Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 18

รุปเนื้อ า และ แน ขอ อบ

เรื่อง ตรรก า ตร


ระดับชั้นมัธยม ึก าปที่ 4
รุปเนื้อ า และ แน ขอ อบ
เรื่อง ตรรก า ตร
ระดับชั้นมัธยม ึก าปที่ 4
4 ตรรกศาสตร คณิตศาสตร

ตรรกศาสตร
1. ประพจน
ประพจน คือประโยคที่เปนจริงหรือเท็จอยางใดอยางหนึ่งเพียงอยางเดียว ซึ่งอาจจะอยูในรูปประโยค
บอกเลาหรือประโยคปฏิเสธก็ได

2. นิเสธและตัวเชื่อมประพจน
เราสรางประพจนใหมที่มีคาความจริงตรงขามกับเดิมไดโดยอาศัยตัวดําเนินการที่เรียกวานิเสธ
ซึ่งเขียนแทนดวยสัญลักษณ ∼ ซึ่งสามารถแสดงคาความจริงดวยตารางคาความจริงไดดังนี้
p ∼p
T F
F T

นอกจากนี้ประพจนสองประพจนสามารถเชื่อมกันไดดวยตัวเชื่อมประพจนตางๆ กัน 4 แบบคือ


1. ตัวเชื่อม และ เขียนแทนดวย ∧

2. ตัวเชื่อม หรือ เขียนแทนดวย ∨


3. ตัวเชื่อม ถา...แลว เขียนแทนดวย →
4. ตัวเชื่อม ก็ตอเมื่อ เขียนแทนดวย ↔
ซึ่งสามารถแสดงคาความจริงสําหรับประพจนที่มีตัวเชื่อมตางๆ ไดดังนี้
p q p ∧q p ∨q p →q p ↔q
T T T T T T
T F F T F F
F T F T T F
F F F F T T

หลักในการจําคาความจริงสําหรับตัวเชื่อมตางๆ
1. ตัวเชื่อม และ เปน T เมื่อทั้งคูเปน T นอกนั้นเปน F
2. ตัวเชื่อม หรือ เปน F เมื่อทั้งคูเปน F นอกนั้นเปน T
3. ตัวเชื่อม ถา...แลว เปน F สําหรับ T → F เพียงกรณีเดียวเทานั้น ที่เหลือเปน T
4. ตัวเชื่อม ก็ตอเมื่อ ถาเหมือนกันเปน T และถาตางกันเปน F
คณิตศาสตร ตรรกศาสตร 5

3. ตารางคาความจริง
การสรางตารางคาความจริงของประพจนเปนการแจงกรณีทเี่ ปนไปไดทั้งหมดทุกกรณี ซึ่งทําไดไมยาก
แตเสียเวลา หากมีประพจนยอยตางๆ กันอยู n ประพจนยอย จะมีกรณีที่แตกตางกันไดทั้งหมด 2n กรณี
ตัวอยาง จงสรางตารางคาความจริงของ (p → q ) ∧ r

วิธีทํา
p q r p →q (p → q ) ∧ r
T T T T T
T T F T F
T F T F F
T F F F F
F T T T T
F T F T F
F F T T T
F F F T F

4. ประพจนที่สมมูลกัน
ประพจนใดๆ สองประพจนสมมูลกัน เมื่อไมวาคาความจริงในประพจนยอยจะเปนอยางไร คาความ
จริงของทั้งสองประพจนนั้นจะเหมือนกันทุกกรณี การตรวจสอบการสมมูลสามารถทําไดโดยสรางตารางคา
ความจริงหรืออาศัยประพจนสมมูลพื้นฐานเขาชวย
ถา p และ q เปนประพจนที่สมมูลกัน จะเขียนแทนดวย p ≡q

เพื่อใหตรวจสอบประพจนที่สมมูลกันไดงาย เราอาจอาศัยรูปแบบที่สมมูลกันตอไปนี้เขาชวย
1. การสลับที่ T-f = F

p ∨q ≡ q ∨q T1T = T
p ∧q ≡ q ∧ p F VF = F
p ↔q ≡ q ↔ p

2. การจัดหมู
(p ∨ q ) ∨ r ≡ p ∨ (q ∨ r )
(p ∧ q ) ∧ r ≡ p ∧ (q ∧ r )

3. การกระจาย
p ∧ (q ∨ r ) ≡ (p ∧ q ) ∨ (p ∧ r )
p ∨ (q ∧ r ) ≡ (p ∨ q ) ∧ (p ∨ r )
6 ตรรกศาสตร คณิตศาสตร

