67 กฎข้อที่สองอุณหพลศาสตร์ (1) (1)

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 7

กฎขอที่สองอุณหพลศาสตร

เราทราบดีวาความรอนยอนถายเทจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำ

ดังนั้นกฎขอที่สองนี้จะกลาววาความรอนยอมไหลจากที่มีอุณหภูมิสูงไปยังที่มีอุณหภูมิต่ำกวาและความรอน
ยอมไมไหลยอนกลับตามธรรมชาติ
เนื่องจากการทำงานของเครื่องจักรความรอนเรามักพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของระบบในเทอมของ
เอนโทรป (entropy) ดังนั้นกฎขอที่สองของอุณหพลศาสตรจึงกลาวในเทอมของเอ็นโทรปไดวาในระบบที่มีการ
เปลี่ยนแปลงจะทำใหเอนโทรปของระบบเพิ่มขึ้นหรือเทาเดิมเสมอเขียนสมการคณิตศาสตรไดวา

เมื่อ ∆S คือ เอนโทรปของระบบ


เอนโทรปเปนการจัดขอบเขตของความไมเปนระเบียบของระบบหรืออาจกลาววาเปนการวัดโอกาสที่เปนไป
ไดในการจัดตัวของสวนตางๆของระบบถาระบบมีโอกาสที่จะจัดตัวไดมากก็จะมีความไมเปนระเบียบสูงแสดงวา
ระบบมีเอ็นโทรปมาก

โบลทมานน ไดใหคำจำกัดความของเอ็นโทรปในเชิงสถิติวาเอ็นโทรปเปนผลคูณของคาคงที่ของโบลทมานน
และลอการิทึมของโอกาสที่เปนไปไดคงการจัดตัวของระบบ (P)

เอนโทรปมีหนวยเปน J/K-1 การคำนวณคาพีในเชิงสถิติคอนขางยุงยากดังนั้นจึงไมสะดวกในการนำมาใชใน


ระบบทางอุณหพลศาสตร กลอเซียส (clausius) ไดใหจำกัดความของเอ็นโทรปวาเอนโทรปที่เปลี่ยนแปลงไปของ
ระบบคืออัตราสวนระหวางปริมาณความรอนที่ระบบไดรับกับอุณหภูมิสัมบูรณของระบบขณะที่ไดรับความรอน

ถาระบบไดรับพลังงานความรอนระบบจะมีเอ็นโทรปเพิ่มขึ้นแตถาระบบสูญเสียความรอนระบบจะมีเอ็น
โทรปลดลงในกรณีของกระบวนการครบรอบของเอ็นโทรปนั้นจะมีคาคงที่นั่นคือ
ในกรณีที่อุณหภูมิไมคงที่ในการเปลี่ยนแปลงของเอ็นโทรปจะมีคาเปลี่ยน

สำหรับการเปลี่ยนแปลงแบบอุณหภูมิคงที่จะสามารถเขียนไดเปน

สำหรับการเปลี่ยนแปลงแบบแอเดียแบติก ∆Q=0 ดังนั้น S=0 แสดงวา Si = Sf

กลจักรความรอน
เปนสิ่งที่เปลี่ยนพลังงานความรอนใหเปนพลังงานกล โดยอาศัยความสันพันธของปริมาณตางๆ ในกฎขอที่
หนึ่งและขอที่สองของอุณหพลศาสตร

พิจารณากลจักรความรอนที่ทำงานระหวางแหลงความรอน x และ y ซึ่งมีอุณหภูมิ T1 และ T2 ตามลำดับ


โดยที่ T1 มากกวา T2 ดังรูป กลจักรความรอนจะไดรับพลังงานความรอน Q1 จากแหลงความรอน x และทำงาน
W จากนั้นคายความรอน Q2 ใหกับแหลงความรอน y จากกฎขอที่ 1 ของอุณหพลศาสตรจะได
วัฎจักรคารโนต

เปนกลจักรความรอนที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ทำงานโดยเปลี่ยนแปลงแบบอุณหภูมิคงที่ และแบบแอเดีย


บาติก สลับกันใน 1 รอบ และเปนการเปลี่ยนแปลงแบบผันกลับได โดยวัฏจักรคารโนตประกอบดวย

แกสบรรจุในกระบอกสูบ โดยมีขั้นตอนการทำงาน และงานที่ทำครบรอบ ไดดังกราฟ


1. จาก a ไป b พลังงานความรอน Q1 เขาสูระบบโดยอุณหภูมิคงที่ T1 แกสขยายตัวเกิดการทำงาน Wab
และเอนโทรปเพิ่มขึ้น
2. จาก b ไป c แกสขยายตัวตอไปแบบแอเดียแบติกทำใหพลังงานลดลง นั่นคือ อุณหภูมิของระบบลดลง
จาก T1 ไป T2 แกสทำงาน Wbc โดยไมเกิดการเปลี่ยนแปลงเอนโทรป
3. จาก c ไป d แกสถูกอัดแบบอุณหภูมิคงที่ T2 พลังงานความรอน Q2 ออกจากระบบตองใหงานกับแกส
Wcd และเอนโทรปของระบบลดลง
4. จาก d ไป a แกสถูกอัดแบบแอเดียแบติก ทำใหอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก T2 เปน T1 กลับสูสภวะเดิมตองให
งานกับแกส Wda และไมมีการเปลี่ยนแปลงเอนโทรป

ถา W เปนงานที่แกสทำใหการเปลี่ยนแปลงครบรอบ จะได


แบบฝกหัด
น้ำมวล 1 kg อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ผสมกับน้ำมวล 2 กิโลกรัม อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส จงหา
อุณหภูมิสุดทาย จงหาอุณหภูมิสุดทาย และเอนโทรปของระบบที่เปลี่ยนแปลงไป กำหนดใหคาความจุความ
รอนจำเพาะของน้ำ 4.2 × 103 J/Kg K
แบบฝกหัด
แกสฮีเลียม 1 โมล มีการเปลี่ยนแปลงใน 1 รอบ เปนแบบผันกลับได โดยมีการเปลี่ยนแปลงแบบความดัน
คงที่ และปริมาตรคงที่สลับกัน ระหวางอุณหภูมิสูงสุด TB และอุณหภูมิต่ำสุด TC ดังรูป จงหา
ก. ประสิทธิภาพของเครื่องจักรความรอนนี้
ข. ประสิทธิภาพของกลจักรคารโนตที่ทำงานระหวางอุณหภูมิ
สูงสุดและต่ำสุดนี้

You might also like