองมีขนาด เทากับทอสวม หรือทอน้ําทิ้ง และมี
ขนาดไมใหญกวา 4"
3. การติดตั้งทอระบายอากาศ
การจัดระบบทอระบายอากาศ ไดอาศัยหลักเกณฑ7ดังตอไปนี:้ -
• หากกระทําได ถามีทอระบายอากาศจากทอโสโครกมากกวาทอเดียว ใหรวมเปdน
ทอเดียวกัน แลวตอทอนี้ใหสูงพนระดับหลังคาอาคาร
• ทอระบายอากาศที่ตดิ ตั้งตามแนวดิ่งเหนือเครื่องสุขภัณฑ7ทั้งหลาย อาจตอรวมเขา
เปdนทอเดียวกันได
• ทอรับน้ําโสโครก ซึ่งรับน้ําโสโครกจากเครื่องสุขภัณฑ7ตั้งแต 2 เครื่องขึ้นไป
จะตองตอทอระบายอากาศออกทางปลายขางของทอ เวนไวแตจะปรากฎวา
เครื่องสุขภัณฑ7แตละเครื่องมีทอระบายอากาศของตนเองแลว
• การตอทออากาศเขากับทอระบายที่วางตามแนวนอนนั้น ใหตอที่ดานบนของทอ
ระบายนั้น
• ปลายลางของทออากาศ ใหตอในลักษณะที่วาหากเกิดสนิมหรือคราบเกาะติดขาง
ในทอแลวจะถูกน้ําชะใหไหลออกไปทางทอระบายได
• ทอระบายอากาศ จะตองติดตัง้ ใหปลายทอบนอยูพนหลังคาขึ้นไปเปdนระยะไม
นอยกวา 1.00 ม. พรอมขอตอสามทาง และตะแกรงกันแมลงความถี่ไมนอย
กวา 100 ชองตอ ตารางนิ้ว หุมปลายทอทุกจุด
13) การทาสี
1. ผูรับจางจะตองทาสีวัสดุ และอุปกรณ7ตามที่ระบุ การทาสีใหยึดถือการปฏิบัติตาม
คําแนะนําของผูผลิตสี คุณภาพของสีจะตองเทียบเทากับคุณภาพของสีตามที่ระบุใชใน
งานกอสราง กอนทาสีจะตองเตรียมผิวโลหะใหสะอาด และกอนทาสีจริงจะตองมีสีรอง
พื้นเพื่อปPองกันการผุกรอนเสมอ สีกันสนิมจะตองทาอยางนอย 2 ชั้น
2. โคตสี และสัญลักษณ7
ชนิดของท1อ รหัสสี ตัวหนังสือและ/หรือลูกศร
ทอน้ําประปา ฟPา ดํา
ทอน้ําดับเพลิง แดง ดํา
ทอสวมและทอน้ําทิ้ง ดํา ขาว
ทอระบายอากาศ มวง ดํา
ทอน้ําฝน เขียว ขาว
ทอรอยสายไฟระบบควบคุม - น้ําเงิน (แถบสี)
ทอรอยสายไฟระบบดับเพลิง - แดง (แถบสี)

8-25
เครื่องจักรตางๆ - ดําหรือขาว ตามความเหมาะสม
3. โดยการทาสีทอใหทาตลอดทั้งทอเฉพาะทอที่เดินลอย (ยกเวนทอที่เดินฝaงในคอนกรีตหรือ
เดินในฝPาเพดานไมตองทาสีชั้นสุดทาย) การทาสีทอเหล็กอาบสังกะสีใหทาสีประเภท
Wash Primer กอนทุกครั้ง และสําหรับทอเหล็กหลอใหทาสีประเภทบิทูเมน โดยขนาด
ของตัวหนังสือ และลูกศรใหใชขนาดดังนี้

ขนาดของท1อ ความสูงของตัวอักษร และลูกศร


15mm.-32 mm. (φ 1/2"-1 1/4") 13 mm. (1/2")
40 mm.-80 mm. (φ 1 1/2"-3") 25 mm. (1")
100 mm.-150 mm. (φ 4"-6") 38 mm. (1 1/2")
ใหญกวา 150 mm. (φ 6") 50 mm. (2")
14) การจัดทําแทนเครื่อง
ผูรับจางตองรับผิดชอบในการจัดทําแทนเครื่อง, แทนแผงไฟฟPาตาง ๆ เปdนตน ตามความ
เหมาะสม และมีความแข็งแรง แทนคอนกรีตจะตองมีการเสริมเหล็กใหถูกตองทางวิชาการ มุม
แทนคอนกรีตจะตองปาดเปdนมุมเอียง และความหนาอยางนอย 0.1 ม.

15) การเตรียมการในการซอมบํารุงเครื่อง และอุปกรณ7


ในการติดตั้งเครื่อง และวัสดุอปุ กรณ7ทุกชิ้น ผูรับจางจะตองพิจารณาอยางละเอียด
รอบคอบเพื่อแนใจวาการติดตั้งเครื่อง และอุปกรณ7อยางถูกตอง สามารถทําการซอมบํารุง และ
สามารถเปลี่ยนทดแทนไดโดยสะดวก ระหวางการกอสราง ผูรับจางจะตองเตรียมการ และเตรียม
ชองทางตาง ๆ ในการนําเครื่องจักร และอุปกรณ7เขายังสถานที่ติดตั้ง เพื่อมิใหเกิดปaญหาขัดแยง
กับการกอสรางอาคาร
16) การทดสอบ ตรวจสอบ และทําความสะอาด
1. การตรวจ และทดสอบ ระบบทอทั้งหมดมีทอโสโครก ทอระบายน้ํา ทอระบายอากาศ
และทอน้ํา จะตองไดรับการตรวจสอบ และทดสอบคุณภาพ สําหรับวิธีการติดตั้งจะได
กลาวตอไป ทอโสโครก หรือทอระบายที่ฝaงไวใตดินนั้นจะตองทําการทดสอบกอนกลบดิน
2. การทดสอบทอรั่ว จะปฏิบัติดังนี้
• ใชปลั๊กอุดทอระบายน้ํา และทอระบายอากาศ แลวเติมน้ําใหเขาเต็มทอ
จนกระทั่งระดับน้ําขึ้นถึงจุดสูงสุดของทอระบายอากาศเหนือหลังคา
• ทิ้งใหอยูในสภาพเชนนี้เปdนเวลา 30 นาที แลวตรวจระดับน้าํ ถาระดับน้ําลด
ต่ําลงไม เกิน 0.10 ม. ก็ถือวาใชได
• ถาจะทดสอบทอสวนใดสวนหนึ่ง ใหปฏิบัติเชนเดียวกันกันที่ไดกลาวมาแลว เวน
ไวแตวา ใหตอทอจากสวนที่จะทําการทดสอบขึ้นตามแนวดิ่งจากระดับที่จะทํา
การทดสอบ 3 ม. และเติมน้ําจนถึงระดับสูงสุดของทอน้ํา เพื่อใหเกิดแรงกดดัน
จากน้ํา (อาจใชเครื่องสูบน้ําเพื่อใหเกิดแรงกดดันตามขนาดก็ได) และถาระดับน้ํา
ลดต่ําลงไมเกิน 0.10 ม. ก็ถือวาใชได
3. การทดสอบดวยแรงดัน เมื่อไดทําการติดตั้งวางทอเสร็จ และกอนที่จะตอทอเขาเครื่อง
สุขภัณฑ7 และอุปกรณ7ทั้งหมด สําหรับทอน้ําใหใชสูบอัดน้ําเขาในระบบทอจนไดแรงดัน
10.55 กก. ตอ ตารางซ.ม. (125 ปอนด7ตอตารางนิ้ว) เปdนเวลาไมนอยกวา 120 นาที

8-26
แลวใหตรวจรอยรั่ว ทอทอนใดจะตองฝaงในผนังกอนงานตอทอทั้งหมดจะแลวเสร็จให
ทดสอบเฉพาะตอนนั้น ๆ โดยวิธีทํานองเดียวกันกับที่กลาวแลวในทอกอนที่จะฝaง
4. ทอรั่วหรือชํารุด หากผลของการทดสอบ หรือตรวจสอบปรากฏวามีทอรั่ว หรือชํารุด ไม
วาจะเปdนดวยความบกพรองในคุณภาพของวัสดุ หรือฝ†มือการติดตั้งก็ดี ผูรับจางจะตอง
แกไข หรือเปลี่ยนใหมใหทันที และผูวาจางจะทําการตรวจสอบใหมอีกครั้งหนึ่ง จน
ปรากฏผลวาระบบทอที่ติดตั้งนั้นเรียบรอยใชงานไดถูกตองกับความประสงค7ทุกประการ
การซอมทอรั่วซึมนั้นใหซอมโดยวิธีถอดออก ตอใหม หรือเปลี่ยนของใหมใหเทานั้น หาม
ใชคอนย้ําที่รูรั่วซึม หรือที่ขอตอเปdนอันขาด
5. การทําความสะอาด หลังจากงานติดตั้งระบบทอไดเสร็จสิ้นลงเปdนการเรียบรอยทุก
ประการแลว ผูรับจางจะตองทําความสะอาดระบบทอทั้งหมด รวมทั้งเครื่องสุขภัณฑ7
บริภัณฑ7 และอุปกรณ7ทุกชิ้นที่ติดตั้งในระบบนั้นอยางทั่วถึงทั้งภายใน และภายนอก โดย
เช็คถูขัดลางน้ํามันจารบี เศษโลหะ และสิ่งสกปรกตางๆ ออกใหหมด หากการติดตั้ง หรือ
ทําความสะอาดระบบทอนี้ไดกระทําความชํารุดเสียหายเกิดขึ้นแกสวนหนึ่งสวนใดของ
อาคารหรืองานตกแตงอาคารแลว ผูรับจางจะตองซอมแซมสวนนั้นๆ ใหดีดังเดิมดวย
คาใชจายของผูรับจางเองทั้งสิ้น
6. การทําลายเชื้อ (Sterilization) กอนสงมอบงาน ผูรับจางจะตองทําใหการติดตั้งระบบทอน้ําประปาบริสุทธิ์
ปราศจากเชื้อจุลินทรีย7 โดยใชน้ํายาที่มีสวนผสมของคลอรีนไมต่ํากวา 50 สวน ในลานสวน (50 PPM.) ซึ่ง Chlorine ที่
ใชอาจเปdนโซเดียมไฮโปครอไรด7 หรือแคลเซี่ยมไฮโปคลอไรด7 โดยใหบรรจุน้ํายาดังกลาวเขาไปในระบบทอ ทิ้งไวเปdนเวลา
ไมต่ํากวา 8 ชั่วโมง และในระหวางระยะเวลานีใ้ หเป`ด-ป`ด บรรดาวาล7วทั้งหมดที่มีอยูในระบบเปdนครั้งคราวใหน้ํายาไหล
ผานลงทอระบายไปหลายๆ ครั้ง เมื่อครบกําหนดแลวใหเป`ดวาล7วทุกวาล7ว รวมทั้งวาล7วระบายน้ําทิ้งดวย แลวใชน้ํา
สะอาดไลน้ํายาใหออกจากระบบ จนปรากฏวาน้ํายาที่ออกมามีคลอรีนเหลืออยูไมถึง 0.2 PPM. จึงหยุดได และถือวา
งานทําลายเชื้อในระบบไดเสร็จสิ้นแลว

8-27
ระบบประปา และสุขาภิบาล
3. วาล?ว และอุปกรณ?ประกอบท1อน้ํา
3.1 ความตองการทั่วไป
1) วาล7วทุกชนิด (ยกเวน Control Valve) สเทรนเนอร7 และขอตอออน ตองมีขนาดเทากับทอน้ําที่
อุปกรณ7ดังกลาวติดตั้งอยู
2) วาล7วทุกชนิดจะตองสามารถทนแรงดันใชงานไมนอยกวา 150 ปอนด7ตอตารางนิ้วหรือเปdน
Valve Class 125 (200 PSI. W.O.G.)
3) วาล7วทุกตัวตองไดรับการผลิตตามมาตรฐาน ASTM. หรือ BS.
4) วาล7วแตละประเภท ที่ใชตองเปdนยี่หอใดยี่หอหนึ่งเทานั้น ตามรายชื่อผูผลิตซึ่งไดระบุ ไวในรายชื่อ
ผลิตภัณฑ7 วาล7วตองมีแบบและ Class ถูกตอง ไดรับการเห็นชอบและอนุมัติจากผูวาจาง
3.2 วัสดุและโครงสราง
1) วาล7วน้ําแบบประตู (Gate Valve)
วาล7วเป`ด-ป`ดทางน้ําเขาใหใชวาล7วประตูทั้งสิ้น สําหรับขนาด 15-50 มิลลิเมตร (1/2-2
นิ้ว) ทําดวยบรอนซ7 ชนิด Inside Screw, Non Rising Stem วาล7วประตูที่ใชตองสามารถทน
แรงดันขณะใชงาน (Working Pressure) ไดไมนอยกวา 8.5 บาร7 (125 ปอนด7 ตอตารางนิ้ว)
ของน้ํา
(1) ขนาด 2 นิ้ว และเล็กกวา Bronze Body(BS1400-LG2 OR ASTM B62 ),
Solid Wedge Rising Stem, Inside Screw & 125 psig. S.W.P. (200 psi.
W.O.G.)

(2) ขนาด 2 ½ นิ้ว และใหญกวา Iron Body ( BS 1452 GRADE 220 OR ASTM
A126 CLASS B ) , Bronze Trimmed, Outside Serew and Yoke, Rising
Stem, Double Discs หรือ Solid Wedge Gate ปลายตอแบบหนาแปลน
ยกเวนระบุเปdนอยางอื่น ทนแรงดัน 125 psi S.W.P. (200 lbs W.O.G.) เสื้อ
bonnet มือหมุนเปdนเหล็กหลอ Seat rings & discs เปdนบรอนซ7 (Bronze)

ตัวอยางมาตรฐานที่แนะนําใหใช คือ
Screwed Ends :
Crane Fig. No. C1252
Nibco’s Fig. No. 408
Grinnel’s Fig. No. 3010
Valor Fig. No.V101

8-28
Flange Ends :
Crane’s Fig. No.465 1/2
Nibco’s Fig. No. F-620-FN
Grinnel’s Fig. No. 6060A
Toyo’s Fig. No. 421A
ช. Valor’s Fig. No. V111

2) Globe Valve
รายละเอียดเหมือน Gate Valve แตตองสามารถทนแรงดันขณะใชงาน (Working
Pressure) ไดไมนอยกวา 17 บาร7 (250 ปอนด7 ตอตารางนิ้ว) ของน้ํา
โกล’บวาล7ว ปกติมีที่ใชการตอทอที่ Bypass ของ PRV Station และจุดที่ตองการปรับ
ปริมาณน้ําเชน ทางดาน Discharge ของเครื่องสูบน้ํา
โกล’บวาล7วมีที่ใชในโอกาสดังตอไปนี้
(1) ที่ ๆ ตองการ regulate หรือ throttling flow
(2) ที่ ๆ ใชบอย (frequent operation)
(3) ที่ ๆ ตองการการป`ดแนน (positive shut-off)

ขนาด 2 นิ้ว และเล็กกวา Bronze body, rising stem, secrew-in bonnet, bronze
or nonmetattic seat, class 125 (150 psi. W.O.G.), threaded ends.

ตัวอยางมาตรฐานที่แนะนําใหใช คือ
Crane’s Fig. No. D4
Nibco’s Fig. No. T-211
Grinnel’s Fig. No. 211A
Valor’s Fig. No. V201

3) Ball Valve

ขนาดตั้งแต 2 ½” นิ้วขึ้นไป ใหใชเปdนแบบ Cast Iron Body, Bolted Bonet, Flange


Connection
Ball Valve ใหใชทั่วไปเพื่อแยกเขาหองน้ํา Ball Valve ขนาด ½ นิ้ว ถึง 2 นิ้ว ใหใชแบบ
บรอนซ7 ตอดวยเกลียว Class 125 ตัวเรือนเปdน Bronze หรือ Hard Chrome-Plate
Hot Pressed Brass, Bronze or DZR Brass stem, Bronze or DZR Brass disc,
Seat และ Packing ทําดวย Teflon ทนความดันไดไมนอยกวา 150 psi

ขนาดตั้งแต 2 ½ นิ้วขึ้นไป ใหใชเปdนแบบ Cast iron หรือ Ductile iron body, Bronze
stem, Cast iron disc and seating, Flanged connection.

8-29
4) Check Valve
สําหรับ Water Supply Pump และ Booster Pump ใหใช Non-Slam Check Valve
Diaphragm Type ตัว Valve ประกอบดวย Main Valve กับ Pilot Valve ทนแรงดันไดไมนอย
กวา 13.6 บาร7 (200 ปอนด7 ตอตารางนิ้ว) ของน้ํา และสําหรับที่ไมใช Water Supply Pump
และ Booster Pump ใหใชแบบ Dual Disc Check Valve ตัว Valve ทําดวย Cast Iron และ
Disc ทําดวย Aluminium Bronze สามารถทนแรงดันขณะใชงานได ไมนอยกวา 8.5 บาร7
(125 ปอนด7 ตอตารางนิ้ว) ของน้ํา
Check Valve ที่กําหนดใหใชตองทนแรงดันได 200 psig เปdนประเภท Horizontal
Swing Bronze Check Type ยกเวนระบุไวเปdนอยางอื่น Check Valve ที่ใชกับเครื่องสูบ
น้ําใหใช Silent Non Slam Check Valve หรือ Duo Check Valve

(1) ขนาด 2 นิ้ว และเล็กกวา Bronze Body, Horizontal Swing Check Valve
Screw in cap ตอแบบเกลียว 125 psig. S.W. P. (200 psi. W.O.G.) Disc &
Seat Face เปdน Bronze

ตัวอยางมาตรฐานที่แนะนําใหใช คือ
ก. Crane ‘s Fig. No. D138
ข. Nibco’s Class 125 Bronze Check : Fig. No. KT-403-W
ค. Toyo’s Figure No. 303
ง. Valor ‘s Fig. No. V401

(2) ขนาด 2 ½” นิ้ว และใหญกวา Cast Iron Body ( BS1452 Grade 220 or
ASTM A126 Class B ), Spring stainless Steel , 200 psi. W.O.G. Disc
ทําดวย Aluminum Bronze และ Seat ทําดวย Buna-N ปลายตอแบบหนา
แปลน( Wafer Style ) ยกเวนระบุไวเปdนอยางอื่น

ตัวอยางมาตรฐานที่แนะนําใหใช คือ
ก. Crane ‘s Fig. No. G12HMP
ข. Stockham’s 175 WWP Iron Body Swing Check Valve : Fig. No. G-940
ค. Nibco’s 175 WWP Iron Body Swing Check Valve : Fig. No. F-908-W
ง. Valor ‘s Fig. V4111

8-30
5) วาล7วสําหรับเครื่องสูบน้ําขึ้นถังบนหลังคา (Tank Fill Pump)

เปdน Silent Check Valve ใชสําหรับติดตั้งทางดานสงของเครื่องสูบน้ําขึ้นถังน้ํา


บนหลังคา เพื่อปPอนกันการไหลกลับและการเกิด Surge การทํางานจะใชสปริงบังคับ
ให Disc ป`ดกอนหนาที่น้ําจะเริ่ม ไหลกลับ เปdนการปPองกันการกระแทกตัวของน้ํา
และอาการสะเทือนที่อาจเกิดจากการป`ดวาล7ว
วาล7วเปdนแบบ Silent, non-slam closing and opening speed control,
globe type Bodies เปdน Ductile Iron with epoxy coated หรือ Semi-
steel Disc เปdน fully guided both top and bottom. Seats discs and
guides และ Bushing ทําดวย bronze และ spring ทําจาก stainless steel
ทนแรงดัน 125 lbs. S.W.P. (250 lbs. W.O.G.)

ตัวอยางมาตรฐานที่แนะนําใหใช คือ
- Valmatic’s Silent Check Valve : 1800 Series Globe Style Silent Check
Valve, ANSI Class 125
- Nibco’s Figure No.F-910 125 lb. Iron Body Silent Check Valve, F.E.
- OCV ‘S Fig. No. Model 94-3
- Grinnell’s Globe Style Iron Body Silent Check Valve : Fig No.502 ½-
580
- Singer Hydraulic Check Valve : Model HC.

6) Water Strainer
เปdนรูปตัว Y มีแผงตะแกรงทําดวย Bronze ที่สามารถถอดออกลางได
1. ขนาด 50 มิลลิเมตร (2 นิ้ว) หรือเล็กกวา ตัว Strainer ทําดวย Bronze แบบเกลียว
2. ขนาด 65 มิลลิเมตร (2 1/2 นิว้ ) หรือใหญกวา ตัว Strainer ทําดวยเหล็กหลอหนา
แปลนทนแรงดันขณะใชงาน (Working Pressure) ไดไมนอยกวา 13.6 บาร7 (200
ปอนด7 ตอตารางนิ้ว) ของไอน้ําอิ่มตัว และตองมีวาล7วระบายน้ําทิ้ง ขนาด 15 มิลลิเมตร
(1/2 นิ้ว) ประกอบอยูดวย
ผูรับจางตองทําการติดตั้งสเตรนเนอร7 (Strainer) สําหรับเครื่องสูบน้ําทั้งหมดที่
ปลายทอดูด (Suction) ในถังน้ําใตดิน Booster Pump และทอดานออกจากถังบนหลังคา แมวาจะ
มิไดระบุในแบบก็ตาม

Strainer ใหใชเปdนแบบ Y-Strainer มีแผงตะแกรงทําดวยบรอนซ7 หรือสเตนเลสสตีลที่สามารถถอด


ออกลางได Body Cast Iron ( BS1452 Grade 220 ) Flange Type .ทนแรงดันขณะใชงานได
ไมนอยกวา 175 ปอนด7/ตร.นิ้ว W.O.G.

ตัวอยางมาตรฐาน คือ
- Toyo Fig. No. 381A
- Kitz Fig. No. FCY

8-31
- Metraflex Style TF
- Crane ‘s Fig. No. FM279
- Valor ‘s Fig. No. V311

สําหรับปลายทอดูดเครื่องสูบน้ําที่ติดตั้งอยูเหนือถังเก็บน้ําใตดิน ใหติดตั้ง Foot Valve W/Strainer


ตัววาล7วเปdนเหล็กหลอ (Cast Iron) สเตรนเนอร7เปdนตะแกรงสเตนเลส (Stainless steel Screen)
ตัวอย1างมาตรฐาน คือ

(1) VALMATIC Foot Valve W/Strainer, flanged End, ANSI Class 125

(2) SOCLA Foot Valve with Strainer, Flanged End Pn 10 (=10 bar rating), Type
302

7) เกจ7วัดความดัน (Pressure Gauge)

ผูรับจางตองทําการติด ตั้งเกจ7วัด ความดัน ณ บริเวณตําแหนงทอดูดและจายน้ําของเครื่องสูบน้ํ า


ทั้งหมดที่มีอยู แมวาจะมิไดระบุในแบบก็ตาม

กรอบทําดวย Stainless steel หนาปaดกลมเสนผาศูนย7กลางขนาดไมต่ํากวา 3½ นิ้ว อานคาบน


หนาปaดไมนอยกวา 150-200% เทาของแรงดันใชงานปกติ วัดคาไดเที่ยงตรง แนนอน และมี
อุปกรณ7ปรับคาที่ถูกตองอานคาเปdนปอนด7/ตร.นิ้ว หรือบาร7 เกจ7วัดความดัน แตละชุดจะตองมี
Needle Valve และ Snubber Connector

ตัวอยางมาตรฐานที่แนะนําใหใช คือ
- ASHCROFT
- TERICE
- METRONEX
- WINTERS

8) อุปกรณ7ลดการกระแทกของน้ํา (water Hammer Arrestor)

(1) จัดหาและติดตั้ง Shock Absorbers เขากับทอน้ําประปาในแนวระดับที่สงน้ําไปยังเครื่อง


สุขภัณฑ7แบบ Flush Valve หรืออุปกรณ7ที่มีวาล7วเป`ด-ป`ดเร็ว โดยเฉพาะที่หองน้ําของ
สํานักงาน แมวาจะมิไดระบุไวในแบบก็ตาม

(2) Shock Absorbers หรือ Water hammer Arrestor จะตองเปdนแบบทําดวยเหล็กไร


สนิมหรือ Copper ภายในประกอบดวยก’าซอาร7กอนหรืออากาศที่ถูกอัดไว Piston ทํา
มาจาก Acetal ( NFS Listed ) or Brass , ขนาดและการติดตั้งจะตองเปdนไปตาม

8-32
มาตรฐานและขอกําหนดของ Plumbing and Drainage Institute Standard P.D.I.-
WH 201 หรือ มาตรฐาน ASSE List 1010

ตัวอยางมาตรฐานที่แนะนําใหใช คือ
- Zune
- Wilkins

9) อุปกรณ7ลดการสั่นสะเทือน (Vibration Isolators)

(1) ฐานของเครื่ อ งสู บ น้ํ า และอุ ป กรณ7 ที่ มี ก ารสั่ น สะเทื อ นทุ ก ตั ว ใหติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ7 ล ดการ
สั่นสะเทือนใหไดเทียบเทามาตรฐานของผลิตภัณฑ7ของ Manson’s KSL Base for Pump
W/SLF Sprins Mount

ฐานของเครื่องสูบน้ําใหหลอเปdนแทนคอนกรีต โดยมีขอบมุมเปdนเหล็กและมีจุดรองรับสปริง
โดยตองแสดงขนาดและระยะไวในแบบรายละเอียดเพื่อการกอสราง

การลดการสั่นสะเทือนของแทนเครื่องสูบน้ําจะประกอบดวยการใชแทนคอนกรีต ซึ่งแข็งแรง
และใชจุดรองรับดวยสปริง 4 จุด ทําใหแทนลอยตัวจากพื้นหอง ใตจุดรองรับสปริงจะมียาง
(Acoustical Pad) ตองเลือกสปริงใหมีความออนตัว (Static Deflection) ไมนอยกวา 2 นิ้ว

(2) การลดการสั่นสะเทือนของระบบทอ : ทอซึ่งแขวงยึดอยูกับระดับฝPา เพดาน และตองตอเขา


กับอุปกรณ7เครื่องมือกลที่มีการสั่นสะเทือน หรือเคลื่อนตัวไดขณะทํางานใหปฏิบัติ ดังนี้
- ทอแขวนอยูกับเพดาน ใหใช Combination Spring and neoprene in shear
Hanger สําหรับแขวนทอ 4 ตัวแรกจากอุปกรณ7เครื่องมือกลนั้นๆ ตองสามารถรับ
น้ําหนักทอที่อยูระดับเดียวกันไดไมวากรณีใดๆ
- ทอที่ยึดเขากับพื้นอาคาร ใหใช Springflex Mounting

ตัวอยางมาตรฐาน คือ
- MASON หรือขออนุมัติเทียบเทา

10) Butterfly Valve


ใชสําหรับทอขนาด65 มิลลิเมตร (2 1/2 นิ้ว) หรือใหญกวา ตัววาล7วทําดวย Grey Cast
Iron สวน Disc ทําดวยAluminium Bronze สามารถทนแรงดันขณะใชงาน (Working
Pressure) ไดไมนอยกวา 10 บาร7 (150 ปอนด7 ตอตารางนิ้ว) ของน้ํา และไมนอยกวา 13.6
บาร7 (200 ปอนด7 ตอตารางนิ้ว) ของน้ํา สําหรับติดตั้งที่ Water Supply Pump

8-33
ตัวอยางมาตรฐานที่แนะนําใหใช คือ

Crane ‘s Fig. No. 200 Series.

Nibco’s Butterfly Valve Fig. No. LD 3510-2

Valor ‘s Fig. No. V601 Series.

11) Pressure Reducing Valve


ใชสําหรับควบคุมแรงดันของน้ํา ใหคงที่อยูตลอดเวลาไมวา Inlet Pressure จะ
เปลี่ยนแปลงไปอยางไร ตัววาล7วมี 2 ชุดคือ Pilot Valve และ Main Valve โดย Pilot Valve
จะตองมี Screw สําหรับ Adjusted Pressure ที่ตองการไดตัว Main Valve เปdน Globe
Pattern, Diaphragm Actuated Valve สามารถทนแรงดันใชงานไดไมต่ํากวา17 บาร7 (250
ปอนด7 ตอตารางนิ้ว) ของน้ํา และตองเปdนชนิดที่ป`ดไดเอง เมื่อ Valve เกิดขัดของ
เปdนแบบ Hydraulically – operated , Modulation Type สามารถใชกับ
ระบบสงน้ําทั้งแบบ Dead End และ Continuous Service สามารถลดความดันไดลง
เหลือความดันที่ตองการ และทนอุณหภูมิไดถึง 180oF ควบคุมการทํางานโดยใช Pilot
Control Valve ซึงสามารถปรับชวงการทํางานได โดยปรับดวยสกรูตั้งคาความแข็งของ
สปริงค7 และแผน Diaphragm เปdนแบบ Buna-N Nylon Reinforced หรือวัสดุอื่นที่มี
คุณสมบัติเทียบเทา

ขนาด ½”-2” ตัวทําดวย Ductile Iron w/Epoxy Coated ตอแบบเกลียว


ขนาด 2 ½” ขึ้นไป ตัวทําดวย Ductile Iron w/Epoxy Coated ตอแบบแปลน

12) Float Valve


เปdนแบบ Modulating Remote Controlled ตัว Valve ประกอบดวย Main Valve
และ Modulating Float Control ตัว Main Valve รายละเอียดเหมือนกับ Pressure
Reducing Valve สําหรับตัว Modulating Float Control จะประกอบดวย Moving Part 2
สวนคือ ลูกลอย กับคานซึ่งทําดวยทองเหลือง ทนแรงดันใชงานไดไมนอยกวา 12 บาร7 (175
ปอนด7 ตอตารางนิ้ว) ของน้ํา
ทั่วไป : ตําแหนง Float Valve จะอยูที่ปลายทอจายน้ําเขาถังเก็บน้ํา ในถังเก็บน้ําให
ติดตั้งสวิตซ7ควบคุมระดับแบบ “Wire Suspension Electrode” เพื่อควบคุมการ
ทํางานของเครื่องสูบสงน้ํา

Float Valves : สําหรับถังน้ําใตดินเปdนแบบ Pilot Operate Modulating Float


Valves ตัวเรือนทําดวย Ductile Iron w/epoxy coated , Seat และ Stem เปdน
Stainless Steel และ Seat Ring ทําจาก Bronze ทนแรงดันไดไมนอยกวา 250
ปอนด7/ตารางนิ้ว ขนาดไมเกิน 2 นิ้ว ใหใชแบบเกลียว ถาขนาดตั้งแต 2½ นิ้วขึ้นไป
ใหใชแบบหนาแปลน

8-34
กําหนดตัวอยางมาตรฐานที่แนะนําใหใช คือ

(2.1) Float Valve ของ SINGER : Model 106F Type IV Float Valve, pilot
controlled, for on/off service.
(2.2) Float Valve ของ SOCLA : Model C701 Float Valve with Gradual
Opening and Closing.
(2.3) Float Valve ของ OCV : Float Controlled Valve Series 8100.

13) วาล7วระบาย (Drain Ball Valve)

ผูรับจางตองติดตั้ง Drain Ball Valve เมื่อติดตั้งแลวตองอยูในตําแหนงซึ่งสามารถระบาย


น้ําออกจากระบบทอนั้นๆ ไดทุกสวน Drain Valve ใชแบบ Bronze Type พรอมทั้ง Drain
Cap และมีปลายทอสายยางขนาด ∅ ¾ นิ้ว ยกเวนระบุไวเปdนอยางอื่น

ตัวอยางมาตรฐานที่แนะนําใหใช คือ
- Apollo Bronze Stop and Drain, No.95-104
- Nibco Figure No. 303-300

14) ขอตอออน (Flexible Connection)


1. ใชตอทางดานน้ําเขา และออกจากเครื่องสูบน้ําประปา ทําดวย Stainless Flexible
Joint และมี Bellow ภายใน และเปdนชนิดหนาแปลน เมื่อมีขนาดเสนผาศูนย7กลาง 65
มิลลิเมตร (2 1/2 นิ้ว) และใหญกวาหรือตอเกลียวเมื่อมีขนาดเสนผาศูนย7กลางเล็กกวา
65 มิลลิเมตร (2 1/2 นิ้ว) ทนแรงดันใชงาน (Working Pressure) ไดไมนอยกวา 20
บาร7 (300 ปอนด7 ตอตารางนิ้ว) ของน้ํา ความยาวของขอตอออน จะตองยาวไมนอยกวา
2 เทาของเสนผาศูนย7กลางของทอ
2. สําหรับระบบทอสวม ทอน้ําทิ้งและบอน้ําฝน ใหใชเปdนแบบ Flexible Rubber Joint
สามารถใหระยะการเคลื่อนตัวไดไมนอยกวา 10 cm. (Axial Movement) สําหรับตอ
ดานน้ําเขาหรือออกจากเครื่องสูบน้ําเสียตาง ๆ เปdนแบบ Reinforced Neoprene
Rubber สามารถทนแรงดันใชงานไมนอยกวา 10 บาร7 (150 ปอนด7 ตอตารางนิ้ว) ที่
อุณหภูมิการใชงานไมเกิน 77 องศาเซลเซียส
ขอตอออนตองสามารถทนแรงดันใชงานไดไมนอยกวา 250 psi

ตัวอยางมาตรฐาน คือ
MASON-FLEX Twin Sphere Connector Model MFTNC
TOZEN’s PT-LS Rubber Eapansion Joint Type A with 2 Bellows

8-35
15) มาตรวัดความดัน (Pressure Gauge)
เปdนแบบ Bourbon สําหรับวัดความดันของน้ํา กรอบทําดวย Stainless Steel
หนาปaทม7กลมเสนผาศูนย7กลางไมนอยกวา 100 มิลลิเมตร (4 นิว้ ) มีสเกลบนหนาปaทม7ไมนอย
กวา 2 เทา ของแรงดันใชงานปกติวัดคาไดเที่ยงตรงแนนอน คลาดเคลื่อนไดไมเกิน 0.5% ของ
สเกลบนหนาปaทม7 และมีอุปกรณ7วัดคาที่ถูกตองไดสเกลอานเปdน ปอนด7ตอตารางนิ้ว มาตรวัด
ความดันแตละชุดจะตองมี Shunt Off Needle Valve หรือ Ball Valve และ Snubber
Connector

16) มาตรวัดน้ํา (Water Meter)


มาตรวัดน้ําที่ติดตั้งเปdนแบบใบพัด (Turbine Type) Multi Jet Magnetic Drive และ
ผานการทดสอบความเที่ยงตรงโดยมีหนังสือรับรองจากการประปา สามารถติดตั้งไดทั้งแนวดิ่ง
และแนวราบ โดยไมเกิดความคลาดเคลื่อน
ตัวอยางมาตรฐานที่แนะนําใหใช คือ
- Schlumberger’s Woltman Water Meter, “Woltex” Model
- Kent’s Helx 2000 Water Meter
17) ก็อกสนาม (Hose Bibb)
เปdนวาล7วเป`ด-ป`ดน้ํา ใหใชเปdน Ball Valve Casing ทําดวย Nickel Plated Brass ทน
แรงดันใช งานไดไมนอยกวา 8.5 บาร7 (125 ปอนด7 ตอตารางนิ้ว)
18) ที่ระบายน้ําที่พื้น (Floor Drain)
ทําดวยเหล็กหลอพรอมตะแกรงป`ด และจะตองมีทีสําหรับดักกลิ่น (Aluminium Bell
Trap) ในตัวตระแกรงป`ดทําดวยทองเหลืองชุบโครเมี่ยมสามารถเป`ดทําความสะอาดไดงาย
สวนภายในมีตระแกรงดักผง (Cast-Brass Strainer)
19) ชองระบายน้ําฝน (Roof Drain)
ชองระบายน้ําฝน ตัวเรือนทําดวยเหล็กหลอ (Cast-Iron) มีป†กโดยรอบปPองกันน้ํารั่วจาก
พื้น มีชองระบายน้ําฝนทําดวยเหล็กหลอ (Cast-Iron) และจะตองทําการติดตั้งใหเรียบรอยและได
ระดับถูกตองกอนการเทคอนกรีตใหใชผลิตภัณฑ7ภายในประเทศที่มีคณ ุ ภาพการใชงานเทียบเทา
กับที่ระบุไวในแบบรายละเอียด
20) ชองสําหรับทําความสะอาดทอ (Floor Cleanout)
ชองสําหรับทําความสะอาดทอตัวเรือนทําดวยเหล็กหลอ (Cast-Iron) มีฝาป`ดทึบแบบ
เกลียวทําดวยทองเหลืองขัดมันหรือทองเหลืองชุบโครเมี่ยม ผูรับจางตองสงตัวอยางขออนุมัติ ฝา
ป`ดชองสําหรับทําความสะอาดทอจะตองไดรับการอนุมัติจากผูควบคุมงานกอนการติดตั้ง ฝาป`ด
สําหรับชองทําความสะอาดทอจะตองมี 2 รูตื้น ๆ แบบไมทะลุหรือแบบสี่เหลี่ยมนูนไวสําหรับใช
ในการใชเครื่องมือเป`ด-ป`ดฝาหรือขันสกรูได ใหใชผลิตภัณฑ7ภายในประเทศที่มีคณ ุ ภาพการใชงาน
เทียบเทากับที่ระบุไวในแบบรายละเอียด
21) อุปกรณ7ปPองกันการกระแทกของน้ํา (Water Hammer Arrestors)
1. Water Hammer Arrestors เปdนอุปกรณ7ทตี่ ิดตั้งอยูในระบบทอน้ําสําหรับลดการ
กระแทกของน้ําหรือกําจัดการกระแทกของน้ําในวงจรระบายทอน้ํา ปPองกันมิใหเครื่อง,

8-36
อุปกรณ7, วาล7วและขอตอตาง ๆ เกิดการเสียหาย ติดตั้งที่ทอน้ําทางดานน้ําสงของเครื่อง
สูบน้ํา, สวนที่ใกลกับวาล7ว หรือปลายทอซึ่งเกิดการกระแทกของน้ําหรือติดตั้งตามแบบ
2. ตัวเรือน (Body) ทําดวย Copper Tube Type K หรือ Type L ภายในบรรจุ One
Moving Part เปdนแบบ Spherical Piston Which Floats Inside The Surge
Chamber และมี Rubber “O” Rings ปPองกันมิใหอากาศที่อัดไวภายในรั่วออกมาได
และน้ําไมสามารถผานเขาใน Chamber ได
22) อุปกรณ7ไลอากาศอัตโนมัติ (Automatic Air Vent)
Automatic Air Vent เปdนแบบ Direct Acting Float Type ลูกลอยและสวนประกอบ
ภายในทําดวย Stainless Steel Body and Cover ทําดวย Cast Iron ขนาดของทอตอเขา 20
มิลลิเมตร (3/4 นิ้ว) ตองสามารถทนแรงดันใชงานไดไมต่ํากวา 1.5 เทาของ Working Pressure
หรือตามทีร่ ะบุในแบบ จะตองติดตั้งที่จุดสูงสุดของทอน้ําและในตําแหนงที่มีอากาศสะสมอยูใน
ระบบทอหรือตามที่ระบุในแบบ

23) อุปกรณ7เบ็ดเตล็ด

• ที่ดักกลิ่น (Trap)

จะตองติดตั้งที่ดักกลิ่นสําหรับสุขภัณฑ7 และอุปกรณ7ทางสุขาภิบาลทุกชั้น ยกเวนแตวา


อุปกรณ7นั้นๆ มีที่ดักกลิ่นในตัวอยูดวย (Integral Trap) ใหติดตั้งที่ดักกลิ่นในตําแหนง
ใกลกับอุปกรณ7เพียงตัวเดียวเทานั้น (หามติดตั้งสองตัว) ที่ดักกลิ่นตองติดตั้งอยูใน
ตําแหนงที่สามารถเขาไปดูแลได จะตองมีปลั๊กทําความสะอาด (Cleanout Plug) หรือ
วิธีอื่นที่อนุมัติใหใช Slip Joints อนุญาตใหใชไดทางดานน้ําเขา (Inlet Side) หรือใน
Trap Seal เทานั้น

วัสดุที่ใชทําที่ดักกลิ่นเปdนพีวีซี หรือเหล็กหลอหรือทองเหลือง ตามประเภทของทอที่มา


บรรจบ ที่ดักกลิ่นทุกตัวตองมีน้ําดักกลิ่น (Water Seal) มีขนาดไมนอยกวา 2 นิ้ว และ
ไมเกิน 4 นิ้ว

ชองทําความสะอาดที่พื้น (Floor Cleanout)

ชองทําความสะอาดสําหรับทอเหล็กหลอ จะตองเปdนชนิดมีเกลียวมาตรฐานอัด เขากับ


ทอสําหรับอุปกรณ7ของทอเหล็กหลอ และสกูร- เทเปอร7 ทําดวยทองเหลืองมี
หัวน’อตชนิดหกเหลี่ยมตัน ชองทําความสะอาดสําหรับทอเหล็กจะตองมีหัวน’อต
ทองเหลืองอุดไว จะตองติดตั้งชองทําความสะอาดพรอมจุกอุดตรงฐานของทอ
ระบายน้ําทิ้ง น้ําโสโครก และระบายอากาศในแนวดิ่งทุกทอ
ขนาดของชองทําความสะอาด ตองมีขนาดเทาขนาดทอไปตอเขา แตไมใหญกวา 4
นิ้ว ยกเวนจะระบุในแบบเปdนอยางอื่น

8-37
ตองติดตั้งชองทําความสะอาดทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนทิศทางของทอแนวราบมากกวา
450 และไมเกิน 50 ฟุต (15 ม.) สําหรับทอแนวราบที่มีขนาด 4” และเล็ก
กวา และไมเกิน 100 ฟุต (30 ม.) สําหรับทอที่มีขนาดใหญกวา 4” ไมวา
แสดงไวในแบบหรือไมก็ตาม
ตัวอยางมาตรฐาน คือ
- Knack Model 427

• ชองระบายน้ํา (Drain)

ใหผูรับจางติดตั้งชองระบายน้ํา (Drains) ตามที่แสดงไวในแบบรายละเอียดของชอง


ระบายน้ํา ใหเปdนไปตามที่แสดงในแบบและขอกําหนด

• ชองระบายน้ําพื้น (Floor Drain)

ชองระบายน้ําพื้น ตองเปdนเหล็กหลอมีป†กกันซึมแบบ Double Drainage มีรูระบายน้ํา


(Weephole) และระบายน้ําออกทางดานลาง (Bottom Outlet) ฝาตะแกรงกันผงทํา
ดวย ทองเหลืองขัดมัน หรือทองเหลืองชุบโครเมี่ยม

ตัวอยางมาตรฐาน คือ
- Knack Model 233P หรือ Model 234 สําหรับพื้นชั้นลางสุด หรือพื้นที่ที่ไม
สามารถถอด Trap มาทําความสะอาดได

• Floor Drain W/Sediment Bucket

ชองระบายน้ําพื้นในบริเวณหองเก็บขยะ และที่หองครัว จะตองเปdน Floor Drain ชนิด


ที่มีถอดออกมาเคาะลางเอาเศษอาหาร เศษขยะออกได เทียบเทามาตรฐานของ Floor
Drain ของ JOSAM Series No. 32320

• ชองระบายน้ําฝนที่หลังคา (Roof Drains)

ขนาด รูปลักษณะและรายละเอียดเปdนไปตามแบบ ตองเปdนเหล็กหลอทาสีกันสนิม


Complete with round pedestrian grate set in square secured frame, a
floashing clamp device & collar, and threaded connection bottom
outlet.

