Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

ข้อสอบกลางภาค ภาษาไทย

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1ภาคเรียนที่ 1


ฉบับที่ 2
ตอนที่ 1 อัตนัย
คาชี้แจง เลือกคำตอบที่ถูกต้ องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. ข้ อใดให้ ความหมายของเสี ยงสระได้ ถูกต้ อง 5. คาใดเสี ยงวรรณยุกต์ เปลี่ยนไปจะกลายเป็ น
ที่สุด พยางค์ที่ไม่มีความหมาย
1 เสี ยงที่เกิดจากกระแสลมจากปอด 1 กิน
2 เสี ยงที่เกิดจากลมผ่านเส้นเสี ยงโดยสะดวก 2 กาง
3 เสี ยงที่เกิดจากกระแสลมออกจากปอดโดย 3 กอย
ไม่ถูกสกัดกั้น 4 กาว
4 เสี ยงที่เกิดจากกระแสลมจากปอดผ่าน 6. เสี ยงวรรณยุกต์ มีความสาคัญต่ อภาษาไทย
เส้นเสี ยงโดยไม่ถูกสกัดกั้น ณ ที่ใดที่หนึ่ง อย่างไร
ในช่องทางเดินของลม 1 ช่วยเพิ่มคา
2. คาใดมีรูปสระอยู่ใต้ พยัญชนะต้ น 2 เพิ่มความไพเราะ
1พธู 3 ช่วยในการประพันธ์
2 คุม 4 ช่วยให้ออกเสี ยงคาได้สะดวก
3 กรุ ณา 7. ข้ อใดเขียนเครื่ องหมายวรรณยุกต์ ถูกทุกคา
4 ถูกทุกข้อ 1 เล่าปี่ อาเต๊า อาม่า
3. ข้อใดมีเสียงสระเกินหรื อสระที่มีเสียง 2 อัง่ โล่ พะโล้ อาม่า
พยัญชนะประสมทั้ง 2 คา 3 โควต้า ยีห่ ้อ เฉาก๊วย
1 อบอุ่น เบาหวาน 4 สามก๊ก ก๋ วยเตี๋ยว สปอนเซอร์
2 จาหน่าย โง่เหขลา 8. คาใดออกเสียงไม่ ถูกต้ อง
3 โรงเรี ยน โยกย้าย 1 ขรม ออกเสี ยง ขะ-หรม
4 ข่มขวัญ เตรี ยมใจ 2 ขมุกขมัว ออกเสี ยง ขะ-หมุก-ขะ-หมัว
4. ข้ อใดมีเสี ยงวรรณยุกต์ ครบ 5 เสียง 3 ขยุกขยิก ออกเสี ยง ขะ-หยุก-ขะ-หยิก
1 ตกลงได้ขอ้ นี้ 4 ขะมักขะเม้น ออกเสี ยง ขะ-หมัก-ขะ-เหม้น
2 แม่คา้ ไปไหนมา 9. “ชาวบ้ าน_____เข้ าไปในอุทยานและตัดต้ นไม้
3 น้าเห็นพระจันทร์สีน้ าเงิน ทาลายป่ า” ควรเติมคาใดลงในช่ องว่าง
4 ผ้าสะไบคลุมไหล่ 1 ขโมย
2 ลักลอบ
3 ตัดโค่น
4 แอบอ้าง
10. “ศำสน์ " มีองค์ประกอบเหมือนคาใด 15. คาว่า “ที่” ในข้อใดใช้ เป็ นประพันธวิเศษณ์
1 มนต์ 1 น้องคนที่ใส่ เสื้ อลายน่ารักมาก
2 จักร 2 ฉันมีที่แปลงหนึ่งอยู่ต่างจังหวัด
3 เล่ห์ 3 เขาเป็ นคนดีที่ควรเอาเป็ นตัวอย่าง
4 บ้าน 4 เราทุกคนมีหน้าที่ที่จะต้องเรี ยนหนังสื อ
11. คานามที่พมิ พ์ตัวหน้ าข้อใดต่ ำงจำกข้ออื่น 16. ข้อใดมีคาวิเศษณ์บอกอาการ
1 แม่น้ าสายนี้ยาวที่สุดในประเทศไทย 1 ของดีมีนอ้ ย
