2. Thailand and GHG Mitigation

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 29

ประเทศไทยกับพันธกิจในการลด

การปล่อยก๊าซเรือนกระจก
สานักวิเคราะห์และติดตามประเมินผล
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)
 แนะนาองค์กรและพันธกิจ สถานการณ์การปล่อยก๊าซ 
เรือนกระจก

หัวข้อนาเสนอ

ความร่วมมือในการลดการ พั น ธกรณี ใ นการลดก๊ า ซเรื อ น


ปล่อยก๊าซเรือนกระจก กระจกของประเทศไทย

SDM
 2563
NAMA
2573
NDC 
Page 2
แนะนาองค์กรและพันธกิจ
ความเป็นมา
คณะรัฐมนตรี มีมติเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2550 เห็นชอบ
ให้จัดตั้งองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก เป็นองค์การ
มหาชนตามกฎหมายว่าด้วยองค์การมหาชน

วัตถุประสงค์เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการที่เกี่ยวข้อง
กับการลดก๊าซเรือนกระจก และเป็นศูนย์กลางในการประสาน
ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์การระหว่าง
ประเทศ
ให้บริการสนับสนุนด้านวิชาการ ต่อ ให้คารับรอง โครงการลดก๊าซเรือน
หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ด้ า นการ กระจก ภายใต้กลไก/มาตรฐานต่างๆ
ติดตามประเมินผล (Tracking) 1. รับรองโครงการ

6. การติดตาม
ประเมินผลการลด 2. ตลาด/ฉลาก
ก๊าซเรือนกระจก คาร์บอน ให้ บริ การด้ า นการ
พั ฒ น า ต ล า ด
ค า ร์ บ อ น /ฉ ล า ก
คาร์บอน

5. การฝึกอบรม 3. ศูนย์ข้อมูล
ให้บริการ ข้อมูล
สถานการณ์ก๊า ซ
ให้บริการด้านฝึกอบรม เพื่อเสริมสร้าง
4. สื่อสาร ความรู้ เรือนกระจก
และประชาสัมพันธ์ สื่อมวลชน และการศึกษา
ศักยภาพ และเผยแพร่ความรู้
-หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และ อปท.
Page 4
สถานการณ์การปล่อยก๊าซเรือนกระจก

5
HFC
HFC

Greenhouse gases Situation 


Greenhouse gases Situation 
Global Warming  Climate Change
Global Warming  Climate Change
N2O PFC
 More Disasters
 More Disasters
N2O
N2O

6
สถานการณ์การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทัว่ โลกใน ปี พ.ศ. 2553
GHG emissions in global share in 2010

10.07 m.

ไทย 0.9%
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลกในปี พ.ศ. 2555

8
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลกในปี พ.ศ. 2557

14.95%
29.55%

 ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทัง้ โลก 35,669 MtCO2


ภาคพลังงานมีการปล่อยก๊าซเรือน
 จีนปล่อยเป็นลาดับที่ 1 (10,540,000 MtCO2 29.55%) กระจกมากที่สุด >70%
 สหรัฐอเมริกาปล่อยเป็นลาดับที่ 2 (5,334,000 MtCO2 14.95%)  ภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมมี
 EU ปล่อยเป็นลาดับที่ 3 (3,415,000 MtCO2 9.57%) การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงเป็น
 อินเดีย ปล่อยเป็นลาดับที่ 4 (2,341,000 MtCO2 6.56%) ลาดับถัดมา
 รัสเซีย ปล่อยเป็นลาดับที่ 5 (1,766,000 MtCO2 4.95%) 9
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยปี 2543--2554

การปล่อยก๊าซเรือนกระจกรายสาขา ปี 2010-2011

10
ที่มา : Thailand First Biennial Report
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยรายสาขา
(ไม่รวมภาคป่าไม้และการเปลีย่ นแปลงการใช้ที่ดิน)

ปี 2537 ปล่อย GHG 207.65 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ปี 2543 ปล่อย GHG 236.98 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า
ของเสีย 3.71%
การเกษตร 15.98%

