Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 23

รูปแบบการทำโครงงาน

ส่วนประกอบ
1. ปกหน้า
2. รองปก (กระดาษ A4)
3. เกี่ยวกับโครงงาน (ก)
4. กิตติกรรมประกาศ (ข)
5. บทคัดย่อ (ค)
6. สารบัญ
7. บทที่ 1 บทนำ
8. บทที่ 2 เอกสารและโครงงานที่เกี่ยวข้อง (ให้สืบค้นจากเครือ
ข่ายอินเตอร์เน็ต)
9. บทที่ 3 วิธีการจัดทำโครงงาน
10. บทที่ 4 ผลการศึกษา
11. บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
12. บรรณานุกรม
13. ภาคผนวก
14. ข้อมูลผู้จัดทำ (รูปภาพ, ชื่อ-นาสกุล, ชั้น เลขที่ เบอร์
โทรศัพท์)
15. รองปกหลัง (กระดาษ A4)
16. ปกหลัง (สีเดียวกับปกหน้า)
โครงงาน

เรื่อง ยาดมสมุนไพร สูตร 3


กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จัดทำโดย

1.นางสาวธัญจิรา เทียวประสงค์ เลขที่ 17


2.นางสาวธัญสิริ ทาบุดา เลขที่ 18
3.นางสาววชิราภรณ์ เหล่าโพธิ์ชัย เลขที่ 29
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

รายวิชา ว 32181 การออกแบบและเทคโนโลยี


ปี การศึกษา 2566
โรงเรียนพรเจริญวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การมัธยมศึกษาบึงกาฬ

เกี่ยวกับโครงงาน

โครงงาน

เรื่อง ยาดมสมุนไพร สูตร 3


กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้จัดทำ 1. นางสาวธัญจิรา เทียวประสงค์ เลขที่ 17
2. นางสาวธัญสิริ ทาบุดา เลขที่ 18
3. นางสาววชิราภรณ์ เหล่าโพธิ์ชัย เลขที่ 29

ครูที่ปรึกษา 1. นางจตุพร วิณโรจน์


ตำแหน่ง ครูชำนาญการพิเศษ

สถานศึกษา โรงเรียนพรเจริญวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การมัธยมศึกษาบึงกาฬ
ปี การศึกษา 2566

กิตติกรรมประกาศ

โครงงานนี้สำเร็จขึ้นได้ด้วยโครงงานนี้สำเร็จขึ้นได้ด้วยจากการ
ปรึกษาและคำแนะนำของคุณครูจตุพร วิณโรจน์และการรวมมือกัน
ของคนในกลุ่มและการศึกษาข้อมูลต่างๆ แหล่งที่มาและใจความ
สำคัญ ปั ญหาที่เกิดขึ้นและวิธีการแก้ไขปั ญหา การลงมือทำและการ
ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์มากที่สุด

ท้ายสุดนี้ผู้จัดทำหวังเป็ นอย่างยิ่งว่า โครงงานนี้จะเป็ น


ประโยชน์ต่อการศึกษาการเกี่ยวกับยาดมสมุนไพร มีจุดมุ่งหมาย
เพื่อที่จะให้คนรอบข้างได้นำสมุนไพรมาประยุกต์หรือใช้สมุนไพรที่
หาได้ง่ายมาทำให้เกิดประโยชน์ของผู้สนใจต่อไป

คณะผู้จัดทำ

หัวข้อโครงงาน : ยาดมสมุนไพร
ประเภทของโครงงาน : โครงงาน
ผู้เสนอโครงงาน : 1.นางสาวธัญจิรา เทียวประสงค์ เลขที่17
2.นางสาวธันสิริ ทาบุดา เลขที่18
3.นางสาววชิราภรณ์ เหล่าโพธิ์ชัย เลขที่29

ครูที่ปรึกษาโครงงาน : คุณครูจตุพร วิโรจณ์


ปี การศึกษา : 2566

บทคัดย่อ
การจัดทำโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อประดิษฐ์
และสรรค์สร้างยาดมสมุนไพร
(2) เพื่อสุขภาพ (3) ศึกษาการจัดทำโครงงานโดยสร้างบล็อกเกอร์
เพื่อเผยแพร่และนำเสนอความรู้จากการปฏิบัติจริง
ผลการศึกษาและจัดทำโครงงานพบว่า การพัฒนาโครงงาน
สร้างบล็อกเกอร์ยาดมสมุนไพร เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ
สรรพคุณสมุนไพรแต่ละชนิด ได้ทั้งความรู้และความเพลิดเพลิน
คณะผู้จัดทำได้ดำเนินการตามขั้นตอน การดำเนินงานที่ได้วางแผน
ไว้และได้นำเสนอเผยแพร่ผ่านเครือข่ายระบบอินเทอร์เน็ต ที่
สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลาสถานที่ ซึ่งเป็ นแหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์
และมีความรวดเร็วในการรับข้อมูลบุคคลทั่วไปสามารถเข้ารับชมได้
เพราะเป็ นเว็ปไซต์ที่มีประโยชน์ เหมาะแก่การศึกษา