8-38
ตัวอยางมาตรฐาน คือ
- Knack Model 327

• ชองระบายน้ําของสวนหรือในกะบะปลูกตนไม (Garden Drain) ใหป`ดทับ


ดวย Geotextile และโรยหินกรวดทับหนา ถาเปdนทอใหใชทอ PVC แบบ
เจาะรูโดยรอบตามมาตรฐานของผูผลิต หุมโดยรอบดวยแผน Geotextile
แลวเทหินกรวดโดยรอบ

3.3 วิธีการกอสราง
1) โดยทั่วไปวาล7วที่ติดตั้งบนทอน้ําในแนวนอน (Horizontal Pipe) ตองใหกานวาล7ว อยูในแนวดิ่ง
เวนแตจะมีสาเหตุจําเปdนหรืออุปสรรคในการติดตั้ง หรือใชงาน จึงอนุญาตใหกานวาล7วติดตั้งอยู
ในแนวเอียงได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการพิจารณา และอนุมัติจากผูคุมงานเปdนแตละกรณีไป
2) วาล7วที่ป`ด-เป`ดขณะใชงานบอย หากสามารถทําได ตองติดตั้งใหตัววาล7วไมสูงกวา 1.50 เมตร
จากพื้น
3) วาล7วขนาด 100 มิลลิเมตร (4 นิ้ว) และใหญกวา ที่ติดตั้งอยูสูงเกิน 2.50 เมตร จากพื้นตองติดตั้ง Chain
Wheel และโซ ทําดวยเหล็กไมเปdนสนิมหอยลงมาสูงจากพื้นประมาณ 1.00 เมตร พรอมที่คลองโซในตําแหนงที่
เหมาะสม

8-39
ระบบประปา และสุขาภิบาล
4. เครื่องสูบน้ํา
4.1 ความตองการทั่วไป
1) เครื่องสูบน้ําตองจัดจําหนายโดยตัวแทนในประเทศที่มีชื่อเสียง และมีบริการทางดานอะไหลเปdนที่
เชื่อถือได
2) ในการเสนอขออนุมัติผลิตภัณฑ7เครื่องสูบน้ํา ผูรับจางตองแนบ Performance Curve ของเครื่อง
สูบน้ํามาดวย จุดที่เลือกสําหรับการใชงานควรอยูในบริเวณกลางของ Curve ซึ่งเปdนจุดที่เครื่อง
สูบน้ํามีประสิทธิภาพสูง และมีความยืดหยุนเมื่อปริมาณน้ํา (Flow Rate) และความดัน
เปลี่ยนไปไดมากที่สุด
3) สมรรถนะของเครื่องสูบน้ํา จะตองสามารถสูบน้ําไดดวยอัตราการไหล และแรงดันไมนอยกวาที่
กําหนดไวในรายการอุปกรณ7 (Equipment Schedule)
4) การเลือกเครื่องสูบน้ําตองเลือกใหลักษณะการใชงานเปdนแบบ Non-Overloading
Performance Curve โดยใชมอเตอร7ขนาดแรงมาสูงสุดของ Curve
5) เครื่องสูบน้ําแตละเครื่องจะตองมีใบรับรองผลการทดสอบสมรรถนะของเครื่อง (Certificate
Test of Origin) จากผูผลิต
6) เครื่องสูบน้ําจะตองประกอบสําเร็จจากโรงงานผูผลิต
4.2 วัสดุและโครงสราง
1) ขอกําหนด และลักษณะโครงสรางโดยทั่วไป
1. รายละเอียดเกี่ยวกับชนิดของเครือ่ งสูบน้ําที่ตองการใช จํานวน สมรรถนะความเร็วรอบ
การตอเพลา (Coupling) Casing Working Pressure จะตองเปdนไปตามที่แสดงไวใน
แบบ
2. เรือนของเครื่องสูบน้ํา (Casing) จะตองมีแรงดันใชงานปกติ (Working Pressure) ไมต่ํา
กวา 12 บาร7 (175 ปอนด7ตอตารางนิ้ว) หรือ 1.5 เทาของแรงดันใชงานปกติจริง
(Actual Working Pressure) โดยใชตัวเลขมากกวาเปdนกวาเปdนเกณฑ7 หากใชขอตอหนา
แปลน (Flanged Connection) ทั้งทางดานดูด และทางดานสง จะตองทนแรงดันได
เชนเดียวกันกับตัวเรือนเครื่องสูบน้ํา
3. ใบพัด (Impeller) ตองเปdนโลหะชิ้นเดียวกันทําดวย Cast Bronz หรือเทียบเทา ไดรับ
การถวงทั้งทางดาน Dynamic และ Static มาจากโรงงานผูผลิต และใบพัดจะตองไม
เสียหาย เนื่องจากใบพัดหมุดกลับทาง
4. Casing Wearing Ring ตองเปdนชนิดที่เหมาะสมกับสภาพการใชงาน ทําดวย Bronze,
Chromed Iron หรือ Nickel Iron สามารถถอดเปลี่ยนไดโดยสะดวก
5. เพลา (Shaft) ทําดวย Carbon Steel พรอมดวย Sleeve ทําดวย Bronze, Chromed
Iron หรือ Nickel Iron สอดผาน Stuffing Box
6. ปลอกหุมเพลา (Shaft Sleeve) ยึดติดกับเพลาดวยสลัก และมีความยาวยื่นออกพนนอก
ซีล มีโอริงปะเกนตรงระหวางใบพัดกับปลายปลอกหุมเพลา เพื่อกันน้ําเขาระหวางเพลา
กับปลอกหุมเพลา

8-40
7. Bearing ตองเปdนชนิด Heavy Duty Ball Bearing เปdน Dust Seal ในตัว สามารถถอด
ออกซอมโดยงาย ออกแบบใหใชงานตามที่กําหนดไดไมต่ํากวา 80,000 ชั่วโมง
8. Seal ตองเปdนชนิด Mechanical Seal ที่เลือกใชจะตองเปdนไปตามขอแนะนําของผูผลิต
ที่ขนาดของเพลา ความเร็วของเพลา ความดัน และอุณหภูมิใชงานตามที่กําหนด เครื่อง
สูบน้ําทุกเครื่องจะตองออกแบบใหสามารถเปลี่ยนซีลไดโดยงาย และรวดเร็ว
9. จุดสูงสุดของเรือนเครื่องสูบน้ํา จะตองมี Air Vent Cock และจุดต่ําสุดของเรือนเครื่อง
สูบน้ํา จะตองมี Drain Cock
10. เครื่องสูบน้ําทุกเครื่องจะตองมีทอระบายน้ําตอจากที่รองรับของซีล ระบายน้ําทิ้งจาก
เครื่องสูบน้ํา ไปยังรางระบายน้ํา
11. เครื่องสูบน้ําที่ใชจะตองเปdนรุนที่ออกแบบมาใหการบํารุงรักษาทําไดโดยสะดวก และใช
เวลาในการถอดซอมนอย
12. เครื่องสูบน้ําพรอมมอเตอร7 จะตองติดตั้งบนฐานเหล็กหลอ หรือฐานที่ทําจากเหล็ก
โครงสราง (Structural Steel) ตามมาตรฐานผูผลิตเครื่องสูบน้ํา
13. เครื่องสูบน้ําทั้งชุด จะตองติดตัง้ บนแทนคอนกรีตที่เหมาะสม โดยมีอุปกรณ7ลดการ
สั่นสะเทือนไปยังอาคารที่มีประสิทธิภาพสูงรองรับ
14. เครื่องสูบน้ําที่ตอกับมอเตอร7ดวย Coupling จะตองใช Coupling ชนิด Flexible มีคา
Service Factor อยางต่ํา 1.5 และจะตองมีฝาครอบปPองกัน (Coupling Guard) ดวย
15. การเลือกขนาดของใบพัดเครื่องสูบน้ําแบบหอยโขง (Centrifugal Pump) จะตองเลือก
ใบพัดใหมีขนาดใหญกวาขนาดใบพัดที่ไดสมรรถนะตามตองการหนึง่ ขนาดเมื่อติดตั้ง และ
เดินเครื่องสูบน้ําแลว จึงเจียรใบพัดใหไดขนาดพอเหมาะ โดยดูผลจากปริมาณน้ํา ความ
ดันและการใชไฟฟPาของเครื่องสูบน้ําประกอบ
16. การเลือกขนาดของมอเตอร7เครื่องสูบน้ํา ตองเลือกขนาดมอเตอร7ใหใหญพอที่จะไม
Overload ตลอดชวงการทํางานของเครื่องสูบน้ําตาม Curve ใน Performance Curve
ขนาดของมอเตอร7ที่ระบุไวเปdนแนวทางเทานั้น และหลังจากพิจารณา Performance
Curve แลว วิศวกรผูออกแบบจะเปdนผูตัดสินวาขนาดของมอเตอร7ควรจะเปdนเทาใด
17. ผูรับจางจะตองรับผิดชอบการติดตั้งอุปกรณ7แผงสวิทช7 สตาร7ทเตอร7 อุปกรณ7ไฟฟPาตางๆ
ระบบสายไฟ และอุปกรณ7ควบคุมการทํางานของเครื่องสูบน้ํา ตามที่แสดงในแบบ เพื่อให
การทํางานของเครื่องสูบน้ําเปdนไปตามตองการ
18. มอเตอร7ตองเปdนแบบ Squirrel Cage Induction Motor ชนิดปกป`ดมิดชิดระบายความ
รอนดวยอากาศ (Totally Enclosed Fan Cooled Motor) มีความเร็วรอบ และระบบ
ไฟฟPาที่ใชตามที่กําหนดในแบบ ขนาดของมอเตอร7จะตองไมเล็กกวา 1.5 เทาของ
กําลังไฟฟPาที่ตองการขณะใชงานสูงสุด
19. เครื่องสูบน้ําทุกเครื่องจะตองมีมาตรวัดความดัน ทั้งทางดานน้ําดูด และดานน้ําสง
20. เครื่องสูบน้ําทุกเครื่องจะตองมีขอตอออน (Flexible Connection) ทั้งทางดานน้ําดูด
และทางดานน้ําสง ยกเวนเครื่องสูบน้ําที่ดูดน้ําจากถังน้ําใตดินโดยตรงที่ไมตองใสขอตอ
ออนทางดานน้ําดูด

8-41
2) เครื่องสูบน้ําแบบหอยโขง (Centrifugal Type)
เครื่องสูบน้ําแบบหอยโขงเปdนชนิด Non - Overloading Centrifugal Type, Volute
Type, Single Suction Type, Horizontal Mount มีสมรรถนะตามที่ระบุไวในแบบ และ
รายการที่ประสิทธิภาพในการทํางานไมต่าํ กวา 60% และเครื่องสูบน้ําจะตองออกแบบให
สามารถถอดใบพัด และซีลออกซอมได โดยไมตองถอดทอในชวง เขา-ออก จากเครื่องสูบน้ํา
สําหรับสูบน้ําขึ้นบนถังเก็บน้ําบนดาดฟPา

3) เครื่องสูบน้ําเพิ่มแรงดัน (Constant Pressure Booster Pump)


เปdนชนิด Package Constant Pressure Booster Pump ชุดของเครื่องสูบน้ําชนิดหอย
โขง (End Suction Centrifugal Pump) จํานวน 2 ชุด ประกอบกันมี Diaphragm Type
Pressure Tank พรอมอุปกรณ7ควบคุมการทํางานของชุดเครื่องสูบน้ําโดยอัตโนมัติ เพื่อใหชุดของ
เครื่องสูบน้ําสามารถจายน้ําตามปริมาณความตองการน้ําใชในอาคาร และสามารถรักษาความดัน
ของน้ําใหเปลี่ยนแปลงไมเกิน 5% ชุดเครื่องสูบน้ํานี้จะตองผลิต และประกอบเสร็จจากโรงงาน
ผูผลิต และไดรับการทดสอบ พรอมทั้งไดการรับรองทํางานของชุดเครื่องสูบน้ําเรียบรอย โดยมี
อุปกรณ7ประกอบดังนี.้ -
- อุปกรณ7ควบคุมการทํางาน (Control Panel)
- Pressure Regulating Valve
- Gate Valves, Check Valves
- Flexible Connection
- Strainer
- Anti - Vibration Pads
- Pump, System and Suction Pressure gauges
- Pump Run Light
- Lead-Lag Pump Selector Switch
- Pressure Switch
- Flow Switch
- Pump Overload Light
- Control Power Light and Switch
- Audible Alarm Horn
- Diaphragm Type Pressure Tank
- Reservoir Low Level Cut – Off

8-42
4) เครื่องสูบน้ําเสีย (Waste Water Submersible Pumps)
1. รายละเอียดทั่วไป (General)
• เปdนเครื่องสูบน้ําใตน้ํา ติดตั้งในบอน้ําเสีย (Sewage Sump) ออกแบบเหมาะ
สําหรับสูบน้ําเสียโดยเฉพาะ ขับเคลื่อนดวยมอเตอร7ไฟฟPาชนิดแชอยูในน้ําได
ตลอดเวลา ขนาดมอเตอร7มีสมรรถนะตามที่ระบุไวในแบบและรายการความเปdน
ฉนวนมีคุณสมบัตไิ มต่ํากวา Class E (ฉนวนของขดลวดทนอุณหภูมิไดถึง 120
°C) ใชกับระบบไฟฟPา 380 โวลท7 3 เฟส 50 เฮิทซ7 สวนของมอเตอร7จะตอง
ประกอบเปdนหนวยเดียวกันกับเครือ่ งสูบน้ํา โดยมีอุปกรณ7ปPองกัน การรั่วซึมของ
น้ําที่จะผานเขามอเตอร7คือ Oil Chamber กับ Silicon Carbide Mechanical
Seal ใบพัด (Impeller) และ Suction Cover จะตองออกแบบใหสามารถตัด
ขยะตาง ๆ ได
• อัตราการสูบน้ํา (Flow Rate and Head) ใหเปdนไปตามแบบและรายการพรอม
ดวยอุปกรณ7พเิ ศษ เพื่อติดตั้งหรือยกเครื่องสูบน้ําขึ้นจากบอ โดยไมตองถอดหรือ
ประกอบทอสงน้ํา (Guide Rail Fitting & Duck Foot Bend)
2. ลักษณะโครงสรางของเครื่องสูบน้ําเสีย (Structure of Pump)
• ใบพัด (Impeller) เปdนแบบ Single Vane Open Type ทําดวย Gray Iron
Castingใบพัดจะตองไดรับการถวงสมดุลย7ทั้งทางดานสถิตย7ศาสตร7และจลศาสตร7
ที่ปลายใบพัดติดตั้งใบมีดทําดวย Tungsten Carbide สําหรับตัดขยะตาง ๆ
(Statically and Dynamically Balance) มาจากโรงงานผูผลิต
• Suction Cover ทําดวย Gray Iron Casting
• Mechanical Seal ทําดวย Silicon Cabride หลอลื่นดวย Turbine Oil ภายใน
Oil Chamber
• เพลา (Shaft) จะตองเปdนเพลาเดียวยาวตลอด ทําดวย Stainless Steel
• ลูกปœน (Bearing) เปdนชนิด Ball Bearing
• มอเตอร7 (Motor) จะตองติดตั้งอุปกรณ7ปPองกันความรอน (Overheat) ดวย
Motor Protection (Built-In Thermal Protection) ชนิดสามารถหยุดการ
ทํางานของมอเตอร7ไดเมื่อมอเตอร7มีความรอนสูง และเมื่อมอเตอร7เย็นลงจะ
สามารถ Reset ไดเอง
• สกรู (Screw) ทุกตัวตองเปdน Stainless Steel
3. อุปกรณ7ประกอบ (Accessories)
• Duck Foot Bend ทําดวย Gray Iron Casting พรอมดวย Discharge Flange
มี Anchor Bolts, น’อตและสกรูทําดวย Stainless Steel
• Quick Connector ทําดวย Gray Iron Casting ยึดติดกับ Discharge Bore
ของตัวเครื่องสูบน้ําใชสําหรับเกาะยึด Duck Foot Bend
• Guide Rail Fittings ประกอบดวย Guide Rail ซึ่งทําดวยทอเหล็กอาบสังกะสี
หรือวัสดุอื่นที่ไมเปdนสนิมเมื่อแชอยูในน้ํา, Upper Guide Holder ทําดวย Gray
Iron Casting สําหรับยึด Guide Rail
• โซ (Lifting Chain) ทําดวย Structural Steel ชุบ Galvanized ความยาวไม
นอยกวา 6 เมตร

8-43
4. การควบคุมการทํางานของเครื่องสูบน้ําเสีย (Controller)
การควบคุมการทํางานของเครื่องสูบน้ําเสีย โดยอุปกรณ7ควบคุมระดับน้ําเปdนแบบ
Micro Float Switch ใหเครื่องสูบน้ําทํางานสลับกันในเวลาปกติ และจะทํางานรวมกัน
ในเวลาน้ํามากกวาปกติโดยเปdนแบบอัตโนมัติ ระดับของลูกลอยประกอบดวยระดับเครื่อง
สูบ 2 ชุดทํางานพรอมกัน, ระดับทํางาน 1 ชุด, ระดับตัดเครื่องสูบทั้งหมด โดยที่ระดับ
ดังกลาวไดกําหนดไวในแบบหรือจะกําหนดใหในงานสนาม
5. เครื่องสูบน้ําระบายน้าํ ฝน (Storm Water Submersible Pump)
5.1 รายละเอียดทั่วไป (General)
• เปdนเครื่องสูบน้ําใตน้ํา ติดตั้งในบอน้ําฝน (Drainage Sump) ออกแบบ
เหมาะสําหรับสูบน้ําฝนโดยเฉพาะ ขับเคลื่อนดวยมอเตอร7ไฟฟPาชนิดแช
อยูในน้ําไดตลอดเวลาขนาดมอเตอร7มีสมรรถนะตามทีร่ ะบุไวในแบบและ
รายการความเปdนฉนวนมีคุณสมบัติไมต่ํากวา Class E (ฉนวนของขดลวด
ทนอุณหภูมิไดถึง 120°C) ใชกับระบบไฟฟPา 380 โวลท7 3 เฟส 50
เฮิทซ7 สวนของมอเตอร7จะตองประกอบเปdนหนวยเดียวกันกับเครื่องสูบน้ํา
โดยมีอุปกรณ7ปPองกันการรั่วซึมของน้ําที่จะผานเขามอเตอร7คือ Oil
Chamber กับ Silicon Carbide Mechanical Seal ใบพัด (Impeller)
และ Suction Cover จะตองออกแบบใหเกิดน้ําวน (Vortex) ภายใน
เรือนสูบ (Casing) สูบน้ําตะกอนได
• อัตราการสูบน้ํา (Flow Rate and Head) ใหเปdนไปตามแบบและ
รายการพรอมดวยอุปกรณ7พิเศษ เพื่อติดตั้งหรือยกเครื่องสูบน้ําขึ้นจากบอ
โดยไมตองถอดหรือประกอบทอสงน้ํา (Guide Rail Fitting & Duck
Foot Bend)
5.2 ลักษณะโครงสรางของเครื่องสูบน้ํา (Structure of Pump)
• ใบพัด (Impeller) เปdนแบบ Single Vane Open Type ทําดวย Gray
Iron Casting ใบพัดจะตองไดรับการถวงสมดุลย7ทั้งทางดานสถิตย7ศาสตร7
และจลศาสตร7ที่ปลายใบพัดติดตั้งใบมีดทําดวย Tungsten Carbide
สําหรับตัดขยะตาง ๆ (Statically and Dynamically Balance) มาจาก
โรงงานผูผลิต
• Suction Cover ทําดวย Gray Iron Casting
• Mechanical Seal ทําดวย Silicon Cabride หลอลื่นดวย Turbine Oil
ภายใน Oil Chamber
• เพลา (Shaft) จะตองเปdนเพลาเดียวยาวตลอด ทําดวย Stainless Steel
• ลูกปœน (Bearing) เปdนชนิด Ball Bearing
• มอเตอร7 (Motor) จะตองติดตั้งอุปกรณ7ปPองกันความรอน (Overheat)
ดวย Motor Protection (Built-In Thermal Protection) ชนิดสามารถ
หยุดการทํางานของมอเตอร7ไดเมื่อมอเตอร7มคี วามรอนสูง และเมื่อ
มอเตอร7เย็นลงจะสามารถ Reset ไดเอง
• สกรู (Screw) ทุกตัวตองเปdน Stainless Steel

8-44
5.3 อุปกรณ7ประกอบ (Accessories)
• Duck Foot Bend ทําดวย Gray Iron Casting พรอมดวย Discharge
Flange มี Anchor Bolts, น’อตและสกรูทําดวย Stainless Steel
• Quick Connector ทําดวย Gray Iron Casting ยึดติดกับ Discharge
Bore ของตัวเครื่องสูบน้ําใชสําหรับเกาะยึด Duck Foot Bend
• Guide Rail Fittings ประกอบดวย Guide Rail ซึ่งทําดวยทอเหล็กอาบ
สังกะสี หรือวัสดุอื่นที่ไมเปdนสนิมเมื่อแชอยูในน้ํา, Upper Guide
Holder ทําดวย Gray Iron Casting สําหรับยึด Guide Rail
• โซ (Lifting Chain) ทําดวย Structural Steel ชุบ Galvanized ความ
ยาวไมนอยกวา 6 เมตร
5.4 การควบคุมการทํางานของเครื่องสูบน้ําเสีย (Controller)
การควบคุมการทํางานของเครื่องสูบน้ําเสีย โดยอุปกรณ7ควบคุมระดับน้ํา
เปdนแบบ Micro Float Switch ใหเครื่องสูบน้ําทํางานสลับกันในเวลาปกติ และ
จะทํางานรวมนในเวลาน้ํามากกวาปกติโดยเปdนแบบอัตโนมัติ ระดับของลูกลอย
ประกอบดวยระดับเครื่องสูบ 2 ชุดทํางานพรอมกัน, ระดับทํางาน 1 ชุด, ระดับ
ตัดเครื่องสูบทั้งหมดโดยที่ระดับดังกลาวไดกําหนดไวในแบบหรือจะกําหนดใหใน
งานสนาม

6. เครื่องเติมอากาศ (Air Blower)


6.1 รายละเอียดทั่วไป (General)
• เปdนเครื่องเติมอากาศชนิดโรตารี่ (Rotary Positive Displacement
Blower) ขับเคลื่อนดวยมอเตอร7ไฟฟPา พรอมสายพานสงกําลังและมูเล
ทดรอบ (V-Belt Drive) โดยทิศทางการไหลของอาคารในแนวดิ่ง
(Vertical Flow) ที่ทอทางดูดอยูดานบนและทอทางจายอากาศอยู
ดานลางของตัวเรือน (Housing) ตามลําดับ ขนาดของเครื่องเติมอากาศ
และขนาดของมอเตอร7รวมทั้งรอบการหมุนของเครื่องเติมอากาศ ให
เปdนไปตามสมรรถนะที่ระบุในแบบและรายการ มอเตอร7เปdนชนิดไมต่ํา
กวา IP 54 มีฉนวนที่คุณสมบัตไิ มต่ํากวา Class B ใชกับระบบไฟฟPา
380 Volt, 3 Phase, 50 Hz
• อัตราการเติมอากาศ (Air Flow Capacity and Pressure) ใหเปdนไป
ตามแบบและรายการ พรอมอุปกรณ7ประกอบตามรายละเอียดในหัวขอ
อุปกรณ7ประกอบ โดยจะตองมีขอมูลแสดงใหทราบถึงอุณหภูมิ
โดยประมาณของอากาศที่เพิ่มขึ้น (Temperature Rise) ภายหลังอากาศ
ถูกอัดในเครื่องเติมอากาศ และกราฟแสดงการทํางานของเครือ่ งเติม
อากาศแนบมาดวย
6.2 ลักษณะโครงสรางของเครื่องเติมอากาศ (Structure of Air Blower)
• ใบพัด (Rotors) จะตองเปdนชนิด Lobe-Type ทําดวย High Strength-
Ductile Iron Casting และไดรับการถวงสมดุลย7ทั้งทางสถิตย7และจล
ศาสตร7มาจากโรงงานผูผลิตและสามารถหมุนไดทั้ง 2 ทิศทาง
• เพลา (Shafts) ทําจากเหล็กกลา (Solid Steel)

8-45
• ตัวเรือน (Housing) ทําดวย Gray Cast Iron
• เฟœองขับและเฟœองสงกําลัง (Timing Gears) ทําดวย Garburized
Precision Ground Iron โดยเฟœองแตละอันจะประกอบติดกับเพลา
(Shaft) โดยใช Taper Mounted และ Locknuts เพื่อความสะดวกใน
การถอดประกอบและบํารุงรักษา
• ลูกปœน (Bearing) ลูกปœนดานเพลาขับตัวตามเปdนชนิด Oversized
Ball Bearing และลูกปœนดานเพลาขับตัวนําเปdนชนิด (Cylindrical
Roller) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการรับแรงฉุดจากสายพานสงกําลัง
(V-Belt Drive)
6.3 อุปกรณ7ประกอบ (Accessories)
Air Blower ทุกเครื่องตองประกอบขึ้นแทนครบชุดพรอมใชงาน โดยตอง
มีอุปกรณ7มาตรฐานดังตอไปนี้
• แทนเครื่องแบบ Heavy Duty พรอมขาตั้งสูงจากพื้น
• สายพานขับรองตัววีพรอมที่ครอบสายพาน (V-Belt Drive & Guard)
• ทอเก็บเสียงทางดูดพรอมไสกรองอากาศ (Suction Silencer & Filter)
• ทอเก็บเสียงทางจายติดตั้งในแนวนอนดานใตแทนเครื่อง โดยอยูภายใน
ของแทนเครื่องและขาตั้งทั้ง 4 ขา เพื่อประหยัดพื้นที่และเพิ่ม
ประสิทธิภาพการเก็บเสียง
• มอเตอร7พรอมมูเลทดรอบใหเปdนไปตามที่ระบุในแบบและรายการ
• เกจ7วัดความดันอากาศดานทางจาย (Pressure Gauge)
• Pressure Relief Valve

6.4 การควบคุมการทํางานของเครื่องเติมอากาศ (Controller)


การควบคุมการทํางานของเครื่องเติมอากาศเปdนแบบที่ควบคุมไดทั้งระบบ
Manual และ Automatic โดยระบบ Automatic จะควบคุมใหเครื่องเติมอากาศ
สลับกันทํางานครั้งละ 1 เครื่อง โดยใช Timer ควบคุม Timer จะตองเปdนชนิดตั้งเวลาได
ละเอียดถึง 15 นาที ระยะเวลาการเดินและหยุดเครื่องจะปรับตั้งตามความเหมาะสมใน
งานสนาม

6.5 หัวจายอากาศ (Diffuser)


เปdนหัวจายอากาศชนิด Non-Clog Medium Bubble ใชสําหรับกระจายอากาศ
ที่ถูกเติมมาจากเครื่องเติมอากาศใหทั่วถัง โดยมีคา Air Diffuser ขนาดไมนอยกวา 5
m3/hr/set

8-46
4.3 วิธีการกอสราง
1) แทน และตัวกันสะเทือนของเครื่องสูบน้ํา
1. ลักษณะของแทนประกอบดวยฐานคอนกรีตเสริมเหล็กรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ซึ่งรองรับไว ให
ลอยอยูกับที่ดวยตัวกันสะเทือนแบบขดสปริง ขนาดของฐานคอนกรีตตองใหญพอที่จะ
รองรับของอ ทอน้ําสวนที่ตอเขากับดานดูดและดานสงของเครื่องสูบน้ําได และตองมี
ความหนาไมนอยกวา 150 มม. (6 นิ้ว) แตไมเกิน 300 มม. (12 นิ้ว) ยกเวน ผูทําตัว
กันสะเทือนจะแนะนํา ใหใชแทนคอนกรีตหนากวานี้เพื่อเพิม่ มวลและความมั่นคงในการ
รองรับ
2. การหลอฐานคอนกรีต ใหใชเหล็กโครงสรางรูปตัว I หรือตัว C คาดรัดโดยรอบแลววาง
เหล็กเสริม ซึ่งอาจใชเหล็กเสนกลมขนาดเสนผาศูนย7กลาง 9.5 มม.(3/8 นิ้ว) หรือเหล็ก
ฉากขนาด 13 มม. (1/2 นิ้ว) เชื่อมสายกันเปdนตาขาย ทุก ๆ 150 มม. (6 นิ้ว) ชั้นของ
เหล็กเสริมนี้ วางหางจากผิวดานลางของตัวฐานประมาณ 38 มม. (1 1/2 นิ้ว)
3. ขดสปริงที่ใชตองเปdนแบบ Free Standing และมีความสมดุลย7ทางดานขาง โดยไมตองใช
Housing ดานลางของสปริงตองเปdนแบบแผน Neoprene Friction Pad เพื่อกันแทน
เลื่อนการยึดขดสปริงใหติดกับฐานคอนกรีตใหใช Height Saving Bracket เพื่อให
สวนลางของฐานอยูสูงจากพื้นหองประมาณ 25 มม. (1 นิ้ว)
2) การติดตั้งเครื่องสูบน้ํา จะตองจัดเตรียมขอเกีย่ ว (Hook) ที่เพดานเหนือ Motor ที่มีความแข็งแรง
เพียงพอที่จะใชยก Motor และตัวเครื่องสูบน้ํา สําหรับการซอมบํารุง
3) ตองตอทอระบายน้ําทิ้งจากเครื่องสูบน้ําทุกชุดไปยังจุดทิ้งน้ําที่ใกลที่สุด ทอที่ใชเปdนทอเหล็กอาบ
สังกะสีรายละเอียดเปdนไปตามขอกําหนดเรื่องทอน้ํา
4) ชุดเครื่องสูบน้ําและมอเตอร7ตองไดรับการปรับแนว (Alignment) และยึดอยางมั่นคง ติดกับทอ
น้ําที่ตออยู โดยมี Pipe Support รับน้ําหนักในแนวดิ่ง พรอมกับมีแผนยางกับการสั่นสะเทือนที่
พื้นที่ยึดกับ Pipe Support

8-47
ระบบประปา และสุขาภิบาล
5. ถังบําบัดน้ําเสีย
5.1 ความตองการทั่วไป
งานในระบบนี้หมายถึงงานระบบบําบัดน้ําเสียน้ําเสียเบื้องตน ซึ่งไดแสดงไวในแบบ
แปลนและตามรายละเอียดแหงขอกําหนดนี้ ไมวาจะเปdนเงื่อนไขทั่วไปหรือเงื่อนไขเฉพาะ
ผูรั บจางจะตองจั ดหาแรงงาน วั สดุ อุ ปกรณ7 เครื่ องจั กรกล เครื่ องมื อ เครื่องใช และ
อุปกรณ7อื่นๆ ที่จําเปdน เพื่อดําเนินการ ใหงานระบบบําบัดน้ําเสียแลวเสร็จสมบูรณ7
รายการอุปกรณ7ที่ระบุในขอกําหนดรายละเอียดนี้แสดงไวเปdนเพียงหนึ่งเดียว (Singular)
อยางไรก็ตาม ผูรับจางจะตองจัดหาและติดตั้งใหครบถวนตามจํานวนที่แสดงไวในแบบ
(Drawing) และตามความเปdนจริงเพื่อที่จะใหงานแลวเสร็จสมบูรณ7

ระบบบําบัดน้ําเสียในที่นี้หมายถึง ชุดอุปกรณ7และเครื่องมือซึ่งทําการรับน้ําเสียจาก
สุขภัณฑ7ตางๆ มาเพื่อการบําบัดเบื้องตน ระบบบําบัดน้ําเสียเปdนถังคอนกรีตเสริมเหล็ก
ฝaงใตดิน น้ําทิ้งที่ผานกระบวนการบําบัดเบื้องตนแลวจะไหลลงสูทอรวบรวมน้ําเสียกอน
ปลอยไหลออกไปยังบอพักสาธารณะ
5.2 ขอบเขตของงาน
ผูรับจาง จะตองจัดหาวัสดุ แรงงาน และอุปกรณ7ที่ดี จําเปdนสําหรับงานกอสรางที่เกี่ยวของ รวมทั้ง
เครื่องมือ เครื่องใชตางๆ ที่จําเปdนเพื่อกอสราง และติดตั้งระบบบําบัดน้ําเสียใหไดตามแบบ และ
มาตรฐานคุณภาพน้ําทิ้งตามกฎกระทรวง และใหไดตามขอกําหนดนี้ ขอบเขตของงานประกอบดวย
งานตางๆ ดังตอไปนี้

- งานวางทอ
- งานจัดหาและติดตั้งถังบําบัดน้ําเสียสําเร็จรูป
- งานจัดหาและติดตั้งระบบทอและอุปกรณ7
- การทดสอบระบบ และทดสอบคุณภาพน้ําทิ้ง (Acceptance Test)
- การรับประกันอุปกรณ7และระบบ

ผูรับจาง จะตองเปdนผูรับผิดชอบในการเดินระบบบําบัดน้ําเสีย ใหน้าํ ที่ผานการบําบัดแลวมี BOD ไม


เกิน 20 มก./ล. ปริมาณสารแขวนลอยไมเกิน 30 มก./ล. และคาอื่นๆ เปdนไปตามมาตรฐาน
คุณภาพน้ําทิ้งจากอาคาร ตามกฎกระทรวงฯ

8-48
5.3) วัสดุและโครงสราง ของถังบําบัด ทั่วไป
1) ขอกําหนด และลักษณะโครงสรางโดยทั่วไป ของถังบําบัดน้ําเสียสําเร็จรูป

ถังบําบัดน้ําเสียสําเร็จรูปประกอบดวยสวนที่เปdนบอเกรอะและบอกรองและบอเติมอากาศ
อยูในถังใบเดียวกัน หรือแยกจากกัน ตามที่ระบุไวในแบบ ทอที่ตอเขากับถังบําบัดน้ําเสีย
จะตองมี ทอตอออน (Flexible Pipe) และทอ Vent การติดตัง้ ใหเปdนไปตามมาตรฐาน
ของผูผลิต

(2) ตัวถังจากไฟเบอร7กลาส (FRB) ปPองกันการกัดกรอนของกรด – ดาง ไดเปdนอยางดี เปdน


ระบบบําบัดน้ําเสียสําเร็จรูปแบบชีวภาพ ที่มีปริมาตร และขนาดของถังแตละใบเปdนไปตาม
แบบ วัสดุเปdนชนิด COMPOSITE MATERIAL ประกอบดวยเสนใย ไฟเบอร7กลาส 3
แบบ มี Homograin Silica เพื่อเพิ่มความทนทานตอแรงอัด และ Resin ชนิดที่ไมระเหย
งาย เพื่อปPองกันการปนเปœžอนตอน้ําที่บรรจุ ความหนาของผนังถังโดยเฉลี่ยไมนอยกวา 5
มม.

(3) ตัวถังภายในแบงการทํางานเปdนหอง ๆ สําหรับชวยในการยอยสลายสารอินทรีย7ภายใน


ตัวถังบรรจุสื่อชีวภาพ (Biomedia) ทําจาก HDPE เพื่อเปdนที่อยูอาศัยของ จุลินทรีย7 และ
ปPองกันตะกอนหลุดออกจากระบบเคลื่อนที่ได

(4) ตัวถังจะตองมีชองเป`ดสําหรับสูบตะกอนออกเปdนครั้งคราว ฝาถังจะตองทนทาน ป`ดไดโดย


สนิทกับตัวถังและสามารถปPองกันกลิ่นเล็ดลอดจากถังได

5.4) วัสดุและโครงสรางของถังบําบัด AKZ-05

1. ระบบบําบัดน้ําเสีย
เปdนระบบบําบัดทีใ่ ชสําหรับน้ําเสียที่มีคาไขมันสูง ไดรับการออกแบบเพื่อไมตองมีการตัก
ไขมันออกทิ้งโดยใชเอ็นไซม7ยอยไขมัน เหมาะสําหรับน้ําเสียของตลาดสด , ภัตตาคาร ,
รานอาหาร , โรงอาหาร เปdนตน โดยน้ําเสียผานการดักขยะมากอนเขาสูระบบ
จุดเดนของระบบ คือ ไขมันที่เขามาในระบบจะถูกยอยสลายกลายเปdนก’าซ
คาร7บอนไดออกไซด7 และน้ําไปพรอม ๆ กับการยอยสลายสารอินทรีย7ในรูปบีโอดี ทําใหลดภาระ
การตักไขมันไปกําจัด และสามารถรับประกันไดวาคาน้าํ มันและไขมันของน้ําที่ผานการบําบัด
เปdนไปตามาตรฐานน้ําทิ้งที่กําหนด
บีโอดี เขาระบบ 1200 มก./ลิตร บีโอดี ออกจากระบบ 20 มก./ลิตร
ไขมัน (FOG) 600 มก/ลิตร ไขมัน (FOG) 20 มก./ลิตร
ปริมาณน้ําเสีย 5 ลบ.ม./วัน

8-49
2. โครงสรางและสวนประกอบ
สวนประกอบของระบบบําบัดน้ําเสียรุน AKZ-05 มีดังนี้
1. สวนยอยสลายไขมัน (Fat , Oil & Grease Digestion Tank) มีการเติมจุลินทรีย7 , เอ็นไซม7 ,
สารอาหาร และอากาศโดยระบบอัตโนมัตเิ พื่อยอยสลายไขมันที่เขาสูระบบใหอยูในรูปที่จุลินทรีย7
ในกระบวนการตอไปสามารถบยอยสลายตอได ทําใหไมมีการสะสมของชั้นไขมันที่จะตองตักไป
กําจัดอีก
2. สวนเติมอากาศชนิดมีตัวกลางยึดเกาะ (Fixed-Film Aeration Tank) ยอยสลายสิ่งสกปรกที่
เหลือยูโดยจุลินทรีย7ชนิดใชอากาศที่อาศัยอยูบนตัวกลางพลาสติกที่ทําจากวัสดุ Polyethylene
พื้นที่ผิวไมต่ํากวา 190 ตร.ม./ลบ.ม. มีการเติมอากาศใหกับจุลินทรีย7และเพื่อใหเกิดการผสม
ระหวางน้ําเสียกับจุลินทรีย7อยางทัว่ ถึง
วัสดุตัวถัง ทําดวยโพลีเอทธีลีน ความหนาไมนอยกวา 8 มม.
ประกอบดวย
1. ถังขนาด 3000 ลิตร 1 ถัง , 3000 ลิตร 1 ถัง , 5000 ลิตร 1 ถัง
2. เครื่องเติมอากาศ Hiblow - 200 l/min x 5 set
3. ตัวกลางพลาสติก R-190
4. หัวจายอากาศ ชนิดทอเจาะรู (PVC)
5. ชุด Feed Enzyme ยอยไขมัน
6. ตูควบคุม

3. หนาที่ของผูรับจาง
3.1 สงแบบแสดงระบบเบื้องตน (Shop-Drawing) แสดงรายละเอียดและขนาดของ
ระบบบําบัดราย ละเอียดการติดตัง้ , ฐานราก ใหกับเจาของโครงการ
3.2 สงมอบถังบําบัด ตามเวลาที่กําหนด ณ หนวยงานกอสราง
3.3 จัดชางเทคนิคแนะนําการติดตั้งที่หนวยงาน

4. การทดสอบระบบ
ผูรับจางจะตองทําการทดสอบระบบบําบัด ทั้งในสวนโครงสรางและอุปกรณ7ทุกสวน ให
สามารถ ใชงานไดเต็มความสามารถ ตามวัตถุประสงค7ของงาน โดยคาใชจายในการทดสอบ
ทั้งหมดเปdนของผูรับจาง รวมทั้งสงผลวิเคราะห7น้ําหลังจากระบบทํางานไปแลว 3 เดือนเปdนเวลา
1 ครั้ง หรือจนคาน้าํ เสียที่ออกอยูใน มาตรฐาน

5. การรับประกัน
ผูรับจางตองรับประกันวัสดุ และอุปกรณ7เครื่องจักร ภายใตสภาวะการทํางานปกติ เปdน
เวลา 2 ป† พรอมทั้งจัดหาเอ็นไซม7ยอยไขมัน เพื่อเติมในระบบเปdนเวลา 2 เดือน

8-50
5.5) วัสดุและโครงสรางของถังบําบัด รุน ABC-FRC-08

รายละเอียดทางเทคนิคของถังบําบัดน้ําเสียสําเร็จรูป

ระบบบําบัดน้ําเสียระบบเติมอากาศ แบบ Bio – FixedFilm จํานวน 1 ชุด ซึ่งสามารถ


บําบัดน้ําเสียจากสวนหองเรียนและหองประชุมไดไมนอยกวา 8 ลบ.ม. ตอวัน
คา บีโอดี ของน้ําเสียเขาระบบ 250 มก./ล. และออกจากระบบบําบัดไมเกิน 20 มก./
ล. โดยมีรายละเอียดของระบบประกอบดวยขั้นตอนการบําบัดภายในถังดังนี้
1. สวนเกรอะ ซึ่งมีปริมาตรไมนอยกวา 4.60 m3 หรือระยะเวลาเก็บกักไมนอยกวา 12
ชม.
2. สวนกรองไรอากาศ ซึ่งมีปริมาตรไมนอยกวา 2.68 m3 และบรรจุดวยตัวกลางพลาสติกแบบ
RANDOM PALLRING ซึ่งวัสดุทําดวย Polyethylene มีพื้นที่ผิวไมนอยกวา 102
m2/m3 Void Ratio ไมนอยกวา 95% ปริมาตรตัวกลางพลาสติกไมนอยกวา 1.18 ลบ.ม.
โดยระยะเวลาเก็บกักไมนอยกวา 8 ชม.
3. สวนเติมอากาศ ซึ่งมีปริมาตรไมนอยกวา 3.93 m3 และบรรจุดวยตัวกลางพลาสติกแบบ
RANDOM PALLING ซึ่งวัสดุทําดวย Polyethylene มีพื้นที่ผิวไมนอยกวา 102 m2/m3
void Ratio ไมนอยกวา 95% ปริมาตรตัวกลางพลาสติกไมนอยกวา 1.67 m3 โดยระยะ
เก็บกักไมนอยกวา 8 ชม. ปริมาณอากาศที่ตองการไมนอยกวา 200 ลิตร / นาที
4. สวนเติมคลอรีน (CHLORINE CHAMBER)
วัสดุอุปกรณ7 - ตัวถัง ทําดวยวัสดุฟเบอร7กลาสเสริมแรงผลิตดวยกรรมวิธีแบบพนลายเสน
(FILAMENT WINDING) ความหนาไมนอยกวา 8.0 มม.
- ฝาถัง ทําดวย ABS ซึ่งมีความแข็งแรงเพียงพอที่จะติดตั้งบนทางเทา และไมเปdนสนิม
ตลอดอายุการใชงาน
- ขอตอยืดหยุน เพื่อปPองกันความเสียหายของทออันเนื่องจากการทรุดตัวของดินรอบ
ถังจํานวน 2 ตัว ตอถัง 1 ชุด ขนาดเสนผาศูนย7กลาง 150 มม. พรอม Clamp รัดเหล็ก
ไรสนิมจํานวน 2 วง / ตัว
- เครื่องเปŸาอากาศ (AIR BLOWER) อัตราการเปŸาไมนอยกวา 100 ลิตร / นาที กําลัง
110 วัตต7/เครื่อง ที่ความดัน 2 เมตรน้ํา จํานวน 2 เครื่อง

5.6 วิธีการกอสราง
1) แบบรายละเอียดเพื่อกอสราง (Shop Drawings) และรายละเอียดของเครื่องมือและวัสดุที่ตอง
ขออนุมัติ
กอนเริ่มงาน ผูรับจางจะตองสง “แบบรายละเอียดเพื่อการกอสราง” (Shop Drawing) แ
“รายละเอียดของ เครื่องมือและวัสดุที่จะใชทําการติดตั้ง” เสนอผูวาจางหรือผูแทน
พิจารณาขออนุมตั ิกอนการจัดซื้อและลงมือติดตั้ง มาอยางละ 5 ชุด

8-51
2) งานวางทอ

ทอสวม และทอน้ําเสีย จะตองเปdนทอ พีวีซี ชั้น 8.5 รับความดันใชงานได 0.85 MPa หรือตาม
8.7 กก./ซม. หรือ 124 Psi มาตรฐาน มอก. 17-2532 ขอตอใชขอตอเชื่อม (Socket Joint)
และเชื่อมโดยวิธีเชื่อมดวยน้ํายา (Solvent welding) หรือตอโดยใชหนาแปลน (Socket flange)

5.7 การทดสอบระบบและทดสอบคุณภาพน้ําทิ้ง (Acceptance Test)

ภายหลังจากการติดตั้งอุปกรณ7เสร็จสิ้น ผูรับจาง จะตองทดสอบระบบตางๆ ใหเปdนที่เรียบรอย และ


จะตองติดตามผลการใชตอไปอีกไมนอยกวา 3 เดือน (ชวง Start-up ของระบบ) โดยจะตองมีการ
ตรวจทดสอบคุณภาพน้ําทิ้งในรายการคุณภาพที่จําเปdน ตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข โดย
สถาบันที่เชื่อถือไดที่เปdนที่ยอมรับและจะตองจัดทํา “คูมือการใชงาน (Operating Manual)” มา
อยางนอย 4 ชุด

