Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 32

ทรัพยากร

ปะการัง
นายอภิสิทธิ์ แหวนหล่อ รหัสนักศึกษา 056450405065-4
นายพรพิษณุ ผุดโรย รหัสนักศึกษา 056450405066-2
นายศุภฤกษ์ วัฎฏวนิชย์กลุ รหัสนักศึกษา 056450405072-0
นายธัชเมธ พุม่ พวง รหัสนักศึกษา 056450405073-8
นายวุฒิภทั ร สาระไชย รหัสนักศึกษา 056450405078-7
นางสาวบุษกร เต็มหัตถ์ รหัสนักศึกษา 056450405080-3
นายอัศวิน ประภารัตน์ รหัสนักศึกษา 056450405134-8
ความหมายของทรัพยากรปะการัง
เป็ นแนวหินปูนใต้ทะเลในระดับนา้ ตืน้ ที่แสงแดดส่องถึง หินปูนดังกล่าวเป็ นผลมาจาก
การเจริญเติบโตของปะการังหลายๆ ชนิด นอกจากนีย้ งั มีสิ่งมีชวี ิตอื่นๆ อีกหลายชนิดที่มี
ส่วนเสริมสร้างหินปูนพอกพูนสะสมในแนวปะการัง เช่น สาหร่ายหินปูน หอยที่มเี ปลือก
แข็ง ฯลฯ เนือ่ งจากแนวปะการังประกอบด้วยปะการังหลายชนิดและปะการังแต่ละชนิดมี
ลักษณะโครงสร้างแตกต่างกันไป ทาให้โครงสร้างของแนวปะการังมีลกั ษณะซับซ้อน เต็ม
ไปด้วยซอกหลืบ เหมาะสมต่อการดารงชีวิตสิ่งมีชวี ิต เช่น ปลาชนิดต่าง ๆ ทาให้มคี วาม
หลากหลายทางชีวภาพสูงที่สดุ ในทะเล
ความสาคัญ
แนวปะการังเป็ นระบบนิเวศและเป็ นทรัพยากรที่มคี วามสาคัญทัง้ ในแง่การ
เป็ นแหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งหลบภัยให้กบั สัตว์นานาชนิดตัง้ แต่ชว่ งวัยอ่อนจนถึง
ตัวเต็มวัย เป็ นแหล่งอาหารและแหล่งทาการประมง เป็ นแนวป้องกันชายฝั ง่ จาก
การกัดเซาะของคลื่นและกระแสนา้ เป็ นแหล่งของสิ่งมีชวี ิตที่มคี วามสาคัญ
ทางด้านเภสัช เป็ นแหล่งกาเนิดเม็ดทราย และเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่สร้างรายได้
ให้แก่ประเทศอย่างมหาศาล แนวปะการังมีแนวโน้มได้รบั ผลกระทบค่อนข้างมาก
จากกิจกรรมการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ทงั้ ทางตรงและทางอ้อม รวมถึงการ
เปลี่ยนแปลงของปั จจัยสิ่งแวดล้อมอันเนือ่ งมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมอิ ากาศโลก ทาให้แนวปะการังเกิดความเสื่อมโทรมลง
ชนิดปะการังในประเทศไทย
ชนิดของปะการัง
ปะการังในโลกมีอยู่ประมาณ 400 ชนิด ซึ่งพบในน่านนา้ ไทยประมาณ 240 ชนิด ซึ่งมีความสวยงามและมี
รูปร่าง รูปทรงหลายแบบ เช่น แบบกิ่งก้านเหมือนเขากวาง หรือเหมือนกิง่ ไม้ แบบก้อน หรือโขด คล้ายสมองหรือรังผึง้
แบบแผ่นบางๆเหมือนใบไม้ หรือเคลือบตามพื้นผิวซากปะการังที่ตายไปแล้ว ไม่ว่ารูปทรงจะต่างกันอย่างไรก็ตาม ปะ
การงทุกชนิด ต้องมีลกั ษณะร่วมประการหนึง่ คือ มีชอ่ งเล็กๆ บนหินปูน ให้ตวั นุม่ ๆของปะการังหดตัวเข้าไปอาศัยอยู่