สารบัญ
เรื่อง หน้า
เกี่ยวกับโครงงาน

กิตติกรรมประกาศ

บทคัดย่อ ค
บทที่ 1 บทนำ
1
- ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
1
- วัตถุประสงค์
1
- ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า
2
- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 เอกสารและโครงงานที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีการจัดทำโครงงาน
- วัสดุและอุปกรณ์
- วิธีการจัดทำโครงงาน
บทที่ 4 ผลการศึกษา
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
- สรุปผลการศึกษา
- ประโยชน์ที่ได้จากโครงงาน
- ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ข้อมูลผู้จัดทำ

บทที่ 1
บทนำ

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ยาดม" นับเป็ นยาสามัญประจำบ้าน ตามประกาศของ
กระทรวงสาธารณสุข และมีประวัติความเป็ นมานานถึง 6,000 ปี
โดยเป็ นที่รู้จักของคนไทยอย่างแพร่หลายมาตั้งแต่รัชกาลที่ 2 จนถึง
ปั จจุบัน
เมื่อเกิดอาการวิงเวียนศีรษะ คล้ายจะเป็ นลม หากต้องการบรรเทา
อาการเหล่านั้น คนไทยเกิน 60% ไม่ได้นึกถึงยาพาราเซตามอล
หรือตัวยาอื่นๆ แต่ทุกคนกลับนึกถึง “ยาดม” ที่ดมเมื่อไหร่ก็ชื่นใจ
แถมอาการปวดหัวหรือความมึนงงต่างๆ ก็หายเป็ นปลิดทิ้งแบบไม่
น่าเชื่อ และสำหรับบางคน ยาดม นับเป็ นไอเท็มยอดฮิตที่ต้องมีติด
กระเป๋ า ที่หยิบขึ้นมาดมเมื่อไหร่ก็ชื่นใจเมื่อนั้น

อ่านมาถึงบรรทัดนี้ บางคนอาจจะบอกว่า.. เวอร์หรือเปล่า?


ที่เหมารวมคนไทยว่าต้องติด "ยาดม" ต้องบอกว่าถึงแม้จะมีคนไม่
ปลื้มยาดม แต่คนไทยส่วนใหญ่! รู้สึกดีกับยาดมกันทั้งนั้น และนับ
เป็ นพฤติกรรมที่เข้าข่าย Thailand Only ฝรั่งหรือคนต่างชาติเห็น
แล้วเอากลับไปเมาส์ว่าคนไทยมีนิสัยน่ารักชอบเดินเอายาดมแท่งๆ
เสียบจมูก ถือเป็ นความสามารถที่น่าปลื้ม ดังในรายการวาไรตี้ญี่ปุ่น
ที่มีหัวข้อพูดถึงยาดมจากประเทศไทยว่ามันเป็ นเรื่องพิเศษที่คนไทย
ทำแต่ชาติอื่นไม่ทำ หลังจากรายการดังกล่าวออนไลน์ส่งผลให้ยาด
มกลายเป็ นไอเทม Must have ของฝากจากประเทศไทยที่ชาว
ญี่ปุ่นรู้จักกันดีไปซะแล้ว

วัตถุประสงค์
1.เพื่อเป็ นยาบรรเทาอาการ วิงเวียน ปวดศีรษะ
2.เพื่อใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุด และคุ้มค่ำ
3.อาจนำไปต่อยอดเป็ นธุรกิจทางการค้าได้

ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
สร้างเว็ปไซต์เผยแพร่เกี่ยวกับยาดมสมุนไพรไทย โดยจัดทำไร
บล็อกเกอร์ ในการสร้างเว็ปไซต์ และใช้โปรแกรม ในการตกแต่ง
และจัดเรียงเว็ปไซต์ให้สวยงามและน่าสนใจ เพื่อเป็ นแรงจูงใจใน
การศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สนใจมีความเข้าใจและให้ความสำคัญเกี่ยวกับสมุนไพร
ไทย และยาดมสมุนไพร
2.ได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างบล็อกเกอร์
3.ได้นำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณค่าและเกิด
ประโยชน์

