Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 93

ความรอบรู้ด้านสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพ

ของผู้สูงอายุกะเหรี่ยง

ว่าที่ร้อยตรี ยุทธการ ประพากรณ์

พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ

บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กุมภาพันธ์ 2562
ความรอบรู้ด้านสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพ
ของผู้สูงอายุกะเหรี่ยง

ว่ าทีร่ ้ อยตรี ยุทธการ ประพากรณ์

วิทยานิพนธ์ นีเ้ สนอต่ อมหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ เพื่อเป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตาม


หลักสู ตรปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กุมภาพันธ์ 2562


กิตติกรรมประกาศ

วิ ท ยานิ พ นธ์ ฉ บับ นี้ ส าเร็ จ ได้ ด้ ว ยความกรุ ณา และความช่ ว ยเหลื อ เป็ นอย่ า งดี ยิ่ ง จาก
ผูช้ ่ วยศาสตราจารย์ ดร.โรจนี จิ นตนาวัฒน์ และรองศาสตราจารย์ ดร.เดชา ทาดี อาจารย์ที่ปรึ กษา
วิทยานิ พนธ์ ซึ่ งได้เมตตาเอาใจใส่ สละเวลาในการตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่ องต่างๆ ในทุกขั้นตอน
ของการทาวิทยานิ พนธ์ จนทาให้วิทยานิ พนธ์เสร็ จสมบูรณ์ ไปได้ด้วยดี ผูว้ ิจยั ซาบซึ้ งในความกรุ ณา
ของท่านเป็ นอย่างยิ่ง จึงขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสู งมา ณ ที่น้ ี และกราบขอบพระคุณคณาจารย์
ทุกท่านที่ได้ประสิ ทธิ์ ประสาทวิชาความรู ้ในระหว่างการศึกษาครั้งนี้

ขอขอบพระคุ ณ ผูท้ รงคุ ณ วุฒิ ทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ก รุ ณ าตรวจสอบแก้ไ ขเครื่ อ งมื อที่ ใ ช้ใ นการวิ จ ัย
ตลอดจนได้เสนอความคิดเห็นในการปรับปรุ งเครื่ องมือให้มีประสิ ทธิ ภาพยิ่งขึ้น และกราบขอบพระคุ ณ
คณะกรรมการสอบวิ ท ยานิ พ นธ์ ทุ ก ท่ า น ที่ ก รุ ณาให้ ข ้อ เสนอแนะที่ เ ป็ นประโยชน์ ใ นการท า
วิทยานิพนธ์เพื่อให้วทิ ยานิพนธ์มีความสมบูรณ์ยงิ่ ขึ้น และสาเร็ จลุล่วงไปด้วยดี

ขอขอบพระคุ ณเจ้าหน้าที่ สานักงานสาธารณสุ ข จัง หวัดแม่ ฮ่องสอน สานักงานสาธารณสุ ข


อาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน สานักงานสาธารณสุ ขอาเภอแม่สะเรี ยง สานักงานสาธารณสุ ขอาเภอแม่ลา
น้อย โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตาบลป่ าแป๋ ตาบลห้วยปู ลิง ตาบลแม่เหาะ ตาบลผาบ่อง และผูท้ ี่
เกี่ ยวข้อง ทุกท่านที่ให้ความร่ วมมือและให้ความสะดวกอย่างยิ่งในการศึกษาวิจยั ครั้งนี้ ขอขอบพระคุ ณ
กลุ่มตัวอย่างที่สละเวลาร่ วมในการวิจยั ครั้งนี้ให้สาเร็ จลุล่วงไปด้วยดี

ขอขอบพระคุ ณสานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่ งชาติ (วช.) ที่ให้ทุนสนับสนุ นการทาวิจยั ใน


ครั้งนี้

สุ ดท้า ยนี้ ผูว้ ิ จยั ขอกราบขอบพระคุ ณ บิ ดา มารดา ญาติ พี่ น้อง ที่ ใ ห้ค วามช่ วยเหลื อและให้
กาลังใจตลอดมา ขอขอบพระคุ ณเพื่อนนักศึกษาปริ ญญาโท และเพื่อนร่ วมงานทุกท่านที่ให้ความห่ วงใย
และก าลัง ใจด้ว ยดี ตลอดมา คุ ณ ความดี และคุ ณ ประโยชน์ ที่ อนั เกิ ดจากการท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ค รั้ งนี้
จงบังเกิดแก่บุพการี คณาจารย์ ผูส้ ู งอายุ และผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน

ว่าที่ร้อยตรี ยุทธการ ประพากรณ์


หัวข้ อวิทยานิพนธ์ ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุ
กะเหรี่ ยง

ผู้เขียน ว่าที่ร้อยตรี ยุทธการ ประพากรณ์

ปริญญา พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลผูส้ ู งอายุ)

คณะกรรมการทีป่ รึกษา ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. โรจนี จินตนาวัฒน์ อาจารย์ที่ปรึ กษาหลัก


รองศาสตราจารย์ ดร. เดชา ทาดี อาจารย์ที่ปรึ กษาร่ วม

บทคัดย่ อ

ความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพ เป็ นสิ่ งสาคัญต่อความสาเร็ จของการสร้ างเสริ มสุ ขภาพผูส้ ู งอายุ การ
วิจยั เชิ งพรรณนาหาความสัมพันธ์ครั้งนี้ มีวตั ถุ ประสงค์เพื่อศึกษาความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ พฤติกรรม
ส่ งเสริ มสุ ขภาพ และความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพใน
ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง กลุ่มตัวอย่างเป็ นผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงที่อาศัยอยู่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนจานวน 88 ราย
เลื อกกลุ่ ม ตัวอย่า งแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) ระหว่า งเดื อนธันวาคม 2560 ถึ งเดื อ น
กุมภาพันธ์ 2561 เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่ วนบุคคล แบบสอบถาม
ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ และแบบสอบถามพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงขาว
วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติสหสัมพันธ์สเปี ยร์แมน

ผลการวิจยั พบว่า ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงมีความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพอยูใ่ นระดับต่ า และมีพฤติกรรม
ส่ งเสริ มสุ ขภาพอยูใ่ นระดับปานกลาง ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรม
ส่ งเสริ มสุ ขภาพในระดับปานกลางอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r = 0.60)

ผลการวิจยั ครั้งนี้ เป็ นประโยชน์สาหรับบุคลากรทางสุ ขภาพ ในการส่ งเสริ มความรอบรู ้ ดา้ น


สุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพให้กบั ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง


Thesis Title Health Literacy and Health Promoting Behaviors Among Karen Older Persons

Author Acting Sub Lt. Yoottakan Prapakorn

Degree Master of Nursing Science (Gerontological Nursing)

Advisory Committee Assistant Professor Dr. Rojanee Chintanawat Advisor


Associate Professor Dr. Decha Tamdee Co-advisor

ABSTRACT

Health literacy is essential for successful health promotion among older persons. This
correlation descriptive research aimed to investigate health literacy, health promoting behaviors, and
the association between health literacy and health promoting behaviors among Karen older persons.
Participants were Karen older persons who resided in Mae Hong Son Province. The 88 participants
were selected by using purposive sampling from December 2017 to February 2018. The research
instruments used in this study were a demographic data recording form, health literacy questionnaire,
and health promoting behaviors of Karen Ethnic Group questionnaire. The data were analyzed using
descriptive statistics and the Spearman’s correlation.

The results showed that the participants had a low level of health literacy and a moderate level
of health promoting behaviors. Health literacy had a positive correlation with health promoting
behaviors at a moderate level with a statistical significance of .001 (r = 0.60).

These results from this study can determine the benefit of health care professionals in
encouraging health literacy and health promoting behaviors among Karen older persons.


สารบัญ
หน้า

กิตติกรรมประกาศ ค
บทคัดย่อภาษาไทย ง
ABSTRACT จ
สารบัญตาราง ซ
บทที่ 1 บทนา 1
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา 1
วัตถุประสงค์การวิจยั 6
คาถามการวิจยั 6
นิยามศัพท์ 6
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 8
สถานการณ์ผสู ้ ู งอายุกะเหรี่ ยงในประเทศไทย 9
พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุ 14
ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ 22
ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพกับพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ 31
กรอบแนวคิดในการวิจยั 32
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจยั 33
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 33
เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั 34
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่ องมือ 37
การพิทกั ษ์สิทธิ ของกลุ่มตัวอย่าง 38
ขั้นตอนและวิธีการรวบรวมข้อมูล 39
การวิเคราะห์ขอ้ มูล 40


สารบัญ (ต่ อ)
หน้า

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลและการอภิปรายผล 41


ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 41
การอภิปรายผล 45
บทที่ 5 สรุ ปผลการวิจยั และข้อเสนอแนะ 49
สรุ ปผลการวิจยั 49
ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้ 50
ข้อเสนอแนะในการทาวิจยั ครั้งต่อไป 50
เอกสารอ้างอิง 51
ภาคผนวก 59
ภาคผนวก ก เอกสารรับรองโครงการวิจยั คณะพยาบาลศาสตร์ 60
ภาคผนวก ข เอกสารการพิทกั ษ์สิทธิ์ ของกลุ่มตัวอย่าง 62
ภาคผนวก ค หนังสื ออนุญาตเก็บข้อมูล 68
ภาคผนวก ง เครื่ องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลและดาเนินการวิจยั 69
ภาคผนวก จ สัดส่ วนของกลุ่มตัวอย่างในแต่ละพื้นที่ 75
ภาคผนวก ฉ ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ
รายข้อ 76
ภาคผนวก ช ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพรายข้อ 79
ภาคผนวก ซ ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ
จาแนกตามข้อมูลส่ วนบุคคล 80
ภาคผนวก ฌ ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพรายด้าน 81
ภาคผนวก ญ รายนามผูท้ รงคุณวุฒิ 82
ภาคผนวก ฎ รายนามผูท้ รงคุณวุฒิแปลภาษา 83
ประวัติผเู ้ ขียน 84


สารบัญตาราง
หน้า

ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส


ระดับการศึกษา ความเพียงพอของรายได้ ศาสนา และโรคประจาตัว 41
ตารางที่ 2 คะแนนแบบวัด ช่วงคะแนน ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับ
ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพโดยรวมของกลุ่มตัวอย่าง 43
ตารางที่ 3 คะแนนแบบวัด ช่วงคะแนน ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพรายด้านของกลุ่มตัวอย่าง 44
ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามระดับความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ
และพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ 44


บทที่ 1
บทนำ

ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปัญหำ

ปั จจุบนั โลกมีแนวโน้มของประชากรผูส้ ู งอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ วและต่อเนื่ อง โดยมีอตั ราส่ วน


ของผูส้ ู งอายุที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไปอยูถ่ ึง 1 ใน 8 ของประชากรโลก และมีการคาดการณ์วา่ อัตราส่ วนของ
ผูส้ ู ง อายุจะเพิ่มขึ้ นเป็ น 1 ใน 6 ของประชากรโลก ในปี ค.ศ. 2030 (United Nation, 2016) ซึ่ งท าให้
โครงสร้างประชากรของโลกนั้นเข้าสู่ ภาวะ “ประชากรผูส้ ู งอายุ” (aging populations) ประเทศไทยก็มี
จานวนผูส้ ู งอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ วและต่อเนื่ องเช่นกัน จากปี พ.ศ. 2548 มีจานวนผูส้ ู งอายุคิดเป็ นร้อยละ
10 ของประชากรทั้งประเทศ เพิ่มขึ้นเป็ นร้ อยละ 17.1 ของประชากรทั้งหมดในปี พ.ศ. 2560 (มูลนิ ธิ
สถาบันวิจยั และพัฒนาผูส้ ู ง อายุไ ทย, 2561) จึ งนับ ได้ว่า ประเทศไทยในขณะนี้ ไ ด้ก ลายเป็ นสั ง คม
ผูส้ ู งอายุแล้ว และมีการคาดการณ์ ว่าประเทศไทยจะกลายเป็ นสังคมสู งอายุอย่างสมบูรณ์ (Complete
Aged Society) ในปี พ.ศ. 2564 เมื่อมีประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไปมากถึงร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด
(มูลนิ ธิสถาบันวิจยั และพัฒนาผูส้ ู งอายุไทย, 2560) จังหวัดแม่ฮ่องสอนมี ผูส้ ู งอายุจานวน 27,448 คน
ในปี พ.ศ. 2557 คิดเป็ น 10.30 และเพิ่มขึ้นเป็ น 28,437 คน ในปี พ.ศ. 2558 คิดเป็ นร้อยละ 11.45 ของ
ประชากรทั้งหมด (สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัดแม่ฮ่องสอน, 2559) และยังมีการคาดการณ์ดชั นีการ
สู งวัยของจังหวัดแม่ฮ่องสอน (ร้อยละของอัตราส่ วนจานวนประชากรผูส้ ู งอายุ 60 ปี ขึ้นไป ต่อจานวน
ประชากรวัยเด็กต่ากว่า 15 ปี ) พบว่า มีอตั ราสู งขึ้นจาก ร้อยละ 59.13 ในปี พ.ศ. 2558 เป็ นร้อยละ 81.93
และ ร้อยละ 106.65 ในปี พ.ศ. 2563 และ พ.ศ. 2568 ตามลาดับ (ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่ อสาร สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์, 2557) โดยจากการศึกษา
กลุ่มชาติพนั ธุ์ในประเทศไทย พบว่า จังหวัดแม่ฮ่องสอนมีสัดส่ วนจานวนกลุ่มชาติพนั ธุ์ต่อประชากร
ทั้งหมดในจังหวัดมากที่สุด (ศู นย์มานุ ษยวิทยาสิ รินธร, 2559) โดยมีจานวนกลุ่มชาติพนั ธุ์ ประมาณ
103,801 คน ต่ อ ประชากรในจัง หวัดทั้ง หมด 264,196 คน คิ ด เป็ นร้ อยละ 39.29 ของประชากรทั้ง
จังหวัด (สานักงานจังหวัดแม่ฮ่องสอน, 2556) ในจานวนดังกล่าวเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงถึงร้อยละ
79.3 จะเห็นได้ผสู ้ ู งอายุทวั่ ไปในจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีอตั ราเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงอาจมีผลต่อจานวน
ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงที่เพิ่มขึ้นด้วย

1
วัยสู งอายุเป็ นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงในทางเสื่ อมถอยทั้งด้านร่ างกาย จิตใจ และสังคม โดยใน
วัยสู งอายุบุคคลจะมีสภาพร่ างกายที่เปลี่ยนแปลงไป การทาหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ เสื่ อมถอยลงตาม
ธรรมชาติ เช่น หลอดเลือดแข็งตัวขาดความยืดหยุน่ ส่ งผลให้ความดันโลหิ ตสู งขึ้น (Miller, 2009) การ
ท าหน้า ที่ ข องเบต้า เซลล์เ สื่ อมลงตามวัย มี ก ารหลั่ง อิ นซู ลิ นที่ ผิดปกติ และมี ก ารพร่ องหน้า ที่ ข อง
อินซู ลิน ส่ งผลทาให้เกิดภาวะน้ าตาลในเลือดสู ง (Fonseca, 2009) กระดู กผิวอ่อนหัวเข่าบางลงตามวัย
ส่ งผลให้เกิดภาวะข้อเข่าเสื่ อม (Harooni, Hassanzadeh, & Mostafavi, 2014) ซึ่งผลจากการเปลี่ยนแปลง
ทางร่ างกายเหล่านี้ ค่อยเป็ นค่อยไปโดยธรรมชาติและไม่สามารถคื นกลับได้ (Mofrad, Jahantigh, &
Arbabisarjou, 2016) ยิ่งถ้าหากมีพฤติกรรมการปฏิ บตั ิตนที่ไม่เหมาะสม ก็จะทาให้วยั สู งอายุมีปัญหา
การเจ็บป่ วยด้วยโรคเรื้ อรังตามมาได้ (Senol, Ünalan, Soyuer, & Argun, 2014) โดยพบว่าตั้งแต่ปี พ.ศ.
2545 -2560 ผูส้ ู งอายุไทยมีปัญหาสุ ขภาพด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิ ตสู งเพิ่มขึ้น จากร้ อยละ
8.3 เป็ นร้อยละ 16.5 และร้อยละ 20.0 เป็ นร้อยละ 33.6 ตามลาดับ จะเห็นได้วา่ เมื่อเทียบกับปี พ.ศ.2545
ในปี พ.ศ. 2560 ผูส้ ู งอายุที่มีปัญหาโรคเบาหวานและความดันโลหิ ตสู งเพิม่ ขึ้น 2 เท่าตัวและ 1.7 เท่าตัว
ตามลาดับ (มูลนิ ธิ สถาบันวิจยั และพัฒนาผูส้ ู งอายุไทย, 2561) ซึ่ งกลุ่ มผูส้ ู งอายุก ะเหรี่ ยงในจังหวัด
แม่ฮ่องสอนก็มีปัญหาสุ ขภาพที่คล้ายคลึงกับผูส้ ู งอายุโดยทัว่ ไป โดยส่ วนใหญ่พบว่าเจ็บป่ วยด้วยโรค
เรื้ อรั ง ได้แก่ โรคเบาหวานร้ อยละ 63.51 และโรคความดันโลหิ ตสู งร้ อยละ 53.41 ของประชากร
ทั้งหมดที่ป่วยในจังหวัด (สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัดแม่ฮ่องสอน, 2559) ซึ่ งโรคเหล่านี้ ลว้ นเกี่ยวข้อง
กับพฤติกรรมสุ ขภาพที่ไม่เหมาะสม (Barile et al., 2015)

พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ (health promotion behavior) หมายถึ ง การกระทากิ จกรรมอย่างต่อเนื่ อง
ของบุ ค คล โดยมี เ ป้ า หมายส าคัญ ในการมี สุ ข ภาพที่ ดี (Pender, Murdaugh, & Parsons, 2011) โดย
ปฏิ บตั ิกิจกรรมให้ครอบคลุ มพฤติกรรมทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความรับผิดชอบต่อสุ ขภาพ (health
responsibility) 2) ด้านกิจกรรมทางกาย (physical activity) 3) ด้านโภชนาการ (nutrition) 4) ด้านการมี
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (interpersonal relation) 5) ด้านการพัฒนาทางจิตวิญญาณ (spiritual growth)
และ 6) ด้านการจัดการกับความเครี ยด (stress management) ซึ่ งหากผูส้ ู งอายุปฏิบตั ิ พฤติกรรมส่ งเสริ ม
สุ ขภาพอย่างต่อเนื่อง จะส่ งผลให้ผสู ้ ู งอายุสามารถคงไว้หรื อเพิ่มระดับความสามารถในการทาหน้าที่ของ
ร่ างกาย มีความผาสุ กและมีสุขภาวะที่ดีท้ งั ทางร่ างกาย จิตใจ และสังคม (Edelman & Mandle, 2006)
ซึ่งจากการศึกษาของ โมฟราด และคณะ (Mofrad et al., 2016) ที่ศึกษาพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของ
ผูส้ ู งอายุโรคเรื้ อรังในประเทศอิหร่ าน พบว่า พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ดี สามารถลดอัตราการป่ วย
ด้วยโรคเรื้ อรังในผูส้ ู งอายุได้ อีกทั้งพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ดียงั ส่ งผลให้ผสู ้ ู งอายุมีคุณภาพชีวติ ที่ดี
ขึ้นอีกด้วย เป็ นไปในทานองเดี ยวกับการศึกษาของ ซี นอล และคณะ (Senol et al., 2014) ที่ได้ศึกษา
ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพและคุณภาพชี วติ ของผูส้ ู งอายุที่อาศัยอยูท่ ี่บา้ นพักคนชรา

2
ในประเทศตุรกี พบว่า พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ดีมีความสัมพันธ์กบั คุณภาพชีวิตที่ดีของผูส้ ู งอายุที่
อาศัยที่ บา้ นพักคนชรา อีกทั้งยังสามารถลดภาวะเสี่ ยงทางสุ ขภาพและลดอัตราการพึ่งพาผูอ้ ื่ นลงได้
อย่างมีนยั สาคัญ สาหรับในประเทศไทย มีการศึกษาของ กิ ตติมาพร โลกาวิทย์ (2556) ที่ศึกษาภาวะ
สุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุในชุ มชน จังหวัดปทุมธานี พบว่า ภาวะสุ ขภาพมี
ความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ เป็ นไปในทานองเดี ยวกับการศึกษา
ของ วริ ศา จันทรังสี วรกุล (2553) ที่ศึกษาพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพและภาวะสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุใน
สถานสงเคราะห์คนชรา จังหวัดนครสวรรค์ พบว่า พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพมีความสัมพันธ์ทางบวก
กับภาวะสุ ขภาพอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ดังนั้นพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ดีจึงมีความเกี่ยวข้องกับ
ภาวะสุ ขภาพที่ดี

จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงพบว่า


ยังมีน้อย โดยมีการศึก ษาของ พี รนุ ช จันทรคุ ปต์ (2540) ที่ไ ด้ศึก ษาพฤติกรรมการดู แลตนเองและ
คุณภาพชี วิตของผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงในจังหวัดเชี ยงใหม่ พบว่า ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงส่ วนใหญ่มีพฤติกรรม
การรับประทานอาหารวันละ 3 มื้อ แต่ได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วน รับประทานนม นมถัว่ เหลือง หรื อ
ปลาเล็ กปลาน้อยในแต่ ละวันน้อย ดื่ มน้ าน้อยกว่า 6 แก้วต่อวัน ชอบรั บประทานอาหารสุ กๆดิ บ ๆ
รวมถึ งสู บบุหรี่ และดื่ มสุ ราเป็ นประจา เมื่อรู ้สึกโกรธ เสี ยใจ หรื อ หงุ ดหงิดจะเก็บอารมณ์ ไว้คนเดี ยว
และปั ญหาสุ ขภาพที่พบมากที่สุด คือ ปั ญหาของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ รองลงมา คือ โรคผิวหนัง
และจากการศึกษาพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงขาว อายุระหว่าง 15-45 ปี ใน
จังหวัดแม่ฮ่องสอนที่มีความเสี่ ยงต่อโรคเรื้ อรังของ ศิวาพร มหาทานุ โชค (2558) พบว่า กลุ่มชาติพนั ธุ์
กะเหรี่ ยงขาว มีการแสดงออกของพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพทั้ง 6 ด้าน คือ ด้านความรับผิดชอบต่อ
สุ ขภาพ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านภาวะโภชนาการ ด้านการออกกาลังกาย ด้านการพัฒนา
ทางจิตวิญญาณ และด้านการจัดการความเครี ยด มีการแสดงออกโดยรวมเหมาะสมปานกลาง แต่เนื่ องจาก
การศึ ก ษานี้ ศึ กษาในกลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ์ ก ะเหรี่ ยงขาวอายุ 15-45 ปี ขึ้ นไป จึ งไม่ส ามารถที่ จะบ่ง บอกถึ ง
พฤติ กรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ แท้จริ งของผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง อี กทั้งบริ บทและวิถีการดาเนิ นชี วิตของ
ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงส่ วนใหญ่อาศัยอยู่บนพื้นที่ราบสู งซึ่ งมีความแตกต่างจากผูส้ ู งอายุทวั่ ไป การเข้าถึ ง
แหล่งข้อมู ลและการบริ การด้านสุ ขภาพมีขอ้ จากัด จึ งมีความจาเป็ นที่ตอ้ งทราบพฤติกรรมส่ งเสริ ม
สุ ขภาพและปั จจัยที่เกี่ยวข้องของผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง

โดยทัว่ ไปปั จจัยที่เกี่ ยวข้องกับการปฏิ บตั ิพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพให้คงอยู่อย่างต่อเนื่ อง มี


หลายปั จ จัย ได้ แ ก่ อายุ รายได้ ระดับ การศึ ก ษา สถานภาพสมรส การรั บ รู ้ ส มรรถนะแห่ ง ตน
(perceived self-efficacy) (ขวัญดาว กล่ ารัตน์, 2554; เนตรดาว จิตโสภากุล , 2557; Chamroonsawasdi,

3
Phoolphoklang, Nanthamongkolchai, & Munsawaengsub, 2010) การสนับสนุ นจากครอบครัว เพื่อน
และสังคม (นิทรา กิจธี ระวุฒิวงษ์ และ ศันสนีย ์ เมฆรุ่ งเรื องวงศ์, 2559; Lim, Noh, & Kim, 2015) ปัจจัย
เหล่ า นี้ ล้ว นมี ผ ลโดยตรงต่ อ พฤติ ก รรมส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพในการศึ ก ษาทั้ง กลุ่ ม ผู ใ้ หญ่ แ ละผู ส้ ู ง อายุ
(Mofrad et al., 2016) ส่ ว นเพศ เป็ นปั จ จัย ที่ มี แ ละไม่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ พฤติ ก รรมส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพของ
ผูส้ ู งอายุ (ทิพย์กมล อิสลาม, 2557; ธรรมพร บัวเพ็ชร์ , 2552; Senol et al., 2014) โดยปั จจัยที่ได้กล่าวถึง
ข้า งต้น นั้น เป็ นปั จ จัย ที่ ต้อ งอาศัย การสนับ สนุ น จากหลายบุ ค คลหรื อ บางปั จ จัย นั้น ก็ เ ป็ นปั จ จัย ที่
ปรั บ เปลี่ ย นไม่ ไ ด้ รวมทั้ง มี ก ารศึ ก ษาจ านวนมากในผูส้ ู ง อายุ แต่ มี ปั จ จัย ที่ ส าคัญอี ก ปั จจัย หนึ่ ง ที่
เกี่ยวข้องและมีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุ นัน่ ก็คือ ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ
(health literacy) (Suka et al., 2015) โดยจากการทบทวนอย่างเป็ นระบบของ เชสเซอร์ , วูด, สมูทเธอร์ ,
และ โรเจอร์ (Chesser, Wood, Smothers, & Roger, 2016) เกี่ยวกับความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุ
ในประเทศสหรัฐอเมริ กา จากงานวิจยั จานวน 8 ฉบับที่ผา่ นเกณฑ์ กลุ่มตัวอย่างผูส้ ู งอายุที่ศึกษาตั้งแต่
จานวน 33 ถึ ง 3,000 ราย มี 2 รายงานวิจยั ที่ พบว่า ความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพที่ ต่ ามี ค วามสัมพันธ์ ก ับ
ผลลัพธ์ของสุ ขภาพที่ไม่ดี (poorer health outcomes) อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ดังนั้นความรอบรู ้ดา้ น
สุ ขภาพจึงมี ความสาคัญต่อการปรับพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพและควบคุ มโรคเรื้ อรั งโดยเฉพาะใน
กลุ่มผูส้ ู งอายุ (Smith et al., 2015)

ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ เป็ นทักษะที่จาเป็ นในการควบคุมภาวะสุ ขภาพ (Sørensen et al., 2012)
ซึ่ งความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ เป็ นความสามารถเฉพาะของบุคคล ในการอ่าน เข้าใจ เข้าถึง เลือกใช้ขอ้ มูล
รวมถึ งมี การพัฒนาความรู ้ ทาความเข้าใจในข้อมูลแต่ละบริ บท มี การเปลี่ ยนแปลงทัศนคติ และเกิ ด
แรงจู ง ใจในการปฏิ บ ตั ิ พ ฤติ ก รรมให้ ถู ก ต้องเหมาะสมกับ ตนเอง (Nutbeam, 2008) ประกอบด้ว ย
ความสามารถของบุคคล 3 ด้านคือ 1) ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพพื้นฐาน (functional health literacy/basic
skills and understanding) เป็ นความสามารถในด้านการอ่าน และเขียน ทักษะในการเข้าถึงข้อมูล และ
ความเข้าใจข้อมูลที่เกี่ยวกับภาวะสุ ขภาพ 2) ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพด้านการมีปฏิสัมพันธ์/การติดต่อสื่ อสาร
(interactive /communication health literacy) เป็ นความสามารถในด้านการฟั ง พูด ทักษะการติ ดต่อสื่ อสาร
กับบุคลากรทางสุ ขภาพหรื อบุคคลทัว่ ไป เพื่อเพิ่มความสามารถในการมีส่วนร่ วมในการดู แลสุ ขภาพ
และจัดการภาวะสุ ขภาพได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 3) ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพด้านวิจารณญาณ (critical
health literacy) เป็ นความสามารถในการประเมินข้อมูลสารสนเทศ ทักษะการรู ้เท่าทันสื่ อ เพื่อสามารถ
ตัดสิ นใจเลื อกใช้ขอ้ มูลที่ เป็ นประโยชน์ เพื่อการดู แลสุ ขภาพของตนเองอย่างเหมาะสม โดยถ้าหาก
บุคคลขาดความสามารถในการดูแลสุ ขภาพของตนเอง จานวนผูป้ ่ วยด้วยโรคเรื้ อรังก็จะเพิ่มขึ้น ทาให้
ค่ า ใช้ จ่ า ยในการรั ก ษาพยาบาลเพิ่ ม สู ง ขึ้ น (World Health Organization [WHO], 2009) ต้อ งพึ่ ง พา
บริ การทางการแพทย์และยารักษาโรคที่มีราคาแพง โรงพยาบาลและหน่ วยบริ การสุ ขภาพจะต้องมี

4
ภาระหนักในการรักษาพยาบาล จนทาให้เกิ ดข้อจากัดในการทางานส่ งเสริ มสุ ขภาพและไม่อาจสร้าง
ความเท่าเทียมในการเข้าถึงบริ การอย่างสมบูรณ์ได้ (ขวัญเมือง แก้วดาเกิง และ นฤมล ตรี เพชรศรี อุไร,
2554) ซึ่ งจากการศึกษาของ เรย์ซี่ และคณะ (Reisi et al., 2014) ที่ศึกษาความสัมพันธ์ของความรอบรู ้
ด้านสุ ขภาพพื้นฐานและพฤติ กรรมส่ ง เสริ มสุ ข ภาพในผูส้ ู งอายุจงั หวัดอิ สฟาฮาน ประเทศอิ หร่ า น
พบว่า ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพพื้นฐานมีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ โดยผูส้ ู งอายุที่มี
ความรอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพพื้ นฐานที่ ไ ม่ เ พี ย งพอ (inadequate health literacy) จะมี พ ฤติ ก รรมส่ ง เสริ ม
สุ ขภาพในด้านการออกกาลังกายและการรั บประทานผักและผลไม้น้อย เป็ นไปในทานองเดี ยวกับ
การศึกษาของ หลิว, หลิว, หลี่, และ เฉิน (Liu, Liu, Li, & Chen, 2015) ที่ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง
ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ พฤติกรรมสุ ขภาพและภาวะทางสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุชาวจีนพบว่า ผูส้ ู งอายุที่มี
ความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพที่ ดีจะมี พ ฤติ กรรมส่ ง เสริ มสุ ขภาพที่ ดี ในด้า นความรั บผิดชอบต่ อสุ ข ภาพ
ตนเอง การมี กิจกรรมทางกาย และการไม่สูบบุหรี่ รวมทั้งจากการศึ กษาไปข้างหน้า (cohort study)
ของ กิบอร์ , เรดเนวาลด์, เจนเซ่น, และ วินเทอร์ (Geboers, Reijneveld, Jansen, & Winter, 2016) ศึกษา
ในผูส้ ู งอายุจานวน 3,241 ราย อายุเฉลี่ย 68.9 ปี พบว่า ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในระดับต่ามีความสัมพันธ์
กับพฤติกรรมสุ ขภาพที่ไม่ดีอย่างมีนัยสาคัญทางสถิ ติ ดังนั้นผูส้ ู งอายุที่มีความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพใน
ระดับสู งหรื อเพียงพอ จะสามารถแสวงหาความรู ้เกี่ยวกับการดูแลสุ ขภาพได้ดว้ ยตนเอง จากแหล่งข้อมูล
ที่หลากหลาย และเข้าใจความรู ้ ข่าวสารทางสุ ขภาพสามารถตัดสิ นใจเลือกข้อมูลทางสุ ขภาพเพื่อดูแล
สุ ขภาพของตนเองได้เหมาะสม รวมถึงสามารถนาความรู ้มาสู่ การดูแลสุ ขภาพของตนเองให้เหมาะสม
กับสุ ขภาพได้

