Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

ลักษณะทางกายภาพและทางประสาทสัมผัสของไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์เส้นใยสูงเสริมด้วยแบคทีเรียเซลลูโลส
ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2552

ลั กษณะทางกายภาพและทางประสาทสัมผัส
ของไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์เส้นใยสูง
เสริมด้วยแบคทีเรียเซลลูโลส
Physical and Sensory Characteristics of
High Fiber Frankfurter Sausage Enriched
with Bacteria Cellulose

.
. วิชชุดา สังข์แก้ว
.
. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
.
. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
.
. E-mail: witchuda_san@utcc.ac.th

บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเติมแบคทีเรียเซลลูโลส (Bacteria cellulose, BC) ลง
ในไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์ เพื่อเป็นการเพิ่มใยอาหารให้กับไส้กรอก ทดลองโดยเติมแบคทีเรีย
เซลลูโลสลงในไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์ในปริมาณ 0 (สูตรควบคุม) 5, 10 และ 15 เปอร์เซ็นต์
โดยน้ำหนักสูตร จากการศึกษา พบว่า ตัวอย่างที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลสมีปริมาณความชื้นและใย
อาหารสูงกว่าสูตรควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.05) การเติมแบคทีเรียเซลลูโลสในปริมาณที่มาก
ขึ้นมีผลทำให้ไส้กรอกมีเปอร์เซ็นต์ Cooking loss ต่ำ มีความสามารถในการอุ้มน้ำสูงและไม่มีผลต่อ
ความคงตัวอีมัลชัน โดยการเติมแบคทีเรียเซลลูโลสปริมาณ 10 และ 15 เปอร์เซ็นต์ มีผลทำให้ไส้
กรอกมีค่าแรงตัดขาดสูงแต่มีค่าความสว่างน้อยกว่าสูตรควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.05) สำหรับ
การทดสอบทางประสาทสัมผัส พบว่า ตัวอย่างที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลส 15 เปอร์เซ็นต์ มีคะแนนการ

112 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2552


ผศ.วิชชุดา สังข์แก้ว

ทดสอบทางประสาทสัมผัสในด้านความชุ่มฉ่ำและการยอมรับโดยรวมสูงกว่าสูตรควบคุมอย่างมีนัย
สำคัญ (p < 0.05) เมื่อเก็บรักษาไว้ 4 สัปดาห์ ที่ 20 องศาเซลเซียส มีเปอร์เซ็นต์การสูญเสียน้ำ (%
Purge loss) ต่ำกว่าสูตรควบคุมและมีคะแนนการทดสอบทางประสาทสัมผัสไม่แตกต่างจากสูตร
ควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p > 0.05) โดยการเติมแบคทีเรียเซลลูโลสในปริมาณ 15 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำ
หนักสูตรมีผลทำให้ไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์มีปริมาณใยอาหารเท่ากับ 5.34 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งสูงกว่าไส้
กรอกสูตรควบคุมที่มีใยอาหารเพียง 0.63 เปอร์เซ็นต์
คำสำคัญ: ไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์ แบคทีเรียเซลลูโลส

Abstract
This research aimed to study the effect of adding bacteria cellulose (BC) to
frankfurter sausage as dietary fiber enrichment. BC at 0% (control) 5%, 10% and 15%
were added to frankfurter samples. The results showed that the moisture and fiber
contents of the sample with added BC were significantly (p < 0.05) higher than
control. With the increase in BC, a significant decrease (p < 0.05) in cooking loss, an
increase in water holding capacity were found but an emulsion stability was not
affected. The sample with added 10% and 15% BC showed significantly (p < 0.05)
higher shear force but lower lightness than the control formula. For sensory evaluation,
the sample contained 15% BC showed the highest scores for juiciness and overall
acceptance. When the sample with 15% BC was stored for 4 weeks at -20 oC, the
results showed that the purge loss was lower than control, and the sensory scores
were not significantly different (p > 0.05). By addition of 15% BC, the high fiber
frankfurter sausage contained 5.34% fiber, which was higher than control at 0.63%.
Keywords: Frankfurter Sausage, Bacteria Cellulose

วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2552 113


ลักษณะทางกายภาพและทางประสาทสัมผัสของไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์เส้นใยสูงเสริมด้วยแบคทีเรียเซลลูโลส

