อ.สาว งานคู่ปี4 3009

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 122

รายงานการเงินการวิเคราะห์

(Financial Reporting and Analysis)

จัดทำโดย
นางสาวศศิมา ประทับกอง รหัสนักศึกษา
2631050641111
นางสาวภาวิกา วัดสว่าง รหัสนักศึกษา
2631050641158

เสนอ
ผศ.วิจิตรรัตน์ บุญทอง

รายงานฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชา รายงานการเงิน


และการวิเคราะห์ (ACC 3233)

ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566


มหาวิทยาลัยราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกล
กังวล

คำนำ

รายงานฉบับนี้จัดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประกอบการศึกษา
เรียนรู้ ในรายวิชาการเงินและการวิเคราะห์ (ACC 3233) และเพื่อเป็ น
แหล่งศึกษาแก่ผู้ที่สนใจ เนื้อหาความรู้ในรายงานเป็ นตัวอย่างหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินและรายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ซึ่งผู้จักทำคาดหวัง
ว่ารายงานฉบับนี้จะเป็ นประโยชน์ในการศึกษาและเป็ นประโยชน์แก่ผู้ที่
สนใจศึกษาไม่มากก็น้อย
หากรายงานฉบับนี้มีความผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำต้องขออภัย
มา ณ ที่นี้

จัดทำโดย
นางสาวศศิมา
ประทับกอง
นางสาวภาวิกา
วัดสว่าง

สารบัญ
เรื่อง หน้า
คำนำ

สารบัญ

ตัวอย่างที่ 1 การเปิ ดเผยนโยบายการบัญชีของ บริษัท หาดทิพย์ จำกัด
(มหาชน) และบริษัทย่อย 1
ตัวอย่างที่ 2 การเปิ ดเผยนโยบายการบัญชีของ บริษัท หาดทิพย์ จำกัด
(มหาชน) และบริษัทย่อย 2
ตัวอย่างที่ 3 การเปิ ดเผยหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นของ บริษัท หาดทิพย์ จำกัด
(มหาชน) และบริษัทย่อย 3

ตัวอย่างที่ 4 การเปิ ดเผยเหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงานของ


บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) 10
และบริษัทย่อย
ตัวอย่างที่ 5 การเปิ ดเผยภาระผูกพันของ บริษัท หาดทิพย์ จำกัด
(มหาชน) และบริษัทย่อย 11
ตัวอย่างที่ 6 การเปิ ดเผยรายการเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
ของ บริษัท หาดทิพย์ จำกัด 14
(มหาชน)และบริษัทย่อย
ตัวอย่างที่ 7 บริษัท มานีจำกัดทำงบการเงินรายไตรมาส
17
ตัวอย่างที่ 8 แสดงการกำหนดส่วนงานที่รายงานของบริษัท ไทยซีเมนต์
จำกัด(มหาชน) 18
ตัวอย่างที่ 9 แสดงการเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนงานดำเนินงานบริษัท
หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) 20
และบริษัทย่อย
ตัวอย่างที่ 10 แสดงรายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาตของบริษัท หาดทิพย์
จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย 24
ตัวอย่างที่ 11 แสดงรายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาตของบริษัท เอ็มเค เรส
โตรองต์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) 30
ตัวอย่างที่ 12 แสดงรายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาตของบริษัท อาร์พีซีจี
จำกัด (มหาชน) 36
ตัวอย่างที่ 13 การวิเคราะห์และคำอธิบายของฝ่ ายจัดการ(บางส่วน) ของ
บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) 41
และบริษัทย่อย

ตัวอย่างที่ 14 ลักษณะการประกอบธุรกิจของ บริษัท หาดทิพย์ จำกัด


(มหาชน) และบริษัทย่อย 51

บรรณานุกรม
65
1

ตัวอย่างที่ 1 การเปิ ดเผยนโยบายการบัญชีของ บริษัท หาดทิพย์ จำกัด


(มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565

1.นโยบายการบัญชีที่สำคัญ
นโยบายการบัญชีที่นำเสนอดังต่อไปนี้ได้ถือปฏิบัติโดยสม่ำเสมอ
สำหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลา
รายงาน
1.1 สินค้าคงเหลือ
สินค้าคงเหลือวัดมูลค่าด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้ว
แต่ราคาใดจะต่ำกว่า ต้นทุนของสินค้าคำนวณโดยใช้วิธีถัวเฉลี่ย ราคาทุน
รวมถึงต้นทุนทางตรงที่เกี่ยวข้องกับการได้มาของสินค้าคงเหลือ สำหรับ
สินค้าสำเร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิตที่ผลิตเอง ต้นทุนสินค้ารวมการปั น
ส่วนของค่าโสหุ้ยการผลิตอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึงระดับกำลังการผลิต
ตามปกติ ทั้งนี้ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็ นการประมาณราคาที่จะขายได้
จากการดำเนินธุรกิจปกติหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จำเป็ นโดยประมาณในการ
ขาย
2

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ
กิจการ
2565 2564 2565 2564
(พันบาท)
สินค้าสำเร็จรูป 131,67 135,41 96,283 94,477
9 2
วัตถุดิบและวัสดุหีบห่อ 161,18 156,11 146,62 135,19
6 0 3 0
สินค้าระหว่างผลิต 45 242 45 242
อะไหล่และวัสดุโรงงาน 41,632 47,000 36,193 40,480
สินค้าระหว่างทาง 265 96 91 96
หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนจากสินค้า (3,455) (4,385) (1,763) (4,385)
เสื่อมสภาพ
รวม 331,35 334,4 277,47 266,1
2 75 2 00

ต้นทุนของสินค้าคงเหลือที่บันทึก
รวมในบัญชี
ต้นทุนขาย
- ต้นทุนขาย 4,223,9 3,888,3 4,261,8 3,936,4
23 59 79 10
- การปรับลดมูลค่าเป็ นมูลค่า 4,665 4,960 2,974 4,960
สุทธิที่คาดว่าจะได้รับ
รวม 4,228,5 3,893,3 4,264,8 3,941,3
88 19 53 70
3

ตัวอย่างที่ 2 การเปิ ดเผยนโยบายการบัญชีของ บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (


มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565
1.นโยบายการบัญชีที่สำคัญ
1.2 การรับรู้รายได้

รายได้รับรู้เมื่ อลูกค้ามีอำ นาจควบคุมในสินค้าหรือบริการด้วย


จำนวนเงินที่สะท้อนถึงสิ่งตอบแทนที่
กลุ่มบริษัทคาดว่าจะมีสิทธิได้รับซึ่งไม่รวมจำนวนเงินที่เก็บแทนบุคคลที่
สาม รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มและแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้า

รายได้จากการขายสินค้ารับรู้ ณ วันที่มีการส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้า
สำหรับการขายที่ให้สิทธิลูกค้าใน
การคืนสินค้า กลุ่มบริษัททำการประมาณการรับคืนสินค้าจากข้อมูลอัตรา
การคืนสินค้าในอดีตและจะไม่รับรู้รายได้และต้นทุนขายสำหรับสินค้าที่
คาดว่าที่จะได้รับคืน

รายได้จากการให้บริการรับรู้ตลอดช่วงเวลาหนึ่งเมื่อได้ให้บริการ ขั้น
ความสำเร็จของงานประเมินโดยใช้
วิธีการสำรวจงานที่ได้ทำแล้ว ต้นทุนที่เกี่ยวข้องรับรู้ในกำไรหรือขาดทุน
เมื่อเกิดขึ้น
4

ตัวอย่างที่ 3 การเปิ ดเผยหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นของ บริษัท หาดทิพย์ จำกัด


(มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565

2. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
2.1 หนังสือค้ำประกันจากธนาคาร
5

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 บริษัทมีหนังสือค้ำประกันที่ออกโดย


ธนาคารเพื่อขอทุเลาการชำระภาษีอากรและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องจำนวน
13.60 ล้านบาท (2564: 13.60) ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 16

2.2 เครื่องมือทางการเงิน
มูลค่าตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรม
ตารางดังต่อไปนี้แสดงมูลค่าตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์
ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน รวมถึงลำดับชั้นมูลค่ายุติธรรม แต่ไม่
รวมถึงการแสดงข้อมูลมูลค่ายุติธรรมสำหรับสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้
สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจำหน่ายหากมูลค่าตามบัญชี
ใกล้เคียงกับมูลค่ายุติธรรมอย่างสมเหตุสมผล
6

งบการเงินรวม
มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม

เครื่องมือ เครื่องมือ
ทางการเงิน ทางการเงินที่
ที่วัดมูลค่า วัดมูลค่าด้วย เครื่องมือ
ด้วยมูลค่า มูลค่ายุติธรรม ทางการเงิน
ยุติธรรมผ่าน ผ่านกำไร ที่วัดมูลค่า
หมายเ กำไร ขาดทุน ด้วยราคาทุน ระดับ ระดับ ระดับ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม หตุ หรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ตัดจำหน่าย รวม 1 2 3 รวม
(พันบาท)
2565
สินทรัพย์ทางการเงิน
สินทรัพย์ทางการเงินอื่น
เงินลงทุนในตราสารหนี้ 23,727 - - 23,727 - 23,727 - 23,727
เงินลงทุนในตราสารทุน 5,123 3,25 5,123
- - 5,123 2 - 1,871
7

งบการเงินรวม
มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม

เครื่องมือ เครื่องมือ
ทางการเงิน ทางการเงินที่
ที่วัดมูลค่า วัดมูลค่าด้วย เครื่องมือ
ด้วยมูลค่า มูลค่ายุติธรรม ทางการเงิน
ยุติธรรมผ่าน ผ่านกำไร ที่วัดมูลค่า
หมายเ กำไร ขาดทุน ด้วยราคาทุน ระดับ ระดับ ระดับ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม หตุ หรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ตัดจำหน่าย รวม 1 2 3 รวม
รวมสินทรัพย์ทางการเงิน 23,727 5,123 - 28,850

หนี้สินทางการเงิน
เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบัน 13 - (160, (52, (106,1 (158,8
การเงิน - (160,248) 248) - 748) 41) 89)
หนี้สินอนุพันธ์ - (2, (2, (2,1
- (2,193) 193) - 193) - 93)
8

งบการเงินรวม
มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม

เครื่องมือ เครื่องมือ
ทางการเงิน ทางการเงินที่
ที่วัดมูลค่า วัดมูลค่าด้วย เครื่องมือ
ด้วยมูลค่า มูลค่ายุติธรรม ทางการเงิน
ยุติธรรมผ่าน ผ่านกำไร ที่วัดมูลค่า
หมายเ กำไร ขาดทุน ด้วยราคาทุน ระดับ ระดับ ระดับ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม หตุ หรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ตัดจำหน่าย รวม 1 2 3 รวม
รวมหนี้สินทางการเงิน - (162,
- (162,441) 441)
9

งบการเงินรวม
มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม

เครื่องมือ เครื่องมือ
ทางการเงิน ทางการเงินที่ เครื่องมือ
ที่วัดมูลค่า วัดมูลค่าด้วย ทางการเงิน
ด้วยมูลค่า มูลค่ายุติธรรม ที่วัดมูลค่า
ยุติธรรมผ่าน ผ่านกำไร ด้วยราคา
หมายเ กำไร ขาดทุน ทุน ระดับ ระดับ ระดับ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม หตุ หรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ตัดจำหน่าย รวม 1 2 3 รวม
(พันบาท)
2564
สินทรัพย์ทางการเงิน
สินทรัพย์ทางการเงินอื่น
เงินลงทุนในตราสารหนี้ 28,179 - - 28,179 - 28,179 - 28,179
เงินลงทุนในตราสารทุน 13,867 3,26 10,60 13,867
- - 13,867 7 - 0
10

งบการเงินรวม
มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม

เครื่องมือ เครื่องมือ
ทางการเงิน ทางการเงินที่ เครื่องมือ
ที่วัดมูลค่า วัดมูลค่าด้วย ทางการเงิน
ด้วยมูลค่า มูลค่ายุติธรรม ที่วัดมูลค่า
ยุติธรรมผ่าน ผ่านกำไร ด้วยราคา
หมายเ กำไร ขาดทุน ทุน ระดับ ระดับ ระดับ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม หตุ หรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ตัดจำหน่าย รวม 1 2 3 รวม
สินทรัพย์อนุพันธ์ 5 - - 5 - 5 - 5
รวมสินทรัพย์ทางการเงิน 28,184 13,867 - 42,051

หนี้สินทางการเงิน
เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบัน 13 - (167 (120,78 (45,90 (166
การเงิน - (167,080) ,080) - 0) 7) ,687)
รวมหนี้สินทางการเงิน - - (167,080 (16
11

งบการเงินรวม
มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม

เครื่องมือ เครื่องมือ
ทางการเงิน ทางการเงินที่ เครื่องมือ
ที่วัดมูลค่า วัดมูลค่าด้วย ทางการเงิน
ด้วยมูลค่า มูลค่ายุติธรรม ที่วัดมูลค่า
ยุติธรรมผ่าน ผ่านกำไร ด้วยราคา
หมายเ กำไร ขาดทุน ทุน ระดับ ระดับ ระดับ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม หตุ หรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ตัดจำหน่าย รวม 1 2 3 รวม
) 7,080)
12

งบการเงินเฉพาะกิจการ
มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม
เครื่องมือ
เครื่องมือ ทางการเงินที่
ทางการเงิน วัดมูลค่าด้วย เครื่องมือ
ที่วัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรม ทางการเงิน
มูลค่ายุติธรรม ผ่านกำไร ที่วัดมูลค่า
หมายเ ผ่านกำไร ขาดทุน ด้วยราคาทุน ระดับ ระดับ ระดับ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม หตุ หรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ตัดจำหน่าย รวม 1 2 3 รวม
(พันบาท)
2565
สินทรัพย์ทางการเงิน
สินทรัพย์ทางการเงินอื่น
เงินลงทุนในตราสารหนี้ -
990 - 990 - 990 - 990
เงินลงทุนในตราสารทุน - 5,123 - 5,123 3,252 - 1,871 5,123
รวมสินทรัพย์ทางการเงินอื่น 990 5,123 - 6,113

หนี้สินทางการเงิน
13

งบการเงินเฉพาะกิจการ
มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม
เครื่องมือ
เครื่องมือ ทางการเงินที่
ทางการเงิน วัดมูลค่าด้วย เครื่องมือ
ที่วัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรม ทางการเงิน
มูลค่ายุติธรรม ผ่านกำไร ที่วัดมูลค่า
หมายเ ผ่านกำไร ขาดทุน ด้วยราคาทุน ระดับ ระดับ ระดับ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม หตุ หรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ตัดจำหน่าย รวม 1 2 3 รวม
เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบัน 13 - (75, (75,0 (75,0
การเงิน - (75,000) 000) - - 00) 00)
หนี้สินอนุพันธ์ - (2, (2,19 (2,1
- (2,193) 193) - 3) - 93)
รวมหนี้สินทางการเงิน - (77,
- (77,193) 193)
14

งบการเงินเฉพาะกิจการ
มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม
เครื่องมือ
เครื่องมือ ทางการเงินที่
ทางการเงิน วัดมูลค่าด้วย เครื่องมือ
ที่วัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรม ทางการเงิน
มูลค่ายุติธรรม ผ่านกำไร ที่วัดมูลค่า
หมายเ ผ่านกำไร ขาดทุน ด้วยราคาทุน ระดับ ระดับ ระดับ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม หตุ หรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ตัดจำหน่าย รวม 1 2 3 รวม
(พันบาท)
2564
สินทรัพย์ทางการเงิน
สินทรัพย์ทางการเงินอื่น
เงินลงทุนในตราสารหนี้ -
1,621 - 1,621 - 1,621 - 1,621
เงินลงทุนในตราสารทุน - 10,60 13,867
- 13,867 13,867 3,267 - 0
สินทรัพย์อนุพันธ์ 5 - - 5 5 - 5
รวมสินทรัพย์ทางการเงินอื่น 1,626 13,867 - 15,49
15

งบการเงินเฉพาะกิจการ
มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม
เครื่องมือ
เครื่องมือ ทางการเงินที่
ทางการเงิน วัดมูลค่าด้วย เครื่องมือ
ที่วัดมูลค่าด้วย มูลค่ายุติธรรม ทางการเงิน
มูลค่ายุติธรรม ผ่านกำไร ที่วัดมูลค่า
หมายเ ผ่านกำไร ขาดทุน ด้วยราคาทุน ระดับ ระดับ ระดับ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม หตุ หรือขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ตัดจำหน่าย รวม 1 2 3 รวม
3

หนี้สินทางการเงิน
เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบัน 13 - (120 (120, (120,
การเงิน - (120,780) ,780) - 780) - 780)
รวมหนี้สินทางการเงิน - (12
- (120,780) 0,780)
16
17

กลุ่มบริษัทพิจารณามูลค่ายุติธรรมระดับ 3 สำหรับตราสารทุนที่ไม่อยู่
ในความต้องการของตลาด โดยใช้
วิธีปรับปรุงสินทรัพย์สุทธิหรือราคาซื้อขายในตลาด ณ วันที่ลงทุน

กลุ่มบริษัทพิจารณามูลค่ายุติธรรมระดับ 2 สำหรับเงินลงทุนใน
ตราสารหนี้ โดยอ้างอิงราคาจากบริษัท
หลักทรัพย์จัดการกองทุนตามมูลค่าสินทรัพย์สุทธิ ณ วันที่รายงาน และ
สำหรับหนี้สินอนุพันธ์ โดยอ้างอิงราคาจากสถาบันการเงินตามมูลค่าหนี้สิน
สุทธิ ณ วันที่รายงาน

กลุ่มบริษัทพิจารณามูลค่ายุติธรรมระดับ 1 สำหรับตราสารทุน โดย


อ้างอิงจากราคาซื้อขายที่ประกาศอยู่ใน
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้ราคาปิ ด ณ วันที่รายงาน

มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนที่หมุนเวียน
เป็ นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับมูลค่าตาม
บัญชี เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินเหล่านั้นจะครบกำหนดในระยะเวลา
อันสั้น

เงินกู้ยืมระยะยาวที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัวซึ่งเป็ นอัตราในตลาด มี
มูลค่าตามบัญชีใกล้เคียงกับมูลค่า
ยุติธรรม

เงินกู้ยืมระยะยาวที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ประเมินมูลค่ามูลค่า
ยุติธรรมโดยวิธีคิดลดกระแสเงินสด
18

2.3 ภาระผูกพันรายจ่ายฝ่ ายทุน

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ
กิจการ
2565 2564 2565 2564
(พันบาท)
ภาระผูกพันรายจ่ายฝ่ ายทุน
ภาระผูกพันตามสัญญาซื้อ 10,572 - 10,572 -
เครื่องจักร
19

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ
กิจการ
2565 2564 2565 2564
(พันบาท)
ภาระผูกพันตามสัญญาก่อสร้าง 116,42 - 116,31 -
9 6
ภาระผูกพันตามสัญญาส่วน - 809 - 809
ปรับปรุงที่ดิน
ภาระผูกพันตามสัญญาต่อเติม 3,772 4,057 1,109 4,057
อาคาร
ภาระผูกพันตามสัญญาติดตั้ง 198,02 1,113 197,67 1,113
ระบบภายในอาคาร 6 6
ภาระผูกพันตามสัญญาติดตั้ง 265 4,157 - 2,942
ระบบสารสนเทศ
รวม 329,06 10,136 325,67 8,921
4 3

ภาระผูกพันอื่นๆ
สัญญาซื้อเงินตราต่างประเทศ 66,900 470 66,900 470
ล่วงหน้า
ภาระผูกพันตามสัญญาเช่า 31,115 1,345 30,010 1,290
ระยะสั้นและบริการ
หนังสือค้ำประกันจากธนาคาร 33,894 31,729 31,894 31,729
รวม 131,90 33,544 128,80 33,489
9 4
20

ตัวอย่างที่ 4 การเปิ ดเผยเหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงานของ


บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565

3.เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน

เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ได้มี


มติอนุมัติเลิกกิจการทั้งสิ้น 3 บริษัท
ได้แก่ บริษัทหาดทิพย์ คอมเมอร์เชียล จำกัด บริษัท หาดทิพย์ ฟู้ด แอนด์
เบฟเวอร์เรจเจส จำกัด และบริษัท กินดีอยู่ดี 2020 จำกัดซึ่งเป็ นบริษัท
21

ย่อยของบริษัท หาดทิพย์ จํากัด (มหาชน) เนื่องจากมีผลขาดทุนจากการ


ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง บริษัทจะดำเนินการเกี่ยวกับการจดทะเบียนเลิก
บริษัทย่อยและชำระบัญชีให้แล้วเสร็จตามกฎหมายต่อไป

