Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 16

บทวิจัย

ประสิทธิผลของรูปแบบการป้องกันการหกล้มที่ใช้ชุมชนเป็นฐานต่อสมรรถภาพทางกายและ
การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร: การศึกษาติดตามผล*1
THE EFFECTIVENESS OF COMMUNITY-BASED FALL PREVENTION MODEL TO PHYSICAL PERFORMANCE
AND FALL AMONG OLDER ADULTS IN AN URBAN COMMUNITY BANGKOK: THE FOLLOW UP STUDY
กมลรัตน์ กิตติพิมพานนท์**
ผจงจิต ไกรถาวร**

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเพื่อติดตามผล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการการดาเนินงานการ
ปูองกันการหกล้มและประสิทธิผลของรูปแบบการปูองกันการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนที่ได้
ดาเนินการมาเป็นระยะเวลา 3 ปี โดยรูปแบบการดาเนินกิจกรรมประกอบด้วย 1) การรณรงค์ปูองกันการหกล้มใน
ชุมชน 2) การประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้ม 3) การให้ความรู้ 4) การออกกาลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของ
กล้ามเนื้อ 5)การเยี่ยมบ้านเพื่อทวนสอบการใช้ยาและผลข้างเคียงและการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและ 6) ระบบ
การเฝูาระวังการหกล้มในชุมชน ซึ่งเป็นการดาเนินงานในชุมชนเมืองแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง
เป็นผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมจานวน 28 คน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ แกนนาโครงการปูองกันพลัดตกหกล้ม
อาสาสมัครสาธารณสุข และ พยาบาลสาธารณสุข จานวน 15 คน การเก็บรวบรวม ประกอบด้วย การสนทนากลุ่ม
ในกลุ่ มผู้ มีส่ วนได้ ส่วนเสี ยเพื่ อประเมิ นผลทางด้ านกระบวนการ รวมทั้ งประเมิ นอั ตราการหกล้ มและทดสอบ
สมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิง
เนื้อหา สถิติบรรยายวิเคราะห์อัตราการเกิดการหกล้ม และ ใช้สถิติ Paired T-test สถิติ Wilcoxon Signed Rank
Test และ McNemar Test ทดสอบความแตกต่างของสมรรถภาพกาย
ผลการวิจัย พบว่ารูปแบบการดาเนินกิจกรรมดังกล่าวมีความต่อเนื่อง โดยแกนนาเป็นผู้รับผิดชอบหลักใน
การดาเนินกิจกรรมต่างๆ การออกกาลังกายเป็นกิจกรรมที่ผู้สูงอายุสามารถทาได้อย่างอิสระ การประเมินปัจจัยเสี่ยง
ต่อการหกล้ม การให้ความรู้ และการเยี่ยมบ้าน ต้องอาศัยความร่วมมือจากพยาบาลสาธารณสุข การเปลี่ยนแปลง
สิ่ งแวดล้ อมภายในบ้ านและในชุ มชนมี ข้ อจ ากั ดด้ านงบประมาณ โดยพบอั ตราการเกิ ดหกล้ มของผู้ สู งอายุ ใน
ระยะเวลา 3 ปี ร้อยละ 7.14 ต่อปี ด้านสมรรถภาพทางกาย พบว่า ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมการออกกาลังกายเป็นประจา
มีสมรรถภาพทางกายที่ดีขึ้น ในด้านความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา (t = 3.952, p-value <.01) ความสามารถใน
การทรงตัวและการเดิน (z = 3.061, p-value <.01) และการหมุนรอบตัว (z = 1.961, p-value <.05) ซึ่งสนับสนุน
ว่ารูปแบบการปูองกันการหกล้มในผู้สูงอายุที่พัฒนาขึ้นประสิทธิผลในการปูองกันกันการหกล้มของผู้สูงอายุไทยใน
ชุมชน โดยผู้สูงอายุมีศักยภาพในการดาเนินกิจกรรมเพื่อปูองกันการหกล้ม โดยเฉพาะกิจกรรมการออกกาลังกายที่มี

ผู้รับผิดชอบหลัก: อาจารย์กมลรัตน์ กิตติพิมพานนท์ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี


* ได้รับทุนอุดหนุนการวิจยั จากเงินทุนโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
** อาจารย์ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
มกราคม – เมษายน 2558 ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 วารสารพยาบาลสาธารณสุข 99

ความยั่งยืนเนื่องจากผู้สูงอายุสามารถทาได้ด้วยตนเองและสามารถเพิ่มสมรรถภาพทางกายได้ ขณะที่พยาบาล
สาธารณสุขมีบทบาทสาคัญในการช่วยเหลือและกระตุ้นให้กิจกรรมสามารถดาเนินการได้อย่างต่อเนื่อง

คาสาคัญ: รูปแบบการปูองกันการหกล้มโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน/ ผู้สูงอายุไทย/ สมรรถภาพทางกาย/


วิจัยเพื่อติดตามผลระยะยาว

ABSTRACT
This study aims to evaluate the effectiveness of the community-based fall prevention
model over a 3-year follow-up period. The model consisted of 1) a multi-factorial fall risk
assessment, 2) a fall campaign, 3) a fall education, 4) a balance exercise training, 5) home visits for
medication review and for home hazard management, and 6) a fall management system. An
urban community in Bangkok was a setting of this study. The sample consisted of 28 elders and 15
fall leader team. Focus group was conducted among fall leader team for assess the sustainability
of the model. All qualitative data was evaluated via content analysis. An annual fall rate was
collected from the surveillance form while the physical performance was measured after 3 years
of balance exercise training. A paired t-test Wilcoxon Signed Ranks Test and McNemar test were
used to examine differences in physical performance.
The results showed that the community could maintain this model by themselves over 3
years. Exercise training operated by fall leader team while fall risk assessment, a fall education,
and home visit was supported by public health nurse. However, home and community hazard
modification had limitation due to their budget. The fall incidence was 7.14 % in each year. Older
adults who participated in group exercise regularly had physical performance improvement: Five
times sit to stand (t = 3.952, p-value <.01), Timed up and go test (z = 3.061, p-value <.01), and
Turn 360 degree (z = 1.961, p-value <.05). This finding suggested that community-based fall
prevention model was effective model and sustainability. Older adults had capability for
preventing falls by themselves especially exercise activity which was a sustainable activity that can
improve and maintain the physical performance. Public health nurse was a facilitator and
supporter for ongoing activities.

Keywords; Community-based fall prevention model/ older adults/ followed up study/ physical
performance
100 Journal of Public Health Nursing January - April 2015 Vol. 29 No.1

ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา จากการศึกษาเพื่อพัฒนารูปแบบการปูองกัน
การพลัดตกหกล้มเป็นปัญหาสาคัญทางด้าน การพลั ดตกหกล้ มของผู้ สู งอายุ โดยใช้ ชุ มชนเป็ น
สาธารณสุ ขในผู้ สูงอายุ เนื่ องจากอุบั ติการณ์ ที่เพิ่ ม ฐาน ในชุมชนเมืองแห่งหนึ่ง (Kittipimpanon et al.,
สูงขึ้น และผลกระทบที่ตามมา การพลัดตกหกล้มใน 2012) ท าให้ ได้ รู ปแบบในการจั ดการปั จจั ยเสี่ ยง
ผู้ สู งอายุ ไทยพบได้ บ่ อยประมาณร้ อยละ 18 ของ หลายๆ ปั จ จั ย เพื่ อ ปู อ งกั น พลั ด ตกหกล้ ม ให้ กั บ
ผู้สูงอายุในชุมชน มีอุบัติเหตุการหกล้มอย่างน้อย 1 ผู้ สู งอายุ ในชุ มชน ประกอบด้ วย 6 กิ จกรรมหลั ก
ครั้ง ในระหว่าง 6 เดือนที่ผ่านมา (สานักงานสารวจ ได้แก่ 1) การรณรงค์ปูองกันการหกล้มในชุมชน 2)
สุขภาพประชาชนไทย, 2552) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การประเมิ นปั จจั ยเสี่ ยงต่ อการหกล้ ม 3) การให้
ชุมชนเมืองในกรุงเทพมหานคร จากการศึกษาที่ผ่าน ความรู้ 4) การออกกาลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรง
มาพบว่ า มี จ านวนผู้ สู งอายุ ที่ มี การพลั ดตกหกล้ ม ของกล้ามเนื้อ 5) การเยี่ยมบ้านเพื่อทวนสอบการใช้
มากกว่าร้อยละ 34.3 และ ร้อยละ 38.4 ผู้สูงอายุที่ ยาและผลข้างเคี ยงและการจัดการสิ่งแวดล้อม 6)
ประวัติการหกล้มเกิดการหกล้มซ้า (Kittipimpanon, การมีระบบการจัดการการหกล้มในชุมชน ซึ่งผลของ
2006) ผลกระทบเมื่อผู้สูงอายุเกิดการหกล้ม นามา รูปแบบดังกล่าวมีประสิทธิภาพในการปูองกันกันการ
ซึ่ งการบาดเจ็ บทั้ งทางร่ างกาย จิ ตใจ สั งคม และ หกล้มของผู้สูงอายุไทยในชุมชน โดยอัตราการเกิด
เศรษฐกิจ ทั้งแก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชน หกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนลดลงร้อยละ 24.56 มี
การพลัดตกหกล้มเกี่ยวข้องกับหลายปัจจัย สมรรถภาพทางกายดีขึ้น และมีการดาเนินการเพื่อ
ทั้ ง ปั จจั ยภายในของตั วผู้ สู งอายุ พฤติ กรรมเสี่ ยง จั ดการกั บสิ่ งแวดล้ อมที่ เป็ นอั นตรายเบื้ องต้ น ทั้ ง
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมทั้งทางกายภาพและสังคม ซึ่ง ภายในบ้าน และชุมชน รวมทั้งรายงานหน่วยงานที่
จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า รูปแบบการปูองกัน รับผิดชอบเพื่อแก้ไข โดยมีชุมชนและเครือข่ายเข้า
การพลัดตกหกล้มที่มีประสิทธิภาพต้องมีการจัดการ มามีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ซึ่งปัจจุบัน
กับปัจจัยเสี่ยงหลายๆ ปัจจัย (Multifactorial Inter- ชุมชนยังมีการดาเนินงานตามรูปแบบดังกล่าวอย่าง
vention) เพื่อปูองกันพลัดตกหกล้ม ตัวอย่างเช่น ต่อเนื่ องมาเป็ นระยะเวลา 3 ปี โดยชุ มชนเป็ นคน
การประเมินความเสี่ยง การให้ความรู้ การตรวจทาน รั บผิ ด ชอบในการด าเนิ นกิ จ กรรม อย่ างไรก็ ตาม
ยาที่รับประทานเป็นประจา การออกกาลังกาย การ ผู้ วิ จั ยยั งไม่ ไ ด้ ป ระเมิ นผลในระยะยาวอย่ า งเป็ น
ตรวจสุ ขภาพตา การจั ดการกั บสิ่ งแวดล้ อมที่ เป็ น รูปธรรม การศึกษาครั้งนี้จึงเป็นการวิจัยเพื่อติดตาม
อันตราย (American Geriatrics Society, 2001; การด าเนิ นงานและประสิ ท ธิ ผ ลของรู ปแบบการ
Stevens & Sogolow, 2008; World Health ปูองกันการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุชุมชนโดยเป็น
Organization, 2007) อย่างไรก็ตามการศึกษาที่ผ่าน การศึกษา ทั้งทางด้านกระบวนการในการดาเนินงาน
มาเป็นการศึกษาในต่างประเทศ ซึ่งมีการแตกต่างใน และผลลัพธ์ของรูปแบบฯ ได้แก่ ประวัติการหกล้ม
บริ บ ทชุ ม ชนของไทยและต่ า งประเทศ รวมถึ ง และสมรรถภาพทางกายของผู้ สู งอายุ ที่ เ ข้ า ร่ ว ม
การศึกษาในประเทศไทยยังเน้นในการจัดการปัจจัย กิจกรรม
เสี่ยงภายในและพฤติกรรมเสี่ยง รวมทั้งมีข้อจากัดใน
การจั ดการหลายปั จจั ยพร้ อมกั นและการจั ดการ
สิ่งแวดล้อม
มกราคม – เมษายน 2558 ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 วารสารพยาบาลสาธารณสุข 101