บทที่ 2
เอกสารและโครงงานที่เกี่ยวข้อง

ในการจัดทำโครงงาน ยาดมสมุนไพร สูตร 3 กลุ่มของข้าพเจ้า


ได้ ศึกษาเอกสารและเว็บไซต์ต่างๆที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทำโครงงาน ยาดมสมุนไพรตราสามหงส์ กลุ่มของ
ข้าพเจ้าได้ศึกษาเอกสารและเว็บไซค์ต่างๆที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
โครงงานที่เกี่ยวข้อง
ความรู้ทั่วไปของสมุนไพร
สรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิด
ความรู้ทั่วไปของสมุนไพร
ในปั จจุบันคนเรานั้นมีอาการวิงเวียน ปวดศีรษะ คัดจมูกได้ง่าย
กว่าในสมัยก่อนมาก ทั้งนี้เป็ นเพราะสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปใน
ทางแย่ลงมีมลพิษมากขึ้นค่อนข้างจะเป็ นมลภาวะที่ส่งผลเสียอย่าง
มากต่อร่างกายคนเรา และนอกจากนี้ยังมีอีกปั จจัยก็คือการที่
ร่างกายคนยกปั จจุบันนั้นเลือกทานแต่อาหารขยะและไม่ค่อยออก
กำลัง เป็ นปั จจัยเหตุส่งผลให้ร่างกายของเรานั้นอ่อนแอ และมี
อาการดังกล่าวได้ง่ายขึ้น
ความหมายของสมุนไพร หมายถึง หรือ ที่ใช้เป็ นยา แร่ธาตุ
และสัตว์ พืช ผลิตผลธรรมชาติ เพื่อบำบัดโรคผสมกับสารอื่นตาม
ตามหลักยาบำรุงร่างกายหรือใช้เป็ นยาพิษหากนำเอาสมุนไพรตั้งแต่
2 ชนิดขึ้นไปมารวมกันซึ่งจะเรียกว่ายาในตำรับยา นอกจากพืช
สมุนไพรและยังอาจประกอบด้วยสัตว์และแร่ธาตุอีกด้วยเราเรียกพืช
สัตว์หรือแร่ธาตุที่เป็ นส่วนประกอบของยานี้ว่าเภสัชวัตถุ พืช
สมุนไพรบางชนิด เช่นเร็วกระวานกานพลูและจันทร์เทศเป็ นต้น
ความสำคัญของสมุนไพรแต่ละชนิด
ดอกจันทร์ ช่วยบำรุงโลหิตสูบฉีดเลือดได้ดี บำรุงธาตุ ขับลม แก้
ปวดทั้งภายในและภายนอก
กานพลู บรรเทาอาการโลหิตเป็ นพิษดอกพิกุล : ส่วนประกอบ
สำคัญของยาหอม ยานัตถุ์ ขับลม เลือดสูบฉีด แก้ลมร้อน
ดอกบุนนาค : ทำให้รู้สึกหอมเย็นสบาย แก้วิงเวียน หน้ามืด
ตาลาย ใจสั่น รักษาอาการร้อน และอ่อนเพลีย
พิมเสน :สามารถขับเหงื่อ กระตุ้นระบบทางเดินหายใจ กระตุ้น
สมอง แก้ลมวิงเวียน หน้ามืด บำรุงหัวใจ ทำให้ร่างกายรู้สึกชุ่ม
ชื่น
เกล็ดสะระแหน่ (เมนทอล) : ส่วนประกอบหลักของน้ำมันระเหย
ใช้แต่งกลิ่นรสของยาดม กลิ่นหอมเย็น ช่วยให้ผ่อนคลาย คลาย
อาการวิงเวียน อาเจียน หน้ามืดเป็ นลม
สิ่งที่ต้องระมัดระวัง
1. กลุ่มสมุนไพรต่างๆต้องหาที่สดใหม่และแห้งดี ควรตรวจดูว่า
