Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

ก๊าซ

(Gas)
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษากฎของก๊าซอุดมคติ (Ideal gas law)
2. เพื่อศึกษาและคานวณหาค่าคงที่ของแก๊ส(Gas constant, R) แล้วนาไปเปรี ยบเทียบกับค่ามาตรฐาน ที่สภาวะ
อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน (Standard Temperature Pressure ; STP)
3. เพื่อศึกษาและคานวณหาปริ มาตรหนึ่งโมลของก๊าซแล้วนาไปเปรี ยบเทียบกับค่ามาตรฐานที่สภาวะ STP

ทฤษฎี
ก๊าซป็ นสสารที่มีปริ มาตรคงที่และรู ปร่ างไม่แน่นอน สามารถแปรเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ ดังนั้นสภาวะก๊าซ
จึงต้องอยูใ่ นของตวามดัน อุณหภูมิ และปริ มาตร
จากกฎของบอยล์ (Boyle’s law) คือ เมื่ออุณหภูมิและมวลของแก๊สคงที่ ปริ มาณของก๊าซจะแปรผันผกผันกับความ
ดัน ดังความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1
V α เมื่อ T, n คงที่
P
จากกฎของชาร์ล (Charle’s law) คือเมื่อมวลและความดันของก๊าซคงที่ ปริ มาตรของก๊าซจะแปรผันตรงกับ
อุณหภูมิสัมบูรณ์ ดังความสัมพันธ์ต่อไปนี้
V α T เมื่อ P, n คงที่

โดยที่ V = ปริ มาตร (L)


P = ความดัน (atm)
T = อุณหภูมิ (K)
จากกฎของอาโวคาโดร (Avogadro’s law) คือที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน แก๊สต่างชนิดกันที่มีปริ มาตรเท่ากัน
จะมีจานวนโมเลกุลเท่ากัน ดังความสัมพันธ์ต่อไปนี้
V α n เมื่อ P, T คงที่
โดยที่ V = ปริ มาตร (L)
P = ความดัน (atm)
T = อุณหภูมิ (K)
n = จานวนโมล
เมื่อรวมกฎของบอยล์และชาร์ลเข้าด้วยกัน จะสามารถนามาเขียนเป็ นกฎรวมก๊าซ (Combine gas law) ดังนี้คือ
P1 V1 P2 V2
=
T1 T2
โดยที่ P1,V1,T1 คือความดัน ปริ มาตร และอุณหภูมิที่สภาวะแรก
P2,V2,T2 คือความดัน ปริ มาตร และอุณหภูมิที่สภาวะที่สอง
ถ้าก๊าซใดๆ ที่อยูใ่ นสภาวะที่เป็ นไปตามกฎของบอยล์และกฎของชาร์ล จะเป็ นก๊าซในอุดมคติ (Ideal gas) และ
พบว่าที่ความดันต่ามากๆ หรื อที่อณุ หภูมิสูงมากๆ ก๊าซจริ งจะมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับก๊าซอุดมคติ
ก๊าซอุดมคติ หมายถึงก๊าซที่มีความสัมพันธ์ระหว่างความดัน อุณหภูมิ และปริ มาตร ดังสมการต่อไปนี้
PV = nRT
P1 V1 P2 V2
= = R
n1 T1 n2 T2

โดยที่ n = จานวนโมล
R = ค่าคงที่ของก๊าซ

สาหรับก๊าซอุดมคติ จานวน 1 โมล ที่อุณหภูมิ 273.15 เควิล หรื อ 0 °C และความดัน 1 บรรยากาศ (760 mmHg) จะ
มีจานวนโมเลกุล 6.02 x 1023 โมเลกุล และมีปริ มาตร 22.4 ลิตรเสมอ ซึ่งสามารถหาค่าคงที่ของก๊าซได้ดงั นี้
PV 1 atm × 22.4 L atm ∙ L
R = = = 0.0820 ( )
nT 1 mol × 273.15 K mol ∙ K

ค่าคงที่ของก๊าซมีหน่วยแตกต่างกัน ขึ้นอยูก่ บั หน่วยของความดัน อุณหภูมิและปริ มาตร ดังนี้คือ


R = 0.0820 atm•L mol-1• K-1 R = 82.00 atm•cm3 mol-1• K-1
R = 62360 mmHg• cm3 mol-1• K-1 R = 8.314 Pa•m3 mol-1• K-1
R = 8.314 J•mol-1• K-1 R = 1.987 cal• mol-1• K-1

ในการทดลองนี้จะศึกษาพฤติกรรมของก๊าซไนโตรเจน ซึ้งเตรี ยมได้ตากการทาปฏิกิริยาของโซเดียมไนไตรท์ปละ