กระบวนการทาง
อุตสาหกรรม
5.96%
ที่มา: 2nd BUR

พลังงาน 74.35%

11
ปี 2554 ปล่อย GHG 305.52 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ปี 2556 ปล่อย GHG 318.662 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยในปี พ.ศ.2556
ปล่อยก๊าซเรือนกระจก 318.662 MtCO2e (ไม่รวม LULUCF) ปล่อยก๊าซเรือนกระจก 232.560 MtCO2e (รวม LULUCF = -86.102 MtCO2e)

การใช้พลังงานในภาคอุตสาหกรรมและก่อสร้าง
การผลิตและใช้พลังงาน ~ 19.64% กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม
~ 74% ~ 5.95%

การใช้พลังงานในภาคขนส่ง
~ 25.82%

ของเสีย การเกษตร การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน


~ 3.7% ~ 16% และป่าไม้
CH4
CH4

N 2O

กักเก็บก๊าซเรือนกระจก 86.102 MtCO2e12


แนวโน้มการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย

13 12
ที่มา: สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ความร่วมมือในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

14
TIMELINE พัฒนาการกฎกติกาโลกด้านการลดก๊าซเรือนกระจก

Cancun Agreements: Paris Agreement


รับรองอนุสญ
ั ญา เป้าหมายโลก well below 2 °C
เป้าหมายโลก below 2 °C
UNFCCC รับรองพิธีสารเกียวโต
1992 1997 2010 2015
Bali Action Plan

Pre-2020 Post-2020
2007 2008 2012 2020
เป้าหมาย/เจตจานงการลดก๊าซฯ

พันธกรณีที่ 1 พันธกรณีที่ 2 (I)NDC


ประเทศพัฒนาแล้ว เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก
ภายใต้ NAMA (I)NDC

เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก
ประเทศกาลังพัฒนา ภายใต้ NAMAs (I)NDC

NAMAs – เจตจานงการดาเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ สาหรับประเทศกาลังพัฒนา


INDC - Intended Nationally Determined Contributions การมีส่วนร่วมของประเทศในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
Page 15
ข้อตกลงฉบับใหม่ภายใต้อนุสัญญา UNFCCC
• ควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกโดยเฉลีย่ ให้น้อย
กว่า 2 องศาเซลเซียส (“well below 2 °C”) เหนือ
ระดับก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรม
• มุ่งมั่นความพยายามในการจากัดการเพิ่มขึ้นของ
อุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยให้อยู่ที่ 1.5 องศาเซลเซียส

 รัฐภาคี มุ่งมั่นทีจ่ ะให้มี "Global


peaking" ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
"ให้เร็วที่สุด" (สาหรับประเทศกาลังพัฒนาจะ
ใช้เวลายาวนานกว่า)

16
Below 2 degrees scenario ทั่วโลกต้องมีการปล่อยก๊าซฯ ที่ Deep cuts in global GHG
emission ลงตามเส้นสีเขียว แต่...โลก ยังมีช่องว่างที่ขาดอยู่ จาก Mitigation Pledge ของ
ประเทศต่างๆ ที่ประมาณ 5,000 - 9,000 ล้านตัน ในปี 2563 !
. 56 Giga tons CO2equivalent = การปล่อยก๊าซเรือนกระจก
53 GtCO2e (lenient)
9,000 ในปี 2563 กรณีที่ไม่มีการ
49 GtCO2e (strict)
} MtCO2eq ดาเนินการใดๆ (BAU)
44GtCO
44 GtCO22ee(2(2C)
C) 5,000
MtCO2eq

การปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกของทุ ก


ประเทศในโลกรวมกั น จะต้ อ งมี
ทิ ศ ทางเช่ น นี้ จึ ง จะสามารถบรรลุ
เป้ า หมายโลกที่ อุ ณ หภู มิ เ พิ่ ม ขึ้ น
ไม่เกิน 2 องศา
หากตั้ง เป้าหมายโลก ที่อุณหภูมิ
เพิ่มขึ้นไม่เกิน 1.5 องศา
2533 2563 2593 17
Source: UNEP
พันธกรณีในการลดก๊าซเรือนกระจก
ของประเทศไทย