5.8 การรับประกันอุปกรณ7และระบบ (Warranty)


ผูรับจาง จะตองรับประกันวัสดุหรืออุปกรณ7 เปdนระยะเวลาไมนอยกวา 1 ป† (365 วัน) นับจากวัน
เริ่มใชงานเปdนทางการจากผูวาจาง

5.9 การบริการ (Service)


ผูรับจาง จะตองจัดเตรียมชางผูชํานาญงานไวสําหรับการตรวจสอบคุณภาพน้ําทิ้ง ที่ผานการบําบัด
แลว เปdนประจําทุกสองเดือน ภายในระยะเวลา 1 ป† รวมอยางนอย 6 ครั้ง
ผูรับจาง ตองจัดหาทํารายงานผลการตรวจสอบ เสนอตอผูวาจาง ภายใน 7 วัน
นับจากวันที่บริการ

8-52
ระบบประปา และสุขาภิบาล
6. การทดสอบอัดน้ําและการฆาเชื้อโรค (Test and Sterilization)

6.1 ทั่วไป

ผูรับเหมา จะตองทําการทดสอบอัดน้ําทอน้ําดี ทอน้ําเสีย ทอโสโครก และทอระบายอากาศ และ


ไดรับความเห็นชอบกอนการสงมอบงาน ทอโสโครกและทอน้ําเสียที่ฝaงใตดินจะตองทําการทดสอบ
กอนการฝaงกลบทอ ผูรับเหมาจะตองเปdนผูจัดหาเครื่องมือที่ใชในการทดสอบ มาเอง

6.2 การทดสอบทอระบายน้ําและทอระบายอากาศ

ใหทําการทดสอบอัดน้ําทอกอนการติดตั้งเครื่องสุขภัณฑ7ภายหลังการติดตั้งเครื่องสุขภัณฑ7 แลวใหเติม
น้ําลงในแทรป (คอหาน) แลวทําการทดสอบครั้งสุดทายทั้งระบบระบายน้ําและระบายอากาศ โดยใช
ควันหรือเปบเปอมินท7 (Smoke of Peppermint)

1) การทดสอบอัดน้ํา

การทดสอบอาจกระทําทีละสวน หรือทั้งระบบสําหรับทอระบายน้ําและทอระบายอากาศ
ถาเปdน การทดสอบทั้ง ระบบใหอุด ชองเป`ด ทุกชองใหแนน แลวกรอกน้ํา ใสที่จุ ด สู งสุ ด
จนกระทั่งมีการลนออก แตถาทดสอบแบงเปdนชวงๆ ก็ใหอุดชองเป`ดทุกชองยกเวนอัน
บนสุด และใชอัดน้ําเขาแตละชวงดวยกําลังเทากับความสูง 3 เมตร เหนือจุดสูงสุดของ
ชวงแตละชวงที่ทําการทดสอบ โดยใหแชไวอยางนอย 4 ชั่วโมง แลวตรวจดูระดับน้ํา ถา
ระดับน้ําลดต่ําลงมาไมเกิน 10 ซม. ถือวาใชได แตถาเกินใหทําการตรวจสอบหารอยรั่ว
เพื่อทําการแกไขแลวทดสอบรอยรั่วใหม

2) การทดสอบขั้นสุดทาย

ถาใชการทดสอบโดยใชควัน (Smoke Test) ควันผลิตโดยใชเครื่องทําควัน (Smoke


Machine) โดยใชกําลังอัดเทากับหลอดน้ํา 2.5 มม. เปdนเวลา 15 นาที แลวจึงทําการ
ตรวจสอบดู
แตถาใชวิธีเปบเปอมินท7 (Peppermint Test) ใหใชเปบเปอมินท7หนัก 2 ออนซ7 ใสเขาไป
ในทอหรือทอทอนตั้ง (Stack)

6.3 การทดสอบระบบน้ําดี (Test for Water System)

6.3.1 การทดสอบทอสูบน้ําขึ้นถัง ทอ Up-feed และทอสงน้ําภายในอาคาร (Filling, Up-


Feed, Internal Water Distribution Pipe)

8-53
เมื่อติดตั้งทอน้ําที่เตรียมพรอมที่จะติดตั้งเครื่องสุขภัณฑ7 ใหทดลองอัดน้ําดวยความดัน 7
กก./ซม2 (100 ปอนด7/ตร.นิ้ว) เปdนเวลา 24 ชม. แลวตรวจดูวาไมมีการรั่ว

6.3.2 การทดสอบทอน้ําดีภายนอกอาคาร ทอน้ําดับเพลิง (External water Distribution Pipe,


Internal Fire Line for Fire Protection System)

ใหทดสอบอัดน้ําไมต่ํากวา 175 ปอนด7/ตร.นิ้ว (12.3 กก./ ซม2) เปdนเวลา 24 ชม. แลว


ตรวจดูไมมีรอยรั่ว

6.4 งานที่บกพรอง (Defective Work)

ถาการตรวจพบวามีสิ่งบกพรอง งานหรืออุปกรณ7ไมดี จะตองเปลี่ยนหรือซอมตาม ความจําเปdน


แลวตรวจและทดสอบซ้ําอีกจนใชการได การซอมใหเปลี่ยนโดยใชวัสดุใหม

6.5 การทําความสะอาดและการปรับแตง (Cleaning and Adjusting)

เครื่องมือ ทอ วาล7ว ขอตอ เครื่องสุขภัณฑ7และอุปกรณ7อื่นๆ จะตองทําความสะอาดใหปราศจากไขมัน


เศษโลหะ ขี้น้ํามันที่สะสมอยูระหวางการทดสอบ การเสียหายใดๆ ตอตัวอาคารหรือสวนของอาคาร
เนื่องจากผูรับเหมาทําความสะอาดไมหมดจดตอระบบทอ จะตองไดรับการแกไขโดยผูรับเหมา
ฟลัชวาล7วและเครื่องควบคุมอัตโนมัติ (Automatic Control Device) จะตองปรับแตงใหทํางานได
ถูกตองตามเกณฑ7

6.6 การฆาเชื้อโรค (Disinfection or Sterilization)

หลังจากการทดสอบอัดน้ําแลว จะตองฉีดน้ําทั้งระบบทอไลขี้ผงสกปรก โคลนออกกอนการใชวัสดุ


คลอรีนเขาไปฆาเชื้อโรค ใหใชน้ํายาคลอรีน 50 มก./ลิตร (50 ppm.) โดยใสเขาไปในระบบโดยวิธีที่
ถู ก ตองและยอมรั บ จะกั ก น้ํ า ยาคลอรี น ไวนานพอที่ จะฆาแบคที เ รี ย ที่ ไ มเปd น ไข (Non-Spare-
Forming Bacteria) ใหตาย การกักเก็บ (Retention Time) จะตองไมนอยกวา 24 ชม. และจะตอง
มีคลอรีนที่ตรงปลายทอในชวงปลายเวลากักเก็บไมต่ํากวา 10 มก./ลิตร วาล7วในระบบจะตองมีการ
ป`ด-เป`ด หลายๆครั้ง ระหวางเวลาแชคลอรีน (Contact Period) แลวจึงใชน้ําฉีดลางจนกระทั่งเหลือ
คลอรีน (Residual Chlorine ต่ํากวา 1.0 มก./ลิตร ระหวางการฉัดน้ําลางใหป`ด-เป`ด วาล7วหลาย ๆ
ครั้ง จากหลาย ๆ จุดในระบบ แลวใหเอาตั วอยางน้ําไปทําการวิเคราะห7หาปริม าณแบคทีเรี ย
(Bacterial Examination)

จะตองทดสอบอยูอยางนอย 2 วันเต็มๆ โดยปราศจากภาวะมลพิษ (Absence of Pollution) จะ


ตรวจรับมอบไมไดจนกวาจะไดใบตรวจแบคทีเรียเรียบรอยแลวเทานั้น

8-54
ระบบประปา และสุขาภิบาล
7. ระบบไฟฟHา สําหรับระบบสุขาภิบาล
7.1 ความตองการทั่วไป
1) ระบบไฟฟPาทั้งหมดตองสอดคลองกับระบบของการไฟฟPาฯ ขอบเขตผูรับจางตองติดตั้งระบบ
ไฟฟPาทั้งหมดที่แสดงในแบบ และที่กําหนดในรายละเอียดนี้
2) ระบบไฟฟPาเปdนแบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 V., 50 Hz. Y - Connection System Solid
Ground
3) ระบบสีของสายไฟ และบัสบาร7ใหเปdนดังนี้
• สายเฟส เอ สีดํา
• สายเฟส บี สีแดง
• สายเฟส ซี สีน้ําเงิน
• สายศูนย7 N สีขาว หรือ เทา
• สายดิน GND. สีเขียว หรือเขียวคาดเหลือง
• สายไฟที่ผลิตเพียงสีเดียวใหทาสี หรือพันเทปทั้งสองขางของสายดวยสีที่กําหนดให
รวมทั้งในที่ที่มีการตอสายและตอเขาขั้วของอุปกรณ7ไฟฟPา สําหรับบัสบาร7ใหทาสีหรือติด
เทปสีตามระบบสีดังกลาว
7.2 วัสดุและโครงสราง
1) แผงสวิตช7ไฟฟPาแรงต่ํา
1. แผงสวิตช7ไฟฟPาแรงต่ํา ผลิตตามมาตรฐาน VDE IEC หรือ TIS ตูโลหะเปdนชนิดDead-
Front Modular Type of Standard Design และเปdนแบบที่การไฟฟPาฯเห็นชอบ และ
อนุมัติใหใช
2. ความตองการทางดานเทคนิค
• พิกัด แผงสวิตช7ตองมีคุณสมบัติและสมรรถนะดังตอไปนี้
- แรงดันระบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220V, 50 Hz
- Insulation Level 600 โวลต7
- กระแสตอเนื่อง ตามที่ไดแสดงไวในแบบ
- กระแสลัดวงจร ตามที่ไดแสดงไวในแบบ
• รายละเอียดทางดานการออกแบบและการสราง
- ตัวตูเปdนชนิดวางตั้งกับพื้น หรือติดบนผนังตามที่ระบุในแบบ ประกอบ
จากแผนเหล็ก หนาไมนอยกวา 2 มม. ในกรณีทเี่ ปdนตูตั้งกับพื้นโครงตูทํา
ดวยเหล็กฉากเชื่อมติดกัน หนาไมนอยกวา 3 มม. หรือใชเหล็กฉากยึด
ติดกันดวยสลักเกลียวและแปPนเกลียว ตูที่ตั้งชิดกันตองมีแผนโลหะกั้น
แยกจากกัน และตูตองยึดถึงกันดวยสลักและแปPนเกลียว
- ตัวตู โครงตูและสวนที่เปdนเหล็ก ตองผานกรรมวิธีปPองกันสนิม เชน ชุบ
ฟอสเฟต หรือสังกะสี เปdนตน สําหรับการพนสีภายนอกใหใชสีเทาออน

8-55
- ใหมีการบริการและบํารุงรักษาอุปกรณ7แรงต่ําจากดานหนาของตู โดยมี
ประตูเป`ดจากดานหนา โดยใชบานพับชนิดซอน ซึ่งเป`ดป`ดโดยใชกุญแจ
หกเหลี่ยมไข
- ตัวตูตองมีความแข็งแรงพอไมบิดตัวขณะใชงาน และในขณะลัดวงจร
พรอมทั้งมีการระบายความรอนทีด่ ี โดยใหเจาะรูระบายอากาศ (Drip-
proof) ซึ่งมีมุงลวดติดดานในที่ฝาป`ดชวงลางดานหนาและที่ฝาป`ดชวงบน
ดานหลัง
- ตัวตูตองติด Mimic Diagram แสดง Single Line Diagram ของระบบ
- ฝาตูทุกดานตองมีสายดินทําดวยทองแดงชุบแบบถักแบน ตอลงดินที่โครง
ตู
• สายไฟฟPาสําหรับระบบควบคุมและเครื่องวัดภายในแผงสวิตซ7 ใหใชสายชนิดทน
แรงดันไดไมนอยกวา 750 โวลต7 70 ํC ขนาดไมเล็กกวา 2.5 ตร.มม. (ยกเวน
เปdน วงจรกระแส และสายดินระหวางตัวแผงกับบานประตูแผงสวิตช7ใหใชขนาด
4 และ 10 ตร.มม. ตามลําดับ) การเดินสายใหเดินในรางพลาสติกหรือทอ
พลาสติกทั้งหมด การตอสายใหตอผานขั้วตอสายชนิด 2 ดาน หามตอตรง
ระหวางอุปกรณ7ตาง ๆ และหามมีการตัดตอสายไฟฟPาที่เชื่อมระหวางจุดตอ
ดังกลาวเพื่อความสะดวกในการทดสอบและแกไขตาง ๆ สายควบคุมที่ติดตั้งนอก
แผงสวิตช7ไฟฟPาแรงต่ําใหใชชนิดหลายแกน หุมฉนวน 2 ชั้น และยึดดวยประกับ
พลาสติก
• เซอร7กิตเบรกเกอร7ตองมีคณ ุ สมบัตแิ ละสมรรถนะ เปdนไปตามมาตรฐาน IEC
947-1,IEC 947-2 เซอร7กิตเบรกเกอร7ตองเปdนชนิด Moulded และตองเปdน
แบบทํางานเร็ว (Quick-Make, Quick-Break, Instantaneous Magnetic
Short Circuit Trip, Thermal Overload Current Trip and Trip
Indication) โดยมีพิกัดขนาดและ Breaking Capacity ตามที่แสดงไวในแบบ
เซอร7กิตเบรกเกอร7ทั้งหมดตองเปdนของผูผลิตเดียวกัน
• Molded Case Circuit Breaker
- เปdนชนิด Thermal magnetic ที่พิกัด AF ต่ํากวา 400 AF โดยเปdนชนิด
Electronic ที่พิกัด AF ตั้งแต 400 AF ขึ้นไป
- Molded Case Circuit Breaker ผลิตตามมาตราฐาน IEC 947-1 และ
IEC 947-2
- ทํางานดวยระบบ Quick – Make , Quick – Break และ Trip Free
เมื่อเกิดกระแส Overcurrent และ Short Circuit Current.
- Drives เปdนชนิด Toggle Operating Mechanism ทํางานดวยระบบ
Trip Free มี Trip Indication แสดงที่ Handle Position
- MCCB ทุกขนาดสามารถติดตั้งอุปกรณ7เพิม่ เติม Shunt Trip,
Undervoltage, Auxiliary Switch, Alarm Switch, Rotary Handle,
Pad locking device เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทั้งดานการปPองกันและการ
ควบคุม

8-56
- Trip Unit ของ MCCB ขนาด 100 AF ถึง 250 AF จะตองเปdน
Thermal-Magnetic Trip สามารถปรับคากระแส Thermal ตั้งแต
0.75 – 1.0 ของ Rated AF
- Trip Unit ของ MCCB ขนาดตั้งแต 400 AF ขึ้นไปจะตองมี Rating
Plug เพื่อกําหนดคา Ampere Rating โดยสามารถปรับคากระแส
Overload Current ไดระหวาง 0.1 – 1.0 ของพิกัด Rating Plug และ
สามารถปรับคากระแส Short Circuit Current ไดระหวาง 3 – 10 เทา
• การติดตั้งเซอร7กติ เบรกเกอร7ในแผงสวิตช7ไฟฟPาแรงต่ํา เปdนแบบ Fixed Type ซึ่ง
ติดตั้งถาวรโดยยึดติดกับโครงโลหะในตูแรงต่ําดวยสลักและแปPนเกลียว
• การสับเขาและออกของเซอร7กิตเบรกเกอร7ในแผงสวิตช7ไฟฟPาแรงต่ํา เปdนแบบ
Manual Operation ซึ่งสับเขาออกดวยมือ
• ขั้วตอสาย (Terminal) ของเซอร7กิตเบรกเกอร7ที่มีขนาดเฟรมต่ํากวา 225 A ให
ใชขั้วชนิดตอสายไฟเขาโดยตรงหรือใชขั้วชนิดตอบัสบาร7 สําหรับขนาดเฟรมสูง
กวา 225 A ใหใชขั้วชนิดตอบัสบาร7เทานั้น
• บัสบาร7 ตองเปdนทองแดงที่มีความบริสุทธิ์ไมนอยกวา 98% มีขนาด
ความสามารถรับกระแสไฟฟPาตอเนื่อง ตามมาตรฐาน DIN 43671 แตทั้งนี้ตอง
มีขนาดไมเล็กกวา 120 ตร.มม. และอุณหภูมิของบัสบาร7ขณะใชงานเต็มที่ตองไม
เกินไปกวา 25°C เหนืออุณหภูมิแวดลอม 40°C
• บัสบาร7ใหติดตั้งบนบัสบาร7 Holder ประเภท Epoxy แบบสองชั้นประกบ บัส
บาร7 Resin หรือ Fiber Glass Reinforced Polyester หามใชวัสดุตระกูล
Bakelite หรือ Phenolics เปdนหรือแทนฉนวนไฟฟPา ระยะหางระหวางเฟสและ/
หรือ Ground เปdนไปตามที่การไฟฟPาฯ กําหนด การเจาะรูและการตอเชื่อมบัส
บาร7ใหเปdนไปตามมาตรฐาน DIN 43673 และตองมีความแข็งแรงพอที่ยึดหรือ
รองรับบัสในขณะลัดวงจรไมนอยกวา 50kA ที่ 415 VAC (หรือตามที่แสดงใน
แบบ)
• ตองมีบัสดินขนาดไมต่ํากวารอยละ 33 ของบัสบาร7ในแตละเฟสติดตั้งภายในตู
ยาวตลอดตู และเชื่อมกับระบบการตอลงดินของระบบไฟฟPาภายนอกอยางนอย
2 จุด โดยใชสายดินขนาด 120 ตร.มม. หรือตามที่แสดงไวในแบบ
• มอเตอร7สตาร7ทเตอร7
- ชุดสตาร7ทเตอร7 แตละชุด ตองประกอบดวยอุปกรณ7อยางนอยที่สุด
ดังตอไปนี้
.. Circuit Breaker
.. Motor Starter
.. Thermal Over Load Protection
.. Start and Stop Push Button
.. Running Indicating Lamp
.. Selector Switch H-O-A (IF Require)
.. Alarm (IF Require)
.. Control Fuse or Breaker
.. Name Plate and Circuit Diagram

8-57
- โดยทั่วไป ถาไมไดระบุเปdนอยางอืน่ มอเตอร7ที่มีขนาดต่ํากวา 5.5 kW
(7.5 HP) ให สตาร7ทเตอร7เปdนชนิด Direct on Line ได และถามากกวา
5.5 kW (7.5 HP) ตองเปdนชนิด Star-Delta Start
- สําหรับ Circuit Breaker ของมอเตอร7แตละตัว ในกรณี Breaker
ดังกลาว และมอเตอร7อยูไกลจากสายตาจนมองการทํางานของมอเตอร7
ดังกลาวไมได ตัว Breaker ตองมี Handle แบบ Lock Off เพื่อปPองกัน
อุบัติเหตุในการบํารุงรักษา
- คอนแทคเตอร7 และโอเวอร7โหลดรีเลย7 มีพิกัดขนาดที่เหมาะสมกับการใช
งานตามปกติ และสามารถรับกระแสขณะเริม่ เดินเครื่องมอเตอร7ไดเปdน
อยางดี
- คอนแทคเตอร7 ใหใชชนิด AC3 Duty และสามารถกันฝุŸนไดเปdนอยางดี
- โอเวอร7โหลดรีเลย7 ใหใชชนิดที่ติดตั้งครบทุกเฟส
- แรงดันคอยล7 220 V, 50 Hz (หรือตามที่กําหนดไวในแบบ)
- มีจํานวนหนาสัมผัสชวยของคอนแทคเตอร7แตละตัวไมนอยกวา
1NO+1NC สําหรับใชงานระบบควบคุม และ/หรือ การแสดงผลตาง ๆ
• Remote และ Local Control Panel
- Remote และ Local Control Panel ตองเปdนกลองพับขึ้นรูปตามที่
กําหนดในลักษณะโครงสรางของแผงสวิตช7ไฟฟPาแรงต่ํา
- Remote Control Panel จะตองตั้งอยูตามตําแหนงที่กําหนดในแบบ ซึ่ง
อาจมีการเปลี่ยนแปลงตําแหนงเล็กนอยเพื่อความเหมาะสม
- Local Control Panel ที่ประจําอยูในตําแหนงติดตั้งมอเตอร7ตองมี
Local Remote Selector Switch และในกรณีที่จําเปdนอาจตองใช
Auxiliary Relay สําหรับการตอเชื่อมระบบที่แรงดันไฟฟPาแตกตางกัน
- Remote Control Panel จะตองมี On-Off Push Button พรอม
Indication Lamp และ Remote Local Indicating Lamp
- การประกอบ Remote และ Local Control Panel ตองจัดทํา Shop
Drawing แสดง Control Circuit Diagram และรูปแบบของตัวตูเสนอ
อนุมัติจากผูคุมงานกอน
• หมอแปลงกระแส (CT) เปdนชนิด Encapsulated มีพิกัดตามที่แสดงไวในแบบ
โดยมีกระแสทุติยภูมิ 5A และติดตั้งเพื่อใหสามารถวัดไดทุกเฟส Accuracy
Class 1 หรือดีกวา
• อุปกรณ7หรือเครื่องวัด ตองเปdนชนิดติดตั้งในแผงสวิตช7 สามารถกันฝุŸนและ
ความชื้นไดดี โดยมีขนาดประมาณ 96x96 มม. Accuracy Class 1.5 หรือ
ดีกวา
• หลอดแสดงเปdนแบบติดฝaงเรียบบนแผงสวิตช7 ใชหลอดไส 0.6 W, 6 V พรอม
หมอแปลง 220 V/6V ฝาครอบเปdนพลาสติกแบบเลนซ7 ขนาดเสนผาศูนย7กลาง
ไมนอยกวา 20 มม.
• Selector Switch (ถาในแบบกําหนดใหติดตั้ง) ตองเปdนชนิดติดตั้งในแผงสวิตช7
มี 7 steps สําหรับ volt-selector และ 4 steps สําหรับ amp-selector
• ปPายชื่อทั้งหมด ตองจัดหาและติดตั้งในแตละสวนของแผงสวิตช7ไฟฟPาแรงต่ํา

8-58
• ตองติด Mimic Diagram ขนาดกวาง 10 มม. หนา 3 มม. แสดง Single Line
ของระบบ
2) สายไฟฟPาแรงต่ํา
1. ทั่วไป สายไฟฟPาแรงต่ําของอาคารตองเปdนไปตามมาตรฐานสายไฟฟPา มอก. 11-2531
2. ความตองการทางดานเทคนิค
• สายไฟฟPาที่รอยในทอใชสายหุมฉนวนพีวีซี ทนแรงดันได 750 โวลท7 อุณหภูมิใช
งาน 70°C หรือตามที่แสดงในแบบ
• สายไฟฟPาที่เดินลอยใชสายหุมฉนวน และเปลือกนอกพีวีซี แกนเดียวหรือหลาย
แกนทนแรงดันได 750 โวลท7 อุณหภูมิใชงาน 70°C หรือตามที่แสดงในแบบ
• รายละเอียดของสายไฟฟPาทั่วไป ซึ่งเปdนสายหุมฉนวนพีวีซี พิกัดแรงดัน 750
โวลท7 และอุณหภูมใิ ชงาน 70 ํC
• ใหใชสายหุมฉนวนพีวีซีแกนเดียวทนแรงดันได 750 โวลท7 อุณหภูมิใชงาน 70°
C หรือตามที่แสดงในแบบ
• สายใหญกวา 6 ตารางมิลลิเมตรใหใชเปdนสายตีเกลียว (Stranded Wire)
• สายภายนอกอาคารใหเดินรอยในทอ หรือฝaงดินโดยตรง หรือตามทีแ่ สดงไวใน
แบบ
3) ทอรอยสายไฟฟPา
1. ทอรอยสายไฟฟPาของอาคารทั้งหมด ตองเปdนไปตามกฏของการไฟฟPาฯ ประกาศ
กระทรวงมหาดไทย และ NEC
2. ความตองการทางดานเทคนิค
• ทอโลหะและอุปกรณ7ตองเปdนวัสดุที่ใชเฉพาะกับงานไฟฟPา ทอที่ไมไดฝaงในผนัง
หรือคอนกรีตจะตองยึดดวยประกับโลหะ และ/หรือประกับสําหรับแขวนทอทุก ๆ
ชวง 2.5 เมตร และไมเกิน 1.0 เมตร จากกลองตอสายหรืออุปกรณ7
• ทอรอยสายเหล็กอาบสังกะสีชนิดกลาง (Intermediate Metal Conduit : IMC)
ตองเปdนทอเหล็กชนิดหนาผานขบวนการชุบสังกะสี หรือ Hot Dip Galvanize
มาแลว และมีเสนผาศูนย7กลางทอไมเล็กกวา 1/2 นิ้ว ใชฝaงในปูนทราย ในพื้น
คอนกรีตเสริมเหล็ก หรือใชในสถานที่ที่อาจไดรับความเสียหายไดงาย หรือที่ชื้น
ตามขอกําหนดของ NEC
• ทอรอยสายเหล็กอาบสังกะสีชนิดบาง (Electrical Metallic Tubing : EMT)
ตองเปdนทอเหล็กบาง ผานขบวนการชุบสังกะสี หรือ Hot Dip Galvanize
มาแลว และมีเสนผาศูนย7กลางทอไมเล็กกวา 1/2 นิ้ว ใชเดินลอยเกาะติดกับผนัง
หรือเพดาน หรือเดินฝaงในอิฐกอ (ตองใชรวมกับขอชนิดกันน้ํา) สามารถใชติดตั้ง
ไดในทุกสถานที่ยกเวนที่ระบุไวในกรณีทอ IMC และทอออนซึ่งจะไดกลาวตอไป
ทอโลหะชนิดบาง โดยทั่วไปใชขอตอแบบสลักเกลียวขัน (Set-screw) ยกเวนใน
หองเครื่องใหใชขอตอชนิดกันน้ํา
• ทอรอยสายเหล็กอาบสังกะสีชนิดออน (Flexible Metal conduit : FMC) ตอง
ทําจาก Galvanize Steel ใชตอเขาอุปกรณ7ไฟฟPาที่มีการสั่นขณะใชงาน เชน
มอเตอร7เปdนตน หรือใชในที่อื่นๆ ที่ไมสามารถใชทอแข็งได ทอโลหะชนิดออนตอง
ใชขอตอที่ทําสําหรับทอออนโดยเฉพาะ ทอโลหะชนิดออนใหใชขนาดไมเล็กกวา

8-59
1/2 นิ้ว ทอออนที่ใชในบริเวณทีอ่ าจจะเป†ยกชื้นหรืออยูในที่เป†ยกชื้นตองเปdน
แบบกันน้ํา และใชขอตอชนิดกันน้ําเชนกัน
• ทอรอยสายตองเลือกใชใหเหมาะสมกับสภาวะใชงานและสภาวะแวดลอม ดังที่ได
กลาวโดยสังเขปมาแลว
• ทอรอยสายแตละทอตองมี Coupling อยูที่ปลายขางหนึ่งและ Thread
Protector อีกขางหนึ่ง
• Conduit Fitting ตองเปdนไปตามที่กําหนดของ NEMA และ UL 514
• ตองมี Lock Nut และ Bushing ในทุกปลายของทอ
• กลองตอสายไฟฟPา ตองเปdนกลองชุบสังกะสีหรือแคดเมียม
• ทอรอยสาย ตองมีวิธีกันสนิมและปPองกันการบาดสาย
4) รางเดินสายไฟฟPา (Cable Ladder, Cable Tray or Wire Way)
1. รางเดินสายไฟฟPาตองเปdนไปตาม NEC Article 362 ทําจากแผนเหล็กที่ผานกรรมวิธี
ปPองกันสนิมแลวพนสีอบ (Stove Enamel Paint) และทนตอสภาพบรรยากาศไดดี
2. ผูรับจางตองจัดหาและติดตั้งรางเดินสายไฟฟPา ตลอดจนอุปกรณ7จบั ยึดรางเดินสายไฟฟPา
กับโครงสรางอาคาร สําหรับรูปรางและขนาดของรางเดินสายไฟฟPาใหเปdนไปตามที่ได
แสดงในแบบและระบุในขอกําหนดนี้ทุกประการ
3. ความตองการทางดานเทคนิค
• รางเดินสายไฟฟPา ตองทําจากแผนเหล็กฟอสเฟตที่มีความหนาไมนอยกวา 2.0
มม. สําหรับ Cable Ladder/ Cable Tray และ 1.5 มม. สําหรับ Wire Way
หรือที่ระบุไวในแบบ
• Cable Ladder และ Cable Tray ตองผานกรรมวิธีปPองกันสนิมโดยวิธี Hot-dip
Galvanized หรือ Electro-Galvanized สําหรับ Wire Way ตองพนสีทับเพื่อ
ปPองกันสนิมและทนตอสภาพการผุกรอนไดดี
• ตัวรางเดินสายไฟฟPา ตองมีความแข็งแรงอยางพอเพียงที่จะปPองกันสายไฟฟPาที่
เดินอยูภายในได และสามารถรับน้ําหนักของสายไฟฟPาดังกลาวไดดี
• ภายในตัวรางเดินสายไฟฟPา ตองออกแบบใหสามารถเดินสายไฟฟPาในรางดังกลาว
ไดงาย และไมทําใหสายชํารุดเสียหาย เชนขอบขางราง และ/หรือขัน้ ของรางตอง
เรียบโดยไมมีความคมของขอบ
• รางเดินสาย จะตองประกอบดวยอุปกรณ7จับยึด (Support) ทุก ๆ ชวงไมเกิน
1.5 เมตร และตัวจับยึดตองมีความแข็งแรงอยางเพียงพอ
• รางเดินสายและอุปกรณ7จับยึด จะตองไดรับความเห็นชอบจากผูวาจาง หรือ
ตัวแทนของผูวาจางกอนทําการติดตั้ง
5) กลองตอสายไฟฟPา
1. กลองตอสายแบบตาง ๆ ตองเปdนไปตาม NEC หัวขอที่ 370 และ 373 กลองตอสายให
หมายรวมถึงกลองตอสวิตช7 เตารับ กลองดึงสาย กลองรวมสาย และกลองสําหรับ
อุปกรณ7ตาง ๆ
2. ผูรับจางตองจัดหาและติดตั้งกลองตอสาย (Junction Box) กลองดึงสาย (Pull Box)
และขอตอตาง ๆ พรอมทั้งอุปกรณ7ประกอบตามที่แสดงในแบบและระบุในขอกําหนดนี้
ทุกประการ และสวนอื่นที่เห็นวาจําเปdนสําหรับการติดตั้ง (ซึ่งไมไดแสดงไวในแบบ)
3. ความตองการทางดานเทคนิค

8-60
• โดยทั่วไปกลองตอสายตองเปdนเหล็กอาบสังกะสี หรืออลูมิเนียมหนาไมนอยกวา
1.0 มม. เปdนแบบมีฝาป`ด และมีขนาดไมเล็กกวาที่กําหนดไวในตารางของ NEC
• กลองตอสายตองมีกรรมวิธีกันสนิมและปPองกันการบาดสาย
• กลองตอสายตองเลือกใชใหเหมาะสมกับสภาวะการใชงาน และสภาวะแวดลอม
• กลองตอสายแบบกันน้ํา ตองใชเปdนอะลูมิเนียมหรือเหล็กหลอ และมีกรรมวิธี
ปPองกันน้ําไดดี โดยที่ฝาครอบมีขอบยางอัดรอบ หรือทําดวยเหล็กแผนหรือ
อะลูมิเนียมแผน
• กลองดึงสายและฝาครอบขนาดใหญ ใหทําดวยเหล็กแผนหนาไมนอยกวา 1.4
มม. พนสีกันสนิมแลวพนสีชั้นนอกดวย
• ขนาดกลองตอสายและจํานวนสายในกลองตองเปdนไปตามกฏของ NEC
• กลองตอสายทุกกลองตองตอลงดินตามกฏของ NEC
6) ระบบการตอลงดิน
1. การตอลงดินของอุปกรณ7ไฟฟPา (Equipment Grounding) คือ การตออุปกรณ7ที่เปdน
โลหะที่ไมมีกระแสไฟฟPาไหลผานลงดิน อุปกรณ7ที่ตองตอลงดิน ไดแก อุปกรณ7ไฟฟPา
ทั้งหมด เชน ทอโลหะ ปa¢ม เปdนตน สายดินของการตอลงดินอุปกรณ7ไฟฟPาใหใชตามที่
กําหนด จะตองทําตาม NE Code และเปdนไปตามกฏของการไฟฟPาฯ ประกาศ
กระทรวงมหาดไทยเรื่องความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟPา
2. ความตองการทางดานเทคนิค
• สายตัวนําลงดินใหใชสายเสนเดียวกันตลอดโดยไมมีการตัดตอ หากสายตัวนําลง
ดินที่กําหนดใหรอยในทอโลหะ จะตองตอสายลงดินเขากับปลายทั้งสองขางของ
ทอโลหะโดยใชปะกับโลหะ
• การตอเชื่อมทุกๆจุดของสายดิน สายดินกับระบบหรืออุปกรณ7ไฟฟPาใหใชวิธี
Exothermic Welding โดยใหเปdนไปตามกฏของการไฟฟPาฯ และ NEC ซึ่งการ
ตอดังกลาวตองไมทําใหเกิดความตานทานสูงกวาที่กําหนดไว การตอสายตัวนํา
แยกเขาอุปกรณ7ไฟฟPาโดยการใชปะกับโลหะ ชนิดใชเครื่องมือกลอัด ตอแยก
เพื่อใหอุปกรณ7ไฟฟPานั้นเมื่อถูกแยกออกจากวงจรไฟฟPาไปแลวระบบการตอลงดิน
ของอุปกรณ7อื่น ๆ ไมถูกตัดขาด

8-61
ขนาดต่ําสุดของสายดินของเครื่องอุปกรณ?ไฟฟHา
พิกัด หรือขนาดปรับตั้งของ ขนาดต่ําสุดของสายดินของเครื่องอุปกรณ7ไฟฟPา
เครื่องปPองกันกระแสเกิน (แอมแปร7) (ตัวนําทองแดง) ตารางมิลลิเมตร
6-16 1.5
20-25 4
30-63 6
80-100 10
125-200 16
225-400 25
500 35
600-8000 50
1,000 70
1,200-1,250 95
1,600-2,000 120
2,500 185
3,000-4,000 240
5,000-6,000 400

7.3 วิธีการกอสราง
1) แผงสวิตซ7ไฟฟPาแรงต่ํา
1. การติดตั้ง แผงสวิตช7ไฟฟPาแรงต่ํา ตองติดตั้งตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิต และตามที่
แสดงไวในแบบทุกประการ
2. การทดสอบ แผงสวิตช7ไฟฟPาแรงต่ําตองผานการทดสอบและมีหนังสือรับรองผลการ
ทดสอบจากโรงงาน ตลอดจนไดรับการตรวจและทดสอบโดยการไฟฟPาฯ นั่นคือ ให
ตรวจสอบฉนวนไฟฟPาของอุปกรณ7และสายปPอนตาง ๆ รวมทั้งตรวจสอบระบบการของ
อุปกรณ7ตาง ๆ ใหถูกตอง ผูรับจางตองสงรายละเอียดตาง ๆ ตามที่การไฟฟPาฯ ตองการ
ถาหากมีสิ่งใดที่ตองแกไขเพื่อใหผานการตรวจสอบดังกลาว ผูรับจางตองแกไขใหถูกตอง
โดยไมคิดคาใชจายใดๆ ทั้งสิ้น
3. ผูรับจางตองจัดหนังสือคูมือการบํารุงรักษาและวิธีใชแผงสวิตช7ไฟฟPาแรงต่ําจํานวน 4 ชุด
มอบใหแกผูวาจาง
2) สายไฟฟPาแรงต่ํา
1. สายไฟฟPาตองเดินรอยในทอโลหะ และ/หรือ ตามที่กําหนดในแบบ
2. การเดินสายไฟฟPาในทอตองกระทําภายหลังการวางทอรอยสาย กลองตอสาย กลองดึง
สายและอุปกรณ7ตาง ๆ เสร็จเรียบรอยแลวเทานั้น อุปกรณ7การดึงสายไฟฟPาตองรอย
สายในขณะที่จะเดินสายไฟแตละชวง หามมิใหตระเตรียมหรือรอยสายไฟไวในทอรอย
สายลวงหนาอยางเด็ดขาด

8-62
3. การดึงสายควรใชอุปกรณ7ชวยในการดึงสายซึ่งออกแบบโดยเฉพาะเพื่อใชกับงานดึง
สายไฟฟPาภายในทอ และตองปฏิบัติตามคําแนะนําของผูผลิตอุปกรณ7ดังกลาวดวย
4. การหลอลื่น ในการดึงสายผูรับจางตองใชตัวหลอลื่นซึ่งเปdนชนิดที่ผูผลิตสายไฟฟPาแนะนํา
ไวเทานั้น
5. การดัดงอสายไฟฟPาทุกขนาด ตองกระทําอยางระมัดระวังในการติดตั้ง รัศมีของการดัดงอ
ตองเปdนไปตามคําแนะนําของผูผลิตสายไฟฟPา หรือ NEC
6. สายทองแดงที่มีขนาดไมเกิน 10 ตร.มม. การตอสายไฟใชขั้วตอสายแบบเกลียวกวดหรือ
ใชเครื่องมือกลบีบ และสําหรับสายขนาด 16 ตร.มม. หรือใหญกวาใหใชขั้วตอสายแบบ
ใชเครื่องมือกลบีบและใชฉนวน (Heat Shrinkable Tube) หอหุมรอยตอดังกลาว
7. การตอสายใตดินหรือในบริเวณที่เป†ยกชื้นหรือโดนน้ําได ตองหลอหุมดวยสารกันความชื้น
มิใหเขาไปในหัวตอไดเชน สารประเภทซิลิโคน หรือ Epoxy
8. การตอสายเขาอุปกรณ7ไฟฟPา ในกรณีที่อุปกรณ7ไฟฟPามีหัวสกรูแบบพันสายตองใชหางปลา
และหากอุปกรณ7ไฟฟPามีขั้วรับสายแบบมีรูสอดสายใหตอตรงได
9. การกันความชื้น ปลายทั้งสองขางของสายไฟฟPาที่ปลอยไว ตองมีกรรมวิธีปPองกันความชื้น
จากภายนอก สําหรับสายที่มีขนาดใหญกวา 25 ตร.มม. ใหใชฉนวนหอหุมรอยตอ
10. ปPายแสดงเลขที่วงจร สายไฟฟPาทั้งหมดที่ปลายสายทั้งสองขางและในทุกจุดที่มีการตอ
สายไฟฟPา ทั้งในกลองตอสาย รางเดินสายไฟฟPาและอุปกรณ7ไฟฟPา ตองมีปPายติดแสดง
เลขที่วงจรไฟฟPา โดยใชปPายที่มีความทนทานดีเพื่อความสะดวกในการบํารุงรักษา
รายละเอียดของการบงบอกเปdนไปตามที่แสดงไวในแบบ
11. การทดสอบ ในกรณีที่ผูวาจางเห็นวาสายไฟที่นํามาติดตั้งในอาคารนี้ อาจมีคณ ุ สมบัตไิ มดี
เทาที่กําหนดไว ผูวาจางสงวนสิทธิ์ที่จะนําไปใหสถาบันที่ผูวาจางเชื่อถือทําการทดสอบ
ตามมาตรฐานโดยผูรับจางเปdนผูออกคาใชจายทั้งสิ้น หากตัวอยางไมผานการทดสอบตาม
มาตรฐาน ผูรับจางตองนําสายไฟฟPาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานมาเปลี่ยนให โดยไมคิด
คาใชจายใด ๆ เพิ่มขึ้นจากสัญญา และตองรับผิดชอบในความลาชาของงานในสวนนี้ดวย
3) ทอรอยสายไฟฟPา
1. ทอ IMC ตองใชเดินฝaงในดิน หรือคอนกรีตหรืออิฐกอ หรือ Floor Slab การติดตั้งเปdนไป
ตาม NEC หัวขอที่ 346
2. ทอ EMT ตองใชกับแนวเดินทอที่ Exposed หรือ Concealed การติดตั้งเปdนไปตาม
NEC หัวขอที่ 348
3. ทอออน ตองใชเมื่อตองการตอเชื่อมทอเขากับอุปกรณ7ซึ่งมีการสั่นสะเทือนหรือเมื่อ
ตองการยืดหยุน การติดตั้งเปdนไปตาม NEC หัวขอที่ 350
4. Associated Material ตองเปdนไปตาม NEC หัวขอที่ 370 สําหรับการติดตั้งในบริเวณ
อันตราย (Harzard) ใหเปdนไปตาม NEC หัวขอที่ 500
5. Bend And Offset ตองเปdนไปตามที่แสดงไวในแบบทุกประการ ทอรอยสายที่เสียรูป
และไมเปdนไปตามที่ระบุ หามนํามาใชในการติดตั้ง
6. การนําทอรอยสายไปติดตั้ง ถามี Moisture Pocket ตองกําจัดใหหมดเสียกอน
7. การเดินทอใหพยายามเดินในแนวเฉลียงทางเดิน และมีแนวขนานหรือตั้งฉากกับตัว
อาคาร

8-63
8. ทอที่ตอเขากับกลองตอสายและอุปกรณ7ตองมีขอตอสาย (Box Connector) ติดไวทุก
แหง ปลายทอที่มีการรอยสายเขาทอ ถาอยูในอาคารตองมี Conduit Bushing ใสไว
ปลายทอที่ยังไมไดใชงานตองมีฝาครอบ(Conduit Cap) ป`ดไวทุกแหง การตอทอโลหะ
ชนิดบางที่ฝaงในผนังหรือพื้นใหใชขอตอชนิดกันน้ํา การงอทอตองใหมีรัศมีความโคงของ
ทอไมนอยกวา 6 เทา ของเสนผาศูนย7กลางภายนอกของทอ โดยใชเครื่องมือดัดที่
เหมาะสม และเมื่อรวมมุมที่งอแลวตองไมเกิน 360 องศา (ระหวางกลองตอสายสองจุด)
9. ปลายทอทั้งสองขางทุกทอนกอนที่จะตอเขาดวยกันกับขอตอ หรือกลองตอสายตองทําให
หมดคมโดยใช Conduit Reamer และการวางทอตองไมทําใหผิวภายนอกทอชํารุด
10. การตอเชื่อมกับกลองตอสายและตัวตู สวนที่เปdนเกลียวของทอตอผานเขาไปในผนังของ
กลองหรือตัวตู โดยมี Locknut ทั้งดานในและดานนอกที่ปลายของทอรอยสาย ตองมี
Bushing สวมอยู
4) รางเดินสายไฟฟPา
1. การติดตั้งใหเปdนไปตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยอันเกี่ยวกับ
ไฟฟPา ตามกฏของการไฟฟPาฯ และ NEC
2. จํานวนสายไฟฟPาที่เดินในรางใหเปdนไปตามกฏของการไฟฟPาฯ และ NEC
3. รางเดินสายไฟฟPาและอุปกรณ7ประกอบการเดินสาย ตองตอลงดิน
4. สายไฟฟPาที่เดินในรางเดินสายไฟฟPาทั้งในแนวดิ่งและแนวนอน ตองมีอุปกรณ7จับยึด
สายไฟฟPากับรางเดินสายไฟฟPาดังกลาว (Cable Tie) หรือใชอุปกรณ7จับยึดสายไฟฟPาที่
เหมาะสม
5) กลองตอสายไฟฟPา
1. ใหเปdนไปตามกฏของการไฟฟPาฯ และ NEC
2. กลองตอสายทุกกลองตองมีการจับยึดที่แข็งแรงกับตัวอาคาร
3. การตอทอเขากับกลองตอสายตองประกอบดวย Lock Nut และ Bushing และอุปกรณ7
อื่นที่จําเปdนสําหรับการเดินสายและตอสาย
6) ระบบการตอลงดิน
1. การตอลงดินของอุปกรณ7ไฟฟPา มีดังตอไปนี้
- ปa¢มน้ํา อุปกรณ7 เครื่องมือ และเครือ่ งใชไฟฟPาที่มีเปลือกหุมภายนอกเปdนโลหะ
- โครงเหล็กหรือสิ่งที่เกี่ยวของที่เปdนโลหะ อันอาจมีกระแสไฟฟPา
2. สายดินที่ติดตั้งในบริเวณที่อาจทําใหเสียหายชํารุดได ใหรอยในทอโลหะ
3. ขนาดของสายดินสําหรับอุปกรณ7ไฟฟPา ใหเปdนไปตาม NEC หรือที่ระบุไวในแบบ
4. ผูรับจางตองทําแบบการตอลงดินของระบบและอุปกรณ7ตาง ๆ เพื่อขออนุมัติจากผูวาจาง
กอนทําการติดตั้ง
5. ผูรับจางตองทดสอบวัดคาความตานทานของสายดิน และความตานทานของดิน ตอหนา
ผูวาจางหรือตัวแทนผูวาจาง และผลของการทดสอบใหผูรับจางจัดทําเปdนรายงานสงให
ผูวาจาง 4 ชุด