ได้ โดยปะการังเล็กๆนับร้อยนับพันตัวอยู่รวมกัน ยกเว้นปะการังดอกเห็ด ซึ่งหนึง่ ก้อน คือ หนึง่ ตัว
ปะการังพุ่มไม้ ( Cauliflower Coral )
เป็ นช่อคล้ายกิ่งก้านของพุ่มไม้ ตามปรกติกิ่งก้านที่แตกแขนงออกมีลกั ษณะกลม หรือแบนเล็กน้อย เมือ่ ตัดตาม
ขวางแคลไลซ์มขี นาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 1 มิลลิเมตร เป็ นรูปสี่ถึงหกเหลี่ยมคล้ายลายตาข่าย ขนาดช่อโคโลนีก
ว้างประมาณ 20 – 30 เซนติเมตร ปะการังชนิดนีพ้ บอยู่ในเขตนา้ ขึน้ นา้ ลงจนถึงขอบด้านนอกของแนวปะการัง และเป็ น
ปะการังที่พบได้บ่อยมากในแนวปะการังทัว่ ไป นอกจากนีร้ ะหว่างกิง่ ก้านของปะการังมักมีปูใบ้ปะการัง (Trapezia
cymdoce) อาศัยอยู่ดว้ ยเสมอ
ปะการังดอกกะหลา่ ( Cauliflower Coral )
• มีลกั ษณะเปนช่อที่แตกกิ่งก้านออกมาจากศูนย์กลาง คล้ายดอก
กระหลา่ ตรงปลายของแต่ละกิ่งก้านแผ่แบบขยายออก ผนังที่แบ่งกัน้
คอรอลไลท์บางกว่าปะการังพุม่ ไม้ ขนาดของช่อ กว้างประมาณ 12
เซนติเมตร ปะการังชนิดนีพ้ บเฉพาะในอ่าวไทย บริเวณเขตนา้ ขึน้ ลง
และพบจานวนน้อย ตัวอย่างในภาพ ได้มาจากเกาะล้าน ชลบุรี
ปะการังช่องแขนง ( Branching Pore Coral )
ลักษณะเป็ นช่อ คล้ายปะการังพุ่มไม้ ขนาดกว้างประมาณ 20
เซนติเมตร แคลไลซ์ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กกว่า 1 มิลลิเมตร
และไม่มคี ลอรอไลท์ที่อยู่ปลายยอดเหมือนปะการังเขากวาง ปะการัง
ชนิดนีเ้ จริญอยู่ในเขตนา้ ขึน้ นา้ ลงทางด้านในของขอบ พบอยู่ทวั ่ ไปใน
แนวปะการังของไทย ทัง้ อ่าวไทยและฝัง่ อันดา
ปะการังเขากวาง ( Staghorn Coral )
เป็ นช่อที่กิ่งก้านแตกออกคล้ายเขากวาง คอลรอลไลท์ที่อยู่ปลายยอดของ
กิ่ง มีขนาดใหญ่ ส่วนคอลรอลไลท์ดา้ นข้างมีผนังเจริญดีเฉพาะด้านนอกทา
ให้มลี กั ษณะคล้ายเกล็ด ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของแต่ละช่อกินเนือ้ ที่หลาย
ตารางฟุต ตรงปลายก้านปะการังมักมีสีชมพู ปะการังชนิดนีพ้ บอยู่ทวั ่ ไปใน
เขตนา้ ขึน้ นา้ ลงและลึกลงไป ทัง้ ในอ่าวไทยและฝัง่ อันดามัน
ปะการังผักกาด ( leaf Coral )
คอรอมลัมมีขนาดคล้ายช่อผักกาดที่บิดไปบิดมา มีโพลิป
เจริญดีอยู่ทงั้ สองด้านตามขอบเป็ นสันคม ขนาดความกว้างของช่อ
ประมาณ 30 เซ็นติเมตร ปรกติมสี ีเทา หรือนา้ ตาล พบเจริญอยู่
ทัว่ ไปในแนวปะการังตัง้ แต่เขตนา้ ขึน้ นา้ ลงออกไปทัง้ แนวอ่าวไทยและ
ฝัง่ อันดามัน และแพร่กระจายทัว่ ไปแถบอินโดแปซิฟิก
ปะการังตาข่าย ( Tombstone Coral )
คอรอมลัมลักษณะเป็ นก้อนหรือแผ่คลุมพื้นซากปะการัง แคล
ไลท์เป็ นรูปเหลี่ยมลายตาข่าย โดยมีผนังกัน้ ในแนวรัศมีเรียงกัน 3