- Page 18 -
พันธกรณีในการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยในเวทีโลก
ก่อนปี 2563 หลังปี 2563

Nationally INDC: Intended


NAMA: Nationally Determined Contribution
Appropriate Mitigation (ข้อเสนอการมีส่วนร่วมของประเทศ
Action ในการลดก๊าซเรือนกระจกและการ
(เจตจานงการดาเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสม ด าเนิ น งานด้ า นการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ
ของประเทศ) ภายหลังปี ค.ศ. 2020 )
ประเทศไทยส่งเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกร้อยละ ประเทศไทยส่งเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกร้อยละ
7-20 เมื่อเทียบกับกรณีฐาน (การปล่อยก๊าซเรือนกระจก 20-25 เมื่ อ เที ย บกั บ กรณี ฐ าน (การปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ น
ในปี พ.ศ. 2548) ในปี พ.ศ. 2563 ในภาคพลังงานและ กระจกในปี พ.ศ. 2548) ภายในปี พ.ศ. 2573 ในทุกภาค
การขนส่ง ส่วน ยกเว้นการใช้ประโยชน์ที่ดินและป่าไม้
โดย รมว.ทส. พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
COP 20 วันที่ 9 ธันวาคม 2557 ณ กรุงลิมา ประเทศเปรู การประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ครั้งที่ 70 (UNGA70) ณ สานักงาน
ใหญ่สหประชาชาติ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา 29 กันยายน 2558

พลังงานทดแทน อนุรักษ์พลังงาน เชื้อเพลิงชีวภาพ ขนส่งอย่างยั่งยืน ภาคพลังงาน ภาคขนส่ง ภาคอุตสาหกรรม ภาคของเสีย ภาคการเกษตร


Renewable Energy Biofuel Sustainable Energy sector Transport Industry Sector Waste Agricultural
Energy Efficiency Transportation Sector Sector Sector Page 19
เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยก่อนปี พ.ศ. 2563
NAMA : ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 7-20% ภายในปี พ.ศ. 2563 ในภาคพลังงานและการขนส่ง
ลด 7% ดาเนินการลดก๊าซเรือนกระจกโดยใช้มาตรการต่างๆและดาเนินการเอง (จะลดได้ 24 ล้านตัน
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า)
ลด 20% ต้องได้รับการสนับสนุนจากต่างประเทศ (จะลดได้ 74 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า)
การดาเนินการ ลดจากมาตรการต่างๆ เช่น แผนการผลิตพลังงาน แผนอนุรักษ์พลังงาน แผนพลังงาน
ทดแทน แผนการขนส่งที่ยั่งยืน และมีการติดตามผลการดาเนินการ
สถานภาพปัจจุบัน ประเทศไทยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกไปแล้ว 40 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์

Page 20
เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยหลังปี พ.ศ. 2563
NDC ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 20-25% ภายในปี พ.ศ. 2573 ในทุกภาคส่วน
(พลังงาน อุตสาหกรรม ขนส่ง ของเสีย การเกษตร) ยกเว้นภาคส่วนการใช้ประโยชน์
ที่ดินและป่าไม้จะขอประเมินความเป็นไปได้ก่อน
ลด 20% ดาเนินการลดก๊าซเรือนกระจกโดยใช้มาตรการต่างๆและดาเนินการเอง
(จะลด 111 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า)
ลด 25% ต้องได้รับการสนับสนุนจากต่างประเทศด้านการเงิน เทคโนโลยี และ
การเสริมสร้างศักยภาพ ศักยภาพ 115.6 MtCO2eq

Page 21
เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย
ก่อนปี ค.ศ.2020 (พ.ศ.2563) หลังปี ค.ศ.2020 (พ.ศ.2563) : NDC
NAMA แผนที่นาทางการลดก๊าซเรือนกระจก

พลังงาน

พลังงาน
ของเสีย ขนส่ง
เป้าหมาย
เป้าหมาย NDC

NAMA ป่าไม้
และการ
อุตสาหกรรม
เปลี่ยนแปลง
ขนส่ง การใช้ที่ดิน

7% = 24 MtCO2eq
20% = 111 MtCO2eq
20% = 74 MtCO2eq
22
แผนที่นาทางการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยหลังปี พ.ศ. 2563