ตัวอย่างที่ 5 การเปิ ดเผยภาระผูกพันของ บริษัท หาดทิพย์ จำกัด


(มหาชน) และบริษัทย่อย
22

บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565

4.ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน

โครงการสมทบเงิน
ภาระผูกพันในการสมทบเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับพนักงาน
ของกลุ่มบริษัทจะถูกรับรู้เป็ น
ค่าใช้จ่าย พนักงานในกำไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงานได้
ทำงานให้กับกิจการ

โครงการผลประโยชน์ที่กำหนดไว้
ภาระผูกพันสุทธิของกลุ่มบริษัทจากโครงการผลประโยชน์ที่กำหนดไว้
ถูกคำนวณจากการประมาณ
ผลประโยชน์ในอนาคตที่เกิดจากการทำงานของพนักงานในงวดปั จจุบัน
และงวดก่อนๆ ผลประโยชน์ดังกล่าวได้มีการคิดลดกระแสเงินสดเพื่อให้
เป็ นมูลค่าปั จจุบันซึ่งจัดทำโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ได้รับอนุญาต
เป็ นประจำ โดยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้
ในการวัดมูลค่าใหม่ของหนี้สินผลประโยชน์ที่กำหนดไว้สุทธิ กำไร
หรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยจะถูก
รับรู้รายการในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นทันที กลุ่มบริษัทกำหนดดอกเบี้ย
จ่ายของหนี้สินผลประโยชน์ที่กำหนดไว้สุทธิโดยใช้อัตราคิดลดที่ใช้วัด
มูลค่าภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ ณ ต้นปี โดยคำนึงถึงการ
เปลี่ยนแปลงใดๆ ในหนี้สินผลประโยชน์ที่กำหนดไว้สุทธิซึ่งเป็ นผลมาจาก
23

การสมทบเงินและการจ่ายชำระผลประโยชน์ ดอกเบี้ยจ่ายสุทธิและค่าใช้
จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการผลประโยชน์รับรู้ในกำไรหรือขาดทุน
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงผลประโยชน์ของโครงการหรือการลดขนาด
โครงการ การเปลี่ยนแปลงในผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับการบริการใน
อดีต หรือกำไรหรือขาดทุนจากการลดขนาดโครงการต้องรับรู้ในกำไรหรือ
ขาดทุนทันที กลุ่มบริษัทรับรู้กำไรและขาดทุนจากการจ่ายชำระผล
ประโยชน์พนักงานเมื่อเกิดขึ้น
ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงานรับรู้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อพนักงาน
ทำงานให้ หนี้สินรับรู้ด้วยมูลค่าที่คาด
ว่าจะจ่ายชำระ หากกลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระ
ผูกพันโดยอนุมานที่จะต้องจ่ายอันเป็ นผลมาจากการที่พนักงานได้ทำงาน
ให้ในอดีตและภาระผูกพันนี้สามารถประมาณได้อย่างสมเหตุสมผล

กลุ่มบริษัทและบริษัทจัดการโครงการผลประโยชน์ที่กำหนดไว้ตามข้อ
กำหนดของพระราชบัญญัติคุ้มครอง
แรงงาน พ.ศ./2541/ในการให้ผลประโยชน์เมื่อเกษียณแก่พนักงานตามสิทธิ
และอายุงาน โครงการผลประโยชน์ที่กำหนดไว้มีความเสี่ยงจากการประมาณ
การตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ได้แก่ ความเสี่ยงของช่วงชีวิต และความ
เสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย
24

มูลค่าปั จจุบันของภาระ งบการเงินเฉพาะ


ผูกพันตาม งบการเงินรวม กิจการ
โครงการผลประโยชน์ 2565 2564 2565 2564
(พันบาท)
ณ วันที่ 1 มกราคม 301,38 304,72 299,78 303,58
6 3 3 1
รับรู้ในกำไรหรือขาดทุน
ต้นทุนบริการปั จจุบัน 26,148 23,321 25,156 22,804
ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน 3,309 3,345 3,269 3,304

รับรู้ในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
อื่น
กำไรจากการประมาณตาม
หลักคณิตศาสตร์ประกัน
ภัย
- สมมติด้าน (247) - - -
ประชากรศาสตร์
- ข้อสมมติทางการเงิน (20,122 (18,075 (19,659 (17,978
) ) ) )
- การปรับปรุงจาก (2,540) - (2,197) -
ประสบการณ์
ผลประโยชน์จ่าย (12,431 (11,928 (11,287 (11,928
) ) ) )
โอนประมาณการหนี้สิน
สำหรับผลประโยชน์ - - (1,648) -
25

มูลค่าปั จจุบันของภาระ งบการเงินเฉพาะ


ผูกพันตาม งบการเงินรวม กิจการ
โครงการผลประโยชน์ 2565 2564 2565 2564
(พันบาท)
พนักงานไปยังบริษัทย่อย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 295,50 301,38 293,41 299,78
3 6 7 3
26

ข้อสมมติหลักในการประมาณ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ


การตาม กิจการ
หลักคณิตศาสตร์ประกันภัย 2565 2564 2565 2564
(ร้อยละ)
อัตราคิดลด 2.5 1.8 2.5 1.8
การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนใน 5.0 5.0 5.0 5.0
อนาคต
ข้อสมมติเกี่ยวกับอัตรามรณะในอนาคตถือตามข้อมูลทางสถิติ
ที่เผยแพร่ทั่วไปและตาราง
มรณะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ
ภาระผูกพันผลประโยชน์ที่กำหนดไว้เป็ น
8 ปี (2564: 8 ปี )
การวิเคราะห์ความอ่อนไหว

การเปลี่ยนแปลงในแต่ละข้อสมมติที่เกี่ยวข้องในการประมาณการ
ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่อาจ
เป็ นไปได้อย่างสมเหตุสมผล ณ วันที่รายงาน โดยถือว่าข้อสมมติอื่ นๆ
คงที่

งบการเงินรวม
ผลกระทบต่อภาระผูกพันของ ข้อสมมติเพิ่มขึ้น ข้อสมมติลดลง
โครงการผลประโยชน์ ร้อยละ 0.5 ร้อยละ 0.5
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 2564 2565 2564
(พันบาท)
อัตราคิดลด (11,32 (12,07 12,16 13,05
27

งบการเงินรวม
ผลกระทบต่อภาระผูกพันของ ข้อสมมติเพิ่มขึ้น ข้อสมมติลดลง
โครงการผลประโยชน์ ร้อยละ 0.5 ร้อยละ 0.5
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 2564 2565 2564
(พันบาท)
9) 9) 1 8
การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนใน 11,80 13,99 (11,11 (13,08
อนาคต 3 1 9) 5)

งบการเงินเฉพาะกิจการ
ผลกระทบต่อภาระผูกพันของ ข้อสมมติเพิ่มขึ้น ข้อสมมติลดลง
โครงการผลประโยชน์ ร้อยละ 0.5 ร้อยละ 0.5
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 2564 2565 2564
(พันบาท)
อัตราคิดลด (11,21 (11,88 11,67 12,84
4) 5) 9 6
การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนใน 12,03 13,77 (11,00 (12,88
อนาคต 3 1 7) 3)
28

ตัวอย่างที่ 6 การเปิ ดเผยรายการเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน


ของ บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน)และบริษัทย่อย

บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565

รายการเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำนาจ
ควบคุมทั้งทางตรงและทางอ้อมหรือมี
อิทธิพลอย่างมีสาระสำคัญในการตัดสินใจทางการเงินและการบริหารของ
กลุ่มบริษัท หรือบุคคลหรือกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันหรืออยู่
ภายใต้อิทธิพลอย่างมีสาระสำคัญเดียวกันกับกลุ่มบริษัทหรือกลุ่มบริษัทมี
อำนาจควบคุมทั้งทางตรงและทางอ้อม หรือมีอิทธิพลอย่างมีสาระสำคัญใน
การตัดสินใจทางการเงินและการบริหารต่อบุคคลหรือกิจการนั้น

ความสัมพันธ์ที่มีกับบริษัทย่อยได้เปิ ดเผยในหมายเหตุข้อ 9 สำหรับ


บุคคลหรือกิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกันที่
มีรายการระหว่างกันที่มีนัยสำคัญกับกลุ่มบริษัท ในระหว่างปี มีดังต่อไปนี้
29

ชื่อกิจการ ประเทศที่ ลักษณะความสัมพันธ์


จัดตั้ง
บริษัท จีวา เรสซิเดนเซส ไทย มีกรรมการร่วมกัน
จำกัด
บริษัท ไวศยะ คอนซัลติ้ง ไทย มีกรรมการร่วมกัน
จำกัด
บริษัท คาสเซิล พาร์ท ไทย มีกรรมการร่วมกัน
เนอร์ จำกัด
ผู้บริหารสำคัญ ไทย บุคคลที่มีอำนาจและความรับผิด
ชอบการวางแผนสั่งการ และควบคุม
กิจกรรมต่างๆ ของกิจการไม่ว่าทาง
ตรง หรือทางอ้อม ทั้งนี้รวมถึง
กรรมการของกลุ่มบริษัท (ไม่ว่าจะ
ทำหน้าที่ในระดับบริหารหรือไม่)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ
กิจการ

รายการที่สำคัญกับบุคคลหรือ
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2565 2564 2565 2564
(พันบาท)
บริษัทย่อย
ขายสินค้า - - 142
ซื้อสินค้า - - 1,374 1,676
ซื้อภาชนะบรรจุ - - 673,67 591,0
73
30

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ
กิจการ

รายการที่สำคัญกับบุคคลหรือ
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2565 2564 2565 2564
(พันบาท)
ขายสินทรัพย์ถาวร - - - 48,61
8
ค่าบริการเป่ าภาชนะบรรจุ - - 36,900 33,87
6
รายได้ค่าบริการให้ใช้พื้นที่ - - 654
รายได้ค่าเช่าที่ดิน - - 210
รายได้ค่าบริหารจัดการ - - 16,401 17,092
ค่าเช่าพื้นที่ติดตั้งป้ ายโฆษณา - - 420
เงินปั นผลรับ - - 184,28 140,6
40
ดอกเบี้ยรับ - - 73
รายได้อื่นๆ - - 6,484 8,227

บริษัทอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
ค่าบริการก่อสร้าง 7,938 - - -
ค่าบริการอื่น 3,650 - 3,650 -

ผู้บริหารสำคัญ
ค่าตอบแทนผู้บริหารสำคัญ
ผลประโยชน์ระยะสั้น 178,6 137,72 178,67 137,7
22
31

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ
กิจการ

รายการที่สำคัญกับบุคคลหรือ
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2565 2564 2565 2564
(พันบาท)
ผลประโยชน์หลังออกจากงาน 6,438 6,810 6,438 6,810
รวมค่าตอบแทนผู้บริหารสำคัญ 185,1 144,5 185,1 144,5
32
ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
32 กิจการ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 2564 2565 2564
(พันบาท)
ลูกหนี้การค้า
บริษัทย่อย - - 9

ลูกหนี้อื่น
บริษัทย่อย - - 5,304 4,949

เงินให้กู้ยืม
บริษัทย่อย - - 23,00 -

หัก ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่ - - (23,00 -


คาดว่าจะเกิดขึ้น
สุทธิ - - - -

ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่า งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ


จะเกิดขึ้น กิจการ
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 หมายเ 2565 2564 2565 2564
ธันวาคม หตุ
(พันบาท)
เงินให้กู้ยืม 11 - - 23,00 -

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 บริษัทมีเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อยสองแห่ง รวม


เป็ นจำนวนเงินทั้งสิ้น 23 ล้านบาท เพื่อใช้ในการดำเนินงานของบริษัทย่อย
เงินกู้ยืมดังกล่าวมีอัตราดอกเบี้ยตามที่ระบุในสัญญา มีกำหนดชำระเงินต้น
เป็ นงวดรายเดือน และมีกำหนดชำระคืนเงินต้นให้เสร็จสิ้นตามที่ระบุใน
สัญญาเงินกู้ อย่างไรก็ตาม ในเดือนธันวาคม 2565 บริษัทได้ปรับอัตรา
33

ตัวอย่างที่ 7 บริษัท มานีจำกัดทำงบการเงินรายไตรมาส บริษัทประมาณ


การว่าจะมีกำไรสุทธิก่อนภาษีเงินได้ 100,000 บาท ทุกไตรมาส กำไร
สุทธิก่อนภาษีเงินได้ 200,000 บาท เสียภาษีเงินได้ในอัตรา 20% กำไร
สุทธิก่อนภาษีเงินได้ส่วนที่เกิน 200,000 บาท เสียภาษีเงินได้ในอัตรา
30%

การคำนวณค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ = 20% (200,000)+30%(200,000)
= 40,000 + 60,000
= 100,000 บาท

อัตราภาษีเงินได้ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก = ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ทั้งปี
กำไรสุทธิก่อนภาษีเงินได้ทั้งปี

= 100,000
400,000

= 25%

ดังนั้น ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สำหรับแต่ละไตรมาส แสดงดังนี้

หน่วย:บาท
ไตรมาสที่1 ไตรมาสที่2 ไตรมาสที่3 ไตรมาสที่4 รวมทั้งปี
กำไรสุทธิก่อนภาษีเงินได้ 100,000 100,000 100,000
100,000 400,000
34

ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 25,000 25,000 25,000 25,000


100,000

ตัวอย่างที่ 8 แสดงการกำหนดส่วนงานที่รายงาน
ข้อมูลของส่วนงานธุรกิจของบริษัท ไทยซีเมนต์ จำกัด(มหาชน) ซึ่งมี
ส่วนงานธุรกิจ 5 ส่วนงาน ปรากฏดังนี้
หน่วย:บาท

ส่วนงาน การ การ


งบ
ธุรกิจ ธุรกิจ ธุรกิจ ธุรกิจ ธุรกิจ ดำเนิ ตัด
การ
ซีเมน ปี กระด ผลิต จัด น บัญชี
เงิน
ต์ โต าษ ภัณฑ์ จำหน่
ก่อสร้
รายได้
รายได้จากภายนอก 951 285 123 258 1,716
99
35

รายได้ระหว่างส่วนงาน 18 54 12
รวม 969 339 135 258 1,716
99 (84)
ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน
ค่าใช้จ่ายโดยตรง (330) (105) (204) (183) (891)
(123) 54 (30)
ค่าใช้จ่ายจากการปั นส่วน (9) (3) (6) (9)
(3) (861)
รวม (339) (108) (210) (192)
(126) 54 855
กำไรจากการดำเนินงาน 630 231 (75) 66
(27) (30) (135)
ค่าใช้จ่ายในการบริหาร
(135) 96

รายได้เงินปั นผล 96
ดอกเบี้ยจ่าย-ภายนอก (90)
(90)
ดอกเบี้ยจ่ายระหว่างส่วนงาน (36)
36
รายได้ดอกเบี้ยระหว่างส่วนงาน 36
(36) 726
กำไรจากการดำเนินงานตามปกติ 594 273 (75) 66
(27) (135) (30)
สินทรัพย์
สินทรัพย์ตามส่วนงาน 1,233 825 300 930
3,798
240 300 (30)
36

เงินให้กู้ยืมระหว่างส่วนงาน 300
(300) 552
เงินลงทุน 552
รวมสินทรัพย์ 1,233 1,677 300 930 4,350
240 300 (330)

พิจารณาว่าส่วนงานธุรกิจทั้ง 5 ส่วนงานเป็ นไปตามคำนิยามหรือไม่ ในที่


นี้ถือว่าเป็ นไปตามคำนิยาม จากนั้นพิจารณาเกณฑ์เชิงปริมาณ ดังนี้
1. การทดสอบรายได้
รายได้ของ รายได้ของ ร้อยละ เป็ นส่วน
ส่วนงาน
ส่วนงาน ทุกส่วน ของ งานที่

ธุรกิจซีเมนต์ 969 1,800


53.9 ใช่
ธุรกิจปี โตรเคมี 339 1,800
18.8 ใช่
ธุรกิจการดาษ 135 1,800
7.5 ไม่ใช่
ธุรกิจผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง 258 1,800
14.3 ใช่
ธุรกิจจัดจำหน่าย 99 1,800
5.5 ไม่ใช่
รวม 1,800 100.0
ผลการทดสอบ
ธุรกิจซีเมนต์ ธุรกิจปี โตรเคมีและธุรกิจผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง ผ่านการ
ทดสอบถือเป็ นส่วนงานที่เสนอรายงาน
37

2. การทดสอบผลได้ (เสีย)
ส่วนงาน ส่วนงานที่ ส่วนงานที่มี จำนวน ร้อยละ เป็ นส่วน
มี ขาดทุนจาก สัมบูรณ์ที่ งานที่
กำไรจาก การ มากกว่า
ดำเนินงาน
ธุรกิจซีเมนต์ 633 927
68.0 ใช่
ธุรกิจปี โตรเคมี 231 927
24.9 ใช่
ธุรกิจกระดาษ 75 927
8.1 ไม่ใช่
ธุรกิจผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง 66 927
7.1 ไม่ใช่
ธุรกิจจัดจำหน่าย . 27 927
2.9 ไม่ใช่
รวม 927 102

ผลการทดสอบ
ธุรกิจซีเมนต์ และธุรกิจปี โตรเคมีผ่านการทดสอบถือเป็ นส่วนงานที่เสนอ
รายงาน
38

ตัวอย่างที่ 9 แสดงการเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนงานดำเนินงานบริษัท


หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565

ข้อมูลจำแนกตามส่วนงาน
บ ริ ษั ท ห า ด ทิ พ ย์ จำ กั ด (ม ห า ช น ) ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ ป ร ะ เ ภ ท
อุตสาหกรรมน้ำอัดลม โดยได้รับลิขสิทธิ์จากโคคา-โคลา คัม ปะนี (ประเท
ศสหรัฐอเมริกา) เมืองแอตแลนต้า มลรัฐจอร์เจียร์ ให้เป็ นผู้ผลิตและ
จำหน่ายเครื่องดื่มน้ำอัดลมภายใต้เครื่องหมายการค้า “โคคา-โคลา” “แฟ
นต้า” "สไปรท์" และผลิตภัณฑ์อื่ นที่โคคา -โคลา คัมปะนี เป็ นเจ้าของ
ได้แก่ กลุ่มผลิตภัณฑ์น้ำผลไม้มินิทเมด และน้ำดื่มน้ำทิพย์
บริษัทฯ ผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อจำหน่ายและบางส่วนซื้อจากบริษัทคู่ค้า
รายหนึ่งในกรุงเทพฯ มาจำหน่าย ซึ่งผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ประกอบด้วย
1.ผลิตภัณฑ์น้ำ อัดลม (Sparkling Beverages) ได้แก่ ผลิตภัณฑ์
โค้ก แฟนต้า และสไปรท์
2.ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ non-carbonated (Still Beverages) ไ ด้ แ ก่ ก ลุ่ ม
ผลิตภัณฑ์น้ำผลไม้มินิทเมด และน้ำดื่มน้ำทิพย์
รายได้หลักของบริษัทฯ คือรายได้จากการจำหน่ายเครื่ องดื่ มน้ำ
อัดลม ซึ่งได้รับลิขสิทธิ์ให้ผลิตและจำหน่ายเฉพาะ 14 จังหวัด ภาคใต้ของ
ประเทศไทย
39
40

งบการเงินรวม
ส่วนงานเครื่องดื่ม ส่วนงานสินค้าอุปโภค ส่วนงานอาหาร ส่วนงาน รวม
บริโภค อสังหาริมทรัพย์
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 2565 2564 2565 2564 2565 2564 2565 2564 2565 2564

ธันวาคม
(พันบาท)
ข้อมูลตามส่วนงาน
ดำเนินงานและ
การจำแนกรายได้
ส่วนงานภูมิศาสตร์หลัก
ไทย 6,873,498 6,353,482 142,470 138,563 32,370 21,222 - - 7,048,3 6,513,267
38
ต่างประเทศ - 4,687 - - - - - - - 4,687

รวมรายได้ 6,873,49 6,358,169 142,470 138,563 32,370 21,222 - - 7,048,3 6,517,954


8 38

ประเภทของผลิตภัณฑ์
หลัก
ผลิตภัณฑ์อัดลม 6,444,448 6,033,79 - - - - - - 6,444,4 6,033,7
48 99
ผลิตภัณฑ์ไม่อัดลม 429,050 324,370 - - - - - - 429,05 324,37
0 0
สินค้าอุปโภคบริโภค - - 142,470 138,563 - - - - 142,47 138,563
0
41