ชุด ปกติมกั มีสีเหลืองอมเขียว พบเจริญอยู่ในแนวปะการังบางแห่ง
เป้นจานวนน้อย ตัวอย่างในภาพได้มาจากภูเก็ต

ปะการังขนมปั งกรอบ ( Cracker Coral )


คอรอมลัมลักษณะเป็ นช่อซึ่งเกิดจากกิ่งก้านสัน้ ๆ บิดพับไปมา
คอรอลไลท์มขี นาดเล็กกว่า 1 มิลลิเมตร มองด้วยตาเปล่าเห็นไม่ชดั
ปะการังที่มชี วี ิตดูคล้ายขนมปั งกรอบสีนา้ ตาล พบเจริญอยูใ่ ต้เขตนา้
ขึน้ นนา้ ลงทัง้ ในอ่าวไทย และฝัง่ ทะเลอันดามัน
ปะการังเห็ด ( Mushroom Coral )
ปะการังที่อาศัยอยูแ่ บบเดีย่ ว ลักษณะคล้ายดอกเห็ดรูปกลม นับเป็ นปะการังที่มคี ลอรอลไลท์ใหญ่
มาก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 20 – 30 เซนติเมตร สันที่จดั เรียงตัวกันในแนวรัศมรเห็นได้ชดั เจน และอยู่
ชิดกันมาก ระหว่างสันนีม้ หี นวดหดตัวแทรกอยูเ่ ป็ นระยะ เมือ่ อยูใ่ นนา้ โพลิปจะยื่นยาวออกมา แต่ผนังที่กนั้
รอบคลอรอลไลท์ไม่เจริญ ระยะเริ่มแรกของการเจริญเติมโต ปะการังเห็ดมีกา้ นยึดติดกับพื้นปะการังชนิดอื่น
เมือ่ เติบโตขึน้ เรื่อยๆ โพลิปจะบานออกไปคล้ายดอกเห็ด ทาให้กา้ นหัก ปะการังจึงหลุดจากพื้น บางครัง้ เรา
อาจพบปะการังเห็ด อยูใ่ กล้กนั เจริญขึน้ จนเชือ่ มเป็ นเนือ้ เดียวกัน 2 – 3 โพลิป ปะการังเห็ดที่พบเจริญอยู่
ระหว่างปะการังอื่นนัน้ หากอยูใ่ นระดับนา้ ตืน้ หรือในเขตนา้ ขึน้ นา้ ลง มักมีสีแดงอมม่วง ส่วนที่อยูล่ ึกลงไปมีส๊
นา้ ตาล ปะการังเห็ดชนิดนี้ เป็ นชนิดที่พบได้บ่อยมากในแนวปะการัง ทัง้ ในอ่าวไทย และฝัง่ ทะเลอันดามัน
ปะการังดอกไม้ ( Anemone Coral )
ปะการังดอกไม้ชนิอนีด้ พลิปมักมีสีนา้ ตาลหรือเขียว ที่ชอบยืดตัวและบานหนวดออกจับเหยื่อ ในเวลา
กลางวัน คอรอมลัมมีลกั ษณะเป็ นก้อนครึ่งวงกลม และเป็ นอิสระจากพื้น ซึ่งถูกหยิบเก็บได้งา่ ย เป็ นที่นยิ ม
ของนักเลี้ยงปลาตู้ ขนาดความกว้างของคลอรอมลัมประมาณ 15 เซนติเมตร สันที่จดั เรียง ตัวตามแนว
รัศมีขอวแคลไลซ์ไม่ค่อยเจริญ ทาให้ผนังระหว่างแคลไลซ์เป็ นสันสูง พบเจริญอยูใ่ ต้ระดับนา้ ลงตา่ สุดทางฝัง่
ทะเลอันดามัน และมีการแพร่กระจายทัว่ ไปในแถบอ่าวไทย
ปะการังก้อนรูปสมอง ( Knobbed Hump Coral )
คอรอลไลท์เป็ นก้อนคล้ายสมองเนือ่ งจากบริเวณผิวมีสว่ นนูน
แคลไลซ์มขี นาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 1.5 มิลลิเมตร และคอรอล
ไลท์กว้างประมาณ 30 เซนติเมตรพื้นผิวมีสีเทาอมม่วง ปะการังชนิดนี้
พบจานวนน้อยตามแนวปะการังในเขตนา้ ขึน้ นา้ ลง ตัวอย่างในภาพได้มา
จากภูเก็ต
ปั ญหาที่เกิดขึน้
ปั ญหาที่เกิดจากมนุษย์
1. การพัฒนาชายฝัง่ เช่น การก่อสร้างที่มกี ารเปิ ดหน้าดิน ขุดลอกพื้นที่