ภาคพลังงาน กระบวน
ของเสีย
และคมนาคม การทาง
ขนส่ง  การจัดการขยะ อุตสาหกรรม
 เพิ่มประสิทธิภาพการ  การจัดการน้าเสีย  ปรับเปลี่ยนสาร
ผลิตไฟฟ้า อุตสาหกรรม ทดแทนปูนเม็ด
 พลังงานทดแทน  การจัดการน้าเสีย
 เพิ่มประสิทธิภาพการ  ปรับเปลี่ยนสารทา
ชุมชน ความเย็น
ใช้พลังงาน
ลดการปล่อยได้ 0.3% ลดการปล่อยได้ 0.1%
 เชื้อเพลิงชีวภาพ
ลดการปล่อยได้ 0.4% (2 MtCO2eq) (0.6 MtCO2eq)
(113 MtCO2eq)

ลดก๊าซเรือนกระจกร้อยละ 20.8% (115.6 MtCO2eq) จาก BAU ในปีพ.ศ. 2573


Page 23
นโยบายและแนวทางเพื่อบรรลุเป้าหมายในการลดก๊าซเรือนกระจก

แผนพัฒนากาลังการผลิตไฟฟ้า 2558-2579 (PDP2015)

แผนแม่บทการพัฒนาระบบโครงข่าย smart grid ของประเทศไทย


พ.ศ. 2558 - 2579

แผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558 – 2579 (EEP2015)

แผนพัฒนาพลังงานทางเลือกและพลังงานทดแทน พ.ศ. 2558 – 2579


(AEDP2015)

แผนแม่บทในการพัฒนาระบบการขนส่งที่ยั่งยืนและ ลดปัญหาการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และโครงการพัฒนาระบบขนส่ง
Page 24
แนวทางเพื่อบรรลุเป้าหมายในการลดก๊าซเรือนกระจก(หลังปี 2563)

แผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ. 2555-2574

แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ

แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2560-2564

แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558- 2593

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Page 25
ประเด็นทีต่ ้องขับเคลื่อนการดาเนินงานลดก๊าซเรือนกระจก

การสนับสนุนทางการเงิน
การสร้างแรงจูงใจ
การจัดทาระบบรายงานและฐานข้อมูล
การเสริมสร้างศักยภาพและขีดความสามารถของ
ทุกภาคส่วน
การสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนัก
การกาหนดเกณฑ์มาตรฐาน
 การวิจัยเทคโนโลยี
 การปรับปรุงและออกกฎหมาย

Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)


กลไกการลดก๊าซเรือนกระจกที่พัฒนาโดย อบก.

CDM เป็นกลไกหนึ่ง ใน
พิธีสารเกียวโต ซึ่งอนุญาตให้
ประเทศอุ ต สาหกรรมที่ ใ ห้
ค ามั่ น สั ญ ญาในการลดการ
ปลดปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก
 T-VER เป็นโครงการที่ (Annex I) ไปลงทุ น ใน
พัฒนาโดย อบก. เพื่อส่งเสริมให้ โครงการลดการปล่ อ ยก๊ า ซ
ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการลด เรือนกระจกในประเทศกาลัง
ก๊าซเรือนกระจก พัฒนาแทน (Non-Annex I)
ซึ่งจะมีต้นทุนที่ถูกกว่า

 LESS เป็ น โครงการสนั บ สนุ น


กิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก

Page 27
กลไกการลดก๊าซเรือนกระจกที่พัฒนาโดย อบก.

CDM

TGO
B
฿

154 โครงการ 86 โครงการ 5,336 กิจกรรม


7,414,236 2,347,120 186,644,468.84
tCO2e/y tCO2e/y tCO2e

Page 28
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)

สานักวิเคราะห์และติดตามประเมินผล
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)
http://ghgreduction.tgo.or.th
โทร.0 2141 9841-50
โทรสาร 0 2143 8404
Page 29

You might also like