วัตถุประสงค์การวิจัย ชุมชน ซึ่งได้ร่วมดาเนินกิจกรรมการปูองพลัดตกหก


เพื่ อ ศึ ก ษาประสิ ท ธิ ผ ลของรู ป แบบการ ล้มในชุ มชน เป็ นระยะเวลา 3 ปี สามารถพูดและ
ปูองกันการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ใน เข้าใจภาษาไทยได้ และยินดีให้ความร่วมโครงการ
ชุมชนเมืองกรุงเทพมหานคร โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน วิจัยโดยลงนาม
ประกอบด้วย เครื่ องมื อที่ ใช้ ในการวิจั ย ประกอบด้ วย 3
1. กระบวนการในการดาเนินงานการปูองกัน ส่วน ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบทดสอบและแนวทาง
การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชน คาถามในการสนทนากลุ่ม
เมือง กรุงเทพมหานคร ส่วนที่ 1 แบบสั ม ภาษณ์ ประกอบด้ ว ย
2. ผลของรูปแบบการปูองกันการพลัดตกหก ข้อมู ลส่ วนบุ คคล แบบประเมิ นความเสี่ ยงต่ อการ
ล้มของผู้สูงอายุ ต่อ ประวัติการหกล้ม และสมรรถ- พลัดตกหกล้ม
ภาพทางกาย ของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนเมือง - ข้อมูลส่วนบุคคล เป็นข้อมูลส่วนบุคคลซึ่ง
กรุงเทพมหานคร ได้ จากการสั มภาษณ์ ได้ แก่ อายุ เพศ สถานภาพ
สมรส ลั กษณะครอบครั ว ระดั บการศึ กษา อาชี พ
วิธีการดาเนินการวิจัย รายได้ แ ละแหล่ งของรายได้ และข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ
การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive study ) ประวัติการหกล้มและการบาดเจ็บ
เพื่อติดตามประสิทธิผลของรูปแบบการปูองกันพลัด - แบบประเมิ น ความเสี่ ย งต่ อ การหกล้ ม
ตกหกล้มในชุมชนต่อสมรรถภาพทางกาย และการ (Thai-FRAT) เป็นเครื่องมือในการประเมินความเสี่ยง
หกล้มของผู้สูงอายในชุมชน ในระยะเวลา 3 ปี ต่ อ การหกล้ ม ของผู้ สู ง อายุ ที่ พั ฒ นาโดย ลั ด ดา
กลุ่มตัวอย่าง เถี ย มวงศ์ แ ละคณะ ในปี 2551 (Thiamwong,
กลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม Thamarpirat, Maneesriwongul, & Jitapunkul,
ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการฯ และ กลุ่ มผู้มีส่ วนได้ 2008) ซึ่ งประกอบด้ วยการประเมิ นความเสี่ ยง 6
ส่วนเสีย เป็นกลุ่มที่ได้เข้าร่วมและดาเนินกิจกรรม ปัจจัย ได้แก่ ประวัติการหกล้ม การบกพร่องทางการ
ต่างๆ ตามรูปแบบการปูองกั นการพลั ดตกล้ มของ ทรงตัว การใช้ยาที่เสี่ยงต่อการหกล้ม การบกพร่อง
ผู้ สู ง อายุ ที่ ชุ ม ชนได้ พั ฒ นาขึ้ น ซึ่ งได้ ด าเนิ น การ การมองเห็ น และลั ก ษณะบ้ า นแบบไทย โดยมี
มาแล้วเป็นระยะเวลา 3 ปี โดยกลุ่มตัวอย่างมีเกณฑ์ คะแนนต่าสุดคือ 0 และคะแนนสูงสุด คือ 11 หาก
คัดเข้า ดังนี้ ผู้สูงอายุได้คะแนน มากกว่าหรือเท่ากับ 4 แสดงว่า
กลุ่มที่ 1 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการฯ คื อ ผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการเกิดการหกล้ม มีความไว
กลุ่มผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการปูองกันการพลัดตก และความจ าเพาะสู ง 0.92 และ 0.83 ตามล าดั บ
หกล้ ม ในชุ ม ชนมี อ ายุ 60 ปี ขึ้ น ไป โดยเข้ า ร่ ว ม เป็นข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์และทดสอบ
กิจกรรมของโครงการได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เป็น ส่วนที่ 2 แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย
ระยะเวลา 3 ปี สามารถพูดและเข้าใจภาษาไทยได้ ประกอบด้ ว ย การประเมิ น ความแข็ ง แรงของ
และยินดีให้ความร่วมโครงการวิจัยโดยลงนาม กล้ า มเนื้ อ ส่ ว นบน ความแข็ งแรงของกล้ า มเนื้ อ
กลุ่มที่ 2 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คือ กลุ่มแกน ส่ วนล่ าง ความสามารถในการทรงตั ว และความ
นาโครงการฯ และพยาบาลสาธารณสุขที่รับผิดชอบ สามารถในการทรงตัวและการเดิน
102 Journal of Public Health Nursing January - April 2015 Vol. 29 No.1

- การประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ วินาที ถ้าผู้สูงอายุใช้เวลาน้อยถือว่าความสามารถใน