บทนำ (นิโลบล สุวรรณาภินันท์, 2541) โครงสร้างของ


แบคที เ รี ย เซลลู โ ลสจึ ง เหมื อ นกั บ เซลลู โ ลสและ
ไส้ ก รอกแฟรงค์ เ ฟอร์ เ ตอร์ เ ป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์
ไม่ละลายน้ำ ซึ่งจัดเป็น Noncaloric Dietary Fiber
เนื้ อ สั ต ว์ ที่ ป ระกอบไปด้ ว ยไขมั น สั ต ว์ แ ละเกลื อ ใน
เมื่อรับประทานจะไปช่วยในระบบการย่อยและการ
ปริมาณสูง ซึ่งเป็นผลเสียต่อสุขภาพอาจทำให้เกิด
ขับถ่ายของร่างกาย สามารถช่วยระบายสารพิษและ
โรคต่ า งๆ เช่ น โรคความดั น โลหิ ต สู ง โรคหั ว ใจ
ลดปัญหาที่เกี่ยวกับระบบทางเดินอาหารและระบบ
ภาวะไขมันในเลือดสูงและเกิดโรคอ้วน อาหารที่มีใย
ขับถ่ายได้เป็นอย่างดี ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงศึกษาการ
อาหารสูงจะมีประโยชน์ต่อร่างกาย คือ ใยอาหารจะ
เติ ม แบคที เ รี ย เซลลู โ ลสลงในไส้ ก รอกแฟรงค์ -
ไปช่วยกระตุ้นการทำงานของลำไส้ เร่งการขับกาก
เฟอร์ เตอร์ เพื่ อ เป็ นการเพิ่ ม ปริ ม าณใยอาหารใน
อาหารและช่ ว ยดู ด ซั บ สารก่ อ มะเร็ ง ที่ ป ะปนใน
ไส้กรอกซึ่งทำให้คุณค่าทางโภชนาการของไส้กรอก
อาหาร ทำให้ร่างกายสามารถขับถ่ายออกมาได้ จึงมี
เพิ่มขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมบัติทางเคมี
การศึกษาการเติมใยอาหารจากพืชลงในไส้กรอกเพื่อ
ทางกายภาพ การยอมรับทางประสาทสัมผัสและ
เป็นการเพิ่มคุณค่าทางอาหารให้กับไส้กรอก เช่น
อายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ไส้กรอกแฟรงค์-
การเติมรำข้าวโอ๊ตลงในไส้กรอกหมู (Pszczola, 1991)
เฟอร์เตอร์ที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลส
การเติม Carrageenans และ Carboxymethyl
Celluloses ในไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์ (Hughes, วิธีการทดลอง
et al., 1997)
1. การเตรียมแบคทีเรียเซลลูโลส (Bacteria
วุ้นมะพร้าวหรือที่เรียกว่าแบคทีเรียเซลลูโลส Cellulose, BC)
(Bacteria Cellulose) เป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นใน
ประเทศฟิ ลิ ป ปิ น ส์ เรี ย กว่ า Nata de coco มี นำแบคที เรี ย เซลลู โลส ที่ ซื้ อ จากบริ ษั ท เทพ
ลักษณะเป็นแผ่นวุ้นที่เป็นเยื่อเหนียว มีสีขาวครีม ผดุงพรมะพร้าว จำกัด มาล้างน้ำและบีบน้ำที่อยู่ใน
ทึบแสง เป็นสารเซลลูโลส เตรียมโดยกระบวนการ เนื้อออกจำนวน 2 ครั้ง เก็บโดยแช่น้ำไว้ที่อุณหภูมิ
หมั ก น้ ำ มะพร้ า วโดยใช้ แบคที เรี ย Acetobacter 4 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง นำมาวัดค่าองศา
Xylinum จนเกิดเซลลูโลสที่มีเส้นใยขนาดเล็กมาก brix ทำซ้ ำ จนวั ด น้ ำ ที่ ใ ช้ แ ช่ แ บคที เรี ย เซลลู โ ลส
(Microfibril) มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางน้อยกว่า สุดท้ายได้ค่า 2.5 obrix เก็บไว้ที่อุณหภูมิ 4 องศา
0.01 ไมครอน ซึ่งเล็กกว่าเส้นใยพืช 30 เท่า เส้นใย เซลเซียส จนกว่าจะนำมาทำการทดลอง โดยก่อน
มี ลั ก ษณะเป็ น Ribbon Shaped Fiber และมี การนำมาทดลองจะนำมาปั่นละเอียดด้วยเครื่องปั่น
ส่วนประกอบของกลูโคสที่เชื่อมต่อโดยพันธะ 1,4 2. ศึ ก ษาสมบั ติ ท างเคมี ข องแบคที เ รี ย
Glycosidic จึงมีความละเอียดอ่อนนุ่มกว่าใยอาหาร เซลลูโลส
ที่ได้จากผักหรือผลไม้ เส้นใยมีความเป็น Hydrophilic
สู ง และมี ลั ก ษณะเป็ น เส้ น ใยที่ ป ระสานกั นคล้ า ย นำแบคทีเรียเซลลูโลสที่ล้างและบีบน้ำออก
ร่างแห จึงสามารถจับกับน้ำได้ดีกว่าเส้นใยจากพืช แล้ ว มาวิ เคราะห์ อ งค์ ป ระกอบทางเคมี ดั ง นี้ คื อ
สามารถอุ้ ม น้ ำ ได้ 60-700 เท่ า ของน้ ำ หนั ก แห้ ง ปริมาณความชื้น ไขมัน โปรตีน ใยอาหาร และเถ้า

114 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2552


ผศ.วิชชุดา สังข์แก้ว

โดยวิธีของ Association of Official Analytical 4. ศึกษาสมบัติทางกายภาพ ทางเคมี และ


