การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย 2

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 34

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพืน้ ฐาน

คณิตศาสตร์ ม.4
ศาสตร์
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผู้เรียบเรียง
สายงานวิชาการ

บรรณาธิการ
นางสาววรรณทัศน์ เลิศอภิสิทธิ
นางสามกรองทอง สุภาพพรชัย

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
คำนำ
ตามที่ ก ระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้ ป ระกาศใช้ ม าตรฐานการเรี ย นรู้ แ ละตั ว ชี้ วั ด กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้
ค ณิ ต ศ าส ต ร์ (ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง พ .ศ . 2560) แ ล ะ ตั ว ชี้ วั ด ร ะ ห ว่ า งท างแ ล ะ ตั ว ชี้ วั ด ป ล า ย ท า ง
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้สถานศึกษานำไปใช้เป็นกรอบทิศทาง
ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วางแผนการจัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒ นา
ผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ตามเป้าหมายของ
หลักสูตร ตลอดจนให้เกิดผลสำเร็จตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษา ดังนั้น ขั้นตอนการนำหลักสูตร
สถานศึกษาไปปฏิบัติจริงในชั้นเรียนของผู้สอน จึงจัดเป็นหัวใจสำคัญในการพัฒนาผู้เรียน
บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด จึงได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เพื่อให้ผู้สอนใช้เป็นแนวทางวางแผนจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยจัดทำเป็นหน่วยการ
เรียนรู้อิงมาตรฐานและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดระหว่างทางและตัวชี้วัดปลายทาง
โดยเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) อันจะช่วยให้ผู้ปกครองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กั บ การประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา สามารถมั่ น ใจในผลการเรีย นรู้ แ ละคุ ณ ภาพของผู้ เรี ย นที่ มี ห ลั ก ฐาน
ตรวจสอบผลการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
คณะผู้จัดทำได้ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดองค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้ที่สำคัญ 3 ส่วน
ที่เรียกว่า “OLE” โดยมีการตั้งจุดประสงค์การเรียนรู้ (Objective) ที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดระหว่างทาง ตัวชี้วัด
ปลายทาง และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางฯ เป็นตัวเริ่มต้น และมีกระบวนการเรียนรู้
(Learning Process) ซึ่งประกอบด้วย สาระสำคัญ เนื้อหาวิชา สื่อการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ ที่จะ
นำไปสู่การบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ตั้งไว้ สุดท้ายมีการวัดและประเมิน ผล (Evaluation) เพื่อตรวจสอบ
และบ่งชี้ว่าผู้เรียนได้มีพัฒนาการทางด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติ เป็นไปตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ตั้งไว้
มากหรือน้ อยเพีย งใด ซึ่งมีการใช้เครื่องมือในการวัดและประเมินผลที่ห ลากหลายมาตรวจสอบ โดยแสดง
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงองค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้ได้ ดังแผนภาพต่อไปนี้

Objective
(จุดประสงค์การเรียนรู้)

Evaluation Learning Process


(การวัดและประเมินผล) (กระบวนการเรียนรู้)

1
สำหรับหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน คณะผู้จัดทำได้ดำเนินการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้
สอดคล้ องตามรูป แบบที่ ส ำนั กวิช าการและมาตรฐานการศึกษากำหนดขึ้น เพื่ อเป็นเอกภาพเดียวกันตาม
องค์ประกอบต่อไปนี้
องค์ประกอบของหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
หน่วยการเรียนรู้ที่
เวลาเรียน ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
1.1 ตัวชี้วัดระหว่างทาง

1.2 ตัวชี้วัดปลายทาง

2. สาระการเรียนรู้
2.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

2.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้ามี)

3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

6. การวัดและประเมินผล
6.1 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
6.2 การประเมินก่อนเรียน
(ทำแบบทดสอบก่อนเรียน ประจำหน่วยการเรียนรู้ )
6.3 การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
6.4 การประเมินหลังเรียน
(ทำแบบทดสอบหลังเรียน ประจำหน่วยการเรียนรู้ )
7. กิจกรรมการเรียนรู้

8. สื่อและแหล่งการเรียนรู้


1
องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่
เรื่อง ชั้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ ระยะเวลา ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
1.1 ตัวชี้วัดระหว่างทาง

1.2 ตัวชี้วัดปลายทาง

2. จุดประสงค์การเรียนรู้

3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้ามี)

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

6. กิจกรรมการเรียนรู้ (Active Learning)

7. การวัดและประเมินผล

8. สื่อและแหล่งการเรียนรู้


1
โดยผู้ ส อนสามารถนำแผนการจั ด การเรีย นรู้เล่ ม นี้ ไปเป็ น คู่ มือ วางแผนการจัด กิ จกรรมการเรีย นรู้
ประกอบการใช้หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ทางบริษัทฯ จัดพิมพ์จำหน่าย
โดยออกแบบการเรียนรู้ (Instructional Design) ตามหลักการสำคัญ คือ

1 หลักการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
หน่วยการเรีย นรู้แต่ละหน่วยการเรียนรู้ จะกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไว้เป็นเป้าหมาย
ในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนจะต้องศึกษาและวิเคราะห์รายละเอียดของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ทุกข้อว่า ระบุให้ผู้เรียนต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เรื่องอะไร ต้องสามารถลงมือปฏิบัติอะไรได้บ้าง และ
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดนี้จะนำไปสู่การเสริมสร้างสมรรถนะสำคัญ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใดแก่ผู้เรียน

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร

นำไปสู่ ผู้เรียนทำอะไรได้

สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์

2 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
เมื่อผู้สอนวิเคราะห์ตัวชี้วัดและความสามารถของผู้เรียนที่จะเกิดตามตัวชี้วัด โดยได้กำหนดจุดประสงค์
การเรีย นรู้ และเป้าหมายการจัด กิจกรรมการเรียนรู้เรียบร้อยแล้ว จึงกำหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้และ
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนของกิจกรรมการเรี ยนรู้ที่
ออกแบบไว้จนบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ทุกข้อ
จุดประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน
เป้าหมาย
หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การเรียนรู้
และการพัฒนา
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
คุณภาพ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
ของผู้เรียน ของผู้เรียน
เน้นพัฒนาการทางสมอง
เน้นความรู้คคู่ ุณธรรม


1
3 หลักการบูรณาการกระบวนการเรียนรู้สู่มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
เมื่อผู้สอนกำหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้แล้ว จึงกำหนด
รูปแบบการเรียนรู้และกระบวนการเรียนรู้ ที่จะฝึกฝนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ บรรลุผลตามจุดประสงค์การ
เรียนรู้ โดยเลือกใช้กระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมายในหน่วยการเรียนรู้
นั้น ๆ เช่น รูปแบบการเรียนการสอนของการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Instructional Models of Cooperative
Learning) รู ป แบบการเรี ย นการสอนทั ก ษะกระบวนการเผชิ ญ สถานการณ์ รู ป แบบการเรี ย นการสอน
กระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model) ซึง่ กระบวนการเรียนรู้ที่มอบหมายให้ผู้เรียนได้
คิดและลงมือปฏิบัตินั้นจะต้องนำไปสู่การพัฒนาสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของผู้เรียน
ตามสาระการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้

4 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ผู้สอนต้องกำหนดขั้นตอน
และวิธีปฏิบัติให้ชัดเจน โดยเน้นให้ผู้เรียนได้คิดและลงมือปฏิบัติมากที่สุดตามแนวคิดและวิธีการสำคัญ คือ
1) การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางสติปัญญาที่ผู้เรียนทุกคนต้องใช้สมองในการคิดและทำความเข้าใจ
ในสิ่งต่าง ๆ ร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ค้นคว้า ทดลอง จนสามารถสรุปเป็นความรู้ได้ด้วยตนเอง และ
สามารถนำเสนอผลงาน หรือแสดงองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ได้
2) การสอน เป็นการเลือกวิธีการหรือกิจกรรมที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้นั้น ๆ และ
ที่สำคัญ คือ ต้องเป็นวิธีการที่สอดคล้องกับสภาพผู้เรียน ผู้สอนจึงต้องเลือกใช้ เทคนิคการสอน วิธี
การสอน และรูปแบบการสอนอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่าง
ราบรื่นจนบรรลุตัวชี้วัดทุกข้อ
3) รูปแบบการสอน ควรเป็นวิธีการและขั้นตอนฝึกปฏิบัติที่ส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถคิด
อย่างเป็นระบบ เช่น รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบสืบสอบความรู้ (5Es Instructional Model)
รูปแบบการสอน PPP Model
4) วิธีการสอน ควรเลือกใช้วิธีการสอนที่สอดคล้องกับเนื้อหาของบทเรียน ความถนัด ความสนใจ และ
สภาพปัญหาของผู้เรียน วิธีสอนที่ดีจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลการเรียนรู้ในระดับผลสัมฤทธิ์
ที่สูง เช่น วิธีการสอนแบบบรรยาย การสาธิต การทดลอง การอภิปรายกลุ่ มย่อย การแสดงบทบาท
สมมติ การใช้กรณีตัวอย่าง การใช้สถานการณ์จำลอง การใช้ศูนย์การเรียน
5) เทคนิคการสอน ควรเลือกใช้เทคนิคการสอนที่สอดคล้องกับวิธีการสอน และช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจ
เนื้อหาในบทเรียนได้ง่ายขึ้น สามารถกระตุ้นความสนใจและจูงใจให้ผู้เรียนร่วมปฏิบัติกิจกรรมการ
เรียนรู้อย่างมีป ระสิทธิภาพ เช่น เทคนิคการใช้ผังกราฟิก (Graphic Organizers) เทคนิคการเล่า
นิทาน เทคนิคการใช้คำถาม การเล่นเกม การใช้ตัวอย่างกระตุ้นความคิด