ส่วนบน เป็นการประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ การทรงตัวดี โดยงานวิจัยที่ผ่านมา พบค่าความเที่ยง
มื อ โดยใช้ เครื่ องมื อ handgrip dynamometer ของเครื่องมือ (Reliability) = 0.73 (K Kittipimpanon,
(Rantanen, Volpato, Ferrucci, Heikkinen, Fried, Amnatsatsue, Kerdmongkol, Maruo, &
& Guralnik, 2003) โดยให้ผู้สูงอายุนั่งบนเก้าอี้ Nitayasuddhi, 2012)
ถือ handgrip dynamometer ด้วยมือข้างที่ถนัด - การประเมินการทรงตัวและการเดิน เป็น
โดยวางข้อศอกลงบนโต๊ะ จากนั้นให้ผู้สูงอายุออกแรง การประเมินเพื่อดูการทาหน้าที่ของการทรงตัวและ
บีบมือให้แรงที่สุดเท่าที่จะทาได้ค้างไว้ 5 วินาที โดย การเดิน (Bischoff, Smith, Lord, Williams, &
จะบั นทึ กผลเป็นกิโลกรั ม ถ้ามีค่ ามากแปลผลว่ามี Baumand, 2003) โดยให้ผู้สูงอายุนั่งพิงพนักเก้าอี้
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อดี โดยงานวิจัยที่ผ่านมา เมื่อให้สัญญาณ ให้ผู้สูงอายุลุกขึ้นจากเก้าอี้และเดิน
พบค่าความเที่ยงของเครื่องมือ (Reliability) = 0.91 เป็นระยะทาง 3 เมตร และเดินอ้อมกลับมานั่งที่เก้าอี้
(Kittipimpanon, Amnatsatsue, Kerdmongkol, ตัวเดิม โดยจับเวลาตั้งแต่ผู้สูงอายุเริ่มลุกจากกเก้าอี้
Maruo, & Nitayasuddhi, 2012) จนเดิ นกลั บมานั่ งโดยให้ ก้ นสัมผั สกั บเก้ าอี้ จึ งหยุ ด
- การประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เวลา บันทึกผลเป็นวินาที ถ้าผู้สูงอายุใช้เวลาน้อยถือ
ส่วนล่าง เป็นการประเมิ นความแข็งแรงและความ ว่าความสามารถในการทรงตั วและการเดิ นดี โดย
ทนทานของกล้ามเนื้อขา โดยใช้การทดสอบลุกนั่ง 5 งานวิ จั ยที่ ผ่ านมา พบค่ าความเที่ ยงของเครื่ องมื อ
ครั้งติดต่อกัน (Five Time Sit to Stand) (Tidemann, (Reliability) = 0.90 (Kittipimpanon, Amnatsatsue,
Shimada, Sherrington, & Murray, 2008) โดยให้ Kerdmongkol, Maruo, & Nitayasuddhi, 2012)
ผู้สูงอายุนั่งเก้าอี้ที่มีพนักพิง มือกอดอกและให้ลุกนั่ง ส่วนที่ 3 แนวทางคาถามในการสนทนากลุ่ม
อย่างเร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้ติดต่อกัน 5 ครั้ง โดยจับ เป็นแนวทางคาถามเพื่อประเมินผลการดาเนินงาน
เวลาตั้งแต่ผู้สูงอายุเริ่มลุกขึ้นจากเก้าอี้จนสุดท้ายที่ ปัญหาและอุ ปสรรคในการด าเนิ นงานโครงการใน
ก้ นสั ม ผั สเก้ าอี้ จึ งหยุ ด เวลา บั น ทึ กผลเป็ น วิ นาที กลุ่ มผู้ มี ส่ วนได้ ส่ วนเสี ย ซึ่ งประกอบด้ วย แกนน า
ผู้ สู ง อายุ ใ ช้ เ วลาน้ อ ยถื อ ว่ า มี ค วามแข็ ง แรงของ ชุ มชนและชมรมผู้ สู งอายุ 8 คน อาสาสมั ค ร
กล้ ามเนื้ อส่วนล่ างดี โดยงานวิจั ยที่ผ่ านมา พบค่ า สาธารณสุข 6 คน พยาบาลสาธารณสุขที่รับผิดชอบ
ความเที่ยงของเครื่องมือ (Reliability) = 0.78 (Kitti- ชุมชน 1 คน
pimpanon, Amnatsatsue, Kerdmongkol, Maruo, การเก็บรวบรวมข้อมูล
& Nitayasuddhi, 2012) 1. ผู้ วิ จั ย ติ ด ต่ อ ประสานงานกั บ หั ว หน้ า
- การประเมิ นการทรงตั วแบบ dynamic ชุ มชนเพื่ อสร้ างสั มพั นธภาพ และรวบรวมข้ อมู ล
เป็ นการประเมิ นการทรงตั วโดยใช้ การทดสอบให้ พื้นฐานชุมชนโดยผู้วิจัยสัมภาษณ์ ผู้นาชุมชน แกน
หมุนรอบตัว 360 องศา (360 degrees) (Dite & นาผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุในชุมชน และผู้ที่มีความรู้และ
Temple, 2002) โดยบอกให้ผู้สูงอายุหมุนรอบตัวใน สามารถให้ข้อมูล (Key informants) รวมทั้งเก็บ
ข้ างที่ ถนั ดให้ เร็ วที่ สุ ดเท่ าที่ จะท าได้ โดยจั บเวลา รวบรวมข้อมูลต่างๆจากบันทึกที่มีอยู่แล้วในชุมชน
ตั้งแต่ผู้สูงอายุเริ่มหมุนตัวจนสุดท้ายให้ใบหน้าและ จาก ผู้นาชุมชน และพยาบาลที่รับผิดชอบดูแลชุมชน
ลาตัวกลับมาตรงที่เดิมจึงหยุดเวลา บันทึกผลเป็ น ที่ศึกษา
มกราคม – เมษายน 2558 ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 วารสารพยาบาลสาธารณสุข 103

2. ประสานงานแกนนา ขอความร่วมมือใน สมรรถภาพทางกาย ซึ่งผู้สูงอายุมีสิทธิในการปฏิเสธ


การช่ ว ยกิ จ กรรมในการประเมิ น ภาวะสุ ข ภาพ ในการทดสอบสมรรถภาพได้ ทั้ งหมดหรื อสามารถ
ประวัติการหกล้ม พฤติกรรมการออกกาลังกาย และ หยุดการทดสอบได้ ทันทีเมื่อผู้สู งอายุ ต้องการหรื อ
สมรรถภาพทางกายและประชาสัมพันธ์และเชิญชวน เกิดความรู้สึกไม่สบายในการทดสอบ
ให้ผู้สูงอายุในชุมชนเข้าร่วมโครงการฯ 4. ผู้วิจัยจัดสนทนากลุ่มในกลุ่มผู้มีส่วนได้
3. ผู้วิจัยและทีมดาเนินการประเมินภาวะ ส่วนเสียที่เป็นอาสาสมัครในทีมพัฒนาเพื่อประเมิน
สุ ข ภาพฯ ให้ แ ก่ ผู้ สู งอายุ โดยจะเริ่ ม ด าเนิ น การ ผลการด าเนินงานที่ ผ่านมา ปั ญหา อุปสรรค และ
สั ม ภาษณ์ ข้ อ มู ล ส่ ว นบุ ค คล ประวั ติ ก ารหกล้ ม แนวทางแก้ไขในอนาคต
พฤติกรรมการออกกาลังกาย และประเมินความเสี่ยง 5. ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของ
การหกล้ มของผู้ สูงอายุ ในฐานที่ 1 เมื่อสัมภาษณ์ ข้อมูลและนามาวิเคราะห์ข้อมูล
เรียบร้อย วัดความสามารถในการมองเห็น (Visual
การพิทักษ์สิทธิ์ของผู้ให้ข้อมูล
Acuity) (ฐานที่ 2) ทดสอบความแข็ งแรงของ
การเก็บรวบรวมข้อมูล ดาเนินการหลังจาก
กล้ามเนื้อส่วนบน (Handgrip Strength) (ฐานที่ 3)
ได้อนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน
การทดสอบการทรงตัวแบบ static balance (Full
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เลขที่ ID
tandem stand) (ฐานที่ 4) ทดสอบความแข็งแรง
04-56-15 โดยส่ งหนั งสื อและติ ดต่ อประสานงาน
ของกล้ามเนื้อล่าง (Five time sit to stand) (ฐานที่
กับแกนน าโครงการการปู องกั นการพลั ดตกหกล้ ม
5) การทดสอบการทรงตัวแบบ dynamic balance
ชุ ม ชนสุ คั น ธาราม เพื่ อ ชี้ แ จงวั ต ถุ ป ระสงค์ ข อง
(Turn 360 degree) (ฐานที่ 6) และทดสอบ
การศึกษา ก่อนดาเนินการเก็บข้อมูล ผู้เข้าร่วมวิจัย
ความสามารถในการทรงตั วและการเดิ น (Timed
ทุกคนจะได้รับการชี้แจงวัตถุประสงค์ และอธิบาย
“Up & Go” Test) (ฐานที่ 7) ตามวันเวลาที่นัด
ขั้นตอนการเก็ บรวบรวมข้อมู ล โดยผู้เข้ าร่วมวิ จั ย
หมาย ซึ่งจะมีผู้ช่วยวิจัย2 คน ประจาฐานเหล่านั้นซึ่ง
สามารถที่จะตอบรับหรือปฏิเสธในการเข้าร่วมวิจัย
ได้ รับการฝึ กฝนและมีทั กษะในการเก็ บข้ อมู ลที่ ได้
ได้ ต ลอดการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล หากผู้ ร่ ว มวิ จั ย
มาตรฐานแล้ว ในฐานที่มีการทดสอบสมรรถภาพทาง
ยิ นยอมจึ งด าเนิ นการให้ ผู้ เข้ า ร่ วมวิ จั ยลงนามใน
กายจะมีผู้ช่วยวิจัย เพื่อช่วยกันในการเก็บข้อมูลและ
เอกสารยินยอมเข้ าร่ วมวิ จั ยเป็ นลายลักษณ์อั กษร
ปูองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นขณะทาการทดสอบ ซึ่ง
และผู้ เข้ าร่ วมวิ จั ยสามารถหยุ ดให้ ข้ อมู ลได้ ตลอด
ก่อนทาการทดสอบสมรรถภาพทางกายผู้สูงอายุจะ
เวลาที่ ต้ องการ โดยไม่ มี ผลต่ อการบริ การสุ ขภาพ
ได้รับคาแนะนาเกี่ยวกับวิธีการในการทดสอบจนกลุ่ม
และสัมพันธภาพระหว่างผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัย ขณะที่
ตัวอย่างเข้าใจให้ความร่วมมือและทาตามคาสั่งใน
ทาการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้สูงอายุจะได้รับการระมัด
การทาการทดสอบได้ถูกต้องทุ กประการจึงเริ่ มท า
ระวังในการเกิดอุบัติเหตุตลอดระยะเวลาที่ทาการ
การทดสอบ ในขณะที่รอการทดสอบในแต่ละฐานจะ
เก็บข้อมูล
มีเก้าอี้เพื่อให้ผู้สูงอายุนั่งพักระหว่างการรอทดสอบ
โดยจะใช้ระยะเวลาในการเก็บข้อมูลทั้งหมด คนละ การวิเคราะห์ข้อมูล
ประมาณ 30 นาที ผู้วิจัยและผู้ช่วยวิจัยมีการคานึงถึง การวิ เคราะห์ ข้ อมู ล ใช้ ส ถิ ติ เ ชิ งพรรณนา
ความปลอดภั ย ของผู้ สู ง อายุ ต ลอดการทดสอบ ความถี่ และร้ อยละ ในการวิ เ คราะห์ ข้ อมู ลส่ ว น
104 Journal of Public Health Nursing January - April 2015 Vol. 29 No.1

