7f8732d1661be4d

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 25

1

การพยาบาลผู้ป่ วยภาวะหัวใจล้มเหลว : กรณี


ศึกษา (Congestive Heart Failure)

จันสุดา สขุ ประเสริฐ งานการพยาบาลผู้ป่ วย


หนัก กลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลรัตนบุรี

………………………………………………………………………
…………

บทคัดย่อ กรณีศึกษาชายไทย อายุ 82 ปี เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่ วย

หนัก ด้วยอาการ หายใจหอบ ไม่มี

ไข้ ไม่แน่นหน้าอก 7 วัน แพทย์วินิจฉัยโรค Congestive heart failure


with Chronic Obstructive Pulmonary Diseases c acute exa
cerbation ตรวจคลื่นไฟฟ้ าหัวใจ พบ Right Bundle Branch
Block ได้รับยาขับปั สสาวะทางหลอดเลือด, ได้รับ ASA (81 mg) , ได้
รับ Dexa 4 mg IV ได้รับ 50% MgSo4 4 ml ใน 5%DW
100 ml drip in 4 hr x 3 วัน ได้รับยารับประทาน EKCL 30 ml or
al , Thyroxine (100mg) , Theoder (200) , ได้รับยาพ่น Seretide
evohaler และยา Metoprolol (200) ผู้ป่ วยอาการทุกเลา แพทย์จึงจ
าหน่ายผู้ป่ วย โดยนอนโรงพยาบาลเป็ นระยะเวลา 3 วัน ได้ประสานส่ง
กลับโรงพยาบาลชุมชนเพื่อเตรียมดูแลผู้ป่ วยที่บ้านอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น
บทบาทของพยาบาลจึงมีความส าคัญเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้และ
ทักษะในการดูแล ให้การพยาบาลในภาวะวิกฤติเพื่อติดตามประเมิน
อาการเปลี่ยนแปลงและเฝ้ าระวังภาวะแทรกซ้อนและ การวางแผนจ า
หน่ายผู้ป่ วยอย่างเหมาะสม โดยการพยาบาลผู้ป่ วยภาวะหัวใจล้มเหลว มี
2

เป้ าหมายเพื่อ ลดอัตราการเสียชีวิตและลดการกลับเข้ารักษาซา ้ในโรง


พยาบาล

ค าส าคัญ: การพยาบาล, ภาวะ

หัวใจล้มเหลว, บทน า

ความเป็ นมาและความส าคัญของปั ญหา


ภาวะหัวใจล้มเหลวเป็ นภาวะที่มีความผิดปกติในหน้าที่ของหัวใจที่ร้าย
แรง เรื้อรังและก้าวหน้า ขึ้นเรื่อยๆ เป็ นเส้นทางสุดท้ายก่อนเสียชีวิตของ
ประชากรที่มีโรคหัวใจและหลอดเลือดชนิดที่ท าลาย หน้าที่ของหัวใจ
ภาวะหัวใจล้มเหลวมีความชุกเพิ่มขึ้น และเป็ นสาเหตุท าให้ต้องเข้ารับ
การรักษาใน โรงพยาบาล และสาเหตุการตายของประชากรในอัตราที่
ค่อนข้างสูง ในประเทศไทยอุบัติการณ์ของ ภาวะหัวใจล้มเหลวนั้น ไม่มี
ข้อมูลที่ชัดเจน ในฐานข้อมูลของ Thai Acute Decompensated
Heart Failure Registry ซึ่งเป็ นการลงทะเบียนผู้ป่ วยภาวะหัวใจล้ม
เหลวเฉียบพลันที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาล อัตราตายของผู้ที่หัวใจล้ม
เหลวนั้นอยู่ในอัตราที่สูง โดยพบว่าหลังการวินิจฉัย อัตราอยู่รอดที่ 5 ปี
อัตรา เสียชีวิตประมาณ ร้อยละ 20 ต่อปี สาเหตุของโรคหัวใจล้มเหลว
ที่พบบ่อยที่สุดคือ โรคหลอดเลือด หัวใจ ตามมาด้วยโรคลิ้นหัวใจ กล้าม
เนื้อหัวใจพิการ และโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลรัตนบุรีเป็ นโรง
พยาบาลชุมชนขนาด 120 เตียง มีผู้ป่ วยภาวะหัวใจล้มเหลวที่รับไว้ รักษา
ในโรงพยาบาล ปี 2562 , 2563 และ 2564 จ านวน 171 ราย , 265
ราย และ 528 ราย ตามล าดับ ( กลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาล
รัตนบุรี, 2564) ซึ่งพบว่า แนวโน้มมีผู้ป่ วยภาวะหัวใจ ล้มเหลวเพิ่มมาก
ขึ้น เพื่อให้การบ าบัดผู้ป่ วยภาวะหัวใจล้มเหลวให้ประสบผลส าเร็จนั้น
3

ต้องการความ ร่วมมือของสหวิชาชีพเพื่อให้มั่นใจว่าผู้ป่ วยจะได้รับการ


จัดการกับภาวะเจ็บป่ วยอย่างดีที่สุดและมี คุณภาพชีวิตดีที่สุดเท่าที่จะ
เป็ นไปได้ ดังนั้นในการพยาบาลผู้ป่ วยภาวะหัวใจล้มเหลวซึ่งเป็ นภาวะ
อันตรายที่พบบ่อยนี้ พยาบาลจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค
กลไกการเกิด ลักษณะอาการที่ ปรากฏ ภาวะแทรกซ้อน กระบวนการ
วินิจฉัยและการบ าบัดภาวะหัวใจล้มเหลว และต้องมีความรู้และ ทักษะ
ในการให้การพยาบาลผู้ป่ วยภาวะหัวใจล้มเหลวเป็ นอย่างดี เพื่อเป้ าหมาย
ที่การยืดชีวิตผู้ป่ วย ภาวะหัวใจล้มเหลว โดยการลดอาการ ส่งเสริม
คุณภาพชีวิต ชะลอความก้าวหน้าของโรค ลดเหตุที่จะท า ให้เสียชีวิตและ
ลดอัตราตาย ท าให้ผู้ป่ วยสามารถมีชีวิตอยู่กับโรคได้อย่างมีคุณภาพชีวิต
ที่ดี