8-64
ระบบประปา และสุขาภิบาล
8. การปHองกันไฟ และควันลาม
8.1 ความตองการทั่วไป
1) โดยทั่วไป การปPองกันไฟ และควันลามตองเปdนตามหัวขอ 300-21 ของ NED และ ASTM
2) ผูรับจางตองจัดหา และติดตั้ง วัสดุ หรืออุปกรณ7ปPองกันการลุกลามของไฟและควัน ตามชองเป`ด
ของทอตาง ๆ ซึ่งผานแนวผนังกันไฟและพื้นทุกชั้น
8.2 วัสดุและโครงสราง
1) วัสดุหรืออุปกรณ7 ซึ่งใชปPองกันไฟและควันลาม ตองเปdนอุปกรณ7หรือวัสดุที่ UL รับรอง
2) วัสดุหรืออุปกรณ7ดังกลาว ตองปPองกันไฟไดอยางนอย 3 ชั่วโมง
3) วัสดุหรืออุปกรณ7ดังกลาว ตองไมเปdนพิษขณะติดตั้งหรือเกิดเพลิงไหม สามารถถอดออกไดงายใน
กรณีมีการเปลี่ยนแปลงแกไข
4) ทนตอการสั่นสะเทือนไดดีและติดตั้งงาย
5) วัสดุหรืออุปกรณ7ปPองกันไฟและควันลามตองมีความแข็งแรงไมวากอน หรือหลังเกิดเพลิงไหม
8.3 วิธีการกอสราง
1) ชองเป`ดทุกชองไมวาจะอยูที่ใดของผนัง หรือพื้นหอง หรือฝPาเพดาน ตองติดตั้งอุปกรณ7 หรือวัสดุ
ปPองกันไฟ และควันลาม
2) การติดตั้งใหเปdนไปตามมาตรฐานของผูผลิต อุปกรณ7และวัสดุดังกลาว
3) ชองเป`ดทุกชองสําหรับทอตาง ๆ ที่เตรียมไวสําหรับอนาคตตองหุมป`ดไวดวยวัสดุปPองกันไฟและ
ควันลามดวย

8-65
บทที่ 9
ระบบปองกันอัคคีภัย
1. ขอกําหนดทั่วไป
1.1 ขอบเขตของงาน
ผูรับจางตองจัดหาและติดตั้งวัสดุอุปกรณ!ของระบบป"องกันอัคคีภัยของโครงการ ดังแสดงในแบบ
รวมถึงส,วน ประกอบอื่น ๆ ไดแก, แรงงาน เครื่องมือเครื่องใชต,าง ๆ การติดตั้งตามหลักวิชาช,างที่ดี ตลอด
ถึงงาน ชั่วคราวเพื่อใหงานเสร็จสิ้นเรียบรอยสมบูรณ!ใชงานไดตามจุดประสงค!ของผูว,าจาง
ผูรับจางจะตองดําเนินการสําหรับงานระบบดับเพลิงนี้ใหแลวเสร็จสมบูรณ! ซึ่งหมายรวมถึงการจัดหา
แรงงาน วัสดุอุปกรณ! ระบบควบคุมและอื่นๆ ที่เกี่ยวของตามที่ไดระบุไวในแบบแปลน (Drawings)
และขอกําหนดต,อไปนี้

(1) จัดหา ติดตั้ง ทดสอบท,อยืน (Standpipe) สายส,งน้ําดับเพลิงและตูดับเพลิง (Fire Hose


Cabinet) ตูสายสูบดับเพลิง (รวมทั้งอุปกรณ!ภายในและเครื่องดับเพลิงเคมีแบบมือถือ)

(2) จัดหา ติดตั้ง ทดสอบระบบหัวกระจายน้ําดับเพลิงและหัวรับน้ําดับเพลิง ตามที่แสดงไวใน


แบบและขอกําหนด

(3) จัดหาติดตั้ง เครื่องสูบน้ําดับเพลิง (Fire Pump) Jocky Pump, Fire Pump Controller
และ Jocky Pump Controller

1.2 มาตรฐานและกฎเกณฑ!ที่ใชอางอิง
ถามิไดกําหนดไวเปYนอย,างอื่น มาตรฐานทั่วไปของวัสดุ อุปกรณ!การประกอบแบบการติดตั้งที่
ระบุไวในแบบรายละเอียดประกอบแบบเพื่อใชอางอิงสําหรับงานตามสัญญาในโครงการนี้ ใหถือตาม
มาตรฐานของสถาบันที่เกี่ยวของดังต,อไปนี้
มอก - สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ!อุตสาหกรรม
วสท. - วิศวกรรมสถานแห,งประเทศไทย
AHAM - Association of Home Appliance Manufacturers
AMCA - Air Moving and Conditioning Association
ANSI - American National Standard Institute
API - American Petroleum Institute
ASHRAE - American Society of Heating, Refrigerating and Air-
conditioning Engineers
ASME - American Society of Mechanical Engineers
ASTM - American Society of Testing Materials
BS - British Standard
FM - Factory Mutual
IEC - International Elector-technical Commission

9-1
NEC - National Electrical Code
NEMA - National Electrical Manufacturers Association
NFPA - - National Fire Protection Association
SMACNA - Sheet Metal and Air-conditioning Contractors National
Association Inc.
UL - Underwriters Laboratories, Inc.
1.3 พนักงาน
1) ผูรับจางเปYนผูรับผิดชอบในการดําเนินงานและควบคุมการติดตั้งใหเปYนไปตามแบบรายการ และ
ขอกําหนดใหถูกตองตามหลักวิชา และวิธีปฏิบัติซึ่งเปYนที่ยอมรับการลงนามในเอกสารขณะ
ปฏิบัติงาน จะถือเปYนความผูกพันของผูรับจางไม,ว,ากรณีใด ๆ ผูรับจางจะยกขออางถึงการที่ตนไม,
ทราบขอเท็จจริงต,าง ๆ เพื่อประโยชน!ของตนมิได
2) วิศวกรผูรับผิดชอบโครงการของผูรับจาง ตองเปYนวิศวกรที่ไดรับอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกร
ควบคุมตามพระราชบัญญัติควบคุมวิชาชีพวิศวกรรม และเปYนผูลงนามรับรองผลงานในเอกสาร
การส,งมอบงานทั้งหมด
3) ผูรับจางตองจัดหาวิศวกร หัวหนาช,าง และช,างชํานาญงานที่มีประสบการณ!ความสามารถที่
เหมาะสมกับงานที่ไดรับมอบหมายเขามาปฏิบัติงานโดยมีวิธีการจัดงาน และทํางานที่ถูกตองตาม
หลักวิชาการ และมีจาํ นวนเพียงพอสําหรับการปฏิบัติงานไดทันทีและแลวเสร็จทันตามความ
ประสงค!ของเจาของโครงการ
4) เจาของโครงการสงวนสิทธิ์ ที่จะสั่งใหผูรับจางเปลี่ยนพนักงานที่เห็นว,าปฏิบัติงานไม,ดีพอหรืออาจ
เกิดความเสียหายหรือก,อใหเกิดอันตราย ผูรับจางตองจัดหาพนักงานใหม,ที่มีประสิทธิภาพดีพอมา
ทํางานแทนโดยทันทีและค,าใชจ,ายใด ๆ ทีเ่ กิดขึ้นใหอยูใ, นความรับผิดชอบของผูรับจางทั้งสิ้น
5) ผูรับจางตองรับผิดชอบต,ออุบัติเหตุ อันตราย หรือความเสียหายใด ๆ อันเกิดแก,ชีวิตบุคคล และ
ทรัพย!สินของพนักงาน
1.4 วัสดุ และอุปกรณ!
1) ผูรับจางตองจัดหาตัวอย,างวัสดุ และอุปกรณ! รวมทั้งเอกสารของผูผลิตที่แสดงรายละเอียดทาง
เทคนิค ขนาด และรูปร,างที่ชัดเจนของวัสดุ และอุปกรณ!แต,ละชิน้ ใหผูว,าจางไดตรวจล,วงหนา
อย,างนอย 60 วัน ก,อนนําไปทําการติดตั้ง และวัสดุอุปกรณ!ที่ไดรับอนุมัติแลว มิไดหมายความว,า
เปYนการพนความรับผิดชอบของผูรับจาง หากตรวจพบขอผิดพลาดในภายหลัง ผูรับจ,างตอง
ดําเนินการแกไขใหม,ใหถูกตอง
2) ในกรณีที่ผูคุมงานมีความประสงค!ใหผูรับจางแสดงวิธีการติดตั้ง เพื่อเปYนตัวอย,างหรือความ
เหมาะสมแลวแต,กรณี ผูรับจางตองแสดงการติดตั้ง ณ สถานที่ติดตั้งจริง ตามที่ผูคุมงานกําหนด
เมื่อวิธีและการติดตั้งนั้น ๆ ไดรับอนุมัติแลว ใหถือเปYนมาตรฐานในการปฏิบัติต,อไป
3) ถาผูควบคุมงานหรือผูว,าจางเห็นว,า วัสดุและอุปกรณ!ที่นํามาใชมีคณ ุ สมบัตไิ ม,ดเี ท,าที่กําหนดไวใน
รายการ ผูควบคุมงานหรือผูว,าจางมีสิทธิ์ที่จะไม,ยอมใหนํามาใชงานนี้ ในกรณีที่ผูควบคุมงาน หรือ
ผูว,าจางมีความเห็นว,าควรส,งใหสถาบันที่ผูควบคุมงานหรือผูว,าจางเชื่อถือทําการทดสอบ
คุณสมบัติเพื่อเปรียบเทียบกับขอกําหนดก,อนที่จะอนุมัตใิ หนํามาใชได ผูรับจางตองเปYน
ผูดําเนินการใหโดยมิชักชา และตองเปYนผูออกค,าใชจ,ายเองทั้งสิ้น

9-2
4) วัสดุและอุปกรณ!ที่นํามาติดตั้งตองเปYนของใหม, และไม,เคยถูกนําไปใชงานมาก,อน หากมีความ
จําเปYนอันกระทําใหผูรับจางไม,สามารถหาวัสดุหรืออุปกรณ!ตามทีไ่ ดแจงในรายละเอียดหรือตาม
ตัวอย,างที่ไดใหไวแก,ผูควบคุมงานหรือผูว,าจาง และจะตองจัดหาวัสดุหรืออุปกรณ!อื่นมาทดแทน
แลว ผูรับจางจะตองชี้แจงเปรียบเทียบรายการละเอียดของสิ่งของดังกล,าวพรอมทั้งแสดง
หลักฐานขอพิสูจน!จนเปYนที่พอใจแก,ผูควบคุมงานหรือผูว,าจาง
1.5 เครื่องมือ
ผูรับจางตองมีเครื่องมือเครื่องใช เครื่องผ,อนแรง ที่มีประสิทธิภาพ และความปลอดภัยสําหรับใช
ในการปฏิบัติงาน เปYนชนิดที่เหมาะสม อีกทั้งจํานวนเพียงพอกับปริมาณงาน เจาของโครงการมีสิทธิที่จะ
ขอใหผูรับจางเปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มจํานวนใหเหมาะสมกับการใชงาน
1.6 ป"าย และเครื่องหมายของวัสดุ และอุปกรณ!
1) ผูรับจางจะตองจัดหา หรือจัดทําป"ายชื่อเปYนตัวหนังสือ และเครื่องหมายแสดงต,าง ๆ เพื่อแสดง
ชื่อ และขนาดของอุปกรณ! และการใชงาน โดยใชภาษาไทย และ/หรือภาษาอังกฤษ

2) ป"ายชื่อใหทําดวยแผ,นพลาสติกพื้นสีดํา แกะสลักตัวอักษรสีขาวขนาดโตอย,างนอย ฝ นิ้ว และ


เคลือบพลาสติกอีกชั้นหนึ่ง ป"ายตองยึดติดใหมั่นคงถาวร ป"ายชื่อดังกล,าวจะตองจัดหาใหกับ
อุปกรณ!ต,อไปนี้ คือ
− แผงควบคุมไฟฟ"าทั้งหมด
− เครื่องจักร และอุปกรณ!ทั้งหมด
3) สีที่พ,นเปYนตัวหนังสือและเครื่องหมายใหใชสีสเปรย!กระปuอง โดยจะตองจัดทําแบบสําหรับการพ,น
สี
4) เพื่อใหวัสดุ และอุปกรณ!ต,าง ๆ ที่ติดตั้งแลวสามารถเปYนไดอย,างชัดเจน ตองแสดงเครื่องหมาย
และอักษรย,อหรือขอความที่สั้นกระทัดรัดง,ายต,อการเขาใจ
1.7 การขนส,งเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ!
1) ผูรับจางตองรับผิดชอบในการขนส,งเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ!มายังสถานที่ติดตั้งรวมทั้งการยก
เขาไปยังที่ติดตั้ง ค,าใชจ,ายทั้งหมดเปYนของผูรับจางเองทั้งสิ้น
2) ผูรับจางจะตองรับผิดชอบต,อความเสียหาย อันเกิดจากการขนส,ง วัสดุอุปกรณ!หรือเครื่องมือต,าง
ๆ มายังสถานที่ติดตั้ง
3) ผูรับจางจะตองจัดทํากําหนดการในการนําวัสดุ และอุปกรณ!เขามายังหนางาน และแจงใหผู
ควบคุมงานทราบก,อนล,วงหนา พรอมทั้งจัดเตรียมสถานที่สําหรับเก็บรักษาวัสดุและอุปกรณ!อย,าง
ถูกตองล,วงหนา โดยประสานงานกับผูรับจางอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ
4) เมื่อวัสดุ และอุปกรณ!เขาถึงยังหนางาน ผูรับจางจะตองแจงใหผูควบคุมงานทราบ เพื่อที่จะได
ตรวจสอบวัสดุ และอุปกรณ!เหล,านั้นใหถูกตองตามที่ผูออกแบบไดอนุมัติไวก,อนที่จะนําวัสดุและ
อุปกรณ!เขามายังสถานที่เก็บรักษาต,อไป

9-3
1.8 การเก็บรักษา เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ!
1) ผูรับจางเปYนผูจัดหาสถานที่เก็บรักษาเครื่องมือวัสดุ อุปกรณ! ที่นํามาใชในการติดตั้งภายในบริเวณ
ที่ก,อสรางอาคารเอง เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ!ดังกล,าวจะยังคงเปYนกรรมสิทธิ์ของผูรับจาง
ทั้งหมด ซึ่งผูรับจางจะตองรับผิดชอบต,อการสูญหายเสื่อมสภาพ หรือถูกทําลายจนกว,าจะได
ติดตั้งเสร็จสิ้นโดยสมบูรณ! และส,งมอบงานแลว
2) หากจะเก็บรักษาวัสดุ และอุปกรณ!ภายในอาคารที่ก,อสรางแลว จะตองไดรับความเห็นชอบจาก
วิศวกรโครงการเสียก,อน ผูรับจางจะตองตรวจสอบความแข็งแรงของโครงสรางอาคารในส,วนที่จะ
ใชในการเก็บรักษาวัสดุ และอุปกรณ! ในส,วนที่จะตองขนวัสดุผ,านเพื่อป"องกันความเสียหายที่
อาจจะเกิดขึ้นกับโครงสรางอาคาร
1.9 การตรวจสอบแบบ และขอกําหนด
1) ผูรับจางตองตรวจสอบแบบ และรายการขอกําหนดต,าง ๆ จนแน,ใจว,าเขาใจถึงขอกําหนด และ
เงื่อนไขต,าง ๆ โดยชัดแจง
2) ผูรับจางตองตรวจสอบรายละเอียดการติดตั้งจากแบบสถาปนิก และโครงสรางพรอมไปกับแบบ
ทางวิศวกรรมสุขาภิบาล และไฟฟ"าก,อนดําเนินการติดตั้งเสมอ
3) เมื่อพบขอขัดแยงระหว,างแบบ และรายการหรือขอสงสัย หรือขอผิดพลาดเกี่ยวกับแบบ และ
รายการ ใหรีบแจงต,อผูควบคุมงาน หรือผูว,าจางโดยฉับพลัน และการตีความในขอความขัดแยงใด
ๆ ใหตีความไปในแนวทางที่ดีกว,า ถูกตองกว,า ใชวัสดุอุปกรณ!ที่มีคุณภาพดีกว,า ครบถวนกว,า
ทั้งสิ้น

1.10 การแกไขเปลี่ยนแปลงแบบ ขอกําหนด และวัสดุอุปกรณ!


1) การเปลี่ยนแปลงแบบ ขอกําหนด วัสดุและอุปกรณ!ที่ผิดไปจากขอกําหนดและเงื่อนไขตามสัญญา
ดวยความจําเปYน หรือความเหมาะสมก็ดี ผูรับจางตองแจงเปYนลายลักษณ!อักษรต,อเจาของ
โครงการ เพื่อขออนุมัตเิ ปYนเวลาอย,างนอย 30 วัน ก,อนดําเนินการจัดซื้อหรือทําการติดตั้ง
2) ในกรณีที่ผลิตภัณฑ!ของผูรับจาง มีลักษณะสมบัติอันเปYนเหตุใหอุปกรณ!ตามรายการที่ผูออกแบบ
กําหนดไวเกิดความไม,เหมาะสม หรือไม,ทํางานโดยถูกตองผูรับจางจะตองไม,เพิกเฉยละเลยที่
จะแจงขอความเห็นชอบจากผูออกแบบในการแกไขเปลี่ยนแปลงใหถูกตอง โดยชี้แจงแสดง
หลักฐานจากบริษัทผูผลิต มิฉะนั้นผูรับจางจะตองเปYนผูรับผิดชอบต,อความเสียหายที่อาจจะ
เกิดขึ้นแต,เพียงผูเดียว
3) ถางานส,วนหนึ่งส,วนใดที่ผูรับจางกําลังติดตั้งหรือติดตั้งเสร็จแลวก็ดี ผิดไปจากแบบและขอกําหนด
หรือใชวัสดุอุปกรณ!ไม,ตรงกับรายการที่กําหนดไว ผูว,าจางมีสิทธิ์ในการสั่งใหผูรับจางหยุดงานเปYน
การชั่วคราว และตองทําการแกไขใหถูกตองทันที แต,ความล,าชาอันเนื่องมาจากเหตุดังกล,าวผู
รับจางจะถือเปYนเหตุขอยืดวันทําการออกไป หรือกล,าวอางเปYนขอแกตัวต,อการแลวเสร็จสมบูรณ!
ของงานทั้งหมดไม,ได

9-4
1.11 แบบใชงาน (Shop Drawing)
ผูรับจางจะตองทําแบบใชงาน แสดงรายละเอียดการติดตั้งของระบบต,างๆ ตามทีไ่ ดตรวจสอบ
จากสภาพสถานที่ติดตั้งตามความเปYนจริง และจากการปรึกษาร,วมกับผูรับจางระบบงานอื่นแลว เปYน
แบบอัตราส,วน 1:100 และถาจําเปYนใหขยายภาพตัดเปYน 1:25 หรือ 1:50 ใหแก,ผูว,าจางพิจารณา
อนุมัติอย,างนอย 5 ชุด แบบใชงานนี้จะตองส,งไปขอความเห็นชอบจากวิศวกรผูควบคุมงานก,อน
ดําเนินการติดตั้งในเวลาอันสมควร แต,จะไม,นอยกว,า 30 วัน
1.12 แบบสรางจริง (AS-Built Drawings)
1) ในระหว,างดําเนินการติดตั้ง ผูรับจางจะตองทําแผนผัง และแบบตามที่สรางจริง แสดงตําแหน,ง
ของอุปกรณ!และการติดตั้งอุปกรณ!ตามทีเ่ ปYนจริง รวมทั้งการแกไขอื่น ๆ ที่ปรากฏในงานระหว,าง
การติดตั้ง
2) แบบสรางจริงนี้ วิศวกรผูควบคุมการติดตั้ง จะตองลงนามรับรองความถูกตองและส,งมอบใหแก,
ผูว,าจาง 4 ชุด ในวันส,งมอบงาน แบบนี้ประกอบดวยแบบตนฉบับในกระดาษไขสามารถพิมพ!ได
1 ชุด และแบบพิมพ!เขียวอีก 4 ชุด มีขนาด และมาตราส,วนเดียวกันกับของผูออกแบบหรือใช
งาน
3) ส,งแบบสรางจริงเปYนแบบขอมูล AutoCad บันทึกลง CD-ROM จํานวน 2 ชุด
1.13 ความรับผิดชอบ ต,อวัสดุอุปกรณ!เดิมของอาคาร
การรื้อถอนวัสดุ และอุปกรณ!ทตี่ องใชงานชั่วคราว และกระทําใหอยูใ, นสภาพดีเช,นเดิมภาย
หลังจากส,งมอบงานแลว ก็ยังคงอยู,ในความรับผิดชอบของผูรับจางเช,นกัน
1.14 ความรับผิดชอบ ณ สถานที่ติดตั้ง
1) ผูรับจางตองระมัดระวังความปลอดภัย รวมทั้งอัคคีภัยเกี่ยวกับทรัพย!สินทั้งปวง และบุคคลร,วม
ปฏิบัติงาน
2) ผูรับจางตองรับผิดชอบเต็มที่เกี่ยวกับเหตุเสียหายต,าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานการ
ติดตั้งและทดลองเดินเครื่อง
3) ผูรับจางตองดูแลสถานที่ปฏิบัติงานที่พักชั่วคราว ที่เก็บของต,าง ๆ ใหสะอาดเรียบรอย และอยูใ, น
สภาพปลอดภัยตลอดเวลา
4) ผูรับจางตองพยายามทํางานใหเงียบ และสั่นสะเทือนนอยที่สุดเท,าที่จะสามารถทําได เพื่อมิใหเกิด
ความเดือดรอน และมีผลกระทบกระเทือนต,อคน หรืองานอื่น ๆ ที่อยู,ใกลสถานที่ติดตั้ง
5) ผูรับจางไดทําการติดตั้งสมบูรณ!แลว ผูรับจางตองขนยายเครื่องมือ เครื่องใชตลอดจนรื้อถอน
อาคารชั่วคราว ซึ่งผูรับจางไดปลูกสรางขึ้นสําหรับงานนี้ ออกไปใหพนจากสถานที่โดยสิ้นเชิง สิ่ง
ใดที่จะตองส,งคืนใหแก,ผูว,าจางก็ตองจัดการส,งใหเรียบรอยเสร็จสิ้นไปก,อนที่จะส,งมอบงาน
6) ผูรับจางจะตองจัดใหมีช,องทางเขาถึงเครื่องจักร และอุปกรณ!โดยมีขนาดทีเ่ หมาะสมเพื่อให
สะดวกแก,การขนส,ง และการซ,อมบํารุงรักษา

9-5
1.15 การประสานงาน
ผูรับจางจะตองใหความสําคัญเกี่ยวกับการประสานงานอย,างจริงจังโดยจะตองปรึกษาและ
ประสาน งานอยางใกลชิดกับการติดตั้งระบบในส,วนที่เกี่ยวของกับผูรับจางรายอื่น ๆ เช,นผูรับจางงาน
โครงสรางอาคาร, ผูรับจางงานระบบไฟฟ"า, ผูรับจางงานระบบสุขาภิบาล, ผูรับจางงานตกแต,งภายใน
เปYนตน อยูเ, สมอเพื่อลดป{ญหาการขัดแยงกับผูว,าจางระบบงานอื่น ๆ และเพื่อทําใหงานดําเนินไปได
โดยสะดวกราบรื่น

1.16 การรายงานผล และความคืบหนาของงาน


1) ผูรับจางจะตองส,งรายงานสรุปผลความคืบหนาของการปฏิบัติงานติดตั้งเปYนลายลักษณ!อักษร
จํานวน 4 ชุด ใหแก,ผูว,าจางโดยสม่ําเสมอเปYนรายอาทิตย! และสิ้นสุดลงเมื่อส,งมอบงานใหแก,ผูว,า
จางเรียบรอยแลว
2) รายงานดังกล,าวในขอ 1. จะตองเริ่มทําตั้งแต,เมื่อเริ่มมีการปฏิบัติงานที่หนางานและสิ้นสุดลงเมื่อ
มอบงานใหแก,ผูว,าจางเรียบรอยแลว
1.17 การทดสอบเดินเครื่อง และระบบ
1) ผูรับจางจะตองทําตารางแผนงานแสดงกําหนดการทดสอบเครื่อง และอุปกรณ!ต,าง ๆ เสนอต,อผู
ว,าจาง รวมทั้งจะตองจัดเตรียมเอกสารขอแนะนําจากผูผลิตในการทดสอบเครื่องเสนอต,อผูว,าจาง
จํานวน 2 ชุด
2) ผูรับจางจะตองทําการทดสอบเครือ่ งและอุปกรณ!การใชงานทั้งระบบตามหลักวิชาการ เพื่อแสดง
ใหเห็นว,างานที่ทําถูกตองตามแบบและรายการที่กําหนดทุกประการ โดยมีผูแทนของผูว,าจางร,วม
ในการทดสอบดวย และผูรับจางจะตองเปYนผูเสียค,าใชจ,ายในการนี้ทงั้ สิ้น
3) อุปกรณ! และเครื่องมือที่ใชในการทดสอบ ผูรับจางจะตองเปYนผูจัดหามาทั้งหมด
4) การทดสอบเครื่องและระบบต,าง ๆ ใหเปYนไปตามกฎของการไฟฟ"าและหน,วยราชการที่เกี่ยวของ
ตลอดจนมาตรฐานต,าง ๆ ที่เกี่ยวของ
1.18 การฝ|กอบรมเจาหนาที่รักษาเครื่อง
ผูรับจางจะตองจัดการฝ|กอบรมเจาหนาที่ควบคุมเครื่อง และรักษาเครื่องของผูว,าจางใหมีความรู
ความสามารถในการใชงาน และการบํารุงรักษาก,อนส,งมอบงาน
1.19 หนังสือคู,มือการใช และบํารุงรักษาเครื่อง และอุปกรณ!
1) ผูรับจางตองจัดทํารายละเอียดของอุปกรณ!ที่ใชประกอบดวยวิธใี ช และระยะเวลาของการ
บํารุงรักษา รายการอะไหล, และอืน่ ๆ เปYนภาษาไทย และ/หรือภาษาอังกฤษ สําหรับเครื่องและ
อุปกรณ!ทุกชิ้นที่ผูรับจางนํามาใชจํานวน 4 ชุด มอบใหแก,ผูว,าจางในวันส,งมอบงาน
2) หนังสือคู,มือทั้งหมดผูรับจางตองส,งร,างเสนอผูว,าจาง 1 ชุด เพื่อตรวจสอบและอนุมัติก,อนการส,ง
มอบฉบับจริง
3) บทความโฆษณาของผูผลิตหรือแคตตาล็อค ไม,ถือว,าเปYนหนังสือคู,มือการใช และบํารุงรักษา

9-6
1.20 การรับประกัน
1) ผูรับจางตองรับประกันคุณภาพ ของเครื่องภายในระยะเวลา 2 ป~ นับจากวันที่เครื่องติดตั้งแลว
เสร็จ และลงนามในเอกสารรับมอบงานแลว
2) ภายในช,วงเวลาดังกล,าวหากเครื่องวัสดุ และอุปกรณ!เสีย หรือเสื่อมคุณภาพ อันเนื่องจาก
โรงงานผลิต ผูรับจางตองดําเนินการเปลี่ยน หรือแกไขซ,อมแซมใหอยู,ในสภาพดีเช,นเดิมโดยไม,
ชักชา และรับผิดชอบในค,าใชจ,ายทั้งหมด
3) ผูรับจางตองรับประกันเปลี่ยน และ/หรือ แกไขวัสดุ อุปกรณ! และงานตามขอกําหนดรวมทั้ง
ขอผิดพลาด ซึ่งผูว,าจางตรวจพบไม,ว,าก,อนหรือหลังจากการตรวจรับงาน
4) ผูรับจางตองรับประกันอุปกรณ!ของระบบต,าง ๆ ดังกล,าวขางตน ทําการแกไขที่ไม,ถูกตอง เปลี่ยน
วัสดุและอุปกรณ!ที่เสียหายหรือเสือ่ มคุณภาพ รวมทั้งการบริการรายเดือน และในกรณีฉุกเฉิน
ภายในระยะเวลา 2 ป~ นับจากวันส,งมอบงาน หากผูรับจางไม,แกไข และดําเนินการใหเสร็จ
เรียบรอย ผูว,าจางสงวนสิทธิ์ที่จะดําเนินการเองแลวคิดค,าใชจ,ายทั้งหมดจากผูรับจาง
1.21 การบริการ
1) ผูรับจางตองจัดเตรียมช,างผูชํานาญงานในแต,ละระบบไวสําหรับการตรวจซ,อมแซม และ
บํารุงรักษาเครื่อง และอุปกรณ!ใหอยู,ในสภาพที่ใชงานไดดีเปYนประจําทุกเดือน ภายในระยะเวลา
2 ป~ รวมอย,างนอย 12 ครั้ง
2) ผูรับจางตองจัดทํารายการผลการตรวจสอบอุปกรณ!ทุกชิ้น และการบํารุงรักษาทุกครั้งเสนอต,อผู
ว,าจางภายใน 7 วัน นับจากวันทีบ่ ริการ
3) ในกรณีผูว,าจางมีความจําเปYนตองใชบริการฉุกเฉิน นอกเวลาทํางานปกติ ผูรับจางตองรับจัดทํา
โดยไม,ชักชา
1.22 การส,งมอบงาน
1) ผูรับจางตองเป•ดเครื่อง และอุปกรณ!ต,าง ๆ ใหอยูใ, นสภาพที่ใชงานเต็มที่ หรือพรอมที่จะใชงานได
เต็มที่ เปYนเวลา 24 ชั่วโมง ติดต,อกันหรือจนเปYนที่พอใจของผูว,าจาง
2) ผูรับจางตองการทดสอบเครื่อง วัสดุ และอุปกรณ!ตามที่ผูว,าจางจะกําหนดใหทดสอบ จนกว,าจะ
ไดผลเปYนที่พอใจ และเปYนที่แน,ใจของผูว,าจางว,าเครื่องวัสดุ และอุปกรณ!เหล,านั้นสามารถทํางาน
ไดดี ถูกตองตามขอกําหนดทุกประการ
3) รายการส,งของต,าง ๆ ต,อไปนี้ที่ผูรับจางจะตองส,งมอบใหแก,ผูว,าจาง ในวันส,งมอบงานถือเปYนส,วน
หนึ่งของการตรวจรับมอบงานดวยคือ
− แบบสรางจริง
− หนังสือคู,มือการใชและบํารุงรักษาเครื่องและอุปกรณ!
− เครื่องมือพิเศษสําหรับใชในการปรับแต,ง ซ,อมบํารุงเครื่องจักรและอุปกรณ! ซึ่งโรงงาน
ผูผลิตส,งมาใหดวย
4) ค,าใชจ,ายที่เกิดขึ้นในการทดสอบเครื่องและตรวจรับมอบงานอยู,ในความรับผิดชอบของผูรับจาง
ทั้งสิ้น

9-7
ระบบปองกันอัคคีภัย
2. ทอน้ํา อุปกรณ" และ การติดตั้ง
2.1 ความตองการทั่วไป
1) ท,อน้ําและอุปกรณ!ที่ใชเปYนวัสดุที่ผลิตภายในประเทศภายใตมาตรฐาผลิตภัณฑ!อุตสาหกรรม หรือ
มอก. และไดรับใบรับรองจาก มอก. ดวย
2) ท,อน้ําและอุปกรณ!ที่นําเขาจากต,างประเทศ จะตองไดรับการรับรองจากมาตรฐาน BS Standard
หรือ ASTM Standard หรือ JIS Standard
2.2 วัสดุและโครงสราง
1) ท,อน้ําดับเพลิง
1. สําหรับท,อน้ําดับเพลิงใหใชท,อเหล็กดําเบอร! 40 ชนิดมีตะเข็บเชื่อมแบบความตานทาน
ไฟฟ"า (ERW) ตามมาตรฐาน ASTM A-53
2. ท,อระบายน้ําจากท,อน้ําดับเพลิงใหใชท,อเหล็กชุบดวยสังกะสี (Hot-Dipped Galvanized
Steel Pipe) Class Medium ตามมาตรฐาน BS-1387-1985 หรือตาม
มอก. 277-2532
3. ท,อน้ําดับเพลิงที่ฝ{งดินใหใชท,อพลาสติก โพลีเอทธีลีนชนิดความหนาแน,นสูง(High
Density Polyethelene) PN16 ตามมาตรฐานมอก. 982-2533
2) วาล!ว (Valves)
1. วาล!วในระบบป"องกันอัคคีภัยจะตองเปYนวาล!วที่ไดรับการรับรองใหใช สําหรับระบบ
ป"องกันอัคคีภัยเท,านั้น และไดรับการรับรองจาก UL และ FM
2. วาล!วทั้งหมดในระบบ จะตองสามารถทนแรงดันขณะใชงาน (Working Pressure)
ไดไม,นอยกว,า 12 กิโลกรัมต,อลูกบาศก!เซ็นติเมตร (175 ปอนด!ต,อตารางนิ้ว)
3. Gate Valve สําหรับขนาด 15 มิลลิเมตร. – 50 มิลลิเมตร. (1/2 นิ้ว – 2 นิ้ว) ทํา
ดวย Bronze ชนิด Outside Screw and Yoke (O.S. & Y.) ยึดขอต,อโดยใช
เกลียว (Threaded Connection) สําหรับขนาด 65 มิลลิเมตร (2 1/2 นิ้ว) หรือใหญ,
กว,าทําดวย Cast Iron หรือ Steel ชนิดมีหนาแปลน (Flanged Ends) และเปYนแบบ
Outside Screw and Yoke (O.S. & Y.)
4. Check Valves แบบ Silent Type Check Valve หรือ Wafer Half Type Check
Valve รายละเอียดโดยทั่วไปเหมือนกับ Gate Valve
5. Adjustable Pressure Restricting Valves ใชขนาด 40 มิลลิเมตร – 65 มิลลิเมตร
(1 1/2 นิ้ว - 2 1/2 นิ้ว) สําหรับความดันน้ําในกรณีที่ความดันน้ําเกิน 4.5
กิโลกรัมต,อลูกบาศก!เซ็นติเมตร (65 ปอนด!ต,อตารางนิ้ว) ใหคงอยูท, ี่ไม,เกิน 4.5 กิโลกรัม
ต,อลูกบาศก!เซ็นติเมตร (65 ปอนด!ต,อตารางนิ้ว) เมื่อมีการไหลของน้ําตัววาล!วทําดวย
ทองเหลือง ต,อกับท,อโดยใชเกลียว Orifice เปYนแบบ Segment Control สามารถ
ปรับได และลˆอคได
6. Butterfly Valves สําหรับใชกับท,อขนาด 100 มิลลิเมตร (4 นิ้ว) ขึ้นไป ตัววาล!วทํา
ดวย Grey Cast Iron ส,วน Disc ทําดวย Aluminium Bronze และมี Valve
Position Indicator ดวย

9-8
3) ที่ระบายลม และน้ําทิ้ง (Air Vents and Drains)
1. ในระบบท,อน้ําตองมีที่ระบายลมเพื่อเป•ดใหอากาศหรือกˆาซอื่นๆที่มอี ยู,ในท,อหนี ออกจาก
ท,อไดในขณะเติมน้ํา
2. ตองมีที่ระบายลมอัตโนมัติ (Automatic Air Vent) ติดตั้งที่จุดสูงสุดของท,อน้ําในแนวดิ่ง
3. Automatic Air Vent ทุกตัวตองมีวาล!วป•ดที่ทางดานลมเขา และมีท,อน้ําทิ้งต,อไปยัง
ท,อน้ําทิ้งรวม
4. ตองมีปลั๊กอุดขนาดไม,เล็กกว,า 15 มิลลิเมตร (1/2 นิ้ว) หรือตามที่ระบุไวในแบบ อยู,
ที่จุดต่ําสุดของระบบท,อน้ําทุกท,อ
4) มาตรวัดความดัน (Pressure Gauge)
1. เปYนแบบ Bourdon สําหรับวัดความดันของน้ํา กรอบทําดวย Stainless Steel หนาป{ทม!
กลม เสนผ,าศูนย!กลางไม,นอยกว,า 100 มิลลิเมตร (4 นิ้ว) วัดค,าไดเที่ยงตรงแน,นอน
คลาดเคลื่อนไดไม,เกิน 1.0 % ของเลขบนหนาป{ทม!
2. หนาป{ทม!สามารถอ,านค,าได 2 สเกลบนตัวหนาป{ทม! คือมีหน,วยเปYน ปอนด!ต,อตารางนิ้ว
(PSIG) และหน,วย SI (kg/cm2 หรือ kPa) รวมกันอยู,ในตัวเดียวกัน
3. มาตรวัดความดันแต,ละชุดจะตองมี Shut-Off Needle Valve และ Snubber
Connector มาตรวัดความดันจะตองสามารถวัดแรงดันไดไม,นอยกว,า 1.5 เท,าของ
แรงดันปกติในระบบ แต,ตองไม,นอยกว,า 14 kg/cm2 (200 ปอนด!ต,อตารางนิ้ว)
5) หัวกระจายน้าํ ดับเพลิง (Sprinklers Head)
1. ตองเปYนหัวกระจายน้ําดับเพลิงที่ผ,านมาตรฐาน UL และ FM และเปYนของใหม, ไม,
เคยผ,านการใชงานมาก,อน หัวกระจายน้ําดับเพลิงจะตองเลือกใหเหมาะสมกับ
หนา งานจริง ที่จะทําการติดตั้ง โดยหัวกระจายน้ําดับเพลิงแบบ Upright ใหติดตั้ง
บริเวณทีไ่ ม,มีฝ"าเพดาน ส,วนบริเวณที่มีฝ"าเพดานใหติดตั้งแบบ Pendent พรอม
ดวย Escutcheon Plates และแบบ Side Wall ใหติดตั้งพรอม Escutcheon
Plates ตามจุดที่แสดงในแบบ โดยตัว Escutcheon Plates ทําดวยทองเหลืองชุบ
โครเมี่ยม ก,อนดําเนินการติดตั้งจะตองส,งตัวอย,างหัวกระจายน้ําดับเพลิงเพื่อ
ขอรับความ เห็นชอบจากผูออกแบบ
6) Alarm Check Valve
มาตรฐาน UL และ FM ที่แรงดันใชงาน 12 กิโลกรัมต,อลูกบาศก!เซ็นติเมตร (175 ปอนด!ต,อ
ตารางนิ้ว) สามารถทนแรงดันทดสอบ (Hydrostatic Test Pressure) ไดไม,นอยกว,า 24
กิโลกรัมต,อลูกบาศก!เซ็นติเมตร (350 ปอนด!ต,อตารางนิ้ว) ทําดวยวัสดุตาม ASTM A 126
Class B
7) Retard Chamber
มาตรฐาน UL หรือ FM ทําดวยวัสดุตาม ASTM A126 Class B
8) Water Motor Alarm
มาตรฐาน UL หรือ FM สําหรับ Gong Water motor ขนาดเสนผ,าศูนย!กลาง 200 มิลลิเมตร
(8 นิ้ว) พรอม Plastic Cover
9) Water Flow Indicator
มาตรฐาน UL หรือ FM สําหรับส,งสัญญาณไปยัง Annunciator Panel ในหองควบคุม เพื่อ
แจงใหทราบว,าส,วนใดของระบบกําลังทํางาน (การเดินสายไฟในส,วนนี้ใหรวมในขอบเขตงานดวย)

9-9
10) Sight Glass
Sight glass หรือ sight flow connection จะตองทนความดันขณะใชงานไดไม,ต่ํากว,า 12
กิโลกรัมต,อลูกบาศก!เซ็นติเมตร (175 psi) และจะตองไดมาตรฐาน UL/FM วัสดุประกอบดวย
Body : cast iron
View Window : clear acrylic
Covers : mild steel
O-rings : Buna-N
11) Annunciator Panel ทําหนาที่รับสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม โดยใชหลอดไฟสัญญาณ (หลอด
LED) แสดงตําแหน,งของโซนที่เกิดเพลิงไหมที่ไดแบ,งไว
1. การทํางานของระบบ เมื่อเกิดสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมจาก Flow Switch ในโซน
ใดโซนหนึ่ง หลอดไฟสัญญาณของโซนจะติดหรือกระพริบ พรอมทั้งมีเสียง
สัญญาณเฉพาะที่ Annunciator Panel จนกว,าจะกดสวิทซ!ตัดเสียง
2. การเดินสาย และท,อสายไฟฟ"าต,าง ๆ ใหมีขนาดไม,เล็กกว,า 1.5 ตารางมิลลิเมตร.
ชนิด THW หรือตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิต ส,วนการเดินท,อใหเปYนไปตาม
ขอกําหนดท,อรอยสายไฟฟ"า
3. การติดตั้งใหติดตั้ง Annunciator Panel ใหติดลอยบนผนังตามตําแหน,งที่แสดงใน
แบบ การติดตั้งใหเปYนไปตามกฎของการไฟฟ"าฯ และ NEC
4. การทดสอบ ใหทดสอบการทํางานของระบบฯ ตามมาตรฐาน NFPA และ UL และ
ตามที่ผูว,าจางเห็นสมควรโดยมีผูแทนของผูว,าจางเขาร,วมการทดสอบดวย
5. การฝ|กอบรม ผูรับจางจะตองจัดการฝ|กอบรมพนักงานของผูว,าจาง ใหรูถึงวิธีการใช
งานระบบฯ และวิธีการบํารุงรักษาระบบฯ ดวย
2.3 วิธีการก,อสราง
1) การติดตั้งท,อน้ํา
1. ขอกําหนดทั่วไป
• ติดตั้งท,อน้ําและอุปกรณ!เขากับอุปกรณ!สายส,งน้ําดับเพลิง ตามรายละเอียดของผูผลิต
• แบบระบบป"องกันอัคคีภัยเปYนเพียง Diagram แสดงใหเห็นแนวทางการเดินท,อน้ํา ส,วน
การเดินท,อ และจัดท,อจริง หรือเพื่อความสะดวกง,ายต,อการเขาถึงทุกส,วนของท,อ
เนื่องจากขอกําหนดจากขนาดของแบบช,วงท,อหักเลี้ยวหลบขอต,อวาล!ว อาจจะไม,ไดแสดง
ไวในแบบ นอกจากนั้นผูรับจางตองตรวจสอบแบบสถาปนิกโครงสรางปรับอากาศ ประปา
สุขาภิบาล และแบบไฟฟ"า เพื่อตรวจสอบ ผนัง ฝ"าเพดาน คานที่ตั้งของช,องท,อ (Pipe
Shafts) และขอขัดแยงจากงานอื่นๆ เพื่อการหักท,อหลบ ติดตั้งวาล!ว ขอต,อต,างๆ เท,าที่
จําเปYนกับสภาพนั้นๆ
• การติดตั้งท,อน้ําจะตองเปYนไปโดยถูกตอง โดยการวัดขนาดความยาวที่แทจริง ณ สถานที่
ติดตั้ง การติดตั้งทีไ่ ม,ก,อใหเกิดแรงกดดันกับระบบท,อ ตองอยู,ห,างจากประตูหนาต,าง
และช,องเป•ดอื่น ๆ
• การติดตั้งท,อน้ําจะตองปล,อยใหมีการยืดและหดตัวโดยไม,เกิดความเสียหายต,อขอต,อต,าง ๆ
• ท,อน้ําในแนวดิ่ง จะตองยึดใหขนานกับแนวผนัง หรือเสา และตองเปYนแนวตรงผงตะไบ ฝุŒน
ต,างๆ จะตองกวาดออกจากภายในท,อ ผิวนอกท,อเหล็กกลาดําตองทาสีกันสนิมอย,างนอย
2 ชั้น