ชายฝัง่ เพื่อกิจการต่างๆ เช่น ทาถนน ก่อสร้างอาคาร ฯลฯ มีหลายแห่งที่กอ่ ให้เกิด
ปั ญหาเรื่องตะกอนถูกชะลงสูท่ ะเลในช่วงฤดูฝน หลายแห่งยังมีการจัดการป้องกันไม่ให้
ตะกอนถูกพัดพาลงสูท่ ะเลไม่ดพี อ เช่น บริเวณอ่าวต่างๆ รอบเกาะภูเก็ต และเกาะสมุย
เป็ นต้น
่ ดขึน้
ปัญหาทีเกิ
2. การปล่อยนา้ เสียลงทะเล
เป็ นปั ญหาที่เกิดขึน้ ในพื้นที่ที่เป็ นชุมชนขนาดใหญ่ ยกตัวอย่างเช่น อ่าวป่ าตองที่จงั หวัดภูเก็ตมีชมุ ชน
ขนาดใหญ่และขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีระบบบาบัดนา้ เสียรวมสาหรับชุมชน แต่ในปั จจุบนั ยังไม่สามารถ
รองรับนา้ เสียทัง้ หมดได้ ผลกระทบที่เกิดขึน้ กับแนวปะการังในจุดที่เห็นได้ชดั คือบริเวณตอนในของอ่าวป่ า
ตอง พบว่า แนวปะการังตรงจุดนัน้ เสื่อมโทรมลงเรื่อยๆ ปั ญหาที่อาจพบในบางท้องที่เรื่องการลักลอบปล่อย
นา้ เสียลงสูท่ ะเลก็ยงั พบอยู่ เช่น กรณีการลักลอบปล่อยนา้ เสียจากโรงแรมขนาดใหญ่ ถึงแม้ว่ามีระเบียบ
ข้อบังคับให้โรงแรมที่มขี นาดใหญ่ (จานวนห้องเกินกว่า 80 ห้องขึน้ ไป) ต้องมีระบบบาบัด นา้ เสียก่อนปล่อย
ลงสูท่ ะเล แต่ยงั คงมีการลักลอบปล่อยนา้ เสียโดยไม่ผา่ นการบาบัดลงสูท่ ะเล
ปั ญหาที่เกิดขึน้
3. การขุดแร่ในทะเล
พื้นที่เขตจังหวัดภูเก็ตและพังงาเป็ นแหล่งแร่ดบี กุ ที่สาคัญของประเทศ มีการทาเหมืองแร่ดบี กุ ทัง้ บน
ฝัง่ และในทะเลมาช้านาน มีคาถามว่าการขุดแร่ในทะเลทาให้แนวปะการังเสียหายอย่างไร? อันที่จริงแล้ว การ
ขุดแร่ในทะเลนัน้ มิได้ขดุ ลงบนแนวปะการังโดยตรง แต่เป็ นการขุดบนพื้นทะเลนอกแนวปะการังออกไป ปั ญหา
จึงอาจเกิดขึน้ หากการขุดแร่นนั้ อยูใ่ กล้แนวปะการัง เนือ่ งจากเกิดการฟุ้ งกระจายของตะกอนที่เกิดจากการขุด
พื้นท้องทะเลและล้างแยกแร่ในเรือขุด ซึ่งมีการปล่อยนา้ ล้างแร่ลงทะเลโดยตรง ตะกอนที่ฟุ้งกระจายในมวลนา้
อาจแพร่กระจายไปปกคลุมบนแนวปะการังที่อยูใ่ กล้เคียง นอกจากปั ญหาเรื่องตะกอนแล้ว การขุดแร่ใน ทะเล
อาจทาให้สภาพความลาดชันของพื้นดินใต้ทะเลเปลี่ยนแปลงไปด้วย หากมีการขุดใกล้หาด อาจทาให้ชายหาด
ทรุดตัวลงได้
ปั ญหาที่เกิดขึน้
4. การทิ้งขยะลงทะเล
ขยะที่เป็ นปั ญหาใหญ่ตอ่ แนวปะการัง คือ เศษอวน เกือบทุกท้องที่มกั พบเศษอวนปกคลุม
อยู่บนปะการัง อวนที่พบมีหลายประเภทและหลายขนาด ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็ นปั ญหาทัง้ สิ้น อวนที่ปก
คลุมปะการังจะทาให้ปะการังตายไป เพราะปะการังไม่สามารถรับแสงแดดได้ และสาหร่ายที่มี
ลักษณะเหมือนตะไคร่นา้ ขึน้ ปกคลุมอวนอีกทีหนึง่ สาหร่ายเหล่านัน้ จับตะกอนในมวลนา้ ไว้ ทาให้
ปะการังตายเร็วขึน้