กรดซัลฟามิก
NaNO2 (aq) + HSO3NH2 (aq) → NaHSO4 (aq) + N2 (g) + H2O (l)
โซเดียมไนไตร์ท กรดซัลฟามิก โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต ไนโตรเจน น้ า
(Sodium nitrite) (sulfamic acid) (sodium hydrogen sulfate) (nitrogen) (water)

ก๊าซไนโตรเจนที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาเป็ นแบบ 1:1 คือ โซเดียมไนไตร์ท 1 mol ทาปฏิกิริยาพอดีกยั กรดซัลฟามิก 1


mol จะเกิดแก๊สไนโตรเจน 1 mol ถ้าสารตั้งต้นสองชนิดไม่เท่ากัน สารที่มีจานวนโมลน้อยกว่าจเป็ นตัวกาหนดว่าจะเกิดเป็ น
ผลิตภัณฑ์ได้มากที่สุดเท่าใด เรี ยกว่า สารกาหนดปริ มาณ (Limiting agent) ซึ่งจะเป็ นตัวทาให้ปฏิกิริยาสิ้นสุ ดลง และเป็ น
สารที่เข้าทาปฏิกิริยาแล้วถูกใช้หมดไปก่อน ส่วนสารที่มีจานวนโมลมากกว่า และมีปริ มาณเกินพอ ซึ่งเมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุ ดลง
จะยังคงเหลืออยู่ เรี ยกวว่า สารที่มากเกินพอ (Excess agent)
ก๊าซไนโตรเจนที่เกิดขึ้นจะถูกกักเก็บแทนที่น้ าในบิวเรตต์ ดังนั้นเมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุ ดลงระดับน้ าในบิวเรตต์จะ
ลดลง นัน่ คือระดับน้ าจะต่ากว่าจุดเริ่ มต้น แสดงว่ามีก๊าซไนโตรเจนเกิดขึ้น ทาให้ทราบปริ มาตรของก๊าซไนโตรเจนที่เกิดขึ้น
ได้ ซึ่งระดับน้ าในบิวเรตต์จะสู งกว่าในบีกเกอร์ ดังรู ปที่ 1 และสามารถคานวณความดันของก๊าซไนโตรเจนที่เกิดขึ้น โดย
จะต้องคานึงถึงผลของความดันเนื่องจากระดับความสู งของน้ าที่เหลืออยูใ่ นบิวเรตต์ และความดันไออิ่มตัวของน้ า ณ
อุณหภูมิของก๊าซที่เกิดขึ้นด้วย ดังสมการ

PA = PN2 + PH2O + PH
โดยที่ PA = ความดันบรรยากาศที่ 1 atm
PN2 = ความดันก๊าซไนโตรเจนที่เกิดขึ้น (atm)
PH2O = ความดันไออิม่ ตัวของน้ าที่อุณหภูมิ ณ ขณะนั้น (atm) อ่านได้จากตาราง 5.1
PH = ความดันเนื่องจากความสู งของน้ า L (cm) คานวณได้จากความสู งของน้ า 1,033 cm
เท่ากับความดัน 1 atm

รู ปที่ 1 ชุดอุปกรณ์ทดลอง
ตารางที่ 1 ค่าความดันไออิ่มตัวของน้ าที่อุณหภูมิต่างๆ
อุณหภูมิ ความดัน อุณหภูมิ ความดัน
°C atm mmHg °C atm mmHg
15 0.0168 12.79 28 0.0373 28.35
20 0.0231 17.54 29 0.0395 30.04
21 0.0245 18.65 30 0.0419 31.82
22 0.0261 19.83 31 0.0443 33.70
23 0.0277 21.07 32 0.0469 35.70
24 0.0294 22.38 33 0.0496 37.73
25 0.0313 23.76 34 0.0525 39.90
26 0.0332 25.21 35 0.0555 42.18
27 0.0352 26.74 40 0.0728 53.30
สารเคมี
1. โซเดียมไนไตร์ท (Sodium nitrite ; NaNO2)
2. กรดซัลฟามิก (Sulfamic acid ; HSO3NH2)

เครื่ องมือและอุปกรณ์
1. บิวเรตต์ ขนาด 50 mL
2. บีกเกอร์ ขนาด 250 mL
3. ปิ เปตต์ ขนาด 10 mL
4. ปิ เปตต์ ขนาด 25 mL
5. ขวดรู ปกรวย ขนาด 125 mL
6. ขวดใส่สารขนาดเล็ก
7. สายยาง
8. ด้าย
9. ท่อนาก๊าซ
10. เทอร์โมมิเตอร์