ไม่มีเชื่อราหรือว่าสิ่งแปลกปลอมอย่างอื่น ผสมหรือไม่
2. ต้องรักษาความสะอาดทุกขั้นตอนเนื่องจากเป็ นยาที่มีการใช้
โดยตรง โดยการสูดดม ภาชนะบรรจุต้องทำ ความสะอาดก่อน
บรรจุ บริเวณสถานที่ต้องสะอาดด้วย
ดมยาอย่างไรไม่ให้เป็ นทุกข์
ทุกอย่างเมื่อมีข้อดีก็มักจะมีข้อเสียด้วยเช่นกัน เพราะการดมยา
ดมบ่อยครั้งอาจทำให้เกิดอาการติดได้ เนื่องจากสารเคมีที่ใช้ผลิต
บางชนิด เช่น เมนทอล การบูร เป็ นสารที่มีผลต่อระบบประสาท
แต่ไม่ใช่ว่าจะอันตรายรุนแรงเสียทีเดียว เพียงแต่การติดยาดม
นั้นจะเป็ นรูปแบบที่ใช้จนติดเป็ นนิสัยหรือขาดไม่ได้เท่านั้นเอง
ยาดมเป็ นยาสามัญประจำบ้านที่มีประโยชน์ หากรู้จักใช้อย่างถูก
วิธี ก็จะได้รับประโยชน์อย่างสูงสุด ซึ่งวิธีการใช้ยาดมที่ถูกต้อง
ตามคำแนะนำขององค์กรอาหารและยา มีดังนี้
1. ควรสูดดมใกล้ๆ แต่ไม่สัมผัสโดยตรง
2. ไม่ควรให้หลอดยาเข้าไปค้างในจมูก เพราะสารทุกตัวอาจ
ทำให้ระคายเคืองเมื่อสัมผัส
3. ควรหลีกเลี่ยงการใช้หลอดยาดมร่วมกับผู้อื่น เพราะอาจทำให้
ติดเชื้อได้
4. ยาดมมีฤทธิ์บรรเทาอาการวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย เพียง
ชั่วคราว หากอาการหนักควรพบแพทย์
5. ยาดมที่มีลักษณะเป็ นยาน้ำหรือขี้ผึ้ง ให้ใช้สำลีหรือผ้าเช็ดหน้า
ป้ าย หรือนำมาทาบางๆ ที่หน้าอก แล้วสูดไอระเหย
6. หากมีโรคที่เกี่ยวกับโพรงจมูกควรหลีกเลี่ยง เพราะหากสูดยา
ดมที่มีเข้มข้นมากๆ อาจก่อให้เกิดการระคายเคืองมากขึ้น
เกล็ดสาระเเหน่
สารชนิดหนึ่งที่พบในน้ำมันหอมระเหยที่สกัดได้จากพืชบางชนิด
เช่น สะระแหน่ไทย มินท์ หรือสะระแหน่ฝรั่ง เป็ นต้น
พิมเสน
เป็ นธาตุวัตถุ ได้จากการนำการบูรมาหุงกับยาอื่นๆ ได้เป็ นเกล็ด
แบนๆ สีขาว จะระเหิดเมื่อถูกความร้อน มีกลิ่นหอม ใช้แต่งกลิ่น
บำรุงหัวใจ แก้โรคผิวหนัง ผสมในลูกประคบเพื่อ มีฤทธิ์แก้พุพอง
แก้หวัด
น้ำมันยูคาลิปตัส
น้ำมันหอมระเหยที่สกัดได้จากใบยูคาลิปตัส ซึ่งการสกัดนั้นจะ
ต้องผ่านกระบวนการสกัดที่มีกรรมวิธีพิเศษและต้องอยู่ในระบบ
ปิ ด เพื่อป้ องกันปั ญหาที่อาจจะเกิดทำให้กลิ่นและสีเปลี่ยนแปลง
เนื่องจากน้ำมันชนิดนี้ค่อนข้างระเหยได้ง่าย
กระปุก
ภาชนะรูปทรงป้ อมเตี้ยขนาดเล็กส่วนใหญ่ปากแคบ ก้นสอบ ทำ
ด้วยดินเผา แก้ว หรือพลาสติก ใช้บรรจุสิ่งต่าง ๆ.
ตาข่าย ใช้ห่อสมุนไพร

