แผนการจัดการเรียนรู้ มุมแย้ง (ครูจตุรพัฒน์)

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
รหัสวิชา ค22101 รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน 3
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1/2564 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
ชื่อหน่วย เส้นขนาน เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นขนานและมุมแย้ง จานวน 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป
เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้

2. ตัวชี้วัด/ผลการเรียน
ค 2.2 ม.2/2 นาความรู้เกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมไปใช้ในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์

3. สาระสาคัญ
เส้นตรงคู่หนึ่งมีเส้นตรงเส้นหนึ่งตัด เส้นตรงคู่นี้จะขนานกันก็ต่อเมื่อมุมแย้งที่เกิดขึ้นมีขนาดเท่ากัน
กรณีที่ 1 ถ้ามีเส้นตรงคู่หนึ่งขนานกัน และมีเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดแล้ว มุมแย้งที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเท่ากัน
กรณีที่ 2 เส้นตรงคู่หนึ่งมีเส้นตรงเส้นหนึ่งตัด ถ้ามุมแย้งที่เกิดขึ้นมีขนาดเท่ากันแล้ว เส้นตรงคู่นี้จะขนานกัน

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 ด้านความรู้ (Knowledge : K)
1. อธิบายเกี่ยวกับเส้นขนานกับมุมแย้งและสมบัติของเส้นขนานกับมุมแย้ง
2. อธิบายวิธีการพิสูจน์เส้นขนานโดยใช้มุมแย้ง
4.2 ด้านทักษะ (Process : P)
1. ระบุขนาดของมุมแย้งและใช้สมบัติของเส้นขนานกับมุมแย้งในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
2. แสดงการพิสูจน์เส้นขนานโดยใช้มุมแย้ง
4.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude : A)
1. มีความกระตือรือร้นใฝ่รู้ สนใจและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน

5. สาระการเรียนรู้
1. เส้นขนานกับมุมแย้ง
2. การพิสูจน์เส้นขนานโดยใช้มุมแย้ง

6. รูปแบบการสอน ภายใต้สถานการณืการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid - 19)


 On site  On Line
 On Demand  On Hand
 On Air

7. โปรแกรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
(Covid - 19)
 Line Application  Microsoft Teams
 Zoom Cloud Meeting Application  RNN Learning Center
 Google Meet  Line Meeting

8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนของโรงเรียนมาตรฐานสากล (เฉพาะที่เกิดในแผนการจัดการเรียนรู้นี้)
 เป็นเลิศทางวิชาการ  สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา
 ล้าหน้าทางความคิด  ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
 ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก

9. Literacy thinking skill


Writing Reading Oral
เส้นตรงคู่หนึ่งมีเส้นตรงเส้นหนึ่งตัด เส้นตรงคู่นี้
จะขนานกันก็ต่อเมื่อมุมแย้งที่เกิดขึ้นมีขนาดเท่ากัน
1. ทาแบบฝึกหัด กรณีที่ 1 ถ้ามีเส้นตรงคู่หนึ่งขนานกัน และมี 1. อภิปรายแบบฝึกหัด
เรื่อง สมบัติของเส้นขนาน เส้นตรงเส้นหนึ่งตัดแล้ว มุมแย้งที่เกิดขึ้นจะมีขนาด เรื่อง สมบัติของเส้นขนาน
กับมุมแย้ง เท่ากัน กับมุมแย้ง
กรณีที่ 2 เส้นตรงคู่หนึ่งมีเส้นตรงเส้นหนึ่ง
ตัด ถ้ามุมแย้งที่เกิดขึ้นมีขนาดเท่ากันแล้ว เส้นตรงคู่
นี้จะขนานกัน

10. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)