จากการทบทวนวรรณกรรมที่ผา่ นมาจะเห็นได้วา่ ในต่างประเทศมีการศึกษาความสัมพันธ์ของ


ความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพกับพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุเป็ นจานวนมาก และพบว่า ความ
รอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพมีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ แต่ในบริ บทผูส้ ู งอายุใน
ต่ า งประเทศและในประเทศไทยนั้น มี ค วามแตกต่ า งกัน ทั้ง ในด้า นการรู ้ ห นัง สื อ ความเป็ นอยู่
พฤติกรรมในการดาเนิ นชี วิต จากรายงานการรู ้ หนังสื อในผูส้ ู งอายุ 65 ปี ขึ้ นไป ในประเทศรั สเซี ย
ประเทศจีนและประเทศไทย พบว่ามีอตั ราการรู ้หนังสื อ สู งกว่าผูส้ ู งอายุในประเทศไทย คิดเป็ นร้อยละ
92.2, 83.9 และ 68.5 ตามล าดับ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization,
2014) ประกอบกับในผูส้ ู งอายุอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามกระบวนการชราหลายประการ เช่น ปั ญหา
การได้ยิน การมองเห็น และความจา เป็ นต้น สิ่ งเหล่านี้ อาจเป็ นข้อจากัด ในการพัฒนาทักษะการอ่าน
การคิด การทาความเข้าใจในข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสุ ขภาพ การตัดสิ นใจจัดการกับปั ญหาสุ ขภาพและ
ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพของตนเองที่ เ หมาะสม อี ก ทั้ง ผูส้ ู ง อายุ ก ะเหรี่ ย งในพื้ นที่ จ ัง หวัดแม่ ฮ่อ งสอนนั้น
เป็ นกลุ่มที่มีขอ้ จากัดในการเข้าถึงความรู ้ดา้ นสุ ขภาพ และการส่ งเสริ มสุ ขภาพที่มากกว่ากลุ่มผูส้ ู งอายุ

5
ในเขตเมือง เนื่ องจากการเดินทางและการเข้าถึงบริ การสุ ขภาพยังไม่เอื้ออานวย อีกทั้งยังเป็ นกลุ่มที่มี
ประเพณี วัฒนธรรมและภาษาที่เฉพาะตน (ศิริรัตน์ ปานอุทยั , ลินจง โปธิ บาล, และ วณิ ชา พึ่งชมภู ,
2552) ประกอบกับ จากจานวนและสถิ ติ โรคเรื้ อรั ง ในผู ส้ ู ง อายุ ก ะเหรี่ ย งที่ เพิ่ ม ขึ้ น ดัง กล่ า วข้า งต้น
รวมทั้งการศึกษาความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในกลุ่มผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงยังมี
ข้อจากัด จะเห็นได้จากมีการศึกษาพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงแต่เป็ นรายงานการ
ศึกษาวิจยั นานกว่า 10 ปี และแม้จะมีการศึกษาพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยง
ขาวที่มีอายุ 15-45 ปี ขึ้นไป แต่ก็ยงั ไม่จาเพาะในกลุ่มผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง ส่ วนการศึกษาความรอบรู ้ดา้ น
สุ ขภาพที่ผ่านมานั้นยังไม่มีการศึกษาในกลุ่มผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง ดังนั้นจึงจาเป็ นต้องทราบพฤติกรรม
ส่ งเสริ มสุ ขภาพและความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง และจากการทบทวนวรรณกรรมยัง
ไม่ พบว่า มี ก ารศึ ก ษาความสัม พันธ์ ข องความรอบรู ้ ด้านสุ ข ภาพและพฤติ ก รรมส่ งเสริ มสุ ขภาพใน
ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงมาก่อน ดังนั้นผูว้ จิ ยั จึงต้องการศึกษาในผูส้ ู งอายุกลุ่มนี้ เพื่อนามาใช้เป็ นประโยชน์ใน
ดาเนินงานพัฒนาส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงต่อไป

วัตถุประสงค์ กำรวิจัย

1. เพื่อศึกษาความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง


2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง
3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพใน
ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง

คำถำมกำรวิจัย

1. ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง เป็ นอย่างไร


2. พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง เป็ นอย่างไร
3. ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพมีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง
หรื อไม่ อย่างไร

นิยำมศัพท์

พฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภำพ หมายถึง การกระทากิจกรรมอย่างต่อเนื่ องของผูส้ ู งอายุที่กระทาโดย


มีเป้ า หมายสาคัญในการมี สุข ภาพที่ดี ครอบคลุ มพฤติก รรม 6 ด้านคื อ 1) ด้า นความรั บผิดชอบต่ อ
สุ ขภาพ 2) ด้านการออกกาลังกาย 3) ด้านโภชนาการ 4) ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 5) ด้านการ
พัฒนาจิตวิญญาณ และ 6) ด้านการจัดการกับความเครี ยด ซึ่ งจะประเมินโดยแบบสอบถามพฤติกรรม

6
ส่ งเสริ มสุ ขภาพของกลุ่มชาติพนั ธ์กะเหรี่ ยงขาวที่มีความเสี่ ยงต่อโรคเรื้ อรังของ ศิวาพร มหาทานุ โชค
(2558) ที่ ดัดแปลงมาจากแบบสอบถาม Health Promoting Life Style Profile II (HPLP II) ของ วอร์ คเกอร์ ,
ซีคริ ท, และ เพนเดอร์ (Walker, Sechrist, & Pender, 1995)

ควำมรอบรู้ ด้ำนสุ ขภำพ หมายถึ ง ความสามารถของผูส้ ู งอายุในการ อ่านเข้าถึ ง เข้าใจ และใช้


ข้อมู ลทางด้านสุ ขภาพ ในการตัดสิ นใจ ส่ งเสริ มและรั กษาสุ ขภาพที่ ดีของตนเองไว้ ให้คงอยู่อย่าง
ต่อเนื่ องประกอบด้วย 1) ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพพื้นฐานเป็ นความสามารถในด้านการอ่าน และเขียน
ในการเข้าถึ ง รับรู ้ ข ้อมู ลเกี่ ยวกับการดู แลตนเอง 2) ความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพด้านการมีปฏิ สัมพันธ์ /
ติดต่อสื่ อสาร เป็ นความสามารถในด้านการฟั ง พูด การติดต่อสื่ อสาร การจัดการตนเองที่เหมาะสม
3) ความรอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพด้า นวิจ ารณญาณ เป็ นความสามารถในการประเมิ นข้อมู ล สารสนเทศ
การรู ้ เท่ าทันสื่ อ เพื่ อนาไปตัดสิ นใจ วิเคราะห์ ในการเลื อกปฏิ บตั ิพ ฤติ กรรมสุ ขภาพ และสามารถ
แก้ปัญหาได้อย่างมีวจิ ารณญาณ ประเมินจากแบบสอบถามความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ ที่ผวู ้ จิ ยั
ดัดแปลงมาจากแบบสอบถามความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูป้ ่ วยโรคเบาหวานของ จริ ยา นพเคราะห์
และ โรจนี จินตนาวัฒน์ (จริ ยา นพเคราะห์, 2560) ที่แปลมาจากแบบสอบถามความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ
ในผูป้ ่ วยโรคเบาหวานของ อิชิกาวา, เทกูชิ, และ ยาโน่ (Ishikawa, Takeuchi, & Yano, 2008)

ผู้ สู ง อำยุ ก ะเหรี่ ย ง หมายถึ ง บุ ค คลที่ มี อ ายุ ต้ งั แต่ 60 ปี ขึ้ น ไปทั้ง ชายและหญิ ง ที่ มี เ ชื้ อ ชาติ
กะเหรี่ ยงสะกอ (ขาว)

7
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วข้ อง

การศึ กษาครั้ งนี้ เป็ นการศึ กษาความสั ม พันธ์ ระหว่า งความรอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพกับ พฤติ ก รรม
ส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง ผูว้ ิจยั จะศึ กษาเอกสารและงานวิจยั ที่ เกี่ ยวข้อง โดยมี เนื้ อหา
ครอบคลุมในหัวข้อดังต่อไปนี้

1. สถานการณ์ผสู ้ ู งอายุกะเหรี่ ยงในประเทศไทย


2. พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุ
2.1 ความหมายของพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ
2.2 องค์ประกอบของพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ
2.3 พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง
2.4 ปั จจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุ
2.5 การประเมินพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ
3. ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ
3.1 ความหมายความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ
3.2 ปั จจัยที่เกี่ยวข้องกับความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ
3.3 ความสาคัญของความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพกับภาวะสุ ขภาพผูส้ ู งอายุ
3.3 การประเมินความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ
4. ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพกับพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ

8
สถานการณ์ ผ้ สู ู งอายุกะเหรี่ยงในประเทศไทย

ประเทศไทยมีกลุ่ มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงอาศัยอยู่ประมาณ 4 แสนคน โดยกระจายอยู่ตามพื้นที่


จัง หวัดทางภาคเหนื อ และภาคตะวันตกของประเทศไทย ได้แก่ จัง หวัด ก าแพงเพชร กาญจนบุ รี
เชียงใหม่ เชียงราย ตาก ประจวบคีรีขนั ธ์ แพร่ น่าน เพชรบุรี แม่ฮ่องสอน ลาพูน ลาปาง สุ โขทัย ราชบุรี
สุ พรรณบุรี และอุทยั ธานี (ศูนย์มานุษยวิทยาสิ รินธร, 2559) ซึ่ งกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงในประเทศไทย
สามารถแบ่งออกเป็ น 4 กลุ่ม ดังนี้ คือ

1. กะเหรี่ ยงสะกอ (Sgaw Karen) หรื อกะเหรี่ ยงขาว กลุ่มนี้เรี ยกตัวเองว่า กันยอ (Kanyaw) ชาว
ไทยเรี ยกว่า ยางขาว เป็ นกลุ่มที่มีประชากรมากที่สุด กลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงสะกอในแถบตะวันตก
ของ เชี ยงใหม่ เรี ยกตัวเองว่า บูคุนโย (Bu Kun Yo) ซึ่ งกะเหรี่ ยงสะกอนั้น ผูช้ ายมักจะนิยมชอบใส่ เสื้ อ
สี แดง มีเชื อกรัดเอว มีพู่ และโพกผ้าที่ศีรษะด้วยผ้าสี ต่างๆ ส่ วนผูห้ ญิงนั้นหากยังไม่แต่งงานมักจะนุ่ ง
กระโปรงทรงกระสอบ สี ขาวยาวมีปักบ้างเล็กน้อย ส่ วนผูห้ ญิงที่แต่งงานแล้ว จะนิ ยมใส่ เสื้ อแขนสั้นสี
ดาหรื อสี น้ าเงินเข้ม ส่ วนด้านล่างมักจะประดับด้วยลูกปั ดสี แดงและสี ขาว มักจะชอบสวมกระโปรงสี
แดง ลายตัด โพกผ้าสี แดงมีลายปั กสวยงาม (บุญช่วย ศรี สวัสดิ์, 2506)

2. กะเหรี่ ยงโปว์ (Pwo Karen) ชาวไทยเรี ยกว่า ยางโปว์ ชาวเมี ย นมาเรี ยกว่า ตะเลี ยงกะยิน
(Taliang Kayin) ผูช้ าย กะเหรี่ ยงโปว์ มักแต่งตัวเหมือนกลุ่มไทยพื้นราบทัว่ ไป ส่ วนผูห้ ญิงที่แต่งงาน
แล้วนิ ยมใส่ เสื้ อทรงกระสอบเหมื อนกลุ่ ม สะกอ แต่ ยาวกว่าและสี แดงกว่า ท่อนบนของเสื้ อ จะปั ก
ลวดลาย ประดับด้วยเครื่ องประดับ เช่น ลูกปั ด เกล้าผมเป็ นม้วน นิยมปั กผมด้วยปิ่ นเงิน สวมกระโปรง
ยาวคลุ มมาถึ งข้อเท้า มีลวดลายปั ก และห้อยด้วยพู่ ใส่ กาไลมือและแขนเป็ นเครื่ องเงิ น อีกทั้งผูห้ ญิ ง
มักจะนิ ยมสักหมึกเป็ นรู ปเครื่ องหมายสวัสดิ กะที่ขอ้ มือ ส่ วนที่น่องนั้นนิ ยมสักเป็ นรู ปกระดูกงู โดย
เชื่อว่าสามารถ ป้ องกันเวทย์มนต์คาถาและภูตผีปีศาจได้ (บุญช่วย ศรี สวัสดิ์, 2506)

3. กะเหรี่ ย งบเว (B’ghwe Karen) หรื อ แบร (Bre) หรื อกะเหรี่ ยงแดง กะเหรี่ ย งกลุ่ มนี้ เรี ย ก
ตัวเองว่า กะยา (Ka-ya) ชาวเมียนมาเรี ยกว่า คะยินนี (Kayin-ni) ชาวไทยเรี ยกว่ายางแดง แต่ปัจจุบนั
เรี ยกเป็ น คะยา (Kayah) ชาวอังกฤษ เรี ยกคาเรนนี (Karen-ni) ตามชาวเมียนมา สาหรับผูช้ ายกะเหรี่ ยงบ
เว มักจะนุ่งกางเกงขาสั้นสี แดง โพกศีรษะด้วยผ้าสี นิยมสักหมึกไว้ขา้ งหลัง เชื่ อว่าสามารถป้ องกันสิ่ ง
ชัว่ ร้ายได้ ส่ วนผูห้ ญิงมักจะนุ่งกระโปรงสั้น และสวมกาไลไม้ไผ่ที่ขอ้ เท้า กะเหรี่ ยงแดงถือว่าตนเป็ น
ชนชาติ ที่สูงกว่า และมักจะไม่ยอมรั บกลุ่ มสกอและโปว์ว่าเป็ นกลุ่ มที่มีเลื อดกะเหรี่ ยงอย่างแท้จริ ง
(บุญช่วย ศรี สวัสดิ์, 2506)

9
4. กะเหรี่ ยงตองสู หรื อปะโอ (Pa-O) ชาวไทยและชาวเมียนมาเรี ยก ตองสู (Thaung thu) ชาว
ไทยใหญ่เรี ยก ตองซู (Tong-Su) ชาวกะเหรี่ ยงสะกอเรี ยกกลุ่มกะเหรี่ ยงตองสู วา่ กะเหรี่ ยงดา ซึ่ งกลุ่มนี้
แต่เดิมอาศัยอยูบ่ ริ เวณเมืองต่างๆ ใกล้ทะเลสาบอินเล แห่ งมะเยลัต ในรัฐฉานตอนใต้ ของสาธารณรัฐ
แห่ งสหภาพเมียนมา เมืองที่กะเหรี่ ยงตองสู อยูม่ ากที่สุด คือเมืองหลอยโหลง และเมืองสะทุ่ง (บุญช่วย
ศรี สวัสดิ์, 2506) โดยผูห้ ญิงกะเหรี่ ยงตองสู มกั นิ ยมแต่งกายด้วยชุ ดสี ดา โพกผ้าที่ศีรษะด้วยผ้าสี ขาว
หรื อผ้าสี ดา ส่ วนผูช้ ายมักจะแต่งกายโดยนุ่งกางเกงขายาวสี ดาหรื อสี ขาว เสื้ อแขนลายปั กแขนยาวเป็ น
ทรงผ่าอกกลางและใช้กระดุมผ้าในการติดเสื้ อ (บุญช่วย ศรี สวัสดิ์, 2506)

ซึ่ งในประเทศไทยมีจานวนประชากรชาวกะเหรี่ ยงสะกอหรื อกะเหรี่ ยงขาวอาศัยอยู่มากที่สุด


รองลงมาคือชาวกะเหรี่ ยงโปว์ ชาวกะเหรี่ ยงบเว และชาวกะเหรี่ ยงตองสู ตามลาดับ (ศูนย์มานุษยวิทยา
สิ รินธร, 2559) ซึ่ งจากการทบทวนทางวรรณกรรมเกี่ยวกับกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงสะกอหรื อกะเหรี่ ยง
ขาวในประเทศไทยยังมีจากัด ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จะนาเสนอสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติ
พันธุ์กะเหรี่ ยงที่อาศัยอยูใ่ นจังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่ งเป็ นจังหวัดที่มีจานวนประชากรของกลุ่มชาติพนั ธุ์
กะเหรี่ ยงมากที่สุด และเนื่ องจากจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีอาณาเขตติดต่อกับรัฐกอทเล และรัฐคะยา อัน
เป็ นแคว้นกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงในประเทศสาธารณรัฐสหภาพเมียนมา จังหวัดแม่ฮ่องสอนจึงมีกลุ่ม
ชาติพนั ธุ์ กะเหรี่ ยงอาศัยอยู่ 2 กลุ่ม คือ ชาวกะเหรี่ ยงสะกอหรื อกะเหรี่ ยงขาว และชาวกะเหรี่ ยงโปว์
หรื อกะเหรี่ ยงแดง (สานัก งานจังหวัดแม่ฮ่องสอน, 2556) ซึ่ งมี ลกั ษณะถิ่ นที่ อยู่อาศัยและบ้านเรื อน
ระบบเศรษฐกิจ ประเพณี วัฒนธรรม และความเชื่อ รวมทั้งสถานการณ์ดา้ นสุ ขภาพผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง
ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน

ถิ่นทีอ่ ยู่อาศัยและบ้ านเรื อนของกะเหรี่ ยง

ชาวกะเหรี่ ย งมัก อาศัย รวมกันเป็ นหมู่บ ้าน ประกอบด้วยครั วเรื อนและยุง้ ฉาง บ้านของชาว
กะเหรี่ ยงส่ วนใหญ่มกั จะสร้ างด้วยไม้ไผ่ และแฝก ที่เรี ยกว่า โขน ยกพื้น ด้วยเสาไม้สูงประมาณ 5-6
ฟุต โดยบริ เวณบ้านส่ วนใหญ่จะไม่มีร้ ัว ปล่อยสัตว์เลี้ยงต่างๆให้หากินในหมู่บา้ น (ขจัดภัย บุรุษพัฒน์,
2538; Lebar, Hickey, & Musgrave, 1964) โดยชาวกะเหรี่ ย งสะกอและชาวกะเหรี่ ย งโปว์ มัก จะมี
รู ปแบบบ้านเรื อนคล้ายกัน ส่ วนกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงตองสู มกั จะตั้งบ้านเรื อนอยูบ่ นเนินเขาที่สูงกว่า
ระดับน้ าทะเล 3,000 - 3,500 ฟุต มีแบบบ้านคล้ายชาวไทยใหญ่ (บุญช่วย ศรี สวัสดิ์ , 2506) ส่ วนใหญ่
ในหมู่บา้ นของชาวกะเหรี่ ยงไม่มีที่สาหรับประชุมหรื อลานเต้นรา ไม่มีวดั ซึ่ งลักษณะของหมู่บา้ นชาว
กะเหรี่ ยงพอจะจาแนกได้เป็ น 3 ประเภท คือ 1) หมู่บา้ นถาวร ที่ต้ งั อยูต่ ามภูเขา ซึ่ งเป็ นหมู่บา้ นค่อนข้าง
ใหญ่ มีบา้ นอาศัยอยูป่ ระมาณ 16 - 72 หลังคาเรื อน ส่ วนใหญ่จะตั้งมานานกว่า 50 ปี ขึ้นไป 2) หมู่บา้ น
ค่อนข้างถาวร โดยลักษณะของหมู่บา้ นแบบนี้ มกั จะตั้งอยู่ตามหุ บเขาสู ง ขนาดปานกลาง มีบา้ นอยู่

10
อาศัยประมาณ 11 หลังคาเรื อน ทั้ง 2 ประเภทนี้ กลุ่มชาติพนั ธุ์บา้ นจะดารงชี พด้วยการทานา ทาไร่ เป็ น
หลัก และ 3) หมู่บา้ นบนภูเขา โดยส่ วนใหญ่จะเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์บา้ นที่มกั ทาไร่ เลื่อนลอย ซึ่ งลักษณะ
หมู่บา้ นแบบนี้ จะเป็ นหมู่บา้ นที่มีขนาดเล็ก (ขจัดภัย บุรุษพัฒน์, 2538) โดยในหมู่บา้ นกะเหรี่ ยงนั้นจะ
มีหวั หน้าหมู่บา้ น ที่เรี ยกว่า เซี่ ยเก็งคู หรื อ ซะปร่ า เปอฮี่ (บุญช่วย ศรี สวัสดิ์, 2506) โดยได้ตาแหน่งที่
สื บ ทอดมาจากสายทางบิ ดา ท าหน้า ที่ เป็ นหัวหน้า คื อพิ จารณาตัดสิ นกรณี พิ พ าทต่ า งๆ ตัดสิ นคดี
เกี่ ยวกับการลักขโมย หรื อคดี ความที่ เกี่ ยวกับการประพฤติผิดทางเพศ เป็ นต้น (ขจัดภัย บุ รุษพัฒน์,
2538) ระบบครอบครัวและตระกูลของกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยง โดยทัว่ ไปมักจะเป็ น ครอบครัวเดี่ยว ซึ่ ง
ปกติคู่สมรสมักจะออกไปตั้งครอบครัวของตนภายหลังที่ได้อาศัยอยูก่ บั พ่อแม่ของฝ่ ายหญิง โดยกลุ่ม
ชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงมีความเชื่ อกันว่าจะต้องสร้างบ้านหลังเล็กหลังแต่งงานและต่อเติมให้ใหญ่ข้ ึนเมื่อมี
บุตร กลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงจะเชื่ อว่าบ้านเป็ นสถานที่ทางวิญญาณของภรรยา โดยจะต้องมีพิธีแจ้งแก่
ผีสายมารดาให้ทราบถึ งการแต่งงานที่เรี ยกว่า เตอะเซี่ ย หลังจากภรรยาย้ายไปอยู่บา้ นหลังใหม่ (ขจัด
ภัย บุรุษพัฒน์, 2538) สาหรับในจังหวัดแม่ฮ่องสอนชาวกะเหรี่ ยงสะกอและชาวกะเหรี่ ยงโปว์ มักจะ
สร้างบ้านอยูอ่ าศัยกระจายตามหุ บเขาสู ง ขนาดปานกลาง สร้างบ้านด้วยไม้เป็ นส่ วนใหญ่ ลักษณะบ้าน
เป็ นทรงยกสู ง อาศัยอยูร่ วมกันประมาณหมู่บา้ นละ 30 - 80 หลังคาเรื อน

การประกอบอาชีพ

ชาวกะเหรี่ ยงมีอาชี พการเกษตรเป็ นหลัก พืชหลักที่นิยมปลูกกัน คือข้าว ซึ่ งการปลูกข้าวมีสอง


ประเภท คือ กะเหรี่ ยงบนภู เขาจะปลู กข้าวไร่ ส่ วนกะเหรี่ ยงตามที่ราบหุ บเขาจะปลู กข้าวในนาแบบ
ขั้นบันได โดยนอกจากข้าวแล้วกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงยังนิ ยมปลู กพืชไร่ เช่ น ฟั กทอง ผัก ข้าวโพด
มะเขือ พริ ก เป็ นต้น ซึ่ งกะเหรี่ ยงแต่ละครอบครัวมักจะโค่นถางต้นไม้เพื่อทาไร่ ของตนเองและอยูใ่ กล้
กับในพื้นที่เขตหมู่บา้ นของตนเท่านั้น (ขจัดภัย บุรุษพัฒน์, 2538) กลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงมักจะนิ ยม
เลี้ยงสัตว์เลี้ยง ได้แก่ หมู ไก่ วัว ควาย โดยมักจะเลี้ยงไว้ใช้ในพิธีบวงสรวง ส่ วน วัว ควาย ช้าง เลี้ยงไว้
ใช้งาน โดยสาหรับช้างนั้นจะเลี้ ยงเฉพาะในครอบครัวที่มีฐานะดี กว่าบุคคลอื่น ส่ วนรายได้ส่วนใหญ่
ของกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงมาจาก การขายปศุสัตว์ รับจ้างทางานกับชาวไทย ขายของป่ า อุตสาหกรรม
ในครั วเรื อน เช่ น ตะกร้ า มี ด เครื่ องครั วที่ ทาจากไม้ เป็ นต้น (ขจัดภัย บุ รุษพัฒน์, 2538) สาหรับใน
จังหวัดแม่ฮ่องสอนชาวกะเหรี่ ยงสะกอและชาวกะเหรี่ ยงโปว์ มีอาชี พเกษตรกรเป็ นหลัก พืชที่นิยม
ปลู ก คือ ข้าว ซึ่ งส่ วนใหญ่จะปลู กข้าวไร่ เนื่ องจากมีถิ่นอาศัยในบนภูเขาและที่ราบสู ง นอกจากนี้ ยงั
ปลู ก ถั่ว เหลื อ งและข้า วโพด ซึ่ งเป็ นพื ช เศรษฐกิ จ หลัก ของชาวกะเหรี่ ย งที่ อ าศัย อยู่ ใ นจัง หวัด
แม่ฮ่องสอน มีการเลี้ ยงวัว ควาย ไว้ขายบ้างแต่ก็ไม่ได้มากนัก นอกจากนี้ ก็ประกอบอาชี พหาของป่ า
เช่น เห็ดป่ า หน่อไม้ เอามาขายไว้เป็ นรายได้เสริ ม

11
ประเพณี วัฒนธรรมและความเชื่ อ

ชาวกะเหรี่ ยง บางส่ วนนับถือศาสนาพุทธ เช่น ชาวกะเหรี่ ยงโปว์ บางส่ วนนับถือศาสนาคริ สต์


เช่ น ชาวกะเหรี่ ยงสะกอที่ อาศัยในพื้นที่ราบ แต่กลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงทั้งหมดซึ่ งรวมถึ งผูท้ ี่นับถื อ
ศาสนาทั้งสองดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นนั้นจะ นับถือผี ซึ่ งกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงจะเชื่ อว่า แทบทุก
แห่งในพื้นที่บา้ น ในชุมชน หรื อในป่ า จะมีผสี ิ งสถิตอยู่ ซึ่ งผีที่กลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงนับถือ คือ ผีบา้ น
ผีเรื อน ซึ่ งเป็ นผีประจาบ้านเรื อน โดยเชื่ อว่าเป็ นวิญญาณของปู่ ย่าตายายที่ล่วงลับไปแล้ว วนเวียนอยู่
ภายในบ้านเรื อนคอยปกป้ อง รักษา ดูแลบุตรหลานในบ้านให้อยูอ่ าศัยอย่างมีความสงบสุ ข ส่ วนผีบา้ น
เป็ นผีหรื อเทพารักษ์ที่จะทาหน้าที่คอยรักษาหมู่บา้ น ซึ่ งบางทีอาจจะเรี ยกว่า ผีเจ้าเมือง หรื อผีเจ้าที่ โดย
มีความสาคัญมาก โดยเฉพาะในพิธีที่เกี่ยวกับการเกษตรและพิธีกรรมที่เกี่ยวกับความสงบสุ ขของคน
ทั้งหมู่บา้ น การเลี้ยงผีเจ้าที่น้ นั มักจะกระทาปี ละสองครั้ง (ขจัดภัย บุรุษพัฒน์, 2538; บุญช่วย ศรี สวัสดิ์,
2506) กลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงถื อว่าการเจ็บไข้ได้ป่วยเกิ ด จากการกระทาของผีร้ายต่างๆ ซึ่ งสิ งสถิ ต
ตามป่ า เขา แม่ น้ า ล าธาร เมื่ อ มี ผู ้เ จ็ บ ป่ วยจะต้อ งจัด พิ ธี เ ลี้ ย งผี โดยมี ห มอผี ป ระจ าหมู่ บ ้า นเป็ น
ผูด้ าเนินการการเลี้ยงผี เพื่อเป็ นการขอขมาในสิ่ งที่ผทู ้ ี่ไม่สบายได้ ไปล่วงเกินโดยรู ้เท่าไม่ถึงการณ์ ผีจะ
ได้หายโกรธแค้น โดยผูท้ ี่ จะประกอบพิธีเซ่ นสังเวยผี ได้แก่ หมอผี ซึ่ งมีสองคน คือ ตัวจริ ง และตัว
สารอง ทั้งสองคนจะต้องเป็ นญาติ กนั (ขจัดภัย บุรุษพัฒน์, 2538) ซึ่ งนอกจากการเลี้ ยงผีบา้ นผีเรื อน
แล้ว กลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงยังมีพิธีเลี้ ยงผีไร่ ผีนา ผีป่า ผีดอย อีกด้วย ทั้งนี้ โดยอาศัยหมอผีผมู ้ ีความรู ้
ในเรื่ องไสยศาสตร์ เวทมนตร์ คาถา เป็ นผูป้ ระกอบพิธีกรรมเลี้ยงผีเหล่านี้ ดังนั้น ความเชื่อถือในเรื่ องผี
และวิญญาณของกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยง จึงมีผลดีต่อสังคมกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงอย่างมาก และทาให้
เกิ ดคุ ณธรรมมากขึ้น เพราะไม่มีใครกล้าทาความผิดแม้แต่ต่อหน้าและลับหลัง เช่น การผิดลูกผิดเมีย
ผูอ้ ื่น การลักขโมย เป็ นต้น สาหรับชาวกะเหรี่ ยงสะกอและกะเหรี่ ยงโปว์ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนนั้นก็ยงั
มีการนับถื อผีกนั อยู่ มีวฒั นธรรมประเพณี ความเชื่ อที่ยงั คงสื บทอดกันมาสู่ รุ่นต่อรุ่ น แต่การนับถื อผี
นั้นก็จะมีการผสมไปกับการนับถือศาสนาทั้งพุทธและคริ สต์ ซึ่ งก่อให้เกิดเป็ นประเพณี และวัฒนธรรม
ในกลุ่มชาติพนั ธุ์ข้ ึน เช่น ประเพณี ปีใหม่ ประเพณี ข้ ึนบ้านใหม่ ประเพณี เกี้ยวสาว และแต่งงาน หรื อ
แม้กระทัง่ ประเพณี งานศพ โดยเทศกาลที่สาคัญ คือ ประเพณี ข้ ึนปี ใหม่ ซึ่ งมี ราวเดือนกุมภาพันธ์ถึง
มีนาคม จะมี การเลี้ ยงผีประจาหมู่บา้ น โดยหมอผีจะเป็ นผูป้ ระกอบพิธี มี การผูกข้อมื อให้กบั คนใน
หมู่บา้ น จากนั้นหัวหน้าหมู่บา้ นจะนาเหล้ามาเซ่ นผีเจ้าป่ าเจ้าเขา เพื่อให้ช่วยปกปั กรักษาหมู่บา้ นและ
ให้สามารถปลูกพืชผลเจริ ญงอกงาม เสร็ จแล้วจะดื่มเหล้าร่ วมกัน หมอผีจะเดินทางไปทาพิธีให้ครบทุก
บ้าน เสร็ จแล้วจะมีการล้มหมูแจกจ่ายทาอาหารเลี้ยงกัน หลังจากงานปี ใหม่แล้วกะเหรี่ ยงจะเริ่ มทางาน
ในไร่ ในนาทันที เป็ นต้น

12
ภาษาทีใ่ ช้ สื่อสารในชีวติ ประจาวัน

ชาวกะเหรี่ ย งพู ดภาษาตระกู ล จี น -ทิ เบต ภาษากะเหรี่ ย งที่ ใ ช้มากในประเทศไทย คื อ ภาษา