ข้อมูลทั่วไป ชายไทย อายุ 82 ปี รู้สึกตัวดี ผิวคล้ า รูปร่างท้วม


ท่าทางเหนื่อยเพลีย ผมสีน้ าตาลแซมขาว
รู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง

อาการส าคัญ หายใจ


หอบ เป็ นมา 7
วัน

ประวัติการเจ็บป่ วยปั จจุบัน


7 วันก่อนมาโรงพยาบาล หายใจหอบ ไม่มีไข้ ไม่แน่นหน้าอก มารับ
ยาโรงพยาบาลรัตนบุรี วันนี้แพทย์นัดตรวจเลือด มีอาการหายใจ
หอบ
4

ประวัติการเจ็บป่ วยในอดีต
ผ่าตัดนิ่วในถุงน้ าดี เมื่อ 40 ปี ที่แล้ว ผ่าตัดกระเพาะ
อาหาร เมื่อ 32 ปี ที่แล้ว ป่ วยเป็ นโรคความดันโลหิตสูง 20
ปี ป่ วยเป็ น CKD 5 ปี และป่ วยเป็ นโรคหัวใจ 2 ปี ปฏิเสธ
การเจ็บป่ วยด้วยโรคติดต่อร้ายแรง ปฏิเสธอุบัติเหตุร้าย
แรงและโรคติดต่อทางกรรมพันธุ์ ปฏิเสธการผ่าตัด และ
ปฏิเสธการแพ้ยา

การประเมินสภาพร่างกาย ระดับความรู้สึกตัว E4V5M6 รูปร่างท้วม


ผิวคล้ า หายใจหอบ นอนราบไม่ได้ อุณหภูมิ 36
องศาเซลเซียส ชีพจร 84 ครั้งต่อนาที สม่ าเสมอ อัตราการหายใจ 20
ครั้งต่อนาที ความดันโลหิต 120/60 มิลลิเมตรปรอท ความอิ่มตัว
ออกซิเจนปลายนิ้ว 95%

การประเมินสภาพจิตใจและสังคม วิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บ
ป่ วย ถึงขั้นตอนการรักษาพยาบาล และผลของการรักษา

ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
HCT= 32 % WBC = 3,960 /ul Platelet 84,000 /ul ,TSH
= 12.58 uLU/ml, FT3 =
1.76 Pg/ml , FT4 = 1.25 mg/dl , K= 3.3 mmol/L, Mg= 1.4 ,
eGFR=38.65

ผลการตรวจพิเศษ
CXR พบ Right pleural effusion
5

Electrocardiogram (EKG): พบ Right Bundle Branch


Block
สรุปการรักษาขณะอยู่โรงพยาบาล ผู้ป่ วยมาโรงพยาบาลด้วยอาการ
หายใจหอบ ไม่เจ็บแน่นหน้าอก แพทย์วินิจฉัยเป็ น CHF , COPD c AE ,
Paroxysmal AF. Hypothyroidism, Thrombocytopenia,
และ Hypokalemia แรกรับผู้ป่ วยรู้สึกตัวดีถามตอบรู้เรื่อง
หายใจหอบ ท่าทางเหนื่อยเพลีย อุณหภูมิของร่างกาย 36 องศา เซสเซียส
, ชีพจร 60 ครั้งต่อนาที , อัตราการหายใจ 20 ครั้งต่อนาที , ความดัน
โลหิต 120/60 มิลลิเมตร ให้การรักษาโดย, ฉีดยา Dexa 4 mg IV q 1
2 hrs. , พ่น Berodual 1 NB q 4 hrs c prn. Keep O2 sat > 94
% , Lasix 80 mg IV , Record V/S , Intake/Output , Low salt
diet , จ ากัดน้ าดื่ม < 800 ml/day และ bleeding precaution ,
ให้ 50% MgSo4 4 ml ใน 5%DW 100 ml drip in 4 hr x 3 วัน
ให้ยารับประทานดังนี้ EKCL 30 ml oral x 1 dose , Thyroxine (10
0mg) 1x1 oral ac ก่อนอาหารเช้า 1 ชม. Theoder (200) 0.5 x 2
oral pc, Seretide evohaler (25/250)2 puff bid, ASA (81) 1x1
oral pc , Metoprolol (200) 0.5 x 1 oral pc, FF (200) 3 x 1 or
al pc, Folic A 1 x 1 oral pc, Simvastatin (20) 1 x 1 oral hs,
หลังจากได้รับการดูแลรักษา ผู้ป่ วยนอนโรงพยาบาล 3 วัน จึงจ าหน่าย
กลับบ้านได้ แพทย์นัดดูอาการ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2563
6

การพยาบาล ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 1 ปริมาตรเลือดที่ส่งออก


จากหัวใจต่อนาทีลดลง เนื่องจากการบีบตัว ของหัวใจไม่มีประสิทธิภาพ
ข้อมูลสนับสนุน
Subjective Data: ผู้ป่ วยบอกว่า “เหนื่อยเพลีย ให้ประวัติหอบเหนื่อย
มา 7 วัน”
Objective Data: EKG วันที่ 22 มกราคม 2563. : พบ Right
Bundle Branch Block
: CXR พบ Right pleural effusion
: แพทย์วินิจฉัย CHF วัตถุประสงค์ ผู้ป่ วยมี
ปริมาตรเลือดที่หัวใจส่งออกต่อนาทีเพียงพอที่จะไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วน
ต่างๆของร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
1. ระดับความรู้สึกตัวปกติ E4V5M6, สัญญาณชีพปกติ: BP
90-140/60-90 mmHg
2. HR 60-100 ครั้ง/นาที ชีพจรส่วนปลายแรงชัดเจน, RR
16-20 ครั้ง/นาที, O2 Sat ≥ 95%
3. ไม่มีอาการหายใจล าบาก
4. EKG show Normal Sinus Rhythm rate 60-100
bpm
5. อุณหภูมิปลายมือปลายเท้าอุ่น
6. Capillary refill < 3 วินาที
7. Urine output flow > 27.5-55 cc/hr (normal 0.5-1
cc/kg/hr) กิจกรรมการพยาบาล
7