่ ดขึน้
ปัญหาทีเกิ
5. การระเบิดปลาในแนวปะการัง
ตามกองหินใต้นา้ ที่มปี ะการังขึน้ เป็ นหย่อมๆ มักพบปลาที่อยูร่ วมกันเป็ นฝูงอยูท่ ี่ระดับกลางนา้
จนถึงผิวนา้ เช่น ปลากล้วยญี่ปุ่น ปลากะพงข้างปาน และปลาโมง เป็ นต้น ฝูงปลาเหล่านีเ้ ป็ นสิ่งล่อใจให้เกิด
การทาประมงอย่างผิดกฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การระเบิดปลา เป็ นที่ทราบกันดีว่าการระเบิดปลาเป็ น
การทาลายปะการังอย่างรุนแรง เพราะแรงระเบิดนอกจากจะเป็ นการฆ่าปลาตามเป้าหมายแล้ว ปะการังยัง
แตกหักเสียหาย ยากต่อการฟื้ นตัว ในอดีตการระเบิดปลาเป็ นสิ่งที่เกิดขึน้ ได้ทวั ่ ไปตามเกาะต่างๆ ที่อยูห่ ่างไกล
จากชุมชน แต่การระเบิดปลาในแนวปะการังเป็ นสิ่งที่เกิดขึน้ น้อยมากในปั จจุบนั เนือ่ งจากในปั จจุบนั มีการ
ท่องเที่ยวทางทะเลมากขึน้ ทาให้การลักลอบระเบิดปลาทาได้ยากขึน้
6. การใช้ยาเบื่อปลาในแนวปะการัง
จุดประสงค์หลักในการใช้ยาเบื่อ เช่น ไซยาไนด์ ก็เพื่อจับสัตว์นา้ บางประเภท เช่นปลาสวยงามและ
กุง้ มังกรที่หลบซ่อนอยูต่ ามซอกโพรงปะการัง โดยใช้ปริมาณสารเคมีที่ไม่รนุ แรงถึงกับทาให้สตั ว์นา้ ที่ตอ้ งการ
นัน้ ตาย แต่อยูใ่ นสภาพมึนงง จนถูกต้อนเข้าสวิงได้ สารพิษยังคงสะสมอยูใ่ นตัวสัตว์นา้ ทาให้อยูใ่ นสภาพ
อ่อนแอและมีชวี ิตสัน้ ลง ปะการังเองก็จะได้รบั ผลกระทบจากสารเคมีดว้ ย
ปั ญหาที่เกิดขึน้
7. การเดินเหยียบยา่ พลิกปะการัง
ชาวประมงในหลายท้องที่ยงั หากินโดยการค้นหา จับ สัตว์นา้ บางประเภทที่หลบซ่อนอยู่
ตามแนวปะการังนา้ ตืน้ หรือแนวปะการังที่โผล่พน้ นา้ เมือ่ นา้ ลง สัตว์นา้ ดังกล่าว เช่น หมึกยักษ์
ปลิงทะเล หอยสวยงาม ฯลฯ การรื้อ พลิกหินปะการังให้หงายขึน้ ก่อให้เกิดความเสียหายกับ
ปะการังโดยตรง และยังทาให้สิ่งมีชวี ิตขนาดเล็กๆ ที่ขนึ้ เคลือบอยู่ใต้หวั ปะการัง เช่น ฟองนา้
เพรียงหัวหอม ไบรโอซัว ฯลฯ ซึ่งชอบขึน้ อยู่ในที่กาบังแดด ต้องตายไปเพราะได้ถกู แดดแผดเผา ซึ่ง
สิ่งมีชวี ิตขนาดเล็กเหล่านีก้ ็มคี วามสาคัญในห่วงโซ่อาหารในระบบนิเวศ
ปั ญหาที่เกิดขึน้
8. การรัว่ ไหลของนา้ มันลงทะเล
อุบตั เิ หตุที่ทาให้เกิดเรืออับปางก่อให้เกิดนา้ มันรัว่ ไหลลงสู่ทะเล เป็ นกรณีที่เกิด
ไม่บ่อยนัก ส่วนการชะล้างนา้ มันจากเรือประมง เรือท่องเที่ยว และเรือหางยาวลงสูท่ ะเล
เป็ นสิ่งที่เกิดขึน้ ในหลายแห่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามอ่าวทีม่ ที า่ เรือ เช่น บริเวณอ่าวต้นไทร
ที่เกาะพีพี จังหวัดกระบี่ เป็ นต้น แต่ยงั ไม่มรี ายงานผลกระทบที่เกิดเป็ นบริเวณกว้าง
ปั ญหาที่เกิดขึน้ ตามธรรมชาติ