อาหาร - - - - 32,370 21,222 - - 32,370 21,222

รวมรายได้ 6,873,49 6,358,1 142,470 138,563 32,370 21,222 - - 7,048,3 6,517,9


8 69 38 54
42
43
ส่วนงานเครื่องดื่ม ส่วนงานสินค้าอุปโภค ส่วนงานอาหาร ส่วนงาน รวม
บริโภค อสังหาริมทรัพย์
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 2565 2564 2565 2564 2565 2564 2565 2564 2565 2564
ธันวาคม
(พันบาท)
รวมกำไร (ขาดทุน) ตาม
ส่วนงาน
ก่อนหักภาษีเงินได้ 553,516 670,734 (47,906) (20,100) (57,063 (17,100 (8,34 (4,062 440,19 629,472
) ) 8) ) 9
ตัดรายการระหว่างกัน 50,062 (25,289) 12,363 18,135 22,826 4,440 563 1,978 85,814 (736)
กำไร (ขาดทุน) ตามส่วน
งาน
ก่อนหักภาษีเงินได้ 603,578 645,445 (35,543) (1,965) (34,237) (12,660 (7,785 (2,084 526,013 628,736
) ) )

สินทรัพย์ส่วนงาน ณ วันที่ 5,764,8 5,279,9 46,229 61,859 2,775 43,756 101,3 42,38 5,915,22 5,427,93
31 ธันวาคม 33 34 86 2 3 1
หนี้สินส่วนงาน ณ วันที่ 1,974,6 1,712,4 96,674 70,144 30,149 31,106 60,29 289 2,161,80 1,814,02
31 ธันวาคม 88 89 7 8 8
44

จังหวะเวลาในการรับรู้รายได้ตามส่วนงานที่รายงานของกลุ่มบริษัท สำหรับส่วนงานเครื่องดื่ม ส่วนงานสินค้า


อุปโภคบริโภคและส่วนงานอาหารเป็ นแบบ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง และสำหรับส่วนงานอสังหาริมทรัพย์เป็ นแบบ ณ
เวลาใดเวลาหนึ่งและตลอดช่วงเวลาหนึ่ง
45

งบการเงินเฉพาะกิจการ
ส่วนงานเครื่องดื่ม ส่วนงานสินค้าอุปโภค รวม
บริโภค
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 2565 2564 2565 2564 2565 2564

ธันวาคม
(พันบาท)
การจำแนกรายได้
ส่วนงานภูมิศาสตร์หลัก
ไทย 6,873,64 6,353,488 6,873,6 6,353,49

9
26
ต่างประเทศ 4,687 - 4,6
- -
-
รวมรายได้ 6,873,6 6,358,175 6,873,6 6,358,1
46 84
9
26

ประเภทของผลิตภัณฑ์หลัก
ผลิตภัณฑ์อัดลม 6,444,538 - 6,444, 6,033,79
6,033,79
538
-
ผลิตภัณฑ์ไม่อัดลม 429,108 - 429, 324,37
324,376
108
-
สินค้าอุปโภคบริโภค
-
- 9 26
26
รวมรายได้ 6,873,6 6,873,6 6,358,1
6,358,1
46 84
75 9
26

จังหวะเวลาในการรับรู้รายได้ตามส่วนงานที่รายงานของบริษัทเป็ น
แบบ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง
46

ตัวอย่างที่ 10 แสดงรายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาตของบริษัท หาดทิพย์


จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565

เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน)


ความเห็น
ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของ
บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย(กลุ่มบริษัท) และของ
เฉพาะบริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) (บริษัท) ตามลำดับ ซึ่งประกอบ
ด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ
วันที่ 31 ธันวาคม 2565 งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกำไร
ขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
รวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการและงบ
กระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจ การสำหรับปี สิ้นสุดวัน
เดียวกัน รวมถึงหมายเหตุซึ่งประกอบด้วยสรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ
และเรื่องอื่น ๆ
ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้แสดง
ฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของกลุ่มบริษัทและ
บริษัท ตามลำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 ผลการดำเนินงานรวมและ
ผลการดำเนินงานเฉพาะกิจการและกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสด
เฉพาะกิจการสำหรับปี สิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระ
สำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
47

เกณฑ์ในการแสดงความเห็น

ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิด
ชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในวรรคความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อ
การตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรายงานของ
ข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็ นอิสระจากกลุ่มบริษัทและบริษัทตามประมวล
จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีรวมถึง มาตรฐานเรื่องความเป็ น
อิสระ ที่กำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี (ประมวลจรรยาบรรณของผู้
ประกอบวิชาชีพบัญชี)ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบงบการ เงินรวม
และงบการเงินเฉพาะกิจการ และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามความรับผิดชอบ
ด้านจรรยาบรรณอื่นๆ ตามประมวลจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพ
บัญชี ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและ
เหมาะสมเพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ
เรื่องสำคัญในการตรวจสอบคือเรื่องต่างๆ ที่มีนัยสำคัญที่สุดตามดุลยพินิจ
เยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพของข้าพเจ้าในการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบ
การเงินเฉพาะกิจการสำหรับงวดปั จจุบัน ข้าพเจ้าได้นำเรื่องเหล่านี้มา
พิจารณาในบริบทของการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ
กิจการโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ข้าพเจ้าไม่ได้
แสดงความเห็นแยกต่างหากสำหรับเรื่องเหล่านี้
48

ความครบถ้วนของการประมาณการค่าใช้จ่ายการส่งเสริมการขายและ
การตลาดค้างจ่าย
อ้างถึงหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 14
เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ ได้ตรวจสอบเรื่องดังกล่าว
อย่างไร
จากสภาวะการแข่งขันที่สูง ทำให้ วิธีการตรวจสอบของข้าพเจ้าใน
กลุ่มบริษัทมีการ การตอบสนองเรื่อง
ส่งเสริมการขายมากขึ้นและมี ดังกล่าวรวมถึง
กิจกรรมทางการตลาดที่
หลากหลายเพื่อรักษาส่วนแบ่งการ - ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ
ตลาด รายได้จาก กระบวนการขายและการ
การขายผ่านช่องทางร้านค้าส่งค้า ประมาณการที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่าย
ปลีกสมัยใหม่มีการให้ การส่งเสริมการขายและการ
ผลตอบแทนจากการขายหลายรูป ตลาดค้างจ่าย และทดสอบการ
แบบ เช่น ส่วนลด ควบคุมหลักที่ควบคุมด้วยมือและ
เงินคืน ค่าใช้จ่ายสนับสนุนทางการ การควบคุมด้วยระบบของ
ตลาดและการ กระบวนการดังกล่าว จากการใช้
ส่งเสริมการขาย เนื่องจากความ ความช่วยเหลือของผู้เชี่ยวชาญ
หลากหลายของเงื่อนไข ด้านระบบสารสนเทศของเคพี
ทางการตลาดตามสัญญา ทำให้การ เอ็มจึ ซึ่งรวมทั้งการเข้าถึงและ
ประมาณการ การจัดการแฟ้ มรายการราคา การ
ค่าใช้จ่ายในการให้ผลตอบแทนจาก อนุมัติวงเงินการ ขายและอัตรา
การขายนั้นมีความ การตั้งค้างจ่ายการให้ส่วนลดขาย
ซับซ้อนและความไม่แน่นอนอันเนื่อง เงินคืน และโปรแกรมทางการ
49

มาจากสภาวะของ ตลาดต่างๆ
ตลาด ดังนั้น ข้าพเจ้าเห็นว่าเรื่อง
ความครบถ้วนของการ - สุ่มทดสอบสัญญาที่ทำกับร้าน
ประมาณการส่วนลด เงินคืน ค่าใช้ ค้าส่งค้าปลีกสมัยใหม่ ว่าข้อมูล
จ่ายการส่งเสริมการ ส่วนลด เงินคืน และ โปรแกรม
ขายและการตลาดเป็ นเรื่องสำคัญต่อ การให้ผลตอบแทนจากการขาย
การตรวจสอบของ ต่างๆ ที่ระบุไว้ในสัญญา
ข้าพเจ้า สอดคล้องกับฐานข้อมูลในระบบ

ความครบถ้วนของการประมาณการค่าใช้จ่ายการส่งเสริมการขายและ
การตลาดค้างจ่าย
อ้างถึงหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 14
เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ ได้ตรวจสอบเรื่องดังกล่าว
อย่างไร
- วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการ
เปลี่ยนแปลงของยอดขายกับการ
เปลี่ยนแปลงของส่วนลดขาย เงิน
คืน และค่าใช้จ่ายการส่งเสริมการ
ขายและการตลาดที่เกิดขึ้นใน
แต่ละปี
50

- พิจารณาถึงความสมเหตุสมผล
ของการคำนวณการตั้งค้างจ่ายใน
เรื่องดังกล่าวโดยสุ่มทดสอบการ
คำนวณกับเงื่อนไขในสัญญาที่ทำ
กับร้านค้าส่งค้าปลีกสมัยใหม่รวม
ถึงการพิจารณาความถูกต้องของ
การตั้งค้างจ่ายในอดีตที่ผ่านมา
โดยเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายที่
เกิดขึ้นจริงนอกจากนี้ข้าพเจ้ายัง
ได้สุ่มทดสอบรายการค่าใช้จ่ายที่
เกิดขึ้นจริงภายหลังวันสิ้นงวด
โดยการตรวจกับเอกสารใบแจ้ง
หนี้ และเอกสารการจ่ายเงิน

- พิจารณาจำนวนเงินที่ถูกบันทึก
ว่าเหมาะสมตามรอบระยะเวลา
หรือไม่ โดยการสุ่มตัวอย่าง
ทดสอบการออกใบลดหนี้ และ
การรับใบแจ้งหนี้ที่เกิดในระหว่าง
ก่อนและหลังรอบระยะเวลาบัญชี

- สุ่มทดสอบรายการส่งเสริมการ
ขายจากตารางกิจกรรมในช่วงสิ้น
รอบระยะเวลาบัญชีและพิจารณา
51

ค่าใช้จ่ายการส่งเสริมการขายและ
การตลาดที่ถูกบันทึกว่าเหมาะสม
ตามรอบระยะเวลาหรือไม่

- ประเมินความเพียงพอของการ
เปิ ดเผยข้อมูลของกลุ่มบริษัทตาม
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

ข้อมูลอื่น
ผู้บริหารป็ นผู้รับผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ข้อมูลอื่นประกอบด้วยข้อมูลซึ่งรวม
อยู่ในรายงานประจำปี แต่ไม่รวมถึงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ
กิจการและรายงานของผู้สอบบัญชีที่อยู่ในรายงานนั้น ซึ่งคาดว่ารายงาน
ประจำปี จะถูกจัดเตรียมให้ข้าพเจ้ากายหลังวันที่ในรายงานของผู้สอบ
บัญชีนี้

ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไม่
ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่นและข้าพเจ้าไม่ได้ให้ความเชื่อมั่นต่อข้อมูลอื่น

ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงินรวม
และงบการเงินเฉพาะกิจการ คือการอ่านข้อมูลอื่นตามที่ ระบุข้างต้นเมื่อ
จัดทำแล้ว และพิจารณาว่าข้อมูลอื่นมีความขัดแย้งที่มีสาระสำคัญกับงบ
การเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการหรือกับความรู้ที่ได้รับจากการ
ตรวจสอบของข้าพเจ้า หรือปรากฎว่าข้อมูลอื่นมีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ
ข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสำคัญหรือไม่
52

เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจำปี หากข้าพเจ้าสรุปได้ว่ามีการแสดง
ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสำคัญ ข้าพเจ้าต้องสื่อสารเรื่องดัง
กล่าวกับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลและขอให้ทำการแก้ไข

ความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลต่องบการเงิน
รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

ผู้บริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทำและนำเสนองบการเงินรวมและ
งบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้ โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการ
รายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหาร
พิจารณาว่าจำเป็ นเพื่อให้สามารถจัดทำงบการเงินรวมและงบการเงิน
เฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระ
สำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด

ในการจัดทำงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผู้บริหารรับผิด
ชอบในการประเมินความสามารถของกลุ่มบริษัทและบริษัทในการดำเนิน
งานต่อเนื่อง เปิ ดเผยเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินงานต่อเนื่อง (ตามความ
เหมาะสม) และการ ใช้เกณฑ์การบัญชีสำหรับการดำเนินงานต่อเนื่องเว้น
แต่ผู้บริหารมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มบริษัทและบริษัท หรือหยุดดำเนิน
งานหรือไม่สามารถดำเนินงานต่อเนื่องต่อไปได้

ผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลมีหน้าที่ในการกำกับดูแลกระบวนการในการ
จัดทำรายงานทางการเงินของกลุ่มบริษัทและบริษัทความรับผิดชอบของผู้
สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
53

การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสม
เหตุสมผลว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม
ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสำคัญหรือไม่ ไม่
ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และเสนอรายงานของผู้สอบ
บัญชีซึ่งรวมความเห็นของข้าพเจ้าอยู่ด้วย ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผล
คือความเชื่อมั่นในระดับสูงแต่ไม่ได้เป็ นการ รับประกันว่าการปฏิบัติงาน
ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบ ข้อมูลที่ขัดต่อ
ข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสำคัญที่มีอยู่ได้เสมอไป ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง
อาจเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาดและถือว่ามีสาระสำคัญเมื่อคาด
การณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่ารายการที่ขัดต่อข้อเท็จจริงแต่ละรายการ
หรือทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้งบ
การเงินจากการใช้งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้

ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าได้ใช้
ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพตลอดการตรวจ
สอบ การปฏิบัติงานของข้าพเจ้ารวมถึง
 ระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง
อันเป็ นสาระสำคัญในงบการเงิน
รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อ
ผิดพลาด ออกแบบและปฏิบัติงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบ
สนองต่อความเสี่ยงเหล่านั้น และได้หลักฐานการสอบบัญชีที่เพียง
พอและเหมาะสมเพื่อเป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า
ความเสี่ยงที่ไม่พบข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสำคัญซึ่ง
เป็ นผลมาจากการทุจริตจะสูงกว่าความเสี่ยงที่เกิดจากข้อผิดพลาด
54

เนื่องจากการทุจริตอาจเกี่ยวกับการสมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลง
เอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลที่
ไม่ตรงตามข้อเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน
 ทำความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการตรวจ
สอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบ
ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดง
ความเห็นต่อความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุ่ม
บริษัทและบริษัท
 ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหาร ใช้และ
ความสมเหตุสมผลของประมาณการ
ทางบัญชีและการเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องซึ่งจัดทำขึ้นโดยผู้บริหาร
 สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีสำหรับการ
ดำเนินงานต่อเนื่องของผู้บริหารและ
จากหลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับ สรุปว่ามีความไม่แน่นอนที่มี
สาระสำคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่อาจเป็ นเหตุให้
เกิดข้อสงสัยอย่างมีนัยสำคัญต่อความสามารถของกลุ่มบริษัทและ
บริษัทในการดำเนินงานต่อเนื่องหรือไม่ถ้าข้าพเจ้าได้ข้อสรุปว่ามี
ความไม่แน่นอนที่มีสาระสำคัญ ข้าพเจ้าต้องกล่าวไว้ในรายงานของ
ผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้าโดยให้ข้อสังเกตถึงการเปิ ดเผยข้อมูลในงบ
การเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ที่เกี่ยวข้อง หรือถ้าการ
เปิ ดเผยข้อมูลดังกล่าวไม่เพียงพอ ความเห็นของข้าพเจ้าจะ
เปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุปของข้าพเจ้าขึ้นอยู่กับหลักฐานการสอบ
บัญชีที่ได้รับจนถึงวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้า
อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรือสถานการณ์ในอนาคตอาจเป็ นเหตุให้
กลุ่มบริษัทและบริษัทต้องหยุดการดำเนินงานต่อเนื่อง
55

 ประเมินการนำเสนอโครงสร้างและเนื้อหาของงบการเงินรวมและ
งบการเงินเฉพาะกิจการ โดยรวม
รวมถึงการเปิ ดเผยข้อมูลว่างบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะ
กิจการแสดงรายการและเหตุการณ์ในรูปแบบที่ทำให้มีการนำเสนอ
ข้อมูลโดยถูกต้องตามที่ควรหรือไม่
 ได้รับหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี่ยวกับ
ข้อมูลทางการเงินของกิจการภายใน
กลุ่มหรือกิจกรรมทางธุรกิจภายในกลุ่มบริษัทเพื่อแสดงความเห็นต่อ
งบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการกำหนดแนวทาง การ
ควบคุมดูแล และการปฏิบัติงานตรวจสอบกลุ่มบริษัท ข้าพเจ้าเป็ น
ผู้รับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า

ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลในเรื่องต่าง ๆ ที่สำคัญซึ่ง
รวมถึงขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้วางแผนไว้
ประเด็นที่มีนัยสำคัญที่พบจากการตรวจสอบรวมถึงข้อบกพร่องที่มีนัย
สำคัญในระบบการควบคุมภายในหากข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจ
สอบของข้าพเจ้า

ข้าพเจ้าได้ให้คำรับรองแก่ผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลว่าข้าพเจ้าได้ปฏิบัติ
ตามข้อกำหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับความเป็ นอิสระและได้สื่อสาร
กับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทั้งหมดตลอดจนเรื่อง
อื่นซึ่งข้าพเจ้าเชื่อว่ามีเหตุผลที่บุคคลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่อ
ความเป็ นอิสระและการดำเนินการเพื่อขจัดอุปสรรคหรือมาตรการ
ป้ องกันของข้าพเจ้า
56

จากเรื่องที่สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื่อง
ต่าง ๆ ที่มีนัยสำคัญที่สุดในการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงิน
เฉพาะกิจการในงวดปั จจุบันและกำหนดเป็ นเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ
ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื่องเหล่านี้ในรายงานของผู้สอบบัญชีเว้นแต่กฎหมาย
หรือข้อบังคับไม่ให้เปิ ดเผยต่อสาธารณะเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวหรือใน
สถานการณ์ ที่ยากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ควรสื่อสารเรื่องดัง
กล่าวในรายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระทำดังกล่าวสามารถคาดการณ์
ได้อย่างสมเหตุผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ต่อ
ส่วนได้เสียสาธารณะจากการสื่อสารดังกล่าว

(กฤติกา ก๋งเกิด)
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
เลขทะเบียน 10634

บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด


กรุงเทพมหานคร
24 กุมภาพันธ์ 2566
ตัวอย่างที่ 11 แสดงรายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาตของบริษัท เอ็มเค เรส
โตรองต์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)ตรวจคำผิดทั้งหมด

บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565
57

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท เอ็มเค เรสโตรองส์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)
ความเห็น
ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท เอ็มเค เรส โตรองศ์ กรุ๊ป
จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย("กลุ่มบริษัท" ซึ่งประกอบด้วยงบแสดง
ฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 งบกำไร ขาดทุนรวมงบ
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวม
และงบกระแสเงินสดรวมสำหรับปี สิ้นสุดวันเดียวกัน และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินรวม รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ
และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการ ของบริษัท เอ็มเค เรสโตรองค์
กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นนี้แสดง
ฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 ผลการดำเนินงานและกระแส
เงินสดสำหรับปี สิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท เอ็มเค เรสโตรองค์ กรุ๊ป
จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยและเฉพาะของบริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์
กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามมาตรฐาน
การร้ายงานทางการเงิน

เกณฑ์ในการแสดงความเห็น
ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิด
ชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในวรรคความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อ
การตรวจสอบงบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็ นอิสระ
จากกลุ่มบริษัทตามประมวลจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี รวม
ถึงมาตรฐานเรื่องความเป็ นอิสระ ที่กำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี
(ประมวลจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
58

การตรวจสอบงบการเงิน และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามความรับผิดชอบด้าน
จรรยาบรรณอื่นๆตามประมวลจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะ
สมเพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ
เรื่องสำคัญในการตรวจสอบคือเรื่องต่างๆ ที่มีนัยสำคัญที่สุดตามดุลยพินิจ
เยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพของข้าพเจ้าใน
การตรวจสอบงบการเงินสำหรับงวดปั จจุบัน ข้าพเจ้าได้นำเรื่องเหล่านี้มา
พิจารณาในบริบทของการตรวจสอบ
งบการเงินโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ข้าพเจ้าไม่
ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากสำหรับเรื่องเหล่านี้

ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบที่ได้กล่าวไว้ในวรรคความรับผิด
ชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า
ซึ่งได้รวมความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับเรื่องเหล่านี้ด้วย กาปฏิบัติงานของ
ข้าพเจ้าได้รวมวิธีการตรวจสอบที่ออกแบบมาเพื่อตอบสนองต่อการ
ประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระ
สำคัญในงบการเงิน ผลของวิธีการตรวจสอบของข้าพเจ้า ซึ่งได้รวมวิธีการ
ตรวจสอบสำหรับเรื่องเหล่านี้ด้วย ได้ใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็น
ของข้าพเจ้าต่องบการเงินโดยรวม
59

เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ พร้อมวิธีการตรวจสอบสำหรับแต่ละเรื่องมี
ดังต่อไปนี้
การรับรู้รายได้รายได้จากการขายและบริการถือเป็ นรายการหลักของกลุ่ม
บริษัทที่มีจำนวนรายการและจำนวนเงินที่มี นัยสำคัญและส่งผลกระทบ
โดยตรงต่อกำไรขาดทุนของกลุ่มบริษัท ทั้งนี้กลุ่มบริษัทมีรายการขายและ
บริการผ่านสาขาเป็ นจำนวนมากซึ่งกระจายทั่วประเทศ โดยเป็ นการขาย
ผ่านเงินสดและบัตรเครดิต นอกจากนี้ สถานการณ์การแข่งขันใน
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มมีความรุนแรงขึ้น ส่งผลให้กลุ่มบริษัท
ต้องปรับกลยุทธ์ทางการตลาดและจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายอย่างต่อ
เนื่องเพื่อกระตุ้นยอดขาย ด้วยเหตุนี้ ข้าพเจ้าจึงให้ความสำคัญในการ
ตรวจสอบการรับรู้รายได้ของกลุ่มบริษัท

ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบการรับรู้รายได้ของกลุ่มบริษัท โดยการประเมินและ
ทดสอบการควบคุมทั่วไปของระบบสารสนเทศโดยรวมและระบบการ
ควบคุมภายในของกลุ่มบริษัทที่เกี่ยวข้องกับวงจรรายได้ โดยการสอบถาม
ผู้มี
หน้าที่รับผิดชอบ ทำความข้าใจและเลือกตัวอย่างเพื่อทดสอบทางปฏิบัติ
ตามการควบคุมที่กลุ่มบริษัทออกแบบไว้นอกจากนี้ ข้าพเจ้าได้สุ่มตัวอย่าง
รายการขายและบริการที่เกิดขึ้นในระหว่างปี และช่วงใกล้สิ้นรอบระยะ
เวลาบัญชีเพื่อตรวจสอบกับเอกสารประกอบรายการขายและบริการ
ประกอบกับได้วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลบัญชีรายได้จากการขายและ
บริการแบบแยกย่อย (Disaggregated data) เพื่อตรวจสอบความผิด
ปกติที่อาจเกิดขึ้นของรายการขายและบริการตลอดรอบระยะเวลาบัญชี
โดยเฉพาะรายการบัญชีที่ทำผ่านใบสำคัญทั่วไป (Journal voucher)
60

การด้อยค่าของค่าความนิยม
ข้าพเจ้าให้ความสำคัญเรื่องการพิจารณาการด้อยค่าของค่าความนิยมตาม
ที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบ
งบการเงินข้อ 14 เนื่องจากการประเมินการด้อยค่าของค่าความนิยมถือ
เป็ นประมาณการทางบัญชีที่สำคัญที่ฝ่ ายบริหารต้องใช้ดุลยพินิจอย่างสูง
ในการระบุสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดและการประมาณการกระแสเงินสด
ในอนาคตที่กิจการคาดว่าจะได้รับจากกลุ่มสินทรัพย์นั้น รวมถึงการ
กำหนดอัตราคิดลดและอัตราการเติบโตในระยะยาวที่เหมาะสม ซึ่งทำให้
เกิดความเสี่ยงในการแสดงมูลค่าค่าความนิยม
ในการประเมินการด้อยค่าของค่าความนิยม ข้าพเจ้าได้ประเมินการ
กำหนดหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดและแบบจำลองทางการเงินที่
ฝ่ ายบริหารของกลุ่มบริษัทเลือกใช้โดยการทำความเข้าใจกระบวนการ
พิจารณาของฝ่ ายบริหารว่าสอดคล้องตามลักษณะการให้ประ โยชน์ของ
สินทรัพย์ และข้าพเจ้าได้ทำการทดสอบข้อสมมติที่สำคัญที่ใช้ในการ
ประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากสินทรัพย์ที่จัด
ทำโดยฝ่ ายบริหารของกลุ่มบริษัทโดยการเปรียบเทียบข้อสมมติดังกล่าว
กับแหล่งข้อมูลภายในและภายนอกของกลุ่มบริษัท รวมถึงเปรียบเทียบ
ประมาณการกระแสเงินสดในอดีตกับผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริงเพื่อ
ประเมินการใช้ดุลยพินิจของฝ่ ายบริหารในการประมาณการกระแสเงินสด
ที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตดังกล่าว และพิจารณาอัตราคิดลดที่ฝ่ าย
บริหาร ของกลุ่มบริษัทเลือกใช้โดยการวิเคราะห์ต้นทุนถัวเฉลี่ยของกลุ่ม
บริษัทและของอุตสาหกรรม รวมถึงปรึกษาผู้เชี่ยวชาญภายในสำนักงานฯ
เพื่อช่วยประเมินข้อมูลดังกล่าวโดยการเทียบเคียงกับแหล่งข้อมูล
ภายนอกตามมาตรฐานความรู้และประสบการณ์ในอดีตของผู้เชี่ยวชาญ
61

ตลอดจนทดสอบการคำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ดัง
กล่าวตามแบบจำลองทางการเงิน และพิจารณาผลกระทบของการ
เปลี่ยนแปลงข้อสมมติที่สำคัญต่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน โดยเฉพาะ
อัตราคิดลดและอัตราการเติบโตของรายได้ในระยะยาว นอกจากนี้
ข้าพเจ้าได้สอบทานการเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินการด้อยค่า
ของค่าความนิยม

ข้อมูลอื่น
ผู้บริหารเป็ นผู้รับผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ซึ่งรวมถึงข้อมูลที่รวมอยู่ในรายงาน
ประจำปี ของกลุ่มบริษัท แต่ไม่รวมถึง
งบการเงินและรายงานของผู้สอบบัญชีที่แสดงอยู่ในรายงานนั้น ซึ่งคาดว่า
จะถูกจัดเตรียมให้กับข้าพเจ้าภายหลังวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีนี้

ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่นและข้าพเจ้า
ไม่ได้ให้ข้อสรุปในลักษณะการให้ความเชื่อมั่นในรูปแบบใด ๆ ต่อข้อมูล
อื่นนั้น

ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงินคือ
การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอื่นนั้นมี
ความขัดแย้งที่มีสาระสำคัญกับงบการเงินหรือกับความรู้ที่ได้รับจากการ
ตรวจสอบของข้าพเจ้าหรือไม่ หรือปรากฏว่าข้อมูลอื่นแสดงขัดต่อข้อเท็จ
จริงอันเป็ นสาระสำคัญหรือไม่

เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจำปี ของกลุ่มบริษัทตามที่กล่าวข้างต้นแล้ว
และหากสรุปได้ว่ามีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสำคัญ
62

ข้าพเจ้าจะสื่อสารเรื่องดังกล่าวให้ผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลทราบเพื่อให้
มีการดำเนินการแก้ไขที่เหมาะสมต่อไป

ความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลต่องบการ
เงิน
ผู้บริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทำและนำเสนองบการเงินเหล่านี้โดย
ถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการ
รายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหาร
พิจารณาว่าจำเป็ นเพื่อให้สามารถจัดทำงบการเงินที่ปราศจากการแสดง
ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริต
หรือข้อผิดพลาด

ในการจัดทำงบการเงิน ผู้บริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถ
ของกลุ่มบริษัทในการดำเนินงานต่อเนื่องการเปิ ดเผยเรื่องที่เกี่ยวกับการ
ดำเนินงานต่อเนื่องกรณีที่มีเรื่องดังกล่าว เละการใช้เกณฑ์การบัญชี
สำหรับการดำเนินการต่อเนื่องเว้นแต่ผู้บริหารมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุ่ม
บริษัทหรือหยุดดำเนินงานหรือไม่สามารถดำเนินงานต่อเนื่องอีกต่อไปได้ผู้
มีหน้าที่ในการกำกับดูแลมีหน้าที่ในการกำกับดูแลกระบวนการ ในการจัด
ทำรายงานทางการเงินของกลุ่มบริษัท

ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน
การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสม
เหตุสมผลว่างบการเงิน โดยรวมปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จ
จริงอันเป็ นสาระสำคัญหรือไม่ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด
และเสนอรายงานของผู้สอบบัญชีซึ่งรวมความเห็นของข้าพเจ้าอยู่ด้วย
63

ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลคือความเชื่อมั่นในระดับสูงแต่ไม่ได้
เป็ นการรับประกันว่าการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบ
บัญชีจะสามารถตรวจพบข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสำคัญที่มี
อยู่ได้เสมอไป ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิด
พลาดและถือว่ามีสาระสำคัญเมื่อคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลได้ว่า
รายการที่ขัดต่อข้อเท็จจริงแต่ละรายการหรือทุกรายการรวมกันจะมีผล
ต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินจากการใช้งบการเงิน
เหล่านี้

ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าใช้
ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้
ประกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานดังต่อไปนี้
ด้วย
 ระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง
อันเป็ นสาระสำคัญในงบการเงิน
ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบัติงาน
ตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบสนองต่อความเสี่ยงเหล่านั้น และได้
หลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเป็ นเกณฑ์ใน
การแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเสี่ยงที่ไม่พบข้อมูลที่ขัดต่อข้อ
เท็จจริงอันเป็ นสาระสำคัญซึ่งเป็ นผลมาจากการทุจริตจะสูงกว่า
ความเสี่ยงที่เกิดจากข้อผิดพลาด เนื่องจากการทุจริตอาจเกี่ยวกับ
การ สมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้น
การแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลที่ไม่ตรงตามข้อเท็จจริงหรือการ
แทรกแซงการควบคุมภายใน
64

 ทำความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการตรวจ
สอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบให้เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่
ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิทธิผล
ของการควบคุมภายในของกลุ่มบริษัท
 ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และ
ความสมเหตุผลของประมาณการทางบัญชีและการเปิ ดเผยข้อมูลที่
เกี่ยวข้องที่ผู้บริหารจัดทำ
 สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีสำหรับ
กิจการที่ดำเนินงานต่อเนื่องของผู้บริหารและสรุปจากหลักฐานการ
สอบบัญชีที่ได้รับว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสำคัญที่เกี่ยวกับ
เหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่อาจเป็ นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนัย
สำคัญต่อความสามารถของกลุ่มบริษัทในการดำเนินงานต่อเนื่อง
หรือไม่ หากข้าพเจ้าได้ข้อสรุปว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสำคัญ
ข้าพเจ้าจะต้องให้ข้อสังเกตไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้า
ถึงการเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องในงบการเงิน หรือหากเห็นว่าการ
เปิ ดเผยดังกล่าวไม่เพียงพอ ข้าพเจ้าจะแสดงความเห็นที่
เปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุปของข้าพเจ้าขึ้นอยู่กับหลักฐานการสอบ
บัญชีที่ได้รับจนถึงวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้า
อย่างไรก็ตามเหตุการณ์หรือสถานการณ์ในอนาคตอาจเป็ นเหตุให้
กลุ่มบริษัทต้องหยุดการดำเนินงานต่อเนื่องได้
 ประเมินการนำเสนอ โครงสร้างและเนื้อหาของงบการเงินโดยรวม
รวมถึงการเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องตลอดจนประเมินว่างบการเงิน
แสดงรายการและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยถูกต้องตามที่ควรหรือไม่
รวบรวมเอกสารหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอ
เกี่ยวกับข้อมูลทางการเงินของกิจการหรือของกิจกรรมทางธุรกิจ
65

ภายในกลุ่มบริษัทเพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับ
ผิดชอบต่อการกำหนดแนวทาง การควบคุมดูแล และการปฏิบัติ
งานตรวจสอบกลุ่มบริษัท ข้าพเจ้าเป็ นผู้รับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว
ต่อความเห็นของข้าพเจ้า

ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับผู้มีหน้าที่กำกับดูแลในเรื่องต่างๆ ซึ่งรวมถึงขอบเขต
และช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้วางแผนไว้ ประเด็นที่มีนัยสำคัญ
ที่พบจากการตรวจสอบรวมถึงข้อบกพร่องที่มีนัยสำคัญในระบบควบคุม
ภายในหากข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า

ข้าพเจ้าได้ให้คำรับรองแก่ผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลว่าข้าพเจ้าได้ปฏิบัติ
ตามข้อกำหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับความเป็ นอิสระและได้สื่อสาร
กับผู้มีหน้าที่กำกับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทั้งหมดตลอดจนเรื่องอื่นซึง
ข้าพเจ้าเชื่อว่ามีเหตุผลที่บุคคลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่อความ
เป็ นอิสระของข้าพเจ้า และการดำเนินการเพื่อขจัดอุปสรรคหรือมาตรการ
ป้ องกันของข้าพเจ้า (ถ้ามี)

จากเรื่องที่สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื่อง
ต่างๆที่มีนัยสำคัญมากที่สุดในการตรวจสอบงบการเงินในงวดปั จจุบันและ
กำหนดเป็ นเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื่องเหล่านี้ใน
รายงานของผู้สอบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรือข้อบังคับห้ามไม่ให้เปิ ดเผย
เรื่องดังกล่าวต่อสาธารณะ หรือในสถานการณ์ที่ยากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้า
พิจารณาว่าไม่ควรสื่อสารเรื่องดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้า เพราะการ
66

กระทำดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าจะมีผลกระทบ
ในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ที่ผู้มีส่วนได้เสียสาธารณะจะได้จากการ
สื่อสารดังกล่าว

ข้าพเจ้าเป็ นผู้รับผิดชอบงานสอบบัญชีและการนำเสนอรายงานฉบับนี้

วิชาติ โลเกศกระวี
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4451

บริษัท สำนักงาน อีวาย จำกัด


กรุงเทพฯ : 23 กุมภาพันธ์ 2566
67

ตัวอย่างที่ 12 แสดงรายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาตของบริษัท อาร์พีซีจี


จำกัด (มหาชน)

บริษัท อาร์พีซีจี จำกัด (มหาชน)


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท อาร์พีซีจี จำกัด (มหาชน)

ความเห็น

ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท อาร์พีซีจี จำกัด (มหาชน)


และบริษัทย่อย (กลุ่มบริษัทฯ)
ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565
งบกำไรขาดทุนรวม งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการ
เปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบกระแสเงินสดรวม สำหรับปี สิ้นสุด
วันเดียวกัน และหมายเหตุประกอบงบการเงินรวม รวมถึงหมายเหตุสรุป
68

นโยบายการบัญชีที่สำคัญ และได้ตรวจสอบ
งบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท อาร์พีซีจี จำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน

ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม


2565 ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสด สำหรับปี สิ้นสุดวันเดียวกันของ
บริษัท อาร์พีซีจี จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และเฉพาะของบริษัท
อาร์พีซีจี จำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตาม
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

เกณฑ์ในการแสดงความเห็น

ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิด
ชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในวรรค ความรับผิดชอบของผู้
สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามี
ความเป็ นอิสระจาก กลุ่มบริษัทฯตามประมวลจรรยาบรรณของผู้
ประกอบวิชาชีพบัญชี รวมถึงมาตรฐานเรื่องความเป็ นอิสระ ที่กำหนดโดย
สภาวิชาชีพบัญชี (ประมวลจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี) ใน
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงิน และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตาม
ความรับผิดชอบด้านจรรยาบรรณอื่น ๆ ตามประมวลจรรยาบรรณของผู้
ประกอบวิชาชีพบัญชี ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้
รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของ
ข้าพเจ้า

ข้อมูลและเหตุการณ์ที่เน้น

ข้าพเจ้าขอให้สังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมข้อ 4 เกี่ยวกับ
รายการปรับปรุงงบการเงินรวมปี ก่อนเกี่ยวกับการคำนวณค่าเสื่อมราคา
ของสินทรัพย์สิทธิการใช้ของบริษัทย่อย กลุ่มบริษัทฯได้ปรับย้อนหลังงบ
การเงินรวมสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2564 ที่แสดงเป็ นข้อมูล
69

เปรียบเทียบเพื่อสะท้อนผลกระทบของรายการปรับปรุงงบการเงินรวมปี
ก่อน และนำเสนองบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 1 มกราคม 2564
เพื่อเป็ นข้อมูลเปรียบเทียบโดยสะท้อนรายการปรับปรุงตามที่กล่าวด้วย
เช่นกัน ทั้งนี้ ข้าพเจ้ามิได้แสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขต่อกรณีนี้แต่
อย่างใด

เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ

เรื่องสำคัญในการตรวจสอบคือเรื่องที่มีนัยสำคัญที่สุดตามดุลยพินิจเยี่ยงผู้
ประกอบวิชาชีพของข้าพเจ้า ในการตรวจสอบงบการเงิน
สำหรับงวดปั จจุบัน ข้าพเจ้าได้นำเรื่องนี้มาพิจารณาในบริบทของการ
ตรวจสอบ งบการเงินโดยรวมและในการแสดง
ความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหาก
สำหรับเรื่องนี้

ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบที่ได้กล่าวไว้ในวรรคความรับผิด
ชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบ งบการเงินในรายงาน
ของข้าพเจ้า ซึ่งได้รวมความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ด้วย การปฏิบัติ
งานของข้าพเจ้าได้รวมวิธีการตรวจสอบที่ออกแบบมาเพื่อตอบสนองต่อ
การประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ น
สาระสำคัญในงบการเงิน ผลของวิธีการตรวจสอบของข้าพเจ้า ซึ่งได้รวม
วิธีการตรวจสอบสำหรับเรื่องนี้ด้วยได้ใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็น
ของข้าพเจ้าต่องบการเงินโดยรวม

เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ พร้อมวิธีการตรวจสอบมีดังต่อไปนี้

การรับรู้รายได้
70

กลุ่มบริษัทฯดำเนินธุรกิจหลักคือธุรกิจพลังงาน โดยรายได้หลักของกลุ่ม
บริษัทฯมาจากการขายปลีกน้ำมัน ณ จุดขายที่สถานีบริการน้ำมัน
ซึ่งมีเป็ นจำนวนมาก รายได้จากการขายปลีกน้ำมันถือเป็ นบัญชีที่สำคัญ
ต่องบการเงิน เนื่องจากมีมูลค่าที่มีสาระสำคัญเมื่อเปรียบเทียบกับรายได้
รวมของกลุ่มบริษัทฯ รวมทั้งมีปริมาณของรายการ เป็ นจำนวนมาก ดังนั้น
จึงมีความเสี่ยงเกี่ยวกับมูลค่าและระยะเวลาในการรับรู้รายได้ดังกล่าว

ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบการรับรู้รายได้ดังกล่าวโดยการ

 ทำความเข้าใจระบบการควบคุมภายในของกลุ่มบริษัทฯที่เกี่ยวข้องกับ
วงจรรายได้จากการขายปลีกน้ำมันและการรับเงินโดยการสอบถาม
ผู้รับผิดชอบ

 ประเมินและทดสอบระบบการควบคุมภายในของกลุ่มบริษัทฯที่
เกี่ยวข้องกับวงจรรายได้จากการขายปลีกน้ำมันและการรับเงิน โดยการ
สุ่มเลือกตัวอย่างมาทดสอบการปฏิบัติตามการควบคุมที่กลุ่มบริษัทฯ
ออกแบบไว้

 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างบัญชีรายได้ ลูกหนี้การค้าและเงินสด
และสุ่มตรวจสอบเอกสารประกอบรายการขายและรับเงินที่เกิดขึ้นใน
ระหว่างปี

 วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลบัญชีรายได้จากการขายแบบแยกย่อยเพื่อ
ตรวจสอบความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นของรายการขายตลอดรอบระยะ
เวลาบัญชี โดยเฉพาะรายการบัญชีที่ทำผ่านใบสำคัญทั่วไป
ข้อมูลอื่น
ผู้บริหารเป็ นผู้รับผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ซึ่งรวมถึงข้อมูลที่รวมอยู่ในรายงาน
ประจำปี ของกลุ่มบริษัทฯ (แต่ไม่รวมถึงงบการเงินและรายงานของผู้สอบ
บัญชีที่แสดงอยู่ในรายงานนั้น) ซึ่งคาดว่าจะถูกจัดเตรียมให้กับข้าพเจ้า
ภายหลังวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีนี้
71

ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่นและข้าพเจ้า
ไม่ได้ให้ข้อสรุปในลักษณะการให้ความเชื่อมั่นในรูปแบบใด ๆ ต่อข้อมูล
อื่นนั้น
ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงินคือ
การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอื่นนั้น มีความขัดแย้ง
ที่มีสาระสำคัญกับงบการเงินหรือกับความรู้ที่ได้รับจากการตรวจสอบของ
ข้าพเจ้าหรือไม่ หรือปรากฏว่าข้อมูลอื่นแสดงขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ น
สาระสำคัญหรือไม่
เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจำปี ของกลุ่มบริษัทฯตามที่กล่าวข้างต้น
แล้ว และหากสรุปได้ว่ามีการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ น
สาระสำคัญ ข้าพเจ้าจะสื่อสารเรื่องดังกล่าวให้ผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล
ทราบเพื่อให้มีการดำเนินการแก้ไขที่เหมาะสมต่อไป
ความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลต่องบการ
เงิน
ผู้บริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทำและนำเสนองบการเงินเหล่านี้โดย
ถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบ
เกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจำเป็ นเพื่อให้สามารถจัด
ทำงบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระ
สำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด
ในการจัดทำงบการเงิน ผู้บริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถ
ของกลุ่มบริษัทฯในการดำเนินงานต่อเนื่อง การเปิ ดเผยเรื่องที่เกี่ยวกับการ
ดำเนินงานต่อเนื่องในกรณีที่มีเรื่องดังกล่าว และการใช้เกณฑ์การบัญชี
สำหรับกิจการที่ดำเนินงานต่อเนื่องเว้นแต่ผู้บริหารมีความตั้งใจที่จะเลิก
กลุ่มบริษัทฯหรือหยุดดำเนินงานหรือไม่สามารถดำเนินงานต่อเนื่องอีกต่อ
ไปได้
ผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลมีหน้าที่ในการกำกับดูแลกระบวนการในการจัด
ทำรายงานทางการเงินของกลุ่มบริษัทฯ
ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน
การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสม
เหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวมปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จ
72

จริงอันเป็ นสาระสำคัญหรือไม่ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด


และเสนอรายงานของผู้สอบบัญชีซึ่งรวมความเห็นของข้าพเจ้าอยู่ด้วย
ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลคือความเชื่อมั่นในระดับสูงแต่ไม่ได้
เป็ นการรับประกันว่าการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี
จะสามารถตรวจพบข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสำคัญที่มีอยู่ได้
เสมอไป ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด
และถือว่ามีสาระสำคัญเมื่อคาดการณ์อย่างสมเหตุสมผลได้ว่ารายการที่
ขัดต่อข้อเท็จจริงแต่ละรายการหรือทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการ
ตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินจากการใช้งบการเงินเหล่านี้
ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าใช้
ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัยเยี่ยง ผู้ประกอบวิชาชีพตลอดการ
ตรวจสอบ และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานดังต่อไปนี้ด้วย

• ระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง
อันเป็ นสาระสำคัญในงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิด
จากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบัติงานตามวิธีการ
ตรวจสอบเพื่อตอบสนอง ต่อความเสี่ยงเหล่านั้น และได้หลักฐาน
การสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเป็ นเกณฑ์ในการแสดง
ความเห็นของข้าพเจ้า ความเสี่ยงที่ไม่พบข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง
อันเป็ นสาระสำคัญซึ่งเป็ นผลมาจาก การทุจริตจะสูงกว่าความเสี่ยง
ที่เกิดจากข้อผิดพลาด เนื่องจากการทุจริตอาจเกี่ยวกับการสมรู้ร่วม
คิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้นการ
แสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลที่ไม่ตรงตามข้อเท็จจริงหรือการ
แทรกแซงการควบคุมภายใน

• ทำความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการ
ตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบให้เหมาะสมกับ
73

สถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อ
ความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุ่มบริษัทฯ

• ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความ
สมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีและการเปิ ดเผยข้อมูลที่
เกี่ยวข้องที่ผู้บริหารจัดทำ

• สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีสำหรับกิจการ
ที่ดำเนินงานต่อเนื่องของผู้บริหาร และสรุปจากหลักฐานการสอบ
บัญชีที่ได้รับว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสำคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณ์
หรือสถานการณ์ที่อาจเป็ นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนัยสำคัญต่อ
ความสามารถของกลุ่มบริษัทฯในการดำเนินงานต่อเนื่องหรือไม่ หาก
ข้าพเจ้าได้ข้อสรุปว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสำคัญ ข้าพเจ้าจะต้อง
ให้ข้อสังเกตไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้าถึงการเปิ ดเผย
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในงบการเงิน หรือหากเห็นว่า การเปิ ดเผยดัง
กล่าวไม่เพียงพอ ข้าพเจ้าจะแสดงความเห็นที่เปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุป
ของข้าพเจ้าขึ้นอยู่กับหลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับจนถึงวันที่ใน
รายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรือ
สถานการณ์ในอนาคตอาจเป็ นเหตุให้กลุ่มบริษัทฯต้องหยุดการ
ดำเนินงานต่อเนื่องได้

• ประเมินการนำเสนอ โครงสร้างและเนื้อหาของงบการเงินโดยรวม
รวมถึงการเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประเมินว่างบการเงิน
แสดงรายการและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยถูกต้องตามที่ควรหรือไม่

• รวบรวมเอกสารหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอ
เกี่ยวกับข้อมูลทางการเงินของกิจการหรือของกิจกรรมทางธุรกิจ
ภายในกลุ่มบริษัทฯเพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับ
74

ผิดชอบต่อ การกำหนดแนวทาง การควบคุมดูแล และการปฏิบัติงาน


ตรวจสอบกลุ่มบริษัทฯ ข้าพเจ้าเป็ นผู้รับผิดชอบ แต่เพียงผู้เดียวต่อ
ความเห็นของข้าพเจ้า

ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลในเรื่องต่าง ๆ ซึ่งรวมถึง
ขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้วางแผนไว้ ประเด็นที่มี
นัยสำคัญที่พบจากการตรวจสอบรวมถึงข้อบกพร่องที่มีนัยสำคัญในระบบ
การควบคุมภายในหากข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบของ
ข้าพเจ้า

ข้าพเจ้าได้ให้คำรับรองแก่ผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลว่าข้าพเจ้าได้ปฏิบัติ
ตามข้อกำหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับความเป็ นอิสระและได้สื่อสาร
กับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทั้งหมดตลอดจนเรื่อง
อื่นซึ่งข้าพเจ้าเชื่อว่ามีเหตุผลที่บุคคลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่อ
ความเป็ นอิสระและการดำเนินการเพื่อขจัดอุปสรรคหรือมาตรการ
ป้ องกันของข้าพเจ้า (ถ้ามี)

จากเรื่องทั้งหลายที่สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล ข้าพเจ้าได้
พิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่มีนัยสำคัญที่สุด ในการตรวจสอบงบการเงิน
ในงวดปั จจุบันและกำหนดเป็ นเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้
อธิบาย เรื่องเหล่านี้ไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรือข้อ
บังคับห้ามไม่ให้เปิ ดเผยเรื่องดังกล่าวต่อสาธารณะ หรือในสถานการณ์ที่
ยากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ควรสื่อสารเรื่องดังกล่าวในรายงาน
ของข้าพเจ้า เพราะการกระทำดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุ
สมผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ที่ผู้มีส่วนได้เสีย
สาธารณะจะได้จากการสื่อสารดังกล่าว

ข้าพเจ้าเป็ นผู้รับผิดชอบงานสอบบัญชีและการนำเสนอรายงานฉบับนี้
75

โกสุมภ์ ชะเอม
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 6011

บริษัท สำนักงาน อีวาย จำกัด


กรุงเทพฯ: 24 กุมภาพันธ์ 2566

ตัวอย่างที่ 13 การวิเคราะห์และคำอธิบายของฝ่ ายจัดการ(บางส่วน) ของ


บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยตรวจคำผิด


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565

การวิเคราะห์และคำอธิบายของฝ่ ายจัดการ
1. การวิเคราะห์การดำเนินงานและฐานะการเงิน
76

การวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลดำเนินงานต่อไปนี้เป็ นการ
วิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินตามงบการเงินรวมของ บริษัท หาดทิพย์
จำกัด (มหาชน) สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2565 ในการอ่านคำ

อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ ายจัดการ นักลงทุนควรศึกษาเอกสาร


ประกอบ ซึ่งได้แก่ งบการเงินรวม ควบคู่ไปกับหมายเหตุประกอบงบการ
เงิน และข้อมูลที่นำเสนอไว้ในรายงานฉบับนี้
77

2. ภาพรวมของการดำเนินงานที่ผ่านมา
78

บริษัทฯ ประกอบธุรกิจประเภทอุตสาหกรรมน้ำอัดลม โดยรายได้


หลักของบริษัทฯ มาจากการ
จำหน่ายผลิตภัณฑ์น้ำอัดลม ได้แก่ ผลิตภัณฑ์โค้ก แฟนต้า สไปรท์ และ
ผลิตภัณฑ์ non-carbonated ได้แก่ กลุ่มผลิตภัณฑ์น้ำผลไม้มินิทเมด น้ำ
ดื่มน้ำทิพย์ และน้ำแร่บอนอควา โดยมีการจำหน่ายในภาคใต้ของ
ประเทศไทย
2.1. ผลการดำเนินงานของ บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน)
และบริษัทย่อย
2.1.1 รายได้จากการขาย
บริษัทฯ มีรายได้จากการขายเท่ากับ 7,0483 ล้านบาท เพิ่มขึ้น
จำนวน 530.4 ล้านบาท หรือ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.1 เทียบจากช่วงเดียวกันของปี 2564 ที่เท่ากับ 6,518.0
ล้านบาท จากปริมาณการขายเครื่องดื่มทั้งหมดอยู่ที่ 64.3 ล้านยูนิตเคส
เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ที่ผ่านมาที่เท่ากับ 61.9
ล้านยูนิตเคส

รายได้ของบริษัทฯ แยกตามส่วนงาน
หน่วย : บาท
ส่วนงาน ปี 2565 ปี 2564 เพิ่มขึ้น
(ลดลง)
เครื่องดื่ม (รวมการจำหน่าย 6,873.50 6,358.17 515.33
ภาชนะบรรจุ)
สินค้าอุปโภค 142.47 138.56 3.91
อาหาร 32.37 21.22 11.15
79

โดยรายได้และปริมาณการขายเติบโตขึ้นจาก
1) ธุรกิจท่องเที่ยวฟื้ นตัวได้เป็ นอย่างดีจากการลดมาตรการควบคุมโรค
COVID-19
2) บริษัทฯ ใช้กลยุทธ์บริหารการเติบโตของรายได้ผ่านขนาดและรูปแบบ
ผลิตภัณฑ์ (Pack mix) และ ช่อง
ทางการจำหน่าย (Channelmix) เพื่อตอบสนองกับความต้องการที่ปรับ
เปลี่ยนเป็ นบรรจุภัณฑ์เพื่อการบริโภคครั้งเดียว (Single Serve) ที่เพิ่ม
ขึ้นได้อย่างทันท่วงทีจากกลยุทธ์รองรับการบริโภคนอกบ้าน (Away
From Home Consumption)
3) บริษัทฯ ดำเนินการปรับราคาขายในกลุ่มผลิตภัณฑ์อัดลมในบางบรรจุ
ภัณฑ์ มีราคาเพิ่มขึ้นโดยรวมประมาณ
6% มีผลในเดือนสิงหาคม
4) ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มไม่มีน้ำตาลเติบโตอย่างดี และขยายไปในกลุ่มรสชาติ
อื่น เช่น โคคา-โคล่า สตาร์ไชน์ ไม่มี
น้ำตาล, โคคา-โคล่ามาร์ชเมลโลส์ ไม่มีน้ำตาล, ชเวปส์ ซิตรัส ราสพ์
เบอร์รี่ โซดา ไม่มีน้ำตาล, ชเวปส์ ไพน์แอปเปิ้ล โมฮีโต้ โซดา ไม่มี
น้ำตาล และล่าสุดสไปรท์ เลม่อนพลัส สูตรไม่มีน้ำตาล

โดยบริษัทฯ สามารถรักษาตำแหน่งผู้นำมูลค่าส่วนแบ่งการตลาดของ
เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ และส่วนแบ่งการตลาดน้ำอัดลมในพื้นที่ภาคใต้
ประจำปี 2565 ได้ที่ระดับร้อยละ 25.5 และร้อยละ 80.7 ตามลำดับ
2.1.2 ต้นทุนขายและอัตรากำไรขั้นต้น
ตันทุนขาย เท่ากับ 4,228.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 335.3 ล้านบาท
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.6 เทียบจาก
80

ช่วงเดียวกันของปี 2564 จากปริมาณการขายที่เติบโตขึ้นร้อยละ 3.9 ต้น


การผลิตที่สูงขึ้นจากราคาน้ำมันเชื้อเพลิง และราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่ปรับ
ตัวเพิ่มขึ้น อัตรากำไรขั้นตันเท่ากับร้อยละ 40.0 ลดลง 0.3 จุดเปอร์เซ็นด์
จากช่วงเดียวกันที่เท่ากับอัตราร้อยละ 40.3
2.1.3 ต้นทุนในการจัดจำหน่ายและค่าใช้จ่ายในการบริหาร
ต้นทุนในการจัดจำหน่าย เท่ากับ 1,449.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้น
จำนวน 171.6 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 13.4 จากช่วงเดียวกันของปี 2564 และค่าใช้จ่ายในการบริหาร
เท่ากับ 878.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 147.2 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อย
ละ 20.1 รวมค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร (SG&A expenses) รวม
เท่ากับ 2,328.4 ล้านบาท เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ที่ผ่านมาเท่ากับ
2,009.6 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 318.8 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 15.9
ส่วนใหญ่มาจากค่าใช้จ่ายดังนี้
1) ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10.2 ตามช่อง
ทางการขายที่เปลี่ยนไป และมี
การลงทุนเพิ่มเติมรองรับตลาดและการท่องเที่ยวที่ฟื้ นตัว
2) ตันทุนค่าขนส่งที่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 32.8 จากปริมาณการ
ขายที่เติบโต และตันทุนราคา
น้ำมันที่เพิ่มขึ้น แต่ทั้งนี้ บริษัทฯได้ดำเนินการบริหารจัดการเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการใช้ต้นทุนคงที่เพื่อลดผลกระทบได้บางส่วน
3) ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรเพิ่มขึ้น จากการปรับค่า
ตอบแทนและผลประโยชน์
พนักงานให้สอดคล้องกับอัตราเงินเฟ้ อที่สูงขึ้น อีกทั้งบริษัทฯ มีจำนวน
พนักงานเพิ่มขึ้นตามแผนรองรับกับการฟื้ นตัวและเติบโตของตลาดเครื่อง
ดื่ม โดยเฉพาะช่องทางขายในกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว (ร้าน
81

อาหาร โรงแรม ร้านสะดวกซื้อ และกลุ่มซูปเปอร์/ไฮเปอร์มาร์เก็ต)รวมถึง


กลุ่มการร้านค้าแบบดั้งเดิม (Traditional Trade)
4) ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นครั้งเดียวจากการด้อยค่าของสินทรัพย์
และขาดทุนจากการตัดทรัพย์สิน
จากการเลิกกิจการบริษัทย่อย 3 บริษัท จำนวน 23.4 ล้านบาท
2.1.4 ต้นทุนทางการเงิน และค่าใช้จ่ายทางภาษี
ต้นทุนทางการเงินเท่ากับ 9.4 ล้านบาท ลดลงจำนวน 3.5 ล้าน
บาท หรือลดลงร้อยละ 27.3 เป็ นผลมาจากบริษัทฯ ได้มีการชำระหนี้คืน
เงินต้น ขณะที่ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้เท่ากับ 95.0 ล้านบาท ลดลง 0.4 ล้าน
บาท หรือลดลงร้อยละ 0.4 จากปี 2564 ที่เท่ากับ 95.4 ล้านบาท
เนื่องจากมีกำไรส่วนที่ต้องชำระภาษีที่ลดลง
2.1.5 กำไรสุทธิและอัตรากำไรสุทธิ
บริษัทฯ มีกำไรสุทธิแสดงไว้ในงบการเงินรวมเป็ นจำนวน เท่ากับ
431.0 ล้านบาท (หากไม่รวมค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นครั้งเดียวจากการด้อยค่า
ของสินทรัพย์ และขาดทุนจากการตัดทรัพย์สิน กำไรสุทธิจะเท่ากับ
454.4 ล้านบาท) เทียบกับระยะเวลาเดียวกันของปี ก่อนที่มีกำไรจำนวน
533.3 ล้านบาท ลดลงจำนวน 102.3 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 19.2
และมีอัตรากำไรสุทธิเท่ากับร้อยละ 6.1 (ถ้าไม่รวมค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นครั้ง
เดียว : ร้อยละ 6.4 ลดลง 2.1 จุดเปอร์เซ็นต์ จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน
ซึ่งมีอัตรา
กำไรสุทธิที่ ร้อยละ 8.2 เป็ นผลมาจากต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้นและค่าใช้
จ่ายการขายและบริหารที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับการเติบโตของตลาด
เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ และราคาน้ำมันที่เพิ่มขึ้น
82

ทั้งนี้ กำไรสุทธิส่วนที่เป็ นของบริษัทใหญ่ เท่ากับ 435.1 ล้านบาท


เทียบกับระยะเวลาเดียวกันของปี ก่อนส่วนที่เป็ นของบริษัทใหญ่
เท่ากับ 535.4 ล้านบาท ลดลง 100.3 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 18.7

กำไร (ขาดทุน) สุทธิก่อนหักภาษีเงินได้ของบริษัทฯ แยกตามส่วนงาน


(หลังตัดรายการระหว่างกัน)
หน่วย : ล้านบาท
ส่วนงาน เพิ่มขึ้น
ปี 2565 ปี 2564
(ลดลง)
เครื่องดื่ม (รวมการจำหน่าย
603.58 645.45 (41.87)
ภาชนะบรรจุ)
สินค้าอุปโภคบริโภค (35.54) (1.97) (33.57)
อาหาร (34.24) (12.66) (21.58)
อสังหาริมทรัพย์ (7.78) (2.08) (5.70)

อัคราส่วนความสามารถในการทำกำไรและประสิทธิภาพในการดำเนิน
งาน
อัตราส่วน ปี 2565 ปี 2564
อัตรากำไรขั้นต้น (%) 40.0 40.3
อัตรากำไรสุทธิ (%) 6.1 8.2
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) 11.7 15.1
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) 9.4 11.9

ㆍ อัตรากำไรสุทธิ ประจำปี 2565 เท่ากับร้อยละ 6.1 (ไม่รวมค่าใช้จ่าย


เกิดขึ้นครั้งเดียว : ร้อยละ 6.4) เทียบกับปี 2564 เท่ากับอัตราร้อยละ 8.2
83

หรือลดลง 2.1 จุดเปอร์เซ็นต์ เนื่องจากการลดลงของอัตรากำไรขั้นต้น ค่า


ใช้จ่ายด้านบุคลากรจากตลาดเครื่องดื่มที่ขยายตัว ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการ
ขายเพิ่มขึ้นจากการปรับช่องทางการจำหน่ายและค่าขนส่งที่เพิ่มสูงขึ้น
จากราดาน้ำมันและปริมาณการขายที่เพิ่มขึ้น
ㆍ อัตราผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นประจำปี 2565 เท่ากับร้อยละ 11.7
เทียบกับปี 2564 เท่ากับอัตราร้อยละ 15.1 หรือลดลง 3.4 จุดเปอร์เซ็นต์
เนื่องจากบริษัทฯ มีกำไรสุทธิลดลง
ㆍ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ ประจำปี 2565 เท่ากับร้อยละ 9.4
เทียบกับปี 2564 เท่ากับอัตราร้อยละ 11.9 หรือลดลง 2.5 จุด

3.ฐานะการเงินของ บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


หน่วย : ล้านบาท
ณ วันที่ ณ วันที่ เพิ่ม(ลด)
รายการ 31 ธ.ค 31 ธ.ค
จำนวนเงิน %
2565 2564
สินทรัพย์รวม 5,915.22 5,427.93 487.29 8.98
หนี้สินรวม 2,161.81 1,814.03 347.78 19.17
ส่วนของผู้ถือหุ้น
3,753.41 3,613.90 139.51 3.86
ของบริษัท

1. บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 จำนวน


5,915.22 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2564 จำนวน 487.29 ล้านบาท
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.98
84