4. เอกลักษณ
p∨p ≡ p
p∧p ≡ p
p∧T ≡ p
p∨F ≡ p

5. ถา...แลว
p → q ≡ ∼ p ∨q ≡ ∼ q → ∼ p

6. นิเสธซอน
∼ (∼ p) ≡ p

7. นิเสธ
∼ (p ∨ q ) ≡ ∼ p ∧ ∼q
∼ (p ∧ q ) ≡ ∼ p ∨ ∼q
∼ (p → q ) ≡ p ∧ ∼q

8. ก็ตอเมื่อ
p ↔ q ≡ (p → q ) ∧ (q → p)

5. สัจนิรันดร
เราจะเรียกประพจนใดวา สัจนิรันดร ก็ตอเมื่อไมวาคาความจริงของประพจนยอยจะเปนอะไรก็ตาม
คาความจริงของประพจนนั้นจะเปนจริงเสมอ

6. ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
ประโยคเปด คือ ประโยคบอกเลาหรือปฏิเสธที่มีตัวแปร ประโยคเปดไมเปนประพจน แตถาแทนตัว
แปรดวยสมาชิกในเอกภพสัมพัทธแลวเราจะไดประพจน
การทําประพจนเปดใหเปนประพจนสามารถทําไดโดยการใส วลีบงปริมาณ ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ตัว คือ
“ ∀ ” (for all, ทุกๆ) และ “ ∃ ” (for some, บางตัว) ซึ่งการกําหนดคาความจริงและการใสนิเสธเปนไป
ตามตารางตอไปนี้
ขอความ เงื่อนไขที่ทําใหจริง เงื่อนไขที่ทําใหเท็จ
ทุกๆ x ในเอกภพสัมพัทธ มีบาง x ในเอกภพสัมพัทธ
∀x [P (x )]
ทําให P (x ) จริง ที่ทําให P(x ) เท็จ
มีบาง x ในเอกภพสัมพัทธ ทุกๆ x ในเอกภพสัมพัทธ
∃x [P (x )]
ที่ทําให P(x ) จริง ทําให P(x ) เท็จ
คณิตศาสตร ตรรกศาสตร 7

ในบางครั้งประโยคเปดของเราอาจมีตัวแปรมากกวาหนึ่งตัวก็ได เชน ให P (x, y ) เปนประโยคเปดที่


แทนขอความวา “ x + y = 5 ” หรือ Q(x, y, z ) แทนขอความ “ x + y + z = 1 ” เปนตน
การกําหนดคาความจริงและการใสนิเสธของประโยคเปดสองตัวแปรเปนดังนี้

ขอความ เงื่อนไขที่ทําใหจริง เงื่อนไขที่ทําใหเท็จ


∀x ∀y [P (x , y )] ทุก x ทุก y ในเอกภพสัมพัทธ มีบาง x และมีบาง y ในเอกภพสัมพัทธ
ทําให P(x, y ) จริง ที่ทําให P(x, y ) เท็จ
∀x ∃y [P (x , y )] ทุก x ในเอกภพสัมพัทธ จะหา y มีบาง x ที่ทําใหทุก y ในเอกภพสัมพัทธ
ที่ทําให P(x, y ) จริงได ที่ทําให P(x, y ) เท็จ
∃x ∀y [P (x , y )] มีบาง x ซึ่งทุก y ในเอกภพสัมพัทธ ทุก x ในเอกภพสัมพัทธ จะหา y
ทําให P (x , y ) เท็จ ที่ทําให P (x, y ) เท็จได
มีบาง x และมีบาง y ในเอกภพสัมพัทธ ทุก x และทุก y ในเอกภพสัมพัทธ
∃x ∃y [P (x , y )]
ที่ทําให P (x , y ) จริง ทําให P (x, y ) เท็จ

7. นิเสธของประพจนที่มีวลีบงปริมาณ
1. ∼ ∀x [P (x )] ≡ ∃x [∼ P (x )]

2. ∼ ∃x [P (x )] ≡ ∀x [∼ P (x )]

3. ∼ ∀x ∀y [P (x , y )] ≡ ∃x ∃y [∼ P (x , y )]

4. ∼ ∀x ∃y [P (x , y )] ≡ ∃x ∀y [∼ P (x , y )]

5. ∼ ∃x ∀y [P (x , y )] ≡ ∀x ∃y [∼ P (x , y )]

6. ∼ ∃x ∃y [P (x , y )] ≡ ∀x ∀y [∼ P (x , y )]