9-10
• ปลายเป•ดของท,อ หรืออุปกรณ!จะตองป•ด เพื่อป"องกันฝุŒนผงเศษผงเขาไปอยู,ภายในท,อ เพื่อ
สะดวกในการซ,อมบํารุง ซ,อมแซม เปลี่ยนแปลงในระบบท,อตองมียูเนี่ยน หรือหนาแปลน
เท,าที่ปรากฏในแบบระหว,างขอต,อเขาอุปกรณ!หรือเทียบเท,าที่จําเปYนอื่นๆ
• แนวท,อจะตองจัดใหสามารถเขาถึงไดโดยง,าย เพื่อประโยชน!ในการบํารุงรักษา ซ,อมแซม
เปลี่ยนอุปกรณ!
• ใชขอต,อที่ไดขนาดมาตรฐาน ในการต,อท,อที่เปลี่ยนแปลงแนวทางเดิน เปลี่ยนขนาดหรือมี
ขอแยก
• ติดตั้งวาล!ว ใหกานวาล!วอยูใ, นแนวดิ่งใหมากที่สุด
• หลังจากต,อท,อดวยแบบขันเกลียวหรือเชื่อมร,องเกลียวส,วนที่เหลือโผล,ออกมาและรอ
เชื่อมต,อทุกแห,งจะตองใชแปรงลวดขัดแลวทาสีกันสนิม Zinc Chromate
• ท,อน้ําดับเพลิง, อุปกรณ!ประกอบต,าง ๆ และเครื่องสูบน้ําดับเพลิง จะตองทาสีแดง การ
ทาสีท,อเหล็กหล,อจะตองลงสีพื้นกันสนิม (Red Lead Primer) ก,อน 2 ชั้นก,อนการทาสี
จริงโดยจะตองทําความสะอาดผิวเหล็กใหสะอาดก,อน การทาสีท,อเหล็กดําที่ฝ{งดิน
จะตองทาเคลือบดวย Coal-Tar Enamel แลวใชแผ,น Asbestos พันทับอีกชั้นหนึ่ง
หลังจากนั้นจึงทาเคลือบดวยสารกันน้ํา ตามมาตรฐาน AWWA C-203
• การฝ{งท,อน้ําดับเพลิงใตดิน ตองฝ{งท,อน้ําดับเพลิงลึก ไม,นอยกว,า 0.8 เมตร (2.60 ฟุต)
จากระดับผิวดิน ถึงผิวของท,อดานบน ในกรณีที่ท,อน้ําดับเพลิง จําเปYนตองฝ{งลอดถนน
ความลึกของท,อจะตองไม,นอยกว,า 0.90 เมตร (3 ฟุต) และไม,นอยกว,า 1.20 เมตร (5
ฟุต) สําหรับท,อที่ฝ{งลอดรางรถไฟ
2. การต,อท,อ (Pipe Joints)
• การต,อท,อแบบเชื่อม (Welding Joints)
สําหรับท,อเหล็กดํา ใหใชการเชี่อมรอยต,อทุกแห,ง ยกเวนส,วนที่เปYนยูเนี่ยน หรือหนา
แปลน ซึ่งเตรียมไวสําหรับการถอดออกได
- ท,อขนาดใหญ,ที่จะนํามาเชื่อมตองลบปลายใหเปYนมุมประมาณ 35 ํ - 40 ํโดยการกลึงก,อน
การลบปลาย อาจใชหัวเชื่อมดัด แต,ตองใชคอนเคาะออกไซด! และสะเก็ดโลหะออกพรัอม
ทั้งตะไบใหเรียบรอยก,อนการเชื่อม
- การเชื่อมขอต,อท,อจะตองเชื่อมแบบ (Butt-Welding) โดยมีมาตรฐาน และน้ําหนักท,อตาม
มาตรฐาน ASA.B16.9 และ ASTM A-234
- การเชื่อมท,อ ตองเปYนไปอย,างสม่าํ เสมอทั่วทั้งท,อ ใหโลหะที่นํามาเชื่อมละลายเขาหากันได
อย,างทั่วถึง
- ก,อนการเชื่อมตองทําความสะอาดส,วนปลายที่จะนํามาเชื่อม ตั้งปลายท,อที่จะนํามาเชื่อม
ใหเปYนแนวตรง เวนช,องว,างระหว,างท,อที่นํามาเชื่อม เพื่อป"องกันการป•ดระหว,างการเชื่อม
- หามใชของอที่เชื่อมขึ้นมาเองในงาน
- มาตรฐานในการปฏิบัติงานเชื่อม ตองเปYนไปตามมาตรฐานของ ASA
• การต,อแบบหนาแปลน (Flanges)
- วาล!วที่ใชกับท,อขนาด 65 มิลลิเมตร (2 1/2") ขึ้นไป ใหใชการต,อท,อเขากับท,อดวยหนา
แปลนยกเวน Hose Gate Valve ขนาด 65 มิลลิเมตร (2 1/2") ใหต,อดวยเกลียว
- การยึดจับหนาแปลนของท,อสองท,อ ตองขนานกัน และอยู,ในแนวเดียวกัน หนา
แปลนทั้งสองตองยึดจับแน,นดวย Bolt ยึด

9-11
- หนาแปลนและยูเนี่ยนจะตองมีหนาราบเรียบไม,คดเอียงมีปะเก็นยางสังเคราะห!หนา 1.5
มิลลิเมตร (1/16") หรือปะเก็นแอสเบสทอส (ใชกับท,อนอกอาคาร) สวมสอดอยู,
- Bolt ที่ใชยึดจับหนาแปลนขันเกลียวร,วมกับ Nut เมื่อขันเกลียวต,อแลวตองโผล,เกลียว
ออกมาจาก Nut ไม,เกิน 1/4 เท,าของเสนผ,าศูนย!กลางของ Bolt
- Bolt & Nut ที่จะใชจะตองทําดวยวัสดุเหล็กผสมนิเกิ้ล หรือโลหะที่ไม,เปYนสนิมไดโดยง,าย
3. ที่แขวนท,อ และรองรับท,อ
• ที่แขวนท,อ และรองรับท,อ จะตองเปYนชนิดที่ปรากฏในแบบ และตองใชที่ทุกๆ ระยะ 3
เมตร (10 ฟุต) ของท,อ หรือในช,วงที่ท,อหัก เปลี่ยนทิศทาง ตองมีที่แขวน และรองรับไม,
เกิน 0.6 เมตร (24 นิ้ว) จากช,วงหักเลี้ยว
• ที่แขวนท,อ และหนุนท,อ ตองสามารถปรับระยะสูงต่ําในแนวดิ่งไดไม,ต่ํากว,า 50 มิลลิเมตร
(2 นิ้ว)
• Anchor รองรับท,อในแนวดิ่ง ที่แสดงในแบบ และเท,าที่จําเปYน เพื่อป"องกัน Under Strain
จะตองเปYน Heavy Forged หรือ Welded Construction แยกต,างหากจาก Support
• Anchor สําหรับรองรับท,อในแนวนอน เพื่อป"องกัน Strain จาก Offsets จะตองเปYน
Forged Wrought Iron Clamped ยึดอย,างแน,น
• การรองรับท,อเมนในแนวดิ่ง ตรงของอ ตองเปYนไปดังแสดงไวในแบบ
• หามใชที่รองรับท,อชนิดอื่นๆ เช,น ลวด, เชือก, ไม, โซ, ซึ่งไม,ไดระบุมาใชรองรับท,อ
• ผูรับจางตองรับผิดชอบในการจัดหา วาง Concrete Insert และ Anchor Rod และ
ทํางานเกี่ยวกับโครงสรางอื่นๆ ที่จําเปYนสําหรับการติดตั้งที่รับท,อต,าง ๆ
• ที่ท,อน้ําวิ่งขนานกัน หรือใกลเคียงกับท,อชนิดอื่น ๆ ผูรับจางจะตองแสดงถึงตําแหน,งระดับ
ของท,อต,างๆ ก,อนการติดตั้งท,อ และที่รองรับจริง
• ที่แขวนท,อและรองรับท,อ จะมีขนาดและรายละเอียดดังที่แสดงไวในแบบแต,ผูรับจาง
จะตอง รับผิดชอบในการเพิ่มขนาดเหล็กแขวนท,อ และความหนาของเหล็ก เพื่อให
เหมาะสมกับ น้ําหนักของท,อในส,วนที่จําเปYน
• ตองทาสีกันสนิม Red Lead Primer จํานวน 1 ชั้น และทาสีแดงทับอีกชั้นหนึ่ง
(One Primer Coat And One Finished Coat)
• ที่รองรับท,อที่ใชนอกอาคารตองทําดวยเหล็กชุบสังกะสี (Hot Dip Galvanized) โดย
จะตองสรางที่รองรับท,อเสร็จเรียบรอยแลว จึงนําไปชุบ
4. ท,อสวมลอด (Pipe Sleeve)
• ท,อสวมลอดตองฝ{งไวในบริเวณที่ทอ, น้ําเดินผ,านผนัง คาน หรือเพดานคอนกรีต
• ท,อสวมลอดจะตองกวางกว,าขนาดของท,อที่ลอดอย,างนอย 10 มิลลิเมตร และตองยาว
ตลอดช,วงที่ผ,านทะลุโครงสรางนั้น ท,อก,อนฝ{งตองทาสีกันสนิมอย,างนอย 2 ชั้น
• ในกรณีที่ท,อทะลุผ,านพื้น ท,อสวมลอดจะตองทะลุสูงขึ้นไปบนพื้น เพื่อกันน้ําไหลเขาไปใน
ช,องท,อ และตองอุดดวยวัสดุกันน้ํารอบท,อลอดนี้
• รอบช,องว,างระหว,างท,อน้ํา กับท,อสวมลอด ตองอุดดวยวัสดุซึ่งสามารถกันไฟได อย,างนัอย
2 ชั่วโมง
ในกรณีที่ท,อลอดผ,านผนัง พื้น เพดาน ซึ่งจะปรากฏแก,สายตาจะตองใชท,อสวมลอดที่เปYนโครเมี่ยม หรือท,อทองเหลือง
(Cast Brass) ตามที่รับรองใหใชเพื่อความสวยงาม

9-12
ระบบปองกันอัคคีภัย
3. ป()มน้ําดับเพลิงอัตโนมัติ (Fire Pump and Jocky pump)
3.1 ขอกําหนดทั่วไป (General Requirements)
ผู รั บ จาง จะตองจั ด หาติ ด ตั้ ง และทดสอบอุ ป กรณ! ร ะบบป" อ งกั น อั ค คี ภั ย ดั ง แสดงไวในรู ป แบบ
รายละเอียดเพื่อใหไดงานสมบูรณ!และถูกตองตามความประสงค!ของผูว,าจาง

3.2 แบบรายละเอียดเพื่อการก,อสราง (Shop Drawings)


ผูรับจาง จะตองจัดหา “แบบรายละเอียดเพื่อการก,อสราง” แสดงรายละเอียดการติดตั้งของระบบ
ต,างๆ ของระบบป"องกันอัคคีภัยเสนอต,อวิศวกรเพื่อพิจารณาอนุมัติอย,างนอย 4 ชุด ก,อนดําเนินการ
ติดตั้งในเวลาอันสมควร แต,จะตองไม,นอยกว,า 30 วัน รวมทั้งเสนอรายละเอียดของเครื่องมือ ท,อ
ต,างๆ และตัวอย,างวัสดุที่จะใชในการติดตั้ง

3.3 ขอบเขตของงาน (Scope of Work)


ระบบป"องกันอัคคีภัย ประกอบดวยระบบย,อยดังต,อไปนี้

ก. เครื่องสูบน้ําดับเพลิง Jockey Pump และแผงควบคุมการทํางาน


ข. ระบบท,อยืนและสายส,งน้ําดับเพลิง (Standpipe and Fire Hose System)
ค. ถังดับเพลิงเคมีแบบมือถือ จัดใหมีทั่วไปในบริเวณที่สายส,งน้ําดับเพลิงเขาไปไม,สะดวก หรือ
บางหองที่ไม,ควรใชน้ําดับเพลิง เช,น หองที่มีอุปกรณ!ไฟฟ"า หรือตามที่ระบุไวในแบบ

3.4 มาตรฐาน (Standards)

มาตรฐานของเครื่องมือ วัสดุและการติดตั้ง ระบบจะตองเปYนไปตามมาตรฐานดังนี้

UL : UNDERWRITERS LABORATORIES, USA.


FM : FACTORY MUTUAL, USA.
NFPA : NATIONAL FIRE PROTECTTION, USA.
NFPA-10-PORTABLE FIRE EXTINGUISHER
NFPA-14-STAND JPIPE AND HOSE SYSTEM
NFPA-20-CENTRIFUGAL FIRE PUMP
ANSI : AMERICAN NATIONAL STANDARDS INSTITUTE INC. (ANSI)
ASTM : AMERICAN SOCIETY FORTESTING ANMATERIALS
AWWA : AMERICAN WATER WORKS ASSOCIATION
ว.ส.ท. : วิศวกรรมสถานแห,งประเทศไทย
มอก. : มาตรฐานอุตสาหกรรม

9-13
3.5 รายละเอียดของวัสดุและเครื่องมือที่ตองขออนุมัติเห็นชอบ (List of Materials and Equipment
for Approval)

(1) เครื่องสูบน้ําดับเพลิง (Fire Pump)

(2) Jockey Pump Fire Pump and Jockey Pump Controller

(3) ตูดับเพลิงรวมทั้งอุปกรณ! (Fire hose cabinet complete)

(4) หัวรับน้ําดับเพลิง (Fire department connection)

(5) เครื่องดับเพลิงเคมีแบบมือถือ (Portable Fire Extinguisher)

(6) ท,อดับเพลิงและวาล!ว

(7) อุปกรณ!ดับเพลิงอื่นๆ ตามที่ระบุไวในแบบ และขอกําหนดทางเทคนิค

3.6 ลักษณะของเครื่องสูบน้ําดับเพลิง (Type of Fire Pump)


1) เครื่องสูบน้ําดับเพลิงเปYนชนิด Vertical Turbine ชนิด Open Line Shaft
(Water Lubrication) โดยมี Rate Capacity และ Rated Head ตามที่ระบุในแบบ
2). เครื่องสูบน้ําดับเพลิงตองหมุนที่ความเร็วรอบไม,เกินที่ระบุในแบบ

3.7 โครงสรางของเครื่องสูบน้ําดับเพลิง (Structure of Fire Pump)

1). Discharge Head


Discharge Head เปYนชนิด High Profile ทําดวย Cast Iron สามารถทน
แรงดัน Maximum Working Pressure ไม,นอยกว,า 175 ปอนด!ตอ, ตารางนิ้ว
2). Line shaft
Line Shaft ทําดวย Stainless Steel
3). Bearing
Bearing เปYนแบบ Rubber Sleeve Water Lubricated
4). Impeller Shaft
Impeller Shaft ทําดวย Stainless Steel
5). Pump Bowl
Pump Bowl ทําดวย Cast Iron พรอมดวย Closed Type Bronze
6). Impeller
Pump Impeller ทําดวย Cast Bronze

9-14
7). Strainer
Strainer ทําดวย Bronze โดยจะตองมีขนาดพื้นที่หนาตัดไม,เล็ก
กว,า 4 เท,าของพื้นที่หนาตัดของท,อ ทางดานดูด Strainer จะตองสามารถ
ป"องกันไม,ใหวัสดุที่มี ขนาดใหญ,กว,า 13 MM. เขาสู,ทางดานดูดได
8). Wear ring Ring
แหวนกันสึกหรือ Bowl Wearring Ring ทําดวย Bronze

3.8 เครื่องยนต"ดีเซล (Fire Pump Engine)


1). เครื่องยนต!ดเี ซลจะตองเปYนแบบ Horizontal Shaft , Open Type ซึ่งมีกําลังขับเคลื่อน
(Brake Horse Power) สูงกว,ากําลังขับเคลื่อนที่เครื่องสูบน้ําตองการสูงสุดไม,ต่ํากว,า 10%
2). เครื่องยนต!ดีเซล จะตองมีอปุ กรณ! ดังนี้
- Emergency Manual Operator
- Engine Cooling System
- Flexible Exhaust Connector
- Exhaust Silencer (Residential Type)
- Dual Battery ชนิด Lead Acid 2 ชุด
- Fuel Storage Tank ขนาดตามที่ระบุในแบบ และ Fuel System
- อุปกรณ!ประกอบอื่น ๆ เช,น Over speed Shut-Down Device ,
Tachameter , Hour Meter , Oil Pressure Gauge , Temperature Gauge
3). Right Angle gear จะตองเปYนแบบ Vertical Hollow Shaft พรอมดวย Non Reverse
Ratchet
4). Universal Joint Drive Shaft จะตองถูกออกแบบกมาใหใชงานที่ความเร็วรอบเดียวกันกับที่
เครื่องยนต!ดเี ซลทํางาน

3.9 แผงควบคุมชุดเครื่องสูบน้ําดับเพลิง (Fire Pump Controller)


1). แผงควบคุมชุดเครื่องสูบน้ําดับเพลิงจะตองเปYนแบบไปตามมาตรฐานของ NFPA 20
Standard for the Installation of Centrifugal Fire Pumps.
2). แผงควบคุมชุดเครื่องสูบน้ําดับเพลิงจะตองเปYนชนิดที่สามารถป"องกันสนิม ฝุŒน และความชื้นเขา
ไปภาย ในตูไดตามมาตรฐาน NEMA Type 2 (IEC IP11) และไดรับการรับรองจาก UL หรือ FM แลว
3). แผงควบคุมชุดเครื่องสูบน้ําดับเพลิงจะตองประกอบไปดวยอุปกรณ!อย,างนอย ดังนี้
- Pressure Transducer (Pressure Rating ไม,ตา่ํ กว,า 300 ปอนด!ต,อตารางนิ้ว)
- Weekly Test Program Timer
- Automatic Test Run Program
- Solid State Crank Cycle Control
- Battery charger
- Pressure Recorder
- Stop Button
- Ammeter
- Voltmeter

9-15
- Alarm Devices ตามรายละเอียดในขอ 5.4
- AC Power Failure
แผงควบคุมชุดเครื่องสูบน้ําดับเพลิงจะตองมี Terminals สําหรับ Remote สัญญาณจาก Fire
Pump Controller ไปยังระบบ Fire Alarm System ดังต,อไปนี้
- Engine Running
- Common Signal of Engine Trouble Alarm
- Common Signal of Fire Pump Room Trouble Alarm
- Main Switch Mis-set Remote Alarm or Equivalent

3.10 อุปกรณ!ประกอบเครื่องสูบน้ําดับเพลิง (Fire Pump Fitting)


1). Main Relief Valve and Closed waste cone
Main Relief Valve ชนิด Pilot Operated มีขนาดตามที่ระบุในแบบ โดยทํา
การตั้งค,าOperated Pressure ไวที่ 175 ปอนด!ต,อตารางนิ้ว
2). Automatic Air Release Valve
Automatic Air Release Valve ชนิด Direct Acting Float Type
3). Flow Meter
Flow Meter ชนิด Ventury , Annular Probe หรือ Orifice Plate
Flow Sensor ซึ่งสามารถวัดอัตราการไหลไดอย,างนอย 175 เปอร!เซ็นต! ของ Rated
Capacity
4). Discharge Pressure Gauge
Pressure Gauge เปYนแบบ Bourdon Type มีเสนผ,าศูนย!กลางของ
หนาป{ทม! ขนาดไม,เล็กกว,า 90 มิลลิเมตร หรือ 3-1/2 นิ้ว โดยมีความละเอียด
(Accuracy) อย,างนอย 1% สเกลบนหนาป{ด
Discharge Pressure Gaugeสามารถวัด Pressureที่อยู,ในช,วง 0-300 ปอนด!
ต,อตารางนิ้วได

3.11 เครื่องสูบน้ํารักษาแรงดัน (JOCKEY PUMP)

- เครื่องสูบน้ําเปYนชนิด VERTICAL MULTI STAGE PUMP


- โดยมี Rate Capacity และ Rated Head ตามที่ระบุในแบบ
- ความเร็วรอบไม,เกิน 2900 รอบต,อนาที ขับดวยมอเตอร!
- เพลา ทําดวย STAINLESS STEEL
- SEAL เปYนแบบ MECHANICAL SEAL
- แผงควบคุมจะตองออกแบบมาใชกับเครื่องสูบน้ําดับเพลิงช,วยโดยเฉพาะแผง
ควบคุมเปYนแบบ MANUAL AND AUTOMATIC โดยใช MOTOR
STARTER เปYนแบบ START DIRECT - ON - LINE ตัวตูมีโครงสรางแบบ
FRONT ACCESS , WALL MOUNTED TYPE และ ไดรับมาตรฐาน UL
LITSED

9-16
- ตูควบคุม สามารถควบคุมเครื่องสูบน้ําใหเดินแบบ MANUAL -
OPERATING และแบบ AUTOMATIC OPERATING การทํางานจะเปYนแบบ
อัตโนมัตเิ มื่อความดันของน้ําในระบบต่ํากว,าที่กําหนด และจะหยุดทํางาน
เมื่อความดันถึงจุดตองการรักษาความดันไว และตองไดรับรองมาตรฐาน UL
LISTED แลว

EQUIPMENT SCHEDULE FOR FIRE PUMP & JOCKEY PUMP

EQUIPMENT FLOW RATE TDH SPEED EFF. HP V/PH/HZ PUMP TYPE


FIRE PUMP DIESEL DFP 1000 GPM 75 M. 1770 >85 - - VERTICAL TURBINE PUMP
ENGINE RPM %
JOCKEY PUMP JP 30 GPM 80 M. 2900 - - 3/380/50 VERTICAL MULTI-STAGE
RPM

3.12 แผงควบคุมเครื่องสูบน้ํารักษาความดัน (Jockey Pump Controller)

1) แผงควบคุม (Controller) จะตองเปYนชนิดที่ออกแบบมาใชกับเครื่องสูบน้ําดับเพลิงโดยเฉพาะ


และไดรับการรับรองจากสถาบัน UL แผงควบคุมเปYนแบบ Manual and Automatic โดย
ใช Motor Starter พรอม Overload Relay ซึ่งมีขนาดเหมาะสมกับขนาดมอเตอร!ที่ใช ตัว
ตูมีโครงสรางแบบ NEMA 3R Front Access, Wall Mounted Type ขนาดของ Circuit
Breaker จะตองมีค,า Interrupting Capacity ไม,นอยกว,า 18 KA Sym. ที่ 380 V.

2) ตูควบคุมสามารถควบคุมเครื่องสูบน้ําแบบ Manual-Operating และเปYนแบบอัตโนมัติ


(Automatic Operating) การทํางานจะเปYนแบบอัตโนมัติ เมื่อความดันของน้ําในระบบต่ํา
กว,าที่กํ าหนด และจะหยุ ด การทํางานเมื่อ ความดั นถึ งจุด ที่ต องการรัก ษาความดัน ไว มี
Minimum Running Timer, Pressure Switch, Loss of Control Power Dry Contact,
Pump Runing and Stop Lights, และ Remote Start Contact.

3.13 อุปกรณ!ประกอบของเครื่องสูบน้ําดับเพลิง (Fire Pump Fittings)

ผูรับจางจะตองจัดหาเครื่องสูบน้ําดับเพลิง Piping Accessory สําหรบการติดตั้งเครื่องสูบน้ําโดย


Adapt Pump Connection เขากับระบบดับเพลิง และ Test Connection อุปกรณ!ประกอบดาน
ดูดจะตองเปYน ANSI 125 Pound Rating อุปกรณ!ประกอบ (Fire pump fitting) สําหรับงาน
ติดตั้งเครื่องสูบน้ําดับเพลิง จะมีประกอบตามรายการที่ระบุและมีขนาดตามที่แสดงไวในแบบรายการ
อุปกรณ!ประกอบจะมีดังต,อไปนี้

9-17
- SUCTION OUTSIDE SCREW & YOKE GATE VALVE, UL,FM
- DISCHARGE OUTSIDE SCREW & YOKE GATE VALVE OR BUTTERLY VALVE UL, FM
- HOSE VALVES WITH CAPS AND CHANIS, UL/FM
- BALL DRIP VALVE
- AUTOMATIC AIR RELEASE VALVE
- DISCHARGE PRESSURE GAUGE
- MAIN RELIEF VALVE, UL/FM
- CASING RELIEF VALVE
- ENCLOSED WASTE CONE WITH SIGHTGLASS, UL/FM
- DISCHARGE TEE WITH ELBOW (FOR MOUNTING RELIEF VALVE)
- ECCENTRIC SUCTION REDUCER
- CONCENTRIC DISCHARGE INCREASER

3.14 ตูอุปกรณ!ดับเพลิง (Fire Hose Cabinet, FHC)

ทํ า ดวยเหล็ ก กลาทั้ ง ดานนอกและดานใน ทาสี แ ดงมี ป ระตู เ ป• ด -ป• ด ทํ า ดวยกระจกใสนริ ภั ย


ประกอบดวยอุปกรณ!อย,างนอย ดังต,อไปนี้
1) สายส,งฉีดน้ํา (Fire Hose Reel) ทําดวยสายยางเคลือบสาร Polymer ขนาด 1” ยาว 30
เมตร สามารถทนแรงดันขณะทดสอบไดไม,ต่ํากว,า 300 ปอนด!/ตร.นิ้ว ผลิตตามมาตรฐานBS
5274-1985 เมื่อดึงสายดับเพลิงออกมาจากตูระยะ 1.5 เมตร จะตองมี น้ําฉีดออกมาโดย
อัตโนมัติไดรับ UL List หรือ FM Approved

2) หัวฉีดน้ําขนาด 1 นิ้ว สามารถปรับเปYน Fog Nozle ฉีดสเปรย!หรือฉีดพุ,งเปYนลําได ทําดวย


ทองเหลืองขัดเรียบชุปโครเมี่ยมตองได UL List หรือ FM Approved

3) Angle Valve ขนาด 1 ½” และ 2 ½ พรอมดวย Female N.P.T. inlet และ Female hose
threaded outlet ถาแรงดันน้ําเกิน 100 psi ใหใช Pressure restricting angle valve ชนิด
ที่สามารถปรับแรงดันน้ําไดเพื่อลดแรงดันของน้ําไม,ใหเกิน 100 ปอนด!/ตารางนิ้ว ตองได UL
Listed หรือ FM Approved

4) เครื่องดับเพลิงชนิดมือถือ ชนิด 4A 60BC หรือ 6A 20B ขนาด 15 ปอนด!

5) ตัวตูทําจากเหล็กแผ,นพับเบอร! 20 ขนาดตามที่ระบุในแบบ กระจกเปYนกระจกใสนิรภัย ชนิด


แตกเปYนเม็ดขาวโพด ซึ่งไม,ทําอันตรายต,อผูทุบ

ตัวอย,างมาตรฐานที่แนะนําใหใช :
- Angus
- Eversafe
- Giaco mini
- Zero Fire

9-18
- Change Der

3.15 มาตรวัดอัตราไหลของเครื่องสูบน้ําดับเพลิง (Flow Meter)

มาตรนี้ใช Element แบบ Pilot tube ใชท,อเหล็กมีรูเจาะ เรียกว,า Annubar flow sensor สอดเขา
ไปในท,อที่จะวัดอัตราการไหล (Flow meter) รูดาน high pressure และรูดาน low Pressure มี
differential pressure signal (DP) ส,งผ,านหลอดไปยังตัวไดอะแฟรมในตัวมิเตอร! จาก
differential pressure เราก็สามารถวัดอัตราการไหลไดเพราะมี principle covers the
relationship between differential pressure and changing velocities in fuid flow
dynamics. มาตรวัดอัตราการไหลของน้ําตองได UL Listed หรือ FM Approved

ตัวอย,างมาตรฐาน :
- Eagle Eye Flow Meter
- Gerand

3.16 หัวรับน้ําดับเพลิง (Fire Department Siamese Connection)

เปYนหัวรับน้ํา 2 ทาง แบบยืนลอย (Free Standing) หรือ side walk ตามที่ระบุไวในแบบ มีลิ้นกัน
กลับ (Clapper) ติดตั้งอยู,ในตัว และ มีฝาครอบชุปโครเมี่ยมพรอมโซ,คลองครบชุด หัวรับน้ําจะตอง
ทําจากวัสดุอลูมิเนียมผสมทองเหลือง หรือวัสดุอื่น ๆ ที่มีความคงทนแข็งแรง สามารถทนแรงดัน
ขณะใชงาน (Working Pressure) ไดไม,ต่ํากว,า 250 ปอนด!/ตร.นิ้ว และตองมีป"ายชื่อเขียนบนตัวว,า
“STAND-PIPE” ความสูง 24” (60 ซม.) หัวรับน้ําดับเพลิงตองได UL Listed และ FM Approved

TWO-WAY,2 ½” x 2 ½” x 6” หรือ 2 ½” x 2 ½” x 8” ตามที่ระบุไวในแบบ

ตัวอย,างมาตรฐานคือ
- Allenco
- Potter-Roemer
- Kennedy
- Powhatan

3.17 ถังดับเพลิงเคมีแบบมือถือ (Portable Fire Extinguisher)

เครื่องดับเพลิงชนิดเคมีผง แบบดับเพลิงได 3 ประเภท A-B-C (Multipurpose Dry Chemical


Portable Fire Extinguisher) ผงเคมีที่ใชเปYน Monoammonium Phoshate สามารถใชกับ Class
A, B, และ C มีประสิทธิภาพในการดับเพลิงสูงไม,เปYนอันตรายต,อผูใช ทั้งขณะใชงานและภายหลัง
การใชงาน

9-19
ขนาดที่เลือกใชคือ ขนาด 15 ปอนด! (6.8 กก.) U.L. Rating คือ 4A 60 B:C หรือ 6A-20B ตาม
มอก. 332-2537 ผูขายจะตองรับประกันเครื่องดับเพลิงทุกเครื่องไม,นอยกว,า 2 ป~

ตัวอย,างมาตรฐาน คือ
- EVERSAFE
- BUCKEYE
- BADGER
- ANSUL
- ZERO FIRE
- Kidde

3.18 วาล!ว (Valves)

วาล!วที่นํามาใชในระบบดับเพลิง จะตองเปYนวาล!ว ซึ่ง UL รับรองและใหใชไดโดย FM วาล!วจะตอง


สามารถทนแรงดันน้ําได 175 ปอนด!/ตร.นิ้ว

3.18.1 เกทวาล!ว ขนาดตั้งแต, 2 ½" ขึ้นไปจะตองเปYน OS & Y Iron Body, Flanged ends,
Bronze Mounted Parallel Seats, Double Disc, Bolted Bonnets Marking UL.,
FM., 175 psi non-shock cold water จะตองทดสอบอัดน้ําไดถึง 350 ปอนด!

ตัวอย,างมาตรฐานที่แนะนําใหใช คือ
- Tyco
- Kennedy Fig. 68, flanged
- Nibco Fig. F-607-OTS

3.18.2 เกทวาล!ว ขนาด 2" และเล็กกว,า จะตองเปYน Rising Stem, Bronze Body Solid
Wedge, Threaded Connections Rating 175 psi Cold Water

ตัวอย,างมาตรฐานที่แนะนําใหใช : เหมือนกับขนาด 4" ที่กล,าวไวในขอ 6.16.1

3.18.3 Check Valve ขนาด 2 ½" และโตกว,า จะตองเปYน Cast Iron Globe Type Swing
Check Valve, Flanged Ends Connection, Working Pressure 175 psi Cold
Water, UL Listed and FM Approved. Check Valve ที่ใชกับเครื่องสูบน้ําดับเพลิง
และ Jockey Pump ใหใชเปYน Silent Check Valve

ตัวอย,างมาตรฐานที่แนะนําใหใช คือ
- Valmatic Globe Style Silent Check Valve 1800 Series ANSI Class 125
- NIBCO Fig. No. F-908-W 175 psi
- Tyco

9-20
3.18.4 วาล!วระบายอากาศอัตโนมัติ (Automatic Air Vent Valve)

- ใหเปYนเหล็กไรสนิมแบบ SS Trim กัน Eelctrolytic Action ไม,มีส,วน


Restrictive Area ตัวลูกลอยเปYนเหล็กไรสนิม, ตัวเรือนและฝาเปYนเหล็กหล,อตัว
Seat เปYนวัสดุสังเคราะห! สามารถป{ดน้ําไดสนิทแน,นตลอดเวลา ไม,มีการรั่วซึม
แมกระทั่งเมื่อมีความดันในเสนท,อต่ําชนิด 300 psi ขนาด ¾ inlet ขนาด
orifice 1/16” สามารถไล,ลมไดไม,ต่ํากว,า 5 CFM ของอากาศที่ความดันในท,อ =
5 psi

ตัวอย,างมาตรฐานที่แนะนําใหใช :-
- VAL-MATIC
- Metraflex

3.18.5 วาล!วสัญญาณ (Alarm Check Valve)

เปYนวาล!วควบคุมการเป•ดน้ําเขาระบบตองได UL Listed และ FM Approved วาล!วจะ


เปYนแบบติด ตั้ง ในแนวดิ่งหรือแนวนอนตามที่ระบุใ นแบบตัวเรือน (Body) เปYนท, อ
เหล็กหล,อ และมีลิ้นวาล!ว (Clapper) เปYนทองเหลืองที่ตัวเรือนของ Alarm Valve
จะตองมีฝาป•ด-เป•ด (Handhole Cover) ยึดติดกับตัวเรือนดวย Nut โดยมีซีลยางกันรั่ว
รองรับอยู,เพื่อใชตรวจทําความสะอาดอุปกรณ!ภายใน

รายละเอียดการติดตั้ง Alarm Valve ร,วมกับอุปกรณ!ต,าง ๆ โดยทั่วไปเพื่อระบบทํางานได


อย,างสมบูรณ! เช,น ในแบบรายละเอียดวาล!วจะตองทนแรงดันใชงานไดไม,นอยกว,า 250
ปอนด! ต,อตารางนิ้ว มีเกจ!วัดความดัน, Retard Chamber, Pressure Switch, Testing
Bypass

ตัวอย,างมาตรฐานที่แนะนําใหใช :-
- Gem
- Victaulic
- Viking
- Glove
- OCV

9-21
3.18.6 ระฆังน้ํา (Water Alarm Gong)

(1) จะตองติดตั้งในตําแหน,งที่ปรากฏในแบบ

(2) ระฆังจะตองทํางานทันทีเมื่อ Alarm Valve เป•ด และมีน้ําไหลเขาสู,ระบบท,อน้ํา


ดับเพลิง
(3) ท,อระบายน้ําทิ้งเมื่อผ,านเขาระฆังน้ําแลว จะตองต,อท,อระบายน้ําทิ้งออกไปยังท,อ
ระบายน้ํารวมของระบบ

ตัวอย,างมาตรฐานที่แนะนําใหใช :-
- Gem
- Victaulic
- Viking
- Globe

3.19 หัวกระจายน้ําดับเพลิง (Sprinkler Head)

หัวกระจายน้ําดับเพลิงที่ใชในอาคารส,วนสํานักงาน, โถงลิฟท! และที่อื่น ๆ ตามที่ระบุในแบบ ตองเปYน


แบบ Glass bulb and pendent type, chrome plated finishes และมี Chrome ceiling plate
ทําดวยทองเหลืองชุบโครเมียม มีรูขนาด ½ นิ้ว อุณหภูมิกําหนดคือ 135˚F/57˚C และที่ใชในหอง
เครื่อง, ทางเดินที่ไม,มีฝ"า, ที่จอดรถ และที่อื่นๆ ตามที่ระบุในแบบใหใชเปYน Fusible Link Upright
Type, ทําดวยทองเหลืองชุบโครเมียม มีรูเจาะขนาด ½” นิ้ว อุณหภูมิกําหนดคือ 155˚F/66˚C

ตัวอย,างมาตรฐานที่แนะนําใหใช :-
- Victaulic
- Gem
- Viking
- Globe
- Angus

หัวสปริงเกอร!น้ําสํารอง

ผูรั บจางจะตองจั ดหาหัวสปริ งเกอร!น้ํ า สํ ารอง ซึ่ ง มี ขนาดอุณ หภู มิก ารทํา งาน และคุ ณ สมบั ติ อื่ น
เช,นเดียวกันกับที่ติดตั้งในระบบพรอมกับตูบรรจุ และประแจพิเศษสําหรับใชในการถอด และติดตั้งหัว
สปริงเกอร!สํารองจะตองมีจํานวนตามชนิดของหัวสปริงเกอร!ตามที่ระบุใน NFPA 13- Standard for
the Installation of Sprinkler System

9-22
3.20 Flow Switch

Flow switch เปYนแบบ Vapour-proof, single pole, double throw switch ติดตั้งที่ ท,อเมน
sprinkler แยกจากท,อ riser หรือตําแหน,งอื่นตามที่ระบุไวในแบบ

ตัวอย,างมาตรฐานที่แนะนําใหใช :-
- Potter - Electric
- Gem
- System Sensor

3.21 Supervisory Switch

Supervisory Switch จะตองเปYนแบบ

- Contact Rating ไม,ต่ํากว,า 2A, 30 VDC


- จะตองสามารถต,อร,วมกับ Fire Alarm Building ได
- มีอุปกรณ!ร,วมที่สามารถทําใหระบบ Fire Alarm สามารถตรวจสอบสายที่มา
ต,อกับ Supervisory Switch ได

ตัวอย,างมาตรฐานที่แนะนําใหใช :-
- Potter Electric
- Gem
- System Sensor

3.22 เกจวัดความดัน

เปYนแบบเหล็กไรสนิม ขนาดเสนผ,าศูนย!กลางไม,ต่ํากว,า 3 ½“ พรอม Double Strength Glass Window


ตัวเลขสีดํา และแดงบนหนาป{ดสีขาวอ,านไดง,ายและชัดเจน มีสเกลทั้งปอนด!/ตารางนิ้ว และบาร! ช,วงสเกลเปYน 0-300
psi. หรือ 0-20 bar ความแม,นยําใหมีความคลาดเคลื่อน +/-1% ติดตั้งพรอม Air cock, Coil siphon และ Pressure
snuber, ¼” Close nipple

ตัวอย,างมาตรฐานที่แนะนําใหใช :-
- Terrice
- Winters
- Ashcroft

9-23
3.23 Sprinkler System Graphic Annunciator

ผูรับจางจะตองจัดทํา Graphic annunciator ประกอบดวย Fire Riser Diagram Graphic,


supervisory valve lamp, Flow switch lamp, Lamp Test Push button, Reset push
button. Audible alarm. High Water Level Alarm, Low Water Level Alarm โดยวัสดุที่ใช
ทําจะตองเปYนแผ,นแสตนเลส กัดเซาะร,อง แสดงตัวอักษร และไดอะแกรม ใหสามารถมองเห็นได
ชัดเจน

ผูรับจางจะตองส,ง Shop drawing เพื่อขออนุมัติก,อนจัดทํา Graphic Annunciator

3.24 ท,อน้ํา (Piping Specification)

(1) ท,อน้ําที่นํามาใชระบบดับเพลิง จะตองมีคุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑ!ที่กําหนด ใน


ตารางที่ 1 โดยกําหนดใหคุณสมบัติทางเคมี คุณสมบัติทางกายภาพ ขนาดและ น้ําหนัก
ของท,อน้ํา จะตองมีมาตรฐานอย,างนอยที่สุดเทียบเท,ากับมาตรฐานผลิตภัณฑ! อันใด
อันหนึ่งที่กําหนดในตารางดังกล,าว

(2) ท,อน้ําที่นํามาใชในระบบท,อยืน จะตองสามารถทนความดันใชงานไดไม,นอยกว,า 12 กก.


ต,อตร.ซม. (175 psi หรือ 12.1 bars)

ตารางที่ 1: ท,อน้ํา (PIPING)

ชนิดท,อน้ํา มาตรฐานที่กําหนด
- ท,อเหล็กกลาอบเหนียว (Ductile Iron Pipe) ANSI A 21.51
- ท,อเหล็กเชื่อม สําหรับใชงานปกติ (Welded and ASTM A 120
Seam Steel Pipe for Ordinary Uses)
- ท,อเหล็กเชื่อม ใชงานหนัก (Welded and Seam ASTM A 53
Steel Pipe)
- ท,อเหล็กตี (Wrought Steel) ANSI B 36.10

3.25 ขอต,อ (Fitting)

(1) ขอต,อน้ําที่นํามาใชในระบบท,อดับเพลิง จะตองมีคุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑ!ที่กําหนด


ในตารางที่ 2 โดยกํ า หนดใหคุ ณ สมบั ติ ท างเคมี คุ ณ สมบั ติ ท างกายภาพ ขนาดและ

9-24
น้ําหนักของวัสดุจะตองมีม าตรฐานอย,างนอยที่สุดเทียบเท,ากับมาตรฐานผลิตภัณฑ! อันใด
อันหนึ่งที่กําหนดในตารางดังกล,าว

(2) ขอต,อท,อน้ําที่นํามาใชในระบบท,อยืน จะตองสามารถทนความดันใชงานไม,นอยกว,า 12 กก.