บุ ค คล และประวั ติ ก ารหกล้ ม การเปรี ย บเที ย บ สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ และ อาสาสมัครสาธารณสุข


สมรรถภาพทางกาย ใช้สถิติทดสอบความแตกต่าง เป็ น หลั ก โดยมี พ ยาบาลชุ ม ชนเป็ น ผู้ ช่ ว ยเหลื อ
ชนิดคู่ (Paired-t-test) เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของ ประสานงาน และติ ด ตามประเมิ น ผล รู ป แบบ
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมือ (Handgrip strength) กิจกรรมต่างๆ มีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมบางอย่าง
และ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา (Five time sit จากเดิมและประยุกต์ให้เหมาะกับบริบทของชุมชน
to stand) สถิติ Wilcoxon Signed Ranks Test โดยกิจกรรมส่วนใหญ่สามารถดาเนินการได้ต่อเนื่อง
เพื่อเปรียบเทียบการทรงตัวแบบ dynamic balance กิจกรรมที่ดาเนินการปีละ 1 ครั้ง ได้แก่ การรณรงค์
(Turn 360 degree) และ ความสามารถในการทรง เพื่อปูองกันการหกล้มในชุมชน การประเมินปัจจัย
ตัวและการเดิน (Timed “Up & Go” Test) และ เสี่ยงต่อการหกล้ม และการให้ความรู้ประจาปี มีการ
สถิติ McNemar Test เพื่อเปรียบเทียบการทรงตัว จั ดในวั นประชุ มประจ าปี ของชมรมผู้ สู งอายุ โดย
แบบ static balance (Full tandem stand) ด้าน อาศั ยความร่ วมมื อจากศู นย์ บริ การสาธารณสุ ขที่
ข้อมูลเชิงคุณภาพ ที่ได้มาจากการ การประชุมกลุ่ม รับผิดชอบมาช่วยประเมินภาวะสุขภาพและการพลัด
การสังเกต และการจดบันทึกภาคสนาม ใช้วิธีการ ตกหกล้ ม วิ ทยากรภายนอกมาให้ ความรู้ เกี่ ยวกั บ
วิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) เพื่ออธิบาย การปู องกั นการหกล้ ม แต่ อย่ างไรก็ ตามทางด้ าน
สถานการณ์ จริ งที่ พบและสร้ างภาพความสั มพั นธ์ การประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้มบางปัจจัย ไม่ได้
และแนวทางในการพัฒนาในการศึกษาครั้งนี้ มีการประเมินประจาปีที่ชัดเจน ได้แก่ การประเมิน
สายตาและการประเมิ น สิ่ ง แวดล้ อ มในชุ ม ชน
ผลการศึกษา ทางด้ านสมรรถภาพทางกาย จะประเมิ นในวั นที่
กระบวนการในการดาเนินงานการป้องกันการพลัด ผู้สูงอายุมาออกกาลังกายโดยพยาบาลสาธารณสุข
ตกหกล้ม ทางด้านกิจกรรมเยี่ยมบ้าน ได้รับความร่วมมือจาก
การทาสนทนากลุ่ม (Focus group) ในกลุ่ม พยาบาลสาธารณสุขที่รับผิดชอบดูแล ซึ่งสอดแทรก
แกนนาโครงการปูองกันการพลัดตกหกล้ม จานวน เข้ าไปอยู่ ใ นงานเยี่ ย มบ้ า นที่ เ ป็ นงานประจ าของ
14 คน และพยาบาลสาธารณสุ ข จ านวน 1 คน พยาบาลสาธารณสุข โดยเพิ่มเติมการประเมินการ
สามารถวิ เคราะห์ ข้ อมู ลเชิ งเนื้ อหาออกมาเป็ น 5 หกล้ม การใช้ยาและการประเมินสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง
ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) รูปแบบการดาเนินกิจกรรม ให้ ค าแนะน าในการปฏิ บั ติ ตั ว และปรั บ เปลี่ ย น
2) การเข้าร่วมกิจกรรมของผู้สูงอายุ 3) องค์ประกอบ สิ่งแวดล้อม ซึ่งผู้สูงอายุจะได้รับการเยี่ยมบ้านอย่าง
ที่ ส าคั ญในการด าเนิ นกิ จกรรมและปั จจั ยที่ ท าให้ น้ อยปี ละ 1 ครั้ ง กิ จกรรมการออกก าลั งกายเป็ น
ประสบความสาเร็จ และ 4) ข้อจากัดในการดาเนิน กิจกรรมที่ประสบความสาเร็ จและมีความต่อเนื่อง
กิ จกรรม 5) สิ่ งที่ ต้ องการพั ฒนาในการด าเนิ น โดยมีการออกกาลังกาย 2 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยแกน
กิจกรรม ซึ่งมีรายละเอียดแต่ละประเด็น ดังนี้ นาเป็นคนนาในออกกาลังกายอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่า
1. รูปแบบการดาเนินกิจกรรม จะมีการปรับเปลี่ยนวันและสถานที่ในการออกกาลัง
รูปแบบกิ จกรรมปู องกั นการพลั ดตกหกล้ ม กายเพื่อความเหมาะสม และยังมีผู้สูงอายุมาเข้าร่วม
ของผู้ สู งอายุ ในชุ มชนนี้ พั ฒนามาจากผู้ สู งอายุ ใน กิ จกรรมนี้ อย่ างต่ อเนื่ อง โดยแกนน าได้ มี การจั ด
ชุมชน และมี การด าเนิ นงานต่อเนื่ องมาเป็ นระยะ กิจกรรมเพิ่มเติมหลังการออกกาลังกายในวันพิเศษ
เวลา 3 ปี โดยแกนนาโครงการฯ ซึ่ งประกอบด้วย ต่างๆ เช่น วันปีใหม่ วันสงกรานต์ เป็นต้น ด้านระบบ
มกราคม – เมษายน 2558 ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 วารสารพยาบาลสาธารณสุข 105

การเฝูาระวังการพลัดตกหกล้ม ถึงแม้ได้มีการสร้าง 3.1 บุคลากร ได้แก่ แกนนา ประธานชมรม


แบบฟอร์ มในการบั นทึ กการหกล้ ม แต่ เนื่ องจาก ผู้สูงอายุ และพยาบาลสาธารณสุข
จานวนคนหกล้มค่อนข้างน้อยทาให้ไม่มีการบันทึก - ลัก ษณะแกนน าที่ ด าเนิ นโครงการ
อย่างเป็นทางการโดยแกนนาผู้สูงอายุ แต่เมื่อพบการ ความมีจิตอาสาของแกนนา ที่มีความเสียสละ และ
หกล้ ม แกนน าจะรายงานพยาบาลสาธารณสุ ขที่ มีน้าใจ ในการดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน รวม
รั บ ผิ ด ชอบเพื่ อ มาประเมิ น เยี่ ย มบ้ า นและให้ ทั้ งสั ม พั น ธภาพของกลุ่ ม แกนน าที่ มี ค วามผู ก พั น
ค าแนะน าเพิ่ มเติ ม โดยคนที่ เก็ บข้ อมู ลอย่ างเป็ น และสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน ทาให้สามารถดาเนิ น
ทางการจะเป็นพยาบาลสาธารณสุขที่รับผิดชอบ กิจกรรม ได้อย่างราบรื่น นอกจากนี้ลักษณะของ
2. การเข้าร่วมกิจกรรมของผู้สูงอายุ หัวหน้า แกนนา ที่เป็นที่เคารพและเป็นศูนย์กลางให้
ในการด าเนิ น งานมาตลอด 3 ปี มี ก าร กับแกนนาด้วยกัน เนื่องจากมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
เปลี่ยนแปลงของจานวน เข้า-ออกของสมาชิก โดยมี โอบอ้อมอารี ทาให้สามารถรวมกลุ่มแกนนาไว้ได้
จานวนผู้เข้าร่วมโครงการที่ออกจากโครงการจานวน อย่างเหนียวแน่น
5 คน จากการเสียชี วิต 3 คน (อายุ เฉลี่ ย 81.66 ปี - ประธานชมรมผู้สูงอายุเป็นไวยาวัจกร
โดยเสียชีวิต จากโรคมะเร็ง หลอดเลือดสมอง และ เป็นที่เคารพของชาวบ้ านและผู้ สูงอายุ ชุมชน เป็ น
เบาหวาน) ปัญหาสุขภาพ 1 คน และย้ายบ้าน 1 คน บุ คคลหลั กในการประสานงานกั บหน่ วยงานและ
อย่ างไรก็ ตามมี สมาชิ กใหม่ ที่ เข้ ามาร่ วมกิ จกรรม แหล่งประโยชน์ชุมชน เช่น การจัดหาสถานที่ในการ
จานวน 5 คน จากการชักชวนของแกนนา และการ ออกกาลังกาย เครื่องเสียง เก้าอี้ เป็นต้น รวมทั้งหา
ประชาสัมพันธ์ โครงการประจาปี ในงานประชุ มฯ แหล่งเงินทุนสนับสนุนในกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ
ของชมรมผู้สูงอายุทุกปี และกิจกรรมโครงการฯ
จานวนผู้ สูงอายุ ที่ยังเข้ าร่วมกิจกรรมอย่าง - พยาบาลสาธารณสุข มีความสาคัญ
ต่อเนื่อง ภายหลังสิ้นสุดโครงการไปแล้ว มีจานวน ในการช่วยเหลือและสนับสนุนทาให้โครงการประสบ
28 คน แต่ในกิจกรรมของการออกกาลังกายซึ่งต้อง ความสาเร็จและต่อเนื่อง ทั้งการประสานงาน และให้
เข้าร่วม 2 ครั้งต่อสัปดาห์ พบว่าคนทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรม ค าปรึ กษา และผู้ ด าเนิ นการหลั กในบางกิ จกรรม
ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ 17 คน คิดเป็นร้อยละ ได้แก่ การประเมินปัจจัยเสี่ยง การให้ความรู้ และ
60.71 ซึ่งสาเหตุที่ทาให้ผู้สูงอายุบางท่านไม่สามารถ การเยี่ยมบ้าน
มาเข้าร่วมกิจกรรมออกกาลังกายได้อย่างต่อเนื่อง 3.2 รูปแบบการดาเนินงานและการบริหาร
เนื่ องจาก มี ภารกิ จต่ างๆเข้ ามาหลั งจบโครงการฯ จัดการ
ได้แก่ การรับจ้างดูแลผู้ปุวยในชุมชน ขายของ เลี้ยง - รูปแบบกิจกรรมที่พัฒนาขึ้นมีความ
หลาน เป็นต้น สอดคล้องกับความต้องการของผู้สูงอายุและบริบท
3 องค์ประกอบที่สาคัญในการดาเนินกิจกรรม ของชุ มชน ท าให้ สามารถด าเนิ นกิ จกรรมได้ อย่ าง
และปัจจัยที่ทาให้ประสบความสาเร็จ ต่อเนื่ อง เช่น กิ จกรรมการออกก าลั งกายต้องเป็ น
จากการสนทนากลุ่มระหว่างแกนนาและผู้มี กิ จ กรรมที่ ผู้ สู งอายุ สามารถท าได้ จ ริ ง เพราะถ้ า
ส่วนได้ส่วนเสีย พบว่า องค์ประกอบที่สาคัญที่ทาให้ ผู้ สู งอายุ มี ความล าบากหรื อไม่ สามารถท าได้ จริ ง
สามารถด าเนินกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่ อง สามารถ ผู้สูงอายุจะรู้สึกกลัว อาย และไม่อยากทา ทาให้ไม่
แบ่งเป็น 4 ประเด็นหลัก ดังนี้ อยากมาออกกาลังกายอีก
106 Journal of Public Health Nursing January - April 2015 Vol. 29 No.1