บูรณาการกับศาสตร์พระราชา บูรณาการกับโรงเรียนสุจริต / หลักสูตรต้านทุจริต
 การมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง (ชาติ ศาสนา ศึกษา
พระมหากษัตริย์)  การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและ
 การมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง ผลประโยชน์ส่วนรวม
 การมีงาน มีอาชีพ  ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
 การเป็นพลเมืองดี มีนาใจ ้ เอื้ออาทร มีจิตสาธารณะ  STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
 พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม
บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  บูรณาการโรงเรียนวิถีพุทธ
 หลักความพอประมาณ  บูรณาการสะเต็มศึกษา
 หลักความมีเหตุผล  โรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
 หลักการมีภูมิคุ้มกัน  อื่น ๆ
 เงื่อนไขความรู้ (ระบุ)……………………………………………………………………....
 เงื่อนไขคุณธรรม …………………………………………………………………….............
11. กิจกรรมการเรียนรู้ (กระบวนการเรียนการสอนแบบนิรนัย)
ขั้นรับรู้/นา
1. ครูทบทวนความรู้เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างเส้นขนานและมุมภายใน โดยการตอบคาถาม ดังนี้
1. มุมภายในของเส้นขนานที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันได้ 180 องศา เส้นตรงสองเส้นนั้นจะ
ขนานกันหรือไม่ (ขนานกัน)
2. เราสามารถใช้ความสัมพันธ์อื่นๆในการพิสูจน์เส้นขนานได้อีกหรือไม่ ใช้ความสัมพันธ์ใด (ได้
ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นขนานและมุมแย้ง)

ขั้นเชื่อมโยง/สอน
2. ครูให้ทฤษฎีบทของมุมแย้งว่า “ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อมุม
แย้งมีขนาดเท่ากัน” และยกตัวอย่างให้นักเรียนเข้าใจความหมายมากขึ้น
1) กรณีที่ 1 ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน แล้วมุมแย้งจะมีขนาดเท่ากัน

จากภาพ ถ้า EFตัด AB // CD แล้ว จะได้ว่า 1=4


2=3
2) กรณีที่ 2 ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ถ้ามุมแย้งมีขนาดเท่ากัน แล้วเส้นตรงคู่นั้นจะขนาน
กัน

จากภาพ ถ้าKL ตัด GH กับ IJ และ 5 = 6 จะได้ว่า GH // IJ


3. ครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหา และแสดงวิธีหาคาตอบให้นักเรียนวิเคราะห์ตาม ดังนี้
จากรูปที่กาหนดให้ หาว่าเส้นตรงคู่ใดขนานกัน(จากโจทย์ RT ตัด PQ และ AB ทาให้เกิดมุมแย้งขึ้น
มุมแย้งที่เกิดขึ้นมีขนาดเท่ากัน ทาให้PQ // AB)

จากรูปที่กาหนดให้ หาว่าเส้นตรงคู่ใดขนานกัน
(จากโจทย์ AB // DC เพราะ BAE = CEF (โจทย์กาหนดให้)
DEA = CEF (มุมตรงข้ามเท่ากัน)
BAE = DEA (เท่ากับมุม CEF)
ดังนั้น AB // DC)

จากรูป กาหนดให้ AB // CD จงหาค่าของ m


(เนื่องจาก AB // CD จะได้ 3m = 87 (จากการเท่ากันของมุมแย้ง)
m =
m = 29
ดังนั้น ค่าของ m จะได้เท่ากับ 29)

จากรูป กาหนดให้ AB // CD จงหาค่าของ m


(DEF +2m = 180 (มุมตรง)
DEF = 180 - 2m
แต่ DEF = 3m + 40 (มุมแย้ง)
ดังนั้น 3m + 40 = 180 – 2m
3m + 2m = 180 – 40
5m = 140
m=
m = 28 นั่นคือ ค่าของ m เท่ากับ 28)

ขั้นประยุกต์ใช้/สรุป
4. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้
“ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน”
กรณีที่ 1 ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน แล้วมุมแย้งจะมีขนาดเท่ากัน
กรณีที่ 2 ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ถ้ามุมแย้งมีขนาดเท่ากัน แล้วเส้นตรงคู่นั้นจะขนาน
กัน
5. นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 2 หน้า 142 หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม
1 ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

12. ชิ้นงาน/ภาระงาน
1. แบบฝึกหัดที่ 2 หน้า 142 จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 ของ
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

13. สื่อ / แหล่งเรียนรู้


สื่อการเรียนรู้
1. สื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์(Power Point)ชุด ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นขนานกับมุมแย้ง

แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 ของสถาบันพัฒนาคุณภาพ
วิชาการ (พว.)