2 ทหาร 1 กองร้อยออกมาดูแลความเรี ยบร้อย 2 กระต่ายวิ่งเร็ ว
ให้ประชาชน 3 กระดาษสี สวย
3 คณะนักเรี ยนเข้าอวยพรวันเกิดผูอ้ านวยการ 4 หนังสื อเล่มนี้ น่าอ่าน
โรงเรี ยน 17. ข้อใดมีกริยาที่มีกรรมมารองรับ
4 ชาวบ้านมีความคิดแตกแยกออกเป็ น 2 ฝ่ าย 1 เขานัง่ เล่น
12. “พลำยทองคำและพลำยทองแท่ งได้ รับกำร 2 เขาเดินเรื อ
ดูแลจำกเจ้ ำหน้ ำที่เป้นอย่ ำงดี” 3 เครื่ องจักรกาลังทางาน
ช้ างในประโยคนีใ้ ช้ คาลักษณะนามว่าอะไร 4 งานของเขากาลังเดินก้าวหน้า
1 ฝูง 18. ข้อใดมีกริยาช่ วย
2 หมู่ 1 ฉันไปทาบุญตักบาตร
3 เชือก 2 เขาจะมาหาฉันวันนี้
4 โขลง 3 เธอไม่ชอบออกกาลังกาย
13. ประโยคใดไม่มีคาสรรพนาม 4 พ่อทาบ้านให้ลูกหมา
1 ชาวบ้านทั้งหลายต่างให้ความร่ วมมือ 19. ข้ อใดมีคาบุพบทบอกความเป็ นเจ้ าของ
2 ใครๆ ก็รู้จกั ตัวเองดีกว่าคนอื่น 1 ข้าวในนา
3 นักเรี ยนบ้างก็วิ่งเล่นบ้างก็นงั่ พักใต้ตน้ ไม้ 2 ฉันมากับเขา
4 ป่ าไม้ให้ความชุ่มชื่นแก่พ้นื ดิน 3 สละชีพเพื่อชาติ
14. ประโยคใดต่อไปนีใ้ ช้ สรรพนามแทนนามที่ 4 สนามกีฬาแห่งชาติ
เป็ นส่ วนๆ 20. “ฉันชอบไปเที่ยวสถำนที่ต่ำงๆ เพราะ
1 เขายืนอยูท่ ี่สนามหญ้า เป็ นกำรเปิ ดโลกของตนเองให้ กว้ ำงขึน้ ”
2 เธอไม่ควรพูดแบบนี้ เลย คาที่พมิ พ์ตัวหนาเป็ นสั นธานทาหน้ าที่อะไร
3 ใกล้สอบแล้วนักเรี ยนต่างก็เตรี ยมตัวอ่าน ในประโยค
หนังสื อ 1 แสดงเหตุผล
4 คนที่เดินมานัน่ น่ะเป้นนักบาสเกตบอลทีม 2 แสดงความขัดแย้ง
โรงเรี ยน 3 แสดงความต่อเนื่อง
4 แสดงการเปรี ยบเทียบ
21. “เพรำะควำมไม่ เข้ำใจจึงทำให้ คนทั้งสอง 26. ข้ อใดมีคาประสมมากที่สุด
โกรธกัน” ประโยคนีม้ ีเนื้อความเหมือน 1 แม่บา้ นทากับข้าวอยูใ่ นครัว
ประโยคในข้อใด 2 นักเรี ยนต้องไม่เป็ นคนใจแคบ
1 เพราะลูก ๆ รักกัน พ่อแม่จึงสบายใจ 3 ช่างภาพของหนังสื อพิมพ์ตอ้ งเป็ นคน
2 พี่หรื อน้องที่ตอ้ งไปเรี ยนต่อต่างประเทศ อย่างไร
3 พอเขามาทางานทุกคนก็ร่วมแรงร่ วมใจกัน 4 ชาวไร่ ชาวนาพอใจที่ผนู ้ าของประเทศ
4 พี่ชายขายทองได้กาไรแต่นอ้ งสาวขายของ เหลียวแลพวกตน
ขาดทุน 27. ข้อใดไม่ ใช่ คาประสม
22. “อุ้ย! อะไรตก” มีเนื้อความลักษณะเดียวกับ 1 กินตัว
ข้อใด 2 กินใจ
1 อ้าว! ทาไมละ 3 กินลม
2 โถ! เด็กน้อย 4 กินอาหาร
3 อ๋ อ! เข้าไปไม่ได้ 28. ข้อใดเป็ นคาซ้ อน
