ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท มหาสารคาม

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 20

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท อำ�เภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม /

Factors Related to Falls Among Older Adults in Rural Communities, Yang Sisurat District, Maha Sarakham Province

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท
อ�ำเภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม
Factors Related to Falls Among Older Adults in Rural Communities,
Yang Sisurat District, Maha Sarakham Province
ดุญณภัตน์ ขาวหิต* วิราวรรณ์ ค�ำหวาน** ก�ำทร ดานา*** ชนายุส ค�ำโสม****
Doonnaput Khowhit* Wiravan Kumvan** Kamthorn Dana*** Chanayus Kumsom****

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุใน
ชุมชนชนบท อำ�เภอยางสีสรุ าช จังหวัดมหาสารคาม กลุม่ ตัวอย่างคือ ผูส้ งู อายุ 60 ปีขน้ึ ไป จำ�นวน 374 คน
โดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ดำ�เนินการวิจัยระหว่าง สิงหาคม - กันยายน 2563 แบบสอบถามใช้ใน
การวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามการหกล้ม แบบประเมินข้อมูลด้านชีวภาพ
แบบประเมินสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกบ้าน แบบประเมินพฤติกรรมการป้องกันการหกล้มของ
ผู้สูงอายุ มีค่าความเชื่อมั่น (reliability) อยู่ระหว่าง .71 - .99 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS
ใช้สถิตบิ รรยายและวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิตไิ คว์สแควร์ กำ�หนดระดับนัยสำ�คัญที่ p - value < .05
ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุมีการพลัดตกหกล้มใน 6 เดือนที่ผ่านมาร้อยละ 5.3 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์
กับการพลัดตกหกล้ม ได้แก่ ประวัติการได้รับอุบัติเหตุที่ขาหรือเท้า ภาวะสุขภาพจิต พฤติกรรมการใช้ยา
มากกว่า 4 ชนิด การใช้บนั ไดในชีวติ ประจำ�วัน การใช้อปุ กรณ์ในการทรงตัว การมีสง่ิ แวดล้อมทีไ่ ม่เหมาะสม

Received: September 19, 2022 Revised: November 17, 2022 Accepted: December 16, 2022

* Corresponding Author อาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


E-mail: doonnaput.c@msu.ac.th
* Corresponding Author, Instructor, Faculty of Nursing, Mahasarakham University.
E-mail: doonnaput.c@msu.ac.th
** อาจารย์ กลุม่ วิชาการพยาบาลชุมชน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
** Instructor, Group of Community Nursing, Faculty of Nursing, Mahasarakham University.
*** วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
*** Srimahasarakham Nursing College Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute
****ศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
****Regional Health Promotion Centre 7 Khonkaen, Mueang District, Khonkaen Province

วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66 ...45


ดุญณภัตน์ ขาวหิต วิราวรรณ์ คำ�หวาน กำ�ทร ดานา ชนายุส คำ�โสม / Doonnaput Khowhit, Wiravan Kumvan, Kamthorn Dana, Chanayus Kumsom

ลักษณะที่อยู่อาศัยบ้านสองชั้น ลักษณะที่นอนสูงหรือต่ำ�กว่าระดับเข่า (40 - 45 เซนติเมตร) และ


ลักษณะห้องน้ำ�ตั้งอยู่ภายนอกตัวบ้าน มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท
จากผลการวิจัยนี้ บุคลากรหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องควรมีการประเมินปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการพลัด
ตกหกล้มของผูส้ งู อายุ เพือ่ เป็นข้อมูลในการจัดโปรแกรมการดูแลผูส้ งู อายุ หรือการให้ค�ำ แนะนำ�ผูส้ งู อายุ
ผูด้ แู ล ญาติ เพือ่ ป้องกันการพลัดตกหกล้มในผูส้ งู อายุในชุมชนชนบทได้

คำ�สำ�คัญ: ปัจจัย การพลัดตกหกล้ม ผูส้ งู อายุ ชุมชนชนบท

Abstract
Objective: To examine the factors related to falls among older adults in rural
communities, specifically in the Yang Sisurat District of Maha Sarakham Province, Thailand.
Methods: the study was conducted with a sample group of 374 elderly people,
aged 60 years and over, by multi - stage random sampling between August and September
2020. The questionnaire used for the research consisted of 1) a general information
questionnaire, 2) a falling questionnaire, 3) a biological data assessment, 4) an internal and
external environment assessment form, and 5) the fall prevention behavior of the elderly,
which have a confidence (reliability) between .71 - .99. The SPSS was used for data
analysis, descriptive statistics, and Chi - Square tests for correlation analysis with p - value
< .05.
Results: It was found that 5.30 % of participants had experienced a fall during
the past 6 months. The factors related to falls by the elderly in rural communities
included being due to an accident on the legs and feet, a psychological problem, using a
combination of four or more medicines, depending on stairs and balancing equipment, an
inappropriate environment, a mattress height of lower than knee level (40 - 45 cm.), and an
outside bathroom. From these results, it is suggested that government officers or other
relevant organizations assess the factors related to falls by the elderly in order to provide
information and deliver a care program for the elderly. This program could include giving
advice to the elderly, caregivers, and relatives to prevent falls among the elderly in rural
communities.

Keywords: factors, fall, elderly, rural communities


46... วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท อำ�เภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม /
Factors Related to Falls Among Older Adults in Rural Communities, Yang Sisurat District, Maha Sarakham Province

บทนำ� ครอบครัว จากการศึกษาทีผ่ า่ นมาพบว่าค่าใช้จา่ ย


ปี 2564 ประเทศไทยมีประชากรทั้งหมด ในการรักษาของผู้สูงอายุท่พี ลัดตกหกล้มและต้อง
66,171,439 คน เป็นผูส้ งู อายุ (60 ปีขน้ึ ไป) จำ�นวน ได้ รั บ การผ่ า ตั ด สะโพก ต้ น ทุ น ค่ า รั ก ษาเฉลี่ ย
13,358,751 คน หรือร้อยละ 19.6 ของประชากร 116,458.60 บาทต่อคนต่อปี5 - 7
ทั้งหมด แบ่งเป็นผู้สูงอายุชาย 5,974,022 คน จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับปัจจัย
(ร้อยละ 44.7) และผูส้ งู อายุหญิง 7,384,726 คน ที่มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
(ร้อยละ 55.3) ประเทศไทยกำ�ลังกลายเป็นสังคม จำ�แนกเป็นปัจจัยด้านชีวภาพ (Biological risk
สูงอายุอย่างสมบูรณ์ภายในปี 2566 นี1้ - 2 ปัญหา factors) พบว่าเพศหญิงมีความเสีย่ งพลัดตกหกล้ม
การพลั ด ตกหกล้ ม ในผู้ สู ง อายุ เ ป็ น สาเหตุ ก าร มากกว่าเพศชาย ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากมีสรีรภาพทีต่ า่ งกัน
เสียชีวิตอันดับสองในกลุ่มของการบาดเจ็บโดย เพศหญิงมีความพรุนของกระดูกทีม่ ากกว่าเพศชาย
ไม่ตง้ั ใจรองจากการบาดเจ็บจากอุบตั เิ หตุทางถนน จากฮอร์โมนเอสโตรเจนที่ลดลง ซึ่งส่งผลต่อการ
ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในปั ญ หาที่ พ บบ่ อ ยในผู้ สู ง อายุ เคลือ่ นไหวร่างกาย ด้านอายุ พบว่า ผูส้ งู อายุมี
การพลั ด ตกหกล้ ม เกิดจากการลื่น สะดุดหรือ ความเสี่ยงสูงสุดที่จะเสียชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บ
ก้าวพลาดบนพืน้ สูญเสียการทรงตัวโดยไม่ได้ตง้ั ใจ สาหัสจากการพลัดตกหกล้มและความเสีย่ งจะเพิม่
ร้อยละ 66 และมีเพียงร้อยละ 5.6 เกิดจากการ ขึน้ ตามอายุมากขึน้ เนือ่ งจากเกิดความเสือ่ มของ
ตกหรือล้มจากบันได หรือขั้นบันไดเป็นผลทำ�ให้ อวัยวะทุกส่วนในร่างกาย โดยเฉพาะอวัยวะที่
ร่างกายได้รบั บาดเจ็บ3 ประเทศไทยพบว่าระหว่าง เกีย่ วข้องกับการทรงตัว8 - 11 โดยกลุม่ อายุ 80 ปีขน้ึ
ปี พ.ศ. 2560 - 2564 มีผ้สู ูงอายุพลัดตกหกล้ม ไปมีโอกาสพลัดตกหกล้มเพิม่ ขึน้ กว่า 3 เท่า ขณะ
ปีละประมาณ 3,030,900 - 5,506,000 คน ซึง่ ใน ทีก่ ลุม่ อายุ 60 - 69 ปี และ 70 - 79 ปี เพิม่ ขึน้
จำ�นวนนีจ้ ะมีผเู้ สียชีวติ จำ�นวน 5,700 - 10,400 2 เท่า12 นอกจากนีพ้ บว่า การมีโรคประจำ�ตัวหรือ
คนต่อปี4 โรคเรือ้ รังทีต่ อ้ งรักษาต่อเนือ่ ง ทัง้ ด้านอายุรกรรม
การพลัดตกหกล้มส่งผลกระทบด้านร่างกาย และศั ล ยกรรม เช่ น การเจ็ บ ป่ ว ยทางระบบ
ได้แก่ การบาดเจ็บเล็กน้อย เช่น เนือ้ เยือ้ ฟกช้�ำ ประสาท ระบบหัวใจและหลอดเลือด ตลอดจน
ผิวหนังถลอก เคล็ดยอก หรือเกิดบาดแผลและอาจ ความกลัวการหกล้ม 8-11 ความสามารถในการ
ได้รับการบาดเจ็บขั้นรุนแรง เช่น เลือดออกใน ปฏิบตั กิ จิ วัตรประจำ�วัน12,13 การมีปญ ั หาเรือ่ งการ
สมอง กระดูกหัก ซึง่ พบได้รอ้ ยละ 10 ของการ มองเห็น การสูญเสียการทรงตัวและการเคลือ่ นไหว
หกล้ม โดยเฉพาะการหักบริเวณข้อสะโพกมักพบ และการรับรู้ท่ีผิดปกติ ปัจจัยทางเศรษฐกิจและ
ได้บอ่ ยในผูส้ งู อายุทอ่ี ายุเกิน 75 ปีขน้ึ ไป ด้านจิตใจ สังคม (socioeconomic risk factors) ได้แก่
และสังคม เช่น เกิดความวิตกกังวล ขาดความ ผู้สูงอายุท่อี ยู่ตามลำ�พังหรือการไม่มีผ้ดู ูแล การมี
เชื่อมั่น มีอาการกลัวการพลัดตกหกล้ม สูญเสีย รายได้ท่ีตำ่�หรือความยากจน สภาพที่อยู่อาศัยที่
ความมั่นใจทำ�ให้เกิดปัญหาการเข้าสังคมตามมา แออัดหรือสภาพแวดล้อมทีไ่ ม่ปลอดภัยไม่เหมาะสม
ในด้านเศรษฐกิจ มีผลโดยตรงต่อผู้สูงอายุและ กับผูส้ งู อายุ เช่น การอาศัยทีบ่ า้ นสองชัน้ หรือต้อง
วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66 ...47
ดุญณภัตน์ ขาวหิต วิราวรรณ์ คำ�หวาน กำ�ทร ดานา ชนายุส คำ�โสม / Doonnaput Khowhit, Wiravan Kumvan, Kamthorn Dana, Chanayus Kumsom