Chemists (1990) ทางประสาทสัมผัส
3. การผลิ ต ไส้ ก รอกแฟรงค์ เ ฟอร์ เ ตอร์ นำไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์ที่เติมแบคทีเรีย
สูตรควบคุมและสูตรที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลส เซลลูโลสในปริมาณ 5%, 10% และ 15% โดย
น้ำหนักสูตร มาศึกษาสมบัติทางกายภาพ ทางเคมี
3.1 การผลิ ต ไส้ ก รอกแฟรงค์ เ ฟอร์ เ ตอร์ และทางประสาทสัมผัส เปรียบเทียบกับสูตรควบคุม
สูตรควบคุม โดยมีส่วนประกอบของวัตถุดิบร้อยละ ดังนี้
โดยน้ ำ หนั ก สู ต ร ดั ง นี้ เนื้ อ หมู สั น ใน 55.45% 4.1 วัดค่า %Cooking loss โดยคำนวณจาก
มันหมูแข็ง 20% แป้งสาลี 3.15% (ตราว่าว) เกลือ
1.44% (ตราปรุงทิพย์) ไนไตรท์ 0.06% เคซิเนท %Cooking loss = น้ำหนักเริ่มต้น - น้ำหนักสุดท้าย x 100
1.89% เครื่องเทศ 3.44% และฟอสเฟต 0.17% น้ำหนักเริ่มต้น
(บริษัท ฟู้ดอีคิว จำกัด) ทำการผลิตโดยเตรียมหมู 4.2 ทดสอบลั ก ษณะเนื้ อ สั ม ผั ส (Texture
เนื้อแดงที่สับละเอียดผ่านรูของเครื่องบดหมูขนาด Profile Analysis, TPA) โดยวัดค่าแรงตัดขาดด้วย
2 ม.ม. ผสมไนไตรท์และเกลือ คลุกผสมให้เข้ากัน เครื่ อ ง Texture Analyser รุ่ น LRX (Lloyd
เก็ บ ไว้ ที่ อุ ณ หภู มิ -20 องศาเซลเซี ย ส นาน 24 Instrument, Hampshire, UK) ใช้ Load Cell
ชั่วโมง แล้วนำเนื้อหมูมาละลายน้ำแข็ง โดยทิ้งไว้ที่ ขนาด 100 นิวตัน ใช้ใบมีดตัด 60o โดยมีความเร็ว
อุณหภูมิห้อง (29 องศาเซลเซียส) นาน 1 ชั่วโมง ของหั ว ตั ด (Crosshead Speed) เท่ า กั บ 250
นำไปสับนวดในเครื่องสับนวด นาน 3 นาที ใส่มัน มิ ล ลิ เมตรต่ อ นาที บั นทึ ก ค่ า ที่ วั ด ได้ เป็ น ค่ า แรง
หมูแข็ง น้ำแข็งและฟอตเฟต สับนวดจนเกิดอีมัลชัน ตัดขาด หน่วยเป็น นิวตัน (N)
ใช้เวลาประมาณ 8 นาที เติมเครื่องเทศ เคซิเนท 4.3 วัดค่าสี L* a* และ b* โดยใช้เครื่อง
และแป้งสาลี สับนวดต่ออีก 3 นาที จนเป็นเนื้อ HunterLab Digital Color Difference Meter
เดียวกัน บรรจุลงในไส้เซลลูโลสด้วยเครื่องบรรจุไส้ รุ่น DP-9000
มั ด ให้ เป็ นท่ อ นขนาดยาว 5 ซ.ม. นำไปต้ ม ในน้ ำ
อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที ทำให้ 4.4 วั ด ค่ า Water Holding Capacity
เย็นโดยแช่ในน้ำผสมน้ำแข็ง อุณหภูมิ 10 องศา (WHC) ตามวิธีของ Dagbjartsson and Solberg
เซลเซียส นาน 15 นาที ผึ่งให้สะเด็ดน้ำ บรรจุแบบ (1972) และ Lin และคณะ (1988)
สุญญากาศในถุงโพลีเอธิลีน เก็บไว้ที่อุณหภูมิ -20 4.5 วัดค่า Emulsion Stability ตามวิธีของ
องศาเซลเซียส Hughes, et al. (1997)
3.2 การผลิ ต ไส้ ก รอกแฟรงค์ เ ฟอร์ เ ตอร์ 4.6 ศึ ก ษาองค์ ป ระกอบทางเคมี ใ นด้ า น
สูตรเติมแบคทีเรียเซลลูโลส โดยใช้ส่วนผสมเดียว ปริมาณความชื้น ไขมัน โปรตีน ใยอาหาร และเถ้า
กับสูตรควบคุม มีการเติมปริมาณแบคทีเรียเซลลูโลส โดยวิธีของ Association of Official Analytical
โดยเพิ่มปริมาณลงสูตร ในระดับ 5%, 10% และ Chemists (1990)
15% โดยน้ำหนักสูตร

วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2552 115


ลักษณะทางกายภาพและทางประสาทสัมผัสของไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์เส้นใยสูงเสริมด้วยแบคทีเรียเซลลูโลส