8. การอางเหตุผล
การอางเหตุผลคือการอางวาเมื่อมีขอความ p1, p2 , …, pn ชุดหนึ่งเปนจริง จะสามารถสรุปขอความ q
ไดหรือไม นั่นคือขอความ (p1 ∧ p2 ∧ ∧ pn ) → q เปนสัจนิรันดรหรือไมนั่นเอง
ถาขอความ (p1 ∧ p2 ∧ ∧ pn ) → q เปนสัจนิรันดร เราจะกลาววาการอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
(valid) ถาไมเปนสัจนิรันดรจะกลาววาการอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล (invalid)
MATH HORWAMG ~5~
ปีการศึกษา 2562
1. ข้ ใดเป็นประพจน์
1) a2  0 2) b − 5 = 5 − b
3) ประโยคทุกประโยคมีค่าความจริงเป็นจริงเ ม 4) Next School เป็นระบบดูแลช่วยเ ลื นักเรียนที่ดีที่ ุด

2. กา นดใ ้ p แทน “ถ้า a + c  b + c แล้ว a  b เมื่ a, b และ c เป็นจานวนจริงใด ๆ”


q แทน “ถ้า x และ y เป็นจานวน ตรรกยะ แล้ว xy เป็นจานวน ตรรกยะ”
ค่าความจริงข งประพจน์ p  q ต่างจากค่าความจริงข งประพจน์ในข้ ใด
1) p  q 2) p  q 3) ( p  q ) 4) p  q

3. กา นด p, q, r และ s เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง, เท็จ, เท็จ และจริง ตามลาดับ


ค่าความจริงข งประพจน์ (p → q )  (q → r )   r  s  เท่ากับข้ ใด
1) ( p → s )  (q → r ) 2) (p  q )  r → ( p  s )
3) (r  s ) → ( p  q )  r  4) ( p  q )  ( s → p )

4. กา นดใ ้ p แทนข้ ความ Peter Parker ได้เกรด 4 วิชาคณิตศา ตร์


q แทนข้ ความ Peter Parker ได้เกรด 3 วิชาคณิตศา ตร์
ค่าความจริงข งประพจน์ p และ q ในข้ ใดทาใ ้ค่าความจริงข งรูปแบบประพจน์ p  q เป็นเท็จ
1) p  T และ q  T 2) p  T และ q  F
3) p  F และ q  T 4) ข้ มูลไม่เพียงพ

5. กา นดใ ้ p และ q เป็นประพจน์ใด ๆ ข้ ใดกล่าวถูกต้อง


1) (p  q )  (p → q ) มีค่าความจริงเป็นจริงเ ม
2) (p  q )  ( p  q ) มีค่าความจริงเป็นจริงเ ม
3) (p → q ) → (p  q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จเ ม
4) (p → q )  ( q → p ) มีค่าความจริงเป็นเท็จเ ม

MATH HORWAMG
MATH HORWAMG ~6~
6. กา นดใ ้ค่าความจริงข งรูปแบบประพจน์  x → ( y → z ) → ( y → z ) เป็นเท็จ
รูปแบบประพจน์ในข้ ใดมีค่าความจริงเป็นเท็จ
1) ( x  z )  ( y  z ) 2) ( y  z )  ( z  x )
3) ( z  x )  ( x  z ) 4) ( x  y )  ( y  z )

7. กา นดใ ้ p, q และ r เป็นประพจน์ ข้ ใดถูกต้อง


1) p → (q  r )  (p → r )  (q → r ) 2) (p  p )  (q → r )  (q → r )
3) p → ( q  r )  ( r  q ) → p 4) (p  q ) → r  ( p  r ) → q

8. กา นดใ ้ p, q และ r เป็นประพจน์ ประพจน์ r  ( p  q ) มมูลกับประพจน์ในข้ ใด


1) ( r  q )  ( p  q ) 2) r  ( p → q )
3) ( r  p )  ( r  q ) 4) r  ( p → q )

9. กา นดใ ้ p, q และ r เป็นประพจน์ นิเ ธข งประพจน์ ถ้า a  b และ b  c แล้ว a  c คื ข้ ใด


1) a  b และ b  c รื a  c 2) a  b รื b  c รื a  c
3) a  b รื b  c และ a  c 4) a  b และ b  c และ a  c

10. กา นดใ ้ p, q และ r เป็นประพจน์ ประพจน์ในข้ ใดเป็น ัจนิรันดร์


1) ( p → p )  ( r  r ) 2) ( p  q )  ( p → q )
3) ( p  p )  ( p  p ) 4) ( r  r )  ( r  r )

11. กา นดใ ้ p, q และ r เป็นประพจน์ ประพจน์ในข้ ใดไม่เป็น จั นิรันดร์


1) ( p → q )  ( p  q ) 2) ( p → q )  ( p  q )
3) ( p → q )  p  → q 4) ( p → q )  ( q → r ) → ( p → r )