1
6) สื่อการเรียนการสอน ควรเลือกใช้สื่อที่มีความหลากหลาย ช่วยกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน ช่วยให้
ผู้เรียนทำความเข้าใจในเนื้อหาได้ง่ายขึ้น และทำความกระจ่างให้เนื้อหาสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
รวมทั้ งเป็ น เครื่ องมือ ช่วยให้ ผู้ เรียนเกิดการเรียนรู้บ รรลุ ตัว ชี้วัด ได้ อ ย่างราบรื่น เช่น สื่ อสิ่ งพิม พ์
เอกสารประกอบการสอน คอมพิวเตอร์ โดยควรเตรียมสื่อต่าง ๆ ให้ครอบคลุมทั้งสื่อการสอนของ
ผู้สอนและสื่อการเรียนรู้ของผู้เรียน

5 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เป็นการออกแบบการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ให้
ผู้เรียนได้นำความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณค่า มาลงมือปฏิบัติกิจกรรมที่มีความหลากหลายด้วยการเรียนรู้ผ่าน
การคิด การเรียนรู้จากการสำรวจและค้นหา การเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน และการเรียนรู้ผ่าน
การลงมือทำ เพื่อสร้างความรู้ของตนเอง และสื่อสารได้ด้วยความเข้าใจ จนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้และเกิด
สมรรถนะ (Competency)
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) มีหลากหลายวิธี ผู้สอนควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ
ตัวชี้วัด จุดเน้นของสาระ และธรรมชาติของวิชา โดยเน้นที่ประสิทธิผลของการเรียนรู้ที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิด
สมรรถนะสำคัญตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
องค์ประกอบของการจัดกิจกรรม
ตัวอย่าง วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
(Active Learning)
การเรียนรู้ผ่านการคิด • กระบวนการปฏิบัติ (Practice Teaching)
เน้นวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยผู้เรียนจะมีส่วนสำคัญ • วิธีการสอนแบบใช้กรณีตัวอย่าง (Case)
ในกระบวนการคิ ด เพื่ อ ต่ อ ยอดการเรี ย นรู้ ข องตนเอง • กระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geo Literacy)
การเรียนรู้จากการสำรวจและค้นหา • วิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง (Simulation)
เน้ น กระตุ้ น ให้ ผู้ เ รี ย นได้ ส ำรวจค้ น หา โดยเชื่ อ มโยง • วิธีสอนแบบแก้ปัญหา (Problem Solving Method)
• วิธีสอนโดยการอภิปรายกลุ่มย่อย
ความสนใจและประสบการณ์โดยตรงระหว่างเรื่องที่สอนกับ
(Small Group Discussion)
ความสนใจของตนเอง
• การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน
การเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน
(Brain-Based Learning)
เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียน • การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน
กับผู้เรียน โดยผู้เรียนสามารถเข้า ถึงความรู้ได้ ภ ายใต้ การ (Project-Based Learning)
แนะนำของผู้สอน การทำงานร่วมกั บเพื่ อ น รวมถึ งมี ก าร • รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบสืบสอบความรู้
สื่อสารและนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นได้รับรู้ (5Es Instructional Model)
การเรียนรู้ผ่านการลงมือทำ • การเรียนการสอนเน้นมโนทัศน์
เน้ น ให้ ผู้ เรี ย นมี โ อกาสลงมื อ ปฏิ บั ติ กิ จ กรรมผ่ า นการ (Concept Based Teaching and Learning)
ร่วมมือกัน วางแผน วิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างชิ้นงานหรือ • รูปแบบการสอน PPP Model
• วิธีสอน Task-Based Language Teaching
นวัตกรรม

1
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) กับสมรรถนะสัมพันธ์กันอย่างไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เป็นการออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้นำ
ความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณค่า มาลงมือปฏิบัติผ่านกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ เพื่อสร้างความรู้ของตนเอง
และสื่อสารได้ด้วยความเข้าใจ จนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้และเกิดสมรรถนะ
สมรรถนะ เป็นเป้าหมายหรือสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่จะนำพาผู้เรียนไปสู่สมรรถนะ

ความรู้ ผ่านกิจกรรม
สมรรถนะ
+ Active Learning
• ความสามารถในการสื่อสาร
ทักษะ
ตัวอย่าง • ความสามารถในการคิด
+
• สถานการณ์จำลอง • ความสามารถในการแก้ปัญหา
เจตคติและคุณค่า
• Project Presentation • ความสามารถในการใช้ทักษะ
• กิจกรรมเสริมหลักสูตร ชีวิต

รวมเป็นหนึ่งเป้าหมาย • Independent Study • ความสามารถในการใช้


เชิงสมรรถนะ • Open House เทคโนโลยี

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) กับการเปลี่ยนบทบาทใหม่ของผู้สอน


บทบาทของผู้สอนจะเปลี่ยนไป จากผู้ให้ความรู้สู่ผู้จัดกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วย
ตนเอง

เตรียมสอน ระหว่างสอน หลังการสอน

ตั้งเป้าหมายการเรียนรู้ ผู้สอนเป็นผู้สนับสนุนและ สังเกตและประเมินผู้เรียน


แล้วออกแบบการจัดกิจกรรมการ กระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่าง 1. ประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน
เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ต่อเนื่อง โดยใช้รูปแบบการสอน 2. ประเมินว่าผู้เรียนสามารถ
วิธีการสอน และเทคนิคการสอน ทำได้ตามเป้าหมายหรือไม่
ต่าง ๆ เช่น การรวมกลุ่ม เพลง
เกม การระดมสมอง


1
6 หลักการวัดและประเมินผล
มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำคัญในการพัฒ นาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถครอบคลุม 8
กลุ่ มสาระการเรีย นรู้ ส่ วนตัว ชี้วัดระหว่างทางและตัวชี้วัดปลายทางจะระบุสิ่ งที่ผู้เรียนต้องรู้และปฏิบัติได้
รวมถึงคุณลักษณะที่ต้องเกิดขึ้นกับผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ผู้สอนจึงต้องนำตัวชี้วัดไปจัดทำหน่วยการเรียนรู้
จัดกระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ รวมถึงกำหนดเกณฑ์สำคัญที่ จะใช้สำหรับประเมินผลผู้เรียน
เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนแต่ละคน พร้อมทั้งจัดทำหลักฐานรายงานผลการเรียน และพัฒนาการด้านต่าง ๆ
ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
การวัดและประเมิน ผลกับ การจั ดกระบวนการเรียนรู้ต้องมีความสั มพัน ธ์กัน และผู้ ส อนต้องดำเนิ น
การวัด และประเมิ น ผลผู้ เรี ย นควบคู่ กั บ การจั ด กิ จ กรรมการเรีย นรู้ ทุ ก ครั้ ง โดยมี วัต ถุ ป ระสงค์ ส ำคั ญ คื อ
มุ่งประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนตามกระบวนการต่อไปนี้
1) การวัดเพื่อปรับปรุงพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล
2) การวัดอย่างต่อเนื่องทั้งก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน
3) การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนที่สะท้อนระดับความก้าวหน้าทางการเรียน
4) การประเมินสภาพจริงที่สะท้อนความถนัดและความสามารถที่เป็นจริงของผู้เรียน
เพื่อให้มั่นใจว่าผู้เรียนจะสามารถบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ตามตัวชี้วัดนั้น จึงได้มีการออกแบบและ
สร้างเครื่องมือสำหรับใช้ในการประเมินหลัก ๆ ดังนี้
1) แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน ประเมินความรู้ความเข้าใจ เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของการ
จัดการเรียนรู้ และแสดงให้ เห็ น ถึงพัฒ นาการการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อใช้ในการ
พัฒนาในหน่วยการเรียนรู้ถัดไป
2) ใบงาน/ใบกิจ กรรม ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ในด้านต่าง ๆ ของผู้ เรียน เพื่อปรับปรุงพัฒ นา
ผู้เรียน ครอบคลุมตัวชี้วัดระหว่างทางและตัวชี้วัดปลายทาง
3) แบบประเมินชิ้นงาน โดยใช้เกณฑ์ การให้คะแนน (Scoring Rubrics) เพื่อใช้ในการประเมินตัวชี้วัด
ปลายทาง
4) แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน โดยใช้เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubrics) เพื่อใช้ใน
การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551
5) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยใช้เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubrics) เพื่อใช้ใน
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน


1
ทั้งนี้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะครอบคลุมกิจกรรมการเรียนรู้ และ
การประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใจ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (S) และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
ตามตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตลอดจนแบบบันทึกผลการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ไว้ครบถ้วน สอดคล้องกับมาตรฐาน
ด้านคุณภาพผู้เรียน เช่น แบบบันทึกผลด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านการอ่านและแสวงหาความรู้ ด้านสมรรถนะ
แ ล ะ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ งป ร ะ ส งค์ ต า ม ห ลั ก สู ต ร ผู้ ส อ น ส าม า ร ถ น ำ ไป ป ร ะ ยุ ก ต์ ใช้ ได้ อ ย่ า ง
มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และใช้ ป ระกอบการจั ด ทำรายงานการประเมิ น ตนเอง (Self-Assessment Reports)
คณะผู้จัดทำจึงมั่นใจอย่างยิ่งว่า การนำแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ไปเป็นแนวทางจัดการเรียนการสอนจะช่วย
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้นตามมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาทุกประการ
คณะผู้จัดทำ


1
สารบัญ
หน้า
ตัวชี้วัดระหว่างทางและตัวชี้วัดปลายทาง พิเศษ 1
คำอธิบายรายวิชา พิเศษ 4
โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน พิเศษ 5
โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ พิเศษ 8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เซต 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 169
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักการนับเบื้องต้นและความน่าจะเป็น 320


1
ตัวชี้วัดระหว่างทางและตัวชี้วัดปลายทาง*
การจัดการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลของผู้สอนเกิดความยืดหยุ่นคล่องตัว และผู้เรียนได้
เข้าถึงองค์ความรู้ ใหม่ ๆ เพื่ อการพั ฒ นาตนเองที่ต อบสนองกับการเปลี่ ยนแปลงของสั งคมโลก สำนั กงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงกำหนดแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตัวชี้วัดระหว่างทาง
ตัวชี้วัดปลายทาง และเกณฑ์การตัดสินผลการเรียน ดังนี้
1. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตัวชี้วัดระหว่างทางและตัวชี้วัดปลายทาง
ตัวชี้วัดระหว่างทางและตัวชี้วัดปลายทางที่สถานศึกษานำไปใช้ในการกำหนดโครงสร้างรายวิชา การ
ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้บรรลุ
คุณภาพตามตัวชี้วัดที่กำหนด สถานศึกษาสามารถดำเนินการได้ ดังนี้
1.1 ตัวชี้วัดระหว่างทาง เป็นตัวชี้วัดที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และเน้นการประเมินในระหว่าง
การจั ดกิจ กรรมการเรียนรู้ ที่ เป็ น การประเมินเพื่อพัฒ นาผู้ เรียนเป็ นหลัก (Formative Assessment) ผ่ าน
มโนทัศน์ของการประเมินเพื่ อพัฒ นาการเรียนรู้ (Assessment for learning) และการประเมินขณะเรียนรู้
(Assessment as learning) ด้ว ยวิธีการประเมิน ที่ ห ลากหลายโดยเน้ นการวัดและประเมิ นผลแบบไม่ เป็ น
ทางการ (Informal Assessment) เช่น การสังเกตพฤติกรรม การสอบปากเปล่า การพูดคุย การใช้คำถาม
การเขีย นสะท้ อนการเรีย นรู้ การประเมิน ตนเอง เพื่ อนประเมิ น เพื่อน การวัดและประเมินผลแบบไม่เป็ น
ทางการ (Informal Assessment) เป็ น การได้ ม าซึ่ งข้ อ มู ล ผลการเรีย นรู้ที่ เน้ น ผู้ เรีย นเป็ น รายบุ ค คล จาก
แหล่งข้อมูลหลากหลายที่ผู้สอนเก็บรวบรวมตลอดเวลา วิเคราะห์ข้อมูล ศึกษาความพร้อมและพัฒนาการของ
ผู้เรียน ปรับการเรียนการสอนให้ เหมาะสม และแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ของผู้ เรียน ลักษณะของข้อมูล ที่ได้
นอกเหนือจากตัวเลขหรือข้อมูลเชิงปริมาณแล้ว อาจเป็นข้อมูลบรรยายลักษณะพฤติกรรมที่ผู้สอนเฝ้าสังเกต
หรือผลการเรียนรู้ในลักษณะคำอธิบายระดับพัฒนาการ จุดแข็ง จุดอ่อน หรือปัญหาของผู้เรียนที่พบจากการ
สั งเกต สั ม ภาษณ์ หรื อ วิ ธีก ารอื่ น ๆ ข้อ มู ล ที่ ได้ จะเป็ น ประโยชน์ ในการพั ฒ นาการเรีย นรู้ข องผู้ เรีย นเป็ น
รายบุคคล ช่วยให้ผู้สอนเข้าใจพฤติกรรมของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี และเป็นวิธีการที่ยืดหยุ่นตามสถานการณ์
และบริบทของผู้สอน
1.2 ตัวชี้วัดปลายทาง เป็นตัวชี้วัดที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นที่การประเมินผลลัพธ์
สุดท้ายที่ต้องการให้ เกิดกับ ผู้ เรียน (Summative Assessment) ด้วยวิธีการที่ห ลากหลาย เน้นการวัดและ
ประเมินผลแบบเป็นทางการ (Formal Assessment) เช่น การประเมินการปฏิบัติ การประเมินแฟ้มสะสมงาน
การประเมินด้วยแบบทดสอบ การประเมินชิ้ นงาน/ภาระงาน การเก็บข้อมูลดังกล่าว ใช้ในการวัดและประเมิน
ที่ได้ผลเป็นคะแนนและนำไปใช้ในการเปรียบเทียบ เช่น เปรียบเทียบระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนเพื่อดู
พัฒนาการหรือใช้เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ เมื่อสิ้นสุดการสอนในแต่ละหน่วยการเรียนรู้หรือรายวิชา วิธีการและ

*สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (ม.ป.ป.). ตัวชี้วัดระหว่างทาง


และตัวชี้วัดปลายทาง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (ม.ป.ท.).

พิเศษ 1
1
เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลผลการเรียนรู้แบบเป็นทางการ เป็นตัวแทนของระดับความสามารถของผู้เรียน
เป็นข้อมูลที่ต้องได้มาจากวิธีการวัดที่เหมาะสมกั บลักษณะข้อมูล เครื่องมือวัดและประเมินผลมีความเที่ยงตรง
(Validity) และมีความเชื่อมั่น (Reliability) มีความโปร่งใสสามารถตรวจสอบและเชื่อถือได้ (Acceptable)

2. เกณฑ์การตัดสินผลการเรียน
2.1 ระดับประถมศึกษา
1) ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน
2) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินตัวชี้วัดปลายทางผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึก ษากำหนด
ในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2.2 ระดับมัธยมศึกษา
1) ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน
ทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ
2) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินตัวชี้วัดปลายทางผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
ในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

พิเศษ 2
1
ตัวชี้วัดระหว่างทางและตัวชี้วัดปลายทาง
(กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์*)
สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่
เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้

กลุ่มที่ ตัวชี้วัดระหว่างทาง ตัวชี้วัดปลายทาง


1 - ค 1.1 ม.4/1 เข้ าใจและใช้ ค วามรู้เกี่ ยวกั บ เซตและ
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นในการสื่อสารและสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร์

สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำไปใช้

กลุ่มที่ ตัวชี้วัดระหว่างทาง ตัวชี้วัดปลายทาง


2 ค 3.2 ม.4/1 เข้าใจและใช้ ห ลัก การบวกและการคู ณ ค 3.2 ม.4/2 หาความน่ า จะเป็ น และนำความรู้
การเรียงสับเปลี่ยนและการจัดหมู่ในการแก้ปัญหา เกีย่ วกับความน่าจะเป็นไปใช้

*สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (ม.ป.ป.). ตัวชี้วัดระหว่างทาง


และตัวชี้วัดปลายทาง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (ม.ป.ท.).