4.7 ทดสอบทางประสาทสัมผัส ในด้านความ 5.1 วั ด ค่ า % Purge Loss ตามวิ ธี ข อง


แน่นเนื้อ ความชุ่มฉ่ำ ความยืดหยุ่น และการยอมรับ Prabhu and Sebranek (1997)
โดยรวม โดยวิ ธี 8-point Scoring Test ใช้ 5.2 ทดสอบลั ก ษณะเนื้ อ สั ม ผั ส (Texture
ผู้ทดสอบจำนวน 15 คน โดย Profile Analysis, TPA) ตามวิธีในข้อ 4.2
ความแน่นเนื้อ กำหนดให้ คะแนน 8 หมายถึง 5.3 ทดสอบทางประสาทสั ม ผั ส ตามวิ ธี ใน
มีความแน่นเนื้อมากที่สุด และคะแนน 1 หมายถึง ข้อ 4.7
ไม่แน่นเนื้อมากที่สุด
ความยืดหยุ่น กำหนดให้ คะแนน 8 หมายถึง 6. การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
มีความยืดหยุ่นมากที่สุด และคะแนน 1 หมายถึง วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล การทดลองทางสถิ ติ แ บบ
ไม่ยืดหยุ่นมากที่สุด Completely Randomized Design (CRD)
ความชุ่มฉ่ำ กำหนดให้ คะแนน 8 หมายถึง สำหรับคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี และ
มีความชุ่มฉ่ำมากที่สุด และคะแนน 1 หมายถึง แบบ Randomized Completed Block Design
ไม่ชุ่มฉ่ำมากที่สุด (RCBD) สำหรั บ การทดสอบทางประสาทสั ม ผั ส
เปรี ย บเที ย บค่ า เฉลี่ ย โดยวิ ธี Duncan’s New
การยอมรับโดยรวม กำหนดให้ คะแนน 8 Multiple Range Test (DMRT) ค่าเฉลี่ยได้จาก
หมายถึง ยอมรับมากที่สุด และคะแนน 1 หมายถึง การทดลอง 3 ซ้ำ
ไม่ยอมรับมากที่สุด
5. การทดสอบอายุ ก ารเก็ บ รั ก ษา โดยนำ ผลการทดลองและวิจารณ์
ไส้ ก รอกสู ต รเติ ม แบคที เรี ย เซลลู โ ลสที่ ไ ด้ รั บ การ จากการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของ
ยอมรั บ ทางประสาทสั ม ผั ส สู ง ที่ สุ ด มาเก็ บ รั ก ษาที่ แบคทีเรียเซลลูโลสที่นำมาใช้ในการทดลอง (ตาราง
-20 องศาเซลเซียส เปรียบเทียบกับสูตรควบคุม ที่ 1) พบว่า มีปริมาณความชื้น 97.29% โปรตีน
สุ่มตัวอย่างมาทดสอบในสัปดาห์ที่ 1 2 3 และ 4 0.43% ไขมัน 0.81% เถ้า 0.11% และเส้นใย
สัปดาห์ โดยทดสอบในด้านต่างๆ ดังนี้ 0.77%

ตารางที่ 1 องค์ประกอบทางเคมีของแบคทีเรียเซลลูโลส
องค์ประกอบทางเคมี ปริมาณ (% โดยน้ำหนัก)*
ความชื้น 97.29
เถ้า 0.11
ไขมัน 0.81
โปรตีน 0.43
เส้นใย 0.77
*ค่าที่แสดงเป็นค่าเฉลี่ยจากการทดลอง 3 ซ้ำ

116 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2552


ผศ.วิชชุดา สังข์แก้ว

จากการทดลองผลิตไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์ เนื่องมาจากแบคทีเรียเซลลูโลสมีลักษณะโครงสร้าง
โดยเติมแบคทีเรียเซลลูโลสในปริมาณ 5% 10% เป็นเส้นใยที่มีขนาดเล็กมากประสานกันจึงทำให้มี
และ 15% นำตัวอย่างไปวิเคราะห์องค์ประกอบทาง ความสามารถในการอุ้มน้ำไว้ภายในไส้กรอกได้มาก
เคมี ข องไส้ ก รอกที่ เติ ม แบคที เรี ย เซลลู โลสเปรี ย บ (นิ โ ลบล สุ ว รรณาภิ นั น ท์ , 2541) สำหรั บ การ
เทียบกับสูตรควบคุม (ตารางที่ 2) พบว่า ทุกสูตรมี วิ เคราะห์ ป ริ ม าณเส้ น ใย พบว่ า สู ต รที่ มี ก ารเติ ม
ปริมาณไขมัน โปรตีน และเถ้าไม่แตกต่างกันอย่างมี แบคทีเรียเซลลูโลสมีปริมาณเส้นใยมากกว่าตัวอย่าง
นัยสำคัญ (p > 0.05) สูตรที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลส ควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.05) โดยเมื่อปริมาณ
10% และ 15% มีปริมาณความชื้นและเส้นใยสูง แบคที่เรียเซลลูโลสมากขึ้นปริมาณเส้นใยในไส้กรอก
กว่าสูตรควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.05) ทั้งนี้ จะเพิ่มขึ้นด้วย