MATH HORWAMG
MATH HORWAMG ~7~
12. พิจารณาการ ้างเ ตุผลต่ ไปนี้
เ ตุ 1. ถ้าซ้ งปีบไม่ไปดู นังแล้วญาญ่าจะ ยู่บ้าน
2. ญาญ่าไม่ ยู่บ้าน รื กา ะล งไปโรงเรียน
3. กา ะล งไม่ไปโรงเรียน
ผล a
a แทนประพจน์ในข้ ใด จึงจะทาใ ้การ ้างเ ตุผลข้างต้น มเ ตุ มผล
1) กา ะล งไปโรงเรียน 2) ถ้าซ้ งปีบไปดู นังแล้วญาญ่าไม่ ยู่บ้าน
3) ญาญ่าจะ ยู่บ้านก็ต่ เมื่ ซ้ งปีบไปดู นัง 4) ญาญ่าจะ ยู่บ้านแต่กา ะล งไปโรงเรียน

13. ข้ ใดไม่ มเ ตุ มผล


1) เ ตุ 1. p → q 2) เ ตุ 1. p → q
2. p → s 2. p → ( r  s )
3. r 3. q  t
4. r  s 4. t
ผล q ผล r →s
3) เ ตุ 1. p → q 4) เ ตุ 1. p
2. q → r 2. p  q
ผล p → r 3. ( p  q ) → r
ผล r

14. พิจารณาการ ้างเ ตุผลต่ ไปนี้


ก) เ ตุ 1. p → q ข) เ ตุ 1. p → r
2. q 2. p → s
3. ( s  r ) → p 3. s  q
ผล t → r 4. q
ผล r
ข้ ใดถูกต้อง
1) ก) มเ ตุ มผล และ ข) ไม่ มเ ตุ มผล 2) ก) ไม่ มเ ตุ มผล และ ข) มเ ตุ มผล
3) ก) และ ข) ไม่ มเ ตุ มผล 4) ก) และ ข) มเ ตุ มผล

15. พิจารณาข้ ความต่ ไปนี้


ก) x 2 + y = 9 เป็น มการกราฟเ ้นตรง เป็นประโยคเปิด
ข) เขาเป็นนักว ลเล่ย์บ ลทีมชาติไทย เป็นประโยคเปิด
ค) 8 เป็นคาต บข ง มการ 2x + 5 = 21 ไม่เป็นประโยคเปิด
ข้ ใดถูกต้อง
1) ถูกทั้ง 3 ข้ 2) ถูกเพียง 2 ข้ 3) ถูกเพียง 1 ข้ 4) ผิดทั้ง 3 ข้

MATH HORWAMG
MATH HORWAMG ~8~
16. ถ้าเ กภพ ัมพัทธ์คื เซตข งจานวนเต็ม แล้วข้ ใดต่ ไปนี้ถูกต้อง
1) x ( x + 4 = 0 )  ( x − 2 = −6 ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
2) x ( x 2  0 )  ( x 2 + 1 = 0 )  มีค่าความจริงเป็นจริง
3) x  x   → x  x  0  มีค่าความจริงเป็นเท็จ
4) x ( x  0 )  ( x  0 )  ( x  x  0   x  x  0 ) มีค่าความจริงเป็นจริง

17. กา นดใ ้ p ( x ) แทนข้ ความ x 2 − 7  0


q ( x ) แทนข้ ความ x ารด้วย 5 ลงตัว
r ( x ) แทนข้ ความ x 2 − 4x + 3 = 0
และเ กภพ ัมพัทธ์คื U = 0,1,3,4,5 ประพจน์ในข้ ใดมีค่าความจริงเป็นจริง
1) x q ( x )  r ( x ) 2) x ( p ( x )  r ( x ) ) → q ( x )
3) r ( x ) → ( p ( x )  q ( x ) )
x  4) ( p ( x )  q ( x ) ) → r ( x )
x 

18. ข้ ใดไม่ถูกต้อง
(
1) x  x  0 → x x 2  0 )  (x x 2  0 → x x  0)
2) x ( x  4 ) → ( x = 16 )  x ( x = 4 ) → ( x = 16 )
3) x ( x + 2 = 5)  ( x  )  x ( x  )  ( x + 2  5)
4) x ( x 2  0 ) → ( x  0 )  x ( x  0 ) → ( x 2  0 )

19. นิเ ธข งข้ ความ x ( x  0 ) → ( 2cos x  x 2 ) ตรงกับข้ ใด


1) x ( x = 0 )  ( 2sin x  x 2 ) 2) x ( x = 0 )  ( 2cos x  x 2 )
3) x ( x  0 )  ( 2sin x  x 2 ) 4) x ( x  0 )  ( 2cos x  x 2 )

20. กา นดใ ้ค่าความจริงข งข้ ความ xy P ( x, y ) → xy Q ( x, y ) เป็นเท็จ ข้ ใดมีค่าความจริงเป็นเท็จ