ต่อเนื่องจนถึงแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7
โดยมีกลวิธีพัฒนาสมุนไพรและการแพทย์แผนไทยในสาธารณสุข
มูลฐานคือ
1.สนับสนุนและพัฒนาวิชาการและเทคโนโลยีพื้นบ้านอันได้แก่ การ
แพทย์แผนไทยเภสัชกรรมแผนไทยการนวดไทยสมุนไพร และ
เทคโนโลยีพื้นบ้านเพื่อใช้ประโยชน์ในการแก้ปั ญหาสุขภาพของ
ชุมชน
2. สนับสนุนและส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพของตนเองโดยใช้
สมุนไพรการแพทย์พื้นบ้านการนวดไทยในระดับบุคคลครอบครัว
และชุมชนให้เป็ นไปอย่างถูกต้องเป็ นระบบสามารถปรับประสาน
การดูแลสุขภาพแผนปั จจุบันได้อาจกล่าวได้ว่าสมุนไพรสำหรับ
สาธารณสุขมูลฐานคือสมุนไพรที่ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพและการ
รักษาโรคอาการเจ็บป่ วยเบื้องต้นเพื่อให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเอง
ได้มากขึ้น

บทที่ 3
วิธีการจัดทำโครงงาน
วัสดุและอุปกรณ์
วัสดุและอุปการณ์ที่ใช้ในการจัดทำโครงงานได้แก่
1. กระปุก
2. ภาชนะใส่สมุนไพร
3. เครื่องอบ
4. ตาข่าย
5. โลโก้

วิธีการจัดทำโครงงาน

1.นำสมุนไพรที่เตรียมไว้ มาตากไว้ 1-2 คืน


2.จากนั้นนำสมุนไพรที่ตากไว้ มาผสมกับน้ำมันยูคาลิปตัส
3.พอผสมเสร็จนำเข้าตู้อบ 1-2 นาที
4.อบเสร็จ นำมาใส่ตาข่ายและกระปุกติดโลโก้
5.จากนั้นนำไปเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง
6.ทดลองใช้
บทที่ 4
ผลการศึกษา

จากการศึกษาการ ทำยาดมสมุนไพร ในการจัดทำโครงงาน


ครั้งนี้
ผู้จัดทำได้รู้จักตัวยาสมุนไพรหลายชนิด ได้ทำยาดมขึ้นมาเอง
และเป็ นการนำสิ่งของมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
บทที่ 5
สรุปผลและข้อเสนอแนะ

สรุปผลการศึกษา
จากการจัดทำโครงงานพบว่า ยาดมสมุนไพร สามารถสูดดม
ได้จริงในชีวิตประจำวัน
.
ข้อเสนอแนะ
1. ควรสูดดมใกล้ๆ แต่ไม่สัมผัสโดยตรง
2. ไม่ควรให้หลอดยาเข้าไปค้างในจมูก เพราะสารทุกตัวอาจ
ทำให้ระคายเคืองเมื่อสัมผัส
3. ควรหลีกเลี่ยงการใช้หลอดยาดมร่วมกับผู้อื่น เพราะอาจทำให้
ติดเชื้อได้
4. ยาดมมีฤทธิ์บรรเทาอาการวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย เพียง
ชั่วคราว หากอาการหนักควรพบแพทย์
5. หากมีโรคที่เกี่ยวกับโพรงจมูกควรหลีกเลี่ยง เพราะหากสูดยา
ดมที่มีเข้มข้นมากๆ อาจก่อให้เกิดการระคายเคืองมากขึ้น
บรรณานุกรม

กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์. การออกแบบบนจอภาพ


คอมพิวเตอร์.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ พัฒน
เทคนิคศึกษา, 2539.
แมนสรวง แซ่ซิ้ม. ความรู้เกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรม
Macromedia Flash. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http://mansuang1978.spaces.live.com. 2552.
_______. การสร้างสื่อการเรียนรู้ด้วย Flash CS3. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา : http://mansuang1978.spaces.live.com.
2552.
_______. การสร้างแบบฝึ กหัดแบบจับคู่. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา : http://mansuang1978.spaces.live.com.
2552.

ภาคผนวก
ภาพที่ 1 นำสมุนไพรที่เตรียมไว้ มาตากไว้ 1-2 คืน
ภาพที่ 2 จากนั้นนำสมุนไพรที่ตากไว้ มาผสมกับน้ำมันยูคาลิปตัส

ภาพที่ 3 พอผสมเสร็จนำเข้าตู้อบ 1-2 นาที


.อบเสร็จ นำมาใส่ตาข่ายและกระปุกติดโลโก้
ภาคที่ 4 จากนั้นนำไปเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง
ทดลองใช้
ข้อมูลผู้จัดทำ

ชื่อ : ธัญจิรา เทียวประสงค์


เบอร์โทรศัพท์ :0655422756
ID Line: :dx.maizy
Facebook: ธัญจิรา เทียวประสงค์

ชื่อ : ธันสิริ ทาบุดา


เบอร์โทรศัพท์ : 0925985396
ID Line : thansiri_2208
Facebook: ธันสิริ ทาบุดา

ชื่อ : วชิราภรณ์ เหล่าโพธิ์ชัย


เบอร์โทรศัพท์ : 0929643061
ID Line: Teammie
Facebook: Wachiraporn Laopochai

You might also like