ตารางที่ 2 องค์ประกอบทางเคมีของไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์ที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลสและสูตรควบคุม
องค์ประกอบทางเคมี ปริมาณแบคทีเรียเซลลูโลส (%โดยน้ำหนักสูตร)
(%โดยน้ำหนัก) 0 (สูตรควบคุม) 5 10 15
ความชื้น 56.26c 55.94c 57.75b 59.20a
ไขมันns 7.74 7.34 7.42 7.37
โปรตีนns 14.36 13.01 13.32 14.40
เส้นใย 0.63d 2.21c 4.20b 5.34a
เถ้าns 1.44 1.84 1.86 1.97
ns
ค่ า ตั ว เลขในแถวเดี ย วกั น ไม่ มี ค วามแตกต่ า งกั น อย่ า งมี นั ย สำคั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ ความเชื่ อ มั่ น 95% เมื่ อ เปรี ย บ
เทียบโดย DMRT; a,b,c และ d อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็กที่แตกต่างกันในแถวเดียวกันแสดงค่าที่แตกต่างกันอย่าง
มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% เมื่อเปรียบเทียบโดย DMRT

จากการวัดค่า % Cooking loss และศึกษา สอดคล้องกับผลการทดลองในตารางที่ 2 ที่พบว่า


สมบัติทางกายภาพ (ตารางที่ 3) พบว่า สูตรที่เติม สูตรที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลสมีปริมาณความชื้นสูง
แบคทีเรียเซลลูโลส 5%, 10% และ 15% มีค่า % กว่าสูตรควบคุม ทั้งนี้เนื่องมาจากโครงสร้างที่เป็น
Cooking Loss ต่ำกว่าสูตรควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ ร่ า งแหของแบคที เรี ย เซลลู โ ลสจึ ง ทำให้ ไส้ ก รอก
(p < 0.05) ซึ่งสอดคล้องกับการทดลองของ Troutt, สามารถอุ้ ม น้ ำ ไว้ ไ ด้ สู ง สำหรั บ ค่ า Emulsion
et al. (1992) ที่ได้รายงานว่าการเติมใยอาหารจาก Stability พบว่า ทุกตัวอย่างไม่มีความแตกต่างอย่าง
ข้าวโอ๊ตลงในเนื้อบดจะช่วยลด % Cooking loss มี นั ย สำคั ญ (p > 0.05) แสดงว่ า จากลั ก ษณะ
ของตัวอย่างได้ สูตรที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลส 10% โครงสร้างของเส้นใยแบคทีเรียเซลลูโลสที่มีขนาด
และ 15% มีค่า Water Holding Capacity สูง เล็กมากไม่ส่งผลกระทบต่อความคงตัวของอีมัลชัน
กว่าสูตรควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.05) ซึ่ง ในไส้กรอก

วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2552 117


ลักษณะทางกายภาพและทางประสาทสัมผัสของไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์เส้นใยสูงเสริมด้วยแบคทีเรียเซลลูโลส

ตารางที่ 3 ค่ า %Cooking loss, Water Holding Capacity และค่ า Emulsion Stability ของไส้ ก รอก
แฟรงค์เฟอร์เตอร์ที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลสและสูตรควบคุม
ปริมาณแบคทีเรียเซลลูโลส (%โดยน้ำหนักสูตร)
0 (สูตรควบคุม) 5 10 15
Cooking loss (%) 32.47a 21.37b 19.21b 14.18c
Water Holding Capacity (%) 71.9c 74.8c 81.6b 94.4a
Emulsion Stability (%TEF)ns 24.39 23.11 23.19 22.67
TEF (Total Expressible Fluid)
ns
ค่ า ตั ว เลขในแถวเดี ย วกั น ไม่ มี ค วามแตกต่ า งกั น อย่ า งมี นั ย สำคั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ ความเชื่ อ มั่ น 95% เมื่ อ เปรี ย บ
เที ย บโดย DMRT; a,b,c อั ก ษรภาษาอั ง กฤษตั ว พิ ม พ์ เ ล็ ก ที่ แตกต่ า งกั น ในแถวเดี ย วกั น แสดงค่ า ที่ แตกต่ า งกั น อย่ า งมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% เมื่อเปรียบเทียบโดย DMRT

จากการศึ ก ษาสมบั ติ ท างกายภาพโดยวั ด ปริมาณแบคทีเรียเซลลูโลสมากกว่าสูตรอื่นจึงทำให้