ปั ญหาที่เกิดขึน้ ตามธรรมชาติ
ปั ญหาผลกระทบที่เกิดขึน้ ตามธรรมชาติหลายอย่างมีผลให้แนวปะการังเสียหายเป็ นพื้นที่
กว้าง แต่โดยปกติแล้วแนวปะการังมักฟื้ นตัวได้เองตามธรรมชาติเช่นกัน ผลกระทบจากธรรมชาติ
ที่เด่นชัด มีดงั ที่ยกตัวอย่างในกรณีตอ่ ไปนี้
1. การเกิดดาวหนามระบาด
ในปี พ.ศ.2527 สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝัง่ ทะเลและป่ าชายเลน (เดิมศูนย์ชวี วิทยาทางทะเล
ภูเก็ต) ได้สารวจการระบาดของดาวหนาม (crown-of-thorns starfish ชือ่ วิทยาศาสตร์คือ Acanthaster planci) ตามเกาะต่างๆ
ทางฝัง่ ทะเลอันดามัน ขณะสารวจพบว่า ดาวหนามกาลังระบาดรุนแรงที่สดุ ที่หมูเ่ กาะอาดัง-ราวี (จ. สตูล) ส่วนที่เกาะพีพี
และเกาะรอก (จ. กระบี่) แนวปะการังได้เสียหายไปเป็ นพื้นที่กว้างเนือ่ งจากดาวหนามระบาดไปก่อนหน้านัน้ แล้ว ส่วนที่เกาะ
สุรินทร์ (จ. พังงา) และเกาะราชา (จ. ภูเก็ต) พบดาวหนามไม่มากนัก แต่มรี ่องรอยความเสียหายของปะการังจากการถูก
ดาวหนามกิน สาหรับที่หมูเ่ กาะสิมลิ นั (จ. พังงา) พบความเสียหายจากดาวหนามน้อยกว่าที่อื่น อย่างไรก็ตามพบว่าในปี
พ.ศ.2538 พบดาวหนามระบาดอย่างรุนแรงที่เกาะปาหยัน (เกาะลูกที่สามของหมูเ่ กาะสิมิลนั ) ซึ่งในคราวนัน้ เจ้าหน้าที่ของ
สถาบันฯ ได้เก็บดาวหนามขึน้ มากว่าสามร้อยตัวในพื้นที่เล็กๆ
ปั ญหาที่เกิดขึน้ ตามธรรมชาติ
2. พายุพดั ทาลาย
เหตุการณ์พายุพดั ทาลายแนวปะการังในน่านนา้ ไทยเกิดขึน้ หลายครัง้ คือ ในปี พ.ศ.2529 ทางฝัง่ ทะเล
อันดามันเกิดคลื่นพายุลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่รนุ แรงมาก และทางฝัง่ อ่าวไทยเกิดพายุเกย์และพายุลินดา
ในปี พ.ศ.2532 และ 2540 ตามลาดับ ผลของคลื่นพายุกอ่ ให้เกิดความเสียหายในแนวปะการังเป็ นบริเวณ
กว้าง

3. คลื่นสึนามิ
เป็ นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึน้ ทางฝัง่ ทะเลอันดามันเมือ่ ปลายปี พ.ศ.2547 ความรุนแรงของ
คลื่นสึนามิทาให้ปะการังเสียหายในหลายรูปแบบ เช่น พลิกควา่ แตกหัก ทรายทับถม จากการประเมินความ
เสียหายอย่างหยาบๆ โดยนักวิชาการและนักดานา้ อาสาสมัคร สรุปได้ว่ามีแนวปะการังที่ได้รบั ความเสียหาย
ในระดับรุนแรง กินพื้นที่ประมาณ 13% ของแนวปะการังทัง้ หมดทางฝัง่ ทะเลอันดามัน บริเวณที่เสียหายมาก
มักเป็ นจุดที่อยูต่ ามหัวเกาะและร่องนา้ ระหว่างเกาะ
ปั ญหาที่เกิดขึน้ ตามธรรมชาติ
4. การเกิดปะการังฟอกขาว (coral bleaching)
ปกติแล้วปะการังในน่านนา้ ไทยสามารถดารงชีวิตอยูไ่ ด้ในนา้ ทะเลที่อณ ุ หภูมปิ ระมาณ 28-29 องศา