กะเหรี่ ยงโปว์ และภาษากะเหรี่ ยงสะกอซึ่ งแม้จะเป็ นกะเหรี่ ยงเหมือนกันแต่ไม่สามารถเข้าใจกันได้
ทั้ง หมด เพราะทั้ง สองภาษามี ค วามแตกต่ างกันในเรื่ องระบบเสี ย งและค าศัพท์ค่อนข้า งมากภาษา
กะเหรี่ ยงจัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ธิ เบต ลักษณะเด่นๆ ของภาษากะเหรี่ ยงที่แตกต่างจากภาษาไทย
ได้แก่ โครงสร้ า งพยางค์ เสี ย งพยัญชนะ และเสี ย งสระ รวมทั้ง เสี ย งวรรณยุก ต์ซ่ ึ ง ในบางถิ่ นจะมี
ลักษณะน้ าเสี ยงเป็ นส่ วนประกอบอยูด่ ว้ ย กะเหรี่ ยงแต่ละเผ่ามีภาษาพูด และภาษาเขียนเป็ นของตนเอง
โดยการดัดแปลงมาจากตัวหนังสื อพม่า ผสมอักษรโรมัน ภาษานับว่าเป็ นเครื่ องมือที่ใช้สื่อสารในวิถี
การดารงชีวติ ของชนกลุ่มต่าง ๆ ซึ่ งสะท้อน โลกทัศน์ ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมของแต่ละกลุ่มชน ทั้ง
เสี ยงพูด ตัวอักษร หรื อสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสี ยงพูด ภาษากะเหรี่ ยงเป็ นภาษาในตระกูลจีน-ทิเบต สาขา
ทิเบต-พม่า และมีสาขาย่อยลงไปอีกหลายกลุ่ม ซึ่ งภาษากะเหรี่ ยงสะกอ และกะเหรี่ ยงโปว์ จะพูดไม่
เหมือนกัน แม้ว่าจะอยู่ตระกูลเดียวกันก็ตาม และจะพูดคุยกันไม่รู้เรื่ อง ฉะนั้น การพูดคุยกันระหว่าง
กลุ่มจึงจาเป็ นต้องใช้กลุ่มหลักนัน่ คือ ภาษาสะกอ ในการติดต่อสื่ อสารกัน ภาษาสะกอ ก็ยงั คงมีหลาย
สาเนี ย งด้วย เช่ นกะเหรี่ ยงสะกอในอาเภอแม่ แจ่ ม จังหวัดเชี ยงใหม่ และอาเภอแม่ สะเรี ย ง จังหวัด
แม่ฮ่องสอน ก็พูดคุยกันคนละสาเนียงที่แตกต่างในระดับเสี ยงวรรณยุกต์ (อดิศร เกิดมงคล และ บุษยรัตน์
กาญจนดิษฐ์, 2550) ภาษากะเหรี่ ยงแต่เดิมไม่มีอกั ษรใช้ เวลาจะบันทึก ก็จะใช้อกั ษรไทยในการเขียน
แต่ก็มีขอ้ จากัดการเขียนด้วยอักษรไทยมักจะออกเสี ยงไม่ตรงกับภาษากะเหรี่ ยง ปั จจุบนั อักษรที่ชาว
กะเหรี่ ยงสะกอใช้บนั ทึกเรื่ องราวของตัวเอง มีอยู่ 2 แบบด้วยกัน ซึ่ งเข้ามากับการสอนศาสนาคริ สต์
1) อักษรโรมัน เข้ามาในแม่แจ่มโดยการเผยแพร่ ศาสนาคริ สต์นิการคาทอลิก 2) อักษรที่พฒั นามาจาก
อักษรพม่า มักจะเป็ นกลุ่มศาสนาคริ สต์นิกายโปแตสแตนต์ และกลุ่มที่นบั ถือศาสนาพุทธ และมักพบ
เห็ นในเขตอาเภอจอมทอง และในอาเภอแม่แจ่ม ก็จะเห็นป้ ายที่เป็ นอักษรนี้ การรักษาอัตลักษณ์ ทาง
ชาติพนั ธุ์แและการผสมผสานทางวัฒนธรรมในอดีต สิ่ งที่ยงั คงรักษาไว้ได้อย่างมัน่ คงคือการพูดภาษา
กะเหรี่ ยง และมีจานวนหนึ่ งที่ยงั สามารถพูด และเขียนภาษากะเหรี่ ยงได้ (อดิศร เกิดมงคล และ บุษยรัตน์
กาญจนดิ ษ ฐ์ , 2550) ในปั จจุ บ นั หาคนที่ อ่า นภาษากะเหรี่ ย งได้ย ากมากขึ้ น และมี แ นวโน้ม ว่า คน
กะเหรี่ ยงรุ่ นใหม่จะไม่นิยมศึกษาภาษากะเหรี่ ยง หรื อการแต่งกายแบบกะเหรี่ ยงในชี วติ ประจาวัน แต่ก็
ยังมีการใช้ภาษากะเหรี่ ยงสื่ อสารกันอยู่ คงมีเฉพาะคนสู งอายุเท่านั้น โดยผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงที่อาศัยอยู่
ในพื้นที่ที่มีชาวพื้นเมืองอาศัยอยู่ก็จะพอรู ้ ภาษาท้องถิ่ นนั้นหรื อภาษาไทย จึงทาให้บางกลุ่มสามารถ
สื่ อสารกับผูท้ ี่ใช้ภาษาไทยได้บา้ ง แต่ก็มีบางส่ วนที่ฟังภาษาไทยได้แต่สื่อสารออกมาเป็ นภาษาไทย
ไม่ได้ (ศูนย์มานุ ษยวิทยาสิ รินธร, 2559) จึงเป็ นข้อจากัดในด้านภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่ อสารกันกับ
กลุ่มผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงกลุ่มนี้

13
สถานการณ์ ด้านสุ ขภาพของผู้สูงอายุกะเหรี่ยง

กลุ่มผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงในจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีปัญหาสุ ขภาพที่คล้ายคลึงกับผูส้ ู งอายุโดยทัว่ ไป


โดยส่ วนใหญ่พบว่าเจ็บป่ วยด้วยโรคเรื้ อรัง ได้แก่ โรคเบาหวานร้อยละ 63.51 และโรคความดันโลหิ ต
สู งร้อยละ 53.41 ของประชากรทั้งหมดที่ป่วยในจังหวัด (สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัดแม่ฮ่องสอน,
2559) อี ก ทั้ง ผูส้ ู ง อายุกะเหรี่ ย งในพื้ นที่ จงั หวัดแม่ ฮ่องสอนนั้น เป็ นกลุ่ ม ที่ มี ข ้อจากัดในการเข้า ถึ ง
ความรู ้ดา้ นสุ ขภาพ และการส่ งเสริ มสุ ขภาพที่มากกว่ากลุ่มผูส้ ู งอายุในเขตเมือง เนื่ องจากการเดินทาง
และการเข้าถึงบริ การสุ ขภาพยังไม่เอื้ออานวย อีกทั้งยังเป็ นกลุ่มที่มีประเพณี วัฒนธรรมและภาษาที่ใช้
สื่ อสารเฉพาะตน (ศิริรัตน์ ปานอุทยั และคณะ, 2552) ประกอบกับจากจานวนและสถิติโรคเรื้ อรังใน
ผูส้ ู ง อายุกะเหรี่ ย งที่ เพิ่มขึ้ นดัง กล่ า วข้า งต้น จึ ง ทาให้ผูส้ ู งอายุก ะเหรี่ ยงมี สถานการณ์ แนวโน้ม ด้า น
สุ ขภาพที่อยูใ่ นภาวะเสี่ ยงที่จะเป็ นโรคเรื้ อรังเพิ่มมากขึ้น

พฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพของผู้สูงอายุ

พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพเป็ นการกระทากิ จกรรมอย่างต่อเนื่ อง ที่มีผลในการคงไว้หรื อเพิ่ม


ระดับความสามารถในการทาหน้าที่ สร้ างความผาสุ กของบุคคล และมุ่งไปสู่ สภาวะสุ ขภาพที่ ดีท้ งั
ทางด้านร่ างกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ (Pender et al., 2011)

ความหมายของพฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพ

จากการทบทวนทางวรรณกรรมพบว่ามีผใู ้ ห้ความหมายของพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ (health


promoting behaviors) ดังนี้

พาแลงค์ (Palank, 1991) ได้ใ ห้นิย ามพฤติ ก รรมส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ หมายถึ ง กิ จกรรมต่ า งๆ ที่
เริ่ มต้นโดยบุคคลทุกกลุ่มอายุ และกระทาด้วยตนเองโดยปฏิ บตั ิในทางบวก เพื่อคงไว้หรื อเพิ่มระดับ
ความผาสุ กของชี วิต (well-being) ความตระหนักในตนเองและความสาเร็ จของบุคคล พฤติกรรมที่
ช่ วยส่ งเสริ มสุ ขภาพ ได้แก่ การออกกาลังกายอย่างสม่ าเสมอ การพักผ่อนที่เพียงพอ การมี กิจกรรม
ต่างๆ เพื่อลดความเครี ยด และการมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม

เพนเดอร์ และคณะ (Pender et al., 2011) ได้ให้คานิ ยามพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพว่า หมายถึ ง
การกระทากิจกรรมอย่างต่อเนื่องของบุคคล โดยมีเป้ าหมายสาคัญในการยกระดับความเป็ นอยูท่ ี่ดี และ
การบรรลุเป้ าหมายในการมีสุขภาพที่ดีของบุคคล ครอบครั ว ชุ มชน และสังคม ในการควบคุมดูแล
สุ ขภาพให้ได้ตามเป้ าหมาย และปฏิบตั ิกิจกรรมนั้นๆ จนเป็ นแบบแผนการดาเนินชีวติ

14
องค์ ประกอบของพฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพ

เพนเดอร์ และคณะ (Pender et al., 2011) ได้แบ่งพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพออกเป็ น 6 ด้าน ดังนี้

1. ด้านความรับผิดชอบต่อสุ ขภาพ (health responsibility) หมายถึง การมีความรับผิดชอบเอา


ใจใส่ สุขภาพของตนเอง การสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้น การแสวงหาข้อมูลความรู ้ที่เป็ น
ประโยชน์ ต่อสุ ขภาพของตนเอง เช่ น การอ่า นหนัง สื อ ฟั งวิทยุ หรื อดู โทรทัศน์ ที่เกี่ ยวกับการดู แล
สุ ขภาพ หรื อการปรึ กษากับบุคลากรด้านสุ ขภาพ

2. ด้า นกิ จ กรรมทางกาย (physical activity) หมายถึ ง การกระท ากิ จ กรรมหรื อ การปฏิ บ ัติ
กิจกรรมการเคลื่อนไหวของร่ างกาย เช่น การออกกาลังกายอย่างต่อเนื่ อง อย่างน้อยครั้งละ 30 นาทีข้ ึน
ไป อย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ซึ่ งกิจกรรมทางกาย เช่น การเดินเร็ ว วิง่ ปั่ นจักรยาน เต้นแอโรบิค ว่าย
น้ า หรื อการมีกิจกรรมทางกายในการดาเนิ นชี วิตประจาวัน เช่น การเดินหลังรับประทานอาหาร การ
ทาความสะอาดบ้าน เป็ นต้น

3. ด้านโภชนาการ (nutrition) หมายถึง การรับประทานอาหารที่ถูกสุ ขลักษณะ ลักษณะนิสัย


การรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม การควบคุมภาวะโภชนาการของร่ างกายให้อยูใ่ นระดับปกติ
การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม เช่น อาหารจากลุ่มแคลเซี ยม รับประทานผลไม้และอาหารที่มี
กากใยทุกวัน หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีไขมันและคลอเรสเตอรอลสู ง เป็ นต้น

4. ด้า นการมี ป ฏิ สั มพันธ์ ระหว่างบุคคล (interpersonal relation) หมายถึ ง การแสดงออกถึ ง


ความสามารถในการสร้ า งสั ม พันธภาพกับ บุ ค คลอื่ น การมี ป ฎิ สั ม พันธ์ ก ับ บุ ค คลรอบข้า ง ซึ่ ง คง
ผลประโยชน์ให้ได้รับการสนับสนุ นต่างๆ ทาให้เกิ ดความรู ้สึกว่าตนเองมีคุณค่า ช่ วยลดความเครี ยด
และสามารถปรับตัวเข้ากับสิ่ งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม ส่ งผลให้มีสุขภาพที่ดี เช่น การใช้เวลาว่างกับ
เพื่อนสนิ ท หรื อการแก้ไขข้อขัดแย้งกับผูอ้ ื่ น โดยการพู ดคุ ยอย่างประนี ประนอม การพบปะเพื่อน
ทัว่ ไปหรื อการเยีย่ มเยียนกันเวลาเจ็บป่ วย เป็ นต้น

5. ด้านการพัฒนาทางจิตวิญญาณ (spiritual growth) หมายถึ ง ความรู ้ สึกที่เกี่ยวข้องกับสิ่ งที่มี


พลังอานาจเหนือตนเอง ซึ่ งการพัฒนาทางด้านจิตวิญญาณเป็ นการเรี ยนรู ้จากประสบการณ์ของตนเอง
มีจุดมุ่งหมายในชีวิต มีความพึงพอใจให้ความสาคัญแก่ตนเอง และภาคภูมิใจในความสาเร็ จในตนเอง
รวมถึงความเชื่อในศาสนาซึ่งจะทาให้บุคคลได้พบกับความสงบสุ ขในชีวติ

6. ด้า นการจัด การกับ ความเครี ย ด (stress management) หมายถึ ง การกระท าเพื่ อ ลดความ
ตึงเครี ยด การจัดการกับสิ่ งที่ก่อให้เกิดความเครี ยด ก่อให้เกิดความผ่อนคลาย รวมทั้งการพักผ่อนอย่าง

15
เพี ย งพอ และมี ก ารแสดงออกทางอารมณ์ ไ ด้อย่า งเหมาะสม เช่ น การหาเวลาพัก ผ่อนผ่อ นคลาย
ความเครี ยดในแต่ละวัน การทากิจกรรมงานอดิเรก การทากิจกรรมร่ วมกัน เป็ นต้น

สาหรับการศึกษาในครั้งนี้ พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุ หมายถึง การกระทากิจกรรม


อย่างต่อเนื่ องที่ผสู ้ ู งอายุกระทาโดยมีเป้ าหมายสาคัญในการมีสุขภาพที่ดี ครอบคลุมพฤติกรรม 6 ด้าน
คือ 1) ด้านความรับผิดชอบต่อสุ ขภาพ 2) ด้านการออกกาลังกาย 3) ด้านโภชนาการ 4) ด้านความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล 5) ด้านการพัฒนาจิตวิญญาณ และ 6) ด้านการจัดการกับความเครี ยด

พฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพในผู้สูงอายุกะเหรี่ยง

จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่าผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง ส่ วนมากชาวกะเหรี่ ยงอาศัยอยู่ตามแนว


ชายแดนไทยบนภู เขาที่ ห่างไกลความเจริ ญการแพทย์และการสาธารณสุ ขยังกระจายไม่ทวั่ ถึ ง ขาด
การศึกษา มีฐานะยากจน สภาพความเป็ นอยูท่ ี่ไกลจากความเจริ ญ การเข้าถึงบริ การทางด้านสุ ขภาพยัง
มีน้อย และการคมนาคมยังไม่สะดวก เสี่ ยงต่อการเกิ ดปั ญหาสุ ขภาพและมี คุณภาพชี วิตต่ า (พีรนุ ช
จันทรคุปต์, 2540) การสารวจสถานการณ์ผสู ้ ู งอายุจงั หวัดแม่ฮ่องสอนของ ศิริรัตน์ ปานอุทยั และคณะ
(2552) พบว่าส่ วนใหญ่ประชากรผูส้ ู งอายุจงั หวัดแม่ฮ่องสอนมีสัดส่ วนของผูท้ ี่ไม่ได้รับการศึกษามากที่สุด
ร้อยละ 50.94 และมีผูท้ ี่ สาเร็ จการศึกษาระดับประถมศึกษาร้ อยละ 28.12 ซึ่ งผูส้ ู งอายุกลุ่ มชาติพนั ธุ์
กะเหรี่ ยงในพื้นที่จงั หวัดแม่ฮ่องสอนนั้น เป็ นกลุ่มที่เข้าถึ งความรู ้ ทางสุ ขภาพ รวมไปถึ งการส่ งเสริ ม
สุ ขภาพที่น้อยกว่ากลุ่มผูส้ ู งอายุในเขตเมือง เนื่ องจากการเดิ นทางและการเข้าถึ งบริ การสุ ขภาพยังไม่
เอื้ ออานวย อี กทั้งยังเป็ นกลุ่ มที่ เปราะบางต่อการมี ปัญหาทางสุ ขภาพ (ศิ ริรัตน์ ปานอุ ทยั และคณะ,
2552) ซึ่ งกลุ่ ม ผู ้สู ง อายุ ก ะเหรี่ ย งในจัง หวัด แม่ ฮ่ อ งสอนส่ ว นมากอาศัย อยู่ บ นภู เ ขาและที่ ร าบสู ง
ประกอบอาชี พทาไร่ ทาสวน เป็ นหลัก มีการเดินขึ้นลงที่สูงเป็ นประจา ทาให้มกั จะเกิดปั ญหาสุ ขภาพ
ทางด้านระบบกระดู กและกล้ามเนื้ อ ซึ่ งเป็ นไปในทานองเดี ยวกับการศึ กษาของ พีรนุ ช จันทรคุ ปต์
(2540) ที่ศึกษาพฤติกรรมการดู แลตนเอง คุ ณภาพชี วิต และความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยพื้นฐานบาง
ประการกับพฤติกรรมการดู แลตนเอง และคุ ณภาพชี วิตของผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง ในจังหวัดเชี ยงใหม่
จานวน 230 ราย พบว่า ปั ญหาสุ ขภาพที่ พบมากที่ สุดของผูส้ ู ง อายุก ะเหรี่ ยง คื อ ปั ญหาของระบบ
กระดูกและกล้ามเนื้อ รองลงมา คือ โรคผิวหนัง นอกจากนี้ชาวกะเหรี่ ยงยังมีประเพณี และวัฒนธรรมที่
ต้องมีการนาสุ ราเข้ามาเกี่ยวข้องในการทาพิธีกรรมต่างๆอยูท่ ุกพิธีกรรม และไม่มีขอ้ จากัดในเรื่ องอายุ
หรื อเพศในการดื่มสุ รา รวมถึงการสู บบุหรี่ และการรับประทานอาหารแบบสุ กๆ ดิบๆ ดังการศึกษาของ
พีรนุ ช จันทรคุ ปต์ (2540) ที่ พบว่า ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง ส่ วนใหญ่สูบบุ หรี่ และดื่ มสุ ราเป็ นประจาท าให้
ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงในจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีปัญหาสุ ขภาพที่คล้ายคลึงกับผูส้ ู งอายุโดยทัว่ ไป โดยส่ วนใหญ่

16
พบว่าเจ็บป่ วยด้วยโรคเรื้ อรัง ได้แก่ ความดันโลหิ ตสู งร้ อยละ 53.41 และโรคเบาหวานร้อยละ 63.51
ของประชากรทั้งหมดที่ป่วยในจังหวัด (สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัดแม่ฮ่องสอน, 2559)

พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง ใน 6 ด้านตามรู ปแบบของ เพนเดอร์ และคณะ


(Pender et al., 2011) ดังนี้

1. ด้านความรั บผิดชอบต่อสุ ขภาพ เป็ นความรั บผิดชอบของผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงในการสนใจ


ดู แลตนเอง ซึ่ งผูส้ ู ง อายุก ะเหรี่ ย งมี การสังเกตอาการเปลี่ ยนแปลงของตนเองอยู่เสมอ แต่ม กั จะไม่
แสวงหาความรู ้ ทางการอ่านหนังสื อหรื อดู ทีวี แต่มกั จะใช้การพูดคุ ยและศึกษาจากภูมิปัญญาท้องถิ่ น
ดั้งเดิ มที่สืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษในการดู แลสุ ขภาพ (พีรนุ ช จันทร์ คุปต์, 2540) เป็ นไปในทา
เดียวกันกับการศึกษาของ ศิวาพร มหาทานุโชค (2558) พบว่า กลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงขาวมีพฤติกรรม
ส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านความรับผิดชอบต่อสุ ขภาพอยูใ่ นระดับดี

2. ด้านกิจกรรมทางกาย ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงจะไม่ค่อยมีกิจกรรมทางกายที่เป็ นการออกกาลังกาย


แบบมี รูป แบบ แต่ จะมี กิจกรรมทางกายในการไปท างานตามไร่ นาหรื อสวนเป็ นหลัก ซึ่ งผูส้ ู งอายุ
กะเหรี่ ยงยังคงประกอบอาชี พเป็ นเกษตรกรเป็ นส่ วนมาก และเชื่ อว่า การไปทาไร่ ทาสวนทุกวันนั้น
เสมือนได้ออกกาลังกายอยูเ่ สมอ ทั้งการดายหญ้า ถอนหญ้า การใช้จอบเสี ยมในการปลูกพืชผลต่างๆก็
ใช้แ รงเหมื อ นการได้อ อกก าลัง กายเช่ น กัน (พี ร นุ ช จัน ทร์ คุ ป ต์, 2540) เป็ นไปในท าเดี ย วกัน กับ
การศึกษาของ ศิวาพร มหาทานุโชค (2558) พบว่า กลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงขาว มีการออกกาลังกายใน
ระหว่างทากิ จวัตรประจาวัน เช่ น เดิ นไปมา ทางานบ้าน และการออกกาลังกายเบาๆ เช่ น การเดิ น
30-40 นาที สัปดาห์ละ 5 ครั้ง

3. ด้านโภชนาการ ผูส้ ู ง อายุก ะเหรี่ ย งมี การรั บ ประทานอาหารส่ วนใหญ่ ที่ป ระกอบมาจาก
พืชผักสวนครัวที่ปลูกไว้เองหรื อไปเก็บตามในป่ าเอามารับประทาน ส่ วนเนื้ อสัตว์จะกินปลาในแม่น้ า
เป็ นหลัก มีเนื้อหมูหรื อวัว ควายที่เลี้ยงไว้เอง วิธีการประกอบอาหารใช้วิธีการต้ม นึ่ ง และย่างเป็ นหลัก
(พีรนุช จันทร์ คุปต์, 2540) เป็ นไปในทาเดียวกันกับการศึกษาของ ศิวาพร มหาทานุโชค (2558) พบว่า
กลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงขาวมีการรับประทานอาหารเช้าทุกวัน แต่ไม่ค่อยได้รับประทานนม นมถัว่ เหลือง
ในแต่ละวัน

4. ด้านการมีปฏิ สัมพันธ์ ระหว่างบุคคล ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงจะมีการไปมาหาสู่ กนั เป็ นประจา


ผูส้ ู งอายุมกั จะเดินทางมาเยี่ยมเยียนกันที่บา้ นอยูเ่ สมอ มีความสัมพันธ์อนั ดีต่อกัน สามารถปรับตัวเข้า
ได้กบั สภาพแวดล้อมที่ อยู่อาศัย (พีรนุ ช จันทร์ คุปต์, 2540) ดังการศึกษาของ ศิวาพร มหาทานุ โชค
(2558) พบว่า กลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงขาวมีการแสดงออกด้านการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในระดับดี

17
5. ด้านการพัฒนาทางจิตวิญญาณ ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงมักมีความเชื่ อในด้านภูตผีวิญญาณบรรพ
บุรุษ และก็มีบางส่ วนที่นบั ถือศาสนาคริ สต์และพุทธ ยึดถือไว้เป็ นเครื่ องยึดเหนี่ ยวทางจิตใจ ผูส้ ู งอายุ
กะเหรี่ ยงมีความพึงพอใจและรู ้สึกว่าตนเองมีคุณค่า ไม่ได้ว่าตัวเองเป็ นภาระแก่ลูกหลานแต่อย่างใด
(พีรนุช จันทร์ คุปต์, 2540) ดังการศึกษาของ ศิวาพร มหาทานุโชค (2558) พบว่า กลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงขาว
มีพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านการพัฒนาทางจิตวิญญาณอยูใ่ นระดับดี โดยกลุ่มชาติพนั ธ์กะเหรี่ ยงขาว
มีความเชื่อถือศาสนาและผีบรรพบุรุษไว้เป็ นที่ยดึ เหนี่ยวทางจิตใจ

6. ด้านการจัดการกับความเครี ยด ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงนั้นมักจะไม่ค่อยมีความเครี ยด เนื่ องจากมี


การไปมาหาสู่ กนั เป็ นประจา ไม่ได้ถูกกดดันทางสังคม มีลูกหลานคอยดู แลยามเจ็บป่ วย ถ้ามีอาการ
เครี ยดส่ วนใหญ่มกั จะเล่าให้เพื่อนและลูกหลานฟังเพื่อช่วยกันหาทางออกอยูเ่ สมอ (พีรนุช จันทร์ คุปต์,
2540) ดังการศึกษาของ ศิวาพร มหาทานุโชค (2558) พบว่า กลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงขาวมีพฤติกรรม
ส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านการจัดการความเครี ยดอยูใ่ นระดับดี สามารถจัดการปั ญหาความเครี ยดของตนเอง
ที่เกิดขึ้นได้

จากการทบทวนทางวรรณกรรมเกี่ยวกับพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง จะพบว่า


มีอยู่ค่อนข้างจากัด อีกทั้งเป็ นงานวิจยั ที่มีการศึกษาผ่านมาเกิ นกว่า 10 ปี ถึ งแม้จะพบว่า มีการศึกษา
พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงขาวเฉพาะในประชาชนทัว่ ไป (อายุ 14-45 ปี )
แต่ การศึ ก ษาไม่ไ ด้เฉพาะเจาะจงกับผูส้ ู งอายุก ะเหรี่ ย ง ซึ่ ง มี ความแตกต่ างจากวัย อื่ น โดยผูส้ ู งอายุ
กะเหรี่ ย งเป็ นกลุ่ ม บุ ค คลที่ เข้า ถึ ง ข้อมู ล และการรั บ บริ ก ารทางสุ ข ภาพที่ มีข ้อจากัด อี ก ทั้ง ยัง ความ
แตกต่างทางประเพณี วฒั นธรรมการกิ นอยู่ที่แตกต่างจากกลุ่มผูส้ ู งอายุอื่น จึ งมีความสาคัญในการที่
จะต้องศึกษาและทาความเข้าใจเพื่อการส่ งเสริ มสุ ขภาพที่เหมาะสมกับกลุ่มผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงต่อไป

ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้ องกับพฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพของผู้สูงอายุ

จากการทบทวนทางวรรณกรรมพบว่า มี ข ้อ จ ากัด เกี่ ย วกับ การศึ ก ษาปั จ จัย ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ
พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง แต่มีการศึกษาปั จจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมส่ งเสริ ม
สุ ขภาพของผูส้ ู งอายุทวั่ ไป ดังนี้

1. อายุ อายุที่มากขึ้ นทาให้สมรรถภาพของร่ างกายลดลง ส่ งผลให้ความสามารถในการทา


กิ จกรรมหรื อการปฏิ บตั ิ พฤติ กรรมลดลง โดยผูท้ ี่มีอายุมากขึ้ นมักจะมี พฤติ กรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่
เหมาะสมน้อยกว่า ผู ส้ ู ง อายุที่ มี อ ายุ น้อ ยกว่า ผู ส้ ู ง อายุว ยั ต้นมี อายุร ะหว่า ง 60-69 ปี เป็ นช่ วงอายุ ที่
สถานภาพทางกายและสรี รวิทยายังไม่เปลี่ยนแปลงมากนักส่ วนใหญ่ยงั สามารถช่วยเหลือตนเองได้จึง
มีโอกาสที่จะรวมกลุ่มเพื่อทากิ จกรรมต่าง ๆ ทางสังคม รวมถึงการเข้าร่ วมเป็ นสมาชิ กชมรมผูส้ ู งอายุ

18
และมี กิจกรรมต่อเนื่ อง ได้มากกว่าผูส้ ู งอายุวยั กลาง (70-79 ปี ) หรื อผูส้ ู งอายุวยั ปลาย (80 ปี ขึ้ นไป)
(ทิพย์กมล อิสลาม, 2557) ดังการศึกษาของผูส้ ู งอายุในประเทศอิหร่ าน พบว่า อายุมีความสัมพันธ์กบั
พฤติ กรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพอย่างมีนัยสาคัญทางสถิ ติ โดยผูส้ ู งอายุวยั ต้นมักจะมี พฤติ กรรมส่ งเสริ ม
สุ ขภาพที่ดีกว่าผูส้ ู งอายุวยั ปลาย (Mofrad et al., 2016)

2. เพศ เป็ นสิ่ ง ที่ แ สดงถึ ง ความแตกต่ า งทางชี ว ภาพของบุ ค คลเป็ นตัว ก าหนดบทบาท
ความสามารถ และการแสดงพฤติกรรมต่างๆ (Palank, 1991) เพศชายจะมีโครงสร้างที่แข็งแรงจะมี
พฤติกรรมในด้านของการใช้กาลัง เช่น การทางานนอกบ้าน ส่ วนเพศหญิงจะมีโครงสร้างที่บอบบาง มี
พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดู แลตนเองและบุคคลอื่นๆ เช่ น การดู แลสุ ขภาพ และความเป็ นอยู่ของ
บุคคลในครอบครั ว เพศที่ แตกต่างกันจะมี การปฏิ บตั ิ พฤติ กรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ แตกต่างกัน จาก
การศึกษาที่ผา่ นมาพบว่า ผูส้ ู งอายุเพศหญิงมีพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพดีกว่าเพศชาย เนื่ องจากมีการ
ดูแลเอาใจใส่ ต่อสุ ขภาพของตนเอง รับประทานอาหารที่เหมาะสม ไม่ดื่มเหล้า (กิตติมาพร โลกาวิทย์,
2556) แตกต่างจากการศึกษาของ ฮารุ นี และคณะ (Harooni et al., 2014) ที่ศึกษาปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อ
พฤติ ก รรมสุ ข ภาพในกลุ่ ม ผูส้ ู ง อายุที่ อาศัย อยู่ใ นชุ ม ชนจัง หวัดดี ม า (Dema) ประเทศอิ หร่ า น กลุ่ ม
ตัวอย่างเป็ นผูส้ ู งอายุ อายุ 65 ปี ขึ้นไปจานวน 120 คน ผลการศึกษาพบว่า ผูส้ ู งอายุส่วนใหญ่ (ร้อยละ
85) มีพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในระดับที่เหมาะสม และผูส้ ู งอายุชายมีการปฏิบตั ิพฤติกรรมส่ งเสริ ม
สุ ขภาพดี กว่าผูส้ ู งอายุหญิง เนื่ องจากในประเทศอิหร่ านการมีปฏิ สัมพันธ์ทางสังคมของผูห้ ญิงนั้นมี
น้อยกว่าผูช้ ายทาให้การเข้าถึงข้อมูลทางสุ ขภาพน้อยกว่าผูช้ ายด้วย

3. สถานภาพสมรส เป็ นข้อบ่งชี้ สถานะระบบครอบครัว เป็ นตัวที่กาหนดบทบาททางสังคม


และถื อว่าเป็ นแหล่งประโยชน์ที่สาคัญของครอบครัว เพราะคู่สมรสเป็ นส่ วนหนึ่ งของการสนับสนุ น
ทางสัง คมที่ สาคัญ ผูส้ ู งอายุที่มี คู่สมรสจะมี โอกาสได้รับความรั ก การดู แลเอาใจใส่ ตลอดจนการ
ช่วยเหลือของสามีหรื อภรรยา ทาให้ผสู ้ ู งอายุเกิ ดความมัน่ คงทางอารมณ์ รู ้สึกมีคุณค่า ในตนเองและ
มัน่ ใจในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ (Karimi, Keyvanara, Hosseini, Jazi, & Khorasani, 2014) นอกจากนี้
ผูส้ ู งอายุจะยังได้รับการสนับสนุ นด้านข้อมูลข่าวสารทางสุ ขภาพและการปฏิบตั ิตวั ที่เหมาะสม ทาให้
ผูส้ ู งอายุมีพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ดีตามมา ดังการศึกษาของ วริ ศา จันทรังสี วรกุล (2553) ที่ศึกษา
พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพและภาวะสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุที่อาศัยอยูใ่ นสถานสงเคราะห์คนชราบ้านเขา
บ่อแก้ว จังหวัดนครสวรรค์ จานวน 82 ราย พบว่า ผูส้ ู ง อายุที่ มีส ถานภาพสมรสคู่ จะมี พ ฤติ ก รรม
ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพที่ ดีก ว่า ผูส้ ู ง อายุที่ มี ส ถานภาพสมรสอื่ นๆ และผูส้ ู ง อายุหญิ ง ที่ อยู่ก ับ คู่ ส มรสจะมี
พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพและมีภาวะสุ ขภาพดีกว่าผูส้ ู งอายุที่อยูก่ บั บุคคลอื่นที่ไม่ใช่คู่สมรส