ค่าแรงตัดขาดและค่าสีของไส้กรอก (ตารางที่ 4) ไส้กรอกสามารถอุ้มน้ำไว้ภายในได้มาก เมื่อทำให้สุก
พบว่า สูตรที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลส 10% และ จึงมีโมเลกุลของน้ำออกมาที่ผิวไส้กรอกน้อยส่งผลให้
15% มี ค่ า แรงตั ด ขาดสู ง กว่ า สู ต รควบคุ ม อย่ า งมี ตัวอย่างมีค่าความสว่างน้อยและมีความแน่นเนื้อ
นัยสำคัญ (p < 0.05) สำหรับค่าสี พบว่าสูตรที่เติม สูงกว่าตัวอย่างควบคุม สำหรับค่า a* และค่า b*
แบคทีเรียเซลลูโลส 15% มีค่าความสว่างต่ำกว่า พบว่า ทุกสูตรมีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ
ตัวอย่างอื่นอย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.05) ทั้งนี้อาจ (p > 0.05)
เนื่องมาจากสูตรที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลส 15% มี
ตารางที่ 4 ลักษณะทางกายภาพของไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์ที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลสและสูตรควบคุม
ปริมาณแบคทีเรียเซลลูโลส (%โดยน้ำหนักสูตร)
0 (สูตรควบคุม) 5 10 15
แรงตัดขาด (N) 5.59b 5.98b 6.16a 6.65a
ค่าสี
L* 60.91a 60.80a 59.88b 58.92c
a*ns 2.33 2.43 2.88 2.75
b*ns 12.62 12.22 13.98 13.67
ns
ค่ า ตั ว เลขในแถวเดี ย วกั น ไม่ มี ค วามแตกต่ า งกั น อย่ า งมี นั ย สำคั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ ความเชื่ อ มั่ น 95% เมื่ อ เปรี ย บ
เที ย บโดย DMRT; a,b,c อั ก ษรภาษาอั ง กฤษตั ว พิ ม พ์ เ ล็ ก ที่ แตกต่ า งกั น ในแถวเดี ย วกั น แสดงค่ า ที่ แตกต่ า งกั น อย่ า งมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% เมื่อเปรียบเทียบโดย DMRT

118 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2552


ผศ.วิชชุดา สังข์แก้ว

จากการทดสอบทางประสาทสั ม ผั ส ของ โดยรวมสูงกว่าสูตรอื่นอย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.05)


ไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์ที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลส เนื่องมาจากสูตรดังกล่าวมีปริมาณน้ำอยู่ภายในเนื้อ
เปรี ย บเที ย บกั บ สู ต รควบคุ ม พบว่ า สู ต รที่ เ ติ ม สูงกว่าตัวอย่างอื่นจึงทำให้ได้รับคะแนนด้านความ
แบคทีเรียเซลลูโลส 15% มีคะแนนการทดสอบทาง ชุ่มฉ่ำสูง และส่งผลให้มีคะแนนการยอมรับโดยรวม
ประสาทสัมผัสทางด้านความชุ่มฉ่ำและการยอมรับ สูงกว่าสูตรอื่นด้วย
ตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ยการทดสอบทางประสาทสัมผัสของไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์ที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลสและสูตร
ควบคุม
ปริมาณแบคทีเรียเซลลูโลส (%โดยน้ำหนักสูตร)
0 (สูตรควบคุม) 5 10 15
ความชุ่มฉ่ำ 5.27c 5.47c 6.00b 7.60a
ความยืดหยุ่นns 6.20 6.47 6.87 6.53
ความแน่นเนื้อns 6.33 6.13 6.07 6.33
การยอมรับโดยรวม 6.07c 5.47c 6.53b 7.13a
ns
ค่ า ตั ว เลขในแถวเดี ย วกั น ไม่ มี ค วามแตกต่ า งกั น อย่ า งมี นั ย สำคั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ ความเชื่ อ มั่ น 95% เมื่ อ เปรี ย บ
เที ย บโดย DMRT; a,b,c อั ก ษรภาษาอั ง กฤษตั ว พิ ม พ์ เ ล็ ก ที่ แตกต่ า งกั น ในแถวเดี ย วกั น แสดงค่ า ที่ แตกต่ า งกั น อย่ า งมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% เมื่อเปรียบเทียบโดย DMRT

จากค่ า Water Holding Capacity ค่ า เซลลูโลส 15% มีค่า %Perge loss ต่ำกว่าสูตร
Emulsion Stability และลักษณะทางกายภาพ พบ ควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.05) ทั้งนี้เนื่องจาก
ว่า สูตรที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลส 10% และ 15% การเติมแบคทีเรียเซลลูโลสซึ่งมีลักษณะเป็นเส้นใย
โดยน้ำหนักสูตรมีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ขนาดเล็กและประสานกันเป็นร่างแห จึงทำให้น้ำ
(p > 0.05) และมีคะแนนการทดสอบทางประสาท ถูกเก็บอยู่ภายในเนื้อไส้กรอกได้ดีกว่าสูตรควบคุม
สั ม ผั ส สู ง กว่ า สู ต รที่ เติ ม แบคที เรี ย เซลลู โลส 5% สำหรับค่าสี (ตารางที่ 7) พบว่า ตลอดอายุการเก็บ
และสูตรควบคุม ดังนั้น จึงเลือกสูตรที่เติมแบคทีเรีย 4 สัปดาห์ ไส้กรอกที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลส 15%
เซลลูโลส 15% ไปศึกษาอายุการเก็บรักษาเปรียบ มี ค่ า L* ต่ ำ กว่ า ไส้ ก รอกสู ต รควบคุ ม อย่ า งมี นั ย -
เทียบกับสูตรควบคุม โดยเก็บรักษาที่อุณหภูมิ -20 สำคัญ (p < 0.05) แต่มีค่า a* และค่า b* ไม่แตก
องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ ผลการ ต่างจากไส้กรอกสูตรควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p >
ทดลองดังตารางที่ 6 พบว่า ไส้กรอกที่เติมแบคทีเรีย 0.05)

วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2552 119


ลักษณะทางกายภาพและทางประสาทสัมผัสของไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์เส้นใยสูงเสริมด้วยแบคทีเรียเซลลูโลส

ตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ย %Purge loss ของไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์ที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลสและสูตรควบคุมเก็บ


รักษาที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 4 สัปดาห์
อายุการเก็บ ค่า %Purge loss
(สัปดาห์) 0 (สูตรควบคุม) แบคทีเรียเซลลูโลส 15%
โดยน้ำหนักสูตร
1ns 3.75 3.83
2ns 3.57 3.12
3 5.86a 4.90b
4 5.79a 4.26b
ns
ค่ า ตั ว เลขในแถวเดี ย วกั น ไม่ มี ค วามแตกต่ า งกั น อย่ า งมี นั ย สำคั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ ความเชื่ อ มั่ น 95% เมื่ อ เปรี ย บ
เทียบโดย DMRT; a,b อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็กที่แตกต่างกันในแถวเดียวกันแสดงค่าที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% เมื่อเปรียบเทียบโดย DMRT

ตารางที่ 7 ค่าสีของไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์ที่เติมใยอาหารจากแบคทีเรียเซลลูโลสและสูตรควบคุม เก็บรักษาที่


อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียสเป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์
อายุการเก็บ ค่าสี ปริมาณแบคทีเรียเซลลูโลส (%โดยน้ำหนักสูตร)
(สัปดาห์) 0 (สูตรควบคุม) 15
1 L* 62.68 a
58.90b
a*ns 2.65 2.11
b*ns 13.87 13.62
2 L* 58.18 a
53.69b
a*ns 3.12 2.99
b*ns 14.57 13.75
3 L*ns 56.25 54.76
a* 3.99 b
4.52a
b* 13.18a 12.66b
4 L* 60.52a 59.51b
a* 5.59a 3.24b
b*ns 16.52 16.23
ns
ค่ า ตั ว เลขในแถวเดี ย วกั น ไม่ มี ค วามแตกต่ า งกั น อย่ า งมี นั ย สำคั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ ความเชื่ อ มั่ น 95% เมื่ อ เปรี ย บ
เที ย บโดย DMRT; a,b อั ก ษรภาษาอั ง กฤษตั ว พิ ม พ์ เ ล็ ก ที่ แ ตกต่ า งกั น ในแถวเดี ย วกั น แสดงค่ า ที่ แ ตกต่ า งกั น อย่ า งมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% เมื่อเปรียบเทียบโดย DMRT

120 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2552


ผศ.วิชชุดา สังข์แก้ว

จากการทดสอบทางประสาทสั ม ผั ส ของ เติมแบคทีเรียเซลลูโลส 15% มีคะแนนการยอมรับ


ไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์ที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลส ในด้านความชุ่มฉ่ำสูงกว่าสูตรควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ
15% เก็บรักษาที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส เป็น (p < 0.05) และในสัปดาห์ที่ 3 และ 4 ไส้กรอกทั้ง
ระยะเวลา 4 สัปดาห์ เปรียบเทียบกับสูตรควบคุม 2 สูตรมีคะแนนการทดสอบทางประสาทสัมผัสในทุก
พบว่า ใน 2 สัปดาห์แรกของการเก็บรักษา สูตรที่ ด้านไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (p > 0.05)

ตารางที่ 8 ค่าเฉลี่ยการทดสอบทางประสาทสัมผัสของไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์ที่เติมแบคทีเรียเซลลูโลสและสูตร
ควบคุม เก็บรักษาที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียสเป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์
อายุการเก็บ ลักษณะที่ทดสอบ ปริมาณแบคทีเรียเซลลูโลส (%โดยน้ำหนักสูตร)
(สัปดาห์) 0 (สูตรควบคุม) 15
1 ความชุ่มฉ่ำ 6.26b 7.33a
ความยืดหยุ่น 6.53b 6.73a
ความแน่นเนื้อns 6.53 6.60
การยอมรับโดยรวมns 6.60 6.73
2 ความชุ่มฉ่ำ 5.80b 6.40a
ความยืดหยุ่นns 6.40 6.10
ความแน่นเนื้อns 6.80 6.00
การยอมรับโดยรวมns 6.70 6.60
3 ความชุ่มฉ่ำns 6.60 6.63
ความยืดหยุ่นns 6.46 6.00
ความแน่นเนื้อns 6.86 6.60
การยอมรับโดยรวมns 6.80 6.80
4 ความชุ่มฉ่ำns 6.60 6.47
ความยืดหยุ่นns 5.86 5.80
ความแน่นเนื้อns 6.66 6.26
การยอมรับโดยรวมns 5.86 6.53
ns
ค่ า ตั ว เลขในแถวเดี ย วกั น ไม่ มี ค วามแตกต่ า งกั น อย่ า งมี นั ย สำคั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ ความเชื่ อ มั่ น 95% เมื่ อ เปรี ย บ
เที ย บโดย DMRT; a,b อั ก ษรภาษาอั ง กฤษตั ว พิ ม พ์ เ ล็ ก ที่ แ ตกต่ า งกั น ในแถวเดี ย วกั น แสดงค่ า ที่ แ ตกต่ า งกั น อย่ า งมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% เมื่อเปรียบเทียบโดย DMRT

วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2552 121


ลักษณะทางกายภาพและทางประสาทสัมผัสของไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์เส้นใยสูงเสริมด้วยแบคทีเรียเซลลูโลส

สรุปผลการทดลอง Daponte, D.J.B., Roozen, J.P., and Pilnik, W.