พิเศษ 3
1
คำอธิบายรายวิชา
คณิตศาสตร์
รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลา 80 ชั่วโมง/ปี
ศึกษาเกี่ยวกับเซต การเขียนเซต เซตจำกัดและเซตอนันต์ เซตที่เท่ากัน เซตว่าง แผนภาพเวนน์และ
เอกภพสัมพัทธ์ สับเซตและสับเซตแท้ เพาเวอร์เซต การดำเนินการของเซต อินเตอร์เซกชัน ยูเนียน คอมพลี
เมนต์ ผลต่าง การหาผลการดำเนินการของเซตตั้งแต่สองการดำเนินการขึ้นไป จำนวนสมาชิกของเซตจำกัด
ประพจน์ การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “และ” “หรือ” “ถ้า...แล้ว...” “ก็ต่อเมื่อ” นิเสธของประพจน์ การ
หาค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์ การสร้างตารางค่าความจริง รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน สัจนิ
รันดร์ กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ แผนภาพต้นไม้ แผนภาพโพสสิบิลิตี้ แฟกทอเรียล การเรียงสับเปลี่ยน
เชิงเส้น การจัดหมู่ การทดลองสุ่ม ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ และความน่าจะเป็นของคอมพลีเมนต์ของ
เหตุการณ์
โดยอาศัยการศึกษา ค้น คว้า ฝึ กทักษะ โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒ นาทักษะ
กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปั ญ หา การให้ เหตุผ ล การสื่ อความหมายทางคณิ ตศาสตร์ และนำ
ประสบการณ์ ด้ านความรู้ ความคิ ด ทั ก ษะและกระบวนการที่ ได้ ไปใช้ ในการเรี ย นรู้สิ่ งต่ า ง ๆ และใช้ ใน
ชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ
มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง

ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ตัวชี้วัดระหว่างทาง ตัวชี้วัดปลายทาง
มฐ. ค 1.1 - ม.4/1
มฐ. ค 3.2 ม.4/1 ม.4/2
1 ตัวชี้วัด 2 ตัวชี้วัด
รวม 3 ตัวชี้วัด

พิเศษ 4
1
โครงสร้างรายวิชาพืน้ ฐาน คณิตศาสตร์ ม.4
เวลา 80 ชั่วโมง
มาตรฐานการ เวลา
ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง)
1 เซต ตัวชี้วัดระหว่างทาง การเขี ยนเซตมี 2 แบบ คือ แบบแจกแจงสมาชิกและแบบ 18
- บอกเงื่อนไขของสมาชิก ถ้ าเป็ นเซตที่ ไม่ มีสมาชิ ก เรียกว่ า
ตัวชี้วัดปลายทาง เซตว่าง ถ้าจำนวนสมาชิกภายในเซตเป็นศูนย์ หรือจำนวน
ค 1.1 เต็มบวก เรียกว่า เซตจำกัด ส่วนเซตที่ไม่สามารถบอกจำนวน
ม.4/1 สมาชิก หรือมีสมาชิกมากมายนับไม่ถ้วน เรียกว่า เซตอนันต์
และเซตสองเซตจะเท่ากัน ก็ต่อเมื่อ สมาชิกของเซตทั้งสอง
เหมื อนกั น ทุ กสมาชิ ก ส่ วนเซตสองเซตที่ มี จำนวนสมาชิ ก
เท่ากัน เรียกว่า เซตที่เทียบเท่ากัน การเขียนแผนภาพเวนน์
แทนเซตจะกำหนดให้ เซตของสมาชิ กทั้ งหมดที่ อยู่ ภายใต้
ขอบเขตสิ่ งที่ เราต้องการจะศึกษาโดยมี ข้อตกลงว่า ต่ อไปจะ
กล่าวถึงสมาชิกของเซตนี้เท่านั้น เรียกเซตนี้ว่า เอกภพสัมพัทธ์
เขียนแทนด้วย และเซต A เป็นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ
สมาชิกทุ กตั วของเซต A เป็ นสมาชิกของเซต B เขียนแทน
ด้วย A ⊂ B โดยเซต A เป็นสับเซตแท้ของเซต B ก็ต่อเมื่อ
A ⊂ B และ A ≠ B และเพาเวอร์เซตของเซต A คือ เซต
ของสั บ เซตทั้ ง หมดของเซต A เขี ย นแทนด้ ว ย P(A)
การดำเนินการของเซต ได้แก่ อินเตอร์เซกชันของเซต A และ
เซต B คื อ เซตของสมาชิ ก ที่ ซ้ ำกั น ของเซต A และเซต B
เขี ยนแทนด้ วย A ∩ B ยูเนี ยนของเซต A และเซต B คื อ
เซตของสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A หรือเซต B เขียนแทน
ด้วย A ∪ B คอมพลีเมนต์ของเซต A คือ เซตของสมาชิกทุก
ตั วในเซต แต่ ไม่ เป็ นสมาชิ ก ของเซต A เขี ยนแทนด้ วย
A  และผลต่างระหว่างเซต A และเซต B หรือคอมพลีเมนต์
ของเซต B เทียบกับเซต A คือ เซตที่มีสมาชิกเป็นสมาชิกของ
เซต A แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต B เขียนแทนด้วย A - B
การประยุกต์การดำเนินการของเซต คือ การนำเซตมาอินเตอร์
เซกชัน ยูเนียน คอมพลีเมนต์ หรือหาผลต่างระหว่างเซต
ตั้งแต่สองการดำเนินการขึ้นไป จากนั้นเขียนคำตอบในรูปเซต
หรือเขียนแผนภาพแทนเซตคำตอบนั้น การนำความรู้
เกี่ยวกับเซตไปใช้ในการแก้ปัญหา ถ้า A, B และ C เป็นเซต
พิเศษ 5
1
มาตรฐานการ เวลา
ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง)
จํากัดใด ๆ แล้ว จะได้ว่า
n(A  B) = n(A) + n(B) - n(A  B) และ n(A) +
n(B) + n(C) - n(A ∩ B) - n(A ∩ C) - n(B ∩ C)
+ n(A ∩ B ∩ C)
2 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ตัวชี้วัดระหว่างทาง ประพจน์ คือ ประโยคที่อยู่ในรูปบอกเล่าหรือปฏิเสธที่บอก 22
- ค่ าความจริงได้ ว่าเป็ น จริ งหรือเท็ จอย่ างใดอย่ างหนึ่ ง การ
ตัวชี้วัดปลายทาง เชื่อมประพจน์ คือ การนำประพจน์ตั้งแต่สองประพจน์ขึ้นไป
ค 1.1 มาเชื่อมกันเพื่ อให้ ได้ประพจน์ ใหม่ ซึ่งตั วเชื่ อมประพจน์ ที่
ม.4/1 นำมาใช้ ได้ แ ก่ คำว่ า “และ” “หรื อ ” “ถ้ า...แล้ ว...” “ก็
ต่อเมื่อ” นอกจากนี้ ยั งมีการสร้างประพจน์ ขึ้ นมาใหม่ จาก
ประพจน์เดิมโดยเติมคำว่า “ไม่” เพื่อทำให้ประพจน์นั้นเป็น
ประโยคปฏิเสธ การหาค่าความจริงของประพจน์เชิงประกอบ
ที่มีตัวเชื่อมตั้งแต่สองตัวขึ้นไป ทำได้โดยหาค่าความจริงของ
ประพจน์ที่อยู่ในวงเล็บก่อน ถ้าไม่มีวงเล็บให้หาค่าความจริง
ของประพจน์ที่ มีตัวเชื่อม “~”, “∧”, “∨”, “⟶” และ
“⟷” ตามลำดับ การสร้างตารางค่าความจริง ใช้เมื่อเราไม่
ทราบค่าความจริงของประพจน์ย่อยตัวใดเลย เราจึงจำเป็น
จะต้องหาค่าความจริงโดยการสร้างตารางแสดงค่าความจริง
ที่เป็นไปได้ทั้งหมดของประพจน์ย่อย ถ้ามี ประพจน์ย่อย n
ประพจน์ จะมีค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด 2n กรณี สัจนิ
รั น ดร์ คื อ ประพจน์ ที่ มี ค่ า ความจริ ง เป็ น จริ ง ทุ ก กรณี
ประพจน์สองประพจน์ใด ๆ สมมูลกัน ก็ต่อเมื่อ ประพจน์ทั้ง
สองมี ค่ าความจริ ง เหมื อ นกั น ทุ ก กรณี แบบกรณี ต่ อ กรณี
ประพจน์สองประพจน์ เป็นนิเสธกัน ก็ต่อ เมื่อ ประพจน์ทั้ง
สองมีค่าความจริงตรงข้ามกันทุกกรณี แบบกรณีต่อกรณี
3 หลักการนับเบื้องต้นและ ตัวชี้วัดระหว่างทาง แผนภาพต้นไม้ เป็นเครื่องมือที่ใช้แสดงให้เห็นถึงความเป็นไป 21
ความน่าจะเป็น ค 3.2 ได้ของผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นทั้งหมด นอกจากนี้ยังสามารถใช้
ม.4/1 แผนภาพโพสสิบิลิตีในการแสดงผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดที่
ตัวชี้วัดปลายทาง เกิ ดจากการกระทำ 2 ขั้นตอน หลักการนั บเบื้ องต้น ใช้ ใน
ค 3.2 การหาจำนวนวิ ธีทั้ งหมดที่ เหตุ การณ์ ใดเหตุ การณ์ หนึ่ งจะ
ม.4/2 เป็นไปได้ ซึ่งประกอบด้วยหลักการคูณและหลักการบวก
การเรียงสับเปลี่ยน คือ การนำสิ่งของหลายสิ่งที่แตกต่างกัน
ทุกชิ้นหรือมีสิ่งของบางชิ้นซ้ำกัน มาจัดเรียงเพี ยงบางส่วน
หรือทั้งหมด โดยยึดลำดับที่เป็นสำคัญ แฟกทอเรียล n คือ
การคูณของจำนวนเต็มบวกตั้งแต่ 1 ถึง n เมื่อ n เป็นจำนวน
เต็มบวก เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ n! และ 0! = 1
พิเศษ 6
1
มาตรฐานการ เวลา
ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง)
จำนวนวิธีการเรียงสับเปลี่ยนของสิ่งของ n สิ่ง ซึ่งแตกต่างกัน
ทั้งหมด โดยจัดเรียงคราวละ r สิ่ง ซึ่ง
n!
0 ≤ r ≤ n เท่ากับ Pn, r วิธี เมื่อ Pn, r = (n−r)!
การจัดหมู่ เป็นการเลือกสิ่งของออกมาเป็นหมู่หรือชุด โดยไม่
คำนึงว่าจะได้สิ่งใดออกมาก่อนหรือหลัง โดยจำนวนวิธีการ
จัดหมู่ของสิ่งของที่แตกต่างกัน n สิ่ง โดยเลือกคราวละ r สิ่ง
n
ซึ่ ง 0 ≤ r ≤ n เท่ า กั บ Cn, r หรื อ ( ) วิ ธี เมื่ อ Cn, r =
r
n!
(n−r)!r!
การทดลองสุ่ม คื อ การทดลองหรือการกระทำใด ๆ ที่ เรา
สามารถบอกผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นทั้งหมดได้ แต่ไม่สามารถ
บอกผลลัพธ์ที่ถูกต้องแน่นอนในแต่ละครั้งที่ทดลองได้
ปริภูมิตัวอย่าง คือ เซตของผลลัพธ์ที่ อาจเป็นไปได้ทั้งหมด
ของการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ คือ เซตของผลลัพธ์ที่ได้จาก
การทดลองสุ่มที่เราสนใจพิจารณา ซึ่งเหตุการณ์เป็นสับเซต
ของปริภูมิตัวอย่าง ความน่าจะเป็น คือ จำนวนที่บอกให้รู้ว่า
เหตุการณ์ที่เราสนใจมีโอกาสเกิดขึ้นมากน้อยเพียงใด
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใด ๆ มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 1 เสมอ
นั่นคือ 0 ≤ P(E) ≤ 1 โดยที่ P(E) = 0 หมายถึง เหตุการณ์
E ไม่มีโอกาสเกิดขึ้นเลย และ P(E) = 1 หมายถึง เหตุการณ์
E เกิดขึ้นอย่างแน่นอน ความน่าจะเป็นของคอมพลีเมนต์ของ
เหตุการณ์ เมื่อกำหนดให้ P(E) แทนความน่าจะเป็นที่จะเกิด
เหตุ การณ์ E และ P(E ′ ) แทนความน่ าจะเป็ นที่ จะไม่ เกิ ด
เหตุการณ์ E แล้ว P(E ′ ) = 1 - P(E) ความน่าจะเป็นช่วยให้
นั ก เรี ย นรู้ จั ก การแก้ ปั ญ หาที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การคาดการณ์
บางอย่าง ดังนั้น การศึกษาเรื่องความน่าจะเป็น จะช่วยให้
นักเรียนสามารถนำความรู้ไปวางแผนและตัดสินใจได้อย่างมี
หลักเกณฑ์มากขึ้น