ใช้บนั ไดในชีวติ ประจำ�วัน การทำ�งานทีไ่ ม่ปลอดภัย มีความสัมพันธ์ต่อการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ


ส่งเสริมให้เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดการพลัดตก พบว่ามีการศึกษามาก แต่ยงั มีการศึกษาในกลุม่ ที่
หกล้มได้ ปัจจัยด้านพฤติกรรม (behavioral risk เป็ น ชุ ม ชนชนบทยั ง พบน้ อ ย ทั้ ง นี้ ผู้ สู ง อายุ ใ น
factors) ได้แก่ การออกกำ�ลังกายไม่เพียงพอ ชุมชนชนบทมีการดำ�เนินชีวติ ทีค่ วามแตกต่างจาก
การสูบบุหรี่ การใช้ยารักษาโรค หรือการใช้อปุ กรณ์ ผู้สูงอายุในเขตเมือง เช่น การประกอบอาชีพ
ช่ ว ยเดิ น การใช้ แ อลกอฮอล์ ห รื อ สารเสพติ ด เกษตรกรรม มีวัฒนธรรมความเชื่อตามฮีต 12
การแต่งกายทีไ่ ม่เหมาะสมมีความเสีย่ งต่อการพลัด คลอง 14 ทีอ่ ยูอ่ าศัยส่วนใหญ่เป็นบ้านสองชัน้ ตาม
ตกหกล้ ม และปั จ จั ย เสี่ ย งจากสิ่ ง แวดล้ อ ม วิถดี งั เดิม มีลกู หลานดูแลเมือ่ อายุมากขึน้ ดังนัน้
(environmental risk factors) เช่น ผูส้ งู อายุท่ี ผู้ วิ จั ย จึ ง มี ค วามสนใจศึ ก ษาถึ ง ปั จ จั ย ที่ มี ค วาม
อาศัยอยู่ในบ้านที่มีพ้ืนลื่น แสงสว่างไม่เพียงพอ สัมพันธ์ตอ่ การพลัดตกหกล้มของผูส้ งู อายุในชุมชน
และบ้านทีย่ กพืน้ สูง มีความเสีย่ งสูงต่อการพลัดตก ชนบท อำ�เภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม
หกล้มได้8 - 11 ทัง้ นีเ้ พือ่ ศึกษาอัตราเกิดอุบตั กิ ารณ์ของการพลัดตก
จังหวัดมหาสารคามตั้งอยู่ตอนกลางของ หกล้มและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการพลัดตก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2564 มีประชากร หกล้มของผูส้ งู อายุ เพือ่ นำ�ผลการวิจยั ในครัง้ นีม้ า
948,310 คน มีผสู้ งู อายุ 60 ปีขน้ึ ไป 177,246 คน เป็นแนวทางการในการดูแลและป้องกันการพลัดตก
คิดเป็นร้อยละ 18.69 ของประชากรทัง้ หมด ทัง้ นี้ หกล้มของผูส้ งู อายุในชุมชนต่อไป
มีจ�ำ นวนผูส้ งู อายุทเ่ี สีย่ งต่อการหกล้ม 55,604 คน
คิดเป็นร้อยละ 31.37 ของผูส้ งู อายุทง้ั หมด นับว่า กรอบแนวคิดในการวิจัย
เป็นปัญหาทีม่ คี วามสำ�คัญอันดับต้น ๆ ของจังหวัด การวิจยั ครัง้ นีไ้ ด้น�ำ แนวคิดหลักมาจากกรอบ
มหาสารคาม14 อำ�เภอยางสีสรุ าช เป็นอำ�เภอหนึง่ แนวคิดปัจจัยเสีย่ งต่อการพลัดตกหกล้มในผูส้ งู อายุ
ในจังหวัดมหาสารคาม ประกอบด้วย 7 ตำ�บล ขององค์การอนามัยโลก และจากการทบทวน
91 หมู่ บ้ า น อยู่ ห่ า งจากศาลากลางจั ง หวั ด วรรณกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ ประกอบด้วยปัจจัยด้าน
มหาสารคาม ประมาณ 73 กิโลเมตร ปี 2563 ชีวภาพ ปัจจัยด้านพฤติกรรม ปัจจัยด้านสภาพ
มีประชากรผูส้ งู อายุ จำ�นวน 5,897 คน คิดเป็น แวดล้อม ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและสังคม ทีม่ ผี ลต่อ
ร้อยละ 25.9 ซึง่ มากกว่าระดับจังหวัดและระดับ การพลัดตกหกล้มของผูส้ งู อายุ ซึง่ ผูส้ งู อายุแต่ละคน
ประเทศไทย ถือว่าอำ�เภอยางสีสรุ าช เป็น “สังคม จะมีความแตกต่างกันไปตามบริบท8-10 ดังภาพที่ 1
ผูส้ งู อายุอย่างสมบูรณ์” แล้ว15 การศึกษาปัจจัยที่

48... วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66


ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท อำ�เภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม /
Factors Related to Falls Among Older Adults in Rural Communities, Yang Sisurat District, Maha Sarakham Province

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจยั

วัตถุประสงค์การวิจัย 2) ปัจจัยด้านพฤติกรรม ได้แก่ การใช้ยา


1) เพื่อศึกษาอัตราเกิดอุบัติการณ์การพลัด ประจำ � การออกกำ � ลั ง กาย การดื่ม เครื่อ งดื่ม
ตกหกล้ มของผู้สูงอายุใ นชุมชนชนบท อำ�เภอ แอลกอฮอล์ การใช้บนั ไดในชีวติ ประจำ�วัน และ
ยางสีสรุ าช จังหวัดมหาสารคาม การใช้อปุ กรณ์ในการทรงตัวมีความสัมพันธ์กบั
2) เพือ่ ศึกษาปัจจัยด้านชีวภาพ ปัจจัยด้าน การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท
พฤติกรรม ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ปัจจัยด้าน อำ�เภอยางสีสรุ าช จังหวัดมหาสารคาม
เศรษฐกิจและสังคมของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท 3) ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ได้แก่ สภาพ
อำ�เภอยางสีสรุ าช จังหวัดมหาสารคาม แวดล้ อ มที่เ หมาะสม ลั ก ษณะบ้ า นที่อ ยู่อ าศั ย
3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย ลักษณะที่นอน ที่ต้งั ห้องนอน ประเภทส้วมที่ใช้
ด้านชีวภาพ ปัจจัยด้านพฤติกรรม ปัจจัยด้านสภาพ ทีต่ ง้ั ห้องน้�ำ หรือห้องส้วม บันไดบ้าน การจัดวาง
แวดล้อม ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและสังคมกับการ สิง่ ของเครือ่ งใช้ แสงสว่างภายในและภายนอกบ้าน
ลั ก ษณะของพื้ น บ้ า น มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ การ
พลัดตกหกล้มของผูส้ งู อายุในชุมชนชนบท อำ�เภอ
พลัดตกหกล้มของผูส้ งู อายุในชุมชนชนบท อำ�เภอ
ยางสีสรุ าช จังหวัดมหาสารคาม
ยางสีสรุ าช จังหวัดมหาสารคาม
4) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและสังคม ได้แก่
สมมติฐานการวิจัย การศึกษา สถานภาพสมรส อาชีพ การมีผดู้ แู ล
1) ปัจจัยด้านชีวภาพ ได้แก่ เพศ อายุ และความเพียงพอของรายได้ มีความสัมพันธ์กบั
ความสามารถในการทำ�กิจวัตรประจำ�วัน โรค การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท
ประจำ�ตัว ความสามารถในการมองเห็น ความ อำ�เภอยางสีสรุ าช จังหวัดมหาสารคาม
สามารถในการทรงตัว ประวัติการได้รับอุบัติเหตุ
ทีข่ าหรือเข่า และภาวะสุขภาพจิตมีความสัมพันธ์ วิธีการดำ�เนินการวิจัย
กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป็ น การวิ จั ย เชิ ง พรรณนา
อำ�เภอยางสีสรุ าช จังหวัดมหาสารคาม (Descriptive Research)

วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66 ...49


ดุญณภัตน์ ขาวหิต วิราวรรณ์ คำ�หวาน กำ�ทร ดานา ชนายุส คำ�โสม / Doonnaput Khowhit, Wiravan Kumvan, Kamthorn Dana, Chanayus Kumsom

ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง criteria) ประกอบด้วย 1) สามารถสื่อ สาร