วิธีการทดลอง
ก.การจัดเตรียมเครื่ องมือในการเตรียมก๊าซไนโตรเจน
1. จัดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ ดังรู ปที่ 2 โดยก่อนจัดตั้งเครื่ องมือ ล้างขวดรู ปกรวยให้สะอาด แล้วล้างด้วยน้ ากลัน่ อีกครั้ง
2. บรรจุน้ าลงในบิวเรตต์ให้เต็ม แล้วดลับเอาด้านก๊อกบิวเรตต์ไว้ดา้ นบน โดยจุ่มปลายบิวเรตต์ดา้ นเปิ ดคว่าคราอบ
ท่อนาก๊าซในบีกเกอร์ขนาด 250 mL ที่มีน้ าอยูป่ ระมาณ 100 mL ดังรู ปที่ 2
3. เปิ ดก๊อกบิวเรตต์ดา้ นบน ปรับระดับน้ าบิวเรตต์ให้อยูท่ ี่ 50 mL หรื อในระดับที่อ่านค่าได้ (เมื่อมีการแทนที่น้ าใน
บิวเรตต์ดว้ ยก๊าซไนโตรเจนที่เกิดขึ้นในการทดลองจนปฏิกิริยาสิ้นสุ ดลง) ระดับในบิวเรตต์จะลดลงมาถึงระดับ
หนึ่ง ทาให้ปริ มาตรของก๊าซไนโตรเจนที่เกิดขึ้น จะเท่ากับผลต่างของปริ มาตรน้ าในบิวเรตต์ตอนเริ่ มต้นกับตอน
สิ้นสุ ดปฏิกิริยา
รู ปที่ 2 ชุดอุปกรณ์การทดลอง
ข.การทดลอง
1. ปิ เปตต์สารละลาย NaNO2 เข้มข้น 0.35 M ปริ มาตร 2.5 mL และน้ ากลัน่ 20 mL ใส่ในขวดรู ปกรวย
2. ปิ เปตตสารลละลาย HSO3NH2 เข้มข้น 0.2 M ปริ มาตร 2.5 mL ลงในขวดใส่สารขนาดเล็กที่ผกู ปากไว้ดว้ ยด้าย
3. ค่อยๆ หย่อนขวดใส่สารลงไปในขวดรู ปกรวย (ระวังอย่าให้สารละลาย HSO3NH2 หกออกไปทาปฏิกิริยากับ
NaNO2 ก่อน) โดยให้ปลายด้ายพาดอยูท่ ี่ปากขวดรู ปกรวยและปิ ดปากขวดด้วยจุกยางที่มีท่อนาก๊าซเสี ยบอยูด่ งั รู ปที่ 2
4. ตรวจดูความเรี ยบร้อยของเครื่ องมือทุกส่วนไม่ให้มรอากาศเข้าออกได้ และอ่านระดับน้ าในบิวเรตต์
5. เอียงขวดรู ปกรวย พร้อมเขย่าเล็กน้อย เพื่อให้สารทาปฏิกิริยากัน ก๊าซไนโตรเจนที่เกอดขึ้นจะเข้าไปอทนที่น้ าใน
บิวเรตต์ และเขย่าขวดรู ปกรวยต่อไปจนกระทัง่ ปฏิกิริยาสิ้นสุ ดลง โดยสังเกตว่าไม่มีฟองก๊าซเกิดขึ้นอีก
6. อ่านระดับน้ าในบิวเรตต์อีกครั้งหนึ่ง และบันทึกปริ มาตรของก๊าซไนโตรเจนในบิวเรตต์ ที่เกิดจากกการแทนนที่น้ า
ในบิวเรตต์
7. วัดความสู งของน้ าในบิวเรตต์ โดยวัดจากระดับผิวหน้าน้ าในบีกเกอร์ถึงระดับน้ าในบิวเรตต์
8. วัดอุณหภูมิของน้ าในบีกเกอร์ ซึ่งเท่ากับอุณหภูมิของก๊าซไนโตรเจนในบิวเรตต์
9. ล้างเครื่ องมือให้สะอาดแล้วทาการทดลองซ้ าอีกครั้ง
ชื่ อ-สกุล.............................................................................................................................................................
โรงเรียน............................................................................................................................................................