19
4. ระดับการศึกษา เป็ นพื้นฐานสาคัญของบุคคลที่มีผลต่อการพัฒนาความรู ้ ความเข้าใจ และ
ทัศนคติในการปฏิบตั ิพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ โดยทัว่ ไปบุคคลที่มีระดับการศึกษาสู งจะมีการปฏิบตั ิ
ตนด้านสุ ขภาพที่ดีกว่าผูท้ ี่มีระดับการศึกษาต่า เนื่ องจากผูท้ ี่มีการศึกษาสู งจะมีโอกาสที่จะแสวงหาสิ่ ง
ที่มีประโยชน์หรื อเอื้อต่อการปฏิบตั ิพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ดี (Dehghankar, Shahrokhi, Qolizadeh,
Mohammadi, & Nasiri, 2016) ดังการศึกษาของ วริ ศา จันทรังสี วรกุล (2553) ที่ศึกษาพฤติกรรมส่ งเสริ ม
สุ ขภาพและภาวะสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุที่อาศัยอยู่ในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านเขาบ่อแก้ว จังหวัด
นครสวรรค์ จานวน 82 ราย พบว่า การที่มีระดับการศึกษาสู ง จะทาให้มีทกั ษะในการแสวงหาข้อมูล
ตลอดจนรู ้จกั ใช้แหล่งประโยชน์ได้ดีกว่าผูท้ ี่มีการศึกษาต่า

5. รายได้ เป็ นตัวบ่งชี้ ถึงสภาพของเศรษฐกิ จและสังคมผูส้ ู งอายุที่มีฐานะทางเศรษฐกิจดีจะมี


โอกาสแสวงหาสิ่ งที่มีประโยชน์ต่อการดูแลสุ ขภาพของตนเอง และมีพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ดี
ตามมา (Pender et al., 2011) รายได้เป็ นปั จจัยที่ มี อิท ธิ พลต่อการดาเนิ นชี วิตในการตอบสนองด้า น
ความต้องการพื้นฐานของมนุ ษย์ ผูส้ ู งอายุที่มีปัญหาด้านการเงินจะมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย
ส่ งผลให้มีความผาสุ กทางใจในระดับต่ า และทาให้ผูส้ ู งอายุได้รับตอบสนองความต้องการด้านต่างๆ
ลดลง (Karimi et al., 2014) ดังการศึกษาของ หลิว และคณะ (Liu et al., 2015) ที่พบว่าผูท้ ี่มีรายได้สูง
กว่ามักจะมีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพที่สูงกว่าผูท้ ี่มีรายได้นอ้ ย เนื่ องจากผูท้ ี่มีรายได้สูงกว่าเข้าถึงบริ การ
สุ ขภาพได้ดีกว่า มีความสนใจในการเสาะหาความรู ้ดา้ นสุ ขภาพ สรรหาบริ การสุ ขภาพที่ดีกว่าอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติ

การประเมินพฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพของผู้สูงอายุ

จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่าวิธีการประเมินพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพนั้นมีท้ งั การสังเกต


และการรายงานตนเอง โดยในที่น้ ี ผูว้ ิจยั เลือกทบทวนเครื่ องมือแบบสอบถามเพื่อให้ผสู ้ ู งอายุรายงาน
พฤติกรรมของตนเอง มีรายละเอียด ดังนี้

1. แบบสอบถามแบบแผนการด าเนิ นชี วิ ต ที่ ส่ งเสริ ม สุ ขภาพ ฉบั บ ภาษาอังกฤษ (Health-


Promoting Lifestyle Profile II: HPLP II)
แบบสอบถามนี้ พฒั นาโดย วอร์ คเกอร์ และคณะ (Walker et al., 1995) เพื่อประเมินพฤติกรรม
ส่ งเสริ มสุ ขภาพทั้ง 6 ด้าน ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 52 ข้อ คื อความรับผิดชอบต่อสุ ขภาพ มี
จานวนข้อคาถาม 9 ข้อ กิจกรรมทางกาย มีจานวนข้อคาถาม 8 ข้อ การพัฒนาทางจิตวิญญาณมีจานวน
ข้อคาถาม 9 ข้อ สัมพันธภาพระหว่างบุ ค คลมี จานวนข้อคาถาม 9 ข้อ การจัดการกับความเครี ยดมี
จานวนข้อคาถาม 8 ข้อ และการบริ โภคอาหารมีจานวนข้อคาถาม 9 ข้อ ลักษณะคาตอบเป็ นแบบมาตร

20
ประมาณค่า 4 ระดับ คื อ ไม่ ปฏิ บ ตั ิ ปฏิ บ ตั ิ นานๆ ครั้ ง ปฏิ บตั ิ บ่ อยครั้ ง และปฏิ บ ตั ิ เป็ นประจา โดย
กาหนดคะแนน ดังนี้ ระดับคะแนน 1 หมายถึงกิจกรรมนั้นไม่เคยปฏิบตั ิเลย ระดับคะแนน 2 หมายถึง
กิจกรรมนั้นปฏิบตั ินานๆ ครั้ง ระดับคะแนน 3 หมายถึง กิจกรรมนั้นปฏิบตั ิบ่อยครั้ง และระดับคะแนน
4 หมายถึ ง กิ จกรรมนั้นปฏิ บตั ิ เป็ นประจาสม่ าเสมอ การแปลความหมายของคะแนน พิจารณาจาก
ค่าเฉลี่ยของแต่ละบุคคล (คะแนนรวมหารด้วยจานวนข้อ) โดยมีคะแนนเต็มอยูร่ ะหว่าง 1-4 แล้วนามา
คานวณหาค่าเฉลี่ยรวม แปลความหมายตามเกณฑ์ ดังนี้ ค่าเฉลี่ย 1.00-2.19 หมายถึง ปฏิบตั ิพฤติกรรม
ส่ งเสริ มสุ ขภาพอยู่ในระดับต่ า ค่าเฉลี่ ย 2.20-2.59 หมายถึ ง ปฏิ บตั ิ พฤติ กรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพอยู่ใน
ระดับ พอใช้ ค่ า เฉลี่ ย 2.60-2.99 หมายถึ ง ปฏิ บ ตั ิ พ ฤติ ก รรมส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพอยู่ใ นระดับ ปานกลาง
ค่าเฉลี่ ย 3.00-3.39 หมายถึ ง ปฏิ บตั ิ พฤติ กรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพอยู่ในระดับดี และค่าเฉลี่ ย 3.40-4.00
หมายถึ ง ปฏิ บตั ิพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพอยู่ในระดับดี มาก เครื่ องมือผ่านการทดสอบความเชื่ อมัน่
จากการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างกลุ่มต่างๆ โดยมีค่าสัมประสิ ทธิ์ ครอนบาคทั้งโดยรวมและรายด้านอยู่
ในระดับที่ยอมรับ คือมากกว่า 0.80

2. แบบสอบถามแบบแผนการดาเนิ นชี วิตที่ส่งเสริ มสุ ขภาพของ วอล์ คเกอร์ และคณะ ฉบับ


ภาษาไทย
แบบสอบถามแบบแผนการดาเนิ นชี วิตที่ส่งเสริ มสุ ขภาพของ วอล์คเกอร์ และคณะ ฉบับ
ภาษาไทยแปลโดย ศิริมา วงศ์แหลมทอง (2542) เพื่อนามาประเมินพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพผูส้ ู งอายุ
แบบสอบถามได้ผา่ นการแปลย้อนกลับ (back translation) จากผูเ้ ชี่ ยวชาญด้านภาษาทั้งภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษ และผ่านการตรวจสอบค่าความตรงตามเนื้อหาได้ 0.90 และค่าความเชื่อมัน่ ได้ 0.85

3. แบบสอบถามพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ ยงขาวที่มีความเสี่ ยงต่ อ


โรคเรื้อรัง
แบบสอบถามพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงขาวที่มีความเสี่ ยงต่อ
โรคเรื้ อรัง ของศิวาพร มหาทานุ โชค ที่ดดั แปลงมาจากแบบสอบถามพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของ
วอร์ คเกอร์ และคณะ (Walker et al., 1995) โดยเป็ นแบบสอบถามความถี่ในการแสดงออกพฤติกรรม
ส่ งเสริ มสุ ขภาพ 6 ด้าน ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 44 ข้อ คือ ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
จานวน 9 ข้อ ด้านความรับผิดชอบต่อสุ ขภาพ จานวน 6 ข้อ ด้านกิ จกรรมทางกาย จานวน 4 ข้อ ด้าน
โภชนาการ จานวน 9 ข้อ ด้านการพัฒนาทางจิตวิญญาณ จานวน 9 ข้อ ด้านการจัดการความเครี ยด
จานวน 7 ข้อ มีลกั ษณะคาตอบเป็ นแบบมาตรประมาณค่า 4 ระดับ กาหนดคะแนน ดังนี้ คะแนน 1
หมายถึ งกิ จกรรมนั้นไม่เคยปฏิ บตั ิเลย คะแนน 2 หมายถึ ง กิ จกรรมนั้นปฏิ บตั ิ นานๆ ครั้ง คะแนน 3
หมายถึงกิจกรรมนั้นปฏิบตั ิบ่อยครั้ง และคะแนน 4 หมายถึง กิจกรรมนั้นปฏิบตั ิเป็ นประจาสม่าเสมอ

21
การแปลผลคะแนน พิจารณาจากคะแนนรวมของแต่ละบุคคล มีคะแนนอยู่ระหว่าง 44-176 คะแนน
แบ่งระดับคะแนนโดยใช้วิธีการคานวณหาช่วงกว้างระหว่างอันตรภาคชั้นตามหลักการค่าเฉลี่ ย แบ่ง
คะแนนออกเป็ น 3 ระดับ ดังนี้ คะแนน 44.00-87.00 หมายถึ ง แสดงออกพฤติ กรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ
ระดับต่า คะแนน 87.01-131.00 หมายถึ ง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพระดับปานกลาง และ
คะแนน 131.01-176.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพระดับสู ง ศิวาพร มหาทานุ โชค
(2558) ได้นาไปใช้ในการศึกษาพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพกลุ่มประชาชนทัว่ ไปชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงขาว
อายุ 15-45 ปี ที่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน และทดสอบความเชื่อมัน่ ได้ค่าสัมประสิ ทธิ์ อลั ฟาครอนบาค เท่ากับ
0.86

งานวิ จ ัย ครั้ งนี้ ผู ว้ ิ จ ัย เลื อ กใช้ แ บบสั ม ภาษณ์ พ ฤติ ก รรมส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพของกลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ์
กะเหรี่ ยงขาวที่มีความเสี่ ยงต่อโรคเรื้ อรังของ ศิวาพร มหาทานุ โชค (2558) เนื่ องจากเคยนาไปใช้ใน
การศึกษากลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงซึ่ งตรงกับกลุ่มตัวอย่างที่ผวู ้ จิ ยั จะทาการศึกษาและมีค่าความน่าเชื่อถือ
ของเครื่ องมืออยูใ่ นเกณฑ์ที่เชื่อถือได้

ความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพในผู้สูงอายุ

ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ เป็ นความสามารถของบุคคลในการเข้าถึง เข้าใจ และใช้ขอ้ มูลทางด้าน


สุ ขภาพ ในการตัดสิ นใจ ส่ งเสริ มและรักษาสุ ขภาพที่ดีของตนเองไว้ให้คงอยูอ่ ย่างต่อเนื่อง (Nutbeam,
2009)

ความหมายความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพ

จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่ามี ก ารกาหนดนิ ยามและความหมายของความรอบรู ้ ด้า น


สุ ขภาพ ดังนี้

ซาร์ คาโดลาส, พลีเซ้นต์, และ เกี ยร์ (Zarcadoolas, Pleasant, & Greer, 2005) นิ ยามความรอบรู ้
ด้า นสุ ข ภาพว่ า เป็ นทัก ษะที่ ค รอบคลุ ม ความสามารถของบุ ค คลในการประเมิ น ข้อ มู ล ข่ า วสาร
สาธารณสุ ข

คิกบุซช์ (Kickbusch, 2008) นิ ยามความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพว่าเป็ นความสามารถในการตัดสิ นใจ


ด้านสุ ขภาพ ในชีวติ ประจาวัน และมีความสามารถในการหาข้อมูลเพื่อดูแลสุ ขภาพด้วยตนเอง

22
เพลี ย เซน และ คู รูวิล ลา (Pleasant & Kuruvilla, 2008) นิ ย ามความรอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพว่า เป็ น
ความสามารถในการค้นหา ทาความเข้าใจ วิเคราะห์ และใช้ขอ้ มูลทางสุ ขภาพในการตัดสิ นใจได้อย่าง
ถูกต้อง เพื่อให้มีสุขภาพดี และ ลดความไม่เสมอภาคทางสุ ขภาพ

อิชิคาวา และคณะ (Ishikawa et al., 2008) นิ ยามความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพว่าเป็ นความสามารถ


เฉพาะบุคคลในการเข้าถึง เข้าใจ และใช้ขอ้ มูลทางสุ ขภาพ เพื่อทาให้เกิดการตัดสิ นใจทางสุ ขภาพได้
อย่างเหมาะสม

ดอน นัทบีม (Nutbeam, 2009) นิ ยามความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพไว้วา่ เป็ นความรู ้ ความเข้าใจ และ
ทักษะทางสังคมที่กาหนดแรงจูงใจ และ ความสามารถเฉพาะบุคคลในการเข้าถึง ทาความเข้าใจ และ
ใช้ขอ้ มู ลเพื่อให้เกิ ดสุ ขภาพที่ ดี รวมทั้งการพัฒนาความรู ้ และทาความเข้าใจในบริ บทด้านสุ ขภาพ
การเปลี่ยนแปลงทัศนคติและแรงจูงใจเพื่อก่อให้เกิดพฤติกรรมสุ ขภาพที่เหมาะสมด้วยตนเอง

องค์การอนามัยโลก (WHO, 2010) ได้ให้คานิยามความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพไว้ในปี ค.ศ. 1998 ว่า
คือ ทักษะต่างๆ ทางด้านสติปัญญาและทักษะทางสังคม ซึ่ งเป็ นตัวกาหนดแรงจูงใจและความสามารถ
ของปั จเจกบุคคลในการที่จะเข้าถึ ง เข้าใจ และใช้ขอ้ มูลในวิธีการต่างๆ เพื่อส่ งเสริ มและบารุ งรักษา
สุ ขภาพของตนเองให้ดีอยูเ่ สมอ

ซึ่ ง ในการศึ กษาครั้ งนี้ ผูว้ ิจยั ได้กาหนดความหมายของความรอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพ ตามแนวคิ ด
ของนัทบีม คือ ความสามารถของผูส้ ู งอายุในการเข้าถึง เข้าใจ และใช้ขอ้ มูลทางด้านสุ ขภาพ ในการ
ตัดสิ นใจ ส่ งเสริ มและรักษาสุ ขภาพที่ดีของตนเองไว้ให้คงอยูอ่ ย่างต่อเนื่อง

ระดับของความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพ

นัทบีม (Nutbeam, 2009) ได้กาหนดระดับของความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ ออกเป็ น 3 ระดับ ดังนี้

ระดับที่ 1 ความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพพื้นฐาน (functional health literacy /basic skills and understanding)
เป็ นความสามารถในด้านการอ่าน และเขียน ในการเข้าถึงข้อมูล การรับรู ้ขอ้ มูลเกี่ยวกับการดูแลตนเอง
เป็ นทักษะพื้นฐานในการเข้าถึ งแหล่งข้อมูลด้านสุ ขภาพ เช่ น การอ่านฉลากยา ใบยินยอมการรักษา
การเขียนข้อมูลการดูแลสุ ขภาพ เข้าใจในการให้ขอ้ มูล

ระดับที่ 2 ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพด้านการมีปฏิสัมพันธ์/การติดต่อสื่ อสาร (interactive/ communication


health literacy) เป็ นความสามารถในด้านการฟั ง พูด การติดต่อสื่ อสาร การจัดการตนเองที่เหมาะสม

23
เป็ นการใช้ความรู ้และการสื่ อสารเพื่อเพิ่มความสามารถในการดูแลสุ ขภาพ สามารถมีส่วนร่ วมในการ
ดูแลสุ ขภาพตนเอง สามารถซักถามแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านสุ ขภาพกับบุคลากรทางการแพทย์ได้

ระดับที่ 3 ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพด้านวิจารณญาณ (critical health literacy) เป็ นความสามารถ
ในการประเมินข้อมูลสารสนเทศ การรู ้ เท่าทันสื่ อ เพื่อนาไปตัดสิ นใจ วิเคราะห์ ในการเลื อกปฏิ บตั ิ
พฤติกรรมสุ ขภาพ และสามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีวจิ ารณญาณ

ทักษะทีส่ าคัญของความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพ

การพัฒนาศักยภาพของบุคคลเพื่อให้เกิดความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพ นัทบีม (Nutbeam, 2009) ได้


อธิบายทักษะที่สาคัญของความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพไว้ 6 ทักษะ ดังนี้

1. ทักษะการเข้าถึงข้อมูลสุ ขภาพและบริ การสุ ขภาพ (access skill) หมายถึง การใช้ความสามารถ


ในเลือกแหล่งข้อมูล รู ้วิธีการในการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตน และตรวจสอบข้อมูลจากหลาย
แหล่ ง จนข้อมู ล มี ความน่ า เชื่ อถื อ โดยมี องค์ป ระกอบที่ ส าคัญ คื อ สามารถเลื อกแหล่ ง ข้อมู ล ด้า น
สุ ขภาพ และบริ การสุ ขภาพ รู ้ วิธีการค้นหาและการใช้อุปกรณ์ในการค้นหาข้อมูลสุ ขภาพและบริ การ
สุ ขภาพที่ถูกต้อง รวมถึงสามารถตรวจสอบข้อมูลจากหลายแหล่งได้ เพื่อยืนยันความเข้าใจของตนเอง
และได้ขอ้ มูลที่น่าเชื่อถือ สาหรับนาไปใช้ในการดูแลสุ ขภาพด้วยตนเอง

2. ทักษะความรู ้ ความเข้าใจ (cognitive skill) หมายถึ ง ความรู ้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ ยวกับ


แนวทางการปฏิบตั ิ โดยมีองค์ประกอบที่สาคัญ คือ มีความรู ้และจาในเนื้ อหาสาระสาคัญด้านสุ ขภาพ
สามารถอธิ บ ายถึ ง ความเข้า ใจในประเด็ นเนื้ อหาสาระด้า นสุ ข ภาพในการที่ จะนาไปปฏิ บ ตั ิ และ
สามารถวิเคราะห์ เปรี ยบเทียบเนื้อหา/แนวทางการปฏิบตั ิดา้ นสุ ขภาพได้อย่างมีเหตุผล

3. ทักษะการสื่ อสาร (communication skill) หมายถึง ความสามารถในการสื่ อสารโดยการพูด


อ่าน เขียน รวมทั้งสามารถสื่ อสารและโน้มน้าวให้บุคคลอื่นเข้าใจและยอมรับข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบตั ิ
ตน โดยมีองค์ประกอบที่สาคัญ คือ สามารถสื่ อสารข้อมูลความรู ้ดา้ นสุ ขภาพด้วยวิธีการพูด อ่าน เขียน
ให้บุคคลอื่นเข้าใจ และสามารถโน้มน้าวให้บุคคลอื่นยอมรับข้อมูลด้านสุ ขภาพ

4. ทัก ษะการจัดการตนเอง (self-management skill) หมายถึ ง ความสามารถในการก าหนด


เป้ าหมาย วางแผน และปฏิบตั ิตามแผนการปฏิบตั ิ พร้อมทั้งมีการทบทวนวิธีการปฏิบตั ิตามเป้ าหมาย
เพื่อนามาปรับเปลี่ยนวิธีปฏิบตั ิตนให้ถูกต้อง โดยมีองค์ประกอบที่สาคัญ คือ สามารถกาหนดเป้ าหมาย
และวางแผนการปฏิบตั ิ สามารถปฏิบตั ิตามแผนที่กาหนดได้ และมีการทบทวนและปรับเปลี่ยนวิธีการ
ปฏิบตั ิตนเพื่อให้มีพฤติกรรมสุ ขภาพที่ถูกต้อง

24
5. ทักษะการตัดสิ นใจ (decision skill) หมายถึ ง ความสามารถในการกาหนดทางเลื อกและ
ปฏิ เสธ/หลี ก เลี่ ย งหรื อเลื อกวิธี ก ารปฏิ บตั ิ โดยมี ก ารใช้เหตุ ผลหรื อวิเคราะห์ ผลดี -ผลเสี ย เพื่ อการ
ปฏิ เสธ/หลี ก เลี่ ย ง พร้ อมแสดงทางเลื อกปฏิ บ ตั ิ ที่ ถู ก ต้อง โดยมี องค์ป ระกอบที่ สาคัญ คื อ ก าหนด
ทางเลือกและปฏิเสธ/หลีกเลี่ยงหรื อเลือกวิธีการปฏิบตั ิเพื่อให้มีสุขภาพดี ใช้เหตุผลหรื อวิเคราะห์ผลดี -
ผลเสี ยเพื่อการปฏิเสธ/หลีกเลี่ยง/เลือกวิธีการปฏิบตั ิ และสามารถแสดงทางเลือกที่เกิดผลกระทบน้อย
ต่อตนเองและผูอ้ ื่น

6. ทักษะการรู ้เท่าทันสื่ อ (media literacy skill) หมายถึง ความสามารถในการตรวจสอบความ


ถู ก ต้อง ความน่ า เชื่ อถื อของข้อมู ล ที่ สื่ อนาเสนอ และสามารถเปรี ย บเที ย บวิธี ก ารเลื อกรั บ สื่ อเพื่ อ
หลีกเลี่ยงความเสี่ ยงที่อาจเกิดขึ้นกับสุ ขภาพของตนเองและผูอ้ ื่น รวมทั้งมีการประเมินข้อความสื่ อเพื่อ
ชี้แนะแนวทางให้กบั ชุมชนและสังคม โดยมีองค์ประกอบที่สาคัญ คือ สามารถตรวจสอบความถูกต้อง
ความน่าเชื่อถือของข้อมูลสุ ขภาพที่สื่อนาเสนอ เปรี ยบเทียบวิธีการเลือกรับสื่ อเพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ ยง
ที่จะเกิ ดขึ้นกับตนเองและผูอ้ ื่น รวมถึ งสามารถประเมิ นข้อความสื่ อเพื่อชี้ แนะแนวทางให้กบั ชุ มชน
หรื อสังคมได้

ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้ องกับความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพ

ปั จจัยที่เกี่ยวข้องกับความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุทวั่ ไป มีดงั นี้

1. อายุ เป็ นสิ่ งที่แสดงถึงวัยที่ทาให้แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่ างกาย โดยผูท้ ี่มีอายุมากกว่า


60 ปี ขึ้ นไปถื อว่า เป็ นผูส้ ู ง อายุซ่ ึ งมี ก ารเปลี่ ย นแปลงทางร่ างกายที่ เสื่ อมถอยลงตามธรรมชาติ จาก
การศึกษาพบว่า อายุเป็ นปั จจัยหนึ่ งที่มีอิทธิ พลต่อความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ โดยผูส้ ู งอายุวยั ปลาย (อายุ
80 ปี ขึ้นไป) มักจะมีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพที่ต่ากว่าผูส้ ู งอายุวยั ต้น (อายุ 60-69 ปี ) (วรรณศิริ นิลเนตร,
2557) ซึ่ งการเปลี่ ยนแปลงตามกระบวนความชราหลายประการ เช่ น ปั ญหาการได้ยิน การมองเห็ น
และความจา เป็ นต้น อาจเป็ นข้อจากัด ในการสร้างทักษะการอ่าน การคิด การทาความเข้าใจในข้อมูล
ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ สุ ข ภาพ การตัด สิ น ใจจัด การกับ ปั ญ หาสุ ข ภาพและส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพของตนเองที่
เหมาะสม (Barile et al., 2015) ดังการศึกษาของ โคบายาชิ และคณะ (Kobayashi et al., 2015) พบว่า
กลุ่มวัยผูส้ ู งอายุเป็ นกลุ่มวัยที่พบว่ามีความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพอยู่ในระดับต่ ามากกว่ากลุ่มวัยอื่น และ
การศึกษาของ เรย์ซี่ และคณะ (Reisi et al., 2014) ที่ได้ศึกษาความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพขั้นพื้นฐานของ
ผูส้ ู งอายุจานวน 354 คน อายุเฉลี่ย 67 ± 6.97 ปี ในประเทศอิหร่ าน พบว่า ผูส้ ู งอายุที่มีอายุมากขึ้นจะมี
ความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพที่ ลดลงอย่างมีนยั สาคัญทางสถิ ติ และเช่ นเดี ยวกับการศึ กษาของ เอการ์ วาล
และคณะ (Agarwal et al., 2018) ที่ทาการศึกษาความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุที่อาศัยอยูใ่ นบ้านที่

25
ได้รั บ การสงเคราะห์ จากรั ฐบาล (subsidized housing) ในประเทศแคนาดา อายุเฉลี่ ย 73 ปี พบว่า
ผูส้ ู งอายุที่มีอายุมากขึ้นจะมีระดับความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพที่ลดลงอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติเช่นกัน

2. เพศ เป็ นสิ่ ง ที่ แ สดงถึ ง ความแตกต่ า งทางชี ว ภาพของบุ ค คล เป็ นตัว ก าหนดบทบาท
ความสามารถและการแสดงพฤติ กรรมต่างๆ (Palank, 1991) จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่าเพศ
หญิงมีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพดีกว่าเพศชายดังการศึกษาของ แอนซารี่ และคณะ (Ansari et al., 2016)
ที่ ทาการศึ ก ษาความรอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพในผูส้ ู งอายุ 200 คน ที่ อาศัย อยู่ท างตะวัน ออกเฉี ย งใต้ข อง
ประเทศอิ หร่ า น พบว่า ผูส้ ู งอายุเพศหญิ ง มี ค วามรอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพที่ เพี ยงพอกว่าผูส้ ู ง อายุเพศชาย
เนื่ องจากสนใจในการดูแลตนเองด้านสุ ขภาพอีกทั้งสนใจในการค้นคว้าหาความรู ้ในการดูแลสุ ขภาพ
อยูเ่ สมอ แต่อย่างไรก็ตามบางการศึกษาพบว่า เพศชายมีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพที่ดีกว่าเพศหญิง เช่ น
การศึกษาของ เรย์ซี่ และคณะ (Reisi et al., 2014) ที่ได้ศึกษาความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพขั้นพื้นฐานของ
ผูส้ ู งอายุจานวน 354 คน ในประเทศอิหร่ าน พบว่า ผูส้ ู งอายุเพศชายมีระดับความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพที่
ดี กว่าเพศหญิ ง และเป็ นไปในทานองเดี ยวกับกับการศึ กษาของ หลิ ว และคณะ (Liu et al., 2015) ที่
ศึ ก ษาผูส้ ู ง อายุ จานวน 1,452 คนในประเทศจี น พบว่า เพศชายมี ค วามรอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพที่ ดี ก ว่า
เพศหญิงเช่นกัน

3. สถานภาพการสมรส เป็ นข้อบ่งชี้ สถานะระบบครอบครั ว เป็ นตัวที่ กาหนดบทบาททาง


สังคม และถื อว่าเป็ นแหล่ งประโยชน์ที่ สาคัญของครอบครั ว เพราะคู่ส มรสเป็ นส่ วนหนึ่ งของการ
สนับ สนุ นทางสั ง คมที่ ส าคัญ ผูส้ ู ง อายุที่ มี คู่ ส มรสจะมี โอกาสได้รับ การสนับ สนุ นข้อมู ล ทางด้า น
สุ ขภาพที่มากกว่าบุคคลที่มีสถานภาพโสด หม้าย หย่าหรื อแยก ดังการศึกษาของ แสงเดื อน กิ่ งแก้ว
และ นุ ส รา ประเสริ ฐศรี (2554) ที่ ศึ ก ษาความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพผูส้ ู งอายุในจังหวัดอุ บลราชธานี
จานวน 129 คน พบว่า สถานภาพสมรสคู่ จะมีระดับความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพที่สูงกว่าสถานภาพหม้าย
หย่า แยก และเป็ นไปในทานองเดี ยวกับการศึกษาของ เรย์ซี่ และคณะ (Reisi et al., 2014) ที่ได้ศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพขั้นพื้นฐานกับพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุ
จานวน 354 คน ในประเทศอิหร่ านพบว่า สถานภาพสมรสมีความสัมพันธ์กบั ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ
โดยผูท้ ี่มีสถานภาพสมรสคู่ จะมีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพสู งกว่าผูท้ ี่มีสถานภาพหม้าย หย่า แยก

4. ระดับการศึกษา เป็ นพื้นฐานสาคัญของบุคคลที่มีผลต่อการพัฒนาความรู ้ ความเข้าใจ และ


ทัศนคติในการปฏิ บตั ิ จากการทบทวนพบว่าผูท้ ี่ มีระดับการศึ กษาที่ สูงกว่ามักจะมี ความรอบรู ้ ด้าน
สุ ขภาพที่ดีกว่า เนื่ องจากมี ทกั ษะในการอ่าน เขียน รวมถึ งสนใจในการหาความรู ้ ดีกว่าผูท้ ี่ไม่ได้รับ
การศึกษา (Sudore et al., 2006) ดังการศึกษาของ แสงเดือน กิ่งแก้ว และ นุสรา ประเสริ ฐศรี (2554) ที่
ศึกษาความรอบรู ้ด้านสุ ขภาพผูส้ ู งอายุในจังหวัดอุบลราชธานี จานวน 129 คน พบว่า ผูส้ ู งอายุกลุ่ ม

26
ตัวอย่างส่ วนใหญ่จบการศึกษาในระดับประถมศึกษา มีความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพโดยรวมอยูใ่ นระดับ
ปานกลาง ซึ่ งเป็ นไปในทานองเดียวกับการศึกษาของ ซู เดอร์ และคณะ (Sudore et al., 2006) ที่พบว่า
ผูท้ ี่ มีระดับการศึ กษาที่ สูงกว่ามัก จะมี ความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพที่ ดีก ว่า เนื่ องจากมี ทกั ษะในการอ่า น
เขียน รวมถึงสนใจในการหาความรู ้ดีกว่าผูท้ ี่ไม่ได้รับการศึกษา และการศึกษาของ แอนซารี่ และคณะ
(Ansari et al., 2016) ที่ ท าการศึ ก ษาความรอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพในผู ้สู งอายุ 200 คนที่ อ าศัย อยู่ ท าง
ตะวันออกเฉี ยงใต้ของประเทศอิหร่ าน พบว่า ระดับการศึกษาของผูส้ ู งอายุเป็ นปั จจัยสาคัญที่ทาให้
ผูส้ ู งอายุมีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ โดยผูส้ ู งอายุที่ไม่ได้รับการศึกษาจะมีระดับความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ
ที่ต่ากว่าผูท้ ี่ได้รับการศึกษาอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ

5. รายได้ เป็ นตัวบ่งชี้ถึงสภาพของเศรษฐกิจและสังคมของผูส้ ู งอายุที่มีฐานะทางเศรษฐกิจดีจะ