เกณฑ์การคัดเลือกตัวอย่าง ภาษาไทยหรือภาษาท้องถิน่ ได้ 2) สามารถช่วยเหลือ
ประชากร คือ ผูส้ งู อายุทม่ี อี ายุ 60 ปีขน้ึ ไป ตั ว เองได้ 3) มี ภ าวะความรู้คิดในระดั บ ปกติ
ทั้งเพศหญิงและเพศชาย ที่มีรายชื่อในทะเบียน 4) เป็นผูม้ คี วามยินยอมเข้าร่วมงานวิจยั เกณฑ์การ
บ้านและอาศัยอยูใ่ นพืน้ ทีอ่ �ำ เภอยางสีสรุ าช จังหวัด คัดออก (exclusion criteria) มีโรคประจำ�ตัวหรือ
มหาสารคาม ปี 2563 จำ�นวน 5,897 คน15 ความพิการทีเ่ ป็นอุปสรรคต่อการสือ่ สาร
กลุม่ ตัวอย่าง คือ หน่วยทีเ่ ป็นตัวแทนของประชากร
คำ�นวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างกรณีทราบจำ�นวน เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล
ประชากรใช้สตู ร6 ดังนี้ ประกอบด้วย 5 ส่วน ดังนี้
n = N/ (1+Ne2) เมือ่ n = จำ�นวนขนาด ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของ
กลุม่ ตัวอย่าง; N = จำ�นวนประชากร; e = ค่า ผูส้ งู อายุ จำ�นวน 9 ข้อ ประกอบด้วย เพศ อายุ
ความคลาดเคลือ่ นใช้ 0.05 แทนค่าในสูตร n = สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได้ แหล่ง
(5,897/1 + 5,897(0.052) = 374 คน ที่มาของรายได้ การประกอบอาชีพในปัจจุบัน
การเลือกกลุม่ ตัวอย่างใช้วธิ กี ารสุม่ แบบหลาย ประวัตกิ ารได้รบั อุบตั เิ หตุทข่ี าหรือเข่า และผูด้ แู ล
ขัน้ ตอน ได้แก่ ขัน้ ตอนที่ 1 สุม่ เลือกตำ�บลของ หลัก
อำ�เภอยางสีสรุ าช สุม่ เลือก 2 ตำ�บล จาก 7 ตำ�บล ส่วนที่ 2 แบบสอบถามด้านการหกล้ม
(ได้ต�ำ บลบ้านกูแ่ ละตำ�บลหนองบัวสันตุ) ขัน้ ตอน ผูว้ จิ ยั ได้ปรับแบบสัมภาษณ์ประวัตกิ ารหกล้มในรอบ
ที่ 2 สุ่มเลือกโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับ 6 เดือนทีผ่ า่ นมาของจริยา อินทรรัศมีและคณะ17
ตำ�บล (รพ.สต.) ทีอ่ ยูใ่ นเขตรับผิดชอบของแต่ละ ลักษณะแบบสอบถามให้เลือกตอบ มีจ�ำ นวน 4 ข้อ
ตำ�บล (มีทง้ั หมด 3 รพ.สต.) ตำ�บลบ้านกูไ่ ด้ รพ.สต. ประกอบด้วย การหกล้มในรอบ 6 เดือนทีผ่ า่ นมา
บ้านโนนรัง ตำ�บลหนองบัวสันตุ ได้ รพ.สต.บ้าน บริเวณที่มีการหกล้ม เวลาที่เกิดอุบัติเหตุหกล้ม
หนองแวง ขัน้ ตอนที่ 3 สุม่ รายชือ่ จากทะเบียน และกิจกรรมทีท่ �ำ ก่อนการหกล้ม โดยมีเกณฑ์การ
รายชื่อผู้สูงอายุท่ีอยู่ในเขตรับผิดชอบของแต่ละ ให้คะแนน คือ ตอบ “ใช่” = 1 คะแนน ตอบ
รพ.สต. โดยกำ � หนดสั ด ส่ ว นตามขนาดของ “ไม่ใช่” = 0 คะแนน
ประชากรผูส้ งู อายุในพืน้ ที่ รพ.สต. บ้านโนนรัง มี ส่วนที่ 3 แบบประเมินข้อมูลทางชีวภาพ
จำ�นวนผูส้ งู อายุจ�ำ นวน 634 คน และ รพ.สต.บ้าน ผู้ วิ จั ย สร้ า งขึ้ น มาจากการทบทวนวรรณกรรม
หนองแวง มี 274 คน รวม 908 คน คำ�นวน ลักษณะแบบสอบถามให้เลือกตอบ มีทง้ั หมด 7 ข้อ
สัดส่วนผูส้ งู อายุในแต่ละพืน้ ที่ ได้แก่ รพ.สต.บ้าน ได้แก่ ประวัตกิ ารมีโรคประจำ�ตัว ยาทีร่ บั ประทาน
โนนรัง คิดเป็นร้อยละ 69.82 (262 คน) รพ.สต. เป็นประจำ� การคัดกรองการมองเห็น การประเมิน
บ้านหนองแวง ร้อยละ 30.18 (112 คน) โดยวิธี การทรงตัว การคัดกรองภาวะซึมเศร้า ความ
การจับสลากแบบไม่ใส่คนื จนครบจำ�นวนกลุม่ ตัวอย่าง สามารถในการประกอบกิจวัตรประจำ�วัน และการ
ตามคุณสมบัติ เกณฑ์การคัดเข้า (inclusion ใช้อุปกรณ์ในการช่วยเดิน/พยุงตัว โดยมีเกณฑ์
50... วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท อำ�เภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม /
Factors Related to Falls Among Older Adults in Rural Communities, Yang Sisurat District, Maha Sarakham Province

การให้คะแนน คือ ตอบ “ใช่” = 1 คะแนน ตอบ มีลกั ษณะทีค่ ล้ายคลึงกับกลุม่ ตัวอย่าง จำ�นวน 30 คน
“ไม่ใช่” = 0 คะแนน และนำ�มาวิเคราะห์หาค่าความเชือ่ มัน่ (reliability)
ส่วนที่ 4 แบบประเมินสิง่ แวดล้อมภายใน โดยวิ ธี ห าค่ า สหสั ม ประสิ ท ธิ์ แ อลฟา (alpha
และภายนอกบ้ า น ผู้วิจัย สร้ า งขึ้น มาจากการ coefficient) ของครอนบาช (Cronbach) ผลหา
ทบทวนวรรณกรรมปรับและเพิ่มเติมจากแบบ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .71 - .99 (แบบประเมิน
ประเมินสภาพแวดล้อมในบ้าน18 ข้อคำ�ถามแบบ ข้อมูลทางชีวภาพ ได้แก่ ความสามารถในการ
ตรวจสอบรายการ (checklist) ใช่/ไม่ใช่ มีทง้ั หมด ประกอบกิจวัตรประจำ�วัน = 0.99, แบบประเมิน
15 ข้ อ ประกอบด้วยลัก ษณะบ้า นที่อ ยู่อ าศัย สิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกบ้านและแบบ
ห้องนอน ห้องน้�ำ บันได พืน้ บ้านทัง้ ในบ้านและ ประเมินพฤติกรรมการป้องกันการหกล้มของผู้สูง
รอบบ้ า น แสงสว่ า งภายในและภายนอกบ้ า น อายุ = 0.71)
โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน คือ ตอบ “ใช่” = 1
คะแนน ตอบ “ไม่ใช่” = 0 คะแนน และมีการ
การพิทักษ์สิทธิ์ของกลุ่มตัวอย่าง
แปลผลระดับสิง่ แวดล้อม ดังต่อไปนี้ คะแนน 0 - 5
งานวิจยั นีไ้ ด้รบั การรับรองเลขที่ 175/2563
หมายถึ ง สิ่ ง แวดล้ อ มมี ค วามเหมาะสมน้ อ ย
จากคณะกรรมการจริ ย ธรรมการวิ จั ย ในคน
คะแนน 6 - 10 หมายถึง สิ่งแวดล้อมมีความ
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก่อนเริ่มเก็บข้อมูล
เหมาะสมปานกลาง คะแนน 11- 15 หมายถึง
สิง่ แวดล้อมมีความเหมาะสมระดับดี ผู้วิจัยมีการแนะนำ�ตัวกับกลุ่มตัวอย่างเพื่อชี้แจง
ส่ ว นที่ 5 แบบประเมิ น พฤติ ก รรมการ ให้ทราบประโยชน์และถึงสิทธิ์ในการตอบรับหรือ
ป้องกันการหกล้มของผูส้ งู อายุ ผูว้ จิ ยั ได้สร้างขึน้ ปฏิเสธในการเข้าร่วมวิจยั ผูว้ จิ ยั ชีแ้ จงถึงการรักษา
จากการทบทวนวรรณกรรม ประกอบด้ ว ย ความลับของกลุม่ ตัวอย่าง ได้แก่ การเก็บข้อมูลจะ
พฤติกรรมการใช้ยา การออกกำ�ลังกาย การดื่ม ไม่มกี ารเปิดเผยแหล่งทีม่ าของข้อมูลเป็นรายบุคคล
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พฤติกรรมการใช้บันไดใน จะนำ�เสนอข้อมูลในภาพรวมเท่านั้น จะทำ�ลาย
ชีวติ ประจำ�วัน ข้อมูลที่เป็นเอกสารโดยใช้เครื่องทำ�ลายเอกสาร
ระหว่างการเข้าร่วมงานวิจยั กลุม่ ตัวอย่างสามารถ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย ถอนตั ว จากการวิ จั ยได้ ต ลอดเวลาโดยไม่ มี ผ ล
ผูว้ จิ ยั ได้มกี ารหาค่าความตรงเชิงเนือ้ หาโดย กระทบใด ๆ กับกลุม่ ตัวอย่าง
ผู้ทรงคุณวุฒิจำ�นวน 3 ท่าน ได้แก่ อาจารย์
พยาบาลด้านสาขาผู้สูงอายุ จำ�นวน 1 ท่าน การเก็บรวบรวมข้อมูล
อาจารย์พยาบาลสาขาการพยาบาลชุมชนจำ�นวน ได้ด�ำ เนินการหลังจากผ่านการพิจารณาจาก
2 ท่าน ค่าความตรงเชิงเนือ้ หาทัง้ ฉบับ (Content คณะกรรมการจริยธรรมการวิจยั ในคนแล้ว ระยะ
Validity Index for scale; S - CVI ) เท่ากับ .95 เวลาดำ�เนินการระหว่างเดือนสิงหาคม - กันยายน
จากนัน้ นำ�แบบสอบถามไปทดลองใช้กบั ผูส้ งู อายุท่ี พ.ศ. 2563 โดยมีขน้ั ตอนดังนี้
วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66 ...51
ดุญณภัตน์ ขาวหิต วิราวรรณ์ คำ�หวาน กำ�ทร ดานา ชนายุส คำ�โสม / Doonnaput Khowhit, Wiravan Kumvan, Kamthorn Dana, Chanayus Kumsom