- รูปแบบกิจกรรมที่มีการปรับเปลี่ยน การประเมิ น ปั จ จั ย เสี่ ย ง พยาบาลสาธารณสุ ข ที่


ตามความเหมาะสมทาให้โครงการฯสามารถดาเนิน รั บ ผิ ด ชอบพื้ น ที่ และวิ ท ยากรในการให้ ค วามรู้
ต่อไปได้ เช่น การเปลี่ยนวัน และสถานที่ในการออก ทางด้ า นทรั พ ย์ สิ น ส่ ว นพระมหากษั ต ริ ย์ และ
กาลังกาย เนื่องจากมีการปรับปรุงสถานที่ โดยมีการ ภาคเอกชนจะสนั บ สนุ น การจั ด กิ จ กรรมเสริ ม
นัดหมายล่วงหน้า การสอดแทรกกิจกรรมการเยี่ยม เพิ่มเติมในโอกาสสาคัญเป็นครั้งคราว
บ้านเพื่อปูองกันการหกล้ มเข้ า ไปในงานเยี่ยมบ้าน 3.4 การรั บรู้ ประโยชน์ของกิ จกรรม การ
ประจาของพยาบาลสาธารณสุข เป็นต้น รับรู้ประโยชน์ของแกนนาฯและพยาบาลสาธารณสุข
- การมีกิจกรรมเสริมในเทศกาลต่างๆ ทาให้แกนนาฯและพยาบาลตระหนักถึงความสาคัญ
เช่น วันปีใหม่ วันสงกรานต์ ในวันที่มีการออกกาลัง ในการด าเนิ นกิ จกรรมปู องกั นการหกล้ ม มี ความ
กาย เป็นการสร้างการมีสัมพันธภาพที่ ดี และเป็ น ร่วมมือและช่วยเหลือเพื่อให้กิจกรรมมีความต่อเนื่อง
แรงจูงใจให้ผู้สูงอายุมาออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ นอกจากนี้เสียงสะท้อนของผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ดี ทา
- การบริ ห ารจั ด การ ไม่ ไ ด้ มี ก าร ให้แกนนาฯและพยาบาลสาธารณสุขรู้สึกภาคภูมิใจที่
มอบหมาย หน้ า ที่ ใ นแต่ ล ะวั น อย่ า งชั ด เจน เป็ น สามารถช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชนได้และอยากจะ
เพี ย งการพู ด จาตกลงกั นก่ อ นการออกก าลั งกาย ดาเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ทางด้านผู้สูงอายุที่เข้า
งบประมาณในการบริหารจัดการกิจกรรมการออก ร่วมโครงการ ได้มองเห็นประโยชน์ที่ทาให้สุขภาพ
กาลังกาย เป็นเงินที่ได้จาก อาสาสมัครสาธารณสุข ตนเองดี ขึ้ น รู้ สึ กแข็ งแรง ผู้ สู งอายุ รู้ สึ กมี ความสุ ข
ที่อยู่ในกลุ่ม เป็นการช่วยเหลือคนละไม้ คนละมือ เวลามาเข้าร่วมกิจกรรมออกกาลังกาย เนื่องจากได้
เช่น น้าดื่ม พบปะ พูดคุย การมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน ทาให้เป็น
3.3 งบประมาณและแหล่งประโยชน์ แรงจูงใจให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
งบประมาณที่ ม าใช้ ด าเนิ น การใน 4. ข้อจากัดในการดาเนินกิจกรรม
ปัจจุบันส่วนใหญ่มาจากผู้สูงอายุและแกนนา ไม่ มี วิถีชีวิตของคนเมืองที่ต่างคนต่างอยู่ ผู้สูงอายุ
หน่ ว ยงานต่ า งๆที่ ใ ห้ ง บประมาณในการด าเนิ น บางส่วนเป็นประชากรแฝง ทาให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
กิจกรรมอย่ างต่อเนื่อง ในการด าเนินกิ จกรรมการ ค่อนข้างน้อย ความไว้วางใจของคนในชุมชนในการ
ออกกาลังกาย จะเป็นการช่วยเหลือกันเองของกลุ่ม ร่วมมือและเข้าร่วมกิจกรรม เช่น การเยี่ยมบ้าน และ
แกนน าและผู้ สู ง อายุ ที่ มี น้ าใจในการสนั บ สนุ น กิ จ กรรมการออกก าลั ง กาย เนื่ อ งจากผู้ สู ง อายุ
กิจกรรมเนื่องจากไม่ต้องใช้งบประมาณที่สูงในการ บางส่วนขาดความเชื่ อถื อแกนนา ต้องอาศั ยความ
บริหารจัดการ เช่น การเอื้อเฟื้อเครื่องเสียง สถานที่ น่ า เชื่ อ ถื อ ของเจ้ า หน้ า ที่ ด้ า นการปรั บ เปลี่ ย น
และค่าไฟฟูา การนาขนมและน้า มาแบ่งปันในช่วง สิ่งแวดล้อมภายในบ้านยั งเป็นเรื่ องยาก เนื่ องจาก
การออกก าลั งกายแต่ ละครั้ง เป็ นต้ น ซึ่ งแกนน าฯ ขึ้นอยู่ กั บครอบครั วเพราะผู้ สู งอายุ ส่ วนมากเป็ นผู้
รู้สึกว่างบประมาณในการดาเนินกิจกรรมดังกล่าว อาศัย รวมทั้งปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ
เพี ย งพอและสามารถบริ ห ารจั ด การได้ แหล่ ง ชุมชนเมืองที่ค่อนข้างแออัด ในขณะที่สิ่งแวดล้อมใน
ประโยชน์ ที่ ส าคั ญในการด าเนิ นโครงการ ได้ แ ก่ ชุ ม ชนไม่ ป ระสบความส าเร็ จ เนื่ อ งจากข้ อ จ ากั ด
ศู น ย์ บ ริ ก ารสาธารณสุ ข ที่ รั บ ผิ ด ชอบในการ ทางด้านงบประมาณของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ดาเนินการสนับสนุนด้านบุคลากรและเครื่องมือใน
มกราคม – เมษายน 2558 ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 วารสารพยาบาลสาธารณสุข 107

5. แนวทางการพัฒนาในการดาเนินกิจกรรม กาลังกาย พบว่ามีผู้สูงอายุที่มาเข้าร่วมกิจกรรมนี้ใน