14. การวัดและการประเมิน
วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่าน
1. ด้านความรู้ (K) 1. แบบฝึกหัดที่ 2 หน้า 142 จาก
1. อธิบายเกี่ยวกับเส้นขนานกับ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน
มุมแย้งและสมบัติของเส้นขนานกับ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 ต้องมีผลการประเมิน
มุมแย้ง ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ไม่ต่ากว่าระดับ 1
2. อธิบายวิธีการพิสูจน์เส้นขนาน 2. แบบประเมินการตรวจงาน
โดยใช้มุมแย้ง รายบุคคล
2. ด้านทักษะ (P)
1. แบบฝึกหัดที่ 2 หน้า 142 จาก
1. ระบุ ข นาดของมุ มแย้ ง และใช้
หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน
สมบั ติ ข องเส้ น ขนานกั บ มุ ม แย้ ง ใน ต้องมีผลการประเมิน
คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1
การให้เหตุผลและแก้ปัญหา ไม่ต่ากว่าระดับ 1
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
2. แสดงการพิสูจน์เส้นขนานโดย
2.แบบประเมินทักษะกระบวนการคิด
ใช้มุมแย้ง
วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่าน
3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ต้องมีผลการประเมิน
(A)
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ไม่ต่ากว่าระดับ 1
- ใฝ่เรียนรู้
- มุ่งมั่นในการทางาน
แบบประเมินการตรวจงานรายบุคคล
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นขนานและมุมแย้ง
 ใบงาน  แบบฝึกทักษะ  กิจกรรม
________________________________________________________________________________
ชื่อ-สกุลนักเรียน...................................................................................................................ห้อง................เลขที่………….
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนขีด  ลงในช่องว่างที่ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
3 2 1 0
1. ความครบถ้วน
2. ความถูกต้อง
3. การตรงต่อเวลา
รวมคะแนน
คะแนนเฉลี่ย

ลงชื่อ...............................................ผู้ประเมิน
(นายจตุรพัฒน์ คานัน)
ครูผู้สอน
............./............./.............

เกณฑ์การประเมิน คะแนน 2.5 – 3.0 ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม (3)


คะแนน 1.5 – 2.4 ระดับคุณภาพ ดี (2)
คะแนน 1.0 – 1.4 ระดับคุณภาพ ผ่าน (1)
คะแนน 0 – 0.9 ระดับคุณภาพ ไม่ผ่าน (0)