1) ทำ�หนังสือขออนุญาตจากคณะพยาบาล และปัจจัยด้านเศรษฐกิจและสังคมกับการพลัดตก
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เสนอต่อ หกล้มโดยใช้สถิตไิ คสแควร์ (Chi - square test)
ผูอ้ �ำ นวยการ รพ.สต. เพือ่ ขออนุญาตในการดำ�เนิน โดยกำ�หนดระดับนัยสำ�คัญที่ p - value < .05
การวิจยั ในพืน้ ที่
2) เตรียมผูช้ ว่ ยวิจยั จำ�นวน 3 คน คุณสมบัติ ผลการวิจัย
คือ เป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ�หมู่บ้าน ส่วนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป ข้อมูลด้านชีวภาพ
(อสม.) หรือผูด้ แู ลผูส้ งู อายุ (caregiver) ทีผ่ า่ น ด้ า นพฤติ ก รรม ด้ า นสภาพแวดล้ อ ม ด้ า น
การอบรมอย่างน้อย 70 ชัว่ โมง โดยการอธิบาย เศรษฐกิจและสังคมของผูส้ งู อายุในชุมชนชนบท
ขัน้ ตอนในการทำ�วิจยั รายละเอียดการเก็บข้อมูล 1.1 ข้อมูลทัว่ ไป กลุม่ ตัวอย่างเป็นเพศ
ด้วยแบบสอบถามทัง้ หมด การประเมินสิง่ แวดล้อม หญิงร้อยละ 59.40 มีอายุเฉลีย่ 70.08 ± 8.10 ปี
ภายในและภายนอกบ้าน และให้ผู้ช่วยวิจัยได้ มีสถานภาพสมรสคูร่ อ้ ยละ 65.00 จบการศึกษา
ทดลองเก็บข้อมูลเพือ่ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ระดับประถมศึกษาร้อยละ 94.10 ไม่ได้ประกอบ
3) ผู้ วิ จั ย และผู้ ช่ ว ยวิ จั ย ดำ � เนิ น การเก็ บ อาชีพคิดเป็นร้อยละ 62.30 รองลงมา คือ ประกอบ
รวบรวมข้อมูลตามแบบสอบถาม โดยเก็บข้อมูล อาชีพเกษตรกรรมร้อยละ 34.00 มีรายได้ไม่เพียงพอ
จากการสั ม ภาษณ์ แ บบมี โ ครงสร้ า งและการ ต่ อ รายจ่ า ยคิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 49.20 รายได้
ประเมินสิง่ แวดล้อมภายในและภายนอกบ้าน ใช้ ส่วนใหญ่มาจากเบีย้ ยังชีพผูส้ งู อายุรอ้ ยละ 88.50
เวลาประมาณ 20 - 30 นาที/ราย ผูว้ จิ ยั และผูช้ ว่ ย กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญ่มผี ดู้ แู ลสม่�ำ เสมอถึงร้อยละ
วิจยั รวบรวมข้อมูลครบ 374 ราย ตรวจสอบความ 86.10 โดยผูด้ แู ลหลัก ได้แก่ บุตร คิดเป็นร้อยละ
ครบถ้วน สมบูรณ์ของข้อมูล จากนัน้ ดำ�เนินการ 61.30 กลุ่ม ตั ว อย่ า งไม่ เ คยมี ป ระวั ติก ารได้ รับ
วิเคราะห์ขอ้ มูลทีไ่ ด้ อุบตั เิ หตุทบ่ี ริเวณขาหรือเข่า ร้อยละ 95.70
1.2 ข้อมูลด้านชีวภาพ พบว่า กลุ่ม
การวิเคราะห์ข้อมูล ตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 59.40 มีอายุ
วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ด้ ว ยโปรแกรมสำ � เร็ จ รู ป เฉลี่ย 70.08 ปี โดยแบ่งเป็น อายุ 60 - 69 ปี
SPSS (Statistics Package for the Social 70 - 79 ปี และ 80 ปีขน้ึ ไป คิดเป็นร้อยละ 48.90,
Sciences) ประกอบด้วย ข้อมูลการพลัดตกหกล้ม 35.00, 16.10 ตามลำ�ดับ ความสามารถในการ
ข้อมูลปัจจัยด้านชีวภาพ ปัจจัยด้านพฤติกรรม ดำ�เนินกิจวัตรประจำ�วันเป็นผูส้ งู อายุกลุม่ ติดสังคม
ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและ (ระดับคะแนน ADL 12 คะแนนขึน้ ไป) คิดเป็น
สังคมของผู้สูงอายุ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ร้อยละ 94.10 และกลุ่มติดบ้านร้อยละ 5.90
ด้ ว ยสถิ ติ พ รรณนา ได้ แ ก่ ร้ อ ยละ ค่ า เฉลี่ ย ผู้สูงอายุมีโรคประจำ�ตัวหรือโรคเรื้อรัง คิดเป็น
ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานและความถี่ การวิเคราะห์ ร้อยละ 40.00 โดยโรคประจำ�ตัวที่พบมาก 3
ความสัมพันธ์ของตัวแปร ได้แก่ ปัจจัยด้านชีวภาพ ลำ�ดับแรก ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรค
ปัจจัยด้านพฤติกรรม ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม เบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดสูง คิดเป็นร้อยละ
52... วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท อำ�เภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม /
Factors Related to Falls Among Older Adults in Rural Communities, Yang Sisurat District, Maha Sarakham Province

36.60, 32.80 และ 12.60 ตามลำ�ดับ กลุม่ ตัวอย่าง เป็นร้อยละ 49.20 รายได้ส่วนใหญ่มาจากเบี้ย
ส่วนใหญ่มกี ารทรงตัว การมองเห็น และสภาวะ ยังชีพผู้สูงอายุร้อยละ 88.50 กลุ่มตัวอย่างส่วน
จิตใจที่ปกติ ไม่เคยมีประวัติการได้รับอุบัติเหตุท่ี ใหญ่มผี ดู้ แู ลสม่�ำ เสมอถึงร้อยละ 86.10 โดยผูด้ แู ล
บริเวณขาหรือเข่า คิดเป็นร้อยละ 99.50, 73.30, หลัก ได้แก่ บุตร คิดเป็นร้อยละ 61.30
96.80 และ 95.70 ตามลำ�ดับ ส่วนที่ 2 ข้อมูลการพลัดตกหกล้มของผูส้ งู
1.3 ข้ อ มู ล ด้ า นพฤติ ก รรมของผู้ สู ง อายุ อายุ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการพลัดตกหกล้มใน
พบว่าผูส้ งู อายุมากกว่าครึง่ มีการใช้บนั ไดขึน้ - ลงใน รอบ 6 เดือนทีผ่ า่ นมา คิดเป็นร้อยละ 5.30 โดย
ชีวติ ประจำ�วันร้อยละ 58.80 และมีกลุม่ ตัวอย่าง เพศหญิงมีการหกล้มมากกว่าเพศชาย คิดเป็น
ส่วนน้อยเท่านั้นที่มีการใช้ยาที่มีผลต่อการพลัด ร้อยละ 75.00 และผูส้ งู อายุวยั ต้น (อายุ 60 - 69 ปี
ตกหกล้ม (เช่น ยานอนหลับ ยากล่อมประสาท มีการพลัดตกหกล้มมากทีส่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 55.00
ยาลดความดันโลหิตสูง ยาขับปัสสาวะ หรือการ ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 95.00 มีการหกล้มเพียง 1 - 2
กินยามากกว่า 4 ชนิดขึน้ ไป โดยไม่รวมวิตามิน) ครัง้ เท่านัน้ และช่วงเวลาทีม่ กี ารพลัดตกหกล้มมาก
ดืม่ สุราหรือเครือ่ งดืม่ ทีม่ แี อลกอฮอล์ ไม่ออกกำ�ลังกาย ทีส่ ดุ คือ ช่วงเวลากลางวัน คิดเป็นร้อยละ 85.00
และใช้ อุ ป กรณ์ ใ นการช่ ว ยทรงตั ว คิ ด คิ ด เป็ น กิจกรรมทีท่ �ำ ก่อนการพลัดตกหกล้ม คือ การทำ�งาน
ร้อยละ 29.40, 14.40, 11.50 และ 6.10 ตามลำ�ดับ ประจำ�และการเปลีย่ นท่าทาง เช่น เปลีย่ นจากท่า
1.4 ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายในและ นัง่ เป็นท่ายืน คิดเป็นร้อย 35.00 และสถานทีท่ เ่ี กิด
ภายนอกบ้ า น พบว่ า กลุ่ ม ตั ว อย่ า งส่ ว นใหญ่ มี การพลัดตกหกล้มที่พบมากได้แก่บริเวณนอกบ้าน
สิง่ แวดล้อมภายในและภายนอกบ้านอยูใ่ นระดับดี คิดเป็นร้อยละ 75.00
คิดเป็นร้อยละ 85.00 และอยูใ่ นระดับปานกลาง ส่วนที่ 3 ปัจจัยทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั การพลัด
ร้อยละ 15.00 รายข้อที่มีคำ�ตอบใช่น้อยที่สุด ตกหกล้มของผูส้ งู อายุในชุมชนชนบท
3 ลำ�ดับแรก ได้แก่ ห้องนอนอยูช่ น้ั ล่างของบ้าน/ 3.1 จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง
ไม่ตอ้ งใช้บนั ไดขึน้ ลงบ้าน คิดเป็นร้อยละ 31.00 ปัจจัยด้านชีวภาพกับการพลัดตกหกล้มของผู้สูง
มีราวจับในห้องน้ำ�หรืออุปกรณ์ท่สี ามารถประคอง อายุในชุมชนชนบท พบว่า ประวัติการได้รับ
ลุกขึ้นยืนได้ร้อยละ 42.80 และส้วมเป็นแบบ อุบัติเหตุท่ขี าหรือเท้าและภาวะสุขภาพจิตมีความ
ชักโครกหรือนัง่ ห้อยขาได้ หรือมีเก้าอีน้ ง่ั ทีม่ รี ตู รง สัมพันธ์กบั การพลัดตกหกล้มของผูส้ งู อายุในชุมชน
กลางวางคร่อมส้วมซึม คิดเป็นร้อยละ 44.70 ชนบทอย่ า งมี นั ย สำ � คั ญ ทางสถิ ติ ท่ี ร ะดั บ .05
1.5 ข้ อ มู ล ด้ า นเศรษฐกิ จ และสั ง คม ส่วน เพศ อายุ (ปี) ความสามารถในการทำ�กิจวัตร
พบว่า กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญ่มสี ถานภาพสมรสคู่ ประจำ�วัน โรคประจำ�ตัว ความสามารถในการมอง
ร้อยละ 65.00 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา เห็น และความสามารถในการทรงตัว มีความ
ร้อยละ 94.10 ไม่ได้ประกอบอาชีพคิดเป็นร้อยละ สัมพันธ์กบั การพลัดตกหกล้มของผูส้ งู อายุในชุมชน
62.30 รองลงมา คือ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ชนบทอย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติท่ีระดับ .05
ร้อยละ 34.00 มีรายได้ไม่เพียงพอต่อรายจ่ายคิด ดังรายละเอียดในตารางที่ 1
วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66 ...53
ดุญณภัตน์ ขาวหิต วิราวรรณ์ คำ�หวาน กำ�ทร ดานา ชนายุส คำ�โสม / Doonnaput Khowhit, Wiravan Kumvan, Kamthorn Dana, Chanayus Kumsom

ตารางที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านชีววิทยากับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท
(n = 374)