มีโอกาสแสวงหาสิ่ งที่มีประโยชน์ต่อการดูแลสุ ขภาพของตนเอง และมีพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ดี
ตามมา (Pender, Murdaugh, & Parsons, 2006) จากการทบทวนทางวรรณกรรมพบว่า รายได้เป็ นปัจจัย
หนึ่งที่มีผลต่อความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ โดยผูท้ ี่มีรายได้สูงกว่ามักจะมีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพที่สูงกว่าผู ้
ที่มีรายได้นอ้ ย เนื่ องจากผูท้ ี่มีรายได้สูงกว่าเข้าถึงบริ การสุ ขภาพได้ดีกว่า มีความสนใจในการเสาะหา
ความรู ้ดา้ นสุ ขภาพ สรรหาบริ การสุ ขภาพที่ดีกว่า (Kim, 2009) เป็ นไปในทานองเดียวกับกับการศึกษา
ของ หลิ ว และคณะ (Liu et al., 2015) ที่ศึกษาผูส้ ู งอายุ จานวน 1,452 คนในประเทศจีน พบว่า ผูท้ ี่ มี
รายได้สูงกว่าจะมีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพที่ดีกว่าผูท้ ี่มีรายได้นอ้ ย เนื่องจากมีการเข้าถึงบริ การสุ ขภาพ
ที่มากกว่า

การประเมินความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพ

ความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพไม่สามารถวัดค่าอย่างเป็ นรู ปธรรมได้ จึ งจาเป็ นต้องมีเครื่ องมือที่ถูก


สร้ า งขึ้ นเพื่ อประเมิ นความรอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพให้เป็ นค่ า คะแนนที่ มี ค วามถู ก ต้องใกล้เคี ย งกับ สิ่ ง ที่
ต้องการวัดมากที่สุด เครื่ องมือที่ใช้วดั ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในวัยผูใ้ หญ่และผูส้ ู งอายุ มีดงั นี้

1. แบบประเมินการอ่ านศั พท์ พื้นฐานทางการแพทย์ อย่ างรวดเร็ ว หรื อ Rapid Estimate of


Adult Literacy in Medicine: REALM
แบบประเมิ น นี้ พัฒ นาขึ้ น โดย เดวิส และคณะ (Davis et al., 1991) เป็ นแบบประเมิ น ที่
ออกแบบมาเพื่อใช้ประเมินผูป้ ่ วยในหน่วยบริ การปฐมภูมิ ที่ได้รับการสอนสุ ขศึกษา วัดการอ่านศัพท์
หรื อคาศัพท์พ้ืนฐานทางการแพทย์ที่คาดว่าผูป้ ่ วยจดจาได้ ช่ วยในการจาแนกผูป้ ่ วยเพื่อนามาประเมิน
และใช้ในการปรับปรุ งสื่ อหรื อให้คาแนะนาที่เหมาะสมกับผูป้ ่ วย แบบประเมินประกอบด้วยคาศัพท์
ทางการแพทย์ที่ง่ายจานวน 125 คา วางเรี ยงเป็ น 4 คอลัมน์ ใช้เวลาในการทา 3-5 นาที ให้คะแนนตาม

27
การออกเสี ยงที่ ถูกต้อง จาแนกตามระดับการศึ กษาของผูป้ ่ วย มี ค่าความตรง (validity) เท่ากับ 0.95
และมีค่าความเชื่ อมัน่ แบบทดสอบซ้ า (test-retest reliability) ได้ค่าสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์
สันเท่ากับ 0.98 (Davis et al., 1991)

2. แบบทดสอบความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพด้ านความเข้ าใจข้ อมูลข่ าวสารและความเข้ าใจเกีย่ วกับ


ตัวเลขระดับพืน้ ฐานในกลุ่มผู้ใหญ่ (Test of Functional Health Literacy in Adult: TOFHLA)
แบบทดสอบนี้ สร้างขึ้นโดย ปาร์ คเกอร์ และคณะ ในปี 1995 และถูกพัฒนาต่อโดย เบเกอร์ ,
วิลเลียม, ปาร์ คเกอร์ , กัซมาราเรี ยน, และ นัซ (Baker, Williams, Parker, Gazmararian, & Nurss, 1999)
เป็ นแบบทดสอบที่ ใช้วดั ความสามารถของผูป้ ่ วยในการอ่านข้อความ หรื อวลี ที่มีตวั เลขโดยใช้สื่อ
สิ่ ง พิ ม พ์จากหน่ วยให้บ ริ การสุ ข ภาพ แบบทดสอบแบ่ ง เป็ น 2 ส่ วน คื อ ส่ วนการทดสอบการอ่ า น
ประกอบด้วย สิ ทธิ ของผูป้ ่ วยและหน้าที่รับผิดชอบ รู ปแบบการบอกกล่าวอย่างเต็มใจและส่ วนการ
ทดสอบด้านตัวเลข ประกอบด้วยรายละเอียดของฉลากยา การควบคุมระดับน้ าตาล การนัดหมายและ
การได้รับความช่วยเหลือทางการเงิน ข้อความที่ใช้ในการทดสอบอ่านและทาความเข้าใจเป็ นข้อความ
ที่มีช่องว่างให้เติมคาประมาณ 5-7 คา ผูถ้ ู กทดสอบอ่านและเลื อกคาจากตัวเลือก 4 ตัวรวมจานวน 50
ข้อ ใช้เวลาประมาณ 12 นาที ส่ วนที่ทดสอบด้านตัวเลข มีจานวน 17 ข้อ ใช้เวลาประมาณ 10 นาที รวม
เวลาที่ใช้ในการทดสอบประมาณ 22 นาที มีค่าความตรง (validity) เท่ากับ 0.84 และมีค่าสัมประสิ ทธิ์
อัลฟาครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.98

3. แบบสั มภาษณ์ ความฉลาดทางสุ ขภาพ


แบบสั ม ภาษณ์ น้ ี พ ฒ
ั นาโดย วรรณศิ ริ นิ ล เนตร (2557) โดยใช้แ นวคิ ด ความรอบรู ้ ด้า น
สุ ข ภาพของนัท บี ม เพื่ อประเมิ นความรอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพทั้ง 3 ระดับ ได้แก่ ระดับ พื้ นฐาน ระดับ
ปฏิสัมพันธ์/การติดต่อสื่ อสาร และระดับวิจารณญาณ รวมทั้งการประเมินทักษะที่จาเป็ นสาหรับความ
รอบรู ้ ด้านสุ ขภาพ มีจานวน 38 ข้อ ได้แก่ ทักษะด้า นความรู ้ ความเข้า ใจเกี่ ยวกับ สุ ขภาพและการ
ป้ องกันโรค มีลกั ษณะเป็ นการเลื อกตอบความเข้าใจเกี่ ยวกับสุ ขภาพและการป้ องกันโรค จานวน 12
ข้อ ข้อ ค าถามมี ค่ า ความยากเฉลี่ ย ในระดับ ง่ า ย (p = 0.85) มี ค่ า อานาจจาแนกเฉลี่ ย ในระดับ พอใช้
(D เท่ากับ 0.24) และมี ค่าความเที่ยงในระดับพอใช้ (KR 20 = 0.47) ทักษะที่ 2 ด้านทักษะการเข้าถึ ง
ข้อมูลสุ ขภาพ มีลกั ษณะเป็ นมาตรประมาณค่า จานวน 5 ข้อ ข้อคาถามมีค่าอานาจจาแนกเฉลี่ยในระดับ
ดีมาก (D = 0.73) และมีค่าสัมประสิ ทธิ์ อัลฟาครอนบาค เท่ากับ 0.88 ทักษะที่ 3 ด้านทักษะการสื่ อสาร
ข้อมูลสุ ขภาพ มีลกั ษณะเป็ นมาตรประมาณค่า จานวน 6 ข้อ ข้อคาถามมีค่าอานาจจาแนกเฉลี่ยในระดับ
ดีมาก (D = 0.65) และมีค่าสัมประสิ ทธิ์ อลั ฟาครอนบาค เท่ากับ 0.86 ทักษะที่ 4 ด้านทักษะการตัดสิ นใจ
มี ล ัก ษณะเป็ นสถานการณ์ ส้ ั น จ านวน 5 ข้อ ข้อค าถามมี ค่ า ความยากเฉลี่ ย ในระดับ ค่ อ นข้า งยาก

28
(p = 0.33) ค่าอานาจจาแนกเฉลี่ยในระดับดี (D = 0.56) และมีค่าสัมประสิ ทธิ์ อัลฟาครอนบาค เท่ากับ
0.56 ทักษะที่ 5 ด้านทักษะการจัดการตนเอง มีลกั ษณะเป็ นมาตรประมาณค่า จานวน 5 ข้อ ข้อคาถามมี
ค่าอานาจจาแนกเฉลี่ ยในระดับดี มาก (D = 0.81) และมีค่าสัมประสิ ทธิ์ อัลฟาครอนบาค = 0.93 และ
ทักษะที่ 6 ด้านทักษะการรู ้เท่าทันสื่ อ มีลกั ษณะเป็ นมาตรประมาณค่า จานวน 5 ข้อ มีค่าสัมประสิ ทธิ์
อัลฟาครอนบาค เท่ากับ 0.84 จากนั้นนาคะแนนรวมของแต่ละองค์ประกอบ นามาแปลงเป็ นคะแนน
มาตรฐานที (T-score) มี ก ารจ าแนกระดับ คะแนนความรอบรู ้ ด้ า นสุ ข ภาพ มี เ กณฑ์ ดั ง นี้ กลุ่ ม
ระดับพื้นฐาน คือ ผูท้ ี่ได้คะแนนในข้อคาถามวัดระดับพื้นฐานร้อยละ 50 ขึ้นไป กลุ่มระดับปฏิสัมพันธ์
คือ ผูท้ ี่ได้คะแนนเต็มในข้อคาถามวัดระดับพื้นฐาน และได้คะแนนในข้อคาถามวัดระดับปฏิสัมพันธ์
ร้อยละ 50 ขึ้ นไป กลุ่ มระดับวิจารณญาณ คื อ ผูท้ ี่ได้คะแนนเต็มในข้อคาถามวัดระดับพื้นฐานและ
ระดับปฏิสัมพันธ์ และได้คะแนนในข้อคาถามวัดระดับวิจารณญาณร้อยละ 50 ขึ้นไป เครื่ องมือนี้ เคย
นาไปใช้ในการศึกษาของ วรรณศิริ นิ ลเนตร (2557) ที่ได้ศึกษาความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุ
ไทยในชมรมผูส้ ู งอายุในเขต กรุ งเทพมหานคร

4. แบบสอบถามความฉลาดทางสุ ขภาพในผู้สูงอายุ
แบบสอบถามความฉลาดทางสุ ข ภาพในผู ส้ ู ง อายุ ของ แสงเดื อ น กิ่ ง แก้ว และ นุ ส รา
ประเสริ ฐศรี (2558) ที่ดดั แปลงมาจากแบบสอบถามความรอบรู ้ด้านสุ ขภาพในผูป้ ่ วยเบาหวานของ
อิชิกาวา และคณะ (Ishikawa et al., 2008) เป็ นเครื่ องมือใช้วดั ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ ประกอบด้วยข้อ
คาถามด้านลบ ได้แก่ ความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพพื้นฐานจานวน 5 ข้อ ข้อคาถามด้านบวก ได้แก่ ความ
รอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพด้า นการมี ป ฏิ สั ม พัน ธ์ ร่ วมกัน จ านวน 5 ข้อ และความรอบรู ้ ด้านสุ ข ภาพด้า น
วิจารณญาณ จานวน 4 ข้อ รวมทั้งหมด 14 ข้อ คาตอบมี ลกั ษณะเป็ นมาตราส่ วนประเมิ นค่า (rating
scale) 4 ระดับ แบ่งระดับการให้คะแนนความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพ ดังนี้ ความถี่ ของการปฏิ บตั ิ ได้แก่
ระดับคะแนน 4 หมายถึ ง ง่ายมาก ระดับคะแนน 3 หมายถึ ง ค่อนข้างง่าย ระดับคะแนน 2 หมายถึ ง
ค่อนข้างยาก และระดับคะแนน 1 หมายถึง ยากมาก แบบสอบถามมีคะแนนรวม 56 คะแนน อยูใ่ นช่วง
ระหว่าง 14-56 คะแนน ในการวิเคราะห์คะแนนความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ จะใช้เกณฑ์ในการแบ่งระดับ
การหาช่ วงกว้างของอันตรภาคชั้น (Class Interval) โดยใช้วิธีการคานวณหาช่ วงกว้างระหว่างอันตร
ภาคชั้นตามหลักการค่ า เฉลี่ ย การแปลผลคะแนนกาหนดตามเกณฑ์ไ ด้ดงั นี้ คะแนน 14.00-28.00
คะแนน หมายถึง มีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพระดับต่า คะแนน 28.01-42.00 คะแนน หมายถึง มีความ
รอบรู ้ ด้านสุ ขภาพระดับปานกลาง และคะแนน 42.01-56.00 คะแนน หมายถึ ง มีความรอบรู ้ ด้าน
สุ ขภาพระดับสู ง เครื่ องมือนี้ มีค่าสัมประสิ ทธิ์ อัลฟาครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ
0.89 และมีการนาไปใช้ศึกษาความฉลาดทางสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุโรคเรื้ อรัง ในจังหวัดอุบลราชธานี

29
(แสงเดื อน กิ่ งแก้ว และ นุ สราประเสริ ฐศรี , 2558) ได้ค่าสัมประสิ ทธิ์ อัลฟาครอนบาค (Cronbach’s
alpha coefficient)เท่ากับ 0.89

5. แบบสอบถามความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพในผู้ป่วยเบาหวาน


แบบสอบถามความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพในผูป้ ่ วยเบาหวานพัฒนาโดย อิ ชิก าวา และคณะ
(Ishikawa et al., 2008) นาไปใช้ในผูส้ ู งอายุเบาหวานชาวญี่ ปุ่น และ จริ ยา นพเคราะห์ และ โรจนี
จินตนาวัฒน์ (จริ ยา นพเคราะห์, 2560) ได้นาแบบสอบถามนี้ มาแปลเป็ นภาษาไทยเพื่อใช้ศึกษาความ
รอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุไทยที่เป็ นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 แบบสอบถามประกอบด้วยข้อคาถาม
ด้านลบ ได้แก่ ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพพื้นฐานจานวน 5 ข้อ ข้อคาถามด้านบวก ได้แก่ ความรอบรู ้ดา้ น
สุ ข ภาพด้า นการมีป ฏิ สั ม พันธ์ ร่วมกัน จานวน 5 ข้อ และความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพด้านวิจารณญาณ
จานวน 4 ข้อ รวมทั้งหมด 14 ข้อ คาตอบมีลกั ษณะเป็ น มาตราส่ วนประเมินค่า (rating scale) 4 ระดับ
กาหนดคะแนนตามความถี่ ของการปฏิ บ ตั ิ หรื อการเกิ ดเหตุ ก ารณ์ โดยข้อค าถามทางบวกก าหนด
คะแนน ดังนี้ คะแนน 1 หมายถึ ง ไม่เคย คะแนน 2 หมายถึ ง นานๆครั้ง คะแนน 3 หมายถึ ง บางครั้ง
คะแนน 4 หมายถึง บ่อยครั้ง ส่ วนข้อคาถามด้านลบให้คะแนนสลับกัน การแปลผลคะแนน พิจารณา
จากคะแนนรวมของแต่ละบุคคล มีคะแนนอยูร่ ะหว่าง 14-56 คะแนน แบ่งระดับคะแนนโดยใช้วิธีการ
คานวณหาช่ วงกว้างระหว่างอันตรภาคชั้นตามหลักการค่าเฉลี่ ย แบ่งคะแนนออกเป็ น 3 ระดับ ดังนี้
คะแนน 14.00-28.00 คะแนน หมายถึ ง มี ความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพระดับต่ า คะแนน 28.01-42.00
คะแนน หมายถึง มีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพระดับปานกลาง คะแนน 42.01-56.00 คะแนน หมายถึง มี
ความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพระดับสู ง เครื่ องมือนี้ มีค่าความตรงของเนื้ อหา เท่ากับ 0.97 มีค่าความเชื่ อมัน่
เท่ า กับ 0.91 (จริ ย า นพเคราะห์ และ โรจนี จิ น ตนาวัฒ น์ อ้างใน จริ ย า นพเคราะห์ , 2560) และค่ า
สั ม ประสิ ท ธิ์ อัล ฟาครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ า กับ 0.96 (Ishikawa et al., 2008)
แบบสอบถามนี้เคยนาไปใช้ในการสอบถามความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุโรคเบาหวานชนิ ดที่ 2
ในจังหวัดพิจิตร (จริ ยา นพเคราะห์ และ โรจนี จินตนาวัฒน์ อ้างใน จริ ยา นพเคราะห์ , 2560) ได้ค่า
ความเชื่อมัน่ เท่ากับ 0.91

ในการศึกษาครั้งนี้ ผวู ้ ิจยั เลือกใช้เครื่ องมือที่ผวู ้ ิจยั ดัดแปลงมาจากแบบสอบถามความรอบรู ้ดา้ น


สุ ขภาพในผูท้ ี่เป็ นโรคเบาหวานฉบับภาษาไทยของ จริ ยา นพเคราะห์ และ โรจนี จินตนาวัฒน์ (จริ ยา
นพเคราะห์ , 2560) เนื่ องจากผูว้ ิจยั เห็ นว่า เครื่ องมื อนี้ มี ก ารพัฒนาเครื่ องมื ออ้า งอิ ง จากแนวคิ ดของ
นัทบีม มีการปรับและใช้กบั ผูส้ ู งอายุไทย และมีการตรวจสอบคุณภาพความเที่ยงตรงและความเชื่ อมัน่
ของแบบสอบถามอยูใ่ นเกณฑ์ที่น่าเชื่อถือและยอมรับได้

30
ความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพกับพฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพในผู้สูงอายุ

จากการทบทวนวรรณกรรมต่างประเทศเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพและ


พฤติ กรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ พบว่า ความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพเป็ นสิ่ งสาคัญและบ่งบอกถึ ง
ศักยภาพของบุคคลในการอ่าน การทาความเข้าใจ รวมทั้งการปฏิ บตั ิพฤติกรรมที่เหมาะสมกับภาวะ
สุ ขภาพของผูส้ ู งอายุ ซึ่ งหากผูส้ ู งอายุมีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพที่ดี จะส่ งผลต่อการปฏิ บตั ิพฤติกรรม
ส่ งเสริ มสุ ขภาพที่เหมาะสม และนาไปสู่ การมีสุขภาพดี และคุ ณภาพชี วิตที่ดี รวมถึ งสามารถช่ วยลด
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ ยวข้องกับการรักษาพยาบาลได้ (Reisi et al., 2014) ซึ่ งจากการทบทวนทางวรรณกรรม
งานวิจยั ที่ศึกษาความสัมพันธ์ของความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ
กะเหรี่ ยงมีขอ้ จากัด แต่พบรายงานการวิจยั ในผูส้ ู งอายุทวั่ ไปทั้งในต่างประเทศและประเทศไทย

จากการศึกษาของ กิบอร์ และคณะ (Geboers et al., 2016) ที่ศึกษา ความสัมพันธ์ของความรอบ


รู ้ดา้ นสุ ขภาพกับพฤติกรรมสุ ขภาพและปั จจัยทางสังคมในกลุ่มผูส้ ู งอายุ พบว่า ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ
ในระดับต่ า มีความสัมพันธ์กบั การออกกาลังกายที่ไม่เพียงพอ การรับประทานผักผลไม้ไม่เพียงพอ
และขาดการรับประทานอาหารเช้า เป็ นไปในทานองเดียวกับ หลิ ว และคณะ (Liu et al., 2015) ที่ได้
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ พฤติกรรมสุ ขภาพ และสถานะสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ
ประเทศจี น ผลการศึ กษาพบว่า ความรอบรู ้ ด้านสุ ข ภาพมี ความสัมพันธ์ กบั พฤติ กรรมสุ ข ภาพของ
ผูส้ ู งอายุจีน โดยผูส้ ู งอายุที่มีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพสู ง จะมีความเสี่ ยงต่อพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
น้อยกว่าผูท้ ี่มีความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพต่ า เป็ นไปในทานองเดี ยวกันกับการศึกษาของ อดัม และคณะ
(Adams et al., 2014) ศึกษาปั จจัยที่เสี่ ยงต่อความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพที่ต่า ผลการศึกษาพบว่า ความรอบรู ้
ด้านสุ ขภาพในระดับต่ามีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมสุ ขภาพที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การสู บบุหรี่ การไม่
ออกกาลังกาย และการเลื อกรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เป็ นไปในทานองเดียวกับการศึกษา
ของ เเวกเนอร์ , ไนท์, สเต็ป โท, และ วาร์ เดิ ล (Wagner, Knight, Steptoe, & Wardle, 2007) ที่ ศึ ก ษา
ความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพ และพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของชาวอังกฤษในการสารวจระดับชาติ ผล
การศึกษากลุ่มตัวอย่างชาวอังกฤษ อายุระหว่าง 18-90 ปี (อายุเฉลี่ย 47.6 ปี ) พบว่าระดับความรอบรู ้
ด้านสุ ขภาพมีความสัมพันธ์กบั การปฏิ บตั ิพฤติ กรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ เช่ นเดี ยวกันกับการศึกษาของ
แสงเดือน กิ่งแก้ว และ นุสรา ประเสริ ฐศรี (2554) ที่ศึกษาพบว่าผูท้ ี่มีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพระดับสู ง
หรื อเพี ย งพอจะสามารถแสวงหาความรู ้ เกี่ ย วกับ การดู แลสุ ข ภาพได้ด้วยตนเองจากแหล่ ง ข้อมู ล ที่
หลากหลายและเข้าใจความรู ้ /ข่าวสารทางสุ ขภาพ สามารถตัดสิ นใจเลือกข้อมูลทางสุ ขภาพเพื่อดูแล
สุ ขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งสามารถนาความรู ้ มาสู่ การดูแลสุ ขภาพของตนเองได้เหมาะสม
อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ

31
สรุ ปได้ว่า ผูส้ ู งอายุที่มีความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพที่ดีจะมีพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ดีดว้ ย โดย
ผูส้ ู งอายุที่มีความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพในระดับสู งหรื อเพียงพอ จะสามารถแสวงหาความรู ้ เกี่ ยวกับการ
ดูแลสุ ขภาพได้ดว้ ยตนเอง จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และเข้าใจความรู ้ ข้อมูลข่าวสารทางสุ ขภาพ
สามารถตัดสิ นใจเลื อกข้อมูลทางสุ ขภาพเพื่อดู แลสุ ขภาพของตนเองได้เหมาะสม รวมถึ งสามารถ
ถ่ายทอดความรู ้ในการดูแลสุ ขภาพของตนเองให้แก่บุคคลอื่นได้

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ในการศึ ก ษาครั้ งนี้ เป็ นการศึ ก ษาหาความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งความรอบรู ้ ด้ า นสุ ข ภาพและ
พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง โดยศึกษาพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพตามแนวคิดของ
เพนเดอร์ และคณะ (Pender et al., 2011) หมายถึ ง การกระทากิจกรรมอย่างต่อเนื่ องที่ผสู ้ ู งอายุกระทา
โดยมีเป้ าหมายสาคัญในการมีสุขภาพที่ดี ครอบคลุมพฤติกรรม 6 ด้าน คือ 1) ด้านความรับผิดชอบต่อ
สุ ขภาพ 2) ด้านการออกกาลังกาย 3) ด้านโภชนาการ 4) ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 5) ด้านการ
พัฒนาจิตวิญญาณ และ 6) ด้านการจัดการกับความเครี ยด ซึ่ งการที่จะมีพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่
เหมาะสม บุคคลต้องมีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพทั้ง 3 ระดับ คือระดับพื้นฐาน ระดับการมีปฏิสัมพันธ์/
ติดต่อสื่ อสาร และระดับวิจารณญาณ ซึ่ งประกอบด้วยความสามารถของผูส้ ู งอายุในการอ่าน เข้าใจ
เข้าถึ งข้อมู ลด้านสุ ขภาพ สามารถนาข้อมู ลไปใช้ในการติ ดต่อสื่ อสารกับที มสุ ขภาพหรื อบุ คคลอื่ น
สามารถคัดสรรข้อมูลจากสื่ อต่างๆ เพื่อสามารถตัดสิ นใจในการเลือกปฏิบตั ิพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ
ที่เหมาะสมและดีข้ ึนได้

32
บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรวิจยั

การวิจยั ครั้ งนี้ เป็ นการวิจยั เชิ ง พรรณนาหาความสัม พันธ์ (descriptive correlational research)
เพื่อศึ กษาความสัมพันธ์ ระหว่างความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ
กะเหรี่ ยงจานวน 88 ราย ที่อาศัยอยูใ่ นจังหวัดแม่ฮ่องสอน ระหว่างเดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 ถึงเดือน
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ ำง

ประชากรที่ศึกษาในครั้งนี้ คือ ผูท้ ี่มีอายุต้ งั แต่ 60 ปี ขึ้นไป ที่มีเชื้อชาติกะเหรี่ ยงสะกอ (ขาว)

กลุ่ มตัวอย่าง คื อ ผูส้ ู ง อายุก ะเหรี่ ย ง กลุ่ ม ชาติ พนั ธุ์ ก ะเหรี่ ย งสะกอ(ขาว) ที่ อาศัย อยู่ใ นพื้ นที่
จังหวัดแม่ฮ่องสอน

วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่ ำง
กลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กาหนด ดังนี้

1. สามารถสื่ อสารภาษาไทยหรื อภาษากะเหรี่ ยงได้

2. มีการรู ้คิดที่ปกติ โดยการประเมินจากแบบทดสอบสภาพสมอง Abbreviated Mental Status


(AMT) ของ สถาบันเวชศาสตร์ผสู ้ ู งอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุ ข (2558) มีระดับคะแนน
มากกว่าเท่ากับ 8 คะแนน จาก 10 คะแนน

3. สามารถทากิ จวัตรพื้นฐานได้ดว้ ยตนเอง โดยประเมินจากแบบประเมินการปฏิ บตั ิกิจวัตร


ประจาวัน (Barthel Activities of Daily Living: ADL) ของ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข (2558)
มีระดับตั้งแต่ 12 คะแนนขึ้นไป จาก 20 คะแนน

4. ยินยอมเข้าร่ วมในการวิจยั ครั้งนี้

วิธีการสุ่ มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่ มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (multi-stage sampling) โดยเริ่ มต้น


จากการแบ่งพื้นที่อาเภอในจังหวัดแม่ฮ่องสอนออกเป็ น 2 โซน คือ 1)โซนเหนื อ ได้แก่ อาเภอเมือง

33
อาเภอปางมะผ้า อาเภอปาย และอาเภอขุ นยวม 2)โซนใต้ ได้แก่ อาเภอแม่สะเรี ยง อาเภอแม่ลาน้อย
และอาเภอสบเมย เลื อกตัวอย่างมาโซนละ 1 อาเภอที่ มีประชากรผูส้ ู งอายุมากที่ สุดของโซนนั้น ได้
ตัวแทนของโซนเหนื อ คือ อาเภอเมือง และตัวแทนของโซนใต้ คือ อาเภอแม่สะเรี ยง จากนั้นได้สุ่ม
เลื อกตาบลโซนละ 2 ตาบล สุ่ ม ตาบลละ 1 หมู่ บา้ น คื อ บ้า นห้วยปู ลิ ง จานวน 10 คน บ้านผาบ่อง
จานวน 32 คน บ้านแม่เหาะ จานวน 26 คน และบ้านป่ าแป๋ จานวน 20 คน ดังแสดงใน ภาคผนวก จ
จากนั้น ท าการสุ่ ม รายชื่ อของผูส้ ู ง อายุ โดยวิธี ก ารสุ่ ม ตัวอย่า งแบบเป็ นระบบ (Systematic random
sampling) แบ่ ง จ านวนของกลุ่ ม ตัวอย่า งตามสั ดส่ วนจ านวนประชากรของผู ส้ ู ง อายุ ใ นพื้ น ที่ น้ ัน ๆ
จากนั้นนับหน่วยของตัวอย่างนับไปตามช่วงของการสุ่ ม (random interval) ให้ครบตามจานวน 88 คน
ตามสัดส่ วนของจานวนผูส้ ู งอายุในแต่ละพื้นที่

ขนำดกลุ่มตัวอย่ ำง
ในการศึกษาครั้งนี้ผวู ้ ิจยั กาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง โดยวิธีการวิเคราะห์อานาจการทดสอบ
(power analysis) กาหนดค่าอานาจการทดสอบ (power) ที่ 0.8 ค่าความเชื่อมัน่ ที่ 0.05 ค่าขนาดอิทธิ พล
(effect size) ขนาดกลาง (medium effect size) ที่ ส ามารถนามาใช้ใ นการค านวณขนาดกลุ่ มตัวอย่า ง
ทางการพยาบาลที่ 0.3 จากการเปิ ดตารางได้จานวนกลุ่มตัวอย่าง 88 คน (Polit & Beck, 2004)

เครื่ องมือทีใ่ ช้ ในกำรวิจัย

เครื่ องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย

1. แบบสอบถามข้อมูลส่ วนบุคคล ที่ผูว้ ิจยั ได้สร้ างขึ้นเพื่อประเมิ นข้อมูลประกอบด้วย เพศ


อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได้ ความเพียงพอของรายได้ ศาสนา และโรคประจาตัว

2. แบบสอบถามพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงขาวที่มีความเสี่ ยงต่อ


โรคเรื้ อรังของ ศิวาพร มหาทานุ โชค (2558) ที่ดดั แปลงมาจากแบบสอบถาม Health Promoting Life
Style Profile II (HPLP II) ของ วอร์ ค เกอร์ และคณะ (Walker et al., 1995) โดยเป็ นแบบสอบถาม
ความถี่ในการปฏิบตั ิพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ 6 ด้าน ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 44 ข้อ คือ
ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล จานวน 9 ข้อ
ด้านความรับผิดชอบต่อสุ ขภาพ จานวน 6 ข้อ
ด้านการปฏิบตั ิกิจกรรมการออกกาลังกาย จานวน 4 ข้อ
ด้านโภชนาการ จานวน 9 ข้อ
ด้านการพัฒนาทางจิตวิญญาณ จานวน 9 ข้อ
ด้านการจัดการความเครี ยด จานวน 7 ข้อ

34
มีลกั ษณะคาตอบเป็ นแบบมาตราส่ วนประมาณค่า 4 ระดับ คือ ไม่ปฏิบตั ิ ปฏิบตั ินานๆ ครั้ง
ปฏิบตั ิบ่อยครั้ง และปฏิบตั ิเป็ นประจา โดยกาหนดคะแนน ดังนี้
คะแนน 1 หมายถึง กิจกรรมนั้นไม่เคยปฏิบตั ิเลย
คะแนน 2 หมายถึง กิจกรรมนั้นปฏิบตั ินานๆ ครั้ง
คะแนน 3 หมายถึง กิจกรรมนั้นปฏิบตั ิบ่อยครั้ง
คะแนน 4 หมายถึง กิจกรรมนั้นปฏิบตั ิเป็ นประจาสม่าเสมอ

การแปลผลคะแนน พิ จ ารณาจากคะแนนรวมของแต่ ล ะบุ ค คล มี ค ะแนนอยู่ร ะหว่า ง


44 - 176 คะแนน แบ่ ง ระดับ คะแนนโดยใช้วิธี ก ารค านวณหาช่ วงกว้า งระหว่า งอันตรภาคชั้นตาม
หลักการค่าเฉลี่ย (ประกาย จิโรจน์กุล, 2552) แบ่งคะแนนออกเป็ น 3 ระดับ ดังนี้
คะแนน 44.00 - 87.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพระดับต่า
คะแนน 87.01 - 131.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพระดับปานกลาง
คะแนน 131.01 - 176.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพระดับสู ง

การแปลผลคะแนนพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพรายด้าน พิจารณาจากคะแนนรวมแต่ละด้าน


แบ่งระดับคะแนนโดยใช้วธิ ี การคานวณหาช่วงกว้างระหว่างอันตรภาคชั้น ตามหลักการค่าเฉลี่ย ดังนี้

ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีขอ้ คาถาม 9 ข้อ มีคะแนนอยูร่ ะหว่าง 9 - 36 คะแนน


คะแนน 9.00 - 18.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้าน
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลระดับต่า
คะแนน 18.01 - 27.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้าน
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลระดับปานกลาง
คะแนน 27.01 - 36.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้าน
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลระดับสู ง

ด้านความรับผิดชอบต่อสุ ขภาพ มีขอ้ คาถาม 6 ข้อ มีคะแนนอยูร่ ะหว่าง 6 - 24 คะแนน


คะแนน 6.00 - 12.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านความ
รับผิดชอบต่อสุ ขภาพระดับต่า
คะแนน 12.01 - 18.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านความ
รับผิดชอบต่อสุ ขภาพระดับปานกลาง
คะแนน 18.01 - 24.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านความ
รับผิดชอบต่อสุ ขภาพระดับสู ง

35
ด้านการปฏิ บตั ิ กิจกรรมการออกกาลังกาย มี ขอ้ คาถาม 4 ข้อ มี คะแนนอยู่ระหว่าง 4 - 16
คะแนน
คะแนน 4.00 - 8.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านการปฏิบตั ิ
กิจกรรมการออกกาลังกายระดับต่า
คะแนน 8.01 - 12.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านการปฏิบตั ิ
กิจกรรมการออกกาลังกายระดับปานกลาง
คะแนน12.01 - 16.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านการปฏิบตั ิ
กิจกรรมการออกกาลังกายระดับสู ง

ด้านโภชนาการ มีขอ้ คาถาม 9 ข้อ มีคะแนนอยูร่ ะหว่าง 9 - 36 คะแนน


คะแนน 9.00 - 18.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านโภชนาการ
ระดับต่า
คะแนน 18.01 - 27.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านโภชนาการ
ระดับปานกลาง
คะแนน 27.01 - 36.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านโภชนาการ
ระดับสู ง

ด้านการพัฒนาทางจิตวิญญาณ มีขอ้ คาถาม 9 ข้อ มีคะแนนอยูร่ ะหว่าง 9 - 36 คะแนน


คะแนน 9.00 - 18.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านการพัฒนา
ทางจิตวิญญาณระดับต่า
คะแนน 18.01 - 27.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านการพัฒนา
ทางจิตวิญญาณระดับปานกลาง
คะแนน 27.01 - 36.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านการพัฒนา
ทางจิตวิญญาณระดับสู ง

ด้านการจัดการความเครี ยด มีขอ้ คาถาม 7 ข้อ มีคะแนนอยูร่ ะหว่าง 7 - 28 คะแนน


คะแนน 7.00 - 14.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านการจัดการ
ความเครี ยดระดับต่า
คะแนน 14.01 - 21.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านการจัดการ
ความเครี ยดระดับปานกลาง
คะแนน 21.01 - 28.00 หมายถึง แสดงออกพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพด้านการจัดการ
ความเครี ยดระดับสู ง

36
3. แบบสอบถามความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุที่ดดั แปลงมาจากแบบสอบถามความรอบ
รู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูป้ ่ วยโรคเบาหวานของ จริ ยา นพเคราะห์ และ โรจนี จินตนาวัฒน์ (จริ ยา นพเคราะห์,
2560) ประกอบด้วยข้อคาถามด้านลบ ได้แก่ ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพพื้นฐานจานวน 5 ข้อ ข้อคาถาม
ด้านบวก ได้แก่ ความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพด้านการมีปฏิ สัมพันธ์ร่วมกัน จานวน 5 ข้อ และความรอบรู ้
ด้า นสุ ข ภาพด้า นวิจารณญาณจานวน 4 ข้อ รวมทั้งหมด 14 ข้อ ค าตอบมี ลกั ษณะเป็ น มาตราส่ วน
ประเมินค่า (rating scale) 4 ระดับ ประกอบด้วย ไม่เคย นานๆ ครั้ง บางครั้ง บ่อยครั้ง แบ่งระดับการให้
คะแนนความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ ดังนี้

การปฏิบตั ิทางบวก การปฏิบตั ิทางลบ ความถี่ของการปฏิบตั ิหรื อการเกิดเหตุการณ์


คะแนน 1 4 ไม่เคย
คะแนน 2 3 นานๆ ครั้ง
คะแนน 3 2 บางครั้ง
คะแนน 4 1 บ่อยครั้ง

การแปลผลคะแนน พิจารณาจากคะแนนรวมของแต่ละบุคคล มีคะแนนอยูร่ ะหว่าง 14 - 56


คะแนน แบ่ ง ระดับ คะแนนโดยใช้วิธี ก ารค านวณหาช่ วงกว้า งระหว่างอันตรภาคชั้นตามหลัก การ
ค่าเฉลี่ย (ประกาย จิโรจน์กุล, 2552) แบ่งคะแนนออกเป็ น 3 ระดับ ดังนี้
คะแนน 14.00 - 28.00 คะแนน หมายถึง มีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพระดับต่า
คะแนน 28.01 - 42.00 คะแนน หมายถึง มีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพระดับปานกลาง
คะแนน 42.01 - 56.00 คะแนน หมายถึง มีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพระดับสู ง

กำรตรวจสอบคุณภำพของเครื่ องมือ

กำรตรวจสอบควำมตรงเชิงเนื้อหำ (content validity)


1. ผูว้ จิ ยั ได้นาแบบสอบถามความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุที่ดดั แปลงมาจากแบบสอบถาม
ความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพในผูป้ ่ วยโรคเบาหวานของ จริ ยา นพเคราะห์ และ โรจนี จินตนาวัฒน์ (จริ ย า
นพเคราะห์, 2560) ไปตรวจสอบความตรงเชิ งเนื้ อหา โดยผูท้ รงคุ ณวุฒิจานวน 6 ท่าน ประกอบด้วย
แพทย์ผเู ้ ชี่ยวชาญด้านผูส้ ู งอายุ 1 ท่าน อาจารย์ผเู ้ ชี่ยวชาญทางการพยาบาลผูส้ ู งอายุ 2 ท่าน พยาบาลด้าน
ผูส้ ู งอายุ 1 ท่าน และอาจารย์ผูเ้ ชี่ ยวชาญทางด้านการความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพ 2 ท่าน โดยให้พิจารณา
ข้อคาถามในเครื่ องมือและให้ความเห็ น หลังจากนั้น ผูว้ ิจยั ได้นาผลการประเมิน มาคานวณค่าดัชนี
ความตรงเชิงเนื้อหา (CVI) ซึ่ งได้ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.86

37
2. แบบสอบถามพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของกลุ่มชาติพนั ธ์กะเหรี่ ยงขาวที่มีความเสี่ ยงต่อ
โรคเรื้ อรังของ ศิวาพร มหาทานุ โชค (2558) ที่ดดั แปลงมาจากแบบสอบถาม Health Promoting Life
Style Profile II (HPLP II) ของ วอร์ คเกอร์ และคณะ (Walker et al., 1995) ได้ผา่ นการตรวจสอบความ
ตรงเชิงเนื้อหาแล้ว และผูว้ จิ ยั ไม่ได้ทาการดัดแปลงใดๆ จึงไม่ทาการตรวจสอบซ้ า

กำรตรวจสอบควำมเชื่ อมั่น (reliability)


ผูว้ ิจยั ได้นาแบบสอบถามพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของกลุ่มชาติพนั ธ์กะเหรี่ ยงขาวที่มีความ
เสี่ ยงต่อโรคเรื้ อรั งของ ศิ วาพร มหาทานุ โชค (2558) และแบบสอบถามความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพใน
ผู ส้ ู ง อายุ ไปทดสอบหาค่ า ความเชื่ อ มั่น กับ ผู ้สู ง อายุ ก ะเหรี่ ย งในพื้ น ที่ อ าเภอแม่ ล าน้อ ย จัง หวัด
แม่ ฮ่องสอน ซึ่ ง มี คุ ณสมบัติค ล้า ยคลึ ง กับ กลุ่ ม ตัว อย่า งจานวน 10 ราย หาความเชื่ อมัน่ แบบความ
สอดคล้องภายใน (internal consistency reliability) ได้ค่า สัมประสิ ทธิ์ อัลฟาครอนบาค (Cronbach’s
alpha coefficient) (Cronbach, 1951) เท่ากับ 0.85 และ 0.83 ตามลาดับ

กำรพิทกั ษ์ สิทธิของกลุ่มตัวอย่ ำง

ผู ้วิ จ ัย ได้ ด าเนิ น การเพื่ อ พิ ท ัก ษ์ สิ ท ธิ ก ลุ่ ม ตัว อย่ า งโดยน าโครงร่ า งวิ ท ยานิ พ นธ์ เ สนอต่ อ
คณะกรรมการจริ ยธรรมการวิจยั ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ เพื่อพิจารณาการ
รับรองสิ ทธิ์ ของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่ งภายหลังเมื่อได้รับอนุ มตั ิแล้ว ผูว้ จิ ยั ได้ช้ ีแจงให้คณะกรรมการหมู่บา้ น
และกลุ่มตัวอย่างทราบเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของงานวิจยั ขั้นตอนในการดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
ประโยชน์ที่ได้รับจากงานวิจยั สิ ทธิ์ ในการถอนตัวจากการวิจยั โดยระหว่างการดาเนิ นการวิจยั กลุ่ม
ตัวอย่างสามารถถอนตัวจากการเข้าร่ วมการวิจยั ได้ตลอดเวลา ซึ่ งจะไม่ส่งผลกระทบใดๆ ต่อการได้รับ
บริ การทางสุ ขภาพหรื อด้านอื่นๆ ของกลุ่มตัวอย่างและผูว้ ิจยั ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ ในแผนการรักษา
ของกลุ่มตัวอย่าง นอกจากนี้ ชื่อ นามสกุลและข้อมูลส่ วนตัวของกลุ่มตัวอย่างจะถูกปกปิ ดเป็ นความลับ
และข้อมูลที่ได้จากงานวิจยั มีการนาเสนอและอภิปรายผลในภาพรวม หลังจากที่ช้ ีแจงให้กลุ่มตัวอย่าง
ทราบผูว้ ิจยั ให้กลุ่มตัวอย่างมีอิสระในการตัดสิ นใจในการเข้าร่ วมงานวิจยั โดยกลุ่มตัวอย่างสามารถ
สอบถามข้อมูลตามที่ตอ้ งการจากผูว้ ิจยั ได้ตลอดที่อยูใ่ นพื้นที่วิจยั หรื อติดต่อผ่านโทรศัพท์มือถือของ
ผูว้ จิ ยั ได้ตลอดเวลา เมื่อกลุ่มตัวอย่างได้ยนิ ยอมเข้าร่ วมในการศึกษา ผูว้ จิ ยั ให้กลุ่มตัวอย่างลงนามในใบ
ยินยอมหรื อพิมพ์ลายนิ้วมือเพื่อเข้าร่ วมวิจยั

38
ขั้นตอนและวิธีกำรรวบรวมข้ อมูล

ในการวิจยั ครั้ งนี้ ผูว้ ิจยั ได้ดาเนิ นการรวบรวมข้อมู ล หลังจากผ่านการรั บรองการพิทกั ษ์สิทธิ
กลุ่มตัวอย่างจากคณะกรรมการจริ ยธรรมคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่แล้ว มีข้ นั ตอน
ดาเนินการดังนี้

1. ผูว้ ิจยั ได้ทาหนังสื อจากคณบดี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ ถึ งนายแพทย์


สาธารณสุ ข จัง หวัดแม่ ฮ่องสอน เพื่ อขออนุ ญาตในการเก็บข้อมู ลกับผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงที่ อยู่ในเขต
อาเภอที่จะศึกษา

2. หลังได้รับอนุ ญาตจากนายแพทย์สาธารณสุ ขจังหวัดแม่ฮ่องสอนแล้ว ผูว้ ิจยั ได้ดาเนิ นการ


ดังนี้

2.1 ผูว้ ิจยั เข้าพบผูอ้ านวยการโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตาบล เพื่อชี้ แจงวัตถุ ประสงค์
ในการทาวิจยั และขออนุญาตในการเก็บรวบรวมข้อมูล

2.2 ผูว้ ิจยั ได้ทาการสารวจรายชื่ อ และที่อยู่ของผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงในแต่ละหมู่บา้ นที่ ได้


คัดเลื อกไว้จากเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตาบล และคัดเลื อกกลุ่ มตัวอย่างตามเกณฑ์ที่
กาหนดไว้ จากนั้นผูว้ ิจยั สอบถามความสมัครใจถึ งสถานที่ ที่กลุ่มตัวอย่างให้ผูว้ ิจยั เข้าเก็บรวบรวม
ข้อมูล ซึ่ งส่ วนใหญ่เข้าพบที่บา้ นของกลุ่มตัวอย่าง

2.3 ผูว้ ิจยั ได้เข้าพบกลุ่มตัวอย่าง ตามสถานที่ ที่กลุ่มตัวอย่างสะดวกพบ จากนั้นผูว้ ิจยั ทา


การแนะนาตัว ชี้ แจงวัตถุประสงค์และขออนุ ญาตในการเก็บรวบรวมข้อมูลพร้อมทั้งชี้ แจงการพิทกั ษ์
สิ ทธิ และลงนามยินยอมเข้าร่ วมวิจยั

2.4 เมื่อกลุ่มตัวอย่างอนุ ญาต ผูว้ จิ ยั จึงได้ดาเนินการสอบถามตามแบบสอบถามทั้ง 2 ฉบับ


โดยอ่านข้อคาถามทีละข้อโดยไม่มีการอธิ บายเพิ่มและให้กลุ่มตัวอย่างตอบ ใช้เวลาในการสอบถาม
ทั้งหมดประมาณ 40-50 นาที

3. ผูว้ ิจยั ท าการตรวจสอบความถู ก ต้องและความสมบู รณ์ ข องข้อมู ล จากนั้นนาข้อมู ล ไป


วิเคราะห์ตามวิธีการทางสถิติ

39
กำรวิเครำะห์ ข้อมูล

ในการวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั วิเคราะห์ขอ้ มูลดังต่อไปนี้

1. วิเคราะห์ขอ้ มูลส่ วนบุคคล โดยใช้สถิ ติบรรยายหรื อสถิ ติพรรณนา (descriptive statistics)


ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

2. ข้อมูลความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพได้นามาวิเคราะห์โดยใช้สถิติ


เชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ และพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ โดย


ทดสอบการกระจายของข้อมูล ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ ด้วยสถิติโคโม
โกรอฟ ซามินอฟ (Kolmogorov-Smirnov test [KS]) พบว่าความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพมีการกระจายเป็ น
โค้งไม่ปกติ จึงใช้สถิติสหสัมพันธ์แบบสเปี ยร์ แมน (Spearman’s rank correlation) ในการหาความสัมพันธ์
ทั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ได้กาหนดระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 โดยใช้เกณฑ์พิจารณาระดับความสัมพันธ์ (Burns
& Grove, 2009) ดังนี้

ค่าสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ (r)


r =1 หมายถึง มีความสัมพันธ์กนั อย่างสมบูรณ์
r = 0.70-0.99 หมายถึง มีความสัมพันธ์กนั ในระดับสู ง
r = 0.30-0.69 หมายถึง มีความสัมพันธ์กนั ในระดับปานกลาง
r = 0.01-0.29 หมายถึง มีความสัมพันธ์กนั ในระดับต่า
r=0 หมายถึง ไม่มีความสัมพันธ์

40
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลและการอภิปรายผล

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

การศึกษาครั้งนี้ เป็ นการศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพกับพฤติกรรม


ส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน จานวน 88 ราย ในระหว่าง
เดือนธันวาคม 2560 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2561 ผูว้ ิจยั นาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยการบรรยาย
ประกอบตารางแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วนดังนี้

ส่ วนที่ 1 ข้อมูลส่ วนบุคคล


ส่ วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ
ส่ วนที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพกับพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ

ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลส่ วนบุคคล

กลุ่มตัวอย่างคือผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง จานวน 88 คน นาเสนอข้อมูลส่ วนบุคคล เพศ อายุ สถานภาพ


สมรส ระดับการศึกษา ความเพียงพอของรายได้ ศาสนา และโรคประจาตัว ดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1
จำนวนและร้ อยละของกลุ่มตัวอย่ ำงจำแนกตำม เพศ อำยุ สถำนภำพสมรส ระดับกำรศึกษำ ควำม
เพียงพอของรำยได้ ศำสนำ และโรคประจำตัว (n = 88)
ลักษณะกลุ่มตัวอย่าง จานวน (ร้อยละ)
เพศ
ชาย 40 (45.45)
หญิง 48 (54.55)
อายุ (ปี ) (X̅=70.68, SD= 7.57)
60-69 47 (53.41)
70-79 23 (26.14)
≥ 80 18 (20.45)

41
ตารางที่ 1 (ต่อ)
ลักษณะกลุ่มตัวอย่าง จานวน (ร้อยละ)
สถานภาพสมรส
คู่ 61(69.32)
หม้าย/หย่า 27(30.68)
ระดับการศึกษา
ไม่ได้รับการศึกษา 80 (90.91)
ได้รับการศึกษา 8 (9.09)
ประถมศึกษา 7 (8.00)
มัธยมศึกษา 1 (1.09)
ความเพียงพอของรายได้
เพียงพอ 60 (68.18)
ไม่เพียงพอ 28 (31.82)
ศาสนา
พุทธ 34 (38.64)
คริ สต์ 54 (61.36)
โรคประจาตัว
ไม่มี 46 (52.27)
มี 42 (47.73)
โรคความดันโลหิตสู ง 15 (17.05)
โรคเบาหวาน 7 (7.95)
โรคไขมันในเลือดสู ง 4 (4.55)
โรคความดันโลหิตสู งและเบาหวาน 3 (3.41)
โรคความดันโลหิตสู งและไขมันในเลือดสู ง 3 (3.41)
อื่นๆ 10 (11.36)

จากตารางที่ 1 กลุ่มตัวอย่างเป็ นเพศหญิงร้ อยละ 54.55 เพศชายร้อยละ 45.45 กลุ่มตัวอย่างอายุ


เฉลี่ ย 70.68 ปี (SD= 7.57) โดยมี อายุอยู่ในช่ วง 60-69 ปี ร้ อยละ 53.41 กลุ่ มตัวอย่างร้ อยละ 69.32 มี
สถานภาพสมรสคู่ กลุ่มตัวอย่างเกื อบทั้งหมด (ร้อยละ 90.91) ไม่ได้รับการศึกษา มีกลุ่มตัวอย่างเพียง
ร้อยละ 8.00 เท่านั้นที่ได้รับการศึกษาในระดับประถมศึกษา และกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 68.18 มีรายได้อยู่

42
ในระดับเพียงพอ และกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 61.36 นับถือศาสนาคริ สต์ กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 52.27 ไม่มี
โรคประจาตัว และกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 47.73 มีโรคประจาตัว โดยพบโรคความดันโลหิ ตสู งร้อยละ
17.05

ส่ วนที่ 2 ข้ อมูลเกีย่ วกับความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพ

ข้อมู ลความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพ และพฤติ กรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของกลุ่มตัวอย่าง ดังแสดงใน
ตารางที่ 2 - 4

ตารางที่ 2
คะแนนแบบวัด ช่ วงคะแนน ค่ ำเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน และระดับควำมรอบรู้ ด้ำนสุขภำพและ
พฤติกรรมส่ งเสริ มสุขภำพโดยรวมของกลุ่มตัวอย่ ำง (n = 88)
ตัวแปร คะแนน ช่วงคะแนน X̅(SD) ระดับ
แบบวัด
ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ 14.00-56.00 19.00-31.00 27.13 (8.15) ต่า

พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ 44.00-176.00 63.00-166.00 118.86 (16.18) ปานกลาง

จากตารางที่ 2 ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพของกลุ่มตัวอย่างโดยรวมอยูใ่ นระดับต่า (X̅=27.13, SD=


8.15) และกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพโดยรวมอยู่ในระดับเหมาะสมปานกลาง
(X̅=118.86, SD=16.18)

43
ตารางที่ 3
คะแนนแบบวัด ช่ วงคะแนน ค่ ำเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน พฤติกรรมส่ งเสริ มสุขภำพรำยด้ ำนของ
กลุ่มตัวอย่ ำง (n = 88)
พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพรายด้าน คะแนน ช่วงคะแนน X̅(SD) ระดับ
แบบวัด
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 9 - 36 11.00 - 34.00 26.64 (0.64) ปานกลาง
ความรับผิดชอบต่อสุ ขภาพ 6 - 24 6.00 - 22.00 13.38 (0.74) ปานกลาง
การปฏิบตั ิกิจกรรมการออกกาลังกาย 4 - 16 6.00 - 14.00 10.64 (1.13) ปานกลาง
โภชนาการ 9 - 36 12.00 - 34.00 26.27 (1.07) ปานกลาง
การพัฒนาทางจิตวิญญาณ 9 - 36 11.00 - 34.00 22.73 (0.65) ปานกลาง
การจัดการความเครี ยด 7 - 28 8.00 - 26.00 18.65 (0.75) ปานกลาง

จากตารางที่ 3 พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพรายด้านทุกด้านอยูใ่ นระดับเหมาะสมปานกลาง

ตารางที่ 4
จำนวนและร้ อยละของกลุ่มตัวอย่ ำงจำแนกตำมระดับควำมรอบรู้ ด้ำนสุขภำพและพฤติกรรมส่ งเสริ ม
สุขภำพ (n = 88)
ตัวแปร ระดับต่า ระดับปานกลาง ระดับสู ง
จานวน(ร้อยละ) จานวน(ร้อยละ) จานวน(ร้อยละ)

ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ 51 (57.95) 31 (35.23) 6 (6.82)

พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ 3 (3.41) 69 (78.41) 16 (18.18)

จากตารางที่ 4 พบว่า กลุ่ มตัวอย่า งร้ อยละ 57.95 มีระดับความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพในระดับต่ า
ร้อยละ 35.23 มีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในระดับปานกลาง และร้อยละ 6.82 มีระดับความรอบรู ้ดา้ น
สุ ขภาพในระดับสู ง และกลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่ร้อยละ 78.41 มีพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพอยูใ่ นระดับ
ปานกลาง และกลุ่ มตัวอย่างมี พ ฤติ กรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพอยู่ในระดับสู งและต่ า ร้ อยละ 18.18 และ
ร้อยละ 3.41 ตามลาดับ

44
ส่ วนที่ 3 ความสั มพันธ์ ระหว่ างความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพ

ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ จากการทดสอบ


โดยใช้สถิ ติ Kolmogorov-smirnov test พบว่ามี การกระจายของคะแนนความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพและ
พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ เป็ นโค้งไม่ปกติ จึงใช้สถิติสหสัมพันธ์แบบสเปี ยร์ แมน (Spearman’s rank
correlation) ในการหาความสั ม พันธ์ ผลของการวิเ คราะห์ ค วามสั ม พัน ธ์ ร ะหว่า งความรอบรู ้ ด้า น
สุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ พบว่า ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพของกลุ่มตัวอย่างมีความสัมพันธ์
กับพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในระดับปานกลางอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (r = 0.60, p< .001)
การอภิปรายผล
การศึ กษาเชิ งพรรณนาความสัมพันธ์ ครั้งนี้ เพื่อศึ กษาความสัมพันธ์ ระหว่างความรอบรู ้ ด้าน
สุ ข ภาพและพฤติ ก รรมส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพในผู ้สู ง อายุ ก ะเหรี่ ย ง ซึ่ งผู ว้ ิ จ ัย สามารถอภิ ป รายผลตาม
วัตถุประสงค์ได้ ดังนี้
1. ความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพในผู้สูงอายุกะเหรี่ยง
จากการศึกษาในครั้งนี้ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพอยู่ในระดับต่ า
(ตารางที่ 2) อาจเนื่ องจากกลุ่มตัวอย่างผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงเป็ นกลุ่มผูส้ ู งอายุวยั กลาง มีอายุเฉลี่ย 70.68 ปี
ซึ่ งอายุที่มากขึ้น ทาให้ผสู ้ ู งอายุกะเหรี่ ยงมีความสามารถทางสติปัญญา (cognitive ability) ลดลง ส่ งผล
ให้ค วามสามารถในการทาความเข้า ใจ หรื อจดจาสิ่ งใหม่ล ดลง รวมทั้ง การเปลี่ ยนแปลงทางด้า น
ร่ างกาย เช่ น การได้ยิน และการมองเห็ นที่ บกพร่ อง อาจส่ งผลให้ความสามารถในการเข้าถึ งข้อมู ล
ทางด้านสุ ขภาพลดลง จนทาให้มีความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพที่ต่ ากว่าผูส้ ู งอายุวยั ต้น (60-69 ปี ) (Chesser
et al., 2016) ซึ่ งเป็ นไปในทานองเดียวกับการศึกษาของ วรรณศิริ นิ ลเนตร (2557) ที่ศึกษาความรอบรู ้
ด้านสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุในชมรมผูส้ ู งอายุในเขตกรุ งเทพมหานคร จานวน 440 คน พบว่าผูส้ ู งอายุ
วัย ปลาย (อายุ 80 ปี ขึ้ น ไป) จะมี ค วามรอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพต่ า กว่า ผู ้สู ง อายุ ว ยั ต้น (อายุ 60-69 ปี )
เช่ นเดี ยวกันกับการทบทวนอย่างเป็ นระบบของ เชสเซอร์ และคณะ (Chesser et al., 2016) เกี่ ยวกับ
ความรอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพของผูส้ ู ง อายุ กลุ่ ม ตัวอย่างมี อายุเฉลี่ ย 73 ปี ผลการวิจยั พบว่า อายุมีค วาม
เกี่ ยวข้องที่ สาคัญกับความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพโดยอายุที่มากขึ้นมีผลทาให้ผูส้ ู งอายุมีความรอบรู ้ ดา้ น
สุ ข ภาพที่ ไม่ เพีย งพอ สอดคล้องกับ การทบทวนอย่างเป็ นระบบของ ซาโมรา และ คลิ งเกอร์ แมน
(Zamora & Clingerman, 2011) ที่ศึกษาความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ พบว่า อายุที่มากขึ้นมีผลทา
ให้ผสู ้ ู งอายุมีความชุ กของการมีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพที่ต่าหรื อไม่เพียงพอเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นกลุ่ม
ตัวอย่างในครั้งนี้ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 90.91) ไม่ได้รับการศึกษา มีกลุ่มตัวอย่างเพียงร้อยละ 9.09 ที่ได้รับ

45
การศึ ก ษา อาจท าให้กลุ่ มตัวอย่างไม่ สามารถอ่ านและทาความเข้า ใจสื่ อด้านสุ ขภาพต่า งๆ ซึ่ ง เป็ น
ภาษาไทย จึ งทาให้ไม่ สามารถที่ จะทาการวิเคราะห์ สั งเคราะห์ ขอ้ มู ล ต่างๆ ด้านสุ ขภาพได้อย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพ เห็ นได้จากข้อมูลระดับความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพระดับพื้นฐานที่พบว่า อยู่ในระดับต่ า
(ภาคผนวก ฌ) สอดคล้องกับการศึกษาของ ซู เดอร์ และคณะ (Sudore et al, 2006) ที่ศึกษาความรอบรู ้
ด้านสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ ในประเทศสหรัฐอเมริ กา พบว่าผูส้ ู งอายุที่มีการศึกษาสู งจะมีความรอบรู ้ดา้ น
สุ ขภาพสู งกว่าผูส้ ู งอายุที่ไม่ได้รับการศึกษา รวมทั้งเป็ นไปในทานองเดี ยวกับการศึกษาความรอบรู ้
ด้านสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ ประเทศอิหร่ าน ของ แอนซารี่ และคณะ (Ansari et al., 2016) ที่พบว่า ระดับ
การศึกษา เป็ นปั จจัยสาคัญที่ทาให้ผสู ้ ู งอายุมีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ โดยผูส้ ู งอายุที่ไม่ได้รับการศึกษา
จะมีระดับความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพต่ากว่าผูส้ ู งอายุที่ได้รับการศึกษาอย่างมีนยั สาคัญ อีกทั้งกลุ่มตัวอย่าง
ในครั้งนี้ อาศัยอยูใ่ นสภาพแวดล้อมและมีการดาเนิ นชี วิตที่มีขอ้ จากัดในการเข้าถึ งบริ การทางสุ ขภาพ
อีกทั้งยังเป็ นกลุ่มที่มีประเพณี วัฒนธรรมและภาษาที่เฉพาะตน (ศิริรัตน์ ปานอุทยั และคณะ, 2552) จึง
อาจทาให้การเข้าถึง เข้าใจข้อมูลข่าวสารด้านสุ ขภาพ รวมถึงสื่ อต่างๆ ด้านสุ ขภาพมีขอ้ จากัด จึงส่ งผล
ให้กลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้มีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพโดยรวมอยูใ่ นระดับต่า
2. พฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพในผู้สูงอายุกะเหรี่ยง
จากผลการศึกษาในครั้งนี้ พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีคะแนนพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพโดยรวม
อยูใ่ นระดับเหมาะสมปานกลาง (X̅ =118.86, SD =16.18) (ตารางที่ 2) ซึ่ งหมายถึงว่า ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง
มีการปฏิบตั ิกิจกรรมด้านส่ งเสริ มสุ ขภาพยังไม่ถูกต้องและไม่ครอบคลุม เช่น ด้านความรับผิดชอบต่อ
สุ ขภาพ กลุ่มตัวอย่างยังปฏิ บตั ิได้ไม่ดีเท่าที่ควร ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงนั้นจะสนใจดูแลตนเองเช่นกัน แต่
มักจะไม่แสวงหาความรู ้ทางการอ่านหนังสื อหรื อดูทีวี แต่มกั จะใช้การพูดคุยและศึกษาจากภูมิปัญญา
ท้องถิ่นดั้งเดิมที่สืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษในการดูแลสุ ขภาพ ประกอบกับการปฏิบตั ิพฤติกรรม
ส่ งเสริ มสุ ขภาพนั้นขึ้นอยูก่ บั ปั จจัยส่ วนบุคคลค่อนข้างมาก ซึ่ งจะเห็นได้วา่ กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ยอยู่
ในวัยสู งอายุวยั กลาง (70.68 ปี ) ซึ่ งอาจเป็ นข้อจากัดในการปฏิ บตั ิ พฤติ กรรมส่ ง เสริ มสุ ขภาพ โดย
ผูส้ ู งอายุที่มีอายุมากมักจะมีพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่นอ้ ยกว่าผูส้ ู งอายุที่มีอายุน้อยกว่า ผูส้ ู งอายุวยั
ต้นมีอายุระหว่าง 60-69 ปี เป็ นช่วงอายุที่สมรรถภาพทางกายและสรี รวิทยายังไม่เปลี่ ยนแปลงมากนัก
ส่ วนใหญ่ยงั สามารถช่ วยเหลื อตนเองได้จึง มี โอกาสที่ จะรวมกลุ่ ม เพื่อทากิ จกรรมต่างๆ ทางสังคม
รวมถึ งการเข้าร่ วมเป็ นสมาชิ ก ชมรมผูส้ ู งอายุ และมี กิ จกรรมต่ อเนื่ องได้ม ากกว่าผูส้ ู ง อายุวยั กลาง
(70-79 ปี ) หรื อผูส้ ู งอายุวยั ปลาย (80 ปี ขึ้นไป) (ทิพย์กมล อิสลาม, 2557) สอดคล้องกับการศึกษาของ
โมฟราด และคณะ (Mofrad et al., 2016) ที่ศึกษาพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุในประเทศ
อิหร่ าน พบว่า อายุมีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดยผูส้ ู งอายุ
วัยต้นจะมีพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ดีกว่าผูส้ ู งอายุวยั ปลาย นอกจากนั้นในการศึกษาครั้งนี้ ยงั พบว่า