การสร้างแรงจูงใจให้ผู้สูงอายุในชุมชนมาร่วม แต่ละวัน มีจานวน 17 ถึง 28 คน โดยผู้สูงอายุที่ออก
กิจกรรมเพิ่มมากขึ้น การมีหน่วยงานเข้ามาสนับสนุน กาลังกายเป็นประจามี จานวน 17 คน แต่อย่างไรก็
กิจกรรมและงบประมาณเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะการ ตาม เนื่ องจากในจ านวนนี้ มี สมาชิ กใหม่ ที่ มาออก
ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมภายในบ้านและในชุมชน การ กาลังกายหลังจากสิ้นสุดโครงการแล้วจานวน 5 คน
ประสานงานและร่วมมือของบุคลากรด้านต่างๆ ที่ ซึ่ งขาดข้ อมู ลทางด้ านสมรรถภาพทางกายตั้ งแต่
เกี่ ยวข้องลงพื้ นที่ และจั ดกิจกรรมให้ ผู้สู งอายุ เช่ น เริ่มแรก ดังนั้น จึงนาเฉพาะข้อมูลที่มี มาวิเคราะห์
การตรวจตาอย่างละเอียดและการรักษา การเข้ามา ข้อมูล ดังนี้
ช่วยปรับสิ่งแวดล้อมภายในบ้านและชุมชน เป็นต้น กลุ่มตัวอย่าง จานวน 12 คน มีอายุตั้งแต่ 67
ประสิทธิผลของโปรแกรมต่อการหกล้มและ ถึง 89 ปี โดยมีค่าอายุเฉลี่ย 75.58 ± 6.97 ปี เป็น
สมรรถภาพทางกาย เพศหญิง 10 ราย (ร้อยละ 83.3) และเพศชาย 2 ราย
ข้อมูลทั่วไป (ร้อยละ 16.7) กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 50 มีสถานภาพ
ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมโครงการฯ จานวน สมรส หม้าย หย่ า แยก รองลงมา ร้อยละ 41.7 มี
28 ราย มีอายุตั้งแต่ 60 ถึง 89 ปี โดยมีค่าอายุเฉลี่ย สถานภาพสมรสคู่ พบว่ าร้ อยละ 75 ไม่ ได้ ท างาน
74.32±7.54 ปี เป็นเพศหญิง 19 ราย (ร้อยละ 67.9) ร้อยละ 58.3 อาศัยอยู่กับบุตรหลาน ร้อยละ 66.7 มี
และ เพศชาย 9 ราย (ร้อยละ 32.1) กลุ่มตัวอย่าง สิทธิ ประกันสุขภาพ ร้อยละ 91.7 มีโรคประจ าตั ว
ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 60.7 รองลงมา และประวัติการใช้ยาเป็นประจา
เป็ น หม้ า ย หย่ า แยก ร้ อ ยละ 32.1 อาชี พ ที่ พ บ ผลการศึ ก ษา พบว่ า ระดั บ สมรรถภาพ
ส่วนใหญ่ ไม่ได้ทางาน ร้อยละ 75 ร้อยละ 50 อาศัย ทางกายของผู้ สู งอายุ ที่ เ ข้ าร่ วมกิ จกรรมการออก
อยู่กับบุตรหลาน ร้อยละ 75 มีสิทธิประกันสุขภาพ กาลังกายสม่าเสมอเป็นระยะเวลา 3 ปี ดีขึ้นกว่าก่อน
และร้อยละ 17.9 มีสิทธิเบิกข้าราชการ ร้อยละ 69.3 เข้าร่วมโครงการ โดยผู้สูงอายุใช้เวลาในการทาการ
มีโรคประจาตัวและประวัติการใช้ยาเป็นประจา ทดสอบน้ อยกว่าก่ อนเข้าร่ วมกิ จกรรมซึ่ งหมายถึ ง
ข้อมูลด้านการหกล้ม ผู้สูงอายุ มีสมรรถภาพทางกายที่ดี ขึ้น ได้แก่ ความ
หลังจากดาเนินโครงการฯ เป็นระยะเวลา 3 แข็งแรงของกล้ามเนื้อขา (Five time sit to stand)
ปี พบว่ าผู้ สู งอายุ ที่ เข้ าร่ วมโครงการมี การหกล้ ม (t = 3.952, p-value < .01) ความสามารถในการ
จานวน 2 คน คิดเป็ น ร้อยละ 7.14 ซึ่งสาเหตุจาก ทรงตัว และการเดิน (Timed “Up & Go” Test)
การหกล้มเกิ ดจากลื่ นล้ มหน้าบ้านจากรี บเข้าบ้าน (z = 3.061, p-value <.01) และ การทรงตัวแบบ
ขณะฝนตก และการสะดุดล้ม และได้รับการบาดเจ็บ dynamic balance (Turn 360 degree) (z = 1.961,
เล็กน้อย โดยรักษาเองที่บ้าน p-value < .05) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
ข้อมูลด้านสมรรถภาพทางกาย .01 .01 และ .05 ตามลาดับ อย่างไรก็ตามพบไม่พบ
สมรรถภาพทางกายของผู้ สู งอายุ มี ค วาม ความแตกต่ างของสมรรถภาพทางกายด้ านความ
สัมพันธ์กับการออกกาลังกายอย่างต่อเนื่อง ในการ แข็งแรงของกล้ามเนื้อมือ (Handgrip Strength)
ประเมินสมรรถภาพทางกาย จึงวิเคราะห์ข้อมูลใน และ การทรงตัว static balance (Full tandem
รายที่มีการเข้าร่วมกิจกรรมการออกกาลังกายอย่าง stand). (ดังตารางที่ 1)
ต่ อเนื่ อง จากข้ อมู ลการเข้ าร่ วมกิ จกรรมการออก
108 Journal of Public Health Nursing January - April 2015 Vol. 29 No.1

ตารางที่ 1 แสดงสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมออกกาลังกาย 3 ปี (n=12)


สมรรถภาพทางกาย Mean ± SD Test P-Value
ก่อนเข้าร่วม หลังเข้าร่วม (3 ปี) Statistics
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (กิโลกรัม) 20.63±6.71 19.25±5.48 1.094 NS
(Handgrip strength)
การทดสอบลุกนั่ง 5 ครั้งติดต่อกัน (วินาที) 17.10±6.78 12.45±3.55 3.952 < .01
(Five time sit to stand)
การประเมินการทรงตัวและการเดิน (วินาที) 15.54±5.44 12.33±4.87 3.061 a < .01
(Timed “Up & Go” Test)
หมุนรอบตัว 360 องศา (วินาที) 4.25±2.26 3.51±1.33 1.961 a < .05
(Turn 360 degree)
การยืนต่อขาใน 10 วินาที (ทาไม่ได้)b NS
(Full tandem stand)
a b
Wilcoxon signed Ranks Test McNemar Test

อภิปรายผล สาธารณสุข ซึ่งเห็นความสาคัญและให้ความร่วมมือ


จากวิเคราะห์กระบวนการดาเนินงานของ ในการดาเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสอดคล้องกับ
รูปแบบการปูองกันพลัดตกหกล้ม พบว่าเป็นรูปแบบ งานวิ จัยที่ ผ่ านมาที่ พบว่ า เจ้ าหน้ าที่ และบุคลากร
ที่มีความยั่ งยื น โดยเป็นการดาเนิ นงานที่ประสาน เป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งเสริมให้กิจกรรมหรือโปรแกรม
ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งผู้ สู ง อายุ แ ละพยาบาล มีความยั่งยืน (Hacker et al., 2012; Hanson, &
สาธารณสุขในชุมชนเป็นหลัก โดยกิจกรรมที่ผู้สูงอายุ Salmoni, 2011; Lovarini, Clemson, & Dean,
สามารถดาเนินการได้ด้วยตนเอง ได้แก่ การรณรงค์ 2013; Peel, Travers, Bell, & Smith, 2010)
ปูองกันการหกล้ม กิจกรรมการออกกาลังกาย และ นอกจากแกนน า และพยาบาลสาธารณสุ ข จะ
การเฝู า ระวั ง การหกล้ ม ในชุ ม ชน ในขณะที่ บ าง มองเห็นประโยชน์ ในการทากิจกรรมดั ง กล่าวแล้ ว
กิจกรรมต้องได้รับการสนับสนุนและช่วยเหลือจาก พบว่าแกนนาฯ ส่วนใหญ่จะทาหน้าที่เป็นอาสาสมัคร
พยาบาลสาธารณสุข ได้แก่ การประเมินความเสี่ยง สาธารณสุขร่วมด้วยซึ่งก็เป็นส่วนหนึ่งของหน้าที่ใน
ต่ อการหกล้ ม การให้ ค วามรู้ และการเยี่ ยมบ้ า น การช่วยดูแลสุขภาพของคนในชุมชน และพยาบาล
รวมทั้งการติ ดตามประเมินผลการดาเนินกิ จกรรม สาธารณสุขที่สอดแทรกงานเยี่ยมบ้านซึ่งเป็นบทบาท
ของผู้สูงอายุเป็นระยะๆ โดยปัจจัยที่ส่งเสริมทาให้ ที่ ท าเป็ นประจ า รวมทั้ งการจั ดกิ จ กรรมส่ งเสริ ม
การด าเนิ น กิ จ กรรมมี ค วามต่ อ เนื่ อ งและยั่ ง ยื น สุขภาพให้ผู้ สูงอายุ ในชุมชน จึงทาให้กิ จกรรมเกิ ด
ประกอบด้วย ความต่อเนื่อง ซึ่งก็สอดคล้องกับงานวิจัยที่ผ่านมา
1. ความร่วมมือของเจ้าหน้าที่และบุคลากร ซึ่งพบว่าการสอดแทรกกิจกรรมของโปรแกรมเข้าสู่
ในการดาเนินกิจกรรม ได้แก่ แกนนาฯ และพยาบาล งานประจ าก็ จ ะท าโปรแกรมนั้ น ๆ ให้ เ กิ ด ความ
มกราคม – เมษายน 2558 ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 วารสารพยาบาลสาธารณสุข 109

ต่อเนื่อง (Barnett et al., 2004; Pluye, Potvin, & งบประมาณเป็นอุปสรรคในการดาเนินกิจกรรมให้