การพลัดตกหกล้ม
ปัจจัยด้านชีวภาพ หกล้ม (n = 20) ไม่หกล้ม (n = 354) χ2 p - value
จำ�นวน ร้อยละ จำ�นวน ร้อยละ
1) เพศ
  - ชาย 5 3.30 147 96.70 2.143 .143
  - หญิง 15 6.80 207 93.20
2) อายุ (ปี)
  - 60 - 69 ปี 11 6.40 172 94.00 0.972 .615
  - 70 - 79 ปี 5 3.80 126 96.20
  - 80 ปีขน้ึ ไป 4 6.70 56 93.00
3) ความสามารถในการทำ�กิจวัตรประจำ�วัน
  - กลุม่ ติดบ้าน 2 9.10 20 90.90 0.647 .332*
  - กลุม่ ติดสังคม 18 5.10 334 94.90
4) โรคประจำ�ตัว
  - มี 10 6.60 141 93.40 0.813 .367
  - ไม่มี 10 4.50 213 95.50
5) ความสามารถในการมองเห็น
  - ปกติ 11 4.00 263 96.00 3.597 .058
  - ผิดปกติ 9 9.00 91 91.00
6) ความสามารถในการทรงตัว
  - ปกติ 20 5.40 352 94.60 0.114 1.000*
  - ผิดปกติ 0 0.00 2 100.00
7) ประวัตกิ ารได้รบั อุบตั เิ หตุทข่ี า/เท้า
  - เคย 3 18.75 13 81.25 5.932 .047*
  - ไม่เคย 17 4.70 341 95.30
8) ภาวะสุขภาพจิต
  - ปกติ 3 4.70 345 95.30 9.460 .021*
  - มีความเสีย่ ง 17 25.00 9 75.00
* Fisher’s Exact Test

54... วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66


ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท อำ�เภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม /
Factors Related to Falls Among Older Adults in Rural Communities, Yang Sisurat District, Maha Sarakham Province

3.2 จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง นัยสำ�คัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 แต่การออกกำ�ลังกาย


ปั จ จั ย ด้ า นพฤติก รรมกับการพลัดตกหกล้มของ และการดืม่ เครือ่ งดืม่ ทีม่ แี อลกอฮอล์ พบว่ามีความ
ผูส้ งู อายุในชุมชนชนบท พบว่า การใช้ยามากกว่า สัมพันธ์กับพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน
4 ชนิด การใช้บนั ไดในชีวติ ประจำ�วัน และการ ชนบทอย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติท่ีระดับ .05
ใช้อุปกรณ์ในการทรงตัว มีความสัมพันธ์กับการ ดังรายละเอียดดังตารางที่ 2
พลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบทอย่างมี

ตารางที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านพฤติกรรมกับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท
(n = 374)

การพลัดตกหกล้ม
ปัจจัยด้านพฤติกรรม หกล้ม (n = 20) ไม่หกล้ม (n = 354) χ2 p - value
จำ�นวน ร้อยละ จำ�นวน ร้อยละ
1) การใช้ยาประจำ� มากกว่า 4 ชนิด
  - ใช้ 10 9.10 100 90.90 4.314 .038
  - ไม่ใช้ 10 3.80 254 96.20
2) การออกกำ�ลังกาย
  - ออกกำ�ลังกาย 16 4.80 315 95.20 1.501 .268*
  - ไม่ออกกำ�ลังกาย 4 9.30 39 90.70
3) การดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์
  - ดืม่ 2 3.70 52 96.30 0.337 .751*
  - ไม่ดม่ื 18 5.60 302 94.40
4) การใช้บนั ไดในชีวติ ประจำ�วัน
  - ใช้ 8 3.20 244 96.80 7.207 .007
  - ไม่ใช้ 12 9.80 110 90.20
5) การใช้อปุ กรณ์ในการทรงตัว
  - ใช้ 5 21.70 18 78.30 13.009 .005*
  - ไม่ใช้ 15 4.30 336 95.70
* Fisher’s Exact Test

วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66 ...55


ดุญณภัตน์ ขาวหิต วิราวรรณ์ คำ�หวาน กำ�ทร ดานา ชนายุส คำ�โสม / Doonnaput Khowhit, Wiravan Kumvan, Kamthorn Dana, Chanayus Kumsom

3.3 จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ทีร่ ะดับ .05 ส่วนลักษณะทีต่ ง้ั ห้องนอนอยูช่ น้ั บน


ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมกับการพลัดตกหกล้มของ ของบ้าน ลักษณะประเภทส้วมที่ใช้แบบนั่งยอง
ผูส้ งู อายุในชุมชนชนบท พบว่า ปัจจัยด้านสภาพ ลักษณะบันไดบ้านไม่มรี าวจับมีสง่ิ กีดขวาง ลักษณะ
แวดล้อมทีเ่ หมาะสม ลักษณะทีอ่ ยูอ่ าศัยบ้านสอง สิง่ ของในบ้านไม่เป็นระเบียบ ลักษณะแสงสว่างไม่
ชัน้ ลักษณะทีน่ อนสูงหรือต่�ำ กว่าระดับเข่า (40 - 45 เพียงพอ และลักษณะของพืน้ ขรุขระมีธรณีประตู
เซนติเมตร) และลักษณะห้องน้ำ�ตั้งอยู่ภายนอก มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ
ตัวบ้านมีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มของ ในชุมชนชนบทอย่างไม่มนี ยั สำ�คัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ
ผู้สูงอายุในชุมชนชนบทอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ .05 ดังรายละเอียดในตารางที่ 3
ตารางที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านสิง่ แวดล้อมกับการพลัดตกหกล้มของผูส้ งู อายุในชุมชนชนบท
(n = 374)

การพลัดตกหกล้ม
ปัจจัยด้านสิง่ แวดล้อม หกล้ม (n = 20) ไม่หกล้ม (n = 354) χ2 p - value
จำ�นวน ร้อยละ จำ�นวน ร้อยละ
1) ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสม
  - เหมาะสม 7 12.50 49 87.50 6.657 .019*
  - ไม่เหมาะสม 13 4.10 305 95.90
2) ลักษณะทีอ่ ยูอ่ าศัยบ้านสองชัน้
  - ใช่ 2 1.70 114 98.30 4.362 .037
  - ไม่ใช่ 18 7.00 240 93.00
3) ลักษณะทีน่ อนสูงหรือต่ำ�กว่าระดับเข่า (40 - 45 เซนติเมตร)
  - ใช่ 11 8.60 117 91.40 4.051 .044
  - ไม่ใช่ 9 3.70 237 96.30
4) ลักษณะทีต่ ง้ั ห้องนอนอยูช่ น้ั บนของบ้าน
- ใช่ 3 14.30 18 85.70 3.512 .094*
  - ไม่ใช่ 17 4.80 336 95.20
5) ลักษณะประเภทส้วมทีใ่ ช้แบบนัง่ ยอง
  - ใช่ 11 5.30 196 94.70 0.001 .974
  - ไม่ใช่ 9 5.40 158 94.60
6) ลักษณะห้องน้ำ�ตัง้ อยูภ่ ายนอกตัวบ้าน
  - ใช่ 8 12.30 57 87.70 7.530 .012*
  - ไม่ใช่ 12 3.90 297 96.10

56... วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท อำ�เภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม /
Factors Related to Falls Among Older Adults in Rural Communities, Yang Sisurat District, Maha Sarakham Province

ตารางที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านสิง่ แวดล้อมกับการพลัดตกหกล้มของผูส้ งู อายุในชุมชนชนบท


(n = 374) (ต่อ)

การพลัดตกหกล้ม
ปัจจัยด้านสิง่ แวดล้อม หกล้ม (n = 20) ไม่หกล้ม (n = 354) χ2 p - value
จำ�นวน ร้อยละ จำ�นวน ร้อยละ
7) ลักษณะบันไดบ้านไม่มรี าวจับมีสง่ิ กีดขวาง
  - ใช่ 6 8.50 65 91.50 1.667 .237*
  - ไม่ใช่ 14 4.60 289 95.40
8) ลักษณะสิง่ ของในบ้านไม่เป็นระเบียบ
  - ใช่ 0 0.00 7 100.00 .403 1.000*
  - ไม่ใช่ 20 5.40 347 94.60
9) ลักษณะแสงสว่างไม่เพียงพอ
  - ใช่ 0 0.00 7 100.00 .403 1.000*
  - ไม่ใช่ 20 5.40 347 94.60
10) ลักษณะของพืน้ ขรุขระ มีธรณีประตู
  - ใช่ 0 0.00 9 100.00 .521 1.000*
  - ไม่ใช่ 20 5.50 345 94.50
* Fisher’s Exact Test

3.4 จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ความเพียงพอของรายได้ พบว่าปัจจัยด้านเศรษฐกิจ


ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและสังคมกับการพลัดตกหกล้ม และสังคมมีความสัมพันธ์กบั การพลัดตกหกล้มของ
ของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท ได้แก่ การศึกษา ผู้สูงอายุในชุมชนชนบทอย่างไม่มีนัยสำ�คัญทาง
สถานภาพสมรส อาชีพ การมีผ้ดู ูแลหลัก และ สถิตทิ ร่ี ะดับ .05 ดังรายละเอียดในตารางที่ 4

วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66 ...57


ดุญณภัตน์ ขาวหิต วิราวรรณ์ คำ�หวาน กำ�ทร ดานา ชนายุส คำ�โสม / Doonnaput Khowhit, Wiravan Kumvan, Kamthorn Dana, Chanayus Kumsom

ตารางที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านเศรษฐกิจและสังคมกับการพลัดตกหกล้มของผูส้ งู อายุในชุมชน


ชนบท (n = 374)

การพลัดตกหกล้ม
ปัจจัย หกล้ม (n = 20) ไม่หกล้ม (n = 354) χ2 p - value
จำ�นวน ร้อยละ จำ�นวน ร้อยละ
1) การศึกษา
-  ประถมศึกษาหรือต่�ำ กว่า 18 5.00 343 95.00 2.681 .149*
  -  สูงกว่าประถมศึกษา 2 15.40 11 84.60
2) สภาพสมรส
  -  โสด/หม้าย/หย่า/แยก 11 4.50 234 95.50 1.033 .310
  -  คู่ 9 7.00 120 93.00
3) อาชีพ
  -  เกษตรกรรม 9 7.00 120 93.00 1.033 .310
  -  อาชีพ อืน่ ๆ  11 4.50 234 95.50
4) ผูด้ แู ลหลัก
  -  มีผดู้ แู ล 20 5.70 329 94.30 1.514 .382*
  -  ไม่มผี ดู้ แู ลหลัก/ 0 0.00 25 100.00
มีไม่สม่�ำ เสมอ
5) ความเพียงพอของรายได้
  -  ไม่เพียงพอ 7 3.80 177 96.20 1.704 .192
  -  เพียงพอ 13 6.80 177 93.20
* Fisher’s Exact Test