พิเศษ 7
1
โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ ม.4
เวลา 80 ชั่วโมง
หน่วยการ แผนการจัดการ มาตรฐานการ กระบวน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด การเรียนรู้
1. เซต แผน ฯ ที่ 1 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจแบบทดสอบ
ความรู้เบื้องต้น ค 1.1 ม.4/1 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร ก่อนเรียน
เกี่ยวกับเซต มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 - ตรวจใบงานที่ 1.1
(2 ชั่วโมง) (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ เรื่อง การเขียนเซต
Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก - ตรวจใบงานที่ 1.2
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด เรื่อง เซตจำกัดและ
and Learning) และการเขียน เซตอนันต์
พฤติกรรมบ่งชี้ - ตรวจแบบฝึกทักษะ
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ 1.1
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู - ตรวจ Exercise
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม 1.1A-1.1D
ยกตัวอย่างประกอบได้ - สังเกตพฤติกรรม
การทำงาน
รายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำงานกลุ่ม
- ประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- สังเกตความสามารถ
ในการสื่อสาร
1. เซต แผน ฯ ที่ 2 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจแบบฝึกทักษะ
แผนภาพเวนน์และ ค 1.1 ม.4/1 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร 1.2
เอกภพสัมพัทธ์ มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 - ตรวจ Exercise 1.2A
(2 ชั่วโมง) (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ - ประเมินการ
Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก นำเสนอผลงาน
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด - สังเกตพฤติกรรม
and Learning) และการเขียน การทำงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ รายบุคคล
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ - สังเกตพฤติกรรม
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู การทำงานกลุ่ม
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม - ประเมินคุณลักษณะ
ยกตัวอย่างประกอบได้ อันพึงประสงค์

พิเศษ 8
1
หน่วยการ แผนการจัดการ มาตรฐานการ กระบวน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด การเรียนรู้
- สังเกตความสามารถ
ในการสื่อสาร
1. เซต แผน ฯ ที่ 3 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจใบงานที่ 1.3
สับเซตและ ค 1.1 ม.4/1 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร เรื่อง สับเซตและสับ
เพาเวอร์เซต มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 เซตแท้
(2 ชั่วโมง) (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ - ตรวจใบงานที่ 1.4
Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก เรื่อง เพาเวอร์เซต
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด - ตรวจแบบฝึกทักษะ
and Learning) และการเขียน 1.2
พฤติกรรมบ่งชี้ - ตรวจ Exercise
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ 1.2 B-1.2 C
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู - สังเกตพฤติกรรม
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม การทำงาน
ยกตัวอย่างประกอบได้ รายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำงานกลุ่ม
- ประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- สังเกตความสามารถ
ในการสื่อสาร
1. เซต แผน ฯ ที่ 4 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจใบงานที่ 1.5
อินเตอร์เซกชันและ ค 1.1 ม.4/1 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร เรื่อง อินเตอร์เซก
ยูเนียน มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 ชันของเซต
(2 ชั่วโมง) (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ - ตรวจแบบฝึกทักษะ
Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก 1.3
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด - ตรวจ Exercise
and Learning) และการเขียน 1.3 A-1.3 B
พฤติกรรมบ่งชี้ - สังเกตพฤติกรรม
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ การทำงาน
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู รายบุคคล
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม - สังเกตพฤติกรรม
ยกตัวอย่างประกอบได้ การทำงานกลุ่ม
- ประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- สังเกตความสามารถ
ในการสื่อสาร