ต,อ ตร.ซม. หรือ 175 psi (ความดันน้ํา) หรือไม,นอยกว,า 8.8 กก. ต,อ ตร.ซม. หรือ 125
psi (ความดันไอน้ําอิ่มตัว)

(3) ขอต,อท,อน้ําที่ใชในระบบท,อยืน จะตองเปYนแบบทนความดันสูง (Extra Heavy Pattern) ใน


กรณีที่มีความดันในระบบเกินกว,า 12 กก. ต,อ ตร.ซม. (175 psi)

ตารางที่ 2 : ขอต,อ (FITTINGS)

ชนิดท,อน้ําและขอต,อ มาตรฐานที่กําหนด
- ท,อเหล็กอบเหนียว (Malleable Iron) ANSI B 16.3
ขอต,อชนิดต,อเกลียว ขนาด 10 กก. ต,อ ตร.ซม.
(Class 150 และขนาด 20 กก. ต,อ ตร.ซม.
Class 300)
- ขอต,อใชขอต,อชนิด Buttweld Fittings ANSI B 16.9
- ขอต,อสําหรับท,อเหล็กตี (Wrought Carbon - ASTM A 234
Steel)
- ขอต,อแบบหนาจาน (Steel Pipe Flanges and ANSI B 16.5
Flanged Fittings)
- ขอต,อแบบบัดกรี (Forged Steel Fitting, ANSI B 16.11
Socket Welded and Threaded)

(4) ขอยกเวน (Exception)

- ขอต,อท,อน้ําเหล็กเหนียวขนาดมาตรฐาน (Standard Weight Pattern Malleable


Iron Fittings) ขนาด 150 มม. และเล็กกว,า ใหใชได ในกรณีที่ความดันไม,เกิน 21
กก. ต,อ ตร.ซม. (300 psi)

- การต,อขอต,อกับท,อน้ํา จะตองใชวิธีต,อดวยเกลียวหนาแปลน หรือการต,อแบบเชื่อม


มาตรฐานของขอต,อเชื่อมจะตองตรงตาม ANSI B 16.9, ANSI B 16.25 และ
ASTM A 234

- ขอต,ออ,อน (Expansion Joint or Flexible Couping) จะตองติดตั้งในตําแหน,งที่


ตองการรองรับการขยายตัวในกรณีที่จําเปYน หรือป"องกันการทรุดตัวของท,อ ในกรณีที่

9-25
อาคารอาจจะทรุดตัวไม,เท,ากัน ขอต,ออ,อนทําดวย Stainless steel ต,อแบบหนา
แปลน สามารถทนแรงดันไดไม,นอยกว,า 1.5 เท,า ของแรงดันเครื่องสูบน้ําดับเพลิง

3.26 การติดตั้งท,อน้ํา

3.26.1 ขอกําหนดทั่วไป

(1) ติดตั้งท,อน้ําและอุปกรณ!เขากับอุปกรณ!สายส,งน้ําดับเพลิง ตามรายละเอียดของ


ผูผลิตใหพรอมต,อการทํางานปกติ

(2) ติดตั้งอุปกรณ!อื่นๆ เขากับท,อ อันไดแก, ท,อระบายอากาศ (Vent) ท,อน้ําทิ้งตาม


จํานวนที่จําเปYนตามความตองการ

(3) แบบระบบป"องกันอัคคีภัยเปYนเพียง Diagram แสดงใหเห็นแนวทางการเดินท,อน้ํา


ส,วนการเดินท,อและจัดท,อจริง หรือเพื่อความสะดวกง,ายต,อการเขาถึงทุกส,วนของ
ท,อ เนื่องจากขอกําหนดจากขนาดของแบบช,วงท,อหักเลี้ยวหลบขอต,อวาล!ว
อาจจะไม,ไ ดแสดงไวในแบบ นอกจากนั้นผูรับจางตองตรวจสอบแบบสถาปนิก
โครงสราง ปรับอากาศ ประปา สุขาภิบาล และแบบไฟฟ"า เพื่อตรวจสอบ
ผนังฝ"า เพดาน คาน ที่ตั้งของช,องท,อ (Pipe Shafts) และขอขัดแยงจากงาน
อื่นๆ เพื่อการหักท,อหลบติดตั้งวาล!วขอต,อต,างๆ เท,าที่จําเปYนกับสภาพนั้น ๆ

(4) การติดตั้งท,อน้ํา จะตองเปYนไปโดยถูกตอง โดยการวัดขนาดความยาวแทจริง ณ


สถานที่ติดตั้ง การติดตั้งที่ไม,ก,อใหเกิดแรงกดดันกับระบบ ท,อประตูหนาต,าง และ
ช,องเป•ดอื่นๆ

(5) การติดตั้งท,อน้ํา จะตองปล,อยใหมีการยืดและหดตัว โดยไม,เกิดความเสียหายต,อ


ขอต,อต,างๆ

(6) ท,อน้ําในแนวดิ่ง จะตองยึดใหขนานกับแนวผนัง หรือเสา และตองเปYนแนวตรง


ผงตะไบฝุŒนต,างๆ จะตองกวาดออกจากภายในท,อ ผิวนอกท,อเหล็กกลาดําตอง
ทาสีกันสนิมอย,างนอย 2 ชั้น และทาสีแดงอีก 1 ชั้น

(7) ท,อน้ําตองติดตั้งใหมีแนวเอียง เพียงพอแก,การระบายน้ําทิ้ง หรือระบายอากาศ


ออก (Venting)
(8) ปลายเป•ด ของท,อ หรืออุป กรณ!จะตองป• ด เพื่ อป"องกั นฝุŒนผง เศษผงเขาไปอยู,
ภายในท,อ เพื่อสะดวกในการซ,อมบํารุงเปลี่ยนแปลงในระบบท,อ ตองมียูเนี่ยนหรื
อหนาแปลนเท,าที่ปรากฏในแบบระหว,างขอต,อเขาอุปกรณ!หรือเทียบเท,าที่จําเปYน
อื่นๆ

9-26
(9) ใชขอต,อที่ไดมาตรฐาน ในการต,อที่ที่เปลี่ยนแปลงแนวทางเดิน เปลี่ยนขนาด
หรือมี ขอแยก

(10) แนวท,อ ตองจั ด ใหสามารถเขาถึ ง ไดโดยง, า ย เพื่ อประโยชน! ใ นการบํ า รุ งรัก ษา


ซ,อมแซมเปลี่ยนอุปกรณ!

(11) ติดตั้งวาล!ว ใหกานวาล!วอยู,ในแนวดิ่งใหมากที่สุด

(12) หลังจากต,อท,อดวยแบบขันเกลียว หรือเชื่อมร,องเกลียวส,วนที่เหลือโผล,ออกมา


และรอยเชื่ อ มต, อ ทุ ก แห, ง จะตองใชแปรงลวดขั ด แลวทาสี กั น สนิ ม Zinc
Chromate

3.26.2 การต,อท,อ

(1) การต,อท,อแบบเชื่อม (Welding Joints)

- สํ า หรั บ ท, อ เหล็ ก ดํ า ใหใชการเชื่ อ มรอยต, อ ทุ ก แห, ง ยกเวนส, ว นที่ เ ปY น


ยูเนียนหรือหนาแปลน ซึ่งเตรียมไวสําหรับการถอดออกได
- ท,อขนาดใหญ,ที่จะนํามาเชื่อม ตองลบปลายใหเปYนมุมประมาณ 35-40
องศา โดยการเจียรก,อนการลบปลาย อาจใชหัวเชื่อมตัด แต,ตองใชฆอน
เคาะออกไซด! และสะเก็ตโลหะออกพรอมทั้งเจียรใหเรียบรอยก,อนการ
เชื่อม
- การเชื่อมขอต,อ จะตองเชื่อมแบบ Butt-Welding โดยมีมาตรฐานและ
น้ําหนักของขอต,อท,อตาม ASA.B 16.9
- การเชื่อมท,อตองเปYนไปอย,างสม่ําเสมอทั่วทั้งท,อ ใหโลหะที่นํามาเชื่อม
ละลายเขาหากันไดอย,างทั่วกึง
- ก,อนการเชื่อมตองทําความสะอาดส,วนปลายที่จะนํามาเชื่อม ตั้งปลายท,อ
ที่จะนํามาเชื่อมใหเปYนแนวตรง เวนช,องว,างระหว,างท,อนที่นํามาเชื่อมเพื่อ
ป"องกันการป•ดระหว,างการเชื่อม
- หามใชของอที่เชื่อมขึ้นมาเองในงาน
- มาตรฐานในการปฏิบัติงานเชื่อม ตองเปYนไปตามมาตรฐานของ AWS

(2) การต,อแบบใชหนาแปลน (Flanges)

- วาล!วที่ใชกับท,อขนาด 2-1/2" ขึ้นไป ใหใชการต,อท,อเขากับท,อดวยหนา


แปลน
- การยึดจับหนาแปลนของท,อสองท,อ ตองขนานกันและอยู,ในแนวเดียวกัน
หนาแปลนทั้งสองตองยึดจับแน,นดวยสลักเกลียว

9-27
- หนาแปลนและยูเนียน จะตองมีหนาราบเรียบ ไม,คดเอียง มีปะเก็นยาง
สังเคราะห!แบบเต็มหนา หรือปะเก็น Asbestos (ใชกับท,อนอกอาคาร)
สวมสอดอยู,
- สลักเกลียวที่ใ ชยึด จับ หนาแปลนขันเกลียวร,วมกั น แป" นเกลียวเมื่อขั น
เกลียวต,อแลว โผล,เ กลียวออกมาจากแป"นเกลียวไม,เกิน ¼ เท,าของ
เสนผ,าศูนย!กลางของสลักเกลียว สลักเกลียวและแป"นเกลียวที่จะใชจะตอง
ทําดวยวัสดุเหล็กผสม นิเกิ้ลหรือโลหะที่ไม,เปYนสนิมไดง,าย

(3) การแขวนและรองรับท,อ (Pipe Supports and Hangers)

- อุปกรณ!แขวนท,อและรองรับท,อ จะตองเปYนชนิดที่ไดรับการรับรองแลว
ซึ่งตองสามารถรับน้ําหนักของท,อในตําแหน,งที่เหมาะสมไดอย,างปลอดภัย
- อุปกรณ!แขวนท,อ และรองรับท,อจะตองมีจํานวนเพียงพอเพื่อป"องกันการ
สั่นสะเทือนของท,อน้ํา
- ที่แขวนท,อสําหรับท,อในแนวนอน จะตองรับน้ําหนักได 5 เท,า ของ
น้ําหนักที่บรรจุในท,อ บวกกับ 114 กก. อีกต,างหาก กระทําตรงจุดแขวน
ท,อ
- การรองรับท,อยืน จะตองรองรับโดยอุปกรณ!ที่ยึดติดกับท,อยืนโดยตรง
- จะตองจัดใหมีที่รองรับท,อยืนที่ชั้นต่ําสุด ทุกชั้นเวนชั้น และชั้นยอดสุดที่
รองรับชั้นต่ําสุด จะตองรั้งท,อกันมิใ หเคลื่อนขึ้นขางบน เมื่อต,อดวยขอ
ต,อยืดหยุ,น (Flexible Fitting)
- แคลม ที่ใชรองรับท,อโดยใชเกลียวหามนํามาใช
- การรองรับท,อในแนวนอน : ท,อนอนที่ต,อจากท,อยืนไปเขาประตูน้ําที่ตู
ดับเพลิง ถายาวเกินกว,า 18 นิ้ว (457 มม.) จะตองมีที่แขวนท,อ
- ท,อในแนวนอน จะตองมีที่แขวนท,อ เวนระยะห,างไม,เกิน 4.60 ม. (15
ฟุต)
- ตองทาสีกันสนิม Red Lead Primer 1 ชั้น และทาสีแดงทับอีกสองชั้น
(One Prime Coat and Two Finish Coats)
- ที่ ร องรั บ ท, อ ที่ ใ ชนอกอาคารทํ า ดวยเหล็ ก ชุ บ สั ง กะสี (Hot Dip
Galvanized) โดยจะตองสรางที่รองรับท,อเสร็จเรียบรอยแลวจึงนําไปชุบ

(4) ปลอกรอยท,อ (Pipe Sleeve)

- ปลอกรอยท,อ ตองฝ{งไวในบริเวณที่ท,อน้ําเดินผ,านผนัง คาน หรือเพดาน


คอนกรีต
- ปลอกรอยท,อ จะตองกวางกว,าขนาดท,อที่ลอดอย,างนอย 1" และตองยาว
ตลอดช,วงที่ผ,านทะลุโครงสรางนั้น ท,อก,อนฝ{งตองทาสีกันสนิมอย,างนอย
2 ชั้น
- ช,องว,างระหว,างหัวกับปลอกรอยท,อตองอุดดวยวัสดุทนไฟ

9-28
3.27 การทาสี (Painting)

ผูรับจาง จะตองจัดการทาสีวัสดุอุปกรณ! ทั้งหมดที่ทําการติดตั้งสําหรับระบบดับเพลิงใหเสร็จสิ้นก,อน


ส,งมอบงาน ซึ่งรวมทั้งอุปกรณ!ท,อทั้งหมดดวย

รายการที่ผูรับจาง จะตองทําการทาสีครอบคลุมถึงท,อ ที่แขวนท,ออุปกรณ!รองรับทั้งหมด

การทาสี ใหทาสีกันสนิมรองพื้น (Prime Coat) ก,อน แลวทาทับสีสําเร็จอีก 2 ชั้น (Finish Coat) ใช


สีแดงเพลิง การทา จะตองปฏิบัติดวยกรรมวิธีตามคําแนะนําของผูผลิตหรือผูแทนจําหน,าย

สีที่ใชใหใชสี โจตัน หรือที่อนุมัติเทียบเท,า

สําหรับท,อที่เดินใตดิน การทาสีใหปฏิบัติตามการทาสีที่กล,าวไวในหัวขอระบบประปาหัวขอ 4.4

3.28 การทําความสะอาดและลางท,อ (Cleaning and Flushing)

ท,อในระบบดับเพลิงทั้งหมด จะตองไดรับการทําความสะอาดอย,างทั่วถึงก,อนเริ่มใชงาน ทั้งนี้เพื่อ


ป"องกันสิ่งสกปรก Piping Compound, Mill Scale น้ํามัน และวัสดุแปลกปลอมอย,างอื่นติดเขาไป
ในน้ํา
ภายหลังจากการทําความสะอาดและลางท,อระบบแลว ระบบดับเพลิงจะไดรับการทดสอบเพื่อดูว,า
ทํางานไดเรียบรอยต,อหนาวิศวกรคุมงาน

3.29 การทดสอบระบบ (Test)

การทดสอบระบบหมายถึง การทดสอบดวยกําลังอัดดันของน้ําในระหว,างการติดตั้ง และ ภายหลัง


การติดตั้งระบบท,อยืนแลว รวมถึงการทดสอบเปYนระยะๆ ในระยะเวลาที่กําหนด ไวดวย รวมถึง
การลางท,อน้ําภายหลังการติดตั้ง

3.29.1 การทดสอบระบบท,อน้ํา

(1) ระบบท,อยืนที่ติดตั้งเสร็จ จะตองไดรับการทดสอบดวยแรงดันของน้ํา โดยอัดน้ํา


เขาไปในระบบท,อทั้งหมดดวยความดันไม,นอยกว,า 14 กก. หรือ ตร.ซม. (200
PSI) เปYนเวลา 2 ชั่วโมง หรือ 3.5 กก. ต,อ ตร.ซม. เหนือกว,า normal pressure
ในกรณีที่ความดันสถิตย!ในท,อน้ําเกินกว,า 10.5 กก. ต,อ ตร.ซม. (150 psi)
ระบบท,อยืน ทั้งหมดจะตองไม,มีการรั่วของน้ําปรากฏใหเห็น

9-29
(2) ปริมาณน้ําที่รั่วออกจากระบบท,อยืน ขณะกําลังอัดความดันตามความดันทดสอบ
ที่ระบุใน (1) ซึ่งอ,านไดจากภาชนะที่อ,านค,าได สําหรับท,อใหม,ปริมาณน้ําที่รั่ว
จะตองไม,เกินกว,า 2 ลิตรต,อชั่วโมง ต,อขอต,อ 100 จุด

(3) ปริมาณน้ําที่รั่วออกจากระบบ อาจจะยินยอมใหเพิ่มขึ้นได 30 มิลลิลิตรต,อวาล!ว


ขนาด ∅ 25 มม. เสนผ,าศูนย!กลางต,อชั่วโมงสําหรับวาล!วที่มีหนาสัมผัสของ
วาล!วเปYนโลหะ
(4) ท,อส,วนที่อยู,ระหว,างหัวรับน้ําพนักงานดับเพลิง และเช็ควาล!วจะตองไดรับการ
ทดสอบดวยแรงดันน้ําเช,นเดียวกันกับใน (1)
(5) ท,อส,วนที่อยู,ระหว,างหัวรับน้ํา พนักงานดับเพลิง และเช็ควาล!วหลังจากการติดตั้ง
จะตองไดรับการลางท,อดวยปริมาณน้ําที่กําหนดก,อนติดตั้งหัวรับน้ําเขากับระบบ
ท,อ

3.29.2 การทดสอบเปYนระยะๆ (Periodic Inspection)

(1) การทดสอบระบบท, อยื น เปYน ระยะๆ โดยกระทํ าเปYน ส, วนๆ ของระบบท, อยื น
จะตองกระทําอยู,เสมอ โดยบุคลากรที่ไดรับมอบหมายและรับผิดชอบต,อระบบ
อย,างเขมงวด

(2) ถังเก็บน้ําจะตองมีอยู,เสมอ และในกรณีที่ใชระบบถังน้ํารักษาความดัน ความดัน


ในถังจะตองรักษาไวที่ 5.2 กก. ต,อ ตร.ซม. (75 psi) ตลอดเวลา

(3) วาล!วในระบบท,อเมนมายังแหล,งที่ช,วยน้ําอัตโนมัติ ปกติจะตองเป•ดตลอดเวลา


(Normally Open) วาล!วน้ําออกจะตองตรวจดูเสมอว,าไม,มีการรั่วไหลของน้ํา

3.30 แบบสรางจริง (As-Built Drawings)

เมื่องานเสร็จสมบูรณ!แลวจะตองส,ง “แบบแปลนสรางจริง” 3 ฉบับ ประกอบดวย Approved


Drawing ทั้งหมดพรอมทั้งที่มีการแกไขและดัดแปลงตามที่ไดสรางจริงใหแก,เจาของงาน

3.31 หนังสือคู,มือแนะนําในการทํางาน (Operating Instructions and Manual)

ผูรับจาง จะตองมอบหนังสือคู,มือแนะนําในการทํางาน ซึ่งเปYนคําแนะนําในการใชอุปกรณ! บํารุงรักษา และ


คู,มืออุปกรณ!สํารอง (Spare Part List) อย,างนอย 3 ชุด ใหแก,เจาของงานเมื่องานเสร็จสมบูรณ!แลว

9-30
ระบบปองกันอัคคีภัย
4. ระบบสายฉีดน้าํ ดับเพลิง และอุปกรณ"
4.1 ความตองการทั่วไป
1) สายฉีดน้ําดับเพลิง และ อุปกรณ!ที่ใชเปYนวัสดุที่นําเขาจากต,างประเทศ หรือผลิตภายในประเทศ
ภายใตมาตรฐานผลิตภัณฑ!อุตสาหกรรมหรือ มอก. และไดรับใบรับรองจาก มอก. ดวย
4.2 วัสดุและโครงสราง
1) ระบบสายฉีดน้ําดับเพลิง และอุปกรณ!
1. ตูเก็บสายส,งน้ําดับเพลิง
• เปYนตูเหล็กพ,นสีแดง มีรูปร,าง และขนาดตามแบบเหมาะสมที่จะบรรจุสายส,งน้ําเหล็ก
ประกอบตูจะตองมีความหนาไม,ตา่ํ กว,า 16 AWG เมื่อประกอบตูเสร็จแลว ก,อนพ,นสีจริง
จะตองลางผิวเหล็กดวยน้ํายาลางสนิมทําความสะอาดแลวเคลือบผิวดวยน้ํายาฟอสเฟต
และเมื่อพ,นสีจริงแลวจะตองนําไปอบสีที่อุณหภูมิที่เหมาะสม เพื่อใหสีมีความแข็งทนต,อ
การขีดข,วน ประตูตูจะตองสามารถเป•ดได 180 ํ การติดตั้งตูจะตองตั้งลอย ฝ{ง หรือตั้ง
พื้นตามที่แสดงไวในแบบอุปกรณ!ประกอบตูอื่น ๆ มีดังนี้คือ.-
- ที่ล็อคประตูพรอมมือจับ
- บานพับประตูแบบซ,อนใน
- ช,องสําหรับใหช,องน้ําเขา ตูมีขนาดพอเหมาะ และมีโอริง โดยรอบช,อง
- ตัวหนังสือแสดงชื่อ และเลขที่กล,องอย,างชัดเจน ถาวร
2. ชุดสายส,งดับเพลิง (Automatic Swinging Fire Hose Reel)
• ชุดส,งสายดับเพลิง Automatic Swinging Fire Hose Reel ตองเปYนผลิตภัณฑ!ที่ประกอบ
ครบชุดสมบูรณ!ไดมาตรฐาน BS EN 671-1 ชุดดังกล,าวประกอบดวยกงลอมวนสาย ทํา
จากแผ,นเหล็กขึ้นรูปหนาอย,างนอย 1.2 มิลลิเมตร เคลือบสีแดง และสายยางส,งน้ําสีแดง
เสริมใหแข็งแรงดวยเสนใยถัก สายชั้นนอกเคลือบดวย Thermoplastic Polymer สาย
ยางไดมาตรฐาน Pr EN 694 จะตองประกอบดวยคุณสมบัติและอุปกรณ!ที่สําคัญ ดังนี้
- แรงดันทดสอบครบชุดรวมอุปกรณ! (Fire Hose Reel Test Pressure): 20 Bar (300
PSI) เปYนอย,างนอย
- วาล!วควบคุมอัตโนมัติทําจากโลหะที่ไม,เปYนสนิม เมื่อดึงสายฉีดออกจากกงลอสายประมาณ
1.5 เมตร (5 ฟุต) วาล!วจะเป•ดฉีดน้ําผ,านสายอัตโนมัติ
- สายยางส,งน้ําตองทนแรงดันใชงาน (Working Pressure) ได 15 Bar (220 PSI) แรงดัน
ทดสอบ (Test Pressure) ได 24 Bar (350 PSI) แรงดันเมือ่ แตกระเบิด (Burst
Pressure) ได 48 Bar (700 PSI)

9-31
3. หัวฉีดน้ําแบบปรับน้ําได (Jet/Spray/Shut-Off Nozzle) ขนาดสําหรับสาย 25
มิลลิเมตร (1นิ้ว) ความยาว 30 เมตร (100 ฟุต) และมีรูฉีด (Orifice) ขนาด 9
มิลลิเมตร (3/8 นิ้ว) ขดมวนสายทําจากแผ,นเหล็กขึ้นรูปพ,นสีแดงเช,นเดียวกับตูเก็บสาย
ส,งน้ําดับเพลิงที่กลางขดทําดวยโลหะหล,อไม,เปYนสนิม มีโบลท!ยึดกับผนังพรอม
4. หัวรับน้ําสําหรับตํารวจดับเพลิง (Fire Department Connection) เปYนหัวรับน้ํา 2 ทาง
ไดมาตรฐาน UL และ FM มีลิ้นกันน้ํากลับ (Check Valve) พรอมกันอยู,ในตัว และมีฝา
ครอบชุบดวยโครเมีย่ มและโซ,คลองครบชุดหัวรับน้ําจะตองทําจากวัสดุอลูมิเนียมผสม
ทองเหลือง หรือวัสดุอื่นๆ ที่มีความคงทนแข็งแรง สามารถทนแรงดันขณะใชงาน
(Working Pressure) ไดไม,ต่ํากว,า 12 กิโลกรัมต,อลูกบาศก!เซ็นติเมตร (175 ปอนด!ต,อ
ตารางนิ้ว) นอกจากนี้จะตองมีป"ายขนาดไม,เล็กกว,า 0.25 เมตร x 0.50 เมตร พรอมคํา
ว,า "หัวรับน้ําดับเพลิง" ติดตั้งอยู,ปา" ยทําจากแผ,นเหล็กพ,นสีตามกรรมวิธีเช,นเดียวกับตูเก็บ
สายส,งน้ําหัวรับน้ําดับเพลิงทุกชุด จะตองมีวาล!วกันน้ํากลับ (Check Valve) ติดตั้ง
ต,างหากในเสนท,อทุกเสนดวย
5. หัวดับเพลิง (Hydrant)
• เปYนหัวน้ําออก 2 ทาง สําหรับต,อกับสายฉีดน้ําดับเพลิงขนาด 65 มิลลิเมตร (2 1/2 นิ้ว)
พรอมวาล!วป•ด-เป•ดขนาดเดียวกัน ขอต,อความเร็ว ฝาครอบพรอมโซ, และสายส,งน้ํา
ดับเพลิง (Fire Hose)
• หัวดับเพลิงตองสามารถทนแรงดันใชงาน (Working Pressure) ไดไม,ต่ํากว,า 12 กิโลกรัม
ต,อลูกบาศก!เซ็นติเมตร (175 ปอนด!ต,อตารางนิ้ว)
6. เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ (Portable Fire Extinguisher)
• เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมี A-B-C เปYนเครื่องมือดับเพลิงชนิดผงเคมี ใชสําหรับดับเพลิงได
3 ประเภท A-B-C (Mulipurpose Dry Chemical Portable Fire Extinguisher)
ขนาด 10 ปอนด! ตัวถังทําจากเหล็กกลาพ,นสี และมีคุณสมบัตติ รงตามขอกําหนดของ
Department of Transportation (D.O.T.) สามารถทนความดันทดสอบ (Hydrostatic
Test Pressure) ไดไม,ต่ํากว,า 35 กิโลกรัมต,อลูกบาศก!เซ็นติเมตร (500 ปอนด!ต,อ
ตารางนิ้ว) ความดัน สําหรับใชขับผงเคมี ใหใชความดันจากแกˆสประมาณ 13 กิโลกรัม
ต,อลูกบาศก!เซ็นติเมตร (190 ปอนด!ต,อตารางนิ้ว)
• อุปกรณ!สายฉีด หัวฉีด วาล!วจะตองสามารถทนแรงดัน ไดัไม,ต่ํากว,า 1.5 เท,า ของแรงดัน
แกˆสปกติ ผงเคมีที่ใชเปYนสารประเภทโมโนแอมโมเนียมฟอสเฟต ผสมสารพิเศษ เพื่อ
ป"องกันการจับตัวเปYนกอนไดง,าย มีจุดประสงค!เพื่อใชบรรจุในเครื่องดับเพลิงเคมี
โดยเฉพาะ และมีประสิทธิภาพในการดับเพลิงสูง ในการเสนอขอการรับรอง เครื่อง
ดับเพลิงเคมีจากวิศวกรผูออกแบบนี้ ผูรับจางจะตองสาธิตการดับเพลิง เพื่อแสดง
ประสิทธิภาพในการดับเพลิงของเครื่องดับ เพลิงใหชมจนเปYนที่พอใจดวย หรือจะตองมี
ความสามารถในการดับเพลิงไดเทียบเท,า กับค,า Rating 6A : 20 BC โดยผ,าน
มาตรฐานของ มอก.332-2537 (TIS 332-1994) ผูรับจางจะตองรับประกันเครื่อง
ดับเพลิงทุกเครื่องมีกําหนดเวลา 5 ป~
4.3 วิธีการก,อสราง
1) การติดตั้ง
การติดตั้ง ใหติดตั้งตามคู,มือของอุปกรณ!ตา, ง ๆ โดยเคร,งครัด

9-32
2) การทดสอบ
1. ใหทดสอบดวยกําลังอัดดันของน้ําในระหว,างการติดตั้ง และภายหลังการติดตั้ง
ระบบท,อยืน แลวรวมถึงการลางท,อน้ําภายหลังการติดตั้งดวยเครื่องสูบน้ํา
2. การทดสอบระบบท,อน้ํา ระบบท,อน้ํายืนที่ติดตั้งเสร็จแลวจะตองไดรับการ
ทดสอบ ดวยแรงดันของน้ํา โดยอัดน้ําเขาไปในระบบท,อน้ํายาทั้งหมดดวยความดันไม,นอย
กว,า 1,378 กิโลปาสกาล (200 ปอนด!ต,อตารางนิ้ว), หรือเพิ่มความดันขึ้นอีก
345 กิโลปาสกาล (50 ปอนด!ต,อตาราง นิ้ว) ในกรณีที่ความดันสถิตในท,อน้ําเกินกว,า
934 กิโลปาสกาล (150 ปอนด!ต,อตารางนิ้ว) เปYนเวลา 2ชั่วโมงระบบท,อยืน
ทั้งหมด จะตองไม,มีการรั่วของน้ําปรากฏใหเห็น
3) การลางท,อน้ํา
1. ใหลางระบบท,อน้ําที่ตดิ ตั้งเสร็จเปYนส,วนๆ โดยกําหนดใหมีอัตราการไหลของน้ํา
ให มีขนาดท,อที่ระบุดานล,าง
2. อัตราการไหลของน้ําในการลางท,อ ต,อเสนผ,าศูนย!กลางท,อ
ขนาดของท,อ อัตราการไหลของน้ํา
มิลลิเมตร (นิ้ว) (ยูเอส แกลลอนต,อนาที)
φ 100 mm. (4") 390
φ 150 mm. (6") 880
φ 200 mm. (8") 1,560
φ 250 mm. (10") 2,550
φ 300 (12") 3,250
3. อัตราการไหลของน้ํานอยที่สุดในการลางท,อ จะตองไม,นอยกว,าทีร่ ะบุไวในตาราง
หรือความเร็วของน้ําจะตองไม,นอยกว,า 3 เมตรต,อวินาที (10 ฟุตต,อวินาที)
4. ท,อส,วนที่อยู,ระหว,างหัวรับน้ําพนักงานดับเพลิง และเช็ควาล!ว หลังจากการ
ติดตั้ง จะตองไดรับการลางท,อดวยปริมาณน้ําที่กําหนดก,อนติดตั้งหัวรับน้ําเขากับระบบ
ท,อ
5. การลางท,อจะตองทําจนแน,ใจว,าภายในท,อน้ําปราศจากสิ่งสกปรกใดๆแลว

9-33
ระบบปองกันอัคคีภัย
5.ระบบไฟฟา สําหรับ ระบบปองกันอัคคีภัย
5.1 ความตองการทั่วไป
1) ระบบไฟฟ"าทั้งหมดตองสอดคลองกับระบบของการไฟฟ"าฯ ขอบเขตผูรับจางตองติดตั้งระบบ
ไฟฟ"าทั้งหมดที่แสดงในแบบ และที่กําหนดในรายละเอียดนี้
2) ระบบไฟฟ"าเปYนแบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 V., 50 Hz. Y - Connection System Solid
Ground
3) ระบบสีของสายไฟ และบัสบาร!ใหเปYนดังนี้
สายเฟส เอ สีดํา
• สายเฟส บี สีแดง
• สายเฟส ซี สีน้ําเงิน
• สายศูนย! N สีขาว หรือ เทา
• สายดิน GND. สีเขียว หรือเขียวคาดเหลือง
• สายไฟที่ผลิตเพียงสีเดียวใหทาสี หรือพันเทปทั้งสองขางของสายดวยสีที่กําหนดให
รวมทั้งในที่ที่มีการต,อสายและต,อเขาขั้วของอุปกรณ!ไฟฟ"า สําหรับบัสบาร!ใหทาสีหรือติด
เทปสีตามระบบสีดังกล,าว
5.2 วัสดุและโครงสราง
1) แผงสวิตช!ไฟฟ"าแรงต่ํา
1. แผงสวิตช!ไฟฟ"าแรงต่ํา ผลิตตามมาตรฐาน VDE IEC หรือ TIS ตูโลหะเปYนชนิด Dead-
Front Modular Type of Standard Design และเปYนแบบที่การไฟฟ"าฯ เห็นชอบ
และอนุมัติใหใช
2. ความตองการทางดานเทคนิค
• พิกัด แผงสวิตช!ตองมีคุณสมบัติและสมรรถนะดังต,อไปนี้
- แรงดันระบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220V, 50 Hz
- Insulation Level 600 โวลต!
- กระแสต,อเนื่อง ตามที่ไดแสดงไวในแบบ
- กระแสลัดวงจร ตามที่ไดแสดงไวในแบบ
• รายละเอียดทางดานการออกแบบและการสราง
- ตัวตูเปYนชนิดวางตั้งกับพื้น หรือติดบนผนังตามที่ระบุในแบบ ประกอบ
จากแผ,นเหล็ก หนาไม,นอยกว,า 2 มม. ในกรณีทเี่ ปYนตูตั้งกับพื้นโครงตู
ทําดวยเหล็กฉากเชื่อมติดกัน หนาไม,นอยกว,า 3 มม. หรือใชเหล็กฉากยึด

9-34
ติดกันดวยสลักเกลียวและแป"นเกลียว ตูที่ตั้งชิดกันตองมีแผ,นโลหะกั้น
แยกจากกัน และตูตองยึดถึงกันดวยสลักและแป"นเกลียว
- ตัวตู โครงตูและส,วนที่เปYนเหล็ก ตองผ,านกรรมวิธีป"องกันสนิม เช,น ชุบ
ฟอสเฟต หรือสังกะสี เปYนตน สําหรับการพ,นสีภายนอกใหใชสีเทาอ,อน
- ใหมีการบริการและบํารุงรักษาอุปกรณ!แรงต่ําจากดานหนาของตู
โดยมีประตูเป•ดจากดานหนา โดยใชบานพับชนิดซ,อน ซึ่งเป•ดป•ดโดยใช
กุญแจหกเหลี่ยมไข
- ตัวตูตองมีความแข็งแรงพอไม,บิดตัวขณะใชงาน และในขณะลัดวงจร
พรอมทั้งมีการระบายความรอนทีด่ ี โดยใหเจาะรูระบายอากาศ (Drip-
proof) ซึ่งมีมุงลวดติดดานในที่ฝาป•ดช,วงล,างดานหนาและที่ฝาป•ดช,วงบน
ดานหลัง
- ตัวตูตองติด Mimic Diagram แสดง Single Line Diagram ของระบบ
- ฝาตูทุกดานตองมีสายดินทําดวยทองแดงชุบแบบถักแบนต,อลงดินที่โครง
ตู
• สายไฟฟ"าสําหรับระบบควบคุมและเครื่องวัดภายในแผงสวิตซ! ใหใชสายชนิดทน
แรงดันไดไม,นอยกว,า 750 โวลต! 70 ํC ขนาดไม,เล็กกว,า 2.5 ตร.มม. (ยกเวน
เปYน วงจรกระแส และสายดินระหว,างตัวแผงกับบานประตูแผงสวิตช!ใหใชขนาด
4 และ 10 ตร.มม. ตามลําดับ) การเดินสายใหเดินในรางพลาสติกหรือท,อ
พลาสติกทั้งหมด การต,อสายใหต,อผ,านขั้วต,อสายชนิด 2 ดาน หามต,อตรง
ระหว,างอุปกรณ!ต,าง ๆ และหามมีการตัดต,อสายไฟฟ"าที่เชื่อมระหว,างจุดต,อ
ดังกล,าวเพื่อความสะดวกในการทดสอบและแกไขต,าง ๆ สายควบคุมที่ติดตั้งนอก
แผงสวิตช!ไฟฟ"าแรงต่ําใหใชชนิดหลายแกน หุมฉนวน 2 ชั้น และยึดดวยประกับ
พลาสติก
• เซอร!กิตเบรกเกอร!ตองมีคณ ุ สมบัตแิ ละสมรรถนะ เปYนไปตามมาตรฐาน IEC
947-1,IEC 947-2 เซอร!กิตเบรกเกอร!ตองเปYนชนิด Moulded และตองเปYน
แบบทํางานเร็ว (Quick-Make, Quick-Break, Instantaneous Magnetic
Short Circuit Trip, Thermal Overload Current Trip and Trip
Indication) โดยมีพิกดั ขนาดและ Breaking Capacity ตามที่แสดงไวในแบบ
เซอร!กิตเบรกเกอร!ทั้งหมดตองเปYนของผูผลิตเดียวกัน
• Molded Case Circuit Breaker
- เปYนชนิด Thermal magnetic ที่พิกัด AF ต่ํากว,า 400 AF โดยเปYนชนิด
Electronic ที่พิกัด AF ตั้งแต, 400 AF ขึ้นไป
- Molded Case Circuit Breaker ผลิตตามมาตราฐาน IEC 947-1 และ
IEC 947-2
- ทํางานดวยระบบ Quick – Make , Quick – Break และ Trip Free
เมื่อเกิดกระแส Overcurrent และ Short Circuit Current.
- Drives เปYนชนิด Toggle Operating Mechanism ทํางานดวยระบบ
Trip Free มี Trip Indication แสดงที่ Handle Position
- MCCB ทุกขนาดสามารถติดตัง้ อุปกรณ!เพิ่มเติม Shunt Trip,
Undervoltage, Auxiliary Switch, Alarm Switch, Rotary Handle,

9-35
Pad locking device เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทั้งดานการป"องกันและการ
ควบคุม
- Trip Unit ของ MCCB ขนาด 100 AF ถึง 250 AF จะตองเปYน
Thermal-Magnetic Trip สามารถปรับค,ากระแส Thermal ตั้งแต,
0.75 – 1.0 ของ Rated AF
- Trip Unit ของ MCCB ขนาดตัง้ แต, 400 AF ขึ้นไปจะตองมี Rating
Plug เพื่อกําหนดค,า Ampere Rating โดยสามารถปรับค,ากระแส
Overload Current ไดระหว,าง 0.1 – 1.0 ของพิกัด Rating Plug และ
สามารถปรับค,ากระแส Short Circuit Current ไดระหว,าง 3 – 10 เท,า
• การติดตั้งเซอร!กติ เบรกเกอร!ในแผงสวิตช!ไฟฟ"าแรงต่ํา เปYนแบบ Fixed Type ซึ่ง
ติดตั้งถาวรโดยยึดติดกับโครงโลหะในตูแรงต่ําดวยสลักและแป"นเกลียว
• การสับเขาและออกของเซอร!กิตเบรกเกอร!ในแผงสวิตช!ไฟฟ"าแรงต่ํา เปYนแบบ
Manual Operation ซึ่งสับเขาออกดวยมือ
• ขั้วต,อสาย (Terminal) ของเซอร!กิตเบรกเกอร!ที่มีขนาดเฟรมต่ํากว,า 225 A ให
ใชขั้วชนิดต,อสายไฟเขาโดยตรงหรือใชขั้วชนิดต,อบัสบาร! สําหรับขนาดเฟรมสูง
กว,า 225 A ใหใชขั้วชนิดต,อบัสบาร!เท,านั้น
• บัสบาร! ตองเปYนทองแดงที่มีความบริสุทธิ์ไม,นอยกว,า 98% มีขนาด
ความสามารถรับกระแสไฟฟ"าต,อเนื่อง ตามมาตรฐาน DIN 43671 แต,ทั้งนี้ตอง
มีขนาดไม,เล็กกว,า 120 ตร.มม. และอุณหภูมิของบัสบาร!ขณะใชงานเต็มที่ตองไม,
เกินไปกว,า 25°C เหนืออุณหภูมิแวดลอม 40°C
• บัสบาร!ใหติดตั้งบนบัสบาร! Holder ประเภท Epoxy แบบสองชั้นประกบ บัส
บาร! Resin หรือ Fiber Glass Reinforced Polyester หามใชวัสดุตระกูล
Bakelite หรือ Phenolics เปYนหรือแทนฉนวนไฟฟ"า ระยะห,างระหว,างเฟสและ/
หรือ Ground เปYนไปตามที่การไฟฟ"าฯ กําหนด การเจาะรูและการต,อเชื่อมบัส
บาร!ใหเปYนไปตามมาตรฐาน DIN 43673 และตองมีความแข็งแรงพอที่ยึดหรือ
รองรับบัสในขณะลัดวงจรไม,นอยกว,า 50kA ที่ 415 VAC (หรือตามที่แสดงใน
แบบ)
• ตองมีบัสดินขนาดไม,ต่ํากว,ารอยละ 33 ของบัสบาร!ในแต,ละเฟสติดตั้งภายในตู
ยาวตลอดตู และเชื่อมกับระบบการต,อลงดินของระบบไฟฟ"าภายนอกอย,างนอย
2 จุด โดยใชสายดินขนาด 120 ตร.มม. หรือตามที่แสดงไวในแบบ
• มอเตอร!สตาร!ทเตอร!
- ชุดสตาร!ทเตอร! แต,ละชุด ตองประกอบดวยอุปกรณ!อย,างนอยที่สุด
ดังต,อไปนี้
.. Circuit Breaker
.. Motor Starter
.. Thermal Over Load Protection
.. Start and Stop Push Button
.. Running Indicating Lamp
.. Selector Switch H-O-A (IF Require)
.. Alarm (IF Require)

9-36
.. Control Fuse or Breaker
.. Name Plate and Circuit Diagram
- โดยทั่วไป ถาไม,ไดระบุเปYนอย,างอื่น มอเตอร!ที่มีขนาดต่ํากว,า 5.5 kW
(7.5 HP) ให สตาร!ทเตอร!เปYนชนิด Direct on Line ได และถามากกว,า
5.5 kW (7.5 HP) ตองเปYนชนิด Star-Delta Start
- สําหรับ Circuit Breaker ของมอเตอร!แต,ละตัว ในกรณี Breaker
ดังกล,าว และมอเตอร!อยู,ไกลจากสายตาจนมองการทํางานของมอเตอร!
ดังกล,าวไม,ได ตัว Breaker ตองมี Handle แบบ Lock Off เพื่อป"องกัน
อุบัติเหตุในการบํารุงรักษา
- คอนแทคเตอร! และโอเวอร!โหลดรีเลย! มีพิกัดขนาดที่เหมาะสมกับการใช
งานตามปกติ และสามารถรับกระแสขณะเริ่มเดินเครื่องมอเตอร!ไดเปYน
อย,างดี
- คอนแทคเตอร! ใหใชชนิด AC3 Duty และสามารถกันฝุŒนไดเปYนอย,างดี
- โอเวอร!โหลดรีเลย! ใหใชชนิดที่ติดตั้งครบทุกเฟส
- แรงดันคอยล! 220 V, 50 Hz (หรือตามที่กําหนดไวในแบบ)
- มีจํานวนหนาสัมผัสช,วยของคอนแทคเตอร!แต,ละตัวไม,นอยกว,า
1NO+1NC สําหรับใชงานระบบควบคุม และ/หรือ การแสดงผลต,าง ๆ
• Remote และ Local Control Panel
- Remote และ Local Control Panel ตองเปYนกล,องพับขึ้นรูปตามที่
กําหนดในลักษณะโครงสรางของแผงสวิตช!ไฟฟ"าแรงต่ํา
- Remote Control Panel จะตองตั้งอยู,ตามตําแหน,งที่กําหนดในแบบ ซึ่ง
อาจมีการเปลี่ยนแปลงตําแหน,งเล็กนอยเพื่อความเหมาะสม
- Local Control Panel ที่ประจําอยูใ, นตําแหน,งติดตั้งมอเตอร!ตองมี
Local Remote Selector Switch และในกรณีที่จาํ เปYนอาจตองใช
Auxiliary Relay สําหรับการต,อเชื่อมระบบที่แรงดันไฟฟ"าแตกต,างกัน
- Remote Control Panel จะตองมี On-Off Push Button พรอม
Indication Lamp และ Remote Local Indicating Lamp
- การประกอบ Remote และ Local Control Panel ตองจัดทํา Shop
Drawing แสดง Control Circuit Diagram และรูปแบบของตัวตูเสนอ
อนุมัติจากผูคุมงานก,อน
• หมอแปลงกระแส (CT) เปYนชนิด Encapsulated มีพิกัดตามที่แสดงไวในแบบ
โดยมีกระแสทุติยภูมิ 5A และติดตั้งเพื่อใหสามารถวัดไดทุกเฟส Accuracy
Class 1 หรือดีกว,า
• อุปกรณ!หรือเครื่องวัด ตองเปYนชนิดติดตั้งในแผงสวิตช! สามารถกันฝุŒนและ
ความชื้นไดดี โดยมีขนาดประมาณ 96x96 มม. Accuracy Class 1.5 หรือ
ดีกว,า
• หลอดแสดงเปYนแบบติดฝ{งเรียบบนแผงสวิตช! ใชหลอดไส 0.6 W, 6 V พรอม
หมอแปลง 220 V/6V ฝาครอบเปYนพลาสติกแบบเลนซ! ขนาดเสนผ,าศูนย!กลาง
ไม,นอยกว,า 20 มม.