ㆍ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลงจำนวน 53.88 ล้านบาท หรือ


ลดลงร้อยละ 24.80 เนื่องจากบริษัทฯ มีเงินสดสำหรับกิจกรรมดำเนิน
งานในด้านรับมากกว่าด้านจ่ายจำนวน 852.72 ล้านบาท มีการใช้เงิน
ลงทุนในสินทรัพย์สุทธิจำนวน 665.79 ล้านบาท และมีเงินสดใช้ไป
สำหรับกิจกรรมจัดหาเงินจำนวน 240.81 ล้านบาท
ㆍ ลูกหนี้การค้าเพิ่มขึ้นจำนวน 110.08 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ
23.03 ตามปริมาณการขายแก่กลุ่มลูกค้าขายเชื่อรายใหญ่ที่เพิ่มขึ้น
ㆍ ลูกหนี้อื่นลดลงจำนวน 55.51 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 46.52 ส่วน
ใหญ่เกิดจากการลดลงของเงินมัดจำค่าเครื่องจักรในปี 2564 จำนวน
68.60 ล้านบาท
ㆍ สินค้าคงเหลือลดลงจำนวน 3.12 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 0.93
จากการสำรองอะไหล่ลดลง
ㆍ อสังหาริมทรัพย์พัฒนาเพื่อขายเพิ่มขึ้นจำนวน 53.56 ล้านบาท หรือ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 289.37 จากการก่อสร้างตามแผนการลงทุนในโครงการ
ของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
ㆍ สินทรัพย์ภาษีเงินได้งวดปั จจุบันลดลงทั้งจำนวน 2.97 ล้านบาท
เนื่องจากในปี 2565 บริษัทฯ ได้รับคืนภาษีเงินได้นิติบุคคลของปี 2564
จากกรมสรรพากรแล้ว
ㆍ สินทรัพย์ทางการเงินหมุนเวียนอื่นลดลงจำนวน 4.45 ล้านบาท หรือ
ลดลงร้อยละ 15.80 จากการลงทุนในหน่วยลงทุน
ㆍ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่จัดประเภทเป็ นสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขายเพิ่ม
ขึ้นจำนวน 1.44 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.57 จากการประเมิน
มูลค่าเครื่องจักรที่เลิกใช้งานเพื่อรอจำหน่ายในปี 2565 ลดลงจำนวน
0.61 ล้านบาท มีเครื่องจักรที่หยุดใช้งานและถือไว้เพื่อขายของบริษัท
85

ย่อย เพิ่มขึ้นจำนวน 5.06 ล้านบาท และมีการจำหน่ายเครื่องจักรที่หยุด


ใช้งานออกไปจำนวน 3.0 ล้านบาท
ㆍ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นลดลงจำนวน 4.97 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ
29.68 จากการลดลงของวัสดุส่งเสริมการขาย
ㆍ สินทรัพย์ทางการเงินไม่หมุนเวียนลดลงจำนวน 8.74 ล้านบาท หรือ
ลดลงร้อยละ 63.06 จากการลดลงของมูลค่าเงินลงทุนในหุ้นสามัญบริษัท
อื่น
ㆍ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนเพิ่มขึ้นจำนวน 8.10 ล้านบาท หรือเพิ่ม
ขึ้นร้อยละ 3.94 จากการเพิ่มขึ้นของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนของ
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
ㆍ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์เพิ่มขึ้นจำนวน 423.43 ล้านบาท หรือเพิ่ม
ขึ้นร้อยละ 11.46 เนื่องจากการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรเพื่อรองรับการ
ขยายตัวของธุรกิจ
ㆍ สินทรัพย์สิทธิการใช้เพิ่มขึ้นจำนวน 37.56 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อย
ละ 17.74 จากการเช่ารถเพื่อใช้ในการดำเนินงานตามการขยายตัวของ
ธุรกิจ
ㆍ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนลดลงจำนวน 14.61 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ
26.90 จากการตัดจำหน่ายค่าลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ และจากการด้อยค่าใน
ค่าลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ของบริษัทย่อย
ㆍ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีลดลงจำนวน 0.03 ล้านบาท หรือ
ลดลงร้อยละ 5.71
ㆍ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้นจำนวน 1.40 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 6.01 รายการส่วนใหญ่เกิดจากลูกหนี้เงินชดเชยหากบริษัทฯ ต้อง
ชำระอากรขาเข้าเพิ่มตามการประเมินของกรมศุลกากร เพิ่มขึ้นจำนวน
0.98 ล้านบาท ซึ่งได้มีเงื่อนไขตกลงกันไว้กับบริษัทผู้ขายสินค้า
86

2. บริษัทฯ มีหนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 จำนวน


2,161.81 ล้านบาท โดยแบ่งเป็ นหนี้สินระยะสั้นจำนวน 1,202.95
ล้านบาทและหนี้สินระยะยาวจำนวน 958.86 ล้านบาท หนี้สินรวมเพิ่ม
ขึ้นจากสิ้นปี 2564 จำนวน 347.78 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ
19.17
ㆍ เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้นจำนวน 165.00 ล้านบาท
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 266. 13 จากการกู้ยืมเพื่อใช้เป็ นทุนหมุนเวียนของบริ
ษัทฯ
ㆍ เจ้าหนี้การค้าเพิ่มขึ้นจำนวน 44.44 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ
14.56 จากเจ้าหนี้ค่ำวัตถุดิบ ภาชนะบรรจุ และหัวน้ำเชื้อ
ㆍ เจ้าหนี้อื่นเพิ่มขึ้นจำนวน 113.86 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 31.10
ส่วนใหญ่เพิ่มขึ้นจากค่าภาษีสรรพสามิตจำนวน 27.38 ล้านบาท ค่าภาษี
หัก ณ ที่จ่ายจำนวน 7.92 ล้านบาท เจ้าหนี้ค่าอะไหล่เครื่องจักรจำนวน
3.40 ล้านบาท ด่าซ่อมบำรุงและปรับปรุงอาคารจำนวน 15.85 ล้านบาท
ค่าโฆษณาและส่งเสริมการขายค้างจ่ายจำนวน 38.75 ล้านบาท และค่า
เช่าค้างจ่ายจำนวน 5.03 ล้านบาท
ㆍ ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่ายลดลงจำนวน 1.95 ล้านบาท หรือลดลง
ร้อยละ 3.70
ㆍ หนี้สินทางการเงินหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้นจำนวน 2.19 ล้านบาท จาก
การรับรู้ภาระหนี้สินที่เกิดจากผลขาดทุนจากสัญญาซื้อขาย เงินตราต่าง
ประเทศด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันสิ้นงวด
ㆍ เงินกู้ยืมระยะยาวลดลงรวมทั้งหมดจำนวน 6.83 ล้านบาท หรือลดลง
ร้อยละ 4.09 จากการชำระคืนหนี้ที่ถึงกำหนดชำระในระหว่างปี 134.58
87

ล้านบาท ในขณะที่กู้เพิ่มเพื่อใช้ลงทุนในการขยายการผลิตจำนวน
127.75 ล้านบาท
ㆍ หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินเพิ่มขึ้นรวมทั้งหมดจำนวน 36.42 ล้าน
บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.12 จากการเช่ายานพาหนะเพื่อใช้ในการ
ดำเนินงานตามการขยายตัวของธุรกิจ
ㆍ เงินมัดจำขวดและลังบรรจุรับจากลูกค้าเพิ่มขึ้นจำนวน 1.78 ล้านบาท
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.17 จากการรับเงินมัดจำค่าขวดและลังในสินค้า
ประเภทคืนขวดจากลูกค้าเพิ่ม
ㆍ หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีลดลงจำนวน 2.23 ล้านบาท หรือลด
ลงร้อยละ 0.70 ส่วนใหญ่เกิดจากการลดลงของมูลค่าเงินลงทุนในหุ้น
สามัญบริษัทอื่น
ㆍ ประมาณการหนี้สินไม่หมุนเวียนสำหรับผลประโยชน์พนักงานลดลง
จำนวน 5.88 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 1.95 เนื่องจากการปรับข้อ
สมมติทางการเงินอันมีผลให้ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงานลด
ลง รวมถึงการลดลงจากการจ่ายเงินให้แก่พนักงานที่เกษียณอายุในปี ซึ่ง
รายการลดลงดังกล่าวสูงกว่าจำนวนเงินที่บริษัทฯ ทยอยตั้งประมาณการ
หนี้สินเพิ่มขึ้น
ㆍ ประมาณการหนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เพิ่มขึ้นจำนวน 0.98 ล้านบาท
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.78 เป็ นการตั้งประมาณการหนี้สินจากการถูก
ประเมินอากรขาเข้าจากกรมศุลกากรเพิ่มเติม ซึ่งเรื่องดังกล่าวอยู่ระหว่าง
การพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของกรมศุลกากร
ㆍ บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 จำนวน
3,753.41 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2564 จำนวน 139.51 ล้านบาท
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.86 ส่วนหนึ่งเพิ่มขึ้นจากผลกำไรเบ็ดเสร็จของปี
และหักด้วยการจ่ายเงินปั นผลสำหรับผลการดำเนินงานปี 2564 ให้แก่ผู้
88

ถือหุ้นในอัตราหุ้นละ 0.96 บาท ในเดือนพฤษภาคม 2565 และการจ่าย


เงินปั นผลระหว่างกาลสำหรับผลการดำเนินงานปี 2565 ให้แก่ผู้ถือหุ้นใน
อัตราหุ้นละ 0.55 บาท ในเดือนกันยายน 2565

4. กระแสเงินสด
รายการ (หน่วย : ล้านบาท) ปี 2565 ปี 2564
เงินสดสุทธิได้จารกกิจกรรมดำเนินงาน 852.72 755.13
เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน (655.79) (275.73)
เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรม (240.81) (523.41)
จัดหาเงิน
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่ม (53.88) (44.01)
ขึ้น (ลดลง) - สุทธิ

บริษัทฯ มีเงินสดสำหรับกิจกรรมดำเนินงานในด้านรับมากกว่าด้าน
จ่ายจำนวน 852.72 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี ก่อนจำนวน 97.60 ล้านบาท
โดยบริษัทฯ มีการใช้เงินลงทุนในกิจกรรมการลงทุนจำนวน 665.79 ล้าน
บาท เพิ่มขึ้นจากปี ก่อนจำนวน 390.06 ล้านบาทเนื่องจากบริษัทฯ กำลัง
ขยายสายการผลิต และมีเงินใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินจำนวน 240.81
ล้านบาท เนื่องจากการจ่ายคืนเงินกู้ระยะสั้นและระยะยาว การจ่ายคืน
หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินพร้อมทั้งดอกเบี้ยจ่าย และบริษัทฯ มีการ
จ่ายเงินปั นผลแก่ผู้ถือหุ้น ทั้งจากผลการดำเนินงานของปี 2564 และ
เงินปั นผลระหว่างกาลสำหรับปี 2565

5. สภาพคล่อง
อัตราส่วนสภาพคล่องที่สำคัญ
89

อัตราส่วน ปี 2565 ปี 2564


อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) 1.05 1.30
อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) 0.79 0.80
ระยะเวลาเก็บหนี้โดยเฉลี่ย (วัน) 27..60 26.35
ระยะเวลาขายสินค้าโดยเฉลี่ย (วัน) 28.74 30.13
ระยะเวลาการชำระหนี้สินโดยเฉลี่ย (วัน) 28.26 24.24

ㆍ บริษัทฯ มีอัตราส่วนสภาพคล่องเท่ากับ 1.05 เท่า ลดลงจากปี ก่อน


0.25 เท่า และมีอัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสดเท่ากับ 0.79 เท่า ลด
ลงจากปี ก่อน 0.003 เท่า
ㆍ บริษัทฯ มีระยะเวลาการเก็บหนี้จากลูกหนี้เท่ากับ 28 วัน ช้ากว่าปี
ก่อน เนื่องจากการขายแก่กลุ่มลูกค้าขายเชื่อรายใหญ่ที่เพิ่มขึ้น
ㆍ บริษัทฯ มีระยะเวลาขายสินค้าออกเท่ากับ 29 วัน เร็วกว่าปี ก่อน
ㆍ บริษัทฯ มีระยะเวลาการจ่ายชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้เท่ากับ 28 วัน ช้า
กว่าปี ก่อน

6. นโยบายทางการเงิน
อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน

อัตราส่วน ปี 2565 ปี 2564


อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.58 0.50
อัตราส่วนความสามารถชำระดอกเบี้ย 56.99 49.64
(เท่า )
90

ㆍ บริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากันกับ 0.58 เท่า


เพิ่มขึ้นจากปี ก่อนเล็กน้อย ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการลงทุนมาจากการก่อหนี้
เพิ่มขึ้น
ㆍ บริษัทฯ มีอัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ยเท่ากับ 56.99
เท่า เพิ่มขึ้นจากปี ก่อน เนื่องจากบริษัทฯมีความสามารถอย่างเต็มที่ในการ
ชำระคืนเงินตันและดอกเบี้ยจ่ายให้แก่เจ้าหนี้เงินกู้ได้ทุกราย
ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อผลการดำเนินงานในอนาคต
แม้บริษัทฯ จะมีมาตรการจัดการความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการ
ดำเนินงานของบริษัทฯ อย่างเป็ นระบบตามแนวทางที่ระบุไว้ในส่วนที่ 1
การประกอบธุรกิจและผลการดำเนินงาน หัวข้อที่ 2 การบริหารจัดการ
ความเสี่ยงให้มาอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ แต่ก็ยังมีความเป็ นไปได้ที่การ
ดำเนินการตามมาตรการจัดการความเสี่ยงที่กำหนดไว้อาจไม่มี
ประสิทธิภาพเพียงพอที่จะลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และ
ส่งผลให้การดำเนินงานไม่เป็ นไปตามที่คาดการณ์ไว้ เนื่องด้วยปั จจัย
ภายนอกที่ไม่สามารถควบคุมได้เช่น การระบาดของโรคที่อุบัติใหม่หรือ
ปั ญหาทางเศรษฐกิจในระดับมหภาค ส่งผลต่อการชะลอตัวของ
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวซึ่งมีผลต่อการเติบโตของบริษัทฯ ที่คาดหวังไว้
รวมไปถึงผลกระทบของภาษีน้ำตาลระยะ 3 ที่จะเริ่มมีผลในไตรมาส 2 ปี
2566 แม้บริษัทฯ ได้ดำเนินการมีแผนรองรับเพื่อลดผลกระทบภาษี
น้ำตาลไว้แล้ว
91

ตัวอย่างที่ 14 ลักษณะการประกอบธุรกิจของ บริษัท หาดทิพย์ จำกัด


(มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565

1. ลักษณะการประกอบธุรกิจ
บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจประเภท
อุตสาหกรรมน้ำอัดลม โดยได้รับสิทธิ์จากโคคา-โคล่า คัมปะนี (ประเทศ
สหรัฐอเมริกา) เมืองแอตแลนตา มลรัฐจอร์เจีย ให้เป็ นผู้ผลิตและจำหน่าย
เครื่องดื่มน้ำอัดลมภายใต้เครื่องหมายการค้า โคคา-โคล่า แฟนต้า สไปรท์
92

และผลิตภัณฑ์อื่นที่โคคา-โคล่า คัมปะนี เป็ นเจ้าของ ได้แก่ กลุ่ม


ผลิตภัณฑ์น้ำผลไม้มินิทเมด และน้ำดื่มน้ำทิพย์โดยมีรายระเอียดของ
สัญญาในการประกอบธุรกิจ ดังนี้

ประเภทของสัญญา ให้บรรจุและจัดจำหน่ายเครื่องดื่มน้ำ
อัดลมภายใต้เครื่องหมายการค้า โคคา-โค
ล่า แฟนต้า
The สไปรท์ และผลิตภัณฑ์อื่นที่
Coca-Cola
คู่สัญญา
วันเริ่มต้นสัญญาและ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2566
Company
หมดสัญญา (ได้รับการต่อสัญญาทุก 5 ปี )

บริษัทฯ มีโรงงานผลิต 2 แห่ง คือโรงงานที่ 1 ตั้งอยู่ที่อำเภอหาดใหญ่


จังหวัดสงขา และโรงงานที่ 2 ตั้งอยู่ที่อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
มีขอบเขตการจำหน่ายเฉพาะใน 14 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ สงขา สตูล
ยะลา ชุมพร ระนอง กระบี่ ภูเก็ต พังงา ตรัง พัทลุง สุราษฎร์ธานี
นครศรีธรรมราช ปั ตตานี และนราธิวาส

บริษัทฯ ผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อจำหน่ายและบางส่วนซื้อจากบริษัทคู่ค้าราย
หนึ่งในกรุงเทพฯ มาจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ได้แบ่งอกกตาม
ประเภทของผลิตภัณฑ์ ประกอบไปด้วย
1. ผลิตภัณฑ์น้ำอัดลม (Sparkling Beverages) ได้แก่ผลิตภัณฑ์คา-
โคล่า แฟนต้า และสไปรท์ ที่บรรจุในบรรจุภัณฑ์ชนิดต่างๆ
2. ผลิตภัณฑ์ non-carbonated (Still Beverages) ได้แก่ กลุ่ม
ผลิตภัณฑ์น้ำผลไม้มินิทเมด และน้ำดื่มน้ำทิพย์ ทั้งนี้ รายได้หลักของบริ
93

ษัทฯ คือรายได้จากการจำหน่ายเครื่องดื่มน้ำอัดลม (Sparkling


Beverages)

1.1.1 โครงสร้างรายได้
รายละเอียด ปี 2565 ปี 2564 ปี 2563
ล้าน % ล้าน % ล้าน %
บาท บาท บาท
ผลิตภัณฑ์น้ำ 6,444. 90.8 6,033.8 92.2 6,014.1 93.3
อัดลม 45 6 0 0 5 3
ผลิตภัณฑ์ non- 429.0 6.05 324.37 4.96 333.74 5.18
carbonate 5
รายได้อื่น 219.0 3.09 186.38 2.84 96.20 1.49
4
รายได้รวม 7,092. 100. 6,544.5 100. 6,444.0 100.
54 00 5 00 9 00

1.1.2 ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์
(1) ลักษณะผลิตภัณฑ์หรือบริการและการพัฒนานวัตกรรมธุรกิจ
บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) ผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ภาย
ใต้เครื่องหมายการค้า “โคคา-โคล่า” (เฉพาะ 14 จังหวัดภาคใต้) ซึ่ง
ประเภทของผลิตภัณฑ์หลักนั้นสามารถแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
1. ผลิตภัณฑ์อัดลม (Sparkling Beverages) อันได้แก่ ผลิตภัณฑ์ภาย
ใต้แบรนด์ โคคา-โคลา สไปรท์ แฟนต้า
ชเวปส์ และเอแอนด์ดับบลิว
94

2. ผลิตภัณฑ์ไม่อัดลม (Still Beverages) อันได้แก่ ผลิตภัณฑ์ภายใต้


แบรนด์ น้ำทิพย์ บอนอควา มินิทเมด
และฟิ วส์ที

นอกจากการจัดแบ่งผลิตภัณฑ์ออกเป็ นประเภท Still Beverages และ


Still Beverages แล้วนั้น ยังได้มีการแบ่งผลิตภัณฑ์ตามประเภทของ
บรรจุภัณฑ์ ดังนี้

1. ผลิตภัณฑ์ขวดแก้วที่มีการหมุนเวียนในการใช้ หรือ RGB


(Returnable Glass Bottle) อันได้แก่ ผลิตภัณฑ์ขวดแก้วแบบคืนขวด
ขนาด 10oz. หรือ 280 มล.
95

2. ผลิตภัณฑ์ชนิดไม่ต้องคืนบรรจุภัณฑ์ หรือ NRGB (Non-returnable


Glass Bottle) ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ขวด
แก้วแบบไม่ต้องคืนขวด ขวด PET กระป๋ อง กล่อง โพสต์มิกซ์

ปั จจุบันบริษัท ฯ กำลังพลักดันและขยายกลุ่มผลิตภัณฑ์ประเภทไม่มี
น้ำตาลในการสร้างการเติบโตของรายได้ เช่น โคคาขโคล่า สูตรไม่มี
น้ำตาล แฟนต้า ไม่มีน้ำตาล สไปรท์ ไม่มีน้ำตาล และเพิ่มชเวปส์มะนาว
โซดา ไม่มีน้ำตาล ในปี 2565 ได้ขยายผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มแบบไม่มีน้ำตาล
ไปยังกลุ่มรสชาติอื่น เช่นไปในกลุ่มรสชาติอื่น เช่น โคคา-โคล่า มาร์ชเมล
โลส์ ไม่มีน้ำตาล ชเวปส์ ซิตรัส ราสพ์เบอร์รี่ โซดา ไม่มีน้ำตาล ชเวปส์
ไพน์แอปเปิ้ล โมฮีโต้ โซดา ไม่มีน้ำตาล และล่าสุดสไปรท์ เลม่อนพลัส
สูตรไม่มีน้ำตาล
96

ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product Development)