เซลเซียส แต่ถา้ หากอุณหภูมนิ า้ ทะเลสูงขึน้ ถึง 30-31 องศาเซลเซียสติดต่อกันนาน 3-4 สัปดาห์ขนึ้ ไป จะทา
ให้ปะการังเกิดการฟอกขาวขึน้ การที่ปะการังที่เราเคยเห็นว่ามีหลากสีกลับกลายเป็ นสีขาวนัน้ เป็ นเพราะ
สาหร่ายเซลล์เดียว ที่อาศัยอยูใ่ นเนือ้ เยื่อปะการังได้หลุดออกไป ทาให้เนือ้ เยื่อปะการังกลับกลายเป็ นเนือ้ เยื่อใส
ไม่มสี ี สามารถมองทะลุผา่ นไปถึงโครงหินปูนสีขาวที่รองรับเนือ้ เยื่อได้ หากปะการังอยูใ่ นสภาพฟอกขาว
ติดต่อนานเกินหนึง่ เดือน ปะการังนัน้ มักจะตายไป เพราะขาดสารอาหารที่ได้รบั
แนวทางการอนุรกั ษ์
การอนุรกั ษ์และการฟื้ นฟูแนวปะการังเป็ นมาตรการที่สาคัญที่สดุ ที่จะทาให้ทรัพยากรแนว
ปะการังของประเทศสามารถดารงสภาพความสมบูรณ์อยูไ่ ด้ ทัง้ นีต้ อ้ งมีการบริหาร
จัดการเน้นการมีสว่ นร่วมควบคู่กบั การใช้มาตรการทางด้านกฎหมาย
การอนุรกั ษ์แนวปะการัง
1. การแบ่งเขตการใช้ประโยชน์ในพื้นที่แนวปะการังทัว่ ประเทศอย่างชัดเจน ประเทศไทยมีแผน
แม่บทการจัดการแนวปะการังของประเทศมาตัง้ แต่ปี พ.ศ.2535 ซึ่งประกอบด้วยนโยบาย
มาตรการ และแนวทางการดาเนินแผนงานและโครงการ ตลอดจนหลักเกณฑ์และการกาหนดพื้นที่
ภายใต้เขตการใช้ประโยชน์ในแนวปะการังของประเทศ แต่ยงั ไม่มกี ารประกาศใช้เขตการใช้ประโยชน์
กันอย่างจริงจัง ต่อมาในปี พ.ศ.2546 สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ และ
มหาวิทยาลัยรามคาแหง ก็ได้เริ่มหันมาปรับปรุงแผนแม่บทดังกล่าวเพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับ
สถานการณ์ปัจจุบนั โดยได้แบ่งเขตการใช้ประโยชน์ตามสถานภาพของแนวปะการังและศักยภาพ
การใช้ประโยชน์ของชุมชมชนหลายฝ่ าย
แนวทางการอนุรกั ษ์
2. หน่วยงานภาครัฐต้องเปิ ดโอกาสและสนับสนุนให้ประชาชนมีบทบาทในการอนุรกั ษ์ร่วมกับหน่วยงาน
ภาครัฐอย่างจริงจัง แนวทางที่ประชาชนสามารถร่วมมือทาได้อย่างเป็ นรูปธรรม เช่น ไม่ทิ้งสมอลงในแนว
ปะการัง ใช้ทน่ ุ ผูกเรือในแนวปะการัง ไม่ทิ้งเศษซากอวนลงในทะเล ไม่เดินเหยียบยา่ บนแนวปะการัง ไม่ปล่อย
นา้ เสียลงในแนวปะการัง ทาการประมงอย่างถูกวิธีโดยไม่สง่ ผลกระทบต่อแนวปะการัง ไม่มกี ารลักลอบเก็บ
ปะการัง ซึ่งพบว่าในอดีตมีการเก็บปะการังขึน้ มาขายเพื่อประดับตูโ้ ชว์หรือตูป้ ลา แต่ในปั จจุบนั มีทางออกใน
เรื่องนีเ้ พราะมีการทาแบบจาลองปะการังด้วยวัสดุเรซิน ซึ่งใช้ทดแทนได้เป็ นอย่างดี
3. มีการอบรมให้ความรูอ้ ย่างต่อเนือ่ งในเรื่องการอนุรกั ษ์ปะการังแก่ผทู้ ี่เกีย่ วข้อง เช่น กรมทรัพยากรทาง
ทะเลและชายฝัง่ ได้ดาเนินการฝึ กอบรมให้แก่ขา้ ราชการครูและนักเรียน มัคคุเทศก์ กลุม่ ผูป้ ระกอบธุรกิจเรือ