1. ติดตามประเมินอาการ อาการแสดงของภาวะเลือดไปเลี้ยงอวัยวะ
ต่างๆ ได้แก่ ระดับความ รู้สึกตัว สีผิวซีดเย็นของผิวหนัง ความชัดเจนสม่
าเสมอของชีพจรส่วนปลาย ความอุ่นของปลายมือปลาย เท้า ทดสอบ Ca
pillary refill time
2. ประเมินการหายใจ เช่น หายใจเร็ว หายใจล าบาก หายใจเร็วตื้น
และสังเกตอาการไอ ฟั งเสียง ปอด อาการใจสั่น เจ็บแน่นหน้าอก
3. จัดให้นอนศีรษะสูง 30-45 องศา ให้ Absolute bed rest ท า
กิจกรรมทุกอย่างบนเตียง
4. ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา คือ On O2 Cannula
3 LPM
5. Record urine output q 1 hr keep > 27.5 cc/hr เพื่อประ
เมินการท างานของหัวใจและไต การประเมินผล ผู้ป่ วยรู้สึกตัวดี หอบลด
ลง นอนราบได้ lung crepitation both Lower lung ลดลง No E
xacerbation/Wheezing สัญญาณชีพจรปกติ BT 36.6 องศา
เซลเซียส, PR 74 bpm, RR 20 ครั้ง/นาที BP 113 / 89 mmHg, O2
sat 96% ปลายมือปลายเท้าอุ่น คล าชีพจรส่วนปลายได้ชัดเจน ไม่มีเจ็บ
แน่นหน้าอก ยังมีหายใจล าบาก ไอห่างๆ มีเสมหะลดลง ปั ญหานี้หมดไป
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 2 เสี่ยงต่อการแลกเปลี่ยนก๊าซบกพร่อง
เนื่องจากการเปลี่ยนแปลง ระบบไหลเวียนเลือดในปอด จากการบีบตัว
ของหัวใจผิดปกติ ข้อมูลสนับสนุน
Subjective Data: ผู้ป่ วยบอกว่า “หายใจล าบาก หอบเหนื่อย”
Objective Data: - หายใจหอบลึก RR 22 ครั้ง/นาที, Lung
crepitation Both Lung
, O2 sat room air 93% ไอมีเสมหะ
8

- CXR (23/01/63) : Right pleural effusion


- แพทย์วินิจฉัย CHF
วัตถุประสงค์ ผู้ป่ วยได้รับออกซิเจนเพียงพอที่จะ
เลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
1. ระดับความรู้สึกตัวปกติ E4V5M6, สัญญาณชีพจรปกติ: BP
90-140/60-90 mmHg
2. HR 60-100 ครั้ง/นาที ชีพจรส่วนปลายแรงชัดเจน, RR
16-20 ครั้ง/นาที, O2 Sat ≥ 95%
3. ไม่มีอาการหายใจล าบาก ไม่หอบเหนื่อย RR 16-20
ครั้ง/นาที
4. ไม่มีภาวะ Cyanosis Oxygen sat 95-100%
5. เสียงการหายใจปกติ Lung clear กิจกรรมการพยาบาล
1. ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน
เช่น ระดับการรู้สึกตัว เปลี่ยนแปลง กระสับกระส่าย หายใจหอบเหนื่อย
ปลายมือปลายเท้าเขียว ริมฝี ปากเขียว มี Cyanosis หมดสติ เป็ นต้น
พร้อมทั้งประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
2. บันทึกและสังเกตอาการแสดงที่ว่ามีปริมาตรสารน้ าในร่างกาย
มากกว่าปกติ และควรรายงาน แพทย์ทันทีถ้าพบความผิดปกติต่อไปนี้ คือ
มีอาการกระสับกระส่ายหรือเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ ฟั ง ปอดได้ยิน
เสียงผิดปกติ คือ Crepitation เมื่อนอนศีรษะสูง 45 องศา เส้นเลือดด า
ที่คอโป่ ง (Neck Vein Engorged) ไอมีเสมหะเป็ นฟองสีชมพู
3. ก าหนดระดับการมีกิจกรรมของผู้ป่ วย bed rest เพื่อลดความ
ต้องการในการใช้ออกซิเจน จัดให้นอนในท่า semi หรือ Flower’
9

s position 30-45 องศา เพื่อช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนก๊าซพร้อม ทั้ง


แนะน าผู้ป่ วยพลิกตะแคงตัว ทุก 2 ชั่วโมงเพื่อลดการคั่งค้างเสมหะที่
ปอด
4. ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา On O2 Cannula 3
LMP เพื่อป้ องกันภาวะ
Hypoxemia
5. สอนผู้ป่ วยให้หายใจอย่างมีประสิทธิภาพ และกระตุ้นให้ไอขับ
เสมหะ การประเมินผล ระดับความรู้สึกตัวปกติ E4V5M6, หอบลดลง
สัญญาณชีพปกติ BT 36.6 องศา
เซลเซียส, PR 74 bpm, RR 20 ครั้งต่อนาที, BP 113 / 89 mmHg
O2 Sat 96 %, ไม่มีภาวะ Cyanosis หอบเหนื่อยลดลง Crepitation
Both Lower lung ลดลง No Exacerbation/Wheezing ไอห่างๆ
นอนราบได้ ไม่มีเจ็บแน่นหน้าอก ไม่มีใจสั่น ปลายมือปลายเท้าอุ่นดี

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 3 มีภาวะน้ าเกินเนื่องจากความบกพร่องใน