4 แหม! มาทันจนได้ 1 ปากคอ
23. ข้ อใดเป็ นคามูล 2 ปากจัด
1 ม้านัง่ 3 ปากน้ า
2 แม่มด 4 ปากหวาน
3 กระดาษ 29. ข้อใดมีคาซ้ อนเป็ นกริยา
4 ลูกกวาด 1อย่าเป็ นคนอ่อนแอ
24. ข้ อใดเป็ นคามูลพยางค์ เดียว 2 ใจคอไม่อยูก่ บั เนื้ อกับตัว
1 ศิลป์ 3 ลูกที่ดีควรทดแทนบุญคุณพ่อแม่
2 ต้นหน 4 พ่อแม่ของฉันเป็ นคนเข้มงวดมาก
3 พุทรา 30. คาซ้ อนในข้อใดมีลกั ษณะต่ ำงจำกข้ออื่น
4 ราตรี 1 บาดเจ็บ
25. ข้อใดไม่เป็ นคาประสม 2 สู้รบ
1 แม่มด 3 ซื่อสัตย์
2 แม่ทพั 4 ถากถาง
3 แม่นม 31. คาซ้าในข้ อใดแสดงความเป็ นพหูพจน์
4 แม่ลูก 1 ฉันรักเพื่อนๆ ในห้อง
2 ลูกๆ ไปเรี ยนหนังสื อ
3 สาวๆ เข้าประกวดเทพี
4 ถูกทุกข้อ
32. คาซ้าในข้อใดมีความหมายต่ ำงจำกเดิมโดย 37. ข้ อใดเป็ นภาษาที่เพื่อนพูดกับเพื่อน
ไม่เหลือเค้า 1 วีระครับ ทาการบ้านเสร็จหรื อยังครับ
1 ใครก็อยากได้แต่ของดีๆ 2 คุณสมชายครับ อาจารย์เชิญให้ไปพบที่
2 ฉันชอบของสวยๆ อย่างนี้ ห้องพักครู ครับ
3 ฉันมีชีวิตตามประสาคนจนๆ 3 ดุสิต นายช่วยอธิบายเรื่ องคานามให้เราฟัง
4 ของกล้วยๆ อย่างนี้ฉนั ก็ทาได้ หน่อย เราไม่ค่อยเข้าใจ
33. การสื่ อสาร หมายถึงอะไร 4 ใจเพชรครับ ขอความกรุ ณาอธิบาย
1 การพูดคุยสนทนา ความหมายของคาศัพท์คานี้ให้กระผมฟัง
2 การติดต่อสื่ อความเข้าใจระหว่างกัน หน่อยครับ
3 การแสดงกิริยาอาการเพื่อสื่ อความหมาย 38. ภาษาที่นักเรียนใช้ พูดกับเพื่อนในชีวิต
4 ถูกทุกข้อ ประจาวันเป็ นภาษาระดับใด
34. ประโยคในข้อใด ไม่ใช่ อวัจนภาษา 1 สนทนา
1 ไก่ชวนสุ มาลีไปทาบุญวันเข้าพรรษา 2 ทางการ
2 สมใจพยักหน้าให้นิตยารู ้วา่ เขาพร้อมแล้ว 3 มาตรฐาน
3 สี มายิม้ เมื่อเห็นพ่อมายืนรอรับที่หน้าบ้าน 4 กึ่งราชการ
4 นกน้อยโค้งคานับอาจารย์ก่อนจะออกจาก 39. “เอ็ง หยิบกระดำษทิชชูให้ ข้ำหน่ อยซิ ”
ห้องเรี ยน ข้อความนีใ้ ช้ ภาษาระดับใด
35. ใครเป็ นผู้รับสาร 1 สนทนา
1 ผูพ้ ูด 2 ทางการ
2 ผูอ้ ่าน 3 กึ่งราชการ
3 ผูเ้ ขียน 4 พิธีการ
4 ถูกทุกข้อ 40. ข้ อใดเป็ นภาษาพูด
36. แม่ : หน่ วยมาช่ วยแม่เก็บของเล่นของน้ อง 1 เธอสบายดีไหม
เข้าที่หน่ อยซิ 2 ขยับเข้าไปอีกนิดนึง
หน่ อย : __________________________ 3 เธออยูก่ บั ใคร
ถ้านักเรียนเป็ นหน่ อย นักเรียนจะตอบแม่ว่า 4 ใครลืมกระเป๋ าไว้