การอภิปรายผลการวิจัย ประวั ติ ก ารได้ รั บ อุ บั ติ เ หตุ ท่ี ข าหรื อ เท้ า


การวิจยั ครัง้ นีค้ ณะผูว้ จิ ยั ได้อภิปรายผลตาม เนือ่ งจากผูส้ งู อายุในชุมชนชนบท พบว่า มีอาชีพ
สมมติฐานการวิจยั ดังนี้ เกษตรกรรม การทำ�นา เป็นหลัก เป็นปัจจัยส่งเสริม
1) ปัจจัยด้านชีวภาพกับการพลัดตกหกล้ม ให้ผู้สูงอายุไ ด้รับอุบัติเหตุท่ีข าหรือ เท้า อยู่เ สมอ
ของผูส้ งู อายุในชุมชนชนบท พบว่า ประวัตกิ ารได้ เช่น ข้อเท้าแพลงเนือ่ งจากเดินในพืน้ ทีข่ รุขระ พืน้
รับอุบัติเหตุท่ีขาหรือเท้าและภาวะสุขภาพจิตมี ต่างระดับ ที่นา สวน และความเร่งรีบในการ
ความสัมพันธ์ตอ่ การพลัดตกหกล้มของผูส้ งู อายุใน ทำ�งาน ประกอบกับการเปลีย่ นแปลงด้านโครงสร้าง
ชุมชนชนบท ซึง่ สามารถอภิปรายผลได้ดงั นี้ กระดูกกล้ามเนือ้ ของผูส้ งู อายุ พบว่า กระดูกมีความ

58... วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66


ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท อำ�เภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม /
Factors Related to Falls Among Older Adults in Rural Communities, Yang Sisurat District, Maha Sarakham Province

เปราะและหักง่าย กระดูกอ่อนต่าง ๆ บางลง ปัจจัยด้าน เพศ อายุ (ปี) ความสามารถใน


น้�ำ ไขข้อลดลง ทำ�ให้มกี ารเสือ่ มของข้อ ข้อติดแข็ง การทำ�กิจวัตรประจำ�วัน โรคประจำ�ตัว ความ
กระดูกผิดรูปส่งผลให้ผสู้ งู อายุเคลือ่ นไหวได้ล�ำ บาก สามารถในการมองเห็น และความสามารถในการ
ตามมา เกิดการพลัดตกหกล้มได้งา่ ยขึน้ สอดคล้อง ทรงตัว ไม่มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้ม
กับการศึกษาของผูส้ งู อายุทม่ี ปี ญ ั หาด้านศัลยกรรม9 ของผูส้ งู อายุในชุมชนชนบท ทัง้ นีอ้ าจเนือ่ งมาจาก
เช่น ผูท้ เ่ี คยได้รบั การผ่าตัด เช่น เปลีย่ นข้อสะโพก กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุในวัยต้นและ
ข้อเข่า หรือดามกระดูก จะทำ�ให้การเคลือ่ นไหว กลุ่มติดสังคมเป็นส่วนใหญ่ ยังมีสภาพร่างกายที่
ของผูส้ งู อายุไม่เหมือนเดิม ส่งผลให้เกิดการพลัดตก แข็งแรง ถึงแม้จะมีโรคประจำ�ตัว เช่น โรคเบาหวาน
หกล้มได้งา่ ยขึน้ ความดันโลหิตสูง ทัง้ ยังมีการมองเห็น การทรงตัว
ภาวะสุขภาพจิต ปัญหาภาวะสุขภาพจิต เช่น ทีป่ กติเป็นส่วนใหญ่ จึงยังสามารถทำ�กิจกรรมหรือ
ความเครียด ไม่สบายใจ ความวิตกกังวล หรือ ประกอบอาชีพต่าง ๆ ได้ดว้ ยตนเอง จึงมีการพลัด
ภาวะหลงลื ม และซึ ม เศร้ า ภาวะสั บ สนและ ตกหกล้ ม น้ อ ย ซึ่ง แตกต่ า งจากการศึ ก ษาของ
เพ้อคลัง่ รวมถึงความกลัวการหกล้ม เป็นปัจจัยที่ ดาราวรรณ รองเมืองและคณะ12 พบว่าอายุมคี วาม
เพิม่ ความเสีย่ งต่อการพลัดตกหกล้มในผูส้ งู อายุได้ สัมพันธ์กบั การพลัดตกหกล้ม โดยอายุ 80 ปีขน้ึ ไป
เนือ่ งจากการเปลีย่ นแปลงทางด้านร่างกายผูส้ งู อายุ เป็ น ปั จ จั ย ป้ อ งกั น การเกิ ด การพลั ด ตกหกล้ ม ใน
จะมีการตอบสนองต่อสิง่ แวดล้อมช้าลง ทำ�ให้ผสู้ งู ผู้สูงอายุ เพราะผู้สูงอายุมีกำ�ลังกล้ามเนื้อลดลง
อายุมกี ารตัดสินใจทีผ่ ดิ พลาด เกิดการก้าวพลาดได้ ความสามารถในการทรงตัวขณะเคลือ่ นไหวลดลง
เพิ่มโอกาสในการพลัดตกหกล้มได้11,19 จากการ ทำ�ให้ความสามารถในการทำ�กิจวัตรประจำ�วันลดลง
ศึกษาพบว่าผู้สูงอายุท่ีอยู่ในชุมชนชนบทมีปัญหา ทำ�ให้เกิดการพลัดตกหกล้มลดลง
เกี่ ย วกั บ ภาวะสุ ข ภาพจิ ต ค่ อ นข้ า งน้ อ ย ด้ ว ย 2) ปั จ จั ย ด้ า นพฤติ ก รรมกั บ การพลั ด ตก
บุคลิกภาพดังเดิมของผู้สูงอายุชาวอีสานมีนิสัย หกล้มของผูส้ งู อายุในชุมชนชนบท พบว่า การใช้
สนุกสนานรื่นเริง เห็นได้จากประเพณี ฮีต 12 อุปกรณ์ในการทรงตัว การใช้ยามากกว่า 4 ชนิด
คลอง 14 ที่จะมีการทำ�บุญหรือร่วมกิจกรรมทุก การใช้บนั ไดในชีวติ ประจำ�วัน มีความสัมพันธ์กบั
เดือนตลอดทั้งปี ผู้สูงอายุจึงมีโอกาสได้พบปะ การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท
พูดคุย และให้ก�ำ ลังใจร่วมกันอยูเ่ สมอ การดำ�เนิน สามารถอธิบายได้ดงั นี้
ชีวติ ในช่วงกลางวันผูส้ งู อายุทเ่ี ว้นว่างจากการทำ�งาน การใช้ อุป กรณ์ ใ นการทรงตั ว อุ ป กรณ์ ท่ี
จะชอบอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม พูดคุยกับเพื่อนบ้าน ผูส้ งู อายุมกั จะมีตดิ ตัว เช่น ไม้เท้า เครือ่ งพยุงเดิน
อยู่ เ สมอ อี ก ทั้ ง การบริ ก ารด้ า นสาธารณสุ ข ล้อเข็น หากอุปกรณ์เหล่านี้มีขนาดไม่เหมาะสม
โรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพตำ � บลมี ก ารจั ด ตั้ง จะส่งเสริมให้ผู้สูงอายุพลัดตกหกล้มได้ง่ายขึ้น9
โรงเรียนผูส้ งู อายุ ทำ�ให้ผสู้ งู อายุในชุมชนมีโอกาส สำ�หรับผู้สูงอายุในชุมชนชนบท พบว่า มีการใช้
ได้ปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน ๆ ได้เรียนรู้วิธีการดูแลตัว อุปกรณ์ในการทรงตัวเพียงส่วนน้อยเท่านั้น โดย
เองในด้านต่าง ๆ เพิม่ ขึน้ อุปกรณ์ท่ีใช้ส่วนใหญ่จะเป็นอุปกรณ์ท่ีสามารถ
วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66 ...59
ดุญณภัตน์ ขาวหิต วิราวรรณ์ คำ�หวาน กำ�ทร ดานา ชนายุส คำ�โสม / Doonnaput Khowhit, Wiravan Kumvan, Kamthorn Dana, Chanayus Kumsom

ทำ�ได้เอง หาได้ง่ายในชุมชนและราคาถูก เช่น ของบ้าน ซึ่งควรอยู่เหนือกว่าผู้ท่ีมีอายุน้อยกว่า9