การบีบตัวของกล้ามเนื้อ หัวใจจากการมีภาวะหัวใจล้มเหลว ข้อมูล
สนับสนุน
Subjective Data: ผู้ป่ วยบอกว่า “เหนื่อยเพลีย ให้ประวัติหอบ
เหนื่อย ก่อนมา 7 วัน”
Objective Data: - Lung crepitation both Lower lungs
หอบเหนื่อย RR 22 ครั้งต่อนาที - ไอบ่อย
- CXR (23/1/63) : Right pleural effusion
- แพทย์วินิจฉัย CHF
วัตถุประสงค์ ผู้ป่ วยอยู่ในภาวะสมดุล
ของสารน้ าในร่างกาย
10

เกณฑ์การประเมินผล
1. สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ BP 90-140/60-90 mmHg
2. HR 60-100 ครั้งต่อนาที ชีพจรส่วนปลายแรงชัดเจน, RR 16-20
ครั้งต่อนาที,
3. O2 Sat ≥ 95%
4. ไม่มีอาการหายใจล าบาก ไม่หอบเหนื่อย RR 16-20 ครั้ง/นาที
5. ไม่มีภาวะ Cyanosis Oxygen sat 95-100%
6. เสียงการหายใจปกติ Lung clear หลอดเลือดด าจูกูลาร์ไม่โป่ ง
พอง
7. Electrolyte, BUN, Cr อยู่ในเกณฑ์ปกติ BUN = 7.9-20.2
mg/dl, Cr = 0.6-1.3 mg/dl,
K = 3.5-5.0 mmol/l, Na = 135-150 mmol/l, Cl = 95-112
mmol/l, CO2 = 22-32 mmol/l
8. ผล film chest X-ray ปอดปกติไม่มีภาวะน้ าคั่งในปอด หรือ
improve ขึ้นจากเดิม กิจกรรมการพยาบาล
1. ประเมินสัญญาณชีพ ประเมินการหายใจ เช่น หายใจเร็ว
หายใจล าบาก หายใจเร็วตื้น นอน ราบไม่ได้ และสังเกตอาการไอ
เสมหะเป็ นฟองสีชมพู ฟั งเสียงปอด เช่น Crepitation, Wheezing
2. ประเมินอาการบวมบริเวณแขนขา ก้นกบ รอบกระบอกตา
อย่างน้อยทุกเวร ประเมินการ โป่ งพองของหลอดเลือดด าจูกูลาร์
3. ชั่งน้ าหนักวันละ 1 ครั้งในช่วงเช้า
4. จัดให้นอนศีรษะสูง 30-45 องศา
11

5. ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา คือ On O2
Cannula 3 LPM
6. จ ากัดน้ า <1000 ml/day ตามแผนการรักษา
7. จ ากัดโซเดียมในอาหารและเครื่องดื่ม จัดให้รับประทาน
อาหารรสจืด
8. ให้ยาตามแนวทางการรักษา Lasix 40 mg IV q 8 hr.
พร้อมติดตาม repeat electrolyte หลังได้ยาขับปั สสาวะ
9. Record I/O, Urine output q 1 hr keep > 27.5
cc/hr เพิ่มประเมินการท างานของหัวใจ และไต การประเมินผล
ระดับความรู้สึกตัวปกติ E4V5M6, หอบลดลง สัญญาณชีพปกติ BT 3
6.8 องศา
เซลเซียส, PR 96 bpm, RR 20 ครั้งต่อนาที, BP 110 / 58 mmHg
O2 Sat 96 %, ไม่มีภาวะ Cyanosis หอบเหนื่อยลดลง Lung
= Crepitation Both Lower lung ลดลง No
Exacerbation/Wheezing ,Intake 950 ml/output 2,100
ml/เวร, I/O negative 1,150 ml/day, ไอห่างๆ มีเสมหะลดลง ไม่มี
เสมหะเป็ นฟองหรือมีสีชมพู ไม่มีการโป่ งพองของหลอดเลือดด าจูกูลาร์
ผล Lab electrolyte อยู๋ในเกณฑ์ปกติ Na 141 mmol/l, K 3.1 m
mol/l, Cl 100 mmol/l, CO2 37 mmol/l, CXR = Right pleura
l effusion ลดลง
12

ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 4 : มีภาวะ
Hypokalemia ข้อมูลสนับสนุน
Subjective Data: ผู้ป่ วยบอกว่า “เหนื่อยเพลีย ให้ประวัติหอบเหนื่อย
มา 7 วัน”
Objective Data: K (22/01/63) : 3.3 mmol/L
K (23/01/63) : 3.1 mmol/L
: แพทย์วินิจฉัย CHF, Paroxysmal AF. Hypothyroidism,
thrombocytopenia,
Hypokalemia
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ โปแตสเซี่ยมใน
ร่างกายกลับสู่ภาวะปกติ
เกณฑ์การประเมินผล
1. โปแตสเซี่ยมในร่างกายปกติ K 3-55 mEq/l
2. ไม่มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง
3. ไม่มีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
4. รู้สึกตัวดี ไม่มีอาการสับสน
กิจกรรมการพยาบาล
1. สังเกตอาการเหนื่อยอ่อนเพลีย ใจสั่น คลื่นไส้อาเจียน
ท้องอืด
2. บันทึกสัญญาณชีพทุก 2–4 ชั่วโมง
3. จัดให้ผู้ป่ วยพักผ่อนบนเตียง มีกิจกรรม เท่าที่จ าเป็ น
ระวังอุบัติเหตุ
4. แนะน าญาติให้จัดหา ผลไม้ที่มีโปตัสเซียม สูงให้ผู้ป่ วย
รับประทาน เช่น กล้วย ส้ม องุ่น
13

5. บันทึกสารน้ าเข้าออก เนื่องจากผู้ป่ วยได้ รับยาขับ


ปั สสาวะ (Lasix) อาจท าให้สูญเสีย โปตัสเซียมออกมา กับ
ปั สสาวะ
6. ดูแลให้ได้รับสารน้ าตามแผนการรักษา ของแพทย์คือ
0.9% NaCl 1,000 ml + KCL 40 mg vein drip 40 ml/hr
7. ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาของ แพทย์ KCL 2
tab oral stat
8. ติดตามผลอิเล็คโตรลัยต์ คลื่นไฟฟ้ าหัวใจ
9. รายงานแพทย์ทราบกรณีผลอิเล็คโตรลัยต์ ผิดปกติ