พิเศษ 9
1
หน่วยการ แผนการจัดการ มาตรฐานการ กระบวน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด การเรียนรู้
1. เซต แผน ฯ ที่ 5 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจใบงานที่ 1.6
คอมพลีเมนต์ ค 1.1 ม.4/1 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร เรื่อง คอมพลีเมนต์
ของเซตและผลต่าง มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 ของเซต
ระหว่างเซต (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ - ตรวจใบงานที่ 1.7
(2 ชั่วโมง) Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก เรื่อง ผลต่าง
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด ระหว่างเซต
and Learning) และการเขียน - ตรวจแบบฝึกทักษะ
พฤติกรรมบ่งชี้ 1.3
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ - ตรวจ Exercise
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู 1.3 C
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม - สังเกตพฤติกรรม
ยกตัวอย่างประกอบได้ การทำงาน
รายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำงานกลุ่ม
- ประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- สังเกตความสามารถ
ในการสื่อสาร
1. เซต แผน ฯ ที่ 6 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจใบงานที่ 1.8
การประยุกต์การ ค 1.1 ม.4/1 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร เรื่อง การประยุกต์
ดำเนินการของเซต มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 การดำเนินการของ
(2 ชั่วโมง) (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ เซต
Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก - ตรวจแบบฝึกทักษะ
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด 1.3
and Learning) และการเขียน - ตรวจ Exercise 1.3 D
พฤติกรรมบ่งชี้ - สังเกตพฤติกรรม
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ การทำงาน
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู รายบุคคล
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม - สังเกตพฤติกรรม
ยกตัวอย่างประกอบได้ การทำงานกลุ่ม
- ประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- สังเกตความสามารถ
ในการสื่อสาร

พิเศษ 10
1
หน่วยการ แผนการจัดการ มาตรฐานการ กระบวน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด การเรียนรู้
1. เซต แผน ฯ ที่ 7 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจป้าย
การนำความรู้ ค 1.1 ม.4/1 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์
เกี่ยวกับเซตไปใช้ มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 แผ่นพับให้
ในการแก้ปัญหา (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ เกร็ดความรู้ หรือ
(4 ชั่วโมง) Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก โปสเตอร์เชิญชวน
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด - ตรวจใบงานที่ 1.9
and Learning) และการเขียน เรื่อง การนำความรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ เกี่ยวกับเซตไปใช้ใน
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ การแก้ปัญหา
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู - ตรวจแบบฝึกทักษะ
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม 1.4
ยกตัวอย่างประกอบได้ - ตรวจ Exercise 1.4
สมรรถนะที่ 5 - ตรวจแบบฝึกทักษะ
ความสามารถในการใช้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เทคโนโลยี - ประเมินการนำเสนอ
ตัวชี้วัดที่ 1 ผลงาน
เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อ - สังเกตพฤติกรรม
พัฒนาตนเองและสังคม การทำงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ รายบุคคล
3. เลือกและใช้เทคโนโลยีการ - สังเกตพฤติกรรม
ทํางานและนําเสนอ ผลงานอย่าง การทำงานกลุ่ม
สร้างสรรค์ - ประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- สังเกตความสามารถ
ในการสื่อสารและ
การใช้เทคโนโลยี
1. เซต แผน ฯ ที่ 8 ตัวชี้วัดปลายทาง - วิธีการสอน สมรรถนะที่ 1 - ประเมิน
ร้านไอศกรีม ค 1.1 ม.4/1 แบบใช้กรณี ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถใน
โฮมเมด ตัวอย่าง ตัวชี้วัดที่ 1 การสื่อสารและ
(2 ชั่วโมง) (Case) ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ ความสามารถใน
ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก การใช้เทคโนโลยี
และทัศนของตนเองด้วยการพูด จากการตรวจใบ
และการเขียน กิจกรรมที่
พฤติกรรมบ่งชี้ 1.1 เรื่อง ร้าน
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ ไอศกรีมโฮมเมด
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู โดยใช้เกณฑ์จาก

พิเศษ 11
1
หน่วยการ แผนการจัดการ มาตรฐานการ กระบวน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด การเรียนรู้
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม แบบประเมิน
ยกตัวอย่างประกอบได้ สมรรถนะสำคัญ
สมรรถนะที่ 5 ของผู้เรียน
ความสามารถในการใช้ - ประเมินพฤติกรรม
เทคโนโลยี การทำงาน
ตัวชี้วัดที่ 1 รายบุคคล
เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อ - ประเมินพฤติกรรม
พัฒนาตนเองและสังคม การทำงานกลุ่ม
พฤติกรรมบ่งชี้ - ประเมินคุณลักษณะ
3. เลือกและใช้เทคโนโลยีการ อันพึงประสงค์
ทํางานและนําเสนอ ผลงานอย่าง - ตรวจแบบทดสอบ
สร้างสรรค์ หลังเรียน
2. ตรรกศาสตร์ แผน ฯ ที่ 1 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจแบบทดสอบ
เบื้องต้น ประพจน์ ค 1.1 ม.4/1 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร ก่อนเรียน
(2 ชั่วโมง) มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 - ตรวจใบงานที่ 2.1
(Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ เรื่อง ประพจน์
Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก - ตรวจแบบฝึกทักษะ
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด 2.1
and Learning) และการเขียน - ตรวจ Exercise 2.1
พฤติกรรมบ่งชี้ - สังเกตพฤติกรรม
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ การทำงาน
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู รายบุคคล
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม - สังเกตพฤติกรรม
ยกตัวอย่างประกอบได้ การทำงานกลุ่ม
- ประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- สังเกตความสามารถ
ในการสื่อสาร
2. ตรรกศาสตร์ แผน ฯ ที่ 2 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจแบบฝึกทักษะ
เบื้องต้น การเชือ่ มประพจน์ ค 1.1 ม.4/1 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร 2.2
(4 ชั่วโมง) มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 - ตรวจ Exercise 2.2
(Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ - สังเกตพฤติกรรม
Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก การทำงานกลุ่ม
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด - ประเมินคุณลักษณะ
and Learning) และการเขียน อันพึงประสงค์

พิเศษ 12
1
หน่วยการ แผนการจัดการ มาตรฐานการ กระบวน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด การเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ - ประเมินความสามารถ
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ ในการสื่อสารและ
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู การใช้เทคโนโลยี
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม
จากการตรวจใบ
ยกตัวอย่างประกอบได้
กิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง
สมรรถนะที่ 5
ความสามารถในการใช้ โปรแกรมคิดเงิน
เทคโนโลยี สำหรับร้านค้า โดย
ตัวชี้วัดที่ 1 ใช้เกณฑ์จากแบบ
เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อ ประเมินสมรรถนะ
พัฒนาตนเองและสังคม สำคัญของผู้เรียน
พฤติกรรมบ่งชี้
3. เลือกและใช้เทคโนโลยีการ
ทํางานและนําเสนอ ผลงานอย่าง
สร้างสรรค์
2. ตรรกศาสตร์ แผน ฯ ที่ 3 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจใบงานที่ 2.2
เบื้องต้น การหาค่าความจริง ค 1.1 ม.4/1 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร เรื่อง การหาค่า
ของประพจน์ มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 ความจริงของ
(2 ชั่วโมง) (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ ประพจน์
Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก - ตรวจแบบฝึกทักษะ
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด 2.3
and Learning) และการเขียน - ตรวจ Exercise 2.3
พฤติกรรมบ่งชี้ - สังเกตพฤติกรรม
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ การทำงาน
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู รายบุคคล
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม - ประเมินคุณลักษณะ
ยกตัวอย่างประกอบได้ อันพึงประสงค์
- สังเกตความสามารถ
ในการสื่อสาร
2. ตรรกศาสตร์ แผน ฯ ที่ 4 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจใบงานที่ 2.3
เบื้องต้น การสร้างตาราง ค 1.1 ม.4/1 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร เรื่อง การสร้าง
ค่าความจริง มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 ตารางค่าความจริง
(2 ชั่วโมง) (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ - ตรวจแบบฝึกทักษะ
Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก 2.4
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด - ตรวจ Exercise 2.4 A
and Learning) และการเขียน - สังเกตพฤติกรรม

พิเศษ 13
1
หน่วยการ แผนการจัดการ มาตรฐานการ กระบวน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด การเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ การทำงาน
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ รายบุคคล
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู - สังเกตพฤติกรรม
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม การทำงานกลุ่ม
ยกตัวอย่างประกอบได้ - ประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- สังเกตความสามารถ
ในการสื่อสาร
2. ตรรกศาสตร์ แผน ฯ ที่ 5 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจแบบฝึกทักษะ
เบื้องต้น สัจนิรนั ดร์ ค 1.1 ม.4/1 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร 2.4
(2 ชั่วโมง) มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 - ตรวจ Exercise 2.4 B
(Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ - สังเกตพฤติกรรม
Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก การทำงาน
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด รายบุคคล
and Learning) และการเขียน - สังเกตพฤติกรรม
พฤติกรรมบ่งชี้ การทำงานกลุ่ม
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ - ประเมินคุณลักษณะ
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู อันพึงประสงค์
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม - สังเกตความสามารถ
ยกตัวอย่างประกอบได้ ในการสื่อสาร
2. ตรรกศาสตร์ แผน ฯ ที่ 6 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจใบงานที่ 2.4
เบื้องต้น ประพจน์ที่สมมูลกัน ค 1.1 ม.4/1 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร เรื่อง ประพจน์ที่
(5 ชั่วโมง) มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 สมมูลกัน
(Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ - ตรวจใบงานที่ 2.5
Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก เรื่อง ประพจน์ที่
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด เป็นนิเสธกัน
and Learning) และการเขียน - ตรวจแบบฝึกทักษะ
พฤติกรรมบ่งชี้ 2.4
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ - ตรวจ Exercise 2.4 C
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู - ประเมินการ
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม นำเสนอผลงาน
ยกตัวอย่างประกอบได้ - สังเกตพฤติกรรม
การทำงาน
รายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำงานกลุ่ม