อะไร
1 จะเก็บไว้ตรงไหนดีคะ
2 ไม่วา่ ง แม่เก็บเองแล้วกัน
3 น้องเล่นเองก็เก็บเองซิคะ
4 ใช้อ๋อยเก้บซิ เขาก็ร้ื อออกมาเล่นด้วย
41. เพราะเหตุใดคนโบราณจึงยกย่ องการฟังว่ า 45. การฟังปาฐกถา เป็ นการฟังเพื่อจุดมุ่งหมาย
เป็ นหัวใจนักปราชญ์ ข้อแรก ใด
1 คนเรารับสารได้ก่อนส่ งสาร 1 เพื่อคติชีวิต
2 ประสาทหูทางานตั้งแต่แรกเกิด 2 เพื่อความบันเทิง
3 การฟังเป็ นทักษะที่สาคัญอันดับแรกของ 3 เพื่อเพิ่มพูนความรู ้
การสื่ อสาร 4 เพื่อสื่ อความเข้าใจระหว่างกัน
4 คนโบราณยังไม่มีสื่อด้านการอ่านการเขียน 46. ข้ อใดมีใจความสาคัญของเรื่ องคลุมใจความ
จึงเน้นการฟังเป็ นอันดับแรก ข้ออื่น ๆ ทั้งหมด
42. การดูมีความสาคัญต่ อการเรียนรู้ ของคนเรา 1 ชนชาติไทยเป็ นอิสระแก่ตนอยูบ่ ริ เวณลุ่ม
เพราะเหตุใด แม่น้ าแยงซีเกียง
1 เป็ นการเรี ยนรู ้โดยตรง 2 ชนชาติไทยมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับจีน
2 การดูทาให้เกิดความเข้าใจได้มากกว่าทักษะ มาเป็ นเวลาหลายร้อยปี
อื่น 3 ความเห็นที่รวบรวมได้จากเอกสารจีนคือ
3 ประสาทตาละเอียดอ่อนสามารถจาแนกสิ่ ง ชนชาติไทยรวมกันเป็ นอิสระอยูบ่ ริ เวณ
ต่าง ๆ ได้ดี ลุ่มแม่น้ าแยงซีเกียง
4 ประสาทตามีระบบการทางานที่ละเอียด 4 ต่อมาชนชาติไทยได้อพยพลงมาสู่ดินแดน
อ่อนและทาให้ผดู ้ ูเกิดประสบการณ์ตรง ทางภาคใต้ของจีนจนถึงดินแดนที่เป็ น
43. การฟังพระธรรมเทศนามีจุดมุ่งหมายเพื่อ ประเทศไทยปัจจุบนั
อะไร 47. ขั้นตอนสุ ดท้ ายของการฟังและดูสิ่งที่เป็ น
1 เพื่อความรู ้ ความรู้ คืออะไร
2 เพื่อความเพลิดเพลิน 1 จดบันทึกความรู ้
3 เพื่อสื่ อความเข้าใจระหว่างกัน 2 มีมารยาทในการฟังและดู
4 เพื่อคติชีวิตและความจรรโลงใจ 3 มีความอดทนในการฟังและดู
44. ข้อใดเป็ นความคิดเห็น 4 ค้นคว้าเพิ่มเติมในเรื่ องที่ยงั ไม่เข้าใจ
1 การเลือกตั้งเป็ นหน้าที่ของคนไทยทุกคน 48. ในฐานะที่เป็ นนักเรียน ความสามารถใน
2 ประเทศไทยปกครองระบอบประชาธิปไตย การฟังข้ อใดสาคัญที่สุด
3 คนไทยชอบวิจารณ์การทางานของคนอื่น 1 จับสาระสาคัญได้
มากกว่าทาเอง 2 จดสิ่ งที่ฟังทันเสมอ
4 ประชาชนมีสิทธิเสรี ภาพในการตรวจสอบ 3 จับจุดมุ่งหมายของผูพ้ ูดได้
การทางานของรัฐบาล 4 แสดงความเห็นเกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังได้