46
ส่ วนใหญ่ กลุ่ มตัวอย่างไม่ ได้รับ การศึ ก ษามากถึ งร้ อยละ 90.91 มี เพี ยงร้ อยละ 9.09 เท่ านั้นที่ ได้รับ
การศึ กษา ซึ่ ง การศึ กษาเป็ นพื้นฐานสาคัญของบุ ค คลที่ มีผลต่อการพัฒนาความรู ้ ความเข้าใจ และ
ทัศ นคติ ที่ ดีใ นการปฏิ บ ตั ิ พ ฤติ ก รรมส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ เป็ นไปในท านองเดี ย วกันกับ การศึ ก ษาของ
โมฟราด และคณะ (Mofrad et al., 2016) ที่ศึกษาพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุในประเทศ
อิหร่ าน พบว่าบุคคลที่มีระดับการศึกษาสู งจะมีการปฏิบตั ิตนด้านสุ ขภาพที่ดีกว่าผูท้ ี่มีระดับการศึกษาต่า
เนื่องจากผูท้ ี่มีการศึกษาสู งจะมีโอกาสที่จะแสวงหาสิ่ งที่มีประโยชน์หรื อเอื้อต่อการปฏิบตั ิพฤติกรรม
ส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ดีกว่า
อย่างไรก็ตามจากผลการวิจยั ในครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างยังมีพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ปฏิบตั ิ
ได้ดี เช่น ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่ งพบว่าในผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงนั้น จะมีการไปมาหาสู่ กนั
เป็ นประจา โดยผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงมักจะเดินทางมาเยีย่ มเยียนกันที่บา้ นอยูเ่ สมอ มีความสัมพันธ์อนั ดีต่อ
กัน สามารถปรับตัวเข้าได้กบั สภาพแวดล้อมที่อยูอ่ าศัยได้เป็ นอย่างดี และด้านการจัดการความเครี ยด
พบว่าผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงนั้นมักจะไม่ค่อยมีความเครี ยด เนื่ องจากมีการไปมาหาสู่ กนั เป็ นประจา ไม่ได้
ถูกกดดันทางสังคม มีลูกหลานคอยดู แลยามเจ็บป่ วย ถ้ามีอาการเครี ยดส่ วนใหญ่ก็มกั จะเล่าให้เพื่อน
และลู กหลานฟั ง เพื่อช่ วยกันหาทางออกอยู่เสมอ ทั้งนี้ อาจเนื่ องมาจากการศึ ก ษาในครั้ งนี้ ผูส้ ู ง อายุ
กะเหรี่ ยงส่ วนใหญ่มี สถานภาพคู่ (ร้ อยละ 69.32) มี สถานภาพ หม้าย/หย่า /แยก (ร้ อยละ 30.68) ซึ่ ง
สถานภาพสมรส เป็ นข้อบ่งชี้ สถานะระบบครอบครัว เป็ นตัวที่กาหนดบทบาททางสังคม และถื อว่า
เป็ นแหล่ ง ประโยชน์ ที่ ส าคัญของครอบครั ว เมื่ อดู ค่ า เฉลี่ ย พฤติ ก รรมส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ พบว่า กลุ่ ม
ตัวอย่างที่มีสถานภาพคู่มีพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ ดีกว่า สถานภาพหม้าย/หย่า/แยก (ภาคผนวก ซ)
อาจเนื่ องมาจากผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงกลุ่มตัวอย่างมีคู่สมรสที่เป็ นส่ วนหนึ่ งของการสนับสนุ นทางสังคมที่
สาคัญ ทาให้ผสู ้ ู งอายุกะเหรี่ ยงกลุ่มตัวอย่างมีโอกาสได้รับการสนับสนุนข้อมูลความรู ้ดา้ นการปฏิบตั ิตน
และมัน่ ใจในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ มากกว่าบุคคลที่มีสถานภาพสมรสหม้าย/หย่า/แยก หรื อโสด
ซึ่ งสอดคล้องกับการศึกษาของ วริ ศา จันทรังสี วรกุล (2553) ที่ศึกษาพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของ
ผูส้ ู งอายุ พบว่าผูส้ ู งอายุที่มีสถานภาพสมรสคู่จะมีพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพดีกว่า ผูส้ ู งอายุสถานภาพ
สมรสอื่ นๆ โดยผูส้ ู ง อายุที่ อยู่ก ับคู่ ส มรสจะมี พฤติ กรรมส่ ง เสริ มสุ ข ภาพและมี ภาวะสุ ขภาพดี ก ว่า
ผูส้ ู งอายุที่อยูก่ บั บุคคลอื่นที่ไม่ใช่คู่สมรส
สาหรับรายได้ จากผลการวิจยั พบว่า กลุ่ มตัวอย่างส่ วนใหญ่มีรายได้อยู่ในระดับเพียงพอ
(ร้อยละ 68.18) และไม่เพียงพอร้อยละ 31.82 ซึ่ งรายได้เป็ นตัวบ่งชี้ ถึงสภาพของเศรษฐกิ จและสังคม
ของผูส้ ู งอายุที่มีฐานะทางเศรษฐกิ จดี จะมี โอกาสแสวงหาสิ่ งที่ มีประโยชน์ต่อการดู แลสุ ขภาพของ
ตนเอง และมี พ ฤติ ก รรมส่ ง เสริ มสุ ข ภาพที่ ดี ต ามมา (Pender et al., 2011) เมื่ อ พิ จ ารณาคะแนน
พฤติ กรรมส่ งเสริ ม สุ ข ภาพของผูส้ ู งอายุก ะเหรี่ ย งกลุ่ มตัวอย่าง พบว่า ผูส้ ู งอายุที่ มีรายได้เพี ยงพอมี

47
พฤติ กรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ สูงกว่า ผูส้ ู งอายุที่มีรายได้ไม่เพียงพอ (ภาคผนวก ซ) อาจเนื่ องมาจาก
รายได้เป็ นปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการดาเนิ นชี วิตในการตอบสนองด้านความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
เช่นเดียวกันกับผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงที่มีรายได้ไม่เพียงพออาจทาให้ผสู ้ ู งอายุกะเหรี่ ยงได้รับการตอบสนอง
ความต้องการด้า นต่ า งๆ ลดลง จึ ง ท าให้มี พ ฤติ ก รรมส่ ง เสริ ม สุ ขภาพที่ ไ ม่ ดีพ อ เป็ นไปในท านอง
เดี ย วกับ การศึ ก ษาของ ดี ฮานการ์ และคณะ (Dehghankar et al., 2018) ที่ ศึ ก ษาพฤติ ก รรมส่ ง เสริ ม
สุ ข ภาพของผู ส้ ู ง อายุ ในประเทศอิ ห ร่ า น จ านวน 372 คน พบว่า ผูส้ ู ง อายุที่ มี รายได้เพี ย งพอจะมี
พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ดีกว่าผูส้ ู งอายุที่มีรายได้ไม่เพียงพอ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ
3. ความสั มพันธ์ ระหว่ างความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพกับพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผู้สูงอายุ
กะเหรี่ยง
จากผลการศึกษาครั้งนี้ พบความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ ม
สุ ขภาพในผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงสัมพันธ์กนั ทางบวก ในระดับปานกลางอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ .001
(r = 0.60 , p< .001) แสดงให้เห็ นว่า ผูส้ ู ง อายุก ะเหรี่ ย งที่ มี ความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพในระดับสู งจะมี
พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่เหมาะสม โดยผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงจะต้องมีการเข้าถึง เข้าใจ สามารถเลือกใช้
ข้อมูลด้านสุ ขภาพในการดูแลตนเองได้ถูกต้อง จนนาไปสู่ การตัดสิ นใจเปลี่ ยนแปลงทัศนคติและเกิ ด
แรงจูงใจในการปฏิบตั ิพฤติกรรมให้ถู กต้องเหมาะสมกับตนเองและสามารถบอกต่อในสิ่ งที่ตนเอง
ปฏิบตั ิได้ถูกต้องแก่บุคคลอื่นได้ ซึ่ งเป็ นไปในทานองเดียวกันกับการศึกษาของ เรย์ซี่ และคณะ (Reisi
et al., 2014) ที่ ศึ ก ษาความสั ม พันธ์ ข องความรอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพและพฤติ ก รรมส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพใน
ผูส้ ู งอายุประเทศอิหร่ าน พบว่า ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพมีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ
โดยผูส้ ู งอายุที่มีความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพที่ดีจะมีพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในด้านการออกกาลังกาย
และการรับประทานอาหารที่เหมาะสม สอดคล้องกับการศึกษาของ หลิว และคณะ (Liu et al., 2015)
ที่ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ พฤติกรรมสุ ขภาพและภาวะทางสุ ขภาพใน
ผูส้ ู งอายุชาวจีนพบว่า ผูส้ ู งอายุที่มีความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพที่ดีจะมี พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ดี ใน
ด้านความรับผิดชอบต่อสุ ขภาพตนเอง การมีกิจกรรมทางกาย และการไม่สูบบุ หรี่ โดยผูส้ ู งอายุที่มี
ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในระดับสู งหรื อเพียงพอ จะสามารถแสวงหาความรู ้เกี่ยวกับการดู แลสุ ขภาพ
ได้ดว้ ยตนเอง จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และเข้าใจความรู ้ ข่าวสารทางสุ ขภาพสามารถตัดสิ นใจเลือก
ข้อมูลทางสุ ขภาพเพื่อดู แลสุ ขภาพของตนเองได้เหมาะสม รวมถึ งสามารถนาความรู ้มาสู่ การดูแลสุ ขภาพ
ของตนเองให้เหมาะสมกับสุ ขภาพได้ นอกจากนี้ยงั เป็ นไปในทานองเดียวกันกับการศึกษาของ กีบอร์
และคณะ (Geboers et al., 2016) ที่ ได้ศึ กษาความสั มพันธ์ ระหว่างความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพ พฤติ กรรม
สุ ขภาพและปั จจัยทางสังคมในผูส้ ู งอายุ ซึ่ งพบว่าการมีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพที่ต่ามีความสัมพันธ์กบั
การมีกิจกรรมทางกาย การรับประทานอาหารจาพวก ผักและผลไม้ที่นอ้ ยและไม่เพียงพอ

48
บทที่ 5
สรุปผลการวิจยั และข้ อเสนอแนะ

สรุ ปผลการวิจัย

การวิจยั ครั้งนี้ เป็ นการวิจยั เชิ งพรรณนาหาความสัมพันธ์ (descriptive correlational design) เพื่อ
ศึ ก ษาความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่า งความรอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพและพฤติ ก รรมส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพในผูส้ ู ง อายุ
กะเหรี่ ย ง กลุ่ ม ตัว อย่ า งคื อ ผู ้สู ง อายุ ก ะเหรี่ ย งกลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ์ ก ะเหรี่ ย งขาว ที่ อ าศัย อยู่ ใ นจัง หวัด
แม่ฮ่องสอน จานวน 88 ราย ในระหว่างเดื อนธันวาคม 2560 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2561 คัดเลื อกกลุ่ ม
ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) ตามคุณสมบัติ คือ สามารถสื่ อสารภาษาไทยหรื อ
ภาษากะเหรี่ ย งได้ มี ก ารรู ้ คิ ดที่ ป กติ โดยการประเมิ น จากแบบทดสอบสภาพสมอง Abbreviated
Mental Status (AMT) ของ สถาบันเวชศาสตร์ ผสู ้ ู งอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุ ข (2558) มี
ระดับคะแนนมากกว่าเท่ากับ 8 คะแนน จาก 10 คะแนน สามารถทากิจวัตรพื้นฐานได้ดว้ ยตนเอง โดย
ประเมินจากแบบประเมินการปฏิบตั ิกิจวัตรประจาวัน (Barthel Activities of Daily Living: ADL) ของ
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข (2558) มีระดับคะแนนมากกว่าเท่ากับ 12 คะแนน จาก 20 คะแนน
และยินยอมเข้าร่ วมในการวิจยั ครั้งนี้

เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่ วนบุคคล แบบสอบถามความ


รอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ ที่ผวู ้ ิจยั ดัดแปลงมาจากแบบสอบถามความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูป้ ่ วย
โรคเบาหวานของ จริ ยา นพเคราะห์ และ โรจนี จิ น ตนาวัฒ น์ (จริ ยา นพเคราะห์ , 2560) และ
แบบสอบถามพฤติ กรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงขาวของ ศิวาพร มหาทานุ โชค
(2558) โดยทั้งสองเครื่ องมื อได้ผ่านการตรวจสอบความเชื่ อมัน่ ได้ค่าสัมประสิ ทธ์ อลั ฟาครอนบาค
(Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.83 และ 0.85 ตามลาดับ

วิเคราะห์ขอ้ มูลส่ วนบุคคล ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพ และพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ โดยใช้สถิติ
เชิ ง พรรณนา (descriptive statistics) วิ เ คราะห์ ค วามสั ม พันธ์ ร ะหว่า งความรอบรู ้ ด้า นสุ ข ภาพและ
พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพโดยใช้สถิติสหสัมพันธ์แบบสเปี ยร์ แมน (Spearman’s rank correlation)

49
ผลการวิจัย
ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงมีความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพอยู่ในระดับต่า และมีพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพอยู่
ในระดับปานกลาง ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพใน
ระดับปานกลางอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r = 0.60)

ข้ อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้

1. บุคลากรสุ ขภาพสามารถนาไปเป็ นข้อมูลพื้นฐานในการส่ งเสริ มความรอบรู ้ ด้านสุ ขภาพ


และพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพให้กบั ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงได้

2. บุคลากรสุ ขภาพสามารถพัฒนาผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงที่มีความรู ้ความสามารถด้านการอ่านเขียน


ภาษาไทยให้เป็ นแกนนาในการช่วยส่ งเสริ มความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพใน
ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงได้

3. บุคลากรสุ ขภาพสามารถผลิตสื่ อด้านสุ ขภาพที่เป็ นภาษากะเหรี่ ยงให้กบั ผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงที่


มีขอ้ จากัดด้านภาษาไทย ในการส่ งเสริ มให้มีความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพได้

ข้ อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่ อไป

1. ด้วยการศึกษานี้ กลุ่มตัวอย่างคือผูส้ ู งอายุที่มีเชื้อสายกะเหรี่ ยงสะกอ (ขาว) ซึ่ ง องค์ความรู ้ไม่


สามารถอธิ บายในผูส้ ู งอายุกลุ่มชาติพนั ธุ์อื่นเนื่ องจากเป็ นคนละกลุ่มเชื้ อชาติ ดังนั้นควรมีการศึกษา
ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในกลุ่มชาติพนั ธุ์อื่นเพื่อขยายผลการศึกษา

2. เนื่ องจากการศึกษาครั้งนี้ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพกับพฤติกรรม


ส่ งเสริ มสุ ขภาพ ซึ่ งไม่สามารถอธิ บายความสัมพันธ์เชิ งเหตุและผล ดังนั้นควรศึกษาความสามารถใน
การทานายของความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพต่อพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง

50
เอกสารอ้างอิง

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข. (2558). แบบประเมินการปฏิ บัติกิจวัตรประจาวัน (Barthel


activities of daily living: ADL). Retrieved from https://www.anamai.moph.go.th/

กิตติมาพร โลกาวิทย์. (2556). ภาวะสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุในชุมชน


จังหวัดปทุมธานี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 5(1), 194-211.

ขจัดภัย บุรุษพัฒน์. (2538). ชาวเขา. กรุ งเทพฯ: แพร่ พิทยา.

ขวัญดาว กล่ารัตน์. (2554). ปั จจัยเชิ งสาเหตุของพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตภูมิภาคตะวันตก


ของประเทศไทย (ปริ ญญานิพนธ์ดุษฎีบณั ฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Retrieved from http://www.proceedings.su.ac.th/

ขวัญเมือง แก้วดาเกิง, และ นฤมล ตรี เพชรศรี อุไร. (2554). ความฉลาดทางสุขภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุ งเทพฯ: กองสุ ขศึกษา กรมสนับสนุนบริ การสุ ขภาพ กระทรวงสาธารณสุ ข.

จริ ยา นพเคราะห์. (2560). ความรอบรู้ ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่เป็ น


โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย,
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ทิพย์กมล อิสลาม. (2557). ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อพฤติกรรมสร้างเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุไทย อาเภอ


เกาะยาว จังหวัดพังงา. วารสารวิชาการแพทย์ เขต 11, 8(1), 1-15.

ธรรมพร บัวเพ็ชร์. (2552). ปั จจัยที่มผี ลต่ อการสร้ างเสริ มสุขภาพของสมาชิ กชมรมผู้สูงอายุ


อาเภอชะอวด จังหวัดนครศรี ธรรมราช (วิทยานิพนธ์วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย,
มหาวิทยาลัยทักษิณ. Retrieved from http://www2.tsu.ac.th/grad/research.php

นิทรา กิจธี ระวุฒิวงษ์, และ ศันสนีย ์ เมฆรุ่ งเรื องวงศ์. (2559). ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ
ของผูส้ ู งอายุที่อาศัยในชุมชน. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา, 11(1), 63-74.

51
เนตรดาว จิตโสภากุล. (2557). ปั จจัยที่มีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมการส่ งเสริ มสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุ
ในชุมชนหมู่ที่ 6 ตาบลบึงศาล อาเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัย
ปทุมธานี, 6(3), 171-178.

บุญช่วย ศรี สวัสดิ์. (2506). ชาวเขาในไทย. พระนครศรี อยุทธยา: โอเดียนสโตร์.

ประกาย จิโรจน์กุล. (2552). การวิจัยทางการพยาบาล: แนวคิด หลักการและวิธีปฏิ บัติ.


สถาบันพระบรมราชชนก สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุ ข. กรุ งเทพฯ: ธนาเพชร.

พีรนุช จันทรคุปต์. (2540). พฤติกรรมการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุชาวเผ่ ากะเหรี่ ยง


ในจังหวัดเชียงใหม่ (วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย,
มหาวิทยาลัยมหิดล. Retrieved from http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/thesis/scan/
9745887722.pdf

มูลนิธิสถาบันวิจยั และพัฒนาผูส้ ู งอายุไทย. (2560). สถานการณ์ ผ้ สู ูงอายุไทย พ.ศ. 2559. กรุ งเทพฯ:
ที คิว พี.

มูลนิธิสถาบันวิจยั และพัฒนาผูส้ ู งอายุไทย. (2561). สถานการณ์ ผ้ สู ูงอายุไทย พ.ศ. 2560. กรุ งเทพฯ:
ที คิว พี.

วรรณศิริ นิลเนตร. (2557). ความฉลาดทางสุขภาพของผู้สูงอายุไทยในชมรมผู้สูงอายุในเขต


กรุ งเทพมหานคร (ดุษฎีนิพนธ์วทิ ยาศาสตรดุษฎีบณั ฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

วริ ศา จันทรังสี วรกุล. (2553). พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพและภาวะสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุที่สถาน
สงเคราะห์คนชราจังหวัดนครสวรรค์. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์ สุขภาพ, 4(2), 12-20.

ศิริมา วงศ์แหลมทอง. (2542). ปั จจัยส่ วนบุคคล การรั บรู้ ประโยชน์ ของพฤติกรรมส่ งเสริ มสุขภาพ
และพฤติกรรมส่ งเสริ มสุขภาพของผู้สูงอายุ (วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต).
บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศิริรัตน์ ปานอุทยั , วณิ ชา พึ่งชมภู, และ ลินจง โปธิบาล. (2552). การวิเคราะห์ สถานการณ์ ผ้ สู ูงอายุ
จังหวัดแม่ ฮ่องสอน. กรุ งเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ.

52
ศิวาพร มหาทานุโชค. (2558). พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของประชาชนกลุ่มชาติพนั ธุ์กะเหรี่ ยงขาวที่มี
ความเสี่ ยง กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้ อรัง. พยาบาลสาร, 42, 118-125.

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คง


ของมนุษย์. (2557). ประชากรสูงอายุไทย: ปั จจุบันและอนาคต. เอกสารประมวลสถิติด้าน
สังคม 1/2558 (พฤศจิกายน). กรุ งเทพฯ: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์.

ศูนย์มานุษยวิทยาสิ รินธร. (2559). ฐานข้ อมูลงานวิจัยทางชาติพันธ์ ในประเทศไทย. Retrieved from


http://www.sac.or.th/databases/ethnicredb/articles.php

สถาบันเวชศาสตร์ผสู ้ ู งอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุ ข. (2558). คู่มือการคัดกรอง/ประเมิน


สุขภาพผู้สูงอายุ. กรุ งเทพฯ: สานักงานกิจการโรงพิมพ์สงเคราะห์องค์การทหารผ่านศึก.

สานักงานจังหวัดแม่ฮ่องสอน. (2556). ข้ อมูลสาคัญจังหวัดแม่ ฮ่องสอน ปี พ.ศ. 2556. แม่ฮ่องสอน:


กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่ อสาร.

สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัดแม่ฮ่องสอน. (2559). สรุ ปผลการดาเนินงานชมรมผู้สูงอายุ. Retrieved


from http//:www.moph.go.th

แสงเดือน กิ่งแก้ว, และ นุสรา ประเสริ ฐศรี . (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางสุ ขภาพและ


พฤติกรรมสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุที่เป็ นโรคเรื้ อรังหลายโรค. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข,
25, 43-54.

อดิศร เกิดมงคล, และ บุษยรัตน์ กาญจนดิษฐ์. (2550). คนพลัดถิ่น-คนข้ ามแดน. กรุ งเทพฯ:
ศูนย์มานุษยวิทยาสิ รินธร (องค์การมหาชน).

Adams, R. J., Appleton, S. L., Hill, C. L., Dodd, M., Findlay, C., & Wilson, D. H. (2014). Risks
associated with low functional health literacy in an Australian population. The Medical
Journal of Australia, 191, 530-534. Retrieved from https://www.mja.com.au/

Agarwal, G., Kendra, H., Melissa, P., Ric A., Francine, M., & Jenna, P. (2018). Assessing health
literacy among older adults living in subsidized housing: A cross-sectional study. Canadian
Journal of Public Health, 109(3), 401-409 doi:10.17269/s41997-018-0048-3

53
Ansari, H., Zeinab, A., Ansari, M. A., Mohammadi, M., Peyvand, M., Hajmohammadi, M., &
Bagheri, F. (2016). Health literacy in older adults and its related factors: A cross-sectional
study in southeast Iran. Health Scope, 5(4), 1-6. doi:10.17795/jhealthscope-37453

Baker, D. W., Williams, M. V., Parker, R. M., Gazmararian, J. A., & Nurss, J. (1999). Development
of a brief test to measure functional health literacy. Patient Education and Counseling, 38(1),
33-42.

Barile, J. P., Mitchell, S. A., Thompson, W. W., Zack, M. M., Reeve, B. B., Cella, D. F., & Wilder-
Smith, A. (2015). Patterns of chronic conditions and their associations with behaviors and
quality of life. Preventing Chronic Disease, 12, 1-11.

Burns, N., & Grove, S. K. (2009). The practice of nursing research: Conduct, critique, & utilization
(5th ed.). Philadelphia: Elsevier.

Chamroonsawasdi, K., Phoolphoklang, S., Nanthamongkolchai, S., & Munsawaengsub, C. (2010).


Factors influencing health promoting behaviors among the elderly under the universal
coverage program, Buriram Province, Thailand. Asia Journal of Public Health, 1(1), 15-19.

Chesser, A. K., Woods, N., Smothers, K., & Rogers, N. (2016). Health literacy and older adults: A
systematic review. Gerontology and Geriatric Medicine, 2, 1-13.

Cronbach, L. J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika, 16(3),
297-334.

Davis, T. C., Crouch, M. A., Long, S. W., Jackson, R. H., Bates, P., George, R. B., & Bairnsfather,
L. E. (1991). Rapid assessment of literacy levels of adult primary care patients. Family
Medicine, 23, 433-435.

Dehghankar, L., Shahrokhi, A., Qolizadeh, A., Mohammadi, F., & Nasiri, E. (2018). Health
promoting behaviors and general health among the elderly in Qazvin: A cross sectional study.
Elderly Health Journal, 4(1), 18-22.

54
Edelman, C. L., & Mandle, C. L. (2006). Health promotion throughout the lifespan (6th ed.).
St. Louis: Elsevier Mosby.

Fonseca, V. A. (2009). Defining and characterizing the progression of type 2 diabetes. Diabetes
Care, 32(2), S151-S156.

Geboers, B., Reijneveld, S. A., Jansen, C. J. M., & Winter, A. F. (2016). Health literacy is
associated with health behaviors and social factors among older adults: Results from the
LifeLines Cohort Study. Journal of Health Communication, 21(2), 45-53.

Harooni, J., Hassanzadeh, A., & Mostafavi, F. (2014). Influencing factors on health promoting
behavior among the elderly living in the community. Journal of Education and Health
Promotion, 3, 40-48.

Ishikawa, H, Takeuchi, T, & Yano, E,. (2008). Measuring functional communicative and critical
health literacy among diabetic patients. Diabetic Care, 31(5), 874-879.

Karimi, S., Keyvanara, M., Hosseini, M., Jazi, M. J., & Khorasani, E. (2014). The relationship
between health literacy with health status and healthcare utilization in 18-64 years old people
in Isfahan. Journal of Education and Health Promotion, 3, 75-82.

Kickbusch, I. (2008). Health literacy. International Encyclopedia of Public Health, 3(2), 204-211.

Kim, S. H. (2009). Health literacy and functional health status in Korean older adults. Journal of
Clinical Nursing, 18(16), 2337-2343.

Kobayashi, L. C., Smith, S. G., O’Conor, R., Curtis, L. M., Park, D., von Wagner, C., & Wolf,
M. S. (2015). The role of cognitive function in the relationship between age and health
literacy: A cross-sectional analysis of older adults in Chicago, USA. BMJ Open, 5(4), 207-220.

Lebar, F. M., Hickey, G. C., & Musgrave, J. K. (1964). Ethnic groups of mainland southeast asia.
Human Relations Area Files Press. doi:/10.2307/2051085

55
Lim, E. J., Noh, J. H., & Kim, E. Y. (2015). A comparative study factors affecting the health-
promoting behaviors of the young-elderly population in urban and rural communities.
International Journal of Bio-Science and Bio-Technology, 7(5), 367-374.

Liu, Y. B., Liu, L., Li, Y. F., & Chen, Y. L. (2015). Relationship between health literacy, health-
related behaviors and health status: A survey of elderly Chinese. International Journal of
Environmental Research and Public Health, 12, 9714-9725.

Miller, M. J. (2009). The age of migration (4th ed.). New York: Guilford.

Mofrad, Z. P., Jahantigh, M., & Arbabisarjou, A. (2016). Health promotion behaviors and chronic
diseases of aging in the elderly people of Iranshahr*-IR Iran. Global Journal of Health
Science, 8(3), 139-145.

Nutbeam, D. (2008). The evolving concept of health literacy. Social Science & Medicine, 67(12),
2072-2078.

Nutbeam, D. (2009). Defining and measuring health literacy: What can we learn from literacy
studies? International Journal of Public Health, 54(5), 303-305.

Palank, C. L. (1991). Determinants of health-promotive behavior. The Nursing Clinics of North


America, 26, 814-832.

Pender, N. J., Murdaugh, C. L., & Parsons, M. A. (2006). Health promotion in nursing practice
(5th ed.). New Jersey: Prentice Hall.

Pender, N. J., Murdaugh, C. L., & Parsons, M. A. (2011). Health promotion in nursing practice
(6th ed.). Boston, MA: Pearson.

Pleasant, A., & Kuruvilla, S. (2008). A tale of two health literacies. Health Promotion International,
23(2), 152-159.

Polit, D. F., & Beck, C. T. (2004). Nursing research: Principle and methods (7th ed.). Philadelphia:
Lippincott Williams & Wilkins.

56
Reisi, M., Javadzade, S. H., Heydarabadi, A. B., Mostafavi, F., Tavassoli, E., & Sharifirad, G.
(2014). The relationship between functional health literacy and health promoting behaviors
among older adults. Journal of Education and Health Promotion, 3, 119.

Senol, V., Ünalan, D., Soyuer, F., & Argun, M. (2014). The relationship between health promoting
behaviors and quality of life in nursing home residents in Kayseri. Journal of Geriatrics,
2(3),1-8.

Smith, S. G., O’Conor, R., Curtis, L. M., Waite, K., Deary, I. J., Paasche, O. M., & Wolf, M. S.
(2015). Low health literacy predicts decline in physical function among older adults:
Findings from the LitCog cohort study. Epidemiology Community Health, 20, 1-7.

Sørensen, S., Van den Broucke, S., Fullam, J., Doyle, G., Pelikan, J., Slonska, Z., & Brand, H.
(2012). Health literacy and public health: A systematic review and integration of definitions
and models. BMC Public Health, 12, 80-92.

Sudore, R. L., Mehta, K. M., Simonsick, E. M., Harris, T. B., Newman, A. B., Satterfield, S., &
Yaffe, K. (2006). Limited literacy in older people and disparities in health and healthcare
access. Journal of the American Geriatrics Society, 54(5), 770-776.

Suka, M., Odajima, T., Okamoto, M., Sumitani, M., Igarashi, A., Ishikawa, H., & Sugimori, H.
(2015). Relationship between health literacy, health information access, health behavior, and
health status in Japanese people. Patient Education and Counseling, 98(5), 660-668.

United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization. (2014). UNESCO Institute for
Statistics Data Centre (database), United Nations Educational, Scientific and Cultural
Organization. Retrieved from http://stats.uis.unesco.org/accuessed

United Nations. (2016). World population aging report. New York: United Nations Publishing
Section. Retrieved from http://www.un.org/en/development/desa/population/publications/
pdf/ageing/WPA2016_Report.pdf

57
Wagner, V., Knight, K., Steptoe, A., & Wardle, J. (2007). Functional health literacy and health-
promoting behaviour in a national sample of British adults. Journal of Epidemiology and
Community Health, 61(12), 1086-1090.

Walker, S. N., Sechrist, K. R., & Pender, N. J. (1995). The health promoting lifestyles profiles II.
Ohama, NE: University of Nebraska of Ohama.

World Health Organization. (2009). Health literacy and health promotion. Retrieved from
http://www.who.int

World Health Organization. (2010). Definition of an older or elderly person. Retrieved from
http://www.who.int/healthinfo/survey/ageingdefnolder/en/index.html

Zamora, H., & Clingerman, E. M. (2011). Health literacy among older adults: A systematic
literature review. Journal of Gerontological Nursing, 37, 41-51. doi:10.3928/00989134-
20110503-02

Zarcadoolas, C., Pleasant A, & Greer, D. S. (2005). Understanding health literacy: An expanded
model. Health Promotion International, 20(2), 195-203.