พิเศษ 14
1
หน่วยการ แผนการจัดการ มาตรฐานการ กระบวน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด การเรียนรู้
- ประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- สังเกตความสามารถ
ในการสื่อสาร
2. ตรรกศาสตร์ แผน ฯ ที่ 7 ตัวชี้วัดปลายทาง - วิธีการสอน สมรรถนะที่ 1 - ประเมิน
เบื้องต้น โครงการธนาคาร ค 1.1 ม.4/1 แบบใช้กรณี ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถใน
ขยะ ตัวอย่าง ตัวชี้วัดที่ 1 การสื่อสารและ
(5 ชั่วโมง) (Case) ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ ความสามารถใน
ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก การใช้เทคโนโลยี
และทัศนของตนเองด้วยการพูด จากการตรวจใบ
และการเขียน กิจกรรมที่
พฤติกรรมบ่งชี้ 1.1 เรื่อง โครงการ
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ ธนาคารขยะ
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู โดยใช้เกณฑ์จาก
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม แบบประเมิน
ยกตัวอย่างประกอบได้ สมรรถนะสำคัญ
สมรรถนะที่ 5 ของผู้เรียน
ความสามารถในการใช้ - ประเมินพฤติกรรม
เทคโนโลยี การทำงาน
ตัวชี้วัดที่ 1 รายบุคคล
เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อ - ประเมินพฤติกรรม
พัฒนาตนเองและสังคม การทำงานกลุ่ม
พฤติกรรมบ่งชี้ - ประเมินคุณลักษณะ
3. เลือกและใช้เทคโนโลยีการ อันพึงประสงค์
ทํางานและนําเสนอ ผลงานอย่าง - ตรวจแบบทดสอบ
สร้างสรรค์ หลังเรียน
3. หลักการนับ แผน ฯ ที่ 1 - - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจแบบทดสอบ
เบื้องต้นและ แผนภาพต้นไม้และ สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร ก่อนเรียน
ความน่าจะ แผนภาพโพสสิบลิ ิตี มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 - ตรวจใบงานที่ 3.1
เป็น (2 ชั่วโมง) (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ เรื่อง แผนภาพ
Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก ต้นไม้
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด - สังเกตพฤติกรรม
and Learning) และการเขียน การทำงานกลุ่ม
พฤติกรรมบ่งชี้ - ประเมินคุณลักษณะ
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ อันพึงประสงค์
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู - สังเกตความสามารถ

พิเศษ 15
1
หน่วยการ แผนการจัดการ มาตรฐานการ กระบวน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด การเรียนรู้
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม ในการสื่อสารและ
ยกตัวอย่างประกอบได้ การแก้ปัญหา
สมรรถนะที่ 3
ความสามารถในการแก้ปญ ั หา
ตัวชี้วัดที่ 1
ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดย
วิเคราะห์ปัญหา วางแผนใน การ
แก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา
ตรวจสอบและสรุปผล
พฤติกรรมบ่งชี้
3. การดำเนินการแก้ปัญหา
3.1 การปฏิบัติตามแผน
3. หลักการนับ แผน ฯ ที่ 2 ตัวชี้วัดระหว่างทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจแบบฝึกทักษะ
เบื้องต้นและ หลักการนับ ค 3.2 ม.4/1 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร 3.1
ความน่าจะ เบื้องต้น มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 - ประเมินการ
เป็น (หลักการคูณ) (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ นำเสนอผลงาน
(3 ชั่วโมง) Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก - สังเกตพฤติกรรม
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด การทำงาน
and Learning) และการเขียน รายบุคคล
พฤติกรรมบ่งชี้ - สังเกตพฤติกรรม
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ การทำงานกลุ่ม
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู - ประเมินคุณลักษณะ
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม อันพึงประสงค์
ยกตัวอย่างประกอบได้ - สังเกตความสามารถ
สมรรถนะที่ 3 ในการสื่อสารและ
ความสามารถในการแก้ปญ ั หา การแก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ 1
ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดย
วิเคราะห์ปัญหา วางแผนใน การ
แก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา
ตรวจสอบและสรุปผล
พฤติกรรมบ่งชี้
3. การดำเนินการแก้ปัญหา
3.1 การปฏิบัติตามแผน

พิเศษ 16
1
หน่วยการ แผนการจัดการ มาตรฐานการ กระบวน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด การเรียนรู้
3. หลักการนับ แผน ฯ ที่ 3 ตัวชี้วัดระหว่างทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจใบงานที่ 3.2
เบื้องต้นและ หลักการนับ ค 3.2 ม.4/1 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร เรื่อง หลักการบวก
ความน่าจะ เบื้องต้น มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 - ตรวจแบบฝึกทักษะ
เป็น (หลักการบวก) (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ 3.1
(3 ชั่วโมง) Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก - ครูตรวจ Exercise
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด 3.1
and Learning) และการเขียน - ประเมินการ
พฤติกรรมบ่งชี้ นำเสนอผลงาน
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ - สังเกตพฤติกรรม
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู การทำงาน
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม รายบุคคล
ยกตัวอย่างประกอบได้ - สังเกตพฤติกรรม
สมรรถนะที่ 3 การทำงานกลุ่ม
ความสามารถในการแก้ปญ ั หา - ประเมินคุณลักษณะ
ตัวชี้วัดที่ 1 อันพึงประสงค์
ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดย - สังเกตความสามารถใน
วิเคราะห์ปัญหา วางแผนใน การ การสื่อสารและการ
แก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา แก้ปัญหา
ตรวจสอบและสรุปผล
พฤติกรรมบ่งชี้
3. การดำเนินการแก้ปัญหา
3.1 การปฏิบัติตามแผน
3. หลักการนับ แผน ฯ ที่ 4 ตัวชี้วัดระหว่างทาง - อุปนัย สมรรถนะที่ 1 - ตรวจแบบฝึกทักษะ
เบื้องต้นและ การเรียงสับเปลี่ยน ค 3.2 ม.4/1 (Inductive ความสามารถในการสื่อสาร 3.2
ความน่าจะ (4 ชั่วโมง) Method) ตัวชี้วัดที่ 1 - ครูตรวจ Exercise
เป็น ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ 3.2 A-3.2 B
ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก - สังเกตพฤติกรรม
และทัศนของตนเองด้วยการพูด การทำงาน
และการเขียน รายบุคคล
พฤติกรรมบ่งชี้ - สังเกตพฤติกรรม
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ การทำงานกลุ่ม
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู - ประเมินคุณลักษณะ
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม อันพึงประสงค์
ยกตัวอย่างประกอบได้ - สังเกตความสามารถใน
สมรรถนะที่ 5 การสื่อสารและการ
ความสามารถในการแก้ปญ ั หา แก้ปัญหา

พิเศษ 17
1
หน่วยการ แผนการจัดการ มาตรฐานการ กระบวน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด การเรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 1
ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดย
วิเคราะห์ปัญหา วางแผนใน การ
แก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา
ตรวจสอบและสรุปผล
พฤติกรรมบ่งชี้
3. การดำเนินการแก้ปัญหา
3.1 การปฏิบัติตามแผน
3. หลักการนับ แผน ฯ ที่ 5 ตัวชี้วัดระหว่างทาง - อุปนัย สมรรถนะที่ 1 - ตรวจแบบฝึกทักษะ
เบื้องต้นและ การจัดหมู่ ค 3.2 ม.4/1 (Inductive ความสามารถในการสื่อสาร 3.3
ความน่าจะ (4 ชั่วโมง) Method) ตัวชี้วัดที่ 1 - ครูตรวจ Exercise
เป็น ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ 3.3
ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก - สังเกตพฤติกรรม
และทัศนของตนเองด้วยการพูด การทำงาน
และการเขียน รายบุคคล
พฤติกรรมบ่งชี้ - สังเกตพฤติกรรม
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ การทำงานกลุ่ม
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู - ประเมินคุณลักษณะ
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม อันพึงประสงค์
ยกตัวอย่างประกอบได้ - สังเกตความสามารถใน
สมรรถนะที่ 3 การสื่อสารและการ
ความสามารถในการแก้ปญ ั หา แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ 1
ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดย
วิเคราะห์ปัญหา วางแผนใน การ
แก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา
ตรวจสอบและสรุปผล
พฤติกรรมบ่งชี้
3. การดำเนินการแก้ปัญหา
3.1 การปฏิบัติตามแผน
3. หลักการนับ แผน ฯ ที่ 6 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจใบงานที่ 3.3
เบื้องต้นและ การทดลองสุม่ และ ค 3.2 ม.4/2 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร เรื่อง การทดลองสุม่
ความน่าจะ ปริภูมติ ัวอย่าง มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 และปริภูมติ ัวอย่าง
เป็น (3 ชั่วโมง) (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้
- ตรวจแบบฝึกทักษะ
Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก
3.4
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด

พิเศษ 18
1
หน่วยการ แผนการจัดการ มาตรฐานการ กระบวน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด การเรียนรู้
and Learning) และการเขียน - ครูตรวจ Exercise
พฤติกรรมบ่งชี้ 3.4 A
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ - ประเมินการนำเสนอ
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู ผลงาน
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม - สังเกตพฤติกรรม
ยกตัวอย่างประกอบได้ การทำงานกลุ่ม
- ประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- สังเกตความสามารถ
ในการสื่อสาร
3. หลักการนับ แผน ฯ ที่ 7 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจใบงานที่ 3.4
เบื้องต้นและ เหตุการณ์ ค 3.2 ม.4/2 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร เรื่อง เหตุการณ์
ความน่าจะ (3 ชั่วโมง) มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 - ตรวจแบบฝึกทักษะ
เป็น (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ 3.4
Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก - ครูตรวจ Exercise
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด 3.4 B
and Learning) และการเขียน - ประเมินการนำเสนอ
พฤติกรรมบ่งชี้ ผลงาน
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ - สังเกตพฤติกรรม
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู การทำงานกลุ่ม
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม - ประเมินคุณลักษณะ
ยกตัวอย่างประกอบได้ อันพึงประสงค์
- สังเกตความสามารถ
ในการสื่อสาร

3. หลักการนับ แผน ฯ ที่ 8 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจแบบฝึกทักษะ


เบื้องต้นและ ความหมายของ ค 3.2 ม.4/2 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร 3.4
ความน่าจะ ความน่าจะเป็น มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 - สังเกตพฤติกรรม
เป็น (2 ชั่วโมง) (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ การทำงาน
Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก รายบุคคล
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด - สังเกตพฤติกรรม
and Learning) และการเขียน การทำงานกลุ่ม
พฤติกรรมบ่งชี้ - ประเมินคุณลักษณะ
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ อันพึงประสงค์
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู - สังเกตความสามารถ
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม

พิเศษ 19
1
หน่วยการ แผนการจัดการ มาตรฐานการ กระบวน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด การเรียนรู้
ยกตัวอย่างประกอบได้ ในการสื่อสาร

3. หลักการนับ แผน ฯ ที่ 9 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจแบบฝึกทักษะ


เบื้องต้นและ ความน่าจะเป็นของ ค 3.2 ม.4/2 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร 3.4
ความน่าจะ เหตุการณ์ มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 - ครูตรวจ Exercise
เป็น (3 ชั่วโมง) (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ 3.4 C
Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก - ประเมินการนำเสนอ
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด ผลงาน
and Learning) และการเขียน - สังเกตพฤติกรรม
พฤติกรรมบ่งชี้ การทำงาน
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ รายบุคคล
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู - สังเกตพฤติกรรม
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม การทำงานกลุ่ม
ยกตัวอย่างประกอบได้ - ประเมินคุณลักษณะ
สมรรถนะที่ 3 อันพึงประสงค์
ความสามารถในการแก้ปญ ั หา - สังเกตความสามารถ
ตัวชี้วัดที่ 1 ในการสื่อสารและ
ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดย การแก้ปัญหา
วิเคราะห์ปัญหา วางแผนใน การ
แก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา
ตรวจสอบและสรุปผล
พฤติกรรมบ่งชี้
3. การดำเนินการแก้ปัญหา
3.1 การปฏิบัติตามแผน

3. หลักการนับ แผน ฯ ที่ 10 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจแบบฝึกทักษะ


เบื้องต้นและ ความน่าจะเป็นของ ค 3.2 ม.4/2 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร 3.4
ความน่าจะ คอมพลีเมนต์ของ มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 - ประเมินการนำเสนอ
เป็น เหตุการณ์ (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ ผลงาน
(3 ชั่วโมง) Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก - สังเกตพฤติกรรม
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด การทำงาน
and Learning) และการเขียน รายบุคคล
พฤติกรรมบ่งชี้ - สังเกตพฤติกรรม
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ การทำงานกลุ่ม
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู - ประเมินคุณลักษณะ
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม อันพึงประสงค์
ยกตัวอย่างประกอบได้
พิเศษ 20
1
หน่วยการ แผนการจัดการ มาตรฐานการ กระบวน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด การเรียนรู้
สมรรถนะที่ 3 - สังเกตความสามารถ
ความสามารถในการแก้ปญ ั หา ในการสื่อสารและ
ตัวชี้วัดที่ 1 การแก้ปัญหา
ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดย
วิเคราะห์ปัญหา วางแผนใน การ
แก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา
ตรวจสอบและสรุปผล
พฤติกรรมบ่งชี้
3. การดำเนินการแก้ปัญหา
3.1 การปฏิบัติตามแผน

3. หลักการนับ แผน ฯ ที่ 11 ตัวชี้วัดปลายทาง - การเรียนการ สมรรถนะที่ 1 - ตรวจแบบฝึกทักษะ


เบื้องต้นและ การนำความรู้ ค 3.2 ม.4/2 สอนเน้น ความสามารถในการสื่อสาร 3.4
ความน่าจะ เกี่ยวกับความ มโนทัศน์ ตัวชี้วัดที่ 1 - ครูตรวจ Exercise
เป็น น่าจะเป็นไปใช้ (Concept ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ 3.4 D
(5 ชั่วโมง) Based ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก - ประเมินการนำเสนอ
Teaching และทัศนของตนเองด้วยการพูด ผลงาน
and Learning) และการเขียน - สังเกตพฤติกรรม
พฤติกรรมบ่งชี้ การทำงานกลุ่ม
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ - ประเมินคุณลักษณะ
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู อันพึงประสงค์
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม - สังเกตความสามารถ
ยกตัวอย่างประกอบได้ ในการสื่อสารและ
สมรรถนะที่ 3 การแก้ปัญหา
ความสามารถในการแก้ปญ ั หา
ตัวชี้วัดที่ 1
ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดย
วิเคราะห์ปัญหา วางแผนใน การ
แก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา
ตรวจสอบและสรุปผล
พฤติกรรมบ่งชี้
3. การดำเนินการแก้ปัญหา
3.1 การปฏิบัติตามแผน

พิเศษ 21
1
หน่วยการ แผนการจัดการ มาตรฐานการ กระบวน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด การเรียนรู้
3. หลักการนับ แผน ฯ ที่ 12 ตัวชี้วัดปลายทาง - วิธีการสอน สมรรถนะที่ 1 - ประเมิน
เบื้องต้นและ ผสมพันธุ์ถั่วลันเตา ค 3.2 ม.4/2 แบบใช้กรณี ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถใน
ความน่าจะ (4 ชั่วโมง) ตัวอย่าง ตัวชี้วัดที่ 1 การสื่อสารและ
เป็น (Case) ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ ความสามารถใน
ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก การแก้ปัญหา
และทัศนของตนเองด้วยการพูด จากการตรวจใบ
และการเขียน กิจกรรมที่
พฤติกรรมบ่งชี้ 3.1 เรื่อง ผสมพันธุ์
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความ ถั่วลันเตา
เข้าใจ จากสารที่อ่าน ฟัง หรือดู โดยใช้เกณฑ์จาก
ด้วยภาษาของตนเอง พร้อม แบบประเมิน
ยกตัวอย่างประกอบได้ สมรรถนะสำคัญ
สมรรถนะที่ 3 ของผู้เรียน
ความสามารถในการแก้ปญ ั หา - ประเมินพฤติกรรม
ตัวชี้วัดที่ 1 การทำงาน
ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดย รายบุคคล
วิเคราะห์ปัญหา วางแผนใน การ - ประเมินพฤติกรรม
แก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา การทำงานกลุ่ม
ตรวจสอบและสรุปผล - ประเมินคุณลักษณะ
พฤติกรรมบ่งชี้ อันพึงประสงค์
3. การดำเนินการแก้ปัญหา - ตรวจแบบทดสอบ
3.1 การปฏิบัติตามแผน หลังเรียน

พิเศษ 22
1

You might also like