ตารางบันทึกผลการทดลอง
ผลการทดลอง
ข้อมูลการทดลอง
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2
ปริ มาตรของ 0.35 M NaNO2 ที่ใช้ (mL)
ปริ มาตรของ 0.2 M HSO3NH2 ที่ใช้ (mL)
ระน้ าในบิวเรตต์เริ่ มต้น (mL)
ระดับน้ าในบิวเรตต์ขณะสุ ดท้าย (mL)
ปริ มาตร N2 ในบิวเรตต์ที่แทนที่น้ า (mL)
ความสู งของระดับน้ าที่เหลือในบิวเรตต์
อุณหภูมิของน้ าในบีกเกอร์
การคานวณ
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในการทดลองคือ....................................................................................................................
1. สารกาหนดปริมาณ และสารมากเกินพอ
n = MV/1,000
โดยที่ M = ความเข้มข้นของสารละลาย (molar) n = จานวนโมล
V = ปริ มาตรของสารละลายที่ใช้ (mL)
จานวนโมลของสารละลาย NaNO2 จานวนโมลของสารละลาย HSO3NH2
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 1
จานวนโมลของ NaNO2 = MV/1,000 จานวนโมลของ HSO3NH2 = MV/1,000
…………………………………………………..... ………………………………………………….....
…………………………………………………..... ………………………………………………….....
…………………………………………………..... ………………………………………………….....
ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 2
จานวนโมลของ NaNO2 = MV/1,000 จานวนโมลของ HSO3NH2 = MV/1,000
…………………………………………………..... ………………………………………………….....
…………………………………………………..... ………………………………………………….....
…………………………………………………..... ………………………………………………….....

สารกาหนดปริ มาณ (Limiting agent) คือ.............................................................................................


เพราะ.................................................................................................................................................................
สารที่มากเกินพอ (Excess agent) คือ...................................................................................................
เพราะ.................................................................................................................................................................
สารผลิตภัณฑ์ (Product) คือ................................................................................................................
ปริ มาณก๊าซไนโตรเจน (N2) ที่เกิดขึ้น ครั้งที่ 1...............................................................
ครั้งที่ 2...............................................................
2. ความดันของก๊าซไนโตรเจน
จากสมการ PA = PN2 + PH2O + PH
โดยที่ PA = ความดันบรรยากาศที่ 1 atm
PN2 = ความดันก๊าซไนโตรเจนที่เกิดขึ้น (atm)
PH2O = ความดันไออิ่มตัวของน้ าที่อุณหภูมิ ณ ขณะนั้น (atm) อ่านได้จากตาราง 5.1
PH = ความดันเนื่องจากความสู งของน้ า L (cm) คานวณได้จากความสู งของน้ า 1,033 cm
เท่ากับความดัน 1 atm
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2

𝑃𝐻2 𝑂 = …………………………………….atm 𝑃𝐻2 𝑂 = …………………………………….atm


𝑃𝐻 = ……………………………………………. 𝑃𝐻 = …………………………………………….
…………………………………………….. ……………………………………………..
…………………………………………atm …………………………………………atm
𝑃𝑁2 = ………………………………….…….atm 𝑃𝑁2 = ………………………………….…….atm

3. ค่าคงที่ของก๊าซ (Gas constant, R) หน่ วย atm L mol-1 K-1


PV
จากสมการ R =
nT
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2
R1 = ……………………………………………… R2 = ………………………………………………
……………………………………………………. …………………………………………………….
……………………………………………………. …………………………………………………….
ค่าเฉลี่ยของค่าคงที่ของก๊าซที่ได้จากการทดลอง (Ravg) = (R1 + R2)/2 atm L mol-1 K-1
=…………………………………………………….
=…………………………………………………….
ค่าความคลาดเคลื่อนของค่าคงที่ของก๊าซ (%) = |(ค่าเฉลี่ยที่ได้จากการทดลอง – ค่าจริ ง/ ค่าจริ ง| * 100
=……………………………………………………………
=……………………………………………………………
4. ปริมาตรก๊าซไนโตรเจนจานวน 1 mol ที่ STP
จากสมการ
PV PV 𝑛𝑇
( ) = ( ) → 𝑉สภาวะทดลอง = 𝑅สภาวะทดลอง × ( )
nT สภาวะทดลอง nT สภาวะSTP 𝑃 สภาวะSTP

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2
V1 = ……………………………………………… V2 = ………………………………………………
……………………………………………………. …………………………………………………….
……………………………………………………. …………………………………………………….
ค่าเฉลี่ยของค่าคงที่ของก๊าซที่ได้จากการทดลอง (Vavg) = (V1 + V2)/2
=…………………………………………………….
=………………………………………………...…L
ค่าความคลาดเคลื่อนของค่าคงที่ของก๊าซ (%) = |(ค่าเฉลี่ยที่ได้จากการทดลอง – ค่าจริ ง/ ค่าจริ ง| * 100
=……………………………………………………………
=……………………………………………………………

ข้ อเสนอแนะในการทดลอง
...................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................

You might also like