บริษัทฯ ได้พัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มอัดลมกลุ่มผลิตภัณฑ์
สูตรไม่มีน้ำตาลเพิ่มมากขึ้น เช่น น้ำอัดลมโค้ก สูตรไม่มีน้ำตาล กลิ่นส้ม
โค้ก สูตรไม่มีน้ำตาลกลิ่นเชอร์รี่, แฟนต้า สูตรไม่มีน้ำตาล กลิ่นส้ม แฟน
ต้าสูตรไม่มีน้ำตาล กลิ่นสตรอเบอรี่ และชเวปส์ มะนาวโซดาสูตรไม่มี
น้ำตาล ทั้งนี้ เพื่อเป็ นทางเลือกให้แก่ผู้บริโภคที่ใส่ใจในเรื่องสุขภาพ และ
เป็ นทางเลือกของคนรุ่นใหม่ที่ต้องการควบคุมปริมาณแคลอรี่ และในปี
2565 ได้ขยายผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มแบบไม่มีน้ำตาลไปยังกลุ่มรสชาติอื่น
เช่น โคคา-โคล่า สตาร์ไชน์ ไม่มีน้ำตาล โคคา-โคล่า มาร์ชเมลโลส์ ไม่มี
น้ำตาล ชเวปส์ ซิตรัส ราสพ์เบอร์รี่ โซดา ไม่มีน้ำตาล ชเวปส์ไพน์แอปเปิ้ล
โซดา ไม่มีน้ำตาล และล่าสุดสไปรท์ เลม่อนพลัส สูตรไม่มีน้ำตาล

ด้านนวัตกรรมการผลิต (Production Innovation)


บริษัทฯ มีการพัฒนาร่วมกับคู่ค้าอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร และ
วัตถุดิบอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทฯ สามารถบรรลุเป้ าหมาย
สูงสุดในด้านความมีประสิทธิภาพ และเป้ าหมายตามนโยบาลความยั่งยืน
ของบริษัทฯ เช่น
 การออกแบบอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรในการผลิตที่เหมาะสม
เพื่อสามารถผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์อันก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ในเชิงเศรษฐกิจและความยั่งยืนอย่างสม่ำเสมอ
 การลดน้ำหนักวัตถุดิบบรรจุภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง
(2) การตลาดและการแข่งขัน
ปั จจุบันบริษัทฯ ผู้ผลิตและจำหน่ายน้ำอัดลมรายใหญ่ในอุตสาหกรรม
น้ำอัดลมในประเทศไทย ประกอบด้วย บริษัท ไทยน้ำทิพย์ จำกัด ผู้
ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ “โคคา-โคล่า” ในทุกภาคของประเทศ
97

(ยกเว้น 14 จังหวัดภาคใต้) บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) ผู้ผลิต


และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ “โคคา-โคล่า” ในทุกภาคของประเทศ (เฉพ
าะ 14 จังหวัดภาคใต้) บริษัท เป๊ ปซี่-โคล่า (ไทย) เทรดดิ้ง จำกัด ผู้
ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ “เป๊ ปซี่” บริษัท เสริมสุข จำกัด (มหาชน)
ผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ “เอส โคล่า” บริษัท อาเจไทย จำกัด ผู้
ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ “บิ๊ก โคล่า” นอกจากนี้ ยังมีบริษัทย่อย
ๆ อีก 2-3 ราย ที่อยู่ในอุตสาหกรรมนี้

อุตสาหกรรมน้ำอัดลมในประเทศไทยมีลักษณะเป็ นตลาดผู้ขายน้อย
ราย (Oligopoly) ผู้ประกอบการรายใหม่เกิดขึ้นได้ยาก เนื่องจากเป็ น
อุตสาหกรรมที่ต้องใช้เงินลงทุนสูงในการซื้อเครื่องจัก การสร้างความ
ต้องการในตลาด ตลอดจนการลงทุนในสิ่งก่อสร้าง เช่น โรงงาน คลัง
สินค้า นอกเหนือไปจากรถขายและรถขนส่ง ทั้งนี้ในสายตาของผู้
บริโภค สินค้าในตลาดมีลักษณะที่ไม่แตกต่างกันมากนัก สามารถ
ทดแทนกันได้ ดังนั้น ผู้ประกอบการแต่ละรายจึงพยายามสร้างความ
แตกต่างในผลิตภัณฑ์ของตนเอง ไม่ว่าจะเป็ นในเรื่องของรสชาติหรือ
ภาพลักษณ์ของสินค้าและของบริษัทฯ ด้วยการผลิตสินค้าใหม่ๆ ออก
สู่ตลาดอยู่เสมอ ปั จจุบันตลาดน้ำอัดลมมีการแข่งขันสูงทำให้ผู้
ประกอบการต้องมีการปรับตัวอยู่ตลอดเวลา โดยมีการทำกิจกรรม
ทางการตลาดอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี เพื่อเป็ นการรักษาระดับความ
สนใจของผู้ซื้อซึ่งเป็ นการเน้นย้ำและตอกย้ำการรับรู้ ไม่ให้สินค้าหาย
ไปจากสายตาของผู้บริโภคและก่อให้เกิดความภักดีในตราสินค้า
(Brand Loyalty) โดยีเป้ าหมายที่จะเพิ่มส่วนแบ่งตลาดควบคู่ไปกับ
ความพยายามรักษาส่วนแบ่งตลาด ซึ่งแต่ละบริษัทจะนำกลยุทธ์ที่แตก
ต่างกันออกมาใช้
98

สำหรับกลยุทธ์ทางการตลาดของบริษัทฯ จะเน้นการสร้างสรรค์สื่อ
โฆษณาให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้ าหมายในแต่ละพื้นที่และในแต่ละช่อง
ทางการจัดจำหน่าย ตลอดจนเน้นนโยบายการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับ
ร้านค้าและสังคมในทุกด้าน เน้นการให้บริการด้วยความจริงใจ รวดเร็ว
ฉับไว และสม่ำเสมอด้วยสินค้าคุณภาพมาตรฐานโคคา-โคล่า ที่ผู้บริโภค
สามารถหาซื้อดื่มได้ ทุกที่ ทุกเวลา ที่ต้องการในหลากหลายขนาด และ
หลากหลายบรรจุภัณฑ์ ทั้งที่เป็ นขวดแก้ว ขวดพลาสติก(PET) และ
กระป๋ อง(CAN) เพื่อเป็ นทางเลือกและเป็ นที่พอใจของผู้บริโภคทุกกลุ่ม
สำหรับในทุกโอกาส

ปี 2565 ที่ผ่านมายังคงเป็ นปี ที่ได้รับผลกระทบและมีความท้าทายต่อ


เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผล
ให้การท่องเที่ยวซึ่งเป็ นกิจกรรมทางเศรษฐกิจหลักสำคัญของภาคใต้ได้รับ
ผลกระทบอยู่ในช่วงปี ที่ผ่านมา แต่ในระยะต่อมาเมื่อสถานการณ์เริ่ม
คลี่คลายและเป็ นไปในทิศทางที่ดีขึ้น มีการเปิ ดประเทศมากขึ้น นักท่อง
เที่ยวทั้งต่างชาติและนักท่องเที่ยวภายในประเทศสามารถเดินทางเข้ามา
ในพื้นที่ภาคใต้ได้มากขึ้น ประกอบกับบริษัทฯ เองก็ได้มีการปรับกลยุทธ์
เพื่อตอบรับการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้บริษัทฯ มี
ปริมาณการขายเพิ่มจาก 6,077 ล้านบาท เป็ น 6,738 ล้านบาท หรือคิด
เป็ นการเติบโตร้อยละ 10.9 และ ร้อยละ 80.7 จากต้นปี จนถึงสิ้นปี 2565
ตามลำดับ ซึ่งตอกย้ำความเป็ นผู้นำของกลุ่มสินค้าเครื่องดื่มน้ำอัดลมของ
ภาคใต้ทั้งหมดได้อย่างต่อเนื่อง
99

ในปี 2565 ที่ผ่านมาบริษัทฯ ให้กลยุทธ์ในแต่ละช่องทางการขายที่


แตกต่างกันไป ดังนี้
กลุ่มสินค้าแบบดั้งเดิม (Traditional Trade:TT) ซึ่งประกอบด้วย กลุ่ม
ร้านขายปลัก เช่น ร้านค้ารายย่อย ร้านอาหารและ อื่นๆ บริษัทฯตั้งเป้ า
หมายขยายร้านค้า/ลูกค้าให้ได้มากที่สุด เพราะแม้จะมีร้านค้าที่ปิ ดตัวไป
ตามสถานการณ์ COVID-19 แต่ฝ่ ายขายก็ยังคงหาตลาดใหม่เพื่อทดแทน
ร้านค้าที่ปิ ดตัวลงไป พร้อมกับการกระตุ้นความต้องการของลูกค้าผ่าน
หน้าร้านด้วยระบบ Customer Loyalty คือ MVIP Program ซึ่งร้านค้า
จะต้องซื้อผลิตภัณฑ์และจัดแช่ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ในตู้เย็นเพื่อให้
สอดคล้องกับแนวทางที่กำหนดไว้

กลุ่มร้านค้าส่ง เช่น ร้านค้าส่งสมัยใหม่ และร้านค้าส่งดั้งเดิม ทางบริ


ษัทฯ ได้เข้าไปพัฒนากลุ่มร้านค้าส่งทั้ง 2 กลุ่ม ด้วยการแนะนำสินค้าที่
เหมาะสมกับตลาด และสร้างผลกำไรให้กับกลุ่มร้านค่าส่งได้อย่างเต็มที่
เป็ นที่ปรึกษาและช่วยบริหารพื้นที่ในการขายให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวม
ถึงการจัดหาพนักงานช่วยขาย เผื่อผลักดันสินค้า และลดการสูญเสีย
โอกาสทางการขายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สร้างโอกาสการขายใหม่ๆ ผ่านช่องทาง Food Service


Aggregator ให้กับร้านอาหารท้องถิ่นเพื่อให้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ
สามารถส่งตรงถึงบ้านของผู้บริโภคได้ทุกที่ ทุกเวลา ตอบโจทย์พฤติกรรม
ของผู้บริโภคในสภาวะการแพร่ระบาดของ COVID-19 และลดการสูญเสีย
ผลกำไรของร้านอาหารท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
100

กลุ่มลูกค้าประเภทค้าส่ง ค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) : ซึ่ง


ประกอบด้วยกลุ่ม Super/Hyper Market และกลุ่ม CVS (ร้านสะดวก
ซื้อ) รวมถึงธุรกิจใหม่ๆ ของคู่ค้า Modern Trade เช่น ร้านนี้ขายดีของ
ห้างโลตัส ร้านโดนใจของห้างบิ๊กซี เป็ นต้น โดยเน้นการเพิ่มการให้บริการ
Service Level ที่ดีที่สุดให้สามารถรองรับความต้องการสั่งซื้อผลิตภัณฑ์
เพื่อให้มั่นใจได้ผลิตภัณฑ์ทีวางจำหน่ายที่ห้างร้านสาขาอยู่เสมอ ลดปั ญหา
สินค้าสินค้าขาดสต็อก ผ่านการจัดการติดตามทางด้าน Supply Chain
อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งมีการวางแผนธุรกิจร่วมกับค้าอย่างใกล้ชิด
เช่น การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ การทำกิจกรรมทางการตลาด การจัด
ทำสื่อ ตลอดจนกองโชว์สินค้าและอุปกรณ์สนับสนุนการขายต่างๆ ในห้าง
ร้านสาขาเพื่อตอบสนองความคาดหวัง รักษาความพึงพอใจกับทั้งคู่ค้า
และผู้บริโภคอย่างมืออาชีพ
เป้ าหมายปี 2566
สำหรับปี 2566 นี้ บริษัทฯ ได้ตั้งเป้ ารายได้ของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นจากปี
2565 ประมาณร้อยละ 5.5 ซึ่งคาดว่ามาจากการเติบโตของเศรษฐกิจ
มหภาคและจากสถานการณ์การท่องเที่ยวที่ปรับตัวไปในทิศทางที่ดีขึ้น
อย่างต่อเนื่อง แต่ยังคงมีปั จจัยสำคัญเรื่องการปรับภาษีน้ำตาลที่ยังเป็ น
ความท้าทายและเป็ นผลกระทบโดยตรงอย่างมากโดยตรงอย่างมากต่อ
บริษัทฯ ดังนั้น ได้เตรียมแผนการดำเนินการคร่าวๆ ไว้ดังนี้
กลุ่มธุรกิจเครื่องดื่ม
1) เพิ่มกำไรของบริษัทฯ โดยบริหารการเติบโตของรายได้ ผ่านการ
บริหารขนาดผลิตภัณฑ์ (Pack mix)
ทางการขาย (Channel mix) และกลยุทธ์ด้านราคา (Price mix)
2) เน้นสินค้าผลิตภัณฑ์กลุ่มไม่มีน้ำตาล และสินค้าใหม่ (New
Product) ที่จะทยอยออกมาให้ผู้บริโภคทดลองอย่างสม่ำเสมอ
101

3) ปรับเปลี่ยนช่องทางการขายให้พร้อมเพื่อรับมือกับความ
เปลี่ยนแปลงความต้องการของผู้บริโภคอย่างทันท่วงที

กลยุทธ์หลักทางการตลาด
1. สร้างการเติบโตอย่างต่อเนื่องในผลิตภัณฑ์กลุ่มไม่มีน้ำตาล ทั้งกลุ่ม
ผลิตภัณฑ์หลักเดิม เช่น โค้กสูตรไม่ มีน้ำตาล และชเวปส์ไม่มี
น้ำตาล ที่กำลังได้รับผลตอบรับที่ดีจากผู้บริโภค และออกผลิตภัณฑ์
ไม่มีน้ำตาล รสชาติใหม่ภายใต้แบรนด์ต่างๆ ในเครือ เพื่อเป็ นทาง
เลือกใหม่ให้กับผู้บริโภค และเป็ นการตอบรับการเติบโตของกระแส
การรักสุขภาพของผู้บริโภคที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี
2. จัดรายหารส่งเสริมการขายหลากหลายรูปแบบอย่างต่อเนื่องตลอด
ทั้งปี เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ลูกค้า ห้างสรรพ
สินค้าและร้านค้าสาขา เช่น การจัดรายการส่งเสริมการขายพิเศษ
ช่วงหน้าร้อน (Summer) การมีบรรจุภัณฑ์พิเศษ (Packaging
Limited Edition) ช่วงเทศกาลตรุษจีน คริสต์มาส หรือปี ใหม่ และ
มากไปกว่านั้น คือการผสมผสานรายการส่งเสริมการขายเข้ากับ
วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นสำคัญๆ ของแต่ละพื้นที่ได้อย่างต่อ
เนื่องทั้งปี
3. ผลักดันยอดขายเครื่องดื่มประเภทไม่อัดลม (Still Beverages) เช่น
น้ำทิพย์และผลิตภัณฑ์มินิเมด ผ่านรายการส่งเสริมการขายต่างๆ
อย่างต่อเนื่อง รวมถึงเพิ่มการสื่อสารกับผู้บริโภคให้มากยิ่งขึ้น เพื่อ
กระตุ้นความสนใจกับผู้บริโภคและสร้างความเชื่อมั่นกับคู่ค้าถึง
ความเป็ นเครื่องดื่มคุณภาพที่อยู่คู่คนใต้ในทุกๆ กลุ่มผลิตภัณฑ์
4. ขยายช่องทางการสื่อสารและการจำหน่ายสินค้าของบริษัทฯ ในช่อง
ทางต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ทั้งของคู่ค้า ร้านค้า รวมถึงบนแพลตฟอร์ม
102

ออนไลน์และการจัดส่งเดลิเวอรีต่างๆ เพื่อตอบสนองความต้องการ
ของผู้บริโภคสมัยใหม่ที่เปลี่ยนไป และเป็ นการเชื่อมตรงกับผู้บริโภค
ได้มากขึ้น โดยผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียต่างๆ เช่น Facebook
Line TikTok และ YouTube ของทั้งคู่ค้าและของบริษัทฯ เอง

(3) ลักษณะลูกค้าและช่องทางการจัดจำหน่ายของบริษัท
บริษัทฯ จำแนกประเภทของลูกค้าเป็ น 4 กลุ่มหลัก ได้แก่
1. กลุ่มลูกค้าแบบดั้งเดิม (TT: Traditonal Trade) ประเภคร้านค้าปลีก
ร้านค้ารายย่อย เช่น ร้านขายของชำ ร้านอาหาร - เครื่องดื่ม
ภัตตาคาร สถานบันเทิง สโมสร โรงแรม สถานีขนส่ง รถเข็น ร้าน
เสริมสวย ตลาดโต้รุ่ง ร้านขายยา หน่วยราชการ ท่าเรือ สถานศึกษา
และที่พักอาศัย เป็ น
2. กลุ่มลูกค้าประเภทค้าส่ง (Wholesale/Lndirect) เช่น ร้านขายส่ง
และแม็คโคร
3. กลุ่มลูกค้าประเภทร้านค้าปลีกสมัยใหม่ (MT: Modern Trade)
ได้แก่ Super/Hyper Market เช่น เทสโก้โลตัส บิ๊กซี ท็อปส์ หรือ
ร้านสะดวกซื้อ ได้แก่ 7-Eleven และ Family Mart เป็ นต้น
4. กลุ่มลูกค้าช่องทางใหม่ๆ ผ่านระบบ e-commerce ผ่านแพลตฟอร์ม
(platform) ของบริษัทฯ เอง เช่น cokeshoth.com, Social
commerce, Market Place เพื่อเพิ่มการเข้าถึงในช่องทางใหม่ๆ
และเป็ นการตอบสนองกับความต้องการของผู้บริโภคสมัยใหม่ได้มาก
ขึ้น

การจัดจำหน่ายและช่องทางการจัดจำหน่าย
103

สามารถแบ่งลักษณะการจำหน่ายและช่องทางการจำหน่ายเป็ น 3
ประเภท ดังนี้
1. จัดจำหน่ายโดยตรง (Directv Sales) โดยมีโรงงานผลิตที่อำเภอ
หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และโรงงานผลิตที่อำเภอพุนพิน จังหวัด
สุราษฎร์ธานี รวมถึงมีคลังสินค้าย่อยอีก 18 แห่ง กระจายอยู่ทั่ว 14
จังหวัดภาคใต้ คือ ชุมพร ระนอง ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี
นครศรีธรรมราช พังงา กระบี่ ตรัง พัทลุง สงขลา ปั ตตานี ยะลา
นราธิวาส ซึ่งในบางจังหวัดจะมีคลังสินค้ามากกว่า 1 สาขา โดยมี
ลักษณะการจัดจำหน่าย ดังนี้
 ระบบ Pre-sell และ Tele -sale ซึ่งเป็ นรูปแบบการสั่งออเด
อร์ล่วงหน้า และทำการส่งตามวันเวลาที่กำหนด
 การบริการด้วยตู้ขายสินค้าอัตโนมัติ (Vending Machine)
2. จัดจำหน่ายผ่านตัวแทนการจำหน่าย (In – Direct Sales)
 ผ่านร้านค้าส่งเพื่อช่วยกระจายสินค้าให้ครอบคลุมทุกพื้นที่
สำหรับพื้นที่รอบนอกที่ไม่มีพนักงาน Pre-seller เข้า
จำหน่ายและเสนอขายสินค้าของบริษัทฯ
 ขายผ่านลูกค้าแม็คโคร ซึ่งผู้ที่เป็ นลูกค้าของแม็คโครส่วนใหญ่
คือ ร้านค้าต่างๆ
3. การจำหน่ายผ่านลูกค้า Modern Trade เช่น เทสโก้โลตัส บิ๊กซี
หรือร้านสะดวกซื้อ แต่ไม่รวมแม็คโคร
 จัดส่งสินค้าให้ลูกค้าตามความต้องการของ PO ล่วงหน้า โดย
กำหนดส่งมอบตามวันที่ที่ระบุไว้ใน PO รูปแบบของคำสั่งซื้อ
ในแต่ละรายลูกค้าแตกต่างกันไป มาหลายช่องทางขึ้นอยู่กับ
ลูกค้าใช้ระบบใดในการออก PO เช่น ระบบ EDI, Fax หรือ
e-mail
104