การประเมินผล ระดับความรู้สึกตัวปกติ E4V5M6,ไม่มีอาการใอ ผล


Lab Potassium อยู่ในเกณฑ์ปกติ 3.9
mmol/l, อาการอ่อนเพลียดีขึ้น ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 5 : มีภาวะ Hypomagnesaemia


ข้อมูลสนับสนุน

Subjective Data : ผู้ป่ วยบอกว่า “บางครั้งมีกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็ น


เหน็บชา”
Objective Data : ผู้ป่ วยมีอาการหอบเหนื่อย
: Magnesium =1.4
วัตถุประสงค์
เพื่อให้แมกนีเซียมในร่างกายกลับสู่ภาวะปกติ
เกณฑ์การประเมินผล
1. Magnesium 1.8-2.6
14

2. ไม่มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง เกร็ง สั่น กระตุก เหน็บชา เป็ น


ตะคริว ชัก หัวใจเต้น ผิดปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
1. สังเกตอาการผิดปกติ เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรง เกร็ง สั่น
กระตุก เหน็บชา เป็ นตะคริว ชัก หัวใจเต้นผิดปกติ
2. ติดตามระดับของแมกนีเซียมเป็ นระยะ
3. ควบคุมอาการของโรคประจ าตัวตามที่แพทย์สั่ง เช่น ภาวะ
หัวใจวาย เป็ นต้น
4. ดูแลให้ยา 50% MgSo4 4 ml ใน 5%DW 100 ml
drip in 4 hr x 3 วัน ตามแผนการ รักษาของแพทย์
5. สังเกตอาการผิดปกติขณะให้ยา Magnesium เช่น ความดัน
โลหิตต่ า คลื่นไส้หน้าแดง ซึม กล้ามเนื้ออ่อนแรง รีเฟล๊กซ์ลดลง
6. แนะน าให้ผู้ป่ วยรับประทานอาหารที่มีแมกนีเซียมเป็ นประจ
าทุกวัน เช่น นมถั่วเหลือง ธัญพืชเต็มเมล็ด กล้วย เป็ นต้น
การประเมินผล
ผู้ป่ วยไม่มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง เกร็ง สั่น กระตุก เหน็บชา เป็ น
ตะคริว ชัก หัวใจเต้น ผิดปกติ

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 6 : มีภาวะ
Hypothyroidism ข้อมูลสนับสนุน
Subjective Data: ผู้ป่ วยบอกว่า “ป่ วยเป็ นโรคไทรอยด์ รับยา โรง
พยาบาลรัตนบุรีหลายปี แล้ว”
Objective Data: จากประวัติ ป่ วยเป็ นโรค Hypothyroidism
15

: ตรวจร่างกายพบก้อนที่คอขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4
cms
: ผลตรวจ TSH = 12.58 uLU/ml, FT4 = 1.25
mg/dl, FT3 = 1.76 Pg/ml : แพทย์ Order
ยา Thyroxine (100mg) 1x1 oral ac.
เป้ าหมาย
เพื่อผู้ป่ วยปลอดภัยจากภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน
เกณฑ์การประเมินผล
1. ผลตรวจ TSH = 0.270-4.20 uLU/ml, FT4 = 0.932-1.71
mg/dl, FT3 = 2.02-4.43
Pg/ml
2. ไม่มีอาการเหนื่อยง่าย หัวใจเต้นช้า เซื่องซึม ง่วงนอนตลอดเวลา
เป็ นตะคริว

กิจกรรมการพยาบาล
1. ให้ความรู้ผู้ป่ วยและญาติเกี่ยวกับสาเหตุของโรคอาการอาการแสดง
ภาวะแทรกซ้อนที่ อาจจะ เกิด แผนการรักษาพยาบาลและเปิ ด
โอกาสให้ซักถามปั ญหาและข้อข้องใจ
2. ดูแลให้ผู้ป่ วยได้รับความอบอุ่น
3. รับประทานที่ให้พลังงานต่ าแต่โปรตีนสูง มีวิตามินครบถ้วนและ
อาหารที่มีกากใย
4. ติดตามผลการตรวจหาค่า total T3 total T4 free T4 และ
TSH
5. ดูแลให้รับประทานฮอร์โมนทดแทน
16

6. สังเกตอาการข้างเคียงของยา
7. บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพราะผู้ป่ วยอาจมีหัวใจเต้นผิด
จังหวะ เหนื่อยง่าย
8. ปฏิบัติตามที่แพทย์/พยาบาลแนะน าเสมอ
9. ให้ค าแนะน าเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะอยู่ที่บ้าน เช่น กินยาให้
ครบถ้วน ห้ามขาดยา โดยเฉพาะยาไทรอยด์ฮอร์โมน (แพทย์จะ
ปรับขนาดยาให้เหมาะกับสภาพอาการของผู้ป่ วย) การประเมินผล
ระดับความรู้สึกตัวปกติ E4V5M6, สัญญาณชีพปกติ BT 36.6
องศา เซลเซียส, PR 74 bpm, RR 20 ครั้งต่อนาที, BP 113 /
89 mmHg อาการอ่อนเพลียดีขึ้น ไม่มีอาการหัวใจเต้นช้า เซื่อง
ซึม ง่วง นอนตลอดเวลา เป็ นตะคริว ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่
7 ผู้ป่ วยและญาติวิตกกังวล เนื่องจากผู้ป่ วยอยู่ในภาวะเจ็บป่ วย
วิกฤต ข้อมูลสนับสนุน
Subjective Data: ผู้ป่ วยและญาติบอกว่า “มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับ
อาการเจ็บป่ วย เพราะยังนอน พักรักษาตัวในหอผู้ป่ วยวิกฤต อาการยังไม่
คงที่ จึงมีความวิตกกังวล กลัวต่างๆ นาๆ” ผู้ปว่ ยถามว่า
“เมื่อไหร่จะได้ออกจากห้องไอซียู”
Objective Data : ญาติ สีหน้าท่าทางวิตกกังวล มีการซักถามข้อมูล
ค่อนข้างเยอะขณะเข้าเยี่ยม
: ผู้ป่ วยสีหน้าไม่สดชื่น
วัตถุประสงค์ ผู้ป่ วยและญาติคลายความวิตกกังวล เข้าใจขั้นตอนและ