สรุปผลการประเมิน  ดีเยี่ยม  ดี  ผ่าน  ไม่ผ่าน


เกณฑ์การให้ระดับคะแนน
ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
3 (ดีเยี่ยม) 2 (ดี) 1 (ผ่าน) 0 (ไม่ผ่าน)
1. ความครบถ้วน ทาใบงานหรือ ทาใบงานหรือ ทาใบงานหรือแบบ ไม่ทาใบงานหรือ
แบบฝึกทักษะ แบบฝึกทักษะหรือ ฝึกทักษะหรือ แบบฝึกทักษะหรือ
หรือกิจกรรม ได้ กิจกรรม ได้ กิจกรรม ได้น้อย กิจกรรม
ครบถ้วน สมบูรณ์ มากกว่าครึ่งหนึ่ง กว่าครึ่งหนึ่งของ
ของจานวน จานวนทั้งหมด
ทั้งหมด
2. ความถูกต้อง ทาใบงานหรือ ทาใบงานหรือ ทาใบงานหรือแบบ ไม่ทาใบงานหรือ
แบบฝึกทักษะ แบบฝึกทักษะหรือ ฝึกทักษะหรือ แบบฝึกทักษะหรือ
หรือกิจกรรม ได้ กิจกรรม ได้ 50% กิจกรรม ได้น้อย กิจกรรม
ถูกต้องมากกว่า - 80% กว่า 50%
80%
3. การตรงต่อเวลา ทาใบงานหรือ ทาใบงานหรือ ทาแบบฝึกหัดเสร็จ ไม่ส่งใบงานหรือ
แบบฝึกทักษะ แบบฝึกทักษะหรือ ช้ากว่ากาหนด 3-5 แบบฝึกทักษะหรือ
หรือกิจกรรม กิจกรรม เสร็จช้า วัน กิจกรรม
เสร็จตรงตาม กว่ากาหนด 1-2
กาหนดเวลา วัน
แบบประเมินทักษะกระบวนการคิด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
เรื่อง ...................................................................
 ใบงาน  แบบฝึกทักษะ  กิจกรรม
________________________________________________________________________________
ชื่อ-สกุลนักเรียน...................................................................................................................ห้อง................เลขที่………….
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนขีด  ลงในช่องว่างที่ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
3 2 1 0
1. ทักษะด้านการแสวงหาคาตอบ
2. ทักษะความสามารถในการทางาน
3. ทักษะการวิเคราะห์โจทย์
รวมคะแนน
คะแนนเฉลี่ย

ลงชื่อ...............................................ผู้ประเมิน
(นายจตุรพัฒน์ คานัน)
ครูผู้สอน
............./............./.............

เกณฑ์การประเมิน คะแนน 2.5 – 3.0 ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม (3)


คะแนน 1.5 – 2.4 ระดับคุณภาพ ดี (2)
คะแนน 1.0 – 1.4 ระดับคุณภาพ ผ่าน (1)
คะแนน 0 – 0.9 ระดับคุณภาพ ไม่ผ่าน (0)

สรุปผลการประเมิน  ดีเยี่ยม  ดี  ผ่าน  ไม่ผ่าน


เกณฑ์การให้ระดับคะแนน
ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
3 (ดีมาก) 2 (ดี) 1 (พอใช้) 0 (ปรับปรุง)
1. ทักษะด้านการ สามารถแสดงการ อธิบายการวิเคราะห์ แสดงการวิเคราะห์ ไม่แสดงการวิเคราะห์
แสวงหาคาตอบ วิเคราะห์แนวคิดและ แนวคิด และสร้าง แนวคิด อธิบายได้ แนวคิด
อธิบายวิธีคิดได้อย่าง วิธีการใหม่เพื่อ อย่างชัดเจนและ
ชัดเจนและถูกต้อง ประยุกต์ใช้ได้อย่าง ถูกต้อง
พร้อมทั้งสามารถ ถูกต้อง
สร้างวิธีการใหม่ เพื่อ
มาประยุกต์ใช้ให้
รวดเร็วแม่นยาและ
ถูกต้องยิ่งขึ้น
2. ทักษะความสามารถ มีความกระตือรือร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ขาดความ
ในการทางาน ทางานสาเร็จถูกต้อง ทางานสาเร็จถูกต้อง กระตือรือร้น แต่ กระตือรือร้นต่อการ
ตามกาหนด แต่ช้ากว่ากาหนด ทางานสาเร็จถูกต้อง ทางาน งานไม่เสร็จ
ช้ากว่ากาหนด ตามกาหนด
3. ทักษะการวิเคราะห์ สามารถวิเคราะห์ สามารถวิเคราะห์ สามารถวิเคราะห์ ไม่สามารถวิเคราะห์
โจทย์ โจทย์ปัญหาที่ โจทย์ปัญหาที่ โจทย์ปัญหาที่ โจทย์ปัญหาที่
กาหนดให้แล้วเข้าใจ กาหนดให้แล้วเข้าใจ กาหนดให้แล้วเข้าใจ กาหนดให้แล้วเข้าใจ
ปัญหาได้ถูกต้อง ตรง ปัญหาบางส่วนไม่ ปัญหาบางส่วนไม่ ปัญหาน้อยมาก
ประเด็น ชัดเจน ถูกต้องตรงประเด็น ถูกต้อง ตรงประเด็น หรือไม่เข้าใจปัญหา
ครอบคลุมกับสิ่งที่ ครอบคลุมกับสิ่งที่ เล็กน้อยบางส่วน
ต้องศึกษาได้ ต้องศึกษาได้ ครอบคลุมกับสิ่งที่
ต้องศึกษา
แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นขนานและมุมแย้ง
________________________________________________________________________________
ชื่อ-สกุลนักเรียน...................................................................................................................ห้อง................เลขที่………….
คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องว่างที่
ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษณะ ระดับคะแนน
รายการประเมิน
อันพึงประสงค์ 3 2 1 0
1. ใฝ่เรียนรู้ 1.1 ตั้งใจเรียน
1.2 เอาใจใส่ในการเรียน และมีความเพียรพยายามในการเรียน
1.3 เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ
1.4 ศึกษาค้นคว้า หาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ
เทคโนโลยีต่างๆแหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก
โรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม
1.5 บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบบางสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็น
องค์ความรู้
1.6 แลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยวิธีการต่างๆ และนาไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน
2. มุ่งมั่นใน 2.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย
การทางาน 2.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเร็จ
รวมคะแนน
คะแนนเฉลี่ย