Denis, 2004) ดังนั้นหากสามารถกระตุ้นให้ผู้สูงอายุ เกิดความยั่งยืน (Hanson, & Salmoni, 2011; Peel,
และพยาบาลสาธารณสุขได้เล็งเห็นความสาคัญและ Travers, Bell, & Smith, 2010) ซึ่งผลจากการ
ประโยชน์ ข องกิ จ กรรมโครงการต่ า งๆ ก็ น่ า จะ วิจัยแสดงให้เห็นว่า การขาดงบประมาณสนับสนุน
สามารถสร้างความยั่งยืนให้โปรแกรมนั้นๆ ได้ ท าให้ กิ จ กรรมบางอย่ า งขาดความต่ อ เนื่ อ ง เช่ น
2. รูปแบบการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับ การปรับสภาพแวดล้อมภายในชุมชน แต่อย่างไร
ความต้ องการของผู้ สูงอายุ และบริบทของชุ มชน ก็ตามบางกิจกรรม เช่น การออกกาลังกาย อาจ
รวมทั้งสามารถปรับ เปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ ที่ ต้องการการสนับสนุนในช่วงแรก จากเครือข่ายที่
เปลี่ยนแปลงไป ทาให้การดาเนินกิจกรรมเกิดความ เกี่ ย วข้ อ งและภาคเอกชน ในด้ า นอุ ป กรณ์ เช่ น
ยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Wiltsey และ เก้าอี้ รองเท้า เป็น ต้น (Kittipimpanon, Amnat-
คณะ ที่ พบว่า กิจกรรมที่สอดคล้องกับบริ บทของ satsue, Kerdmongkol, Maruo, & Nitayasuddhi,
ชุมชนนั้นๆ (Wiltsey, Kimberly, Cook, Calloway, 2012) แต่ ใ นการด าเนิ น กิ จ กรรมภายหลั ง อาจ
Castro, & Charns, 2012) และปรับเปลี่ยนได้ สามารถบริ ห ารจั ด การได้ เ องโดยไม่ รู้ สึ ก ว่ า มี
(Peel, Travers, Bell, & Smith, 2010) จะทาให้ ผลกระทบต่ อการด าเนิ นกิ จกรรมรวมทั้ งกิ จกรรม
กิจกรรมเกิดความยั่งยืน รวมทั้งการมีผู้นาที่ชัดเจน บางอย่างสามารถสอดแทรกไปกับกิจกรรมประจ า
และเป็นที่เคารพของแกนนาด้วยกัน ก็จะช่วยลด ของหน่ ว ยงานนั้ น ๆ เช่ น การประเมิ น สุ ข ภาพ
อุปสรรคในการดาเนินงานได้ (Goodwin, Jones- ผู้ สู งอายุ ประจ าปี ซึ่ งสามารถน าเอาการประเมิ น
Hughes, Thompson-Coon, Boddy, & Stein, 2011; ปั จจั ยเสี่ ยงต่ อการหกล้ มเข้ าไปได้ ก็ จะท าให้ เกิ ด
Hanson, & Salmoni, 2011) ผลการศึกษาแสดงให้ ความยั่งยืนได้ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Pluye
เห็นการสร้างกิจกรรมโดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม และ คณะ ที่ พ บว่ า การน ากิ จ กรรมเข้ า ไปสู่ งาน
ในการออกแบบให้เหมาะกับความต้องการและบริบท ประจ าในองค์ กรนั้ นได้ ก็ จะท าให้ กิ จกรรมนั้ นๆมี
ของชุ มชนนั้ นจะน าไปสู่ ความยั่ งยื นของกิ จกรรม ความยั่งยืนของกิจกรรมในระดับสูง (Pluye, Potvin,
โดยควรมีผู้นาที่ชัดเจนในการดาเนินการ & Denis, 2004) โดยอาจไม่ต้องของบประมาณใน
3. การรั บ รู้ ป ระโยชน์ ข องกิ จ กรรม จาก การสนับสนุนในกิจกรรมนั้นก็ได้
ผลการวิ จั ยพบว่ า แกนน าฯ พยาบาลสาธารณสุ ข ข้อจากัดในการมีส่วนร่วมและความต่อเนื่อง
และผู้ สูงอายุที่ เข้าร่วมกิจกรรมรับรู้ ประโยชน์ของ ของผู้สูงอายุในกิจกรรมการปูองกันการพลัดตกหก
กิจกรรม ซึ่งทาให้กิจกรรมนี้เกิดความต่อเนื่องและ ล้มที่สาคัญ คือ จานวนของผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรม
ยั่งยืน (Goodwin, Jones-Hughes, Thompson- โดยเฉพาะกิจกรรมการออกกาลังกาย พบว่าผู้สูงอายุ
Coon, Boddy, & Stein, 2011; Lovarini, Clemson, จานวนหนึ่งไม่มาเข้าร่วมโครงการเนื่องจากวิถีชีวิต
& Dean, 2013) การกระตุ้นให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ของคนเมืองที่ต่างคนต่างอยู่ และความไว้วางใจของ
เห็ นประโยชน์ ของกิ จกรรมจะท าให้ กิ จกรรมนั้ นๆ คนในชุมชน ซึ่งส่วนมากเป็นประชากรแฝงและอาศัย
เกิดความร่วมมือและมีความยั่งยืน อยู่ในชุมชนไม่นาน ในทางกลับกันก็พบว่า ผู้สูงอายุที่
4. งบประมาณและแหล่ งประโยชน์ จาก เข้ามาร่วมกิจกรรมส่วนมากเป็นผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่
การศึ กษาที่ ผ่ านมา พบว่ า การขาดการสนั บสนุ น ในชุมชนเป็นระยะเวลายาวนาน มีสัมพันธภาพที่ดี
110 Journal of Public Health Nursing January - April 2015 Vol. 29 No.1

ต่อคนในชุมชน และเป็นสมาชิกชมรมผู้ สูงอายุ ซึ่ ง ควบคุมอัตราการหกล้มและลดการบาดเจ็บจากการ


สอดคล้องกับงานวิจัยของ ผจงจิต ไกรถาวร สุวัจนา หกล้มผู้สูงอายุได้ โดยพบอัตราการเกิดการหกล้ ม
น้อยแนม และ นพวรรณ เปี ยซื่ อ (2556) ที่ พบว่ า ที่คงที่ (Kittipimpanon, Amnatsatsue, Kerd-
ชุมชนในกรุงเทพมหานคร จะมีความรู้สึกเป็นส่วน mongkol, Maruo, & Nitayasuddhi, 2012) ซึ่ง
หนึ่งของชุมชนต่ ากว่าในเขตปริ มณฑล นอกจากนี้ สอดคล้ องกั บงานวิ จั ยที่ ผ่ านมาว่ าการปู องกั นการ
ผู้ สู ง อายุ ที่ อ าศั ย อยู่ ใ นชุ ม ชนที่ อ ยู่ ใ นชุ ม ชนใน หกล้มหลายปัจจัยมีประสิทธิภาพในการปูองกันการ
ระยะเวลาสั้น ก็จะจะมีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของ หกล้ม (Clemson, Cumming, Kending, Swann,
ชุมชนต่า ซึ่ งทาให้ ขาดปฏิ สัมพั นธ์กั บคนในชุ มชน Heard, & Taylor,2004; Day, Fildes, Gordon,
(ผจงจิต ไกรถาวร และ นพวรรณ เปียซื่อ, 2556) ซึ่ง Fitzharris, Flamer, & Lord, 2002) ทางด้าน
แสดงให้เห็นว่าการขาดความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของ สมรรถภาพทางกายสอดคล้องกับงานวิจัยที่ผ่านมาที่
ชุมชนมีผลต่อการเข้าร่วมกิจกรรมและความยั่งยืน พบว่าการออกกาลังกายเพื่อเพิ่มการทรงตัวสามารถ
ของการดาเนินกิจกรรม อีกส่วนหนึ่งที่เป็นเหตุผลใน เพิ่มสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับการหกล้มได้
การไม่เข้าร่วมกิจกรรมเนื่องจากติดภาระกิจส่วนตัว (Barnett, Smith, Lord, Williams, & Baumand,
ได้แก่ การทางานรับจ้าง การเลี้ยงบุตรหลาน เป็นต้น 2003; Lord et al., 2003) โดยเพิ่มความแข็งแรง
ซึ่งในกลุ่มนี้ควรมีการส่งเสริ มการออกก าลั งกายที่ ของกล้ามเนื้อส่วนล่าง ความสามารถในการทรงตัว
บ้านด้วยตนเองและมีการติดตามการออกกาลังกาย แบบ dynamic ความสามารถในการเดินและการ
เพื่ อ เกิ ด แรงจู ง ใจในการออกก าลั ง กาย ด้ า น ทรงตัว ซึ่งแสดงให้เห็นการออกกาลังกาย เพื่อเพิ่ม
สิ่ ง แวดล้ อ มในชุ ม ชนและบ้ า นต้ อ งอาศั ย ความ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเป็นกิจกรรมที่สามารถ
ตระหนักถึงความสาคัญของครอบครัวผู้สูงอายุ ใน ดาเนิ นการได้ เองโดยผู้ สูงอายุ มี ความยั่ งยื น และ
การปรั บเปลี่ ยนจึ งประสบความส าเร็ จ เนื่ องจาก สามารถเพิ่มสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับการหก
ผู้สูงอายุส่วนมาอาศัยอยู่กับบุตรหลาน และรายได้ ล้มและเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยปูองกันการหกล้มใน
ของครอบครั วส่ วนใหญ่ ได้ มาจากบุ ตรหลาน การ ผู้สูงอายุได้
ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมจึงต้องอาศัยคนในครอบครัว
เห็นถึงความสาคัญ และช่วยเหลือในการปรับเปลี่ยน ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเศรษฐานะของครอบครัวนั้นๆ ร่วมด้วย 1. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ควรมีนโยบาย
นอกจากนี้การมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน ให้หน่วยงานต่างๆ ตระหนักถึงความสาคัญของการ
การช่ วยเหลือปรั บสภาพแวดล้ อมก็ มีความส าคั ญ พลั ดตกหกล้ มในผู้ สู งอายุ การจั ดอบรมให้ ความรู้
การกระตุ้ น ให้ ห น่ ว ยงานได้ เ ล็ งเห็ น ความส าคั ญ เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงและการปูองกั นการหกล้มของ
สามารถทาได้ แต่มีข้อจากัดเรื่องงบประมาณในการ ผู้สู งอายุ ในชุมชน และด าเนิ นงานร่ วมกั น องค์ กร
ดาเนินการแก้ไขในแต่ละปี ทาให้การดาเนินงานเพื่อ ปกครองส่วนท้องถิ่นควรมีนโยบายเรื่องสิ่งแวดล้อมที่
แก้ไขสิ่งแวดล้อมต่างๆเป็นไปได้ยาก เป็นมิตรกับผู้สูงอายุทั้งในบ้านและที่สาธารณะ เพื่อ
ด้ านประสิ ทธิ ภาพของรู ปแบบการปู องกั น สนับสนุนงบประมาณในการจัดการสิ่งแวดล้อมทั้งใน
การหกล้มต่ออั ตราการหกล้มและสมรรถภาพทาง บ้านและในชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมในรายที่มีความ
กายในระยะยาว พบว่ า รู ปแบบดั งกล่ าวสามารถ เสี่ยงสูง
มกราคม – เมษายน 2558 ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 วารสารพยาบาลสาธารณสุข 111

2. ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการ รูปแบบการ เอกสารอ้างอิง


ปูองกันการพลัดตกหกล้มในชุมชนนี้ สามารถนาไป สานักงานสารวจสุขภาพประชาชนไทย (สสท.).
สอดแทรกในงานประจาของพยาบาลสาธารณสุขได้ (2552). การสารวจสุขภาพ ประชาชนไทย
เช่น การสอดแทรกกิจกรรมการออกกาลังกายไปใน ครั้งที่ 4. เข้าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2553, จาก
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ หรือ การเยี่ยมบ้าน http://www.hsri.or.th/th/whatnews/
ผู้สูงอายุและผู้ปุวยโรคเรื้อรัง ให้มีการประเมินปัจจัย detail.php?id=2426&key=activity
เสี่ ย งต่ อ การพลั ด ตกล้ ม แบบหลายปั จ จั ย เช่ น ผจงจิต ไกรถาวร นพวรรณ เปียซื่อ และ สุวัจนา
ผลข้ า งเคี ย งของยา การประเมิ น สิ่ ง แวดล้ อ มที่ น้อยแนม. (2556). ปัจจัยทานายความรู้สึก
อั น ตราย รวมทั้ งให้ ค าแนะน าในการปฏิ บั ติ เ พื่ อ เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน. วารสารพยาบาล
ปู องกั นการหกล้ ม และการจั ดสิ่ งแวดล้ อม ให้ กั บ สาธารณสุข, 27(1), 1-15.
ผู้ สู งอายุ ที่ ไ ปเยี่ ยมทุ ก ราย ทั้ งนี้ ควรมี การพั ฒนา ผจงจิต ไกรถาวร และ นพวรรณ เปียซื่อ.(2556).
ศั ก ยภาพของพยาบาลสาธารณสุ ข ในเรื่ อ งการ ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและการ
ประเมินปัจจัยเสี่ยงและการปูองกันการหกล้มของ รับรู้สภาพสิ่งแวดล้อมละแวกบ้านของ
ผู้สูงอายุในชุมชนเพื่อให้พยาบาลมีความรู้และเกิด ผู้สูงอายุไทยที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัด เขต
ความตระหนักในการปูองกันการหกล้มของผู้สูงอายุ กรุงเทพมหานคร. รามาธิบดีพยาบาลสาร,
ในชุมชน 19(1), 143-156.
การดาเนินกิจกรรมทางด้านสุขภาพเพื่อให้ American Geriatrics Society. (2001).
เกิดความยั่งยืน กิจกรรมต้องมีความสอดคล้องกับ Guideline for the Prevention of Falls
บริ บ ทของชุ ม ชนหรื อ หน่ ว ยงานนั้ น ๆ ต้ อ งอาศั ย in Older Persons. Journal of the
ความร่วมมือและความเพียงพอของบุคลากรในการ American Geriatrics Society, 49(5),
ดาเนินกิจกรรม การสอดแทรกกิจกรรมดังกล่าวเข้า 664-672.
สู่งานประจาของบุคลากรหรือหน่วยงานนั้นๆ มีงบ Barnett, A., Smith, B., Lord, S. R., Williams, M., &
ประมาณในการสนั บสนุ นการด าเนินงาน รวมทั้ ง Baumand, A. (2003). Community-based
บุคลากรที่ดาเนินงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับรู้ถึง group exercise improves balance and
ประโยชน์ของกิจกรรมนั้นๆ reduces falls in at-risk older people: a
randomised controlled trial. Age and
ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป Ageing, 32(4), 407-414.
รู ปแบบการปู องกั นการหกล้ มนี้ พั ฒนาให้ Barnett, L. M., van Beurden, E., Eakin, E. G.,
เหมาะกั บบริ บทชุ มชนเมื อง ควรมี การท าวิ จั ยใน Beard, J., Dietrich, U., & Newman, B.
บริบทของชุมชนชนบท โดยใช้รูปแบบการวิจัยอย่าง (2004). Program sustainability of a
มีส่วนร่วม และควรมีการติดตามผลของการศึกษาใน community-based intervention to
ระยะยาวเพื่อดูความยั่งยืนของรูปแบบดังกล่าวต่อไป prevent falls among older Australians.
Health Promotion International, 19(3),
281-288.
112 Journal of Public Health Nursing January - April 2015 Vol. 29 No.1

Bischoff, H. A., Stahelin, H. B., Monsch, A. U., Hacker, K., Tendulkar, S. A., Rideout, C.,
Iversen, M. D., et al. (2003). Identifying Bhuiya, N., Trinh-Shevrin, C., Savage, C.
a cut-off point for normal mobility: A P., & DiGirolamo, A. (2012).
comparison of the Timed “Up and Community capacity building and
Go” test in community-dwelling and sustainability: outcomes of
institutionalized elderly women. Age community-based participatory
and Ageing, 32, 315-320. research. Progress in Community
Clemson, L., Cumming, R. G., Kendig, H., Health Partnerships, 6(3), 349-360.
Swann, M., Heard, R., & Taylor, K. Hanson, H. M., & Salmoni, A. W. (2011).
(2004). The effectiveness of a Stakeholders' perceptions of
community-based program for programme sustainability: Findings
reducing the incidence of falls in the from a community-based fall
elderly: a randomized trial. Journal of prevention programme. Public Health,
the American Geriatrics Society, 52(9), 125(8), 525-532.
1487-1494 Kittipimpanon, K. (2006) Factors associated
Day, L., Fildes, B., Gordon, I., Fitzharris, M., with physical performance in urban
Flamer, H., & Lord, S. (2002). poor community. Master of Nursing
Randomised factorial trial of falls Science Degree Thesis (Adult nursing),
prevention among older people living Faculty of Graduate Studies, Mahidol
in their own homes. British Medical University
Journal, 325(7356), 128. Kittipimpanon, K., Amnatsatsue, K.,
Dite, W. & Temple, V. A. (2002). Kerdmongkol, P. Maruo, S. J., &
Development of a clinical measure of Nitayasuddhi, D. (2012). Development
turning for older adults. American and Evaluation of a Community-based
Journal of Physical Medicine & Fall Prevention Program for Elderly
Rehabilitation, 81(11), 857-866. Thais. Pacific Rim International
Goodwin, V., Jones-Hughes, T., Thompson- Journal of Nursing Research,16 (3),
Coon, J., Boddy, K., & Stein, K. (2011). 222-235.
Implementing the evidence for Lord, S. R., Castell, S., Corcoran, J., Dayhew,
preventing falls among community- J., Matters, B., Shan, A., et al. (2003).
dwelling older people: A systematic The Effect of Group Exercise on
review. Journal of Safety Research, Physical Functioning and Falls in Frail
42(6), 443-451. Older People Living in Retirement
มกราคม – เมษายน 2558 ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 วารสารพยาบาลสาธารณสุข 113

Villages: A Randomized, Controlled and Control. Retrieve January 20,


Trial. Journal of the American 2009, from
Geriatrics Society, 51(12), 1685-1692. http://www.cdc.gov/ncipc/preventingf
Lovarini, M., Clemson, L., & Dean, C. (2013). alls/CDCCompendium_030508.pdf.
Sustainability of community-based fall Thiamwong, L., Thamarpirat, J.,
prevention programs: A systematic Maneesriwongul, W., & Jitapunkul, S.
review. Journal of Safety Research, (2008). Thai Falls Risk Assessment
47(0), 9-17. Test (Thai-FRAT) developed for
Peel, N. M., Travers, C., Bell, R. A. R., & Smith, community-dwelling Thai elderly.
K. (2010). Evaluation of a health Journal of the Medical Association of
service delivery intervention to Thailand, 91(2), 1823-32.
promote falls prevention in older Tiedemann, A., Shimada, H., Sherrington, C.,
people across the care continuum. Murray, S., Lord, S. (2008). The
Journal of Evaluation in Clinical comparative ability of eight functional
Practice, 16(6), 1254-1261. mobility tests for predicting falls in
Pluye, P., Potvin, L., & Denis, J. (2004). Making community-dwelling older people.
public health programs last: Age and Ageing, 37, 430-5.
conceptualizing sustainability. Wiltsey S. S., Kimberly, J., Cook, N., Calloway,
Evaluation and Program Planning, A., Castro, F., & Charns, M. (2012). The
27(2), 121-133. sustainability of new programs and
Rantanen, T., Volpato, S., Ferrucci, L., innovations: a review of the empirical
Heikkinen, E., Fried, L. P., & Guralnik, J. literature and recommendations for
M. (2003). Handgrip strength and future research. Implementation
causes-specific and total mortality in Science, 7, 17. doi: 10.1186/1748-
older disabled woman: Exploring the 5908-7-17
mechanism. Journal of American World Health Organization (WHO). (2007).
Geriatrics Society, 51(5), 636-641. WHO Global Report on Falls
Stevens, J. A., & Sogolow, E. D. (2008). Prevention in Older Age. Retrieved
Preventing Falls: What Works. A CDC Feb 16, 2009, from
Compendium of Effective http://www.who.int/ageing/projects/fa
Community-based Interventions from lls_prevention_older_age/en/index.
Around the World. Atlanta, Georgia html
National Center for Injury Prevention

You might also like