แผนการรักษาและวิธีการผ่อนคลาย
17

ความเครียด เกณฑ์การ
ประเมินผล
1. ผู้ป่ วยและญาติมีสีหน้าสดชื่น คลายความวิตกกังวล ไม่มีหน้า
นิ่วคิ้วขมวด
2. ผู้ป่ วยและญาติบอกสบายใจขึ้น
3. มีความสามารถในการเผชิญปั ญหาและขอความช่วยเหลือใน
การแก้ไขปั ญหา
4. ผู้ป่ วย และญาติสามารถบอกได้ถึงภาวะความเจ็บป่ วย
แนวทางการรักษา ยอมรับต่อการ รักษาของแพทย์
5. ผู้ป่ วยสามารถนอนหลับพักกลางวันได้อย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง
กลางคืนอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง กิจกรรมการพยาบาล
1. สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่ วยและญาติเพื่อให้รู้สึกไว้วางใจ มั่นใจได้
ว่าจะได้รับการพยาบาลที่ดี
2. ให้การพยาบาลผู้ป่ วยอย่างใกล้ชิดในระยะที่มีอาการเปลี่ยนแปลง
มากและอาการรุนแรง สนับสนุนให้ก าลังใจ ให้ความอบอุ่น ห่วงใยและ
ช่วยเหลือกิจกรรมต่างๆ
3. ให้การพยาบาลที่นุ่มนวล ค านึงถึงความเป็ นบุคคลของผู้ป่ วยโดย
การเรียกชื่อ และบอกผู้ป่ วย ทุกครั้งก่อนให้การพยาบาลเพื่อผ่อนคลาย
ความวิตกกังวลและเพื่อให้ผู้ป่ วยเกิดความมั่นใจในการดูแล อย่างใกล้ชิด
และความพร้อมของทีมบุคลากรสุขภาพ
4. ประเมินระดับความวิตกกังวล ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค
แนวทางการรักษาของแพทย์ และการปฏิบัติตัวของผู้ป่ วยและญาติ
5. อธิบายสภาพแวดล้อม เครื่องมือต่างๆ การปฏิบัติตัวและระเบียบ
ของหอผู้ป่ วย
18

6. ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะของโรคตามความเหมาะสมกับการยอมรับ
และความพร้อมในการรับ ฟั งของผู้ป่ วยและญาติ
7. เปิ ดโอกาสให้ผู้ป่ วยและญาติได้ระบายความรู้สึก ซักถามถึงข้อสงสัย
ต่างๆ
8. จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ เรียบร้อย ให้ผู้ป่ วยได้มีเวลาพักผ่อน
9. แนะน าเทคนิคผ่อนคลายที่เหมาะสมและช่วยค้นหาและแนะน าวิธี
การแก้ปั ญหาที่ผู้ป่ วยและ ครบครัวเคยใช้และประสบผลส าเร็จ เช่น การ
ฝึ กหายใจ การท าจิตใจให้สงบ ไหว้พระ สวดมนต์ ฟั ง ธรรมะ
10. ประสานให้ผู้ป่ วย/ญาติได้รับทราบข้อมูลจากแพทย์อย่าง
น้อยวันละครั้งและทุกครั้งที่มีอาการ เปลี่ยนแปลงหรือเมื่อญาติต้องการ
11. แนะน าแนวทางการติดต่อสื่อสารระหว่างญาติกับเจ้าหน้าที่
และระหว่างญาติกับผู้ป่ วย
12. ให้ข้อมูลการด าเนินของโรค แนวทางการรักษาของแพทย์แก่
ผู้ป่ วยและญาติทุกวัน การประเมินผล ผู้ป่ วยเข้าใจแผนการรักษา ให้
ความร่วมมือในการรักษา สีหน้าสดชื่นขึ้น นอนหลับพักผ่อนได้ ผู้ป่ วยรับ
ทราบการพยากรณ์และการด าเนินของโรค ผู้ป่ วยและญาติมีความหวังว่า
จะสามารถออกจาก โรงพยาบาลได้โดยเร็ว

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 8 พร่องความรู้ในการปฏิบัติตัวและการ
ดูแลตนเองอย่างเหมาะสมเมื่อ กลับบ้าน ข้อมูลสนับสนุน
Subjective Data: ผู้ป่ วยบอกว่า “ผมไม่รู้เลยว่าห้ามกินน้ าเยอะ ท า
งานเหนื่อยๆ ก็กินน้ าเยอะเลย จะ ได้มีแรง แต่จะพยายามปฏิบัติตามค า
แนะน าที่แพทย์/พยาบาลได้ให้ค าแนะน าในการปฏิบัติตัว”
Objective Data: จากการประเมินผู้ป่ วยมีความรู้เกี่ยวกับโรคบ้างบาง
ส่วน แต่ยังคงพร่องความรู้ เช่น เรื่องการจ ากัดน้ าดื่ม การสังเกตอาการ
19

ผิดปกติ เช่น บวม นอนราบไม่ได้ วัตถุประสงค์ ผู้ป่ วยมีความรู้เพียงพอใน


การจัดการตนเอง เพื่อปฏิบัติตนในเรื่องการรับประทานยา การสังเกต
อาการผิดปกติ การรับประทานอาหาร และการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมกับ
โรค

เกณฑ์การประเมินผล
1. บอกเกี่ยวกับโรค การรับประทานยา การปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
2. บอกชนิดอาหารที่ควรหลีกเลี่ยงและควรรับประทานได้
3. บอกวันเวลาที่ต้องมาพบแพทย์และอาการผิดปกติที่ต้องมา