1) xy  Q ( x, y ) → xy P ( x, y ) 2) xy  P ( x, y )  xy  Q ( x, y )
3) xy  Q ( x, y )  xy  P ( x, y ) 4) xy  P ( x, y )  xy Q ( x, y )

MATH HORWAMG
MATH HORWAMG ~9~
ปีการศึกษา 2561
1. ข้ ใดเป็นประพจน์
1) เขาเป็นนักกี าว ลเล่ย์บ ลทีมชาติไทย 2) ข ใ ้ทุกคนโชคดีในการ บ
3) 3x + 2y = 12 เป็น มการพาราโบลา 4) x 2 − 9 = 0

2. ใ ้ p, q และ r แทนประพจน์ที่กา นดใ ้ดังนี้


p แทน 0 ไม่เป็นจานวนเต็มคู่ และ ไม่เป็นจานวนเต็มคี่
q แทน ถ้า a2  b 2 แล้ว a  b และ
r แทน ไม่จริงที่ว่า เป็นจานวน ตรรกยะ รื 22

7 เป็นจานวนตรรกยะ
พิจารณาค่าความจริงข งประพจน์ต่ ไปนี้
ก) ( p  q )  r
ข) ( p → q ) → r
1) ก) และ ข) จริง 2) ก) จริง และ ข) เท็จ
3) ก) เท็จ และ ข) จริง 4) ก) และ ข) เท็จ

3. กา นด p, q, a, b, x และ y เป็นประพจน์ a, b มีค่าความจริงเป็นจริง x, y มีค่าความจริงเป็นเท็จ


จงพิจารณาว่าข้ ใดมีค่าความจริงต่างจากข้ ื่น
1) p → ( a  x ) → ( p → a ) → x  2) ( x → q ) → q  → a
3) ( x  q ) → ( x  q ) 4) ( x → p ) → ( b → y )

4. ข้ ใดมีค่าความจริงเ มื นกัน
1) T  p และ p  T 2) F  p และ T → p
3) p → p และ T  p 4) p  p และ p  p

5. จงพิจารณาข้ ความต่ ไปนี้ เมื่ กา นดใ ้ p, q และ r เป็นประพจน์


ก)  p  ( q  q ) → q เป็นจริงทุกกรณี
ข) p  ( p  q )  ( q  r )  r เป็นจริงทุกกรณี
ค) ( p → q )  ( p → r )  p → ( q  r ) เป็นเท็จทุกกรณี
ข้ รุปในข้ ใดถูกต้ ง
1) ถูกเฉพาะ ก) และ ข) 2) ถูกเฉพาะ ข) และ ค)
3) ถูกเฉพาะ ก) และ ค) 4) ถูกทุกข้

MATH HORWAMG
MATH HORWAMG ~ 10 ~
6. กา นด p, q และ r เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็น T, F และ T ตามลาดับ
จง าว่าประพจน์ p → ( q → r ) → ( p → q ) → ( p → r ) มีค่าความจริงตรงกับข้ ใด
1) p → ( p  q ) 2) ( p  q ) → ( p  q )
3)  ( p  q )  p  4) ( p  q )  ( q  r )

7. จงพิจารณาข้ ความต่ ไปนี้


ก) ถ้า p, q และ r เป็นประพจน์ใด ๆ ที่ ( r  q )  ( p → q ) → ( p  p ) มีค่าความจริงเป็นจริง
แล้วค่าความจริงข ง p, q และ r คื T, F และ F ตามลาดับ
ข) ถ้า p, q และ r เป็นประพจน์ใด ๆ ที่  ( p  q )  ( r → s ) มีค่าความจริงเป็นจริง
แล้วค่าความจริงข ง ( p → r )  ( q → s ) เป็นเท็จ
ข้ ความใดกล่าวได้ถูกต้ ง
1) ก) ถูก และ ข) ผิด 2) ก) ผิด และ ข) ถูก 3) ถูกทั้ง ก) และ ข) 4) ผิดทั้ง ก) และ ข)

8. รูปแบบประพจน์ p  q → r มมูลกับข้ ใด
1) (p  r ) → (q  r ) 2) (p  r ) → (q  r )
3) (p → r )  (q → r ) 4) (p → r )  (q → r )

9. ข้ ใดเป็นนิเ ธข งข้ ความที่ว่า “ถ้าวันนี้ฝนตกและแดด กแล้วจะเกิดปรากฏการณ์รุ้งกินน้า”


1) วันนี้ฝนตกและแดด ก รื เกิดปรากฏการณ์รุ้งกินน้า
2) วันนี้ฝนไม่ตก รื ไม่มีแดด รื เกิดปรากฏการณ์รุ้งกินน้า
3) วันนี้ฝนตกและแดด กและไม่เกิดปรากฏการณ์รุ้งกินน้า
4) ถ้าไม่เกิดปรากฏการณ์รุ้งกินน้าแล้ววันนี้ฝนไม่ตก รื ไม่มีแดด