 ใช้ระบบการขายแบบ Pre-sales เช่น เดียวกับในข้อแรก ใน


ลูกค้าบางกลุ่ม
 กระบวนการจัดส่งสินค้าให้แก่ลูกค้าในช่องทาง Modern
Trade หลังจากที่มีการรับคำสั่งซื้อมาเรียบร้อยแล้ว รูปแบบ
การบริการจัดส่งสินค้าจะมีการจัดส่งเข้าศูนย์กระจายสินค้า
(DC- Distribution Center ) และจัดส่งเข้าสโตร์ สาขา
ร้านของลูกค้าโดยตรงด้วยรถขนส่งของบริษัทฯ และบริษัท
Outsources
4. จัดจำหน่ายในช่องทาง e-commerce
 ได้มีเปิ ดการขายสินค้าออนไลน์ให้กับผู้บริโภค โดยพัฒนา
Brand.com ภายใต้ URL cokshopth.com ขึ้นมาเพื่อสร้าง
ความยั่งยืนให้กับการขายบนช่องทางนี้ ลูกค้าจะได้รับความ
ความสะดวกสบายในการซื้อสินค้ามากขึ้น โดยเฉพาะสินค้า
กลุ่มเครื่องดื่มที่ลูกค้าไม่ต้องกังวลในเรื่องของการแบกสินค้าที่
มีน้ำหนักมากเอง และเรายังมีบริการจัดส่งสินค้าฟรีให้ถึงบ้าน
 นอกจากนั้น ยังมีการใช้แพรตฟอร์ม (platfrom) อื่นๆ เข้ามา
ช่วยในการขายสินค้าออนไลน์ เพื่อตอบสนองความต้องการ
ของลูกค้า อาทิเช่น Line shopping และ Facebook Shop
 นอกจากสินค้ากลุ่มเครื่องดื่มหลักของบริษัทฯ ที่จำหน่ายใน
ช่องทาง e-commerce ยังมีการผลิตแบะจำหน่ายสินค้าของ
พรีเมียมของสะสม เพื่อให้นักสะสมและคนที่มีชื่อชอบแบรนด์
Coca-Cola ได้มีโอกาสซื้อสินค้าพิเศษต่างๆ ในช่องทางนี้เพิ่ม
เติมด้วย
4) การจัดหาผลิตภัณฑ์และบริการ
105

1. ผลิตภัณฑ์ที่บริษัทฯ ผลิตเพื่อจำหน่าย โดยมีโรงงานผลิตตั้งอยู่ใน


อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ได้แก่

ผลิตภัณฑ์ ขนาด

ผลิตภัณฑ์น้ำอัดลมบรรจุขวดแก้ว (RGB-Returnable Glass Bottle)


10 ออนซ์, 200 มล
ผลิตภัณฑ์น้ำอัดลม/น้ำผลไม้บรรจุขวดแก้วชนิดไม่คืนขวด
250 มล.
(NRGB – Non-Returnable Glass Bottle)

2. ผลิตภัณฑ์ที่บริษัทฯ ผลิตเพื่อจำหน่าย โดยมีโรงงานผลิตตั้งอยู่ที่


อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แก่

ผลิตภัณฑ์ ขนาด

ผลิตภัณฑ์น้ำอัดลมบรรจุขวดพลาสติก (PET Bottle) 295 มล.,


300 มล., 500 มล., 505 มล.,999 มล.,
1 ลิตร, 1.25 ลิตร, 1.45 ลิตร
(promo pack),
1.5 ลิตร,1.95 ลิตร 2 ลิตร
ผลิตภัณฑ์น้ำดื่มน้ำทิพย์บรรจุขวดพลาสติก (PET Bottle) 350 มล.,
550 มล., 1.5 ลิตร
ผลิตภัณฑ์น้ำอัดลมบรรจุกล่อง BIB 5 ลิตร,
10 ลิตร, 20 ลิตร
ผลิตภัณฑ์น้ำอัดลมบรรจุกระป๋ อง (Can) 180 มล.,
240 มล., 325 มล., 330 มล.
106

3. ผลิตภัณฑ์ที่บริษัทฯ ไม่ได้เป็ นผู้ผลิต โดยจะสั่งซื้อมาจำหน่ายจาก


บริษัท ไทยน้ำทิพย์ คอมเมอร์เชียล จำกัด
ซึ่งเป็ นบริษัทในกลุ่มธุรกิจโคคา-โคล่า ในประเทศไทย ได้แก่

ผลิตภัณฑ์ ขนาด

ผลิตภัณฑ์น้ำอัดลมบรรจุขวดพลาสติก (PET Bottle) 295 มล.,


300 มล., 500 มล., 505 มล.,999 มล.,
1 ลิตร, 1.25 ลิตร, 1.45 ลิตร
(promo pack),
1.5 ลิตร,1.95 ลิตร 2 ลิตร
ผลิตภัณฑ์น้ำดื่มน้ำทิพย์บรรจุขวดพลาสติก (PET Bottle) 350 มล.,
550 มล., 1.5 ลิตร
ผลิตภัณฑ์น้ำอัดลมบรรจุกล่อง BIB 5 ลิตร,
10 ลิตร, 20 ลิตร
ผลิตภัณฑ์น้ำอัดลมบรรจุกระป๋ อง (Can) 180 มล.,
240 มล., 325 มล., 330 มล.

การจัดหาวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
ในปี 2565 มีจำนวนผู้ผลิตและจัดจำหน่ายวัตถุดิบประมาณ 57 ราย แบ่ง
เป็ น ภายในประเทศ 51 ราย และต่างประเทศ 6 ราย โดยมีสัดส่วนมูลค่า
การสั่งซื้อวัตถุดิบภายในประเทศประมาณร้อยละ 71.48 และต่าง
107

ประเทศประมาณร้อยละ 28.52 โดยวัตถุดิบสำคัญในการผลิตและจัดหา


จากแหล่งต่างๆ ดังนี้
1. วัตถุดิบหลัก ได้แก่ หัวน้ำเชื้อ (Concentrate) ซึ่งได้สั่งซื้อหัวน้ำเชื้อ
โดยตรงจากประเทศสิงคโปร์ และ
น้ำเชื่อม (Liquid Sucrose) เป็ นการสั่งซื้อจากภายในประเทศ
2. วัตถุดิบประเภทบรรจุภัณฑ์ ในปี 2565 ได้แก่ ฝาจีบ ฝาเกลียว ฝาก
ระป๋ อง หลอดพลาสติก (PET Prefrom) ขวดแก้วทั้งชนิด
คืนขวดและไม่คืนขวด ฉลากผลิตภัณฑ์ ถาดรอง แผ่นรองผลิตภัณฑ์
กล่อง และถุง BIB เป็ นต้น โดยวัตถุดิบดังกล่าวสั่งซื้อจากผู้ผลิต
ภายในประเทศ

กำลังการผลิตและปริมาณการผลิต
โรงงานหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ขนาดบรรจุ
ปี 2565
10 ออนซ์ 200 ml. 250 ml.
กำลังการผลิต (ลัง) 5,589,952 5,416 2,790,214
ปริมาณการผลิตจริง(ลัง) 970,207 940 484,277
กำลังการผลิตที่ใช้ไป
17.36 17.36 17.36
(%)

โรงงานพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ขนาดบรรจุ

CAN
ปี 2565 455 ml. 1.25 325ml. CAN CAN
500ml.
&505 ml ลิตร & 240ml 180ml
330ml.
108

กำลังการผลิต (ลัง) 11,217,6 237,48 4,755,2 4,140,97 6,568, 147,99


77 7 60 9 807 5
ปริมาณการผลิต
10,385,4 219,86 4,402,4 2,697,68 4,279,
จริง(ลัง)
96,413
19 7 59 7 323
กำลังการผลิตที่ใช้ไป
93 93 93 93 93 93
(%)

ขนาดบรรจุ

CAN 1.95
ปี 2565 1.45
295 ml. 500ml. 325ml. 1.5 ลิตร ลิตร& 2
ลิตร
& 330ml ลิตร

กำลังการผลิต (ลัง) 1,018, 5,843,72 244,19 2,146, 2,418,5


797,930
118 7 0 486 70
ปริมาณการผลิต
942,58 5,410,17 226,07 1,987, 2,239,1
จริง(ลัง)
738,730
2 1 3 235 32
กำลังการผลิตที่ใช้ไป (
93 93 93 93 93 93
%)

ขนาดบรรจุ

ปี 2565 350 ml.น้ำ 550ml.น้ำ 1.5 ลิตร น้ำ 570ml.น้ำแ


BIB
ทิพย์ ทิพย์ ทิพย์ ร่

กำลังการผลิต (ลัง) 3,660,11 1,948,14


754,133 24,973 85,947
2 9
ปริมาณการผลิต
3,388,56 1,803,61
จริง(ลัง)
683,183 23,120 62,943
2 3
กำลังการผลิตที่ใช้ไป (
93 93 93 93 73
%)

โรงงาน
109

ปี 2565 หาดใหญ่ พุนพิน รวม 2 โรงงาน

กำลังการผลิต (ลัง) 8,385,582 46,010,538 54,396,120


ปริมาณการผลิตจริง(ลัง) 1,455,424 39,601,512 41,056,936
เฉลี่ยกำลังการผลิตที่ใช้ไป (%)
67

(5) ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ
(5.1) ทรัพย์สินที่มีตัวตนที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ : ทรัพย์สินถาวร
หลักที่ใช้ในการประกอบธุรกิจที่เป็ นกรรมสิทธิ์ของบริษัทฯ
มูลค่าตาม
บัญชี
ประเภท/ลักษณะทรัพย์สิน ภาวะผูกพัน
ณ 31
ธันวาคม 2565
1.ที่ดิน 96 แปลง รวมเนื้อที่ 2,097,907,42 โฉนดเลขที่
552 ไร่ งาน 23.10 ตาราววา 3.28 30069/30070 ติด
จำนองกับธนาคารกรุง
ที่ดินไม่ใช่ในการดำเนิน ศรีอยุธยา จำกัด (มหา
การ(อสังหาริมทรัพย์เพื่อการ 193,060,794. ชน) วงเงินกู้ 1,200
ลงทุน) จำนวน 19 แปลง รวม 90 ล้านบาท
เนื้อที่ 57 ไร่ 1 งาน 6.7 ตาราง
วา
2.อาคารสำนักงาน 219,047,064. ติดจำนองกับธนาคาร
85 กรุงศรีอยุธยา จำกัด
(มหาชน) วงเงินกู้
1,200 ล้านบาท
110

3.โรงงาน 2 แห่ง สำหรับธุรกิจ 373,365,451. ติดจำนองกับธนาคาร


ผลิตจำหน่าย เครื่องดื่มโคคา- 78 กรุงศรีอยุธยา จำกัด
โคล่า (มหาชน) วงเงินกู้
ที่ตั้ง : โรงงานที่ 1 เลขที่ 87/1 1,200 ล้านบาท
ถ.กาญจนวณิชย์
ต.บ้านพรุ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
90250
ที่ตั้ง : โรงงานที่ 2 เลขที่ 206
หมู่3
ต.ท่าโรงช้าง อ.พุนพิน
จ.สุราษฎร์ธานี 84130
4.เครื่องจักรประเภท 10 ปี 606,942,523. หลักประกันธุรกิจ
และ 20 ปี 13 307 ล้านบาท (บมจ.
หาดทิพย์) / กู้เงิน
ธนาคาร กรุงศรีอยุธยา
จำกัด (มหาชน) วงเงิน
กู้ 110 ล้านบาท (บริษั
ทย่อย)
5.ยานพาหนะ 31,645,739.9
6
6.เครื่องมือเครื่องใช้ 76,257,870.5
6
7.ภาชนะบรรจุ 13,908,081.2
0
8.ส่วนปรับปรุงที่ดิน 46,603,769.4
111

6
9.อุปกรณ์ส่งเสริมการขาย 114,106,761.
(ตู้เย็น/วัสดุส่งเสริมการ 48
ขาย/PX/Vending)
รวม 3,772,845,48
0.59
(5.2) ทรัพย์สินภายใต้สัญญาเช่าทางการเงิน
ประเภท/ลักษณะ มูลค่าคงเหลือสุทธิ ภาระผูกพัน
ทรัพย์สิน
1.ยานพาหนะ 245,216,803.65 -
2.อาคาร 4,090,305.50 -
รวม 294,307,109.15 -

2.นโยบายการลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม
บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจประเภท
อุตสาหกรรมน้ำอัดลม โดยได้รับลิขสิทธิ์จากโคคา-โคล่า ดัมปะนี (ประเท
112

ศสหรัฐอเมริกา) เมืองแอตแลนตา มลรัฐจอร์เจี่ย ให้เป็ นผู้ผลิ่ตและ


จำหน่ายเครื่องดื่มน้ำอัดลม และผลิตภัณฑ์อื่นที่โคคา-โคล่า คัมปะนีเป็ น
เจ้าของ และมีบริษัทย่อยดำเนินธุรกิจต่างๆ
หมายเหตุ: ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท หาดทิพย์ จำกัด
(มหาชน) ("บริษัทฯ") ครั้งที่ 1/2566 ในวันจันทร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566
ได้มีมติอนุมัติให้เลิกกิจการ บริษัทย่อย 3 บริษัท ได้แก่ บริษัท หาดทิพย์
ฟู้ด แอนด์ เบฟเวอร์เรจเจส จำกัด, บริษัท หาดทิพย์ คอมเมอร์เชียล
จำกัด และบริษัท กินดีอยู่ดี 2020 จำกัดและอยู่ระหว่างดำเนินการใน
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจดทะเบียนเลิกบริษัทย่อยดังกล่าวและชำระบัญชี
ให้เป็ นไปตามขั้นตอนที่กฎหมายกำหนด

บริษัท เซ้าเทิร์น ร็อคส์


จำกัด
หุ้นสามัญจำนวน 970,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100
ทุนจดทะเบียน บาท รวมมูลค่า 97,000,000 บาท
เรียกชำระแล้ว หุ้นสามัญจำนวน 970,000 หุ้น รวมมูลค่า 97,000,000
ประเภทธุรกิจ บาท
ประกอบธุรกิจผลิตและจำหน่ายขวดพลาสติกกึ่งสำเร็จรูป
สำนักงานใหญ่ และขวดพลาสติก และรับจ้างเป้ าขวด
โทรศัพท์ พลาสติก เป็ นกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI
โทรสาร 87/1 ถ.กาญจนวนิช ต.บ้านพรุ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
อำนาจการควบคุม 90250
0 7421 0008-18
0 7421 0006-7
113

บริษัทฯ มีอำนาจควบคุมทั้งทางตรงและทางอ้อมในการกำหนด
นโยบายทางการเงินและการบริหารงานโดยบริษัทแต่งตั้ง
ตัวแทนเข้าไปดำรงตำแหน่งกรรมการ/ผู้บริหารที่มีอำนาจ
ควบคุมในบริษัทย่อยเพื่อควบคุมดูแลการบริหารงานของบริษัท
ย่อยให้เป็ นไปตามแนวทางกลยุทธ์และนโยบายด้านต่างๆของ
บริษัท อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
บริษัท หาดทิพย์ คอมเมอร์
เชียล จำกัด
หุ้นสามัญจำนวน 160,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท
ทุนจดทะเบียน รวมมูลค่า 16,000,000 บาท
เรียกชำระแล้ว หุ้นสามัญจำนวน 160,000 หุ้น รวมมูลค่า 16,000,000 บาท
ประเภทธุรกิจประกอบธุรกิจ ตัวแทนจำหน่ายสินค้าอุปโภคและบริโภค
สำนักงานใหญ่ 87/1 ถ.กาญจนวนิช ต.บ้านพรุ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90250
โทรศัพท์ 0 7421 0008-18
โทรสาร 07421 0006-7
อำนาจการควบคุม บริษัทฯ มีอำนาจควบคุมทั้งทางตรงและทางอ้อมในการกำหนด
นโยบายทางการเงินและการบริหารงานโดยบริษัทฯ แต่งตั้ง
ตัวแทนเข้าไปดำรงตำแหน่งกรรมการ/ผู้บริหารที่มีอำนาจ
ควบคุมในบริษัทย่อย
เพื่อควบคุมดูแลการบริหารงานของบริษัทย่อยให้เป็ นไปตาม
นโยบายของบริษัทฯ อย่างมี
หมายเหตุ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทหาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) ("บริษัทฯ") ครั้งที่


1/2566 ในวันจันทร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566 ได้มีมติอนุมัติให้เลิกกิจการ

บริษัท หาดทิพย์ ดีเวลลอป


เม้นท์ จำกัด
หุ้นสามัญจำนวน 810,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท
ทุนจดทะเบียน รวมมูลค่า 81,000,000 บาท
เรียกชำระแล้ว หุ้นสามัญจำนวน 810,000 หุ้น รวมมูลค่า 81,000,000 บาท
ประเภทธุรกิจประกอบธุรกิจ ด้านพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
สำนักงานใหญ่ 87/1 ถ.กาญจนวนิช ต.บ้านพรุ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90250
โทรศัพท์ 0 7421 0008-18
โทรสาร 07421 0006-7
114

อำนาจการควบคุม บริษัทฯ มีอำนาจควบคุมทั้งทางตรงและทางอ้อมในการกำหนด


นโยบายทางการเงินและการบริหารงานโดยบริษัทฯ แต่งตั้ง
ตัวแทนเข้าไปดำรงตำแหน่งกรรมการ/ผู้บริหารที่มีอำนาจ
ควบคุมในบริษัทย่อยเพื่อควบคุมดูแลการบริหารงานของบริษัท
ย่อยให้เป็ นไปตามนโยบายของบริษัทฯ อย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล
บริษัท หาดทิพย์ ฟู้ดแอนด์
เบฟเวอร์เรจเจส จำกัด

ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญจำนวน 300,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท


เรียกชำระแล้ว รวมมูลค่า 30,000,000 บาท
ประเภทธุรกิจ หุ้นสามัญจำนวน 300,000 หุ้น รวมมูลค่า 30,000,000 บาท
สำนักงานใหญ่ บริการจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม
โทรศัพท์ 87/1 ถ.กาญจนวนิช ต.บ้านพรุ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90250
โทรสาร 0 7421 0008-18
อำนาจการควบคุม 0 7421 0006-7
บริษัทฯ มีอำนาจควบคุมทั้งทางตรงและทางอ้อมในการกำหนด
นโยบายทางการเงินและการบริหารงานโดยบริษัทฯ แต่งตั้ง
ตัวแทนเข้าไปดำรงตำแหน่งกรรมการ/ผู้บริหารที่มีอำนาจ
ควบคุมในบริษัทย่อยเพื่อควบคุมดูแลการบริหารงานของบริษัท
หมายเหตุ ย่อยให้เป็ นไปตามนโยบายของบริษัทฯ อย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) ("บริษัทฯ") ครั้งที่


1/2566 ในวันจันทร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566 ได้มีมติอนุมัติให้เลิกกิจการ

บริษัท กินดีอยู่ดี 2020


จำกัด
หุ้นสามัญจำนวน 300,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท
ทุนจดทะเบียน รวมมูลค่า 30,000,000 บาท
เรียกชำระแล้ว หุ้นสามัญจำนวน 300,000 หุ้น รวมมูลค่า 30,000,000 บาท
ประเภทธุรกิจ ประกอบธุรกิจด้านบริการจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม เป็ น
บริษัทร่วมทุนระหว่างบริษัทเซ็น แอนด์สไปซี่ จำกัด (ถือหุ้นร้อย
ละ 25) กับ บริษัท หาดทิพย์ ฟู้ด แอนด์ เบฟเวอร์เรจเจส
สำนักงานใหญ่ จำกัด
115

โทรศัพท์ (ถือหุ้นร้อยละ 71)


โทรสาร 87/1 ถ.กาญจนวนิช ต.บ้านพรุ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90250
อำนาจการควบคุม 0 7421 0008-18
07421 0006-7
บริษัทฯ มีอำนาจควบคุมทั้งทางตรงและทางอ้อมในการ
กำหนดนโยบายทางการเงินและ
การบริหารงาน โดยบริษัทฯ แต่งตั้งตัวแทนเข้าไปดำรงตำแหน่ง
หมายเหตุ กรรมการ/ผู้บริหารที่มีอำนาจควบคุมเพื่อควบคุมดูแลการ
บริหารงานให้เป็ นไปตามแนวกลยุทธ์ที่ได้ตกลงร่วมกันและตาม
ที่ระบุไว้ในสัญญาร่วมทุน

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) ("บริษัทฯ") ครั้งที่


12566 ในวันจันทร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566 ได้มีมติอนุมัติให้เลิกกิจการ

บรรณานุกรม
บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน).[ออนไลน์] วันที่ค้นข้อมูล 15
กันยายน 2566 จาก
https://hub.optiwise.io/th/documents/71336/htc-one-
report2022-th.pdf
116

บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย.


[ออนไลน์] วันที่ค้นข้อมูล 20 กันยายน
2566 จาก
https://m.listedcompany.com/misc/FS/20230223-m-fs-fy2022-
th.pdf

บริษัท อาร์พีซีจี จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย.[ออนไลน์] วันที่ค้น


ข้อมูล 20 กันยายน 2566 จาก

https://rpc.listedcompany.com/misc/financials/20180223-rpc-
fs-fy2017-01-th.pdf

You might also like