การทำ�ไม้เท้าจากไม้ไผ่ อุปกรณ์ดังกล่าวไม่มีท่ยี ึด ประกอบกั บ ผู้ สู ง อายุ ใ นชุ ม ชนชนบทส่ ว นใหญ่
เกาะทีไ่ ด้มาตรฐาน อาจทำ�ให้ผงู้ อายุลน่ื หลือพลัด นับถือศาสนาพุทธ จะมีการตัง้ หิง้ พระไว้ทช่ี น้ั สอง
ตกหกล้มขณะใช้งานได้ มีความสอดคล้องกับการ ของบ้าน ส่งผลให้ผู้สูงอายุต้องใช้บันไดขึ้น - ลง
ศึกษาหนึง่ 10 พบว่า ผูส้ งู อายุใช้อปุ กรณ์ชว่ ยเดินมี ในชีวิตประจำ�วันเพิ่มขึ้น เพื่อทำ�ภารกิจในชีวิต
ความเสีย่ งต่อการพลัดตกหกล้ม ประจำ�วัน จึงเพิ่มโอกาสในการพลัดตกหกล้มได้
การใช้ยามากกว่า 4 ชนิด จากการศึกษาพบ สอดคล้องกับการศึกษาของ ลาวรรณ ตัง้ อำ�พรทิพย์
ว่า ผูส้ งู อายุในชุมชนชนบทเกือบครึง่ มีโรคประจำ�ตัว และคณะ21 พบว่าการขึ้น - ลงบันได การหิ้ว
หรือโรคเรื้อรังที่ต้องได้รับการรักษาด้วยยา เช่น ของหนัก 5 กิโลกรัม มีความสัมพันธ์กบั การหกล้ม
โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรค ของผูส้ งู อายุในอำ�เภอสีคว้ิ จังหวัดนครราชสีมา
ไขมันในเลือดสูง การใช้ยาดังกล่าวอาจส่งผลถึง ปัจจัยการออกกำ�ลังกายและการดืม่ เครือ่ งดืม่
การทรงตัวของผู้สูงอายุได้ เช่น ยานอนหลับ ที่มีแอลกอฮอล์พบว่าไม่มีความสัมพันธ์กับการ
ยาระงับประสาท ยาขยายหลอดเลือด ยาลด พลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท ทั้งนี้
ความดันโลหิตสูง ยาขับปัสสาวะ มีผลทำ�ให้เกิด เนื่ อ งจากผู้ สู ง อายุ ใ นชุ ม ชนชนบทที่ มี ก ารดื่ ม
ความดันโลหิตต่�ำ ขณะเปลีย่ นท่าได้ เกิดการสับสน เครื่องดื่มแอลกอฮอล์และเกิดการหกล้มมีจำ�นวน
เพิ่มความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มได้ และการ ไม่มากพอ จึงไม่สามารถบอกความสัมพันธ์ทช่ี ดั เจน
รับประทานยาเบาหวาน อาจทำ�ให้ผู้สูงอายุเกิด ได้ ด้านการออกกำ�ลังกาย พบว่า กลุม่ ตัวอย่างส่วน
ภาวะน้�ำ ตาลในเลือดต่�ำ ได้ ก็จะเพิม่ โอกาสในการ ใหญ่เป็นผูส้ งู อายุตอนต้นและตอนกลาง ศักยภาพ
พลัดตกหกล้มเพิม่ ขึน้ 12 ทางกายและสุขภาพโดยภาพรวมยังแข็งแรง ความ
การใช้บันไดในชีวิตประจำ�วัน เนื่องจากใน เสื่อมถอยของสภาวะทางกายค่อนข้างน้อย ยัง
อดีตการสร้างบ้านเรือนของชาวอีสาน มักเป็น สามารถทำ�กิจกรรมต่าง ๆ ทัง้ ในบ้านและชุมชนได้
บ้านไม้ใต้ถนุ สูง ในปัจจุบนั การสร้างบ้านเรือนของ เช่น ทำ�งานบ้าน ทำ�การเกษตร การเข้าร่วม
ชาวอีสานในชุมชนชนบท เป็นการประยุกต์อาคาร กิจกรรมชุมชน และการออกกำ�ลังกายของผูส้ งู อายุ
บ้านเรือนไทยเดิมที่เป็นแบบบ้านไม้ใต้ถุนสูง ได้ ในชุมชนชนบทส่วนใหญ่เป็นการออกกำ�ลังกาย
ปรับให้สามารถใช้ประโยชน์ให้มากขึน้ ดังนัน้ ตาม ทีไ่ ม่มแี บบแผน เช่น ทำ�งานบ้าน ทำ�สวน ทำ�นา
ชุมชนชนบทจึงพบบ้านไม้ครึ่งปูนเป็นส่วนมาก เพราะมีความเชือ่ ว่าการทำ�งานคือการออกกำ�ลังกาย
เนือ่ งจากบ้านต้องการความมิดชิด แข็งแรงมากขึน้ อยูแ่ ล้ว จึงทำ�ให้การพลัดตกหกล้มไม่แตกต่างกัน
เพื่อความปลอดภัยทั้งคน และเครื่องใช้ในบ้าน20 สอดคล้องกับการศึกษาของ วีระวัฒน์ แซ่จิว22
นอกจากนีผ้ สู้ งู อายุในชุมชนชนบทบางรายมีความ พบว่ า ผู้สูง อายุ ส่ว นใหญ่ มีกิจ กรรมทางกายที่
เชื่อ ว่ า การที่ต นเองอยู่ด้า นล่ า งและมี ลูก หลาน เกี่ ย วข้ อ งกั บ การทํ า งานอยู่ ใ นระดั บ ปานกลาง
ซึ่งมีอายุน้อยกว่าอยู่ช้ันบนเป็นการไม่ให้เกียรติ และการศึกษาของอิน่ อ้อย เฉลิมชิต และคณะ23
หรือไม่เหมาะสม เพราะผูส้ งู อายุถอื ว่าเป็นเสาหลัก พบว่าผูส้ งู อายุชมุ ชนตักสิลา จังหวัดมหาสารคาม
60... วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท อำ�เภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม /
Factors Related to Falls Among Older Adults in Rural Communities, Yang Sisurat District, Maha Sarakham Province

มีการออกกำ�ลังกายที่เป็นแบบแผนน้อยกว่าการ ขนาดความสูงของแคร่ไม้ไผ่ยงั ไม่ได้มาตรฐานเท่า


ออกกำ � ลั ง กายแบบเคลื่อ นไหวออกแรงในชี วิต ทีค่ วร มีทง้ั ทีต่ �ำ่ หรือสูงเกินไปจะทำ�ให้ผสู้ งู อายุลกุ
ประจำ�วัน นั่งได้ลำ�บากหรือบางรายจะเป็นการวางที่นอน
3) ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมกับการพลัดตก บนพืน้ เวลาลุกผูส้ งู อายุจะต้องใช้แรงในการพยุง
หกล้มของผูส้ งู อายุในชุมชนชนบท พบว่า การมี ตัวขึน้ ส่งเสริมให้ผสู้ งู อายุเกิดการพลัดตกหกล้มได้
สิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ ลักษณะที่อยู่ ซึง่ สอดคล้องกับการศึกษาหนึง่ พบว่าระดับความสูง
อาศัยบ้านสองชั้น ลักษณะที่นอนสูงหรือต่ำ�กว่า ต่�ำ ของเครือ่ งเรือนไม่เหมาะสมและความไม่มน่ั คง
ระดับเข่า (40 - 45 เซนติเมตร) และลักษณะ ของเครื่องเรือนขณะใช้งานเป็นสาเหตุท่ที ำ�ให้เกิด
ห้องน้ำ�ตั้งอยู่ภายนอกตัวบ้านมีความสัมพันธ์กับ อุบตั เิ หตุได้งา่ ยขึน้ 9
การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท ลั ก ษณะห้ อ งน้ำ � ตั้ ง อยู่ ภ ายนอกตั ว บ้ า น
ซึง่ สามารถอธิบายได้ดงั นี้ เนือ่ งจากผูส้ งู อายุมกี ารเปลีย่ นแปลงของกระเพาะ
ลั ก ษณะที่ อ ยู่ อ าศั ย บ้ า นสองชั้ น การที่ ผู้ ปัสสาวะ ขนาดและความจุลดลง กล้ามเนือ้ หูรดู
สูงอายุในชุมชนอาศัยที่ช้นั สองของบ้านไม่ได้เป็น มีประสิทธิภาพลดลง จึงทำ�ให้ผู้สูงอายุต้องเข้า
ปัจจัยหลักที่ทำ�ให้ผู้สูงอายุเกิดการพลัดตกหกล้ม ห้องน้�ำ บ่อยขึน้ ดังนัน้ การทีม่ หี อ้ งน้�ำ ตัง้ อยูภ่ ายนอก
เพราะผู้สูงอายุส่วนใหญ่อาศัยที่ช้ันล่างของบ้าน ตัวบ้านทำ�ให้ผู้สูงอายุเคลื่อนไหวได้ยากลำ�บาก
แต่ปจั จัยทีส่ ง่ เสริมให้ผสู้ งู อายุเกิดการพลัดตกหกล้ม จึงทำ�ให้เกิดการพลัดตกหกล้มได้งา่ ยขึน้ ประกอบ
ได้แก่ การใช้บันไดขึ้น - ลง ในชีวิตประจำ�วัน กับในชุมชนชนบท ระหว่างทางเดินไปห้องน้ำ�
เนื่อ งจากผู้สูง อายุ ใ นชุ ม ชนชนบทบางรายยั ง มี พื้นบ้านขรุขระ ผิวไม่เรียบ รวมกับมีส่งิ กีดขวาง
ความเชือ่ ว่าการทีต่ นเองอยูด่ า้ นล่างและมีลกู หลาน ทางเดิน เช่น ตาข่ายขึงกัน้ สัตว์ไม่ให้เข้ามาภายใน
ซึง่ มีอายุนอ้ ยกว่าอยูช่ น้ั บนเป็นการไม่ให้เกียรติหรือ ตัวบ้าน และไม่มีราวจับตลอดทางเดิน ยิ่งเพิ่ม
ไม่เหมาะสม เพราะผูส้ งู อายุถอื ว่าเป็นเสาหลักของ โอกาสในการพลัดตกหกล้มได้9
บ้าน ซึ่งควรอยู่เหนือกว่าผู้ท่มี ีอายุน้อยกว่า9 จึง ปัจจัยด้านลักษณะที่ต้ังห้องนอนอยู่ช้ันบน
ยังคงใช้บนั ไดในชีวติ ประจำ�วัน ส่งเสริมให้เกิดการ ของบ้าน ประเภทส้วมที่ใช้ ลักษณะบันไดบ้าน
พลัดตกหกล้มได้ ไม่มรี าวจับและมีสง่ิ กีดขวาง ลักษณะสิง่ ของในบ้าน
ลั ก ษณะที่ น อนสู ง หรื อ ต่ำ � กว่ า ระดั บ เข่ า ไม่เป็นระเบียบ แสงสว่างไม่เพียงพอ และลักษณะ
(40 - 45 เซนติเมตร) ผูส้ งู อายุในชุมชนชนบท เมือ่ ของพืน้ ขรุขระ มีธรณีประตู พบว่าไม่มคี วามสัมพันธ์
มีอายุมากขึ้นจะอาศัยอยู่ช้นั ล่างของบ้านเป็นหลัก กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท
ซึ่งห้องนอนของผู้สูงอายุอาจมีการสร้างใหม่หรือ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากผูส้ งู อายุในชุมชนชนบทมีความคุน้ ชิน
เปลี่ยนแปลงบางส่วนเพื่อให้สะดวกต่อการใช้งาน กับสภาพแวดล้อมที่อาศัยเดิม และกลุ่มตัวอย่าง
เช่น การใช้แคร่ไม้ไผ่มาทำ�เป็นเตียงนอน เนือ่ งจาก ส่วนใหญ่มกี ารมองเห็น การทรงตัวทีป่ กติ ดังนัน้
เป็นวัสดุท่ีหาได้ง่ายในชุมชน และราคาไม่แพง ไม่ว่าห้องนอนที่อยู่ช้นั บนของบ้าน ห้องน้ำ�ที่ไม่มี
ช่างในชุมชนสามารถประกอบขึ้นได้เอง แต่ด้วย ราวจับ การมีสง่ิ กีดขวางทางเดิน หรือการใช้สว้ ม
วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66 ...61
ดุญณภัตน์ ขาวหิต วิราวรรณ์ คำ�หวาน กำ�ทร ดานา ชนายุส คำ�โสม / Doonnaput Khowhit, Wiravan Kumvan, Kamthorn Dana, Chanayus Kumsom