49. หลักสาคัญของการจดบันทึกความรู้ จาก 54. “มิตตวินทุกลับเห็นกงจักรที่พัดอยู่บนศรี ษะ
การฟังและดูคืออะไร เปรตนั้นเป็ นดอกวัว ซึ่ งช่ ำงดอกไม้ ประดิษฐื
1 ต้องมีจุดสาคัญของเรื่ อง เป็ นเครื่ องสำมศรี ษะอันงดงำมและสังเกต
2 ต้องใช้สานวนโวหารกะทัดรัด เสียงครวญครำงพร้ อมกับกำรยกมืออันสั่น
3 ต้องเลือกเฟ้นเฉพาะส่วนที่สาคัญ กวัดแกว่ งไปมำนั้นว่ ำเป้นเสียงร้ องรำทำ
4 ต้องแทรกข้อคิดอย่างใดอย่างหนึ่ง เพลง” ข้ อความนีเ้ ป็ นการพูดแบบใด
50. หากมีข้อสงสั ยขฯที่กาลังฟัง ควรปฏิบัติ 1 ถ่ายทอดความรู ้สึกนึกคิด
อย่างไร 2 แสวงหาคาตอบหรื อความรู ้
1 ยกมือถามทันที 3 โน้มน้าวและจูงใจให้ผอู ้ ื่นคล้อยตาม
2 จดคาถามไว้ถามตอนท้าย 4 จรรโลงใจทาให้ผฟู ้ ังมีความสุขสนุกสนาน
3 ถามเป็ นการส่วนตัวหลังการพูดจบ 55. ข้ อใดเป็ นคาลงท้ ายของการพูดขอบคุณที่
4 ไม่ถามแต่ไปศึกษาค้นค้วาด้วยตนเอง เหมาะสมที่สุด
51. คาพูดในข้ อใดที่แสดงว่ าผู้พูดพูดเป็ น 1 ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์อย่างยิง่
1 กระโปรงตัวนี้สวยมากแต่ส้ นั จัง 2 ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ได้กรุ ณา
2 เธอตั้งใจเรี ยนยังไงก็สู้มาลีไม่ได้หรอก 3 ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์อย่างยิง่ และ
3 ถ้าเธอหมัน่ ขยันเรี ยนบ่อยๆ เดี๋ยวภาษาก็ดี หวังว่าะได้รับความกรุ ณาจากท่านอีกใน
ขึ้นเอง โอกาสต่อไป
4 บทความของเธอใช้ภาษาไม่ดีเลย พยายาม 4 ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ที่ให้ความ
หน่อยนะ กรุ ณา และด้วยความยินดีอย่างยิง่ ที่ท่าน
52. ในการเตรียมการพูด ขั้นตอนแรกต้ องปฏิบัติ อาจารย์เสี ยสละเวลามา
อย่างไร 56. การพูดแนะนาตนเองควรระมัดระวังใน
1 วิเคราะห์ผฟู ้ ัง เรื่ องใดเป็ นพิเศษ
2 วางโครงเรื่ อง 1 การพูดถึงอดีตของตนเอง
3 ตั้งวัตถุประสงค์ 2 การพูดถึงปัจจุบนั ของตนเอง
4 เลือกเรื่ องที่จะพูด 3 การพูดถึงอนาคตของตนเอง
53. การจัดลาดับเรื่ องให้ มีคานาเนื้อเรื่ องและ 4 การพูดถึงด้านลบของตนเอง
การสรุป เป็ นขั้นตอนใดในการเตรียมการพูด 57. การพูดในเรื่ องใดที่เราควรฝึ กให้ เป็ นนิสัยเพื่อ
1 การวางโครงเรื่ อง มารยาทที่ดีในสังคม
2 การรวบรวมเนื้อหา 1 การอวยพร