พบแพทย์ก่อนนัดได้ กิจกรรมการพยาบาล

1. ประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคและ
แผนการรักษา
2. ให้ความรู้และการปฏิบัติตัวผู้ป่ วยขณะอยู่ในโรงพยาบาลดังนี้
2.1 อธิบายพยาธิสภาพของโรค เช่น อาการ อาการแสดง การด า
เนินของโรคให้
สอดคล้องตามแผนการรักษาของแพทย์
2.2 การรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง การลดพฤติกรรมเสี่ยงที่ท า
ให้เกิดโรคซ้ าได้ เช่น การลดสารหรือยาออกฤทธิ์กระตุ้นหัวใจ
เช่น กาแฟ เหล้า หลีกเลี่ยงการออกก าลังกายอย่างหนัก การ
ขาดยา เป็ นต้น แนะน าการสังเกตผลข้างเคียงของยาที่ได้รับ
เมื่อกลับบ้าน
2.3 อธิบายถึงปั จจัยเสี่ยงที่เป็ นสาเหตุของการเกิดความรุนแรง
ของโรค คือ การขาดยา
การท างานหนัก การดื่มน้ าปริมาณมาก
20

3. ให้ความรู้ผู้ป่ วยและญาติเกี่ยวกับโรค การรักษาและการ


ปฏิบัติตัวก่อนกลับบ้านดังนี้ อธิบายกระบวนการของโรค พยาธิสภาพ
อาการและอาการแสดงอย่างสั้นๆ
3.1 เน้นความส าคัญของบทบาทผู้ป่ วยในการควบคุมโรคและ
การมาตรวจตามนัด
3.2 อธิบายผู้ป่ วยและญาติเกี่ยวกับปั จจัยเสี่ยงที่ท าให้เกิดโรคซ้ า
ซึ่งในผู้ป่ วยยังคงมีปั ญหา ในการดื่มน้ ามาก รับประทานอาหาร
ไม่เหมาะสมกับโรค
3.3 อธิบายความส าคัญของการมาพบแพทย์ตามนัด แนะน า
สังเกตอาการผิดปกติ เช่น
ใจสั่น แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก หอบเหนื่อย บวม นอนราบไม่ได้

เป็ นต้น ให้มาก่อนนัดได้ การประเมินผล

- สามารถอธิบายเกี่ยวกับการรับประทานยา อาหารและการ
ปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
- สามารถอธิบายถึงการลดปั จจัยเสี่ยงที่ท าให้เกิดโรคซ้ า
- สามารถอธิบายถึงวันเวลาที่ต้องมาพบแพทย์ตามนัด และ
บอกอาการผิดปกติที่ต้องมาพบ แพทย์ก่อนนัดได้ วิจารณ์และข้อเสนอ
แนะ วิจารณ์ กรณีศึกษารายนี้เป็ นผู้ป่ วยชายไทย วัยสูงอายุ ที่มาโรง
พยาบาลด้วยอาการหายใจหอบ เหนื่อย เพลีย แรกรับแพทย์วินิจฉัย
โรคเป็ นภาวะหัวใจล้มเหลว เมื่อศึกษาประวัติพบว่าผู้ป่ วยมีโรคประจ
าตัว หลายโรค เช่น โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ,โรคความดันโลหิตสูง , CK
D , โรคไทรอยด์และโรคหัวใจ ซึ่งโรคที่ กล่าวมา ล้วนเป็ นปั จจัยส
าคัญในการส่งเสริมให้หัวใจท างานหนัก จนเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้
เมื่อ ผู้ป่ วยมารับการรักษาด้วยอาการหอบ เหนื่อยเพลีย กลับพบว่า
21

ผลเลือดมีความผิดปกติ เช่น HCT ต่ า WBC ตา ่ Platelet ต่ า มี


ภาวะซีด , Hypokalemia , Hypomagnesaemia ถึงแม้ว่าผู้ป่ วย
จะได้รับการ รักษาในครั้งนี้จนอาการดีขึ้น อย่างไรก็ตามผู้ป่ วยยังมี
ความเสี่ยงต่อการ Recurrent ของโรคได้อีก เนื่องจากมีโรคที่เป็ น
ปั จจัยส่งเสริมให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว ซึ่งในแต่ละปั จจัยเป็ นสิ่งที่ท า
ให้การด าเนิน ของโรคเรื้อรังและรุนแรง เป็ นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้
หายขาดได้ ผู้ป่ วยต้องเข้ารับการรักษาต่อเนื่อง สม่ าเสมอ และการ
รักษาด้วยยาเป็ นเวลานาน ท าให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากยา ผู้ป่ วยมี
อาการทรุดลงจน ต้องเข้ารับการรักษาที่หอผู้ป่ วยหนัก ท าให้ผู้ป่ วยมี
ความวิตกกังวลเกี่ยวกับการกลับเป็ นซ้ าและเกรงว่าจะ เสียชีวิต อีกทั้ง
ยังพบว่า ผู้ป่ วยและญาติขาดความรู้ความเข้าใจ ในการปฏิบัติตัวขณะ
อยู่ที่บ้าน ข้อเสนอแนะ บุคลากรทางสุขภาพควรส่งเสริมให้ผู้ป่ วย
ภาวะหัวใจ ล้มเหลวมีการรับรู้ภาวะสุขภาพที่ถูกต้อง
และมีการปฏิบัติ ตามแผนการรักษาที่เหมาะสม ซึ่งจะช่วยลดระดับความ
รุนแรง ของโรค ลดอาการ รบกวนทางกายและอาการรบกวน ทางจิตใจ
ส่งผลให้ผู้ป่ วยมีคุณภาพชีวิตที่สัมพันธ์กับสุขภาพ ดีขึ้น จัดให้มีระบบ
บริการให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับโรค ทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน รับ
ปรึกษาปั ญหา
ทางโทรศัพท์ จัดท าช่องทางด่วนในการให้บริการกรณีฉุกเฉิน รวมถึง
บริการใช้รถโรงพยาบาลในระบบ การแพทย์ฉุกเฉิน ส่งเสริมให้ครอบครัว
มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่ วย เช่น การช่วยเหลือผู้ป่ วยในการท ากิจวัตร
ประจ าวัน ดูแลเรื่องการรับประทานยา การรับประทานอาหารที่ต้องจ า
กัดรสเค็ม การดื่มน้ าให้น้อยลง ประสานติดตามการดูแลต่อเนื่องที่
บ้าน ควรมีการติดตามเยี่ยมอาการอย่างต่อเนื่อง
22