10. เครื่ ง มายในข้ ใดที่ทาใ ร้ ูปแบบประพจน์ p → (q  q ) ( r  r )  p  เป็น ัจนิรันดร์
1)  2)  และ → 3)  4) → และ 

11. ข้ ใดเป็น ัจนิรันดร์


1) (q  p ) → (p  q ) → r  2) p  ( p  q )  (q  p )
3) (r  p ) → (q  r )  (q  p ) 4) p → (q → r )  (p → q ) → r 

MATH HORWAMG
MATH HORWAMG ~ 11 ~
12. พิจารณาการ ้างเ ตุผลต่ ไปนี้
เ ตุ 1. ถ้าปลื้มจิตรไปเที่ยวแล้วชัชชุ รไปโรงเรียน
2. ร ุมาไม่ไปซ้ มว ลเล่ย์บ ล
3. ถ้าปลื้มจิตรไม่ไปเที่ยวแล้วทัดดาวไม่น นพักผ่ น
4. ทัดดาวน นพักผ่ น รื ร ุมาไปซ้ มว ลเล่ย์บ ล
ผล p
p แทนประพจน์ในข้ ใด จึงจะทาใ ้การ ้างเ ตุผลข้างต้น มเ ตุ มผล
1) ทัดดาวไม่น นพักผ่ น 2) ร ุมาไปซ้ มว ลเล่ย์บ ล
3) ปลื้มจิตรไปเที่ยวและชัชชุ รไม่ไปโรงเรียน 4) ทัดดาวน นพักผ่ นและชัชชุ รไปโรงเรียน

13. ข้ ใดไม่ มเ ตุ มผล


1) เ ตุ 1. p → q 2) เ ตุ 1. s → r
2. q → r 2. ( p  q )
ผล p → r 3. r → ( p  q )
ผล s
3) เ ตุ 1. p  q 4) เ ตุ 1. p  q
2. r → q 2. q  r
3. r → s 3. q
ผล s ผล p  q

14. พิจารณาการ ้างเ ตุผลต่ ไปนี้


ก) เ ตุ 1. q → r ข) เ ตุ 1. p → q
2. p  q 2. q → r
3. s  r 3. r → s
ผล s→ p 4. s
5. t  p
ผล t
ข้ ความใดถูกต้ ง
1) ก) มเ ตุ มผล และ ข) ไม่ มเ ตุ มผล 2) ก) ไม่ มเ ตุ มผล และ ข) มเ ตุ มผล
3) ทั้ง ก) และ ข) มเ ตุ มผล 4) ทั้ง ก) และ ข) ไม่ มเ ตุ มผล

15. ข้ ใดไม่ถูกต้ ง
1) x 2 − 16 = ( x − 4 )( x + 4 ) เป็นประโยคเปิด
2) 2x 2 − y = 3 มีกราฟเป็นกราฟพาราโบลา เป็นประโยคเปิด
3) 5 เป็นคาต บข ง มการ 8x − 7 = 0 ไม่เป็นประโยคเปิด
4) ถ้า x = 0 แล้ว xy = 0 ไม่เป็นประโยคเปิด

MATH HORWAMG
MATH HORWAMG ~ 12 ~
16. กา นดใ ้ ก) x  x + 2  5 , U = 0,1,2,3
ข) x  x 2  0   x  x 3 − 9x 2 = 0  , U = I
ข้ ใดถูกต้ ง
1) ก) และ ข) จริง 2) ก) จริง และ ข) เท็จ 3) ก) เท็จ และ ข) จริง 4) ก) และ ข) เท็จ

17. เ กภพ ัมพัทธ์ในข้ ใดต่ ไปนี้ทาใ ้ประพจน์ x  x 2 − 5x + 6 = 0  มีค่าความจริงเป็นจริง


1) 2,3 2) −2, −3 3) 1, −6 4) 1,2,3

18. ข้ ใดไม่ใช่นิเ ธข งข้ ความ x  x = 0  → x  x  0 


1) ( x  x  0  → x  x = 0 ) 2) x  x = 0   x  x = 0 
3) ( x  x  0  → x  x = 0 ) 4) x  x = 0   x  x  0 

19. กา นดเ กภพ ัมพัทธ์คื เซตข งจานวนจริง


P(x) แทน ( x + 1)2 = x + 1
Q(x) แทน x + 1  2
ข้ ใดมีค่าความจริงตรงข้ามกับประพจน์ x P ( x ) → x  Q ( x )
1) x P ( x )  Q ( x ) → x P ( x ) 2) x P ( x ) → x  Q ( x )
3) x  P ( x ) → x  Q ( x ) 4) x P ( x )  Q ( x ) → x  Q ( x )