3 การเลือกเรื่ องที่จะพูด 2 การขอบคุณ
4 การกาหนดขอบเขตของเรื่ อง 3 การทักทาย
4 การแสดงความยินดีการทักทาย
58. เพื่อให้ ได้ ชื่อว่ าเป็ นคู่สนทนาที่ดี และมี 2 หลีกเลี่ยงคาพูดที่จะก่อให้เกิดการโต้แย้ง
มารยาท ท่านจะเลือกปฏิบัติข้อใด 3 ใช้คาพูดและแสดงกริ ยาให้ผฟู ้ ังรู ้สึกยินดีที่
1 แสดงสี หน้าเมื่อสงสัยและรอถามเมื่อพูดจบ จะพูดด้วย
2 ดวงตาจับจ้องอยูท่ ี่ผพู ้ ูด แสดงความใส่ใจใน 4 ไม่แย่งพูดแต่ผเู ้ ดียว ให้โอกาสคู่สนทนา
คาพูดอย่างจริ งจัง ได้พูดตามสมควร
3 กวาดสายตาไปมาพร้อมกับจ้องหน้าและ 60. เรื่ องที่ควรนามาเป็ นหวัข้อสนทนาควรมี
ทักท้วงเมื่อไม่เห็นด้วย ลักษณะอย่างไร
4 สบสายตากับผูพ้ ูดเป็ นระยะๆ อย่างพอ 1 เรื่ องที่ตนเองรู ้ดี
เหมาะและเสริ มหรื อโต้แย้งบ้างตามสมควร 2 เรื อ่งที่คู่สนทนาสนใจ
59. ข้ อใดเป็ นมารยาทในการพูดที่สาคัญที่สุด 3 เรื่ องทัว่ ๆ ไปไม่จากัด
1 พูดได้ชดั เจน แต่ตอ้ งไม่ดงั เกินไป 4 เรื่ องที่ท้ งั ตนเองและคู่สนทนาสนใจร่ วมกัน

ตอนที่ 2 อัตนัย
คาชี้แจง ตอบคำถำมต่ อไปนี ้
1. เสี ยงพยัญชนะของไทยทุกเสี ยงเป็ นพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกดได้ทุกเสี ยงหรื อไม่อย่างไร

2. การเรี ยนรู ้เรื่ องชนิดของคา นักเรี ยนได้ความรู ้อะไรบ้าง สามารถนาไปใช้ในชิวตประจาวันได้


หรื อไม่ อย่างไร
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

ฉลยข้ อสอบกลางภาค ภาษาไทย ม. 1 ภาคเรียนที่ 1 ฉบับที่ 2


ตอนที่ 1
1. 4 2. 4 3. 2 4. 3 5. 1 6. 1 7. 2 8. 4 9. 2 10. 1
11. 3 12. 3 13. 4 14. 3 15. 3 16. 2 17. 2 18. 2 19. 4 20. 1
21. 1 22. 1 23. 3 24. 1 25.4 26. 4 27. 4 28.1 29. 3 30. 4
31. 4 32. 4 33. 4 34. 1 35. 2 36. 1 37. 3 38. 1 39. 1 40. 2
41. 3 42. 4 43. 4 44. 3 45. 3 46. 1 47. 1 48. 1 49. 3 50. 2
51. 3 52. 3 53. 1 54. 4 55. 3 56. 4 57. 2 58. 4 59. 2 60. 4
ตอนที่ 2
1. เสี ยงพยัญชนะของไทยทั้ง 21 เสี ยง เป็ นพยัญชนะต้นได้ท้ งั หมดกล่าวคือ อยู่ตน้ พยางค์หรื อต้นคา
ได้ทุกเสี ยง แต่เป็ นพยัญชนะสะกดหรื ออยูท่ า้ ยพยางค์ได้เพียง 8 เสี ยง ตามมาตราตัวสะกดทั้ง
8 แม่ คือ แม่กง แม่กด แม่กบ แม่กม แม่กน แม่กม แม่เกย เแม่เกอว
2. พิจารณาคาตอบของนักเรี ยน

You might also like