1987. “Effect of Lota Carrageenan,
ผลการศึ ก ษาการเติ ม แบคที เ รี ย เซลลู โ ลส
Carboxymethyl Celluloses and Xanthan
ปริมาณ 5%, 10% และ 15% (โดยน้ำหนักสูตร)
Gum on the Stability of Formulated
เปรียบเทียบกับสูตรควบคุม ในผลิตภัณฑ์ไส้กรอก
Minced Fish Products.” International
แฟรงค์ เ ฟอร์ เ ตอร์ พบว่ า สู ต รที่ เ ติ ม แบคที เ รี ย
Journal of Food Technology 22: 132-
เซลลูโลส 10% และ 15% มีค่าเปอร์เซ็นต์ Cooking
133.
loss ต่ำกว่าสูตรควบคุมและมีความสามารถในการ
Hughes, E., Cofrades, S., and Troy, D.J.
อุ้มน้ำสูงกว่าสูตรควบคุม การเติมแบคทีเรียเซลลูโลส
1997. “Effects of Fat Level, Oat Fiber
มีผลทำให้มีค่าความสว่างลดลงและมีความแน่นเนื้อ
and Carrageenan on Frankfurters
เพิ่มขึ้น โดยการเติมแบคทีเรียเซลลูโลสในปริมาณ
Formulated with 5% and 12% Fat.”
15% มีคะแนนทางประสาทสัมผัสด้านความชุ่มฉ่ำ
Journal of Meat Science 45: 273-281.
และการยอมรับโดยรวมสูงกว่าสูตรควบคุม และ
Lin, K.C., et al. 1988. “Comparisons of
เมื่ อ เก็ บ รั ก ษาไส้ ก รอกแฟรงค์ เ ฟอร์ เ ตอร์ ที่ เ ติ ม
Carboxymethyl Cellulose with Differing
แบคทีเรียเซลลูโลส 15% ไว้ 4 สัปดาห์ จะมีค่า
Molecular Features in Low-fat
เปอร์เซ็นต์ Purge loss น้อยกว่าสูตรควบคุมแต่มี
Frankfurters.” Journal of Food
คะแนนทางประสาทสั ม ผั ส ไม่ แ ตกต่ า งจากสู ต ร
Science 53: 1592-1595.
ควบคุม โดยไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์เส้นใยสูงที่
Prabhu, G.A., and Sebranek, J.G. 1997.
อาศัยการเติมแบคทีเรียเซลลูโลส 15% มีปริมาณใย
“Quality Characteristics of Ham
อาหารสูงถึง 5.34%
Formulated with Modified Corn Starch
เอกสารอ้างอิง and Kappy-Carrageenan.” Journal of
Food Science 62: 198-202.
นิโลบล สุวรรณาภินันท์. 2541. “บีซี เซลลูโลสจาก Pszczola, D. 1991. “Oat-bran-based Ingredient
แบคทีเรีย.” วารสารเทคโนโลยี 19, 4: 21- Blend Replaces Fat in Ground Beef
23. and Pork Sausages.” Food Technology
Association of Official Analytical Chemists. 45: 60-66.
1990. Official Method of Analysis. 15th Robertson, J.A., and Eastwood, M.A. 1981.
ed. Washington, DC: AOAC. “A Method to Measure the Water
Dagbjartsson, B., and Solberg, M. 1972. “A Holding Properties of Dietary Fibre
Simple Method to Determine the Water Using Suction Pressure.” British
Holding Capacity of Muscle Foods.” Journal of Nutrition 46: 247-255.
Journal of Food Science 37: 499-500.

122 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2552


ผศ.วิชชุดา สังข์แก้ว

Troutt, E.S., et al. 1992. “ Characteristics of Wanpen Mesomya. 2006. “Effect of Health
Low-fat Ground Beef Containing Food from Cereal and Nata de Coco
Texture-modifying Ingredients.” Journal on Serum Lipids in of Human.”
of Food Science 57: 19-24. Songklanakarin Journal of Science
Technology 28(Suppl1): 23-28.

Asst. Prof. Witchuda Sangkaeo received her Master of Science in Food


Technology from Chulalongkorn University, and Bechelor of Science in Agro-
Industry from Prince of Songkhla University. She is currently a full-time
lecturer in the School of Science, University of the Thai Chamber of
Commerce. Her main interest is in meat processing technology and health
food products.

วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2552 123

You might also like