สรุป การดูแลตนเองของผู้ป่ วยภาวะหัวใจล้มเหลวเป็ นสิ่งส าคัญที่สุดใน


การรักษาไว้ซึ่ง ภาวะสุขภาพ
และคุณภาพชีวิตที่ดี อย่างไรก็ตามการดูแลตนเองในภาวะดังกล่าวเป็ น
เรื่องที่ยากต้องอาศัยทั้ง การ สนับสนุนจาก สังคม รวมถึงแรงใจของผู้ป่ วย
เอง โดยการดูแลตนเองที่ส าคัญส าหรับผู้ที่มีภาวะหัวใจ ล้มเหลว ได้แก่
การรับรู้และการจัดการอาการผิดปกติที่เกิดขึ้น , การรับประทานยาตาม
แผนการรักษา และการติดตามแผนการรักษาอย่างสม่ าเสมอ , การรับ
ประทานอาหาร และน้ าที่เหมาะสม , การรักษา สมดุลของการท า
กิจกรรมและการพักผ่อน และ การดูแลตนเองด้านจิตสังคม ซึ่งหากผู้ป่ วย
สามารถดูแล ตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ย่อมส่งผลให้อัตราการเข้า
รับการรักษาตัวในโรงพยาบาลซ้ าลดน้อยลง ดังนั้นบทบาทของพยาบาล
ที่ส าคัญในการดูแลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว คือ การส่งเสริมความ
สามารถ ในการดูแลตนเอง ของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวซึ่งนอกจากการ
ให้ความรู้การให้ค าแนะน า เป็ นที่ปรึกษา และ ให้ก าลังใจเมื่อผู้ป่ วยเกิด
ปั ญหาแล้ว ยังรวมถึงการเป็ นผู้ประสานความร่วมมือระหว่าง บุคลากรทีม
สุขภาพในการเยี่ยมดูแลผู้ป่ วยที่บ้านอย่างต่อเนื่อง เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่ วยมี
ส่วนร่วม ในการรักษาและดูแล ตนเองอย่างเต็มศักยภาพ
23

เอกสารอ้างอิง

ชาญ ศรีรัตนสถาวร, รุ่งโรจน์ กฤตยพงษ์, เกรียรติชัย ภูริปั ญโญ และ


องค์การ เรืองรัตนอัมพร. 2546. Cardiac arrhythmia basic
knowledge to clinical practice ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ บียอนด์ พับลิสชิ่ง จ ากัด.
นิตยา เพ็ญศิรินภา. 2554. การเสริมพลังเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอด เลือด:แนวคิดและการปฏิบัติ.
กรุงเทพฯ: บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จ ากัด. ประดิษฐ์ ปั ญจวีณิน,
รุ่งโรจน์ กฤตยพงษ์ และเรวัตร พันธุ์กิ่งทองค า (บรรณาธิการ). 2554.
Cardiac Emergencies ภาวะฉุกเฉินระบบหัวใจและหลอด
เลือด. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจ ากัดภาพพิมพ์.
ผ่องพรรณ อรุณแสง (2556). การพยาบาลผู้ป่ วยโรคหัวใจและ
หลอดเลือด. พิมพ์ครั้งที่ 10. ขอบแก่น: คลังนานาวิทยา.
โรงพยาบาลบางกอก.ภาวะหัวใจล้มเหลว(Congestive Heart
Failure) วันที่สืบค้นข้อมูล
25 มกราคม 2563.เข้าถึงได้จาก
https://www.phukethospital.com/th/healthy-
articles/congestive- heart-failure. สมนึก นิลบุหงา และ
24

ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ. 2555. ระบบหัวใจและการท างาน:


Functional Cardiology.กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมดา
เพรส จ ากัด.
สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทยในพระพรมราชูปถัมภ์. (2553).
แนวทางการฟื้ นฟูสภาพใน ผู้ป่ วยโรคหัวใจ. วันที่สืบค้นข้อมูล 25
มกราคม 2563 เข้าถึงได้จาก
http://www.thaiheart.org/images/column_1291454908/R
ehabGuideline.pdf. สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทยในพระ
พรมราชูปถัมภ์ร่วมกับชมรมหัวใจล้มเหลวแห่งประเทศ ไทย. (25
51).แนวทางการปฏิบัติมาตรฐานเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษาผู้
ป่ วยภาวะ
หัวใจล้มเหลว. วันที่สืบค้นข้อมูล 25 มกราคม 2563 เข้าถึง
ได้จาก http://www.thaiheart.org. อรินทยา พรหมินธิ
กุล.คู่มือการดูแลผู้ป่ วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรังแบบบูรณาการ.วันที่
สืบค้นข้อมูล
25 มกราคม 2563 เข้าถึงได้จาก
http://www.thaiheart.org/images/column_1291454908/CM
U%20HF%20Clinic.pd อัจฉรา เตชฤทธิพิทักษ์. (2552). การ
พยาบาลผู้ป่ วยภาวะวิกฤตในระบบหัวใจและหลอดเลือด.
(พิมพ์ครั้งที่ 5).กรุงเทพฯ: บริษัท ลิฟวิ่งทรานส์มีเดีย จ ากัด.
MedShare.การแปลผล thyroid function. วันที่สืบค้นข้อมูล
25 มกราคม 2563 เข้าถึงได้จาก test
https://www.facebook.com/MedshareForExtern.Intern/
posts. Medthai.การตรวจการท างานของไต
(BUN,Creatinine,Creatinine learance,eGFR).
25

วันที่สืบค้นข้อมูล 25 มกราคม 2563. เข้าถึงได้


จาก.https://medthai.com.
Medthai.การตรวจเกลือแร่ในเลือด (Electrolyte). วันที่สืบค้นข้อมูล
25 มกราคม 2563. เข้าถึงได้ จาก https://medthai.com.

You might also like