9-37
• Selector Switch (ถาในแบบกําหนดใหติดตั้ง) ตองเปYนชนิดติดตั้งในแผงสวิตช!
มี 7 steps สําหรับ volt-selector และ 4 steps สําหรับ amp-selector
• ป"ายชื่อทั้งหมด ตองจัดหาและติดตั้งในแต,ละส,วนของแผงสวิตช!ไฟฟ"าแรงต่ํา
• ตองติด Mimic Diagram ขนาดกวาง 10 มม. หนา 3 มม. แสดง Single Line
ของระบบ
2) สายไฟฟ"าแรงต่ํา
1. ทั่วไป สายไฟฟ"าแรงต่ําของอาคารตองเปYนไปตามมาตรฐานสายไฟฟ"า มอก. 11-
2531
2. ความตองการทางดานเทคนิค
• สายไฟฟ"าที่รอยในท,อใชสายหุมฉนวนพีวีซี ทนแรงดันได 750 โวลท! อุณหภูมิใช
งาน 70°C หรือตามที่แสดงในแบบ
• สายไฟฟ"าที่เดินลอยใชสายหุมฉนวน และเปลือกนอกพีวีซี แกนเดียวหรือหลาย
แกนทนแรงดันได 750 โวลท! อุณหภูมิใชงาน 70°C หรือตามที่แสดงในแบบ
• รายละเอียดของสายไฟฟ"าทั่วไป ซึ่งเปYนสายหุมฉนวนพีวีซี พิกัดแรงดัน 750
โวลท! และอุณหภูมใิ ชงาน 70 ํC
• ใหใชสายหุมฉนวนพีวีซีแกนเดียวทนแรงดันได 750 โวลท! อุณหภูมิใชงาน 70°
C หรือตามที่แสดงในแบบ
• สายใหญ,กว,า 6 ตารางมิลลิเมตรใหใชเปYนสายตีเกลียว (Stranded Wire)
• สายภายนอกอาคารใหเดินรอยในท,อ หรือฝ{งดินโดยตรง หรือตามที่แสดงไวใน
แบบ
3) ท,อรอยสายไฟฟ"า
1. ท,อรอยสายไฟฟ"าของอาคารทั้งหมดตองเปYนไปตาม กฏของการไฟฟ"าฯประกาศ
กระทรวง มหาดไทย และ NEC
2. ความตองการทางดานเทคนิค
• ท,อโลหะและอุปกรณ!ตองเปYนวัสดุที่ใชเฉพาะกับงานไฟฟ"า ท,อที่ไม,ไดฝ{งในผนัง
หรือคอนกรีตจะตองยึดดวยประกับโลหะ และ/หรือประกับสําหรับแขวนท,อทุก ๆ
ช,วง 2.5 เมตร และไม,เกิน 1.0 เมตร จากกล,องต,อสายหรืออุปกรณ!
• ท,อรอยสายเหล็กอาบสังกะสีชนิดกลาง (Intermediate Metal Conduit : IMC)
ตองเปYนท,อเหล็กชนิดหนาผ,านขบวนการชุบสังกะสี หรือ Hot Dip Galvanize
มาแลว และมีเสนผ,าศูนย!กลางท,อไม,เล็กกว,า 1/2 นิ้ว ใชฝ{งในปูนทราย ในพื้น
คอนกรีตเสริมเหล็ก หรือใชในสถานที่ที่อาจไดรับความเสียหายไดง,าย หรือที่ชื้น
ตามขอกําหนดของ NEC
• ท,อรอยสายเหล็กอาบสังกะสีชนิดบาง (Electrical Metallic Tubing : EMT)
ตองเปYนท,อเหล็กบาง ผ,านขบวนการชุบสังกะสี หรือ Hot Dip Galvanize
มาแลว และมีเสนผ,าศูนย!กลางท,อไม,เล็กกว,า 1/2 นิ้ว ใชเดินลอยเกาะติดกับผนัง
หรือเพดาน หรือเดินฝ{งในอิฐก,อ (ตองใชร,วมกับขอชนิดกันน้ํา) สามารถใชติดตั้ง
ไดในทุกสถานที่ยกเวนที่ระบุไวในกรณีท,อ IMC และท,ออ,อนซึ่งจะไดกล,าวต,อไป
ท,อโลหะชนิดบาง โดยทั่วไปใชขอต,อแบบสลักเกลียวขัน (Set-screw) ยกเวนใน
หองเครื่องใหใชขอต,อชนิดกันน้ํา

9-38
• ท,อรอยสายเหล็กอาบสังกะสีชนิดอ,อน (Flexible Metal conduit : FMC) ตอง
ทําจาก Galvanize Steel ใชต,อเขาอุปกรณ!ไฟฟ"าที่มีการสั่นขณะใชงาน เช,น
มอเตอร!เปYนตน หรือใชในที่อื่นๆ ที่ไม,สามารถใชท,อแข็งได ท,อโลหะชนิดอ,อนตอง
ใชขอต,อที่ทําสําหรับท,ออ,อนโดยเฉพาะ ท,อโลหะชนิดอ,อนใหใชขนาดไม,เล็กกว,า
1/2 นิ้ว ท,ออ,อนที่ใชในบริเวณที่อาจจะเป~ยกชื้นหรืออยูใ, นที่เป~ยกชื้นตองเปYน
แบบกันน้ํา และใชขอต,อชนิดกันน้ําเช,นกัน
• ท,อรอยสายตองเลือกใชใหเหมาะสมกับสภาวะใชงานและสภาวะแวดลอม ดังที่ได
กล,าวโดยสังเขปมาแลว
• ท,อรอยสายแต,ละท,อตองมี Coupling อยู,ที่ปลายขางหนึ่งและ Thread
Protector อีกขางหนึ่ง
• Conduit Fitting ตองเปYนไปตามที่กําหนดของ NEMA และ UL 514
• ตองมี Lock Nut และ Bushing ในทุกปลายของท,อ
• กล,องต,อสายไฟฟ"า ตองเปYนกล,องชุบสังกะสีหรือแคดเมียม
• ท,อรอยสาย ตองมีวิธีกันสนิมและป"องกันการบาดสาย
4) รางเดินสายไฟฟ"า (Cable Ladder, Cable Tray or Wire Way)
1. รางเดินสายไฟฟ"าตองเปYนไปตาม NEC Article 362 ทําจากแผ,นเหล็กที่ผ,านกรรมวิธี
ป"องกันสนิมแลวพ,นสีอบ (Stove Enamel Paint) และทนต,อสภาพ บรรยากาศไดดี
2. ผูรับจางตองจัดหาและติดตั้งรางเดินสายไฟฟ"า ตลอดจนอุปกรณ!จบั ยึดรางเดินสายไฟฟ"า
กับโครงสรางอาคาร สําหรับรูปร,างและขนาดของรางเดินสายไฟฟ"าให เปYนไป
ตามที่ไดแสดงในแบบและระบุในขอกําหนดนี้ทุกประการ
3. ความตองการทางดานเทคนิค
• รางเดินสายไฟฟ"า ตองทําจากแผ,นเหล็กฟอสเฟตที่มีความหนาไม,นอยกว,า 2.0
มม. สําหรับ Cable Ladder/ Cable Tray และ 1.5 มม. สําหรับ Wire Way
หรือที่ระบุไวในแบบ
• Cable Ladder และ Cable Tray ตองผ,านกรรมวิธีป"องกันสนิมโดยวิธี Hot-dip
Galvanized หรือ Electro-Galvanized สําหรับ Wire Way ตองพ,นสีทับเพื่อ
ป"องกันสนิมและทนต,อสภาพการผุกร,อนไดดี
• ตัวรางเดินสายไฟฟ"า ตองมีความแข็งแรงอย,างพอเพียงที่จะป"องกันสายไฟฟ"าที่
เดินอยู,ภายในได และสามารถรับน้ําหนักของสายไฟฟ"าดังกล,าวไดดี
• ภายในตัวรางเดินสายไฟฟ"า ตองออกแบบใหสามารถเดินสายไฟฟ"าในรางดังกล,าว
ไดง,าย และไม,ทําใหสายชํารุดเสียหาย เช,นขอบขางราง และ/หรือขั้นของรางตอง
เรียบโดยไม,มีความคมของขอบ
• รางเดินสาย จะตองประกอบดวยอุปกรณ!จับยึด (Support) ทุก ๆ ช,วงไม,เกิน
1.5 เมตร และตัวจับยึดตองมีความแข็งแรงอย,างเพียงพอ
• รางเดินสายและอุปกรณ!จับยึด จะตองไดรับความเห็นชอบจากผูว,าจาง หรือ
ตัวแทน ของผูว,าจางก,อนทําการติดตั้ง
5) กล,องต,อสายไฟฟ"า
1. กล,องต,อสายแบบต,าง ๆ ตองเปYนไปตาม NEC หัวขอที่ 370 และ 373 กล,องต,อ
สายใหหมายรวมถึงกล,องต,อสวิตช! เตารับ กล,องดึงสาย กล,องรวมสาย และกล,อง
สําหรับอุปกรณ!ต,าง ๆ

9-39
2. ผูรับจางตองจัดหาและติดตั้งกล,องต,อสาย (Junction Box) กล,องดึงสาย (Pull Box)
และขอต,อต,าง ๆ พรอมทั้งอุปกรณ!ประกอบตามที่แสดงในแบบและระบุใน
ขอกําหนดนี้ทุกประการ และส,วนอื่นที่เห็นว,าจําเปYนสําหรับการติดตั้ง (ซึ่งไม,ได
แสดงไวในแบบ)
3. ความตองการทางดานเทคนิค
• โดยทั่วไปกล,องต,อสายตองเปYนเหล็กอาบสังกะสี หรืออลูมิเนียมหนาไม,นอยกว,า
1.0 มม. เปYนแบบมีฝาป•ด และมีขนาดไม,เล็กกว,าที่กําหนดไวในตารางของ NEC
• กล,องต,อสายตองมีกรรมวิธีกันสนิมและป"องกันการบาดสาย
• กล,องต,อสายตองเลือกใชใหเหมาะสมกับสภาวะการใชงาน และสภาวะแวดลอม
• กล,องต,อสายแบบกันน้ํา ตองใชเปYนอะลูมิเนียมหรือเหล็กหล,อ และมีกรรมวิธี
ป"องกันน้ําไดดีโดยที่ฝาครอบมีขอบยางอัดรอบ หรือทําดวยเหล็กแผ,นหรือ
อะลูมิเนียมแผ,น
• กล,องดึงสายและฝาครอบขนาดใหญ, ใหทําดวยเหล็กแผ,นหนาไม,นอยกว,า 1.4
มม. พ,นสีกันสนิมแลวพ,นสีชั้นนอกดวย
• ขนาดกล,องต,อสายและจํานวนสายในกล,องตองเปYนไปตามกฏของ NEC
• กล,องต,อสายทุกกล,องตองต,อลงดินตามกฏของ NEC
6) ระบบการต,อลงดิน
1. การต,อลงดินของอุปกรณ!ไฟฟ"า (Equipment Grounding) คือ การต,ออุปกรณ!ที่เปYน
โลหะที่ไม,มีกระแสไฟฟ"าไหลผ,านลงดิน อุปกรณ!ที่ตองต,อลงดิน ไดแก, อุปกรณ!
ไฟฟ"าทั้งหมด เช,น ท,อโลหะ ป{•ม เปYนตน สายดินของการต,อลงดินอุปกรณ!ไฟฟ"า
ใหใชตามที่กําหนด จะตองทําตาม NE Code และเปYนไปตามกฏของการไฟฟ"าฯ ประกาศ
กระทรวงมหาดไทยเรื่องความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ"า
2. ความตองการทางดานเทคนิค
• สายตัวนําลงดินใหใชสายเสนเดียวกันตลอดโดยไม,มีการตัดต,อ หากสายตัวนําลง
ดินที่กําหนดใหรอยในท,อโลหะ จะตองต,อสายลงดินเขากับปลายทั้งสองขางของ
ท,อ โลหะโดยใชปะกับโลหะ
• การต,อเชื่อมทุกๆจุดของสายดิน สายดินกับระบบหรืออุปกรณ!ไฟฟ"าใหใชวิธี
Exothermic Welding โดยใหเปYนไปตามกฏของการไฟฟ"าฯ และ NEC ซึ่งการ
ต,อดังกล,าวตองไม,ทําใหเกิดความตานทานสูงกว,าที่กําหนดไว การต,อสายตัวนํา
แยกเขาอุปกรณ!ไฟฟ"าโดยการใชปะกับโลหะ ชนิดใชเครื่องมือกลอัด ต,อแยก
เพื่อใหอุปกรณ!ไฟฟ"านั้นเมื่อถูกแยกออกจากวงจรไฟฟ"าไปแลวระบบการต,อลงดิน
ของ อุปกรณ!อื่น ๆ ไม,ถูกตัดขาด

9-40
ขนาดต่ําสุดของสายดินของเครื่องอุปกรณ"ไฟฟา
พิกัดหรือขนาดปรับตั้งของ ขนาดต่ําสุดของสายดินของเครื่องอุปกรณ!ไฟฟ"า
เครื่องป"องกันกระแสเกิน (แอมแปร!) (ตัวนําทองแดง) ตารางมิลลิเมตร
6-16 1.5
20-25 4
30-63 6
80-100 10
125-200 16
225-400 25
500 35
600-800 50
1,000 70
1,200-1,250 95
1,600-2,000 120
2,500 185
3,000-4,000 240
5,000-6,000 400

5.3 วิธีการก,อสราง
1) แผงสวิตซ!ไฟฟ"าแรงต่ํา
1. การติดตั้ง แผงสวิตช!ไฟฟ"าแรงต่ํา ตองติดตั้งตามคําแนะนําของบริษทั ผูผลิต และ
ตามที่แสดงไวในแบบทุกประการ
2. การทดสอบ แผงสวิตช!ไฟฟ"าแรงต่ําตองผ,านการทดสอบและมีหนังสือรับรองผลการ
ทดสอบจากโรงงาน ตลอดจนไดรับการตรวจและทดสอบโดยการไฟฟ"าฯ นั่นคือ ให
ตรวจสอบฉนวนไฟฟ"าของอุปกรณ!และสายป"อนต,าง ๆ รวมทั้งตรวจสอบระบบการ
ของอุปกรณ!ต,าง ๆ ใหถูกตอง ผูรับจางตองส,งรายละเอียดต,าง ๆ ตามที่การไฟฟ"า
ฯ ตองการ ถาหากมีสิ่งใดที่ตองแกไขเพื่อใหผ,านการตรวจสอบดังกล,าวผูรับจางตองแกไข
ใหถูกตอง โดยไม,คิดค,าใช จ,ายใดๆ ทั้งสิ้น
3. ผูรับจางตองจัดหนังสือคู,มือการบํารุงรักษาและวิธีใชแผงสวิตช!ไฟฟ"าแรงต่ําจํานวน
4 ชุด มอบใหแก,ผูว,าจาง
2) สายไฟฟ"าแรงต่ํา
1. สายไฟฟ"าตองเดินรอยในท,อโลหะ และ/หรือ ตามที่กําหนดในแบบ
2. การเดินสายไฟฟ"าในท,อตองกระทําภายหลังการวางท,อรอยสาย กล,องต,อสาย กล,องดึง
สายและอุปกรณ!ต,าง ๆ เสร็จเรียบรอยแลวเท,านั้น อุปกรณ!การดึงสายไฟฟ"าตองรอย
สายในขณะที่จะเดินสายไฟแต,ละช,วง หามมิใหตระเตรียมหรือ รอยสายไฟไวในท,อ
รอยสายล,วงหนาอย,างเด็ดขาด

9-41
3. การดึงสายควรใชอุปกรณ!ช,วยในการดึงสายซึ่งออกแบบโดยเฉพาะเพื่อใชกับงาน
ดึงสายไฟฟ"าภายในท,อ และตองปฏิบัติตามคําแนะนําของผูผลิตอุปกรณ!ดังกล,าว
ดวย
4. การหล,อลื่น ในการดึงสายผูรับจางตองใชตัวหล,อลื่นซึ่งเปYนชนิดที่ผูผลิตสายไฟฟ"า
แนะนําไวเท,านั้น
5. การดัดงอสายไฟฟ"าทุกขนาด ตองกระทําอย,างระมัดระวังในการติดตั้ง รัศมีของการ
ดัดงอตองเปYนไปตามคําแนะนําของผูผลิตสายไฟฟ"า หรือ NEC
6. สายทองแดงที่มีขนาดไม,เกิน 10 ตร.มม. การต,อสายไฟใชขั้วต,อสายแบบเกลียว
กวดหรือใชเครื่องมือกลบีบ และสําหรับสายขนาด 16 ตร.มม. หรือใหญ,กว,าให
ใช ขั้วต,อสายแบบใชเครื่องมือกลบีบและใชฉนวน (Heat Shrinkable Tube)
ห,อหุม รอยต,อดังกล,าว
7. การต,อสายใตดินหรือในบริเวณที่เป~ยกชื้นหรือโดนน้ําได ตองหล,อหุมดวยสารกันความชื้น
มิใหเขาไปในหัวต,อไดเช,น สารประเภทซิลิโคน หรือ Epoxy
8. การต,อสายเขาอุปกรณ!ไฟฟ"า ในกรณีที่อุปกรณ!ไฟฟ"ามีหัวสกรูแบบพันสายตองใช
หางปลาและหากอุปกรณ!ไฟฟ"ามีขั้วรับสายแบบมีรูสอดสายใหต,อตรงได
9. การกันความชื้น ปลายทั้งสองขางของสายไฟฟ"าที่ปล,อยไว ตองมีกรรมวิธีป"องกันความชื้น
จากภายนอก สําหรับสายที่มีขนาดใหญ,กว,า 25 ตร.มม. ใหใชฉนวน ห,อหุมรอยต,อ
10. ป"ายแสดงเลขที่วงจร สายไฟฟ"าทั้งหมดที่ปลายสายทั้งสองขางและในทุกจุดที่มีการ
ต,อสายไฟฟ"า ทั้งในกล,องต,อสาย รางเดินสายไฟฟ"าและอุปกรณ!ไฟฟ"า ตองมีป"าย
ติดแสดงเลขที่วงจรไฟฟ"า โดยใชป"ายที่มีความทนทานดีเพื่อความสะดวกในการ
บํารุงรักษา รายละเอียดของการบ,งบอกเปYนไปตามที่แสดงไวในแบบ
11. การทดสอบ ในกรณีที่ผูว,าจางเห็นว,าสายไฟที่นํามาติดตั้งในอาคารนี้ อาจมีคุณสมบัตไิ ม,ดี
เท,าที่กําหนดไว ผูว,าจางสงวนสิทธิ์ที่จะนําไปใหสถาบันที่ผูว,าจาง เชื่อถือทําการ
ทดสอบตามมาตรฐานโดยผูรับจางเปYนผูออกค,าใชจ,ายทั้งสิ้น หาก ตัวอย,างไม,ผ,านการ
ทดสอบตามมาตรฐาน ผูรับจางตองนําสายไฟฟ"าที่มีคุณภาพตามมาตรฐานมาเปลี่ยนให
โดยไม,คิดค,าใชจ,ายใด ๆ เพิ่มขึ้นจากสัญญา และตองรับผิดชอบในความล,าชาของงานใน
ส,วนนี้ดวย
3) ท,อรอยสายไฟฟ"า
1. ท,อ IMC ตองใชเดินฝ{งในดิน หรือคอนกรีตหรืออิฐก,อ หรือ Floor Slab การติดตั้ง
เปYนไปตาม NEC หัวขอที่ 346
2. ท,อ EMT ตองใชกับแนวเดินท,อที่ Exposed หรือ Concealed การติดตั้งเปYนไป
ตาม NEC หัวขอที่ 348
3. ท,ออ,อนตองใชเมื่อตองการต,อเชื่อมท,อเขากับอุปกรณ!ซึ่งมีการสั่นสะเทือนหรือเมื่อ
ตองการยืดหยุ,น การติดตั้งเปYนไปตาม NEC หัวขอที่ 350
4. Associated Material ตองเปYนไปตาม NEC หัวขอที่ 370 สําหรับการติดตั้งในบริเวณ
อันตราย (Harzard) ใหเปYนไปตาม NEC หัวขอที่ 500
5. Bend And Offset ตองเปYนไปตามที่แสดงไวในแบบทุกประการ ท,อรอยสายที่เสีย
รูปและไม,เปYนไปตามที่ระบุ หามนํามาใชในการติดตั้ง
6. การนําท,อรอยสายไปติดตั้ง ถามี Moisture Pocket ตองกําจัดใหหมดเสียก,อน

9-42
7. การเดินท,อใหพยายามเดินในแนวเฉลียงทางเดิน และมีแนวขนานหรือตั้งฉากกับ
ตัวอาคาร

8. ท,อที่ต,อเขากับกล,องต,อสายและอุปกรณ!ตองมีขอต,อสาย (Box Connector) ติดไวทุก


แห,ง ปลายท,อที่มีการรอยสายเขาท,อ ถาอยู,ในอาคารตองมี Conduit Bushing ใส,ไว
ปลายท,อที่ยังไม,ไดใชงานตองมีฝาครอบ(Conduit Cap) ป•ดไวทุกแห,ง การต,อท,อโลหะ
ชนิดบางที่ฝ{งในผนังหรือพื้นใหใชขอต,อชนิดกันน้ํา การงอท,อตองใหมีรัศมีความโคงของ
ท,อไม,นอยกว,า 6 เท,า ของเสนผ,าศูนย!กลางภายนอกของท,อ โดยใชเครื่องมือดัดที่
เหมาะสม และเมื่อรวมมุมที่งอแลวตองไม,เกิน 360 องศา (ระหว,างกล,องต,อสายสองจุด)
9. ปลายท,อทั้งสองขางทุกท,อนก,อนที่จะต,อเขาดวยกันกับขอต,อ หรือกล,องต,อสายตองทําให
หมดคมโดยใช Conduit Reamer และการวางท,อตองไม,ทําใหผิวภายนอกท,อชํารุด
10. การต,อเชื่อมกับกล,องต,อสายและตัวตู ส,วนที่เปYนเกลียวของท,อต,อผ,านเขาไปในผนังของ
กล,องหรือตัวตู โดยมี Locknut ทั้งดานในและดานนอกที่ปลายของท,อรอย สายตองมี
Bushing สวมอยู,
4) รางเดินสายไฟฟ"า
1. การติดตั้งใหเปYนไปตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยอันเกี่ยวกับ
ไฟฟ"า ตามกฏของการไฟฟ"าฯ และ NEC
2. จํานวนสายไฟฟ"าที่เดินในรางใหเปYนไปตามกฏของการไฟฟ"าฯ และ NEC
3. รางเดินสายไฟฟ"าและอุปกรณ!ประกอบการเดินสาย ตองต,อลงดิน
4. สายไฟฟ"าที่เดินในรางเดินสายไฟฟ"าทั้งในแนวดิ่งและแนวนอนตองมีอุปกรณ!จบั ยึด
สายไฟฟ"ากับรางเดินสายไฟฟ"าดังกล,าว(Cable Tie) หรือใชอุปกรณ!จับยึดสายไฟฟ"า
ที่เหมาะสม
5) กล,องต,อสายไฟฟ"า
1. ใหเปYนไปตามกฏของการไฟฟ"าฯ และ NEC
2. กล,องต,อสายทุกกล,องตองมีการจับยึดที่แข็งแรงกับตัวอาคาร
3. การต,อท,อเขากับกล,องต,อสายตองประกอบดวย Lock Nut และ Bushing และอุปกรณ!
อื่นที่จําเปYนสําหรับการเดินสายและต,อสาย
6) ระบบการต,อลงดิน
1. การต,อลงดินของอุปกรณ!ไฟฟ"า มีดังต,อไปนี้ ป{•มน้ํา อุปกรณ! เครื่องมือ และเครื่องใชไฟฟ"า
ที่มีเปลือกหุมภายนอกเปYนโลหะโครงเหล็กหรือสิ่งที่เกี่ยวของที่เปYนโลหะ อันอาจมี
กระแสไฟฟ"า
2. สายดินที่ติดตั้งในบริเวณที่อาจทําใหเสียหายชํารุดได ใหรอยในท,อโลหะ
3. ขนาดของสายดินสําหรับอุปกรณ!ไฟฟ"า ใหเปYนไปตาม NEC หรือที่ระบุไวในแบบ
4. ผูรับจางตองทําแบบการต,อลงดินของระบบและอุปกรณ!ต,าง ๆ เพื่อขออนุมัติจากผู
ว,าจางก,อนทําการติดตั้ง
5. ผูรับจางตองทดสอบวัดค,าความตานทานของสายดิน และความตานทานของดิน ต,อหนา
ผูว,าจางหรือตัวแทนผูว,าจาง และผลของการทดสอบใหผูรับจางจัดทําเปYนรายงานส,งให
ผูว,าจาง 4 ชุด

9-43
ระบบปองกันอัคคีภัย
6.การปองกันไฟ และควันลาม
6.1 ความตองการทั่วไป
1) โดยทั่วไป การป"องกันไฟ และควันลามตองเปYนตามหัวขอ 300-21 ของ NED และ ASTM
2) ผูรับจางตองจัดหา และติดตั้ง วัสดุ หรืออุปกรณ!ป"องกันการลุกลามของไฟและควัน ตามช,องเป•ด
ของท,อต,าง ๆ ซึ่งผ,านแนวผนังกันไฟและพื้นทุกชั้น
6.2 วัสดุและโครงสราง
วัสดุหรืออุปกรณ! ซึ่งใชป"องกันไฟและควันลาม ตองเปYนอุปกรณ!หรือวัสดุที่ UL รับรองวัสดุหรือ
อุปกรณ!ดังกล,าว ตองป"องกันไฟไดอย,างนอย 3 ชั่วโมง วัสดุหรืออุปกรณ!ดังกล,าว ตองไม,เปYนพิษขณะ
ติดตั้งหรือเกิดเพลิงไหม สามารถถอดออกไดง,ายในกรณีมีการเปลี่ยนแปลงแกไขทนต,อการสั่นสะเทือนได
ดีและติดตั้งง,าย วัสดุหรืออุปกรณ!ป"องกันไฟและควันลามตองมีความแข็งแรงไม,ว,าก,อน หรือหลังเกิดเพลิง
ไหม
6.3 วิธีการก,อสราง
1) ช,องเป•ดทุกช,องไม,ว,าจะอยู,ที่ใดของผนัง หรือพื้นหอง หรือฝ"าเพดาน ตองติดตั้งอุปกรณ! หรือวัสดุ
ป"องกันไฟ และควันลาม
2) การติดตั้งใหเปYนไปตามมาตรฐานของผูผลิต อุปกรณ!และวัสดุดังกล,าว
3) ช,องเป•ดทุกช,องสําหรับท,อต,าง ๆ ที่เตรียมไวสําหรับอนาคตตองหุมป•ดไวดวยวัสดุป"องกันไฟและ
ควันลามดวย

9-44
ระบบปองกันอัคคีภัย

7. ระบบดับเพลิงไหมอัตโนมัติ

7.1 ความตองการทั่วไป (General Requirement)


1. ผูรับจางจะตองจัดหาอุปกรณ!ของระบบดับเพลิงไหมอัตโนมัติจากตัวแทนจําหน,ายที่ไดรับการแต,งตั้งจาก
โรงงานผูผลิตหรือตัวแทนช,วงที่ไดหนังสือแต,งตั้งเปYนตัวแทนขาย ในโครงการนี้
2. สารดับเพลิงไหมอัตโนมัติ (Aerosol Fire Extinguishing)
เปYนสารดับเพลิงที่ทํางานไดโดยอัตโนมัติ สารที่ใชดับเพลิงเปYนชนิด K2 CO3 อยู,ในรูปของ ของแข็ง
(SBK Compound) เมื่อทํางานจะเปลี่ยนสภาพจากของแข็งเปYนละอองปกคลุมพื้นที่โดย สามารถลอยตัวปก
คลุม เพื่อดับเพลิง และ คงสภาพไดไม,นอยกว,า 30 นาที (ในลักษณะหองป•ด) การบรรจุสารดับเพลิง ตองอยู,ใน
ภาชนะบรรจุไรแรงดัน สารดับเพลิง และ ส,วนประกอบอื่นๆ ตองเปYนแบบ Non-Pyrotechnic เพื่อใหสามารถ
ทนทานต,อความชื้นและไม,แข็งตัวเมื่อเก็บไวเปYนเวลานาน ๆ และอุปกรณ!สารดับเพลิงนี้ตองเปYนผลิตภัณฑ!ที่
ไดรับการรับรอง มาตรฐาน จาก UL List หรือ FM การทํางานของอุปกรณ!เปYนไปตามมาตรฐาน NFPA 2010
สารดับเพลิงจะตองมีคุณสมบัติอย,างนอยดังนี้
- ไม,ทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน โดยมีค,า Ozone Depletion Potential = 0
- สามารถดับเพลิงที่เกิดจากเชื้อเพลิง Class A, Class B และ Class C
- การดับเพลิงใชวิธีการแทรกแซงปฏิกิริยาการเผาไหม (Chain Reaction)โดยสารดั บ
เพลิงไม,ไปทําการลดปริมาณออกซิเจนภายในหอง
- อายุการใชงานของอุปกรณ!สารดับเพลิงไม,นอยกว,า 15 ป~ โดยมีเอกสารรับรองอายุของ
สารจากหน,วยงานที่สาม (Third Party) ที่เชื่อถือได
อุปกรณ!ดับเพลิงจะตองสามารถเปลี่ยนสภาพสารดับเพลิงจากของแข็งเปYนละอองเคมีไดโดย
- ใชระบบไฟฟ"า 24 DCV สั่งงานผ,านชุดควบคุม
- สายชนวน (Thermo cord) หรือ แท,งรับความรอนเมื่อสัมผัสกับเปลวไฟหรือเมื่อความ
รอนสูงถึงอุณหภูมิที่กําหนด
- โดยอุปกรณ!สารดับเพลิงไดรับความรอนสูงถึง 300 °C
3. ระบบควบคุมการดับเพลิงอัตโนมัติ (Fire Extinguishing Systems)
ระบบควบคุ มดั บเพลิ ง อั ตโนมั ติ ที่อ นุ มั ติใ หใชตองเปYน ระบบที่ อ อกแบบตามมาตรฐาน
NFPA2010 (National Fire Protection Association 2010) และจะตองไดการรับรองผลิต ภัณฑ!
ตามมาตรฐาน UL List หรือ EN Standard หรือ BSI

9-45
7.2 ขอบเขตของงาน
ผู รั บ จางตองติ ด ตั้ ง และทดสอบระบบดั บ เพลิ ง ไหมอั ต โนมั ติ ใ หพรอมใชงานตามตํ า แหน, ง และ
จํานวนที่ป รากฏในแบบ ซึ่งระบบดั บเพลิ งไหมอัต โนมัติจ ะตองประกอบดวยอุ ปกรณ!ต, างๆ อย,างนอย ดัง นี้
(หากมี ร ะบุ ใ นแบบนอกเหนื อ ไปจากนี้ ผู รั บ จางจะตองจั ด ห ามาใ หจนสาม ารถทํ า งานไดอย, า ง
สมบูรณ!ภายใตมาตรฐานผลิตภัณฑ!ที่กําหนดไวขางตน)
- ตูควบคุม (Agent Release Control Panel)
- อุปกรณ!ตรวจจับควัน (Smoke Detector)
- อุปกรณ!แจงเหตุดวยมือ (Manual Station)
- อุปกรณ!ระงับการฉีดสารดับเพลิงชั่วคราว (Abort Station)
- อุปกรณ!ส,งสัญญาณแบบกระดิ่ง (Alarm Bell)
- อุปกรณ!ส,งสัญญาณแบบเสียงและแสง (Alarm Horn with Strobe Light)
- อุปกรณ!สารดับเพลิงไหมอัตโนมัติ (Fire Extinguishing)
- อุปกรณ!อื่นๆ เช,น Output สําหรับส,งสัญญาณไปยังระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
ผูรับจางตองดําเนินการเดินสายรอยท,อ (Conduit and Wiring System) รวมทั้งประสานงาน
และเดินสายสัญญาณเพื่อรับหรือส,งสัญญาณ กับระบบอื่นที่เกี่ยวของใหใชงาน ไดอย,างสมบูรณ!
1) การทํางานของระบบ
การทํางานแบบอัตโนมัติ ระบบการตรวจจับควันจะประกอบดวยโซนอย,างนอย 2 โซนการทํางาน
ข อ ง ร ะ บ บ คื อ เ มื่ อ ว ง จ ร เ ริ่ ม สั ญ ญ า ณ ไ ด รั บ สั ญ ญ า ณ เ พ ลิ ง ไ ห ม จ า ก อุ ป ก ร ณ! ต ร ว จ จั บ ค วั น
โซนใดโซนหนึ่ ง ระบบจะส, ง สั ญ ญาณเตื อ นที่ ตู ควบคุ ม และที่ อุ ป กรณ! ส, ง สั ญ ญาณแบบกระดิ่ ง เพื่ อ ส, ง
สั ญ ญาณเตื อ นใหเจาหนาที่ ผู เกี่ ย วของและคนที่ อ ยู, ใ นพื้ น ที่ ป" อ งกั น รั บ ทราบ เมื่ อ ไดรั บ สั ญ ญาณจาก
อุ ป กรณ! ต รวจจั บ ควั น อี ก โซนหนึ่ ง อุ ป กรณ! ส, ง สั ญ ญาณเสี ย งและแสงโดยสั ญ ญาณแสงจะกระพริ บ และ
สั ญ ญาณเสี ย งจะดั ง เปY น จั ง หวะ ตู ควบคุ ม สามารถตั้ ง หน, ว งเวลาได (ระยะเวลาการหน, ว งเวลาขึ้ น อยู, กั บ
ความตองการของเจาหนาที่ผูเกี่ยวของ)โดยตูควบคุมจะตองสามารถตั้งระยะเวลาการหน,วงไดในช,วงเวลาไม,นอยก
ว, า ระหว, า ง 0-60 วิ น าที เพื่ อ เขาสู, ก ระบวนการปล, อ ยสารดั บ เพลิ ง ในขณะที่ ตู ควบคุ ม หน, ว ง
เวลาอยู, นั้ นเจาหนาที่ ผูเกี่ ย วของ สามารถยั บยั้ ง การปล, อ ยสารดั บ เพลิ ง ไดโดยการกดปุŒ ม Abort Station
การสั่ ง งานดวยมื อ คื อ เมื่ อ ตู ควบคุ ม ไดรั บ สั ญ ญาณจากอุ ป กรณ! แ จงเหตุ ด วยมื อ (Manual Station)
ระบบจะทําการปล,อยสารดับเพลิงทันทีไม,มีการหน,วงเวลา(หากไม,ระบุในแบบเปYนอย,างอื่นหรือเจาหนาที่ผูเกี่ยวข
องตองการใหผ,านการหน,วงเวลา)
1.1 วัสดุ (Material)
1.1.1 ตูควบคุม (Agent Release Control Panel) (หากระบุในแบบ)
เปYนตูควบคุมที่ออกแบบมาเฉพาะสําหรับระบบดับเพลิงไหมอัตโนมัติ มีคุณสมบัติการทํางานแบบ
Cross-Zone และออกแบบมาสำหรับระบบดับเพลิงไหมอัตโนมัติ ตามมาตรฐาน NFPA 72, NFPA 2010 ซึ่ง
สามารถตรวจสอบสายไฟที่ใชในการสั่งงานอุปกรณ!สารดับเพลิงไหมอัตโนมัติว,ามีการขาด, หลุดหรือไม, เพื่อเปYน
การสรางความมั่นใจไดว,า ระบบดับเพลิงไหมอัตโนมัติ จะทํางานไดแน,นอนเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม ซึ่งสอดคลอง
ตามมาตรฐาน NFPA 2010

9-46
1.1.2 อุปกรณ!ตรวจจับควัน (Smoke Detector) (หากระบุในแบบ)
อุปกรณ! ตรวจจับควันเปYนชนิด Photoelectric มีหลอดไฟ LED สําหรับแสดงสภาวะ
เมื่อตรวจจับได มีฐานแยกต,างหาก ที่ฐานมี Terminal แบบสกรูสําหรับเขาสายสัญญาณ
1.1.3 อุปกรณ!แจงเหตุดวยมือ (Manual Station) (หากระบุในแบบ)
เปYนอุปกรณ!ทํางานแบบ Dual Action
1.1.4 อุปกรณ!ระงับการฉีดสารดับเพลิงชั่วคราว (Abort Station) (หากระบุในแบบ)
เปYนอุปกรณ!ทํางานแบบ Momentary Switch
1.1.5 อุ ป กรณ! ส, ง สั ญ ญาณเสี ย งแบบกระดิ่ ง (Alarm Bell) (หากระบุ ใ นแบบ)
มีขนาดเสนผ,าศูนย!กลางไม,นอยกว,า 6 นิ้ว ทํางานที่ขนาดแรงดัน 24 VDC
1.1.6 อุ ป กรณ! ส, ง สั ญ ญาณแบบเสี ย งและแสง (Alarm Horn with Strobe Light)
(หากระบุในแบบ) ทํางานที่ขนาดแรงดัน 24 VDC ความดังของ Horn ไม,นอยกว,า 85 dB ที่ระยะห,าง 10 ฟุตและ
ความสว,างของแสงไม,นอยกว,า 75 Candela
1.1.7 อุปกรณ!สารดับเพลิงไหมอัตโนมัติ (Fire Extinguishing)
คุณสมบัติตามกําหนดขางตน
1.2 การติดตั้ง
ใหติดตั้งแผงควบคุมของระบบดับเตือนเพลิงไหมอัตโนมัติและอุปกรณ!ดับเพลิงไหมอัตโนมัติ ตาม
ตําแหน,งที่กําหนดในแบบ
สายไฟฟ"าใหใชสาย มอก.11 ชนิด 75 องศาเซลเซียส 250 โวลท! ขนาดไม,เล็กกว,า 1.5 ตาราง
มิ ล ลิ เ มตร สํ า หรั บ วงจรอุ ป กรณ! ต รวจจั บ และขนาดไม, เ ล็ ก กว, า 2.5 ตารางมิ ล ลิ เ มตร สํ า หรั บ วงจร
อุปกรณ!แจงสัญญาณ สายใหใชสายสีตามระบบสีที่เหมาะสม สายไฟฟ"าใหรอยในท,อรอยสายตามที่ กำหนดตลอด
หรือใหผูรับจางกําหนดขนาดและจํานวนสายต,างๆ ตามคําแนะนําของผูผลิตสายใหรอยใน ท,อ EMT
หรื อ IMC ตลอด นอกจากกํ า หนดไวเปY น อย, า งอื่ น ขนาดท, อ ใหกํ า หนดตามประกาศกระทรวง
มหาดไทยว,าดวยความปลอดภัยทางดานไฟฟ"า
7.3 Shop Drawing
ผูรั บจางจะตองจั ด ทํ า Shop Drawing แสดงรายละเอียดการติ ด ตั้งอุ ปกรณ!ทั้ง หมด พรอม
คุณสมบัติอุปกรณ!และแสดงการคํานวณปริม าณของสารดับเพลิงเสนอต,อผูควบคุม งาน เพื่อทําการขออนุมัติ
ก,อนการติดตั้ง และหลังจากติด ตั้งเสร็จแลว จะตองจัดทําคู,มือการใชงาน และวิธีการดูแลรักษาใหใชงานไดดี
เสนอต,อผูควบคุมงานและผูว,าจาง พรอมทั้งจัด Training หลังจากส,งมอบงานแลว
7.4 การทดสอบระบบ
การทดสอบใหเปYนไปตามมาตรฐาน NFPA ผูรับจางตองทําการฝ|กอบรมเจาหนาที่ของผู ว,าจาง
ใหรูถึงวิธีการใชงานระบบและวิธีบํารุงรักษา รวมทั้งจัดทําคู,มือการใชงาน และบํารุงรักษาใหดวย
7.5 การขออนุมัติ
ผูรั บจางจะตองจั ด ส, งแบบ และ Catalogue ของอุ ปกรณ! ทุกชิ้น ขออนุ มัติ ก,อ นการติด ตั้ง โดย
Catalogue จะตองเปYนขอมูลทางเทคนิคที่เหมาะสมพรอมแสดงอุปกรณ!ที่ขออนุมัติโดยการ ใหใชสีสะทอนแสง
แสดงใหชั ด เจน แบบและแปลนการติ ด ตั้ ง ของอุ ปกรณ! จะตองแสดงตํ า แหน, ง ของ อุ ปกรณ! ทุก ชิ้ นที่ ติ ด ตั้ ง
และจุ ด ต, อ สายทุ ก จุ ด ตลอดจนแนวท, อและจํ า นวนสายใหชั ด เจนเพื่ อสะดวก แก, ก ารบํ า รุง รั ก ษาภายหลั ง
ผูออกแบบสงวนสิท ธิใ นการอนุมั ติวั สดุ ในกรณี มีก ารเปลี่ ยนแปลงระบบ เพื่อใหทั นสมัยและใชงานไดดีขึ้น
โดยผูรับจางไม,สามารถคิดค,าใชจ,ายเพิ่มได

9-47
กรมทาอากาศยาน
กระทรวงคมนาคม

รายละเอียดประกอบแบบ
กองกอสรางและบํารุงรักษา
กลุมงานระบบไฟฟาและเครื่องกล
งานวิศวกรรมขนสงอัตโนมัติ

งานจัดซื้อพรอมติดตั้งสายพานลําเลียงสัมภาระผูโดยสาร
ขาเขาและขาออก
ที่ ทาอากาศยานเบตง จ.ยะลา
พ.ศ. ๒๕60
สารบัญ หนา

หมวดที่ 1 ขอกําหนดทั่วไป 1
หมวดที่ 2 งานสายพานลําเลียงสัมภาระ
1. ขอกําหนดทั่วไป 5
2. คุณสมบัติทั่วไป 6

หมวดที่ 3 อุปกรณ/มาตรฐาน 10
หมวดที่ 1 ขอกําหนดทั่วไป

1. บทนํา
ผูรับจางตองรื้อถอนและติดตั้งสายพานลําเลียงสัมภาระผูโดยสารขาเขาและขาออก และอุปกรณ/ประกอบ โดย
ที่การดําเนินการดังกลาว ตองเป8นไปตามที่แสดงในแบบและระบุในขอกําหนดนี้ ทุกประการซึ่งจะไดกลาวถึงตอไป
2. สภาพแวดลอม
วัสดุและอุปกรณ/ไฟฟาตางๆ ตามที่แสดงในแบบและระบุในขอกําหนดนี้ ตองมีความเหมาะสม ที่จะใชงาน ใน
ประเทศรอนไดดี ภายใตสภาวะแวดลอมดังนี้
อุณหภูมสิ ูงสุดเฉลีย่ 40 ํC
อุณหภูมเิ ฉลีย่ ตลอดป@ 30 ํC
ความชื้นสัมพัทธ/เฉลี่ยตลอดป@ 79%
ความชื้นสัมพัทธ/สูงสุดเฉลี่ย 94%
3. มาตรฐานและเกณฑ6กําหนดในการปฏิบัติงาน
3.1 มาตรฐานวัสดุและอุปกรณ/
มาตรฐานวัสดุและอุปกรณ/ตลอดจนการประกอบและติดตั้งตองเป8นไปตามมาตรฐานสากล โดยที่มาตรฐานที่ใชอางอิง
เป8นไปตามมาตรฐาน ของสถาบันแตละประเภท ของอุปกรณ/ และ/หรือประเภทของงานตางๆ มีตัวอยางดังตอไปนี้
ISO - International Standardization Organization
TISI - Thai Industrail Standard Institute
MEA - Metropolitan Electricity Authority
ANSI - American National Standard Institute
- NEMA & UL
IEEE - Institute of Electrical and Electronics Engineering USA
CSA - Canadian Standard Assosciation
EAS - European Standard Assosciation
JIS - Japanese Industrail Standard (JAPAN)
ASTM - American Society of Testing Materials
AWS - American Weldind Society
BMA - Bangkok Metropolitan Administration
BIS - British Standard Institute
ICEE - International Commission on Ruie for the Approval of Electrical
Equipment
EIT - The Engineering Institute of Thailand

งานจัดซื้อพรอมติดตั้งสายพานลําเลียงสัมภาระผูโดยสารขาเขาและขาออก ที่ ทาอากาศยานเบตง จ.ยะลา 1