20. กา นดใ ้ P ( x ) และ Q ( x ) เป็นประโยคเปิด ประโยค x P ( x ) → x  Q ( x ) มมูลกับประโยคในข้ ใด


1) x P ( x ) → x  Q ( x ) 2) x  Q ( x ) → x P ( x )
3) x  P ( x ) → x  Q ( x ) 4) x  Q ( x ) → x  P ( x )

MATH HORWAMG
MATH HORWAMG ~ 13 ~
ปีการศึกษา 2560
1. ใ ้พิจารณาข้ ความต่ ไปนี้
ก) า รับจานวนจริง x ทุกตัว x 2 + 1> 0
ข) กราฟ มการ y = x 2 + 5x − 3 เป็นกราฟเ ้นตรง
ค) x 2 + 2x = 0
ข้ ใดต่ ไปนี้ถูกต้ งที่ ุด
1) เป็นประพจน์ทั้ง 3 ข้ 2) เป็นประพจน์เพียง 2 ข้
3) เป็นประพจน์เพียง 1 ข้ 4) ไม่เป็นประพจน์ทั้ง 3 ข้

2. ใ ้ p, q และ r เป็นประพจน์ต่ ไปนี้


p แทน จานวนเฉพาะทุกจานวนเป็นจานวนคี่
r แทน 1 เป็นจานวนเต็มบวกที่มีค่าน้ ยที่ ุด
q แทน จานวนตรรกยะบวกกับจานวน ตรรกยะได้ผลลัพธ์เป็นจานวน ตรรกยะ
ประพจน์ในข้ ใดมีค่าความจริงเป็นจริง
1) q → ( p  r ) 2) r  ( p  q ) 3) ( p  q )  r 4) (q  r )  p

3. กา นดใ ้ p, q และ r เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง เท็จ และจริง ตามลาดับ ประพจน์ใดต่ ไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ


1) ( p  q )  r  → ( p  r ) 2) ( q r )  ( q  p ) → r 
3) ( p  q )  ( q → r ) 4) ( p → q )  ( r  p )

4. กา นดใ ้ ( p → q )  ( q  r ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ พิจารณาข้ ความต่ ไปนี้


ก) p  q → r มีค่าความจริงเป็นจริง
ข) ( r  q )  p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
ข้ ใดต่ ไปนี้ถูกต้ ง
1) ก) และ ข) ถูก 2) ก) ถูก และ ข) ผิด 3) ก) ผิด และ ข) ถูก 4) ก) และ ข) ผิด

5. กา นดใ ้  p  ( q → r ) → q มีค่าความจริงเป็นเท็จ ข้ ใดต่ ไปนี้ถูกต้ งที่ ุด


1) p, q และ r มีค่าความจริงเป็นจริง 2) p และ q มีค่าความจริงเป็นจริง
3) p และ r มีค่าความจริงเป็นจริง 4) q และ r มีค่าความจริงเป็นจริง

MATH HORWAMG
MATH HORWAMG ~ 14 ~
6. กา นดใ ้ ( p  q )  ( r  r ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ แล้ว r  r มีค่าความจริงตรงกับข้ ใด
1) ( p  q ) → r 2) q  ( p  r ) 3) p  ( q → r ) 4) ( r  p ) → q

7. จงพิจารณาข้ ความต่ ไปนี้


ก) ( p  q )  ( r  r ) มมูลกับ ( q → p )
ข) p → ( q → r ) มมูลกับ ( p  q ) → r
ข้ ใดต่ ไปนี้ถูกต้ ง
1) ก) ถูก และ ข) ถูก 2) ก) ถูก และ ข) ผิด 3) ก) ผิด และ ข) ถูก 4) ก) ผิด และ ข) ผิด

8. ข้ ความในข้ ใดที่ มมูลกับข้ ความ “ถ้า a  0 และ b  0 แล้ว ab  0 ”


1) ถ้า a  0 และ b  0 แล้ว ab  0 2) ถ้า a  0 รื b  0 แล้ว ab  0
3) ถ้า ab  0 แล้ว a  0 และ b  0 4) ถ้า ab  0 แล้ว a  0 รื b  0

9. นิเ ธข งข้ ความ “ถ้านายแดงแข็งแรงแ ดงว่านายแดงดื่มนมและ กกาลังกาย” ตรงกับข้ ใด


1) นายแดงแข็งแรงแต่ไม่ดื่มนม รื ไม่ กกาลังกาย
2) นายแดงแข็งแรง รื นายแดงดื่มนมแต่ไม่ กกาลังกาย
3) นายแดงไม่แข็งแรง รื นายแดงดื่มนมและ กกาลังกาย
4) นายแดงไม่แข็งแรงแต่นายแดงไม่ดื่มนมและไม่ กกาลังกาย