ลงชื่อ...............................................ผู้ประเมิน
(นายจตุรพัฒน์ คานัน)
ครูผู้สอน
............./............./.............
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 2.5 – 3.0 ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม (3)
คะแนน 1.5 – 2.4 ระดับคุณภาพ ดี (2)
คะแนน 1.0 – 1.4 ระดับคุณภาพ ผ่าน (1)
คะแนน 0 – 0.9 ระดับคุณภาพ ไม่ผ่าน (0)

สรุปผลการประเมิน  ดีเยี่ยม  ดี  ผ่าน  ไม่ผ่าน


ระดับ เกณฑ์การพิจารณา
ดีเยี่ยม (3) 1. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยมทุกตัวชี้วัด
ดี (2) 1. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน 1 ตัวชี้วัดและระดับดี
จานวน 1 ตัวชี้วัด หรือ
2. ได้ผลการประเมินระดับดีทุกตัวชี้วัด
ผ่าน (1) 1. ได้ผลการประเมินระดับผ่านทุกตัวชี้วัด หรือ
2. ได้ผลการประเมินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป จานวน 1 ตัวชี้วัด และ
ระดับผ่าน จานวน 1 ตัวชี้วัด
ไม่ผ่าน (0) ได้ผลการประเมินระดับไม่ผ่าน ตั้งแต่ 1 ตัวชี้วัดขึ้นไป