58
ภาคผนวก

59
ภาคผนวก ก
เอกสารรับรองโครงการวิจยั คณะพยาบาลศาสตร์

1/2

60
2/2

61
ภาคผนวก ข
เอกสารการพิทักษ์ สิทธิ์ของกลุ่มตัวอย่ าง

เอกสารคาชี้แจงและเอกสารแสดงความยินยอม

ท่านได้รับเชิ ญให้เข้าร่ วมโครงการวิจยั นี้ เนื่ องจากท่านเป็ นผูส้ ู งอายุที่มีเชื้ อสายกะเหรี่ ยงเผ่า
สะกอ(ขาว) โดยโครงการวิจยั นี้ จะคัดเลื อกผูท้ ี่เหมาะสมเข้าร่ วมการศึ กษาเป็ นจานวนทั้งสิ้ น 88 คน
จากกลุ่มผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยงในพื้นที่จงั หวัดแม่ฮ่องสอน

ก่อนที่ ท่านจะตัดสิ นใจว่าจะเข้าร่ วมโครงการวิจยั นี้ หรื อไม่ โปรดใช้เวลาในการอ่านเอกสาร


ฉบับนี้ ซึ่ งจะช่ วยให้ท่านเข้าใจสิ่ งต่างๆที่ท่านจะมี ส่วนร่ วมในโครงการ และหากมี ขอ้ สงสัยโปรด
ซักถามผูว้ จิ ยั หรื อนาไปปรึ กษาผูใ้ กล้ชิด ผูว้ ิจยั ขอเน้นว่าการตัดสิ นใจเข้าร่ วมโครงการวิจยั นี้ ข้ ึนอยูก่ บั
ความสมัครใจของท่าน (ดูกรอบที่1) หากท่านไม่สมัครใจเข้าร่ วมโครงการจะไม่มีผลใดๆต่อการดูแล
ทางการแพทย์หรื อสิ ทธิ ที่ท่านได้รับอยู่ และผูว้ ิจยั ไม่มีส่วนเกี่ ยวข้องใดๆในแผนการรักษาของกลุ่ ม
ตัวอย่าง

กรอบที่ 1 การเข้าร่ วมโครงการวิจยั นี้ข้ ึนอยูก่ บั ความสมัครใจของท่าน


 ท่านสามารถปฏิเสธการเข้าร่ วมโครงการวิจยั นี้ได้
 ท่านสามารถถอนตัว (ถอนความยินยอม) จากโครงการนี้ เมื่อใดก็ได้ และการถอนตัวจาก
การวิจัยจะไม่ มผี ลต่ อการรั กษาที่ท่านได้ รับและประโยชน์ ที่จะได้ รับจากชุมชน

กรอบที่ 2 ทางเลือกสาหรับแนวทางการรักษาในกรณี ที่ท่านไม่เข้าร่ วมโครงการวิจยั นี้ (ถ้ามี)


ท่านมีอิสระที่จะปฎิเสธการเข้าร่ วมโครงการวิจยั หรื อท่านสามารถแจ้งถอนตัวออกจาก
โครงการวิจยั ในระหว่างวิจยั ได้โดยไม่มีผลกระทบใดๆต่อท่าน

62
ข้ อมูลทีเ่ กีย่ วข้ องกับการศึกษา
โครงการวิจยั ครั้งนี้ เป็ นการศึกษาเรื่ อง “ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพและพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ
ของผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง” ซึ่ งพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ หมายถึ ง การกระทากิ จกรรมอย่างต่อเนื่ องที่
ผูส้ ู งอายุกระทาโดยมีเป้าหมายสาคัญในการมีสุขภาพที่ดี ครอบคลุมพฤติกรรม 6 ด้าน คือ 1) ด้านความ
รับผิดชอบต่อสุ ขภาพ 2) ด้านการออกกาลังกาย 3) ด้านโภชนาการ 4) ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
5) ด้า นการพัฒ นาจิ ต วิญ ญาณ และ6) ด้า นการจัด การกับ ความเครี ย ด เมื่ อ ผู ้สู ง อายุ มี ก ารปฏิ บ ัติ
พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่เหมาะสม ก็จะส่ งผลให้ผสู ้ ู งอายุเกิดภาวะสุ ขภาพที่ดีตามมา ซึ่งการปฏิบตั ิ
พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ดีตอ้ งอาศัย ความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพ ซึ่ งประกอบด้วย ความสามารถของ
ผูส้ ู งอายุในการอ่าน เข้าใจ เข้าถึงข้อมูลด้านสุ ขภาพ สามารถนาข้อมูลไปใช้ในการติดต่อสื่ อสารกับทีม
สุ ขภาพหรื อบุคคลอื่น สามารถคัดสรรข้อมูลจากสื่ อต่างๆเพื่อตัดสิ นใจ ในการเลือกปฏิบตั ิพฤติกรรม
ส่ งเสริ มสุ ขภาพที่เหมาะสม

กรอบที่ 3 ผลไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นได้จากการวิจยั
 ไม่มี

โครงการวิจยั นี้ มีวัตถุ ประสงค์ เพื่อศึ กษาความสั มพันธ์ ระหว่างความรอบรู ้ ด้า นสุ ขภาพและ
พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง

กรอบที่ 4 รู ปแบบการวิจยั

การวิจยั ครั้งนี้เป็ นการวิจยั เชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ (descriptive correlational research)

การศึกษานี้ ใช้ระยะเวลาประมาณ 45 นาที สาหรั บท่านในการทาแบบสอบถามจานวน 3 ชุ ด


โดยข้อคาถามจะเป็ นการสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลส่ วนบุคคลทัว่ ไป 7 ข้อ ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพของ
ผูส้ ู งอายุจานวน 14 ข้อ และข้อคาถามเกี่ ยวกับพฤติ กรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพ จานวน 44 ข้อ หากท่า น
ตัดสิ นใจเข้าร่ วมโครงการนี้ ข้าพเจ้าขอให้ท่านปฏิบตั ิตามตารางการศึกษา (ดู กรอบที่ 5)

กรอบที่ 5 ตารางการศึกษา
เมื่อท่านยินดีเข้าร่ วมงานวิจยั ภายหลังจากทราบรายละเอียดเกี่ยวกับการวิจยั แล้ว ผูว้ จิ ยั จะ
ขอให้ท่านลงลายมือชื่อในใบยินยอมเป็ นหลักฐาน จากนั้นผูว้ จิ ยั และผูช้ ่วยวิจยั จะดาเนินการ

63
สอบถามตามแบบสอบถามทั้ง 3 ฉบับ ได้แก่ 1) แบบสอบถามข้อมูลทัว่ ไป จานวน 7 ข้อ 2)
แบบสอบถามพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของกลุ่มชาติพนั ธ์กะเหรี่ ยงขาวที่มีความเสี่ ยงต่อโรคเรื้ อรัง
จานวน 44 ข้อ และ 3) แบบสอบถามความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ จานวน 14 ข้อโดยผูว้ จิ ยั จะ
อ่านข้อคาถามทีละข้อและไม่มีการอธิ บายเพิ่มให้ผสู ้ ู งอายุตอบคาถามทีละข้อ ใช้เวลาในการ
สอบถามประมาณ 40-50 นาที

ผูว้ จิ ยั ได้สรุ ปความเสี่ ยงและประโยชน์จากการเข้าร่ วมโครงการวิจยั นี้ไว้ใน กรอบที่ 6

กรอบที่ 6 ความเสี่ ยงและประโยชน์ที่จะคาดว่าจะได้รับจากการเข้าร่ วมโครงการวิจยั นี้


ความเสี่ ยงและวิธีการลดหรื อหลีกเลี่ยงความ ประโยชน์
เสี่ ยง
- ความเสี่ ยง - ประโยชน์ ทางตรง/ทางอ้อม
1.ท่านอาจจะถูกรบกวนความเป็ นส่ วนตัวและ ท่านจะไม่ได้รับประโยชน์โดยตรงจากการ
อาจจะเกิ ด ความเครี ยดและเหนื่ อยล้าในขณะ วิจยั แต่ขอ้ มูลที่ได้จากการวิจยั จะใช้เป็ นข้อมูล
ตอบแบบสอบถามได้ พื้นฐานแก่บุคลากรทางสุ ขภาพทั้งใน
โรงพยาบาลและชุมชนในการสร้างเสริ ม
- วิธีการลดหรื อหลีกเลีย่ งความเสี่ ยง พฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพและความรอบรู ้ดา้ น
1. ก่อนการสอบถามผูว้ ิจยั จะประเมินความ สุ ขภาพของผูส้ ู งอายุกะเหรี่ ยง
พร้อมในการให้ขอ้ มูลโดยการสอบถามท่าน
และหากว่าขณะเก็บข้อมูลถ้าท่านเกิดอาการไม่
สุ ขสบายผูว้ จิ ยั จะหยุดพักก่อน เมื่อท่านรู ้สึกดี
ขึ้นจึงจะเริ่ มการสอบถามใหม่

64
ผูว้ ิจยั สรุ ปแนวทางการปฏิบตั ิหรื อการดูแลต่อสถานการณ์ต่างๆที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการศึกษา
ไว้ใน กรอบที่ 7

กรอบที่ 7 สถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการศึกษา
สถานการณ์ แนวทางการปฏิบตั ิ
หากท่านถอนความยินยอมระหว่าง ท่านมีอิสระที่จะปฏิเสธการเข้าร่ วมการวิจยั โดยบอกกับ
การศึกษา ผูใ้ ห้ขอ้ มูลแก่ท่าน หรื อระหว่างการวิจยั ก็สามารถแจ้งขอ
ถอน
ตัวออกจากโครงการวิจยั ได้ โดยจะไม่มีผลกระทบใดๆ ต่อ
ท่าน
เมื่อมีขอ้ มูลใหม่ที่สาคัญที่อาจมีผล ผูว้ จิ ยั จะแจ้งให้ท่านทราบโดยเร็ ว โดยท่านสามารถ
ต่อการตัดสิ นใจของท่าน ตัดสิ นใจได้วา่ ท่านจะร่ วมอยูใ่ นโครงการวิจยั นี้ ต่อหรื อไม่

ข้ อมูลของท่ านทีเ่ กี่ยวข้ องกับการศึกษาจะถูกเก็บเป็ นความลับ โดยจะไม่มีการระบุชื่อของท่าน


และใช้รหัสแทนชื่ อจริ งของท่าน ในการนาข้อมูลไปอภิปรายหรื อตีพิมพ์เพื่อเผยแพร่ การนาเสนอผล
ของการศึกษาในที่ประชุ มหรื อวารสารวิชาการจะไม่มีการระบุชื่อของท่าน อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการ
จริยธรรม ผู้มีอานาจในการกากับดูแลการวิจัย และบุคลากรจากองค์ การอาหารและยา จะสามารถเข้ าดู
ข้ อมูลของท่ านได้ เพื่อตรวจสอบข้อมูลและขั้นตอนการวิจยั ท่านมีสิทธิ ตามกฎหมายที่จะขอดูขอ้ มูล
ส่ วนตัวของท่าน หากท่านต้องการใช้สิทธิ ดงั กล่าว กรุ ณาแจ้งให้ขา้ พเจ้าได้ทราบ และสิ ทธิ ประโยชน์
อันเกิดจากผลการศึกษาให้เป็ นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ในการเข้าร่ วมโครงการวิจยั นี้ ท่านไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้ น และท่านจะได้รับสิ่ งตอบ


แทนเป็ นกระเป๋ าผ้าขนาดเล็ก ราคาใบละ 50 บาท จากการเข้าร่ วมการศึกษาวิจยั นี้ กรณี ที่ท่านได้รับ
อันตรายหรื อเจ็บป่ วยที่เป็ นผลจากการศึกษาผูว้ ิจยั จะประสานงานเพื่อให้ท่านได้รับการดู แลรักษาที่
เหมาะสม

65
หากท่านมีขอ้ สงสัย ท่านสามารถสอบถามได้ที่บุคคลในกรอบที่ 8
กรอบที่ 8 บุคคลทีท่ ่ านสามารถติดต่ อเพื่อสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม
1. ว่าที่ร้อยตรี ยทุ ธการ ประพากรณ์ 6/3 หมู่ที่ 1 ตาบลแม่ลาหลวง อาเภอแม่ลาน้อย
จังหวัดแม่ฮ่องสอน 58120
หมายเลขโทรศัพท์ 088-2740127 (ตลอด 24 ชัว่ โมง)
2. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. โรจนี กลุ่มวิชาการพยาบาลพื้นฐาน คณะพยาบาลศาสตร์
จินตนาวัฒน์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หมายเลขโทรศัพท์ 053-935016
และ 053-949019 (ในเวลาราชการ)
3. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. เดชา ทาดี กลุ่มวิชาการพยาบาลสาธารณสุ ข คณะพยาบาล ศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หมายเลขโทรศัพท์ 053-935018
(ในเวลาราชการ)

หากท่านมีขอ้ สงสัยเกี่ยวกับสิ ทธิ ของท่านก่อนหรื อระหว่างเข้าร่ วมโครงการท่านสามารถติดต่อ


ได้ที่ คณะกรรมการจริ ยธรรมการวิจยั คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ โทร. 0 5393 6080
(เวลาราชการ) หรื อ โทรสาร 0 5389 4170 (ไม่ มี ค วามขัด แย้ง ทางผลประโยชน์ ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ
โครงการวิจยั )

66
เอกสารแสดงความยินยอมของอาสาสมัคร/เข้ าร่ วมโครงการวิจัย

เอกสารแสดงความยินยอมเข้ าร่ วมโครงการวิจัย

ข้าพเจ้าได้อ่านและรับฟังข้อมูลข้างต้นอย่าง ข้าพเจ้าขอยืนยันว่า ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการวิจยั


ละเอียดแล้ว และมีโอกาสซักถามข้อสงสัย ได้รับโอกาสในการซักถามและทุกข้อสงสัย
ต่างๆจนเป็ นที่พอใจแล้ว ข้าพเจ้าสมัครใจที่จะ ได้รับการอธิ บายอย่างถูกต้องชัดเจนแล้ว
เข้าร่ วมโครงการวิจยั นี้ โดยลงลายมือชื่อไว้ ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการวิจยั ยินยอมเข้าร่ วม
เป็ นหลักฐานประกอบการตัดสิ นใจ(ทั้งนี้การ โครงการวิจยั ด้วยความสมัครใจ
ลงลายมือชื่อนี้ขา้ พเจ้าไม่ได้สละสิ ทธิ์ ใดๆ ที่
ข้าพเจ้าพึ่งมีตามกฎหมาย)

_______________________________ ___ว่าที่ร้อยตรี ยทุ ธการ ประพากรณ์__


ชื่อผูย้ นิ ยอมเข้าร่ วมโครงการวิจยั ชื่อผูข้ อความยินยอมจากผูเ้ ข้าร่ วม
โครงการวิจยั

_______________________________ _______________________________
ลายเซ็นผูย้ นิ ยอมเข้าร่ วมโครงการวิจยั ลายเซ็นผูข้ อความยินยอมจากผูเ้ ข้าร่ วม
โครงการวิจยั
__________________________
วัน/เดือน/ปี __________________________
วัน/เดือน/ปี

67
ภาคผนวก ค
หนังสื ออนุญาตเก็บข้ อมูล

68
ภาคผนวก ง
เครื่ องมือที่ใช้ ในการรวบรวมข้ อมูลและดาเนินการวิจยั

เครื่ องมือที่ใช้คดั เลือกกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย


ส่ วนที่ 1 แบบทดสอบสภาพสมอง
ส่ วนที่ 2 แบบประเมินคัดกรองความสามารถในการดาเนินชีวติ ประจาวัน

เครื่ องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย


ส่ วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่ วนบุคคล
ส่ วนที่ 2 แบบสอบถามพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของกลุ่มชาติพนั ธ์กะเหรี่ ยงขาวที่มีความเสี่ ยง
ต่อโรคเรื้ อรัง
ส่ วนที่ 3 แบบสอบถามความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ

69
เครื่ องมือทีใ่ ช้ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่ าง

ส่ วนที่ 1 แบบทดสอบสภาพสมอง(Abbreviated mental Test : AMT)


คาชี้แจง จงตอบคาถามตามความเป็ นจริ ง
ข้อ คาถาม คาตอบ สาหรับผูว้ จิ ยั
ผิด ถูก
1 อายุ เท่าไร

2 ขณะนี้ เวลา...อะไร

3 ที่อยูป่ ั จจุบนั ของท่าน คือ

4 …………………………………….
5 …………………………………….
6 .
…………………………………….
7 .
…………………………………….
8 .
…………………………………….
9 . …………………………………….

10 …………………………………….

การแปลผล ถ้าตอบ “ถูก” มากกว่าเท่ากับ 8 คะแนน แสดงว่า การรู ้คิดปกติ

70
ส่ วนที่ 2 แบบประเมินผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจาวัน
คาชี้แจง จงทาเครื่ องหมาย ลงในช่อง  ที่ตรงกับตัวท่านมากที่สุด
1. Feeding (รับประทานอาหารเมื่อเตรี ยมสารับไว้ให้เรี ยบร้อยต่อหน้า)
 0 ไม่สามารถตักอาหารเข้าปากได้ ต้องมีคนป้ อนให้
 1 ตักอาหารเองได้แต่ตอ้ งมีคนช่วย เช่น ช่วยใช้ชอ้ นตักเตรี ยมไว้ให้ หรื อตัดเป็ นเล็กๆ ไว้ล่วงหน้า
 2 ตักอาหารและช่วยตัวเองได้เป็ นปกติ
2. Grooming (ล้างหน้า หวีผม แปรงฟัน โกนหนวด ในระยะเวลา 24 - 28 ชัว่ โมงที่ผา่ นมา)
 0 ต้องการความช่วยเหลือ
 1 เองได้ (รวมทั้งที่ทาได้เองถ้าเตรี ยมอุปกรณ์ไว้ให้)
.
.
.
.
10. Bladder (การกลั้นปั สสาวะในระยะ 1 สัปดาห์ที่ผา่ นมา)
 0 กลั้นไม่ได้ หรื อใส่ สายสวนปั สสาวะแต่ไม่สามารถดูแลเองได้
 1 กลั้นไม่ได้บางครั้ง (เป็ นน้อยกว่าวันละ 1 ครั้ง)
 2 กลั้นได้เป็ นปกติ
คะแนนรวม (.................................................คะแนน)
การแปลผล
คะแนน ADL ตั้งแต่ 12 คะแนน ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 1 ผูส้ ู งอายุที่พ่ ึงตนเองได้ช่วยเหลือ
ขึ้นไป ผูอ้ ื่น ชุมชนและสังคมได้ (กลุ่มติดสังคม)
คะแนน ADL อยูใ่ นช่วง 5 – 11 ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 2 ผูส้ ู งอายุที่ดูแลตนเองได้บา้ ง
คะแนน ช่วยเหลือตนเองได้บา้ ง (กลุ่มติดบ้าน)
ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 3 ผูส้ ู งอายุกลุ่มที่พ่ งึ ตนเองไม่ได้
คะแนน ADL อยูใ่ นช่วง 0 -4
ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการ หรื อทุพพลภาพ (กลุ่ม
คะแนน
ติดเตียง)

71
เครื่ องมือทีใ่ ช้ ในการรวบรวมข้ อมูลการวิจัย

แบบบันทึกข้ อมูลส่ วนบุคคล


คาชี้แจง โปรดทาเครื่ องหมาย () ใน ( ) หรื อเติมข้อความลงในช่ องว่าง ให้ตรงกับความเป็ นจริ งที่
เกี่ยวกับท่านมากที่สุด
1. เพศ
( ) ชาย ( ) หญิง
2. อายุ…………………………… ปี
3. สถานภาพสมรส
( ) โสด ( ) คู่ ( ) หม้าย ( ) หย่าร้าง
4. ศาสนา
( ) พุทธ ( ) คริ สต์ ( ) อิสลาม ( ) อื่นๆ ระบุ........................
.
.
.
7. โรคประจาตัว
( ) ไม่มี
( ) มี ( ) ความดันโลหิตสู ง ( ) เบาหวาน ( ) ไขมันในหลอดเลือดสู ง
( ) อื่นๆระบุ.................................

72
ส่ วนที่ 2 แบบสอบถามพฤติกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ ยงขาวที่มีความเสี่ ยงโรค
เรื้อรัง
คาชี้ แจง โปรดทาเครื่ องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับตามความรู ้สึก/ความคิดเห็นของท่านมาก
ที่สุด โดยพิจารณาตามเกณฑ์ดงั นี้
ไม่เคยเลย หมายถึง ไม่เคยปฏิบตั ิพฤติกรรมนั้นเลย
บางครั้ง หมายถึง ปฏิบตั ิ หรื อแสดงออกพฤติกรรมนั้นสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง
บ่อยๆ หมายถึง ปฏิบตั ิ หรื อแสดงออกพฤติกรรมนั้นสัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง
เป็ นประจา หมายถึง ปฏิบตั ิ หรื อแสดงออกพฤติกรรมนั้นเป็ นประจาทุกวัน
ไม่ เคย บาง เป็ น
พฤติกรรมสุ ขภาพ บ่ อยๆ
เลย ครั้ง ประจา
ด้ านความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคล
1. เมื่อมีปัญหาสุ ขภาพปรึ กษากับคนใกล้ชิด
2. รู ้สึกยินดีกบั ความสาเร็ จของผูอ้ ื่น
3. มีมนุษยสัมพันธ์กบั ผูอ้ ื่น
4. ใช้เวลาว่างกับเพื่อน หรื อคนใกล้ชิด
…………………………………….
…………………………………….
…………………………………….
…………………………………….
…………………………………….
…………………………………….
…………………………………….
…………………………………….
…………………………………….
…………………………………….
…………………………………….
44. ………………………………..

73
ส่ วนที่ 3 แบบประเมินความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพในผู้สูงอายุ
คาชี้แจง ข้อคาถามต่อไปนี้ เป็ นการสอบถามความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุ ได้แก่ความรอบรู ้
ด้านสุ ขภาพพื้นฐาน ความรอบรู ้ ดา้ นสุ ขภาพด้านการมีปฏิ สัมพันธ์การติดต่อสื่ อสาร ความรอบรู ้ ดา้ น
สุ ขภาพด้านวิจารณญาณ ขอให้ท่านตอบให้ตรงกับความจริ งที่ท่านปฏิบตั ิมากที่สุดโดยใส่ เครื่ องหมาย
() ในช่องว่าง เลือกเพียงคาตอบเดียว และคาตอบของท่านไม่มีผดิ หรื อถูก ซึ่ งมีความหมาย ดังนี้
ความถี่ของการเกิดเหตุการณ์ การปฏิบตั ิทางบวก การปฏิบตั ิทางลบ
ไม่เคย 1 4
นานๆคร้ัง 2 3
บางครั้ง 3 2
บ่อยครั้ง 4 1

ระดับความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพ ความถี่ของการเกิดเหตุการณ์


ไม่ เคย นานๆ บางครั้ง บ่ อยครั้ง
ครั้ง
ความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพพืน้ ฐาน
ในการอ่านใบให้คาแนะนา แผ่นพับหรื อข้อมูลที่
เกี่ยวข้องกับสุ ขภาพของท่านที่ได้รับจากโรงพยาบาล
หรื อแหล่งข้อมูลต่างๆ
1. ท่านพบว่าข้อความมีขนาดเล็กเกินไป ไม่เหมาะแก่
การอ่าน
2. ท่านพบว่าตัวหนังสื อหรื อคาบางคาที่ท่านไม่ทราบ
หรื อไม่เข้าใจความหมาย
…………………………………….
…………………………………….
…………………………………….
…………………………………….
…………………………………….
…………………………………….
14. …………………………………….

74
ภาคผนวก จ
สัดส่ วนของกลุ่มตัวอย่างในแต่ ละพืน้ ที่

สัดส่ วนของกลุ่มตัวอย่ างในแต่ ละพืน้ ที่ (n = 88)


โซน อาเภอ ตาบล จานวน หมู่บ้าน จานวน สัดส่ วนกลุ่ม
ผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ ตัวอย่ าง
(คน) (คน) (คน)
เหนือ เมือง ห้วยปูลิง 684 บ้านห้วยปูลิง 164 10
ผาบ่อง 2,172 บ้านผาบ่อง 488 32
ใต้ แม่สะเรี ยง แม่เหาะ 1,806 บ้านแม่เหาะ 423 26
ป่ าแป๋ 1,362 บ้านป่ าแป๋ 326 20
รวม 6,024 1,401 88

75
ภาคผนวก ฉ
ค่าเฉลีย่ และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพรายข้ อ

ค่ าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมส่ งเสริ มสุขภาพรายข้ อ (n = 88)

พฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพ X̅ SD


ด้ านความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคล
1. เมื่อมีปัญหาสุ ขภาพปรึ กษากับคนใกล้ชิด 2.81 0.74
2. รู ้สึกยินดีกบั ความสาเร็ จของผูอ้ ื่น 2.98 0.69
3. มีมนุษยสัมพันธ์กบั ผูอ้ ื่น 3.15 0.58
4. ใช้เวลาว่าง........................................ 3.08 0.59
5. แสดงความเอาใจใส่ ....................................... 2.93 0.62
6. มีความเห็นอกเห็นใจ....................................... 2.98 0.55
7. ....................................... - -
8. ....................................... - -
9. มีความประนีประนอม....................................... - -
ด้ านความรับผิดชอบต่ อสุ ขภาพ
10. ไปพบแพทย์....................................... 2.76 0.82
11. อ่านหนังสื อ หรื อดูรายการ...................................... 2.00 0.77
12. ตอบคาถามเกี่ยวกับเรื่ องสุ ขภาพ...................................... 2.42 0.64
13. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ องสุ ขภาพ................................... 2.13 0.60
14. สังเกตการเปลี่ยนแปลงของสุ ขภาพ....................................... 2.16 0.71
15. สามารถขอข้อมูล....................................... 2.14 0.61

76
พฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพ X̅ SD
ด้ านการปฏิบัติกจิ กรรมการออกกาลังกาย
16. ออกกาลังกายเบาๆ ....................................... 3.10 0.88
17. ....................................... - -
18. ออกกาลังกายในระหว่างทากิจวัตรประจาวัน 3.26 0.81
.......................................
19. สังเกตการเต้นของหัวใจ....................................... 1.44 0.84
ด้ านโภชนาการ
20. เลือกรับประทานอาหาร....................................... 2.89 0.94
21. ใช้และรับประทานรสหวาน....................................... 3.10 0.88
22. รับประทานอาหารประเภทข้าว ....................................... 3.75 0.55
23. รับประทานผลไม้ ....................................... 2.34 0.76
24. รับประทานผัก 5 กามือ....................................... 3.27 0.87
25. รับประทานนม นมถัว่ เหลือง ....................................... 2.14 0.94
26. รับประทานอาหารประเภทเนื้อสัตว์....................................... 3.23 0.84
27. อ่านฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร....................................... 1.77 0.88
28. รับประทานอาหารเช้า....................................... 3.78 0.55
ด้ านการพัฒนาทางจิตวิญญาณ
29. รู ้สึกว่าตัวเองเปลี่ยนแปลง....................................... 2.48 0.69
30. ....................................... - -
31. ....................................... - -
32. ....................................... - -
33. ....................................... - -
34. พบว่าในแต่ละวันมีสิ่งที่น่าสนใจ ....................................... 2.47 0.62
35. ตระหนักรู ้....................................... 2.65 0.70

77
พฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพ X̅ SD
36. เข้าใจเหตุและผล....................................... 2.63 0.67
37. เปิ ดโอกาส....................................... 2.52 0.71
ด้ านการจัดการความเครียด
38. นอนหลับพักผ่อน....................................... 3.05 0.88
39. หาเวลาว่าง....................................... 2.75 0.67
40. ยอมรับ....................................... 2.77 0.69
41. ใช้วธิ ีการที่เหมาะสม....................................... 2.63 0.72
42. ....................................... - -
43. ใช้เวลาในการผ่อนคลาย ....................................... 2.28 0.68
44. รู ้จกั ผ่อนหนัก....................................... 2.51 0.66

78
ภาคผนวก ช
ค่าเฉลีย่ และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความรอบรู้ด้านสุ ขภาพรายข้ อ

ค่ าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความรอบรู้ ด้านสุขภาพรายข้ อของกลุ่มตัวอย่ าง (n=88)

ความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพ X̅ SD

ความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพพืน้ ฐาน


ในการอ่านใบให้คาแนะนา แผ่นพับ.......................................
1. ท่านพบว่าตัวอักษร....................................... 1.76 1.11
2. ท่านพบว่ามีตวั หนังสื อ....................................... 1.74 1.09
3. ท่านพบว่ามีขอ้ ความ....................................... 1.69 1.05
4. ท่านใช้เวลานาน ....................................... 1.65 1.03
5. ท่านต้องให้ผอู ้ ื่น/บุคคลอื่นช่วย....................................... 1.41 0.85
ความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพด้ านการมีปฏิสัมพันธ์ / การติดต่ อสื่ อสาร
หากท่านเกิดความไม่สุขสบาย.......................................
6. ท่านจะสอบถาม ค้นหาข้อมูล....................................... 2.23 0.84
7. ท่านสามารถพิจารณาเลือกข้อมูล....................................... 2.02 0.77
8. ท่านมีความเข้าใจในข้อมูล....................................... 2.20 0.89
9. ท่านสามารถบอกความต้องการ....................................... 2.17 0.81
10. ท่านสามารถขอข้อมูล..................................... 2.20 0.81
ความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพด้ านวิจารณญาณ
หากท่านเกิดความไม่สุข...................................
11. ท่านสามารถประเมินข้อมูล................................... 2.11 0.81
12. ท่านได้พิจารณาความน่าเชื่อถือ................................... 1.98 0.86
13. ท่านมีการพิจารณาข้อดี ....................................... 2.11 0.88
14. ท่านเก็บรวบรวมข้อมูล....................................... 1.84 0.74

79
ภาคผนวก ซ
ค่าเฉลีย่ และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพ
จาแนกตามข้ อมูลส่ วนบุคคล

ค่ าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานของพฤติ กรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพจาแนกตามข้ อมูล ส่ วนบุคคล
(n=88)
ข้ อมูลส่ วนบุคคล X̅(SD)
เพศ
ชาย 121.03(2.40)
หญิง 117.06(2.33)
สถานภาพสมรส
คู่ 119.59(16.14)
หม้าย/หย่า 117.22(16.47)
ระดับการศึกษา
ไม่ได้รับการศึกษา 117.78(16.22)
ได้รับการศึกษา
ประถมศึกษา 126.71(8.69)
มัธยมศึกษา 151.00(1.00)
ความเพียงพอของรายได้
เพียงพอ 120.63(14.92)
ไม่เพียงพอ 115.07(18.32)

80
ภาคผนวก ฌ
ค่าเฉลีย่ และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความรอบรู้ด้านสุ ขภาพรายด้ าน

ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความรอบรู้ ด้านสุขภาพรายด้ านของกลุ่มตัวอย่ าง (n=88)

ความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพ X̅ SD ระดับ

ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพพื้นฐาน 23.10 1.98 ต่า


ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพด้านปฏิสัมพันธ์/ติดต่อสื่ อสาร 30.32 1.16 ปานกลาง
ความรอบรู ้ดา้ นสุ ขภาพด้านวิจารณญาณ 28.16 1.83 ต่า

81
ภาคผนวก ญ
รายนามผู้ทรงคุณวุฒิ

ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา สั งกัด
1. ผศ.นพ. นิสิต วรรธนัจฉริ ยา ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2. ผศ. รุ่ งศักดิ์ ศิรินิยมชัย กลุ่มวิชาการพยาบาลผูส้ ู งอายุ
สังกัดคณะพยาบาลศาสตร์ แมคคอร์ มิค
มหาวิทยาลัยพายัพ
2. รศ. ดร. ลินจง โปธิบาล กลุ่มวิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
3. ผศ. ดร. ทศพร คาผลศิริ กลุ่มวิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
5. อาจารย์ ดร.ปรัศนี ศรี กนั พยาบาลวิชาชีพชานาญการพิเศษ
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา
6. นายบาเหน็จ แสงรัตน์ ผูป้ ฏิบตั ิการพยาบาลขั้นสู ง (การพยาบาลผูส้ ู งอายุ)
สังกัดงานการพยาบาลผูป้ ่ วยอายุรศาสตร์
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

82
ภาคผนวก ฎ
รายนามผู้ทรงคุณวุฒิแปลภาษา

ผู้ทรงคุณวุฒิการแปลภาษา สั งกัด
1. อาจารย์มาลา ขันแก้ว ข้าราชการบานาญ
2. ดร. ประเสริ ฐ ตระการศุภกร นักพัฒนาอาวุโสชนเผ่าพื้นเมืองและชาติพนั ธุ์

83
ประวัตผิ ้เู ขียน

ชื่ อ-นามสกุล ว่าที่ร้อยตรี ยุทธการ ประพากรณ์

วัน เดือน ปี เกิด 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532

ประวัติการศึกษา ปี การศึกษา 2554 พยาบาลศาสตรบัณฑิต


มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประวัติการทางาน พ.ศ. 2555-2561 อาจารย์ กลุ่มการพยาบาลผูใ้ หญ่และผูส้ ู งอายุ


วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา
พ.ศ. 2561 พยาบาลวิชาชีพปฏิบตั ิการ งานอนามัยผูส้ ู งอายุ
กลุ่มพัฒนาการส่ งเสริ มสุ ขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข

84

You might also like