10. ประพจน์ในข้ ใดไม่เป็น ัจนิรันดร์


1) ( p → q )  q  → p 2) ( p → q )  ( q → r ) → ( p → r )
3) p → ( q  r )  p → ( q  r ) 3) p → ( q  r )   q  ( p  r )

11. กา นดตารางเชื่ มประพจน์ p กับ q ดังต่ ไปนี้ p q p q


แล้วประพจน์ในข้ ใดเป็น ัจนิรันดร์ T T F
1) ( p q )  q 2) ( p  q ) p 3) ( p q )  q 4) p → ( p q ) T F F
F T T
F F F
MATH HORWAMG
MATH HORWAMG ~ 15 ~
12. ข้ ใดไม่เป็นประโยคเปิด
1) 64 − b2 = 0 2) x 2 = 2x + 3 3) 1 เป็นคาต บข ง มการ x = 1 4) a − 2b > 0

13. x  x 2  1 → x  x 2  1 มมูลกับข้ ใด


1) x  x 2 = 1  x  x 2  1 2) 
2
 
2
x  x = 1  x  x  1

2 2 2 2
3) x  x  1  x  x  1
   4) x  x  1  x  x  1

14. ข้ ใดเป็นนิเ ธ xyz ( x + y  z )  ( xy  z )


1) xyz ( x + y  z )  ( xy  z ) 2) xyz ( x + y  z )  ( xy  z )
3) xyz ( x + y  z )  ( xy  z ) 4) xyz ( x + y  z )  ( xy  z )

15. กา นดใ ้ a) x  x + 1  0  x  x 2  1


b) x ( x + 1  0 )  ( x  1)
c) x  x 2  0   x  x = 0
d) x 
 ( x 2  0 )  ( x = 0 )
ข้ ใดถูกต้ ง
1) ประโยค a) มมูลกับ ประโยค b) 2) ประโยค c) มมูลกับ ประโยค d)
3) ถูกทั้งข้ 1) และ 2) 4) ไม่มีข้ ใดถูก

16. กา นดใ ้เ กภพ ัมพัทธ์ U เป็นเซตข งจานวนจริง ข้ ใดต่ ไปนี้ถูกต้ ง


1) x  x 2  0  มีค่าความจริงเป็นจริง 2) x  x + 1  0 มีค่าความจริงเป็นจริง
3) x  x − 1  0  มีค่าความจริงเป็นเท็จ 4) x  x + 0  x  มีค่าความจริงเป็นเท็จ

MATH HORWAMG
MATH HORWAMG ~ 16 ~
17. กา นดใ ้ a) x ถ้า x เป็นจานวนตรรกยะ แล้ว x 2 เป็นจานวนคู่  , U = −2,3, −4,5
b) x  x 2 − 1 = 0   x  x 2 = x  , U = I
ข้ ใดต่ ไปนี้ถูกต้ งที่ ุด
1) ทั้งประโยค a) และ ประโยค b) มีค่าความจริงเป็นจริง
2) ประโยค a) มีค่าความจริงเป็นจริง และ b) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
3) ประโยค a) มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ b) มีค่าความจริงเป็นจริง
4) ทั้งประโยค a) และ ประโยค b) มีค่าความจริงเป็นเท็จ

18. เ ตุ 1. ถ้า a + b = c แล้ว d + e = f


2. ถ้า d + e = f แล้ว g = h
3. g  h
ผล a + b  c
จากการ ้างเ ตุผลข้างต้น
กา นดใ ้ p แทน a + b = c
q แทน d + e = f
r แทน g = h
เขียนเป็นรูปแบบประพจน์ตรงกับข้ ใด
1) ( p → q )  ( q → r )  r  → p 2) ( p → q )  ( q → r )  r  → p
3) ( p → q )  ( q → r )  r  → p 4) ( p → q )  ( q → r )  r  → p

19. กา นดใ ้ เ ตุ 1. p → q
2. q → r
3. r → s
4. s
ผลในข้ ใดทาใ ้การ ้างเ ตุผล มเ ตุ มผล
1) p 2) q 3) r 4) ถูกทุกข้

20. กา นดใ ้ เ ตุ 1. ถ้าฉันขยันแล้วฉันจะไม่ตกคณิตศา ตร์


2. ฉันตกคณิตศา ตร์
ผลในข้ ใดทาใ ้การ ้างเ ตุผล มเ ตุ มผล
1) ฉันขยัน 2) ฉันไม่ขยัน 3) ฉันจะไม่ตกคณิตศา ตร์ 4) รุปผลไม่ได้

MATH HORWAMG

You might also like