แบบนัง่ ยอง ผูส้ งู อายุมคี วามระมัดระวังในการเดิน ของจารุภา เลขทิพย์ และคณะ10 ทีพ่ บว่าผูส้ งู อายุ
หรือการทำ�กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อป้องกันการพลัด ทีอ่ าศัยเพียงลำ�พัง ไม่แต่งงานหรือมีรายได้ตอ่ เดือน
ตกหกล้ ม แตกต่ า งจากการศึ ก ษาของจารุ ภ า ต่�ำ มีความเสีย่ งต่อการพลัดตกหกล้ม
เลขทิพย์ และคณะ10 พบว่าผูส้ งู อายุทอ่ี าศัยอยูใ่ น ข้อเสนอแนะในการนำ�ผลการวิจัยไปใช้
บ้านทีม่ พี น้ื ลืน่ แสงสว่างไม่เพียงพอ และบ้านที่ 1. จากผลการวิจยั พยาบาลเวชปฏิบตั ชิ มุ ชน
ยกพื้นสูง มีความเสี่ยงสูง ต่อการพลัดตกหกล้ม
หรือบุคลากรทางสาธารณสุขในหน่วยบริการระดับ
ในผูส้ งู อายุ
ปฐมภูมิควรมีการประเมินปัจจัยที่มีความสัมพันธ์
2.4 จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง
ต่อการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท
ปั จ จั ย ด้ า นเศรษฐกิ จ และสั ง คมกั บ การพลั ด ตก
เช่น ประวัตกิ ารได้รบั อุบตั เิ หตุทข่ี าหรือเท้า ภาวะ
หกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท พบว่า การ
สุขภาพจิต พฤติกรรมการใช้ยา การใช้บนั ไดในชีวติ
ศึกษา สถานภาพสมรส อาชีพ การมีผดู้ แู ลหลัก
ประจำ�วัน การใช้อปุ กรณ์ในการทรงตัว และด้าน
และความเพียงพอของรายได้ไม่มคี วามสัมพันธ์กบั
สิ่งแวดล้อม เช่น ห้องน้ำ� ห้องส้วม ห้องนอน
การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท
เพื่อนำ�ข้อมูลไปพัฒนาเป็นโปรแกรมในการดูแล
ทัง้ นีผ้ สู้ งู อายุในชุมชนชนบทส่วนใหญ่จบชัน้ ประถม
ผูส้ งู อายุตอ่ ไป
ศึ ก ษา แต่ ใ นปั จ จุ บั น การได้ รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสาร
2. การจัดที่อยู่อาศัยให้กับผู้สูงอายุ ควรมี
ความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองสามารถเข้าถึงได้
การวางแผนออกแบบให้มีความเหมาะสม เช่น
ง่ายขึ้น มี อสม. ที่ให้คำ�แนะนำ�เบื้องต้น และ
สามารถปรึกษาเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุขทีใ่ กล้บา้ นได้ ลักษณะเป็นบ้านชัน้ เดียวเพือ่ ลดการใช้บนั ไดขึน้ ลง
ง่ายขึ้น หรือแม้แต่ข้อมูลข่าวสารทางโทรทัศน์ ในชีวติ ประจำ�วัน ห้องนอนควรจัดให้อยูท่ ด่ี า้ นล่าง
วิทยุ อินเทอร์เน็ต ที่ผ้สู ูงอายุมีโอกาสในการเข้า ของบ้าน ลักษณะทีน่ อนควรมีระดับทีเ่ หมาะสมไม่
ถึงทีม่ ากขึน้ ในด้านอาชีพและรายได้พบว่าผูส้ งู อายุ สูงหรือต่�ำ กว่าระดับเข่า (40 - 45 เซนติเมตร) เพือ่
มีอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก ผูส้ งู อายุบางคนยังมี ลดความเสีย่ งต่อการพลัดตกหกล้ม
การทำ � งานอย่ า งต่ อ เนื่ อ งถึ ง แม้ อ ายุ จ ะมากขึ้ น 3. บุคลากรด้านสุขภาพใช้เป็นแนวทางในจัด
เพราะมีความเชือ่ ว่าการทำ�งาน คือ การออกกำ�ลังกาย โปรแกรมการดูแลผูส้ งู อายุ หรือการให้ค�ำ แนะนำ�
และยังมีรายได้จากอาชีพนีด้ ว้ ยไม่ตอ้ งขอลูกหลาน ผู้สูงอายุ ผู้ดูแล ญาติ เพื่อป้องกันการพลัดตก
ดังนัน้ ถ้ายังพอทำ�งานได้กอ็ ยากทำ�ต่อไป ด้านสถานภาพ หกล้มในผูส้ งู อายุในชุมชนชนบทได้
สมรสและผู้ดูแล ผู้สูงอายุในชุมชนส่วนใหญ่จะ
อาศัยอยู่ในครอบครัวขยายมีลูกหลานคอยดูแล กิตติกรรมประกาศ
ช่วยเหลือ เพราะถือว่าผูส้ งู อายุเป็นบุคคลทีม่ คี วาม โครงการวิจัยนี้ได้รับสนับสนุนเงินวิจัยจาก
สำ�คัญให้ความเคารพและดูแลเมื่อมีอายุมากขึ้น คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
หรือเมือ่ เจ็บป่วย ซึง่ มีความแตกต่างกับการศึกษา

62... วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66


ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท อำ�เภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม /
Factors Related to Falls Among Older Adults in Rural Communities, Yang Sisurat District, Maha Sarakham Province

เอกสารอ้างอิง
1. National Statistical Office, Ministry of Digital Economy and Society. The 2021 Survey
of the older persons in Thailand. Bangkok: Statistical Forecasting Division National
Statistical Office; 2022 (in Thai)
2. National Statistical Office. Population distribution [Internet]. 2022 [cited 2022 Aug 30].
Available from: http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/01.aspx (in Thai)
3. Bureau of Epidemiology, Department of Disease Control, Ministry of Public Health.
Falls are common in the elderly. Nonthaburi: Bureau of Epidemiology; 2019. (in Thai)
4. Sichang N, Kawe L. Fall forecast report for the elderly (60 years and over) in Thailand
2018 - 2021. Nonthaburi: Division of Non Communicable Disease. Department of
Disease Control, Ministry of Public Health; 2022. (in Thai)
5. Boongird C. Fall of the elderly. Bangkok: Sahamit Pattana Printing (1992); 2018.
(in Thai)
6. Thasuwanain T. Fall of the elderly. UBRU Journal for Public Health Research
2016:5(2):119 - 31. (in Thai)
7. Piboon K, Pongsaegphun P, Inchai P. Phithaksilp M. Effectiveness of multifactorial
program for prevention falls among community - dwelling older adults. Chonburi:
Medical Science. Faculty of Public Health Burapha University; 2019. (in Thai)
8. WHO. Fall. [Internet]. 2021 [cited 2022 Oct 15]. Available from: https://www.who.int/
news - room/fact - sheets/detail/falls
9. Kumkwan Y, Khumngeon A, Wannalai U, Khatta K. Home - based fall prevention
guideline in Thai contexts for elderly people. Nursing Journal of the Ministry of Public
Health 2018:18(3):10 - 22. (in Thai)
10. Lecktip C, Woratanarat T, Bhubhanil S, Lapmanee S. Risk factors for falls in elderly.
Journal of Medicine and Health Science 2019;26(1):85 - 103. (in Thai)
11. Rodseeda P. Fall prevention among the elderly living in a community: the nursing role
in home health care. Thai Red Cross Nursing Journal 2018;11(2):15 - 25. (in Thai)
12. Rongmuang D, Nakchattri C, Tongdee J, Sombutboon J. Incidence and factors
associated with fall among the community - dwelling elderly, Suratthani. Journal of
Phrapokklao Nursing College 2016;27(suppl 1):123 - 37. (in Thai)

วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66 ...63


ดุญณภัตน์ ขาวหิต วิราวรรณ์ คำ�หวาน กำ�ทร ดานา ชนายุส คำ�โสม / Doonnaput Khowhit, Wiravan Kumvan, Kamthorn Dana, Chanayus Kumsom

13. Howharn C, Onthaisong C, Pramsathis W. Factors predicted falls among elderly in


northeastern Thailand. Journal of Phrapokklao Nursing College 2018;1(1):26 - 37.
(in Thai)
14. Mahasarakham Provincial Public Health. Screening report system/assess the elderly
aging data [Internet]. 2022 [cited 2022 Aug 30]. Available from: http://mkho.moph.go.th/
ltc - advanced/frontend/web/index.php/site/index (in Thai)
15. Yang Si Surat Subdistrict Administrative Organization. Older adults of data [Internet].
2022 [cited 2022 Oct 15]. Available from: https://www.yangsisurat.go.th/index.php/
agency - information/establishment - history. (in Thai)
16. Yamane T. Statistics: an introductory analysis. 3rd ed. New York: Harper and Row;
1973.
17. Intraratsamee J, Wannajak P, Rattanan Y, Trirapongsawat K, Somtua J, Khiaosod C,
et al. Cooperative learning between elderly people and care giver to develop inside
and outside environment of the elderly people’s home within provinces under
responsibility regional health promotion center 6. KhonKaen: Regional Health
Promotion Center 7 Khon Kaen Department of Health, Ministry of Public Health; 2017.
(in Thai)
18. Muangsiri K, Maharachpong N, Rodjarkpai Y. Factors relating the behavior of fall
prevention among elderly in Chonburi Province. Naresuan University Journal: Science
and Technology 2017;(25)4:23 - 33. (in Thai)
19. Wimolphan P. Role of nurses to prevent falls in the elderly living in community.
Journal of Nursing and Health Sciences 2014;8(1):8 - 15. (in Thai)
20. Mahasarakham Provincial Cultural Office. The local wisdom 8 ways life of community,
Mahasarakham Province. Mahasarakham: Strategy and Culture Surveillance Bureau
of Subdivision, Mahasarakham Provincial Cultural Office, Ministry of Culture; 2017.
(in Thai)
21. Tangaumporntip L, Tangaumporntip C, Tangaumporntip S. Factors contributing to
falls in elderly Sikhio Nakhon Ratchasima [Internet]. 2022 [cited 2022 Oct 15]. Available
from: http://164.115.27.97/digital/items/show/9398 (in Thai)
22. Saejiw W. Physical activity and physical fitness of fitness of elderly activity in Chonburi
Province [Thesis]. Chonburi: Burapha University; 2016. (in Thai)
23. Chalermchit I, et al. Development of exercise of the elderly in Taksila community of
Talad Subdistrict, Maeng District Maha Sarakham Province. Maha Sarakham: Institute
of Physical Education Maha Sarakham Campus; 2014. (in Thai)
64... วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 16 ฉ.1 ม.ค.-เม.ย. 66

You might also like