เกณฑ์การให้ระดับคะแนน
รายการประเมิน ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
1.2 เอาใจใส่และมี ตั้งใจเรียน เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
ความเพียรพยายาม มีความเพียรพยายามใน และมีความเพียร ในการเรียน มีส่วน
ในการเรียนรู้ การเรียนรู้ มีส่วนร่วมใน พยายามในการ ร่วมใน
1.3 สนใจเข้าร่วม การเรียนรู้ และเข้าร่วม เรียนรู้มีส่วนร่วมใน การเรียนรู้ และเข้า
กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง การเรียนรู้ และเข้า ร่วมกิจกรรมการ
ๆ ๆ ทั้งภายใน และภาย ร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ เป็น
นอกโรงเรียนเป็นประจา เรียนรู้ต่าง ๆ บางครั้ง
บ่อยครั้ง
1.4 ศึกษาค้นคว้าหา ศึกษาค้นคว้าหา ศึกษาค้นคว้าหา ศึกษาค้นคว้า ไม่ศึกษาค้นคว้าหา
ความรู้จากหนังสือ ความรู้จากหนังสือ ความรู้จากหนังสือ ความรู้จากหนังสือ ความรู้
เอกสารสิ่งพิมพ์ สื่อ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ เอกสาร สิ่งพิมพ์
เทคโนโลยีต่างๆ แหล่ง เทคโนโลยี และ เทคโนโลยีและ สื่อเทคโนโลยี
เรียนรู้ทั้งภายใน และ สารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ สารสนเทศแหล่ง แหล่ง เรียนรู้ ทั้ง
ภายนอกโรงเรียน และ ทั้งภายใน และภาย นอก เรียนรู้ ทั้งภายในและ ภายในและภาย
เลือกใช้สื่อ ได้อย่าง โรงเรียน เลือกใช้สื่อได้ ภายนอกโรงเรียน นอกโรงเรียน
เหมาะสม อย่างเหมาะสม มีการ และเลือกใช้สื่อได้ เลือกใช้สื่อได้อย่าง
1.5 บันทึกความรู้ บันทึกความรู้ อย่างเหมาะสม เหมาะสม และมี
วิเคราะห์ข้อมูลจากสิ่ง วิเคราะห์ข้อมูล มีการบันทึกความรู้ การบันทึกความรู้
ที่เรียนรู้สรุปเป็น องค์ สรุปเป็นองค์ความรู้ และ วิเคราะห์ข้อมูล สรุป
ความรู้ แลก เปลี่ยนเรียนรู้ ด้วย เป็นองค์ความรู้ และ
1.6 แลกเปลี่ยน วิธีการที่หลาก หลาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ
เรียนรู้ ด้วยวิธีการ และนาไป ใช้ในชีวิต ผู้อื่นได้
ต่างๆ และนาไปใช้ใน ประจาวันได้
ชีวิตประจาวัน
เกณฑ์การให้ระดับคะแนน (ต่อ)
รายการประเมิน ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
2.1 มีความตั้งใจและ ตั้งใจและ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิด ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
พยายามในการทางาน รับผิดชอบในการ ในการปฏิบัติหน้าที่ที่ ชอบ ในการปฏิบัติ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบตั ิหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมายให้ หน้าที่ที่
ได้รับมอบหมาย สาเร็จ มีการปรับปรุง ได้รับมอบหมายให้
ให้สาเร็จ มีการปรับปรุง และพัฒนาการ สาเร็จ มีการ
และ ทางานให้ดีขึ้น ปรับปรุง การ
พัฒนาการทางาน ทางานให้ดีขึ้น
ให้ดีขึ้นด้วยตนเอง
2.2 มีความอดทนและ ทางานด้วยความ ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความ ไม่ขยัน อดทน
ไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรค ขยันอดทน และ อดทน และพยายาม ขยันอดทน และ ในการทางาน
เพื่อให้งานสาเร็จ พยายามให้งาน ให้งานสาเร็จตาม พยายาม ให้งาน
สาเร็จตาม เป้าหมาย ไม่ย่อท้อ สาเร็จตาม
เป้าหมายภายใน ต่อปัญหาในการ เป้าหมาย และ
เวลาที่กาหนด ทางาน และชื่นชม ชื่นชม ผลงานด้วย
ไม่ย่อท้อต่อปัญหา ผลงานด้วยความ ความ
แก้ปัญหาอุปสรรค ใน ภาคภูมิใจ ภาคภูมิใจ
การทางาน และ ชื่นชม
ผลงานด้วย
ความภาคภูมิใจ
บันทึกหลังสอนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
รหัสวิชา ค22101 รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน 3
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1/2564 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
ชื่อหน่วย เส้นขนาน เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นขนานและมุมแย้ง จานวน 1 ชั่วโมง

สรุปผลการเรียนรู้
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...........................................................
ปัญหาและอุปสรรค
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขพัฒนา
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ........................................... ลงชื่อ...........................................
(นายจตุรพัฒน์ คานัน) (นางสาวนารีรัตน์ พลแจ้ง)
ครูผู้สอน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
................/............../............... ................/............../...............

ความคิดเห็นของกลุ่มบริหารงานวิชาการ
.................................................................................................................................................................................. .......
.........................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...........................................
(นายวรจักร์ ถาวรกุล)
รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ
............../............../...............

You might also like