4. ขอบเขตของงานทั่วไป
4.1 ผูรับจางตองมีผูควบคุมการปฏิบัติงานของผูรับจางประจําอยูตลอดเวลา ผูควบคุมงานของผูรับจางตอง
ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือเจาหนาที่ควบคุมงาน โดยใหถือวาไดสั่งการกับผูรับจางโดยตรง ซึ่ง
ผูรับจางตองยินยอมปฏิบัติตามทุกกรณี
4.2 ผูรับจางตองทําความเขาใจและศึกษารูปแบบโครงสรางอาคารและลักษณะการทํางานของสายพาน
ลําเลียงสัมภาระที่ทาอากาศยานเบตง โดยละเอียดกอนดําเนินการติดตั้งอุปกรณ/และสวนประกอบตางๆ ของสายพาน
ลําเลียงสัมภาระใหแลวเสร็จถูกตอง ครบถวนตามวัตถุประสงค/ของ ผูวาจางเป8นอยางดี
4.3 ผูรับจางจะตองตรวจสอบตารางเวลาการใหบริการผูโดยสาร ตารางเที่ยวบิน และการใชงาน อาคาร
และการทํางานตองวางแผนการปฏิบัติงานใหสอดคลองกับกฎระเบียบและการปฏิบัติงานของทาอากาศยาน จะตองไดรับ
ผลกระทบเรื่องเสียง ฝุtน ใหนอยที่สุด โดยจะตองขออนุมัติตอคณะกรรมการผานผูควบคุมงานกอนกระทําการใด ๆ
4.4 ผูรับจางจะตองนําเสนอแผนงานการขนสง การลําเลียงเขาสูอาคาร แผนการจารจร และการติดตั้ง
ภายในกําหนด ระยะในการดําเนินการ 180 วัน
4.5 ผูรับจางจะตองรับผิดชอบการปvดพื้นที่ปฏิบัติงาน เพื่อใหเกิดความเรียบรอย สวยงามปลอดภัย จะตอง
ทําการปองกันฝุtน กั้นแนวทํางานติดตั้ง ใหเกิดความปลอดภัย สะอาด มีแสงสวาง มีการระบายอากาศที่ดี พรอมทั้งจัดทํา
ปายตาง ๆ ตลอดระยะเวลาการติดตั้งและไมรบกวนผูใชบริการหรือผูประกอบการตาง ๆ ตามแตเจาหนาที่ควบคุมงานจะ
เห็นสมควร
4.6 ผูรับจางตองเป8นผูรับผิดชอบตอความเสียหายใดๆ ที่เกิดขึ้นในขณะปฏิบัติงานทั้งหมดทุกประการ
4.7 ผูรับจางจะตองจัดทําประกันภัย การขนถายขยะ รวมทั้งรับผิดชอบคาใชจายในการประสานงานตาง
ๆ ทั้งหมด
4.8 ผูรับจางจะตองจัดทํา Shop drawing แสดงระยะรายละเอียดการติดตั้งสายพานลําเลียงพรอมระบบ
ไฟฟาควบคุมสายพานฯ จัดทําแผนการปฏิบัติงานหรือแสดงรายละเอียดการดําเนินงาน เพื่อขออนุมัติกอนดําเนินการ
ติดตั้งใชงาน เสนอตอผูควบคุมงาน และคณะกรรมการตรวจรับ หลังจากวันเริ่มสัญญา
4.9 ผูรับจางจะตองจะตองจัดสงสินคาจากโรงงานของผูรับจางมายังสถานที่ติดตั้งโดยตรง และทําการ
ทดสอบอุปกรณ/ทุกชิ้น ณ สถานที่ติดตั้ง กอนการติดตั้งจะตองไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการใหดําเนินการติดตั้ง
4.10 อุปกรณ/ที่ใชทั้งหมดจะตองเป8นของใหมที่ไมเคยถูกประกอบใชงานที่อื่นมากอนและไมเป8นสินคาเกา
เก็บมากอน
4.11 การติดตั้งระบบไฟฟาตลอดจนอุปกรณ/ตาง ๆ ที่เกี่ยวของตองเป8นไปตามมาตรฐานการไฟฟาสวน
ภูมิภาคและมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาของสมาคมวิศวกรรมแหงประเทศไทย
4.12 ขณะผูรับจางทําการตอเชื่อมระบบไฟฟาจะตองมีเจาหนาที่ของกรมฯ อยูดวยเสมอ
4.13 ถาเจาหนาที่ควบคุมงานเห็นวาผูรับจางเรงรัดทํางานจนอาจเกิดความเสียหายขึ้นทาง เจาหนาที่
ควบคุม งานมีสิ ทธิ์ที่ จะยับยั้ ง และใหผูรั บจางปฏิบัติ งานใหถูก ตองตามหลักการชางที่ดี ทั้ง นี้จะถือ เป8น ขออางในการ
ปฏิบัติงานไมทัน เพื่อขอตออายุสัญญา และ/หรือเรียกรองคาเสียหายจากผูวาจางไมได
4.14 ผูรับจางตองทําความสะอาดพื้นที่ใหเรียบรอย หลังปฏิบัติงานทุกครั้งวัสดุอุปกรณ/ที่รื้อถอนหรือถอด
เปลี่ยน ผูรับจางจะตองทําบัญชีรายการวัสดุพรอมภาพถายสงผานเจาหนาที่ควบคุมงาน เพื่อสงคืนคลังพัสดุทาอากาศยาน
ขอนแกนของกรมทาอากาศยาน
4.15 เมื่อจะสงมอบงานที่ เสร็จ สมบูร ณ/แลวตอผูวาจาง ผูรับจางจะตองเก็ บทําความสะอาดโดยรวม
สายพานลําเลียงสัมภาระ ทั้งหมดที่ทําการติดตั้งในครั้งนี้ ตลอดจนบริเวณพื้นที่เก็บวัสดุอุปกรณ/และขนยายสิ่งสกปรกตาง
ๆ หรือเครื่องมือสวนที่เป8นของผูรับจางออกไปใหพนจากบริเวณพื้นที่ และบริเวณใกลเคียงใหเรียบรอย ภายในระยะเวลา
ที่กําหนดให นอกจากผูวาจางจะสงวนไว
4.16 ผูรับจางจะตองทําการฝ{กอบรมการใชงาน และการบํารุงรักษาทางดานเครื่องกลและดานระบบ
ไฟฟาควบคุมสายพานลํ าเลี ยงสั มภาระ ที่ ทาอากาศยานเบตง โดยผูเชี่ ยวชาญในแตละดาน เป8นเวลา 1 วัน ใหกั บ
เจาหนาที่ เ ขารั บ การฝ{ ก อบรมจาก ทาอากาศยานเบตง โดยผูรั บ จางจะตองมี ห นั ง สื อ แจงเขารั บ การฝ{ ก อบรมกอน
ดําเนินการสงมอบงานใหคณะกรรมการตรวจรับไมนอยกวา 3 วันทําการ และตองจัดทําคูมือการใชงานดานเครื่องกลและ
ไฟฟาโดยมีจํานวน ไมนอยกวาจํานวนผูเขารับการอบรม

งานจัดซื้อพรอมติดตั้งสายพานลําเลียงสัมภาระผูโดยสารขาเขาและขาออก ที่ ทาอากาศยานเบตง จ.ยะลา 2


4.17 ผูรับจางตองสงมอบคูมือการใชงาน การบํารุงรักษาอยางนอย 3 ชุด และใบรับประกัน ในวันสง
มอบงานผูรับจางจะตองทําการสงมอบ และทดสอบอุปกรณ/ทุกชิ้นที่เสนอราคาให เสร็จสิ้นกอนการตรวจรับ

5. ป;ายโครงการ(ขอกําหนดพิเศษ (คณะกรรมการวาดวยการพัสดุ) ปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี)


5.1 ใหสวนราชการ หนวยงานตามกฎหมายวาดวยระเบี ย บบริ ห ารราชการสวนทองถิ่ น หนวยงาน อื่ น ซึ่ ง
กฎหมาย บัญญัติใหมีฐานะเป8นราชการบริหารสวนทองถิ่น และรัฐวิสาหกิจ ทั่วประเทศทีมีงานกอสราง/งานจัดซื้อจัด
จาง ซึ่งมีคางานตั้งแต 1 ลานบาทขึ้นไป ติดตั้งแผนปายแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับงานกอสราง/งานจัดซื้อจัดจาง ไว
ณ บริเวณสถานที่กอสราง โดยกําหนดเป8นเงื่อนไขในสัญญาจางใหผูรับจางเป8นผูรับผิดชอบ ในการ ดําเนินการ จัดหาและ
ติดตั้งปายดังกลาว
5.2 ผูรับจางตองจัดหาแผนปายแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับงานจัดซื้อจัดจาง โดยใหมีรายละเอียดในการประกาศ
ดังนี้ คือ
5.2.1. หนวยงานเจาของโครงการสถานที่ตดิ ตอและหมายเลขโทรศัพท/พรอมดวงตราหนวย
งานเจาของโครงการ
5.2.2 ประเภทและชนิดของงานจาง
5.2.3 ปริมาณงาน
5.2.4 ชื่อ ที่อยู ผูรับจาง พรอมหมายเลขโทรศัพท/
5.2.5 ระยะเวลาการติดตั้ง
5.2.6 วงเงินการจัดซื้อ
5.2.7 ชื่อเจาหนาที่ของสวนราชการผูควบคุมงาน พรอมหมายเลขโทรศัพท/
5.2.8 กําลังติดตั้งดวยเงินภาษีอากรของประชาชน
5.2.9 ขนาดตามความเหมาะสม

0.20 0.20
0.10

0.80 กรมท่ าอากาศยาน


ท่าอากาศยาน .................................................................
งานก่อสร้าง ................................................................................................................................................................ 2.40
ปริ มาณงาน ..........................................................................................................................................................................
ผูร้ ับจ้าง ................................................................................................................................................................................
1.40 ระยะเวลา ...........................................................................................................................................................................
ค่าก่อสร้าง .............................................................................................................................................................................
ผูค้ วบคุมงาน. .....................................................................................................................................................................
กาํ ลังก่อสร้างด้วยเงินภาษีของประชาชน

1.50

0.20
4.80
0.20 0.20

6. การใชพลังงานไฟฟ;า และอื่นๆ
6.1 ผูรับจางตองรับผิดชอบเกี่ยวกับคาใชจายในการตอสายไฟฟา สายโทรศัพท/ ทอน้ําประปา และทอน้ําอื่นๆ
รวมทั้งมาตรวัดตางๆชั่วคราว รวมทั้งคาใชจายในการดําเนินงาน การใชงานการติดตั้งและการทดสอบดวย
6.2 คาใชจายตางๆ ในขอ 6.1 ผูรับจางตองรับผิดชอบตั้งแตวันเริม่ เตรียมการระหวางการใชงาน จนกระทั่งวันสง
มอบงานเรียบรอยแลว ผูรับจางตองดําเนินการติดตั้งระบบไฟฟาชั่วคราว สําหรับแสงสวางตามจุดตางๆภายใน
อาคาร ตามที่ผูวาจางกําหนดให ซึ่งจําเป8นสําหรับการปฏิบัติงานของผูรับจาง หรือตรวจสอบงานของผูวาจาง และ
ความปลอดภัยในการทํางานของสวนรวมคาใชจายในการติดตั้งโคมไฟฟาแสงสวางชั่วคราวนี้ อยูในความรับผิดชอบ
ของผูรับจางเชนกัน

งานจัดซื้อพรอมติดตั้งสายพานลําเลียงสัมภาระผูโดยสารขาเขาและขาออก ที่ ทาอากาศยานเบตง จ.ยะลา 3


7. การรายงานผล และความคืบหนาของงาน
7.1 ผูรับจางตองสงรายงานสรุปผลความคืบหนาของการปฏิบัติงานติดตั้ง เป8นลายลักษณ/อักษร จํานวน 2 ชุด
ใหแกผูวาจางโดยสม่าํ เสมอ ทุกๆ 30 วัน
7.2 รายงานดังกลาวในขอ 7.1 ตองเริ่มทํานับจากวันทีล่ งนามในสัญญาวาจาง และสิ้นสุดลงเมื่อสงมอบงานใหแก
ผูวาจางเรียบรอยแลว
7.3 รายงานดังกลาวตองประกอบดวยรายละเอียดตางๆอยางนอยดังนี้
1) พนักงานที่ปฏิบัติงานทั้งหมด
2) วัสดุและอุปกรณ/ที่เขามายังสถานที่ติดตั้ง
3) งานที่ไดติดตั้งไปแลวพรอมภาพประกอบการติดตั้ง
4) งานที่ลาชา (ถามี)
5) การแกไข และ/หรือเปลี่ยนแปลงงาน
6) สภาพภูมิอากาศ
7) อื่นๆ

งานจัดซื้อพรอมติดตั้งสายพานลําเลียงสัมภาระผูโดยสารขาเขาและขาออก ที่ ทาอากาศยานเบตง จ.ยะลา 4


หมวดที่ 2 งานสายพานลําเลียงสัมภาระ

1. ขอกําหนดทั่วไป
1.1 ขอบเขตของงาน
ผูรับจางตองจัดหาพรอมรื้อถอนและติดตั้งวัสดุอุปกรณ/ของสายพานลําเลียงสัมภาระของโครงการดัง
แสดงในแบบรวมถึงสวนประกอบอื่นๆ ไดแกแรงงาน เครื่องมือเครือ่ งใชตาง ๆ การติดตั้งตามหลักวิชาชางที่ดี
ตลอดถึงงานชั่วคราวเพื่อใหงานเสร็จสิ้นเรียบรอยสมบูรณ/ ใชงานไดตามจุดประสงค/ของผูวาจาง
1.2 มาตรฐานและกฎเกณฑ/ที่ใชอางอิง
ถามิไดกําหนดไวเป8นอยางอื่น มาตรฐานทั่วไปของวัสดุ อุปกรณ/การประกอบแบบการติดตั้งที่ระบุไวใน
แบบรายละเอียดประกอบแบบ เพื่อใชอางอิงสําหรับงานตามสัญญาในโครงการนี้ ใหถือตามมาตรฐานของ
สถาบันที่เกี่ยวของดังตอไปนี้
มอก - สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ/อุตสาหกรรม
วสท. - วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย
ISO - International Standardization Organization
TISI - Thai Industrail Standard Institute
MEA - Metropolitan Electricity Authority
ANSI - American National Standard Institute
- NEMA & UL
IEEE - Institute of Electrical and Electronics Engineering USA
CSA - Canadian Standard Assosciation
EAS - European Standard Assosciation
JIS - Japanese Industrail Standard (JAPAN)
ASTM - American Society of Testing Materials
AWS - American Weldind Society
BMA - Bangkok Metropolitan Administration
BIS - British Standard Institute
ICEE - International Commission on Ruie for the Approval of Electrical
Equipment
EIT - The Engineering Institute of Thailand

งานจัดซื้อพรอมติดตั้งสายพานลําเลียงสัมภาระผูโดยสารขาเขาและขาออก ที่ ทาอากาศยานเบตง จ.ยะลา 5


2. คุณสมบัติทั่วไป
2.1 งานสายพานลําเลียงสัมภาระขาออก ประกอบดวยชุดสายพานมีความยาวแตละชวงดังนี้
2.1.1 สายพานสงสัมภาระหลังเคาน/เตอร/เช็คอิน (Transport Belt Conveyor) 13 M
ซึ่งมีรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะดังนี้
- โครงสรางทําจากอลูมิเนียมเอ็กซ/ทรูชั่น (Aluminium Extrusion) แบบอัดขึ้นรูปมีขนาด
ไมนอยกวา 30x105 มิลลิเมตร ดานขางมีรองสําหรับใชยึดน็อตทั้งสองดาน
- แผนปvดดานขาง (Side Cover) ทําจากแผนสแตนเลส (Stainless Steel) ความหนาไม
นอยกวา 2.0 ม.ม. และความสูงจากพื้นไมนอยกวา 400 ม.ม. โดยสามารถปรับระดับได 30-
40 มม.
- แผนกันเตะดานลาง (Kicking Plate) ทําจากเหล็กพนสี Powder Coating หรืออีพอกซี่ (Epoxy)
ความหนาและความสูงตามาตรฐานผูผลิต
- ผิวของสายพานดานบนทําจากวัสดุ Flexam เป8น PVC หรือ PU (Polyurethane) ชนิด 2 ply
ความหนาไมนอยกวา 2.5 มิลลิเมตร ผิวสายพานดานบนเป8นแบบ Smooth สีดําไดมาตรฐานตาม
DIN, ISO, ASTM หรือมาตรฐานสากลเป8นที่ยอมรับ ความกวางของสายพาน (Belt Width) ตองมี
ความกวางไมนอยกวา 1000 มิลลิเมตร มี Working Tensile Stength per ply ไมนอยกวา 8
N/mm.(ของความกวางสายพาน) ตองมีรอยตอเดียว เป8นชนิด Mechanical Connection หรือ
เป8นแบบเชื่อมรอน (Stepped-Connection)
- สงสัมภาระในแตละชวงตองมีความเร็วคงที่ตลอดเวลา ไมนอยกวา 25 เมตร/นาที ทั้ง
ในขณะมี Load เต็มตามขอกําหนด และขณะในไมมี Load เต็มตามขอกําหนด
- ชุดขับ (Drive Unit) แบบ Hollow shaft mounting เป8นไปตามมาตรฐานของโรงงานผูผลิต ใชกับ
ระบบไฟ 380V, 3Ph, 50Hz, ฉนวน Class F, IP55 โดยชุดมอเตอร/และเกียร/ตองประกอบเป8น
ชุดเดียวกันเป8นผลิตภัณฑ/มาตรฐาน CEN หรือ JIS หรือ ASTMหรือมาตรฐานสากลที่กรมทาอากาศ
ยานยอมรับ
- ชุดขับตองมีลูกกลิ้งทั้งหมดไมนอยกวา 4 ลูก รวมชุดลูกกลิ้ง Take-up สําหรับความตึงตาม
มาตรฐานโรงงานผูผลิต
- แผนรองรับดานลางของสายพาน เป8นเหล็กพนสี Powder coating หนาไมนอยกวา 3.0 มิลลิเมตร
- ลูกลอ (Guide Wheel) สําหรับปองกันสายพานไมตรงแนว ทําดวย Polyurethane หรือ Nylon
ขนาดเป8นไปตามแบบมาตรฐานของผูผลิต
2.1.2 สายพานสงสัมภาระ (Transport Belt Conveyor) 5 M
2.1.3 สายพานสงสัมภาระ (Transport Belt Conveyor) 21.2 M
2.1.4 สายพานสงสัมภาระ (Transport Belt Conveyor) 2 M
ซึ่งมีรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะดังนี้
- โครงสรางทําจากอลูมิเนียมเอ็กซ/ทรูชั่น (Aluminium Extrusion) แบบอัดขึ้นรูปมีขนาด
ไมนอยกวา 30x105 มิลลิเมตร ดานขางมีรองสําหรับใชยึดน็อตทั้งสองดาน
- มี Guard กันตกสูงไมนอยกวา 300 มิลลิเมตร เพื่อกันกระเป…าตกดานขาง ทําดวยเหล็กพับขึ้นรูป
หนาไมนอยกวา 2.0 มม.พนดวยสีฝุtน (Powder coating)
- ผิวของสายพานดานบนทําจากวัสดุ Flexam เป8น PVC หรือ PU (Polyurethane) ชนิด 2 ply
ความหนาไมนอยกวา 2.5 มิลลิเมตร ผิวสายพานดานบนเป8นแบบ Smooth สีดําไดมาตรฐานตาม
DIN, ISO, ASTM หรือมาตรฐานสากลเป8นที่ยอมรับ ความกวางของสายพาน (Belt Width) ตองมี
ความกวางไมนอยกวา 1000 มิลลิเมตร มี Working Tensile Stength per ply ไมนอยกวา 8
N/mm.(ของความกวางสายพาน) ตองมีรอยตอเดียว เป8นชนิด Mechanical Connection หรือ
เป8นแบบเชื่อมรอน (Stepped-Connection)
- สงสัมภาระในแตละชวงตองมีความเร็วคงที่ตลอดเวลา ไมนอยกวา 25 เมตร/นาที ทั้ง
ในขณะมี Load เต็มตามขอกําหนด และขณะในไมมี Load เต็มตามขอกําหนด
- ชุดขับ (Drive Unit) แบบ Hollow shaft mounting เป8นไปตามมาตรฐานของโรงงาน
งานจัดซื้อพรอมติดตั้งสายพานลําเลียงสัมภาระผูโดยสารขาเขาและขาออก ที่ ทาอากาศยานเบตง จ.ยะลา 6
ผูผลิต ใชกับระบบไฟ 380V, 3Ph, 50Hz, ฉนวน Class F, IP55 โดยชุดมอเตอร/และเกียร/ตอง
ประกอบเป8นชุดเดียวกันเป8นผลิตภัณฑ/มาตรฐาน CEN หรือ JIS หรือ ASTMหรือมาตรฐานสากลที่
กรมทาอากาศยานยอมรับ
- ชุดขับตองมีลูกกลิ้งทั้งหมดไมนอยกวา 4 ลูก รวมชุดลูกกลิ้ง Take-up สําหรับความตึงตาม
มาตรฐานโรงงานผูผลิต
- แผนรองรับดานลางของสายพาน เป8นเหล็กพนสี Powder coating หนาไมนอยกวา 3.0 มิลลิเมตร
- ลูกลอ (Guide Wheel) สําหรับปองกันสายพานไมตรงแนว ทําดวย Polyurethane หรือ Nylon
ขนาดเป8นไปตามแบบมาตรฐานของผูผลิต
2.1.5 สายพานลําเลียงแบบโคง 90 องศา (Curve belt conveyor)
- ความกวางสายพานไมนอยกวา 900 มิลลิเมตร
- รัศมีโคงกลางสายพาน 1,250-1,400 mm.
- ความเร็ว (Belt Speed) ไมนอยกวา 25 เมตร/นาที
- สายพาน (Belt) ใชเป8น PVC หรือ PU (Polyurethane) ชนิด 2 ply (min) ไดมาตรฐานตาม DIN,
ISO, ASTM, and BSI. ESA หรือ JIS มี Working Tensile Strength per Ply ไมนอยกวา 8
N/mm. (ของความกวางสายพาน) ตองมีรอยตอเดียว เป8นชนิด Mechanical Connection หรือ
เป8นแบบเชื่อมรอน (Stepped-Connection)
- ชุดขับ (Drive Unit) แบบ Hollow shaft mounting เป8นไปตามมาตรฐานของโรงงานผูผลิต ใชกับ
ระบบไฟ 380V, 3Ph, 50Hz¸ ฉนวน Class F, IP55 โดยชุดมอเตอร/และเกียร/ตองประกอบเป8น
ชุดเดียวกันเป8นผลิตภัณฑ/มาตรฐาน EU หรือ JIS หรือ ASTM หรือ มาตรฐานสากลเป8นที่ยอมรับ
- มีชุด Take-up Section สําหรับปรับความตึง ตามมาตรฐานผูผลิต
2.1.6 สายพานลําเลียงแบบจัดระยะหางสัมภาระ (Queue belt conveyor)
- โครงสรางทําจากอลูมิเนียมเอ็กซ/ทรูชั่น (Aluminium Extrusion) แบบอัดขึ้นรูป หรือ เหล็กพับ
ความหนาไมนอยกวา 3.0 มิลลิเมตร พนสี Steel powder coating
- ผิวของสายพานดานบนเป8นPVCหรือPU (Polyurethane) ชนิด 2 ply ความหนาไมนอยกวา 2.5
มิลลิเมตร ผิวสายพานดานบนเป8นแบบ Smooth สีดํา ไดมาตรฐานตาม DIN ISO ASTM หรือ
มาตรฐานสากลเป8นที่ยอมรับ มีความกวางของสายพาน (Belt Width) ไมนอยกวา 900 มิลลิเมตร
Working Tensile Strength per Ply ไมนอยกวา 10 N/mm. ของความกวางสายพาน และ มี
รอยตอเดีย ว เป8 น ชนิ ด Mechanical Connection หรื อ เป8 น แบบเชื่อ มรอน (Stepped-
Connection)
- การสงสัมภาระในแตละชวงตองมีความเร็วสัมพันธ/กับจํานวนสัมภาระที่เขามาในระบบและสามารถ
ทํางานรวมกับระบบของเครื่องตรวจอาวุธและวัตถุระเบิดแบบ EDS โดยมีความเร็วในการลําเลียง
ระหวาง ๒๐ - 30 เมตร/นาที ทั้งในขณะมี Load และขณะในไมมี Load ตามขอกําหนด
- ชุดขับเคลื่อนสายพาน ตองมีลูกกลิ้งทั้งหมดไมนอยกวา 4 ลูกรวมชุดลูกกลิ้ง Take-up สําหรับปรับ
ความตึง ตามมาตรฐานโรงงานผูผลิต
- ชุดขับ (Drive Unit) แบบ Hollow shaft mounting เป8นไปตามมาตรฐานของโรงงานผูผลิต ใชกับ
ระบบไฟ 380V, 3Ph, 50Hz¸ ฉนวน Class F, IP55 โดยชุดมอเตอร/และเกียร/ตองประกอบเป8น
ชุดเดียวกันเป8นผลิตภัณฑ/ที่ไดรับมาตรฐาน EU หรือ JIS หรือ ASTM หรือ มาตรฐานสากลกรมทา
อากาศยานยอมรับ
- แผนรองรับดานลางของสายพานเป8นเหล็กพนสี ความหนาไมนอยกวา 3.0 มิลลิเมตร

2.2 สายพานลําเลียงสัมภาระขาเขา Slat Flat Carousel Conveyor " L " TYPE


ซึ่งมีรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะดังนี้
- สายพานเป8นชนิดสายพานทับซอน (Overlap)
- สายพานจานหมุนลําเลียงสัมภาระขาเขารูปตัว L (Slat Flat Carousel Conveyor
" L " TYPE) มีความยาวไมนอยกวา 36 เมตร
งานจัดซื้อพรอมติดตั้งสายพานลําเลียงสัมภาระผูโดยสารขาเขาและขาออก ที่ ทาอากาศยานเบตง จ.ยะลา 7
- ความกวางใบ Slat 890 มม. (ไมรวมป@กของการ/ด)
- รัศมีกึ่งกลาง 1,000-1,500 มิลลิเมตร
- ความสูงจากพื้น 350-450 มม.
- ความเร็วสายพาน 25 เมตรตอนาที
- ลอ (Wheel) เป8นวัสดุ Polyurethane ขนาดเสนผานศูนย/กลางไมนอยกวา 80 มิลลิเมตร
- ความเร็วสายพาน 25 เมตรตอนาที
- โซเป8นวัสดุอลูมิเนียม แบบ Die Cast aluminium links
- ชุดโครงสรางเป8นเหล็กพนสี Powder coating
- รับน้ําหนักกระเป…าไดไมนอยกวา 90 กก/ความยาว 1 เมตร (ขณะสายพานกําลังวิ่ง)
- รับน้ําหนักกระเป…าไดไมนอยกวา 150 กก/ความยาว 1 เมตร (ขณะสายพานหยุดกับที่)
- แผนปvดดานขาง (Side Cover) บริเวณผูโดยสารรับสัมภาระ (Passenger Area) ทําจากแผนสแตนเลส
(Stainless Steel) ความหนาไมนอยกวา 2.0 ม.ม. และความสูงจากพื้นไมนอยกวา 400 ม.ม. โดย
สามารถปรับระดับได 30-40 มม.
- แผนปvดดานขาง (Side Cover) บริเวณจุดวางสัมภาระ (Loading area) ทําจากเหล็กพนสี Powder
Coating หรืออีพอกซี่ (Epoxy) ความหนาไมนอยกวา 2.0 ม.ม. และความสูงจากพื้นไมนอยกวา 400
ม.ม.
- แผนกันสัมภาระตกดานขางใน (Side Guard) บริเวณจุดวางสัมภาระ (Passenger Area) ทําจากแผน
สแตนเลส (Stainless Steel) ความหนาไมนอยกวา 2.0 ม.ม. และความสูงจากแผนไมนอยกวา 150
ม.ม.
- แผนกันสัมภาระตกดานขางนอก (Side Guard) บริเวณจุดวางสัมภาระ (Loading Area) ทําจาก
เหล็กพนสี Powder Coating หรืออีพอกซี่ (Epoxy) ความหนาไมนอยกวา 2.0 ม.ม.และความสูงจาก
แผน Slat ไมนอยกวา 400 ม.ม.
- แผนกันเตะดานลาง (Kicking Plate) ทําจากเหล็กพนสี Powder Coating หรืออีพอกซี่ (Epoxy) ความ
หนาและความสูงตามมาตรฐานผูผลิต
- ขนาดมอเตอร/ไมนอยกวา 2.2 KW, 3ph, 50HZ, 380V ฉนวน Class F, IP55 โดยชุดมอเตอร/และ
เกียร/ตองประกอบเป8นชุดเดียวกันเป8นผลิตภัณฑ/มาตรฐาน CEN หรือ JIS หรือ ASTM หรือ
มาตรฐานสากลที่กรมทาอากาศยานยอมรับ
- ชุดขับเป8นแบบ Friction Drive Unit

2.3 งานระบบไฟฟาสําหรับสายพานลําเลียงสัมภาระขาเขาและขาออก
2.3.1 อุปกรณ/ระบบไฟฟาและระบบควบคุมติดตั้งตูควบคุมไฟฟา
- Power Supply
Power : Ac 380/220 V 3 Phase 50 Hz 4 Wire
Control : 24 VDC หรือ 220 VAC, Single Phase
- Ambient Temperature : ไมนอยกวา 40◦c
2.3.2 Electrical control Slat Flat Carousel Conveyor (ขาเขา)
- Include Shutter door x 2 sets
- งาน Main power supply (ประมาณ 50 เมตร)
2.3.3 Electrical control for loop Outbound (ขาออก)
- PLC Control and Program
- Control panel and equipment electrical
- cable and wire way
- งาน Main power supply (ประมาณ 50 เมตร)
2.3.4 อุปกรณ/ควบคุมมอเตอร/ขาเขาและขาออก (Motor Control Equipment)

งานจัดซื้อพรอมติดตั้งสายพานลําเลียงสัมภาระผูโดยสารขาเขาและขาออก ที่ ทาอากาศยานเบตง จ.ยะลา 8


- Control Boards เป8นชนิด Programmable Logic Controller (PLC) เป8นผลิตภัณฑ/ที่ได
มาตรฐานขอกําหนดของ NEMA หรือ IEC โดยไฟฟาปอนสําหรับ PLC กําหนดใหใชเป8นระบบ
ควบคุมเป8น 24 VDC หรือ VAC, Single Phase
- มิเตอร/วัดชั่วโมงการทํางาน
- Enclosure ตองไดมาตรฐานของ NEMA Class F หรือ IP55
- Disconnects ทั้งหมดตองเป8น Circuit Breakers และเป8น Molded CaseType
- Starters ทั้งหมดตองเป8น Thermal Overloads and Short Circuit Protection ระบบ
Magnetic Type, Motor controller ตองเป8นแบบ Over-Under Voltage Protection, ชุด
อุปกรณ/ Overload Protective Devices ตองเป8นแบบ Thermal Inverse-Time-Limit Type
- อุปกรณ/ควบคุมมอเตอร/และสายไฟทุกชนิดทั้งหมด (All Motor Control Equipment) ตองติด
ปายชื่อใหครบทุกตําแหนงอยางเรียบรอย
- ติดตั้ง Surge Arrester ที่ตูเมนไฟฟาของใหม ที่จายใหกับอุปกรณ/สายพานลําเลียงกระเป…าขาเขา
และขาออก มีรายละเอียด ดังนี้
- Rated Voltage 380 V
- Frequency 50 Hz.
- Voltage Protection Level Residual Voltage 2.5 kA
- Response Time 2.5 ns
- Degree of Protection IP 20 หรือ NEMA 4
- Phase Protection เพื่อปองกันการตอสลับเฟส
2.3.5 การติดตั้งอุปกรณ/ และการเดินสาย (Wiring) ระบบไฟฟา
- ตูควบคุมระบบไฟฟา จะตองมีระบบตัวล็อคหนาตู กอนทําการ ปvด-เปvด เบรกเกอร/
เพื่อปองกันอันตราย และชุด Protection Over/Under Voltage ติดตั้งดวย
- ตูควบคุมระบบไฟฟา สามารถทํางานไดทั้งระบบ Auto และ Manual
- การ Wiring ตองมีการ Mark สายไฟโดยเป8นปลอกสีขาวพิมพ/ดวยตัวหนังสือสีดาํ มองเห็นได
ชัดเจนโดยขนาดสาย Control wiring ตองมีขนาดไมนอยกวา 0.75 ตารางมิลลิเมตร
- อุปกรณ/ไฟฟาที่ใชกับระบบควบคุมตองเป8น 24 VDC หรือ 220 VAC, Single Phase
- สัญญาณ Output ไปควบคุมอุปกรณ/ตาง ๆ ที่ออกจากชุด Output PLC ตองมีRelay buffer
เพื่อปองกันความเสียหาย
2.3.6 ระบบสายไฟฟา
- สายไฟฟาทั้งหมดตองเป8น Copper Conductors และไดมาตรฐาน มอก.11-2553
- สวนประกอบของสายไฟฟา (Cables) ที่ใชใน Control Boards ตองเป8นสายออน (Flexible
Copper Conductor Multi-Strand) และ Vinyl Polychloride Sheath Designed
- การเดินสายไฟฟาทั้งหมดใหเดินในทอรอยสายโดยการรอยสายจะทําตอเมื่อไดทําการติดตั้งทอ
รอยสายทั้งหมดเรียบรอยแลว
2.3.7 ทอและรางสายไฟฟา (Conduit and Raceways)
- ทอสายไฟฟาที่เดินในผนังหรือพื้นอาคาร จะตองใชเป8นชนิด Intermediate Metal Conduit
(IMC) แบบ Rigid Steel Conduit
- ใหแสดงตําแหนงแนวทอและรางสายไฟฟาและ Raceway Boxes และวงจรใหชัดเจน
ใน Shop Drawing ที่เสนอใหผูควบคุมงานพิจารณาอนุมัติกอนการติดตั้ง
- การติดตั้งทอรอยสายไฟฟา ใหติดตั้งซอนในผนังและฝาเพดานสําหรับกรณีติดทั้งทอ
รอยสายซอนไมไดใช Wire Ways
- การเชื่อมสายไฟฟาเขาอุปกรณ/ เชน มอเตอร/ หรืออุปกรณ/ที่มีการสัน่ สะเทือนหรือมี
การปรับตัวได ใหใชทอรอยสายไฟฟาแบบ Flexible Conduit
- การตอสายไฟฟาตองตอใน Junction Box เทานั้น
งานจัดซื้อพรอมติดตั้งสายพานลําเลียงสัมภาระผูโดยสารขาเขาและขาออก ที่ ทาอากาศยานเบตง จ.ยะลา 9
2.4 การทดสอบ
2.4.1 ผูรับจางตองทดสอบอุปกรณ/ตาง ๆ ระบบตามมาตรฐานที่บริษัทผูผลิตกําหนด โดยเสนอกรรมวิธี
ขั้นตอน วิธีการทดสอบ ใหคณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาอนุมัติกอนทดสอบ
2.4.2 ผูรับจางตองทดสอบอุปกรณ/ระบบสายพานลําเลียงสัมภาระอยางนอย ดังนี้
- ทดสอบอุปกรณ/ระบบสายพานลําเลียงสัมภาระใหทํางานแบบตอเนื่องตลอดเวลา 12 ชั่วโมง
ในสภาวะที่ไมมีน้ําหนักเป8นจํานวน 2 ครั้ง หรือเป8นที่พอใจของคณะกรรมการ
- ทดสอบอุปกรณ/ระบบสายพานลําเลียงสัมภาระใหทํางานเต็มระบบเหมือนใชงานจริงโดยมี
น้ําหนัก เต็ มตามอัตราที่ กํา หนดโดยทํางานแบบตอเนื่องตลอดเวลา 8 ชั่ว โมงเป8น จํา นวน
2 ครั้ง หรือเป8นที่พอใจของคณะกรรมการ
2.4.3 การทดสอบ และมาตรการแกไขตาง ๆ ในระหวางการทดสอบเพื่อใหเป8นไปตามขอกําหนดแหง
สัญญาผูรับจางจะตองรับผิดชอบตอคาใชจายที่เกิดขึ้นทั้งหมด โดยเฉพาะคากระแสไฟฟา
2.4.4 ผูรับจางจะตองทํา Test Report ทุกระบบสงใหกรมทาอากาศยานจํานวน 5 ชุด

2.5 การสงมอบและการตรวจรับ
2.5.1 ผูรับจางตองติดตั้งอุปกรณ/ทั้งหมด ทดลองใชงานและฝ{กอบรมเจาหนาที่ปฏิบัติการ และเจาหนาที่
ชางตลอดจนปฏิบัติตามเงื่อนไงของทางราชการทั้งหมดตองแลวเสร็จภายใน 120 วัน นับจากวันที่
ทําสัญญากับกรมทาอากาศยาน
2.5.2 ผูรับจางจะตองมีเจาหนาที่ของบริษัทฯ รวมทําการทดลองและตรวจสอบกับคณะกรรมการตรวจรับ
ของกรมทาอากาศยาน
2.5.3 เอกสารที่ตองสงมอบในวันสงมอบงาน
2.5.3.1 หนังสือคูมือการใชงานระบบสายพานลําเลียงและระบบไฟฟาพรอมระบบควบคุ ม
(Operating Manual) จํานวน 3 ชุด หนังสือคูมือทางเทคนิค (Technical Manual)
จํานวน 3 ชุด ฉบับภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ กรณีหนังสือคูมือในขอใดถูกบรรจุอยูใน
แผน CD-ROM ทางผูขายตองสงแผน CD-ROM ตนฉบับ พรอมพิมพ/ขอมูลทั้งหมดเป8น
เอกสารใหกรมทาอากาศยาน จํานวน 3 ชุด
2.5.3.2 เอกสาร As Built Drawing (Auto CAD Format) แสดงแนวการวางสายสัญญาณ
สายไฟฟา และรายละเอียดในการติดตั้ง โดยพิมพ/ลงกระดาษขนาด A1 พรอมบันทึกลง
แผน CD-ROM จํานวน 3 ชุด
2.5.3.3 เอกสารแสดงแผนผัง การวางอุปกรณ/ไฟฟา และแผนผังการตอเชื่อมสายของอุปกรณ/
ตางๆ ภายในตูควบคุมตางๆโดยพิมพ/ลงกระดาษขนาด A1 พรอมบันทึกลงแผน CD-
ROMจํานวน 3 ชุด
หมายเหตุ หนังสือคูมืออาจรวมอยูในเลมเดียวกันได โดยการจัดสงให สงในรูปแบบ CD-ROM จํานวน 3 ชุด
และเอกสาร 3 ชุด

2.6 การรับประกัน และบํารุงรักษา


2.6.1 ผูรับจางจะตองรับประกันความชํารุดบกพรอง ของงานจางที่เกิดขึ้นภายในระยะเวลาไมนอยกวา
2 ป@ นับจากวันที่กรมไดรับมอบงานงวดสุดทาย
2.6.2 ผูรับจางตองใหการรับประกันพรอมบํารุงรักษาสายพานลําเลียงสัมภาระ ที่จําหนายใหกับกรมฯ
ตามระยะเวลาที่กําหนดไว ในกรณีสายพานลําเลียงสัมภาระผูโดยสารชํารุดฉุกเฉิน ผูรับจางตองมี
CALL CENTER หรือ SEVICE CENTER เพื่อรับแจงระบบชํารุดฉุกเฉินไดตลอด 24 ชั่วโมง โดยมี
หมายเลขฉุกเฉินอยางนอย 2 หมายเลขโทรศัพท/ และผูรับจางจะตองสงชางผูชํานาญการ มา
ดําเนินการแกไขใหกับกรมฯ ภายใน 48 ชั่วโมงนับตั้งแตไดรับแจง และแกไขใหใชไดดีดังเดิม
ภายใน 7 วัน

งานจัดซื้อพรอมติดตั้งสายพานลําเลียงสัมภาระผูโดยสารขาเขาและขาออก ที่ ทาอากาศยานเบตง จ.ยะลา 10


2.6.3 การรับประกันรวมถึงคาใชจายตาง ๆ ในการดําเนินการแบบเบ็ดเสร็จ เป8นอยางนอยในระหวางที่ยัง
มิไดสงเจาหนาที่เขามาดําเนินการแกไข ตองใหการชวยเหลือแนะนํากับเจาหนาที่ของกรมฯ ให
สามารถแกไขใหระบบงานสามารถดําเนินการไปไดกอน
2.6.4 ผูรับจางตองทําการตรวจเช็คใหบริการ (Service) ในการซอมบํารุงทุกระยะ ตามคําแนะนําของ
ผูผลิตหรืออยางนอยทุก ๆ 2 เดือนตอ 1 ครั้ง และทํารายงานเสนอตอเจาหนาที่ ที่เป8นผูรับผิดชอบ
ทุกครั้งที่มาตรวจเช็ค โดยบริษัทผูรับจางตองเป8นผูออกคาใชจายทั้งหมดไมวากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น
ตลอดระยะเวลารับประกัน ซึ่งรายการตรวจเช็คบํารุงรักษาในแตละครั้งใหมีรายงานอยางนอย
ดังตอไปนี้
- ตรวจเช็คสภาพการทํางานโซลําเลียง อัดจารบีลูกป•น ทําความสะอาดลูกลอ
ขอโซของชุดเพลงสงกําลังเปลี่ยนน้ํามันเกียร/
- ตรวจเช็คสภาพการทํางานปรับตั้งชุดโซเฟ•อง ปรับตั้งแนวดิ่ง ความตึงของสายพานใหตรงและ
ขับเคลื่อนทั้งหมด
- ตรวจเช็คสภาพการทํางานของมอเตอร/ขับสายพาน พรอมกับวัดคาแรงดัน และกระแสไฟฟา
ทั้ง 3 เฟส
- ตรวจเช็คสภาพการทํางานปรับตั้งชุด Cluping
- ตรวจเช็คสภาพบริเวณจุดฟ‘นย้ํา และจุดเชื่อมสายพานทุกแผน
- ตรวจเช็ ค สภาพลู ก กลิ้ ง อั ด จารบี หรื อ ใสสารหลอลื่ น Bearing ของสายพานและ
Main Conveyor
- ตรวจเช็คสภาพการทํางานของ Rolls, Load wheel, Guide wheel
- ตรวจเช็คสภาพโดยทั่วไปของโครงสรางสายพาน และแผงกั้นขาง พรอมซอมแซมหากชํารุด
- ตรวจเช็คสภาพโดยทั่วไปและทําความสะอาดมานอากาศ
- ตรวจเช็คสภาพโดยทั่วไป ทําความสะอาดประตูเหล็กมวน ทั้งดานสัมภาระเขาและดานสัมภาระ
ออก และทําความสะอาดบริเวณสายพานลําเลียงสัมภาระใหสะอาดเรียบรอย
- ทําความสะอาดลอกสติ๊กเกอร/ SECURITY CHECKED ที่ติดอยูบริเวณสายพานลําเลียงทั้งหมด
ใหสะอาดเรียบรอย
- ตรวจเช็คสภาพการทํางานและทําความสะอาดตู Control
- ตรวจเช็คสภาพโดยทั่วไป และทําความสะอาดแผน Slat plate ทุกแผน
- ตรวจเช็ค Rivet ยึดแผน Slat plate ตองใสใหครบทุกตัว
- ตรวจเช็คสภาพบริเวณจุดฟ‘นย้ํา และจุดเชื่อมตอสายพานทุกแผน
- จัดทํารายงานสภาพอุปกรณ/ตางๆ ของสายพานลําเลียงทั้งหมดหลังการตรวจเช็ค
2.6.5 ผูรับจางตองสงสรุปรายงาน (Report) พรอมรายงานผลการบํารุงรักษาใหเจาหนาที่ชางประจํา
ทาอากาศยานนั้นๆ รับรองผลการบํารุงรักษาของผูรับจางทุกครั้ง

งานจัดซื้อพรอมติดตั้งสายพานลําเลียงสัมภาระผูโดยสารขาเขาและขาออก ที่ ทาอากาศยานเบตง จ.ยะลา 11


หมวดที่ 3 อุปกรณ6มาตรฐาน (Standard Equipments)

อุปกรณ6มาตรฐาน (Standard Equipment)


รายละเอียดในหมวดนี้ เป8นการแจงรายชื่อผูผลิต และผลิตภัณฑ/ วัสดุอุปกรณ/ ที่ถือวาไดรับการยอมรับ โดยคุณสมบัติ
ของอุปกรณ/นั้นๆ ตองไมขัดตอรายละเอียดเฉพาะที่ไดกําหนดไว โดยหากตองการเทียบเทา จะตองมีการเปรียบเทียบ
คุณสมบัติของวัสดุอุปกรณ/ที่จะทําการเทียบเทา กับคุณสมบัติทไี่ ดกําหนดไว โดยการทดสอบ และรับรองผลการทดสอบวามี
คุณสมบัติเทียบเทา หรือดีกวา โดยสถาบันที่มีการระบุไวในรายละเอียดประกอบแบบหมวดนั้นๆ ของอุปกรณ/ หรือสถาบันที่
เป8น ที่ยอมรับวา เป8นสถาบันที่ทําการทดสอบอุปกรณ/หรือรายละเอียดของอุปกรณ/ดังกลาว
1. มาตรฐาน
1.1 บริษัทผูผลิตสายพานฯตองผานการรับรองการผลิตตามมาตรฐาน ISO 9001 หรือดีกวา
1.2 มาตรฐานทางดานเครื่อ งกล ดานไฟฟา และความปลอดภัย ของระบบสายพานลํ าเลี ยง ตองไดตาม
มาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่งดังตอไปนี้ JIS (Japanese Industrial Standards), Standards) หรือ ASME A17.1 (American
Society of Mechanical Engineers) หรือมาตรฐานสากลที่เทียบเทา
1.3 สายไฟฟาที่ใชตองมีคุณสมบัติตามมาตรฐาน มอก.11 – 2553 โดยเป8นผลิตภัณฑ/ใด ผลิตภัณฑ/หนึ่ง
ดังตอไปนี้ Bangkok Cable หรือ Thai Yazaki หรือ Phelps Dodge หรือ Charoong Thai (ยกเวนสายไฟฟาที่มาพรอมชุด
อุปกรณ/บันไดเลื่อนที่นําเขาจากตางประเทศ)
1.4 การติ ด ตั้ ง ระบบไฟฟาตลอดจนอุ ป กรณ/ ต างๆ ที่ เ กี่ ย วของตองเป8 น ไปตามมาตรฐานการไฟฟา
นครหลวงและมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาของสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย

งานจัดซื้อพรอมติดตั้งสายพานลําเลียงสัมภาระผูโดยสารขาเขาและขาออก ที่ ทาอากาศยานเบตง จ.ยะลา 12

You might also like