หางยาวนาเที่ยว กลุม่ ชาวบ้าน ชาวประมง ตามหมูบ่ า้ นใน 13 จังหวัดที่อยูต่ ดิ ชายฝัง่ ทะเลที่มแี นวปะการัง ใน
บางท้องที่ เช่น จังหวัดภูเก็ต มีการจัดกิจกรรมค่ายเยาวชนรักษ์ปะการัง มีการจัดตัง้ ชมรมอนุรกั ษ์ปะการัง
และทรัพยากรธรรมชาติฝัง่ อันดามันและจัดตัง้ กลุม่ อาสาสมัครพิทกั ษ์ปะการังขึน้ ที่บา้ นบางเทา บ้านป่ าตอง
บ้านกะตะและกะรน โดยมีสมาชิกส่วนใหญ่เป็ นชาวบ้านในหมูบ่ า้ นที่มแี นวปะการังและชาวบ้านทีป่ ระกอบอาชีพ
ขับเรือหางยาวพานักท่องเที่ยวชมปะการัง ทัง้ นีส้ มาชิกของชมรมและกลุม่ อาสาสมัครดังกล่าวข้างต้นได้
ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ในการแจ้งข่าวสาร สอดส่องดูแลแทนเจ้าหน้าที่ในการเฝ้ าระวังรักษาแนวปะการัง และ
ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ในการจับกุมและปราบปรามผูก้ ระทาผิดกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรแนวปะการัง และได้
ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ในด้านการอนุรกั ษ์แนวปะการัง
แนวทางการอนุรกั ษ์
4.ส่งเสริมการดาเนินการวิจยั ขัน้ พื้นฐานทางด้านชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเลเป็ นปั จจัยที่
สนับสนุนโครงการฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์ทรัพยากรแนวปะการัง ในปั จจุบนั หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ทางด้านนี้ ได้แก่หน่วยงานในสังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ได้แก่ สถาบันวิจยั และ
พัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝัง่ ทะเลและป่ าชายเลน ซึ่งตัง้ อยู่ที่จงั หวัดภูเก็ต ศูนย์วิจยั ทรัพยากร
ทางทะเลและชายฝัง่ อ่าวไทยฝัง่ ตะวันออก ตอนกลาง และตอนล่าง ซึ่งตัง้ อยู่ที่จงั หวัดระยอง ชุมพร
และสงขลาตามลาดับ ส่งเสริมให้เกิดการศึกษาวิจยั หาองค์ความรูเ้ ชิงลึกเกี่ยวกับพันธุกรรมและ
การปรับตัวของปะการังเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการฟื้ นฟูตนเอง (resilience) ให้กบั ปะการัง
และลดผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และระดับนา้ ทะเลมีแนวโน้มเพิ่มขึน้
แนวทางการฟื ้ นฟูแนวปะการ ัง
จากการวิจยั ทางด้านปะการังในหลายพื้นที่ พบว่าแนวปะการังที่เสียหายจากภัยทางธรรมชาติ (เช่นปะการังฟอก
ขาว) สามารถฟื้ นตัวเองได้ตามธรรมชาติได้ โดยมีอตั ราการฟื้ นตัวตามธรรมชาติประมาณ 1 - 11% ต่อปี (ค่าปกคลุม
ของปะการังที่มชี วี ิตเพิ่มขึน้ 1 - 11% ต่อปี ) หรือเฉลี่ยประมาณ 5% ต่อปี ทัง้ นีต้ อ้ งมีปัจจัยสนับสนุนคือ คุณภาพนา้ ต้อง
ดี และต้องไม่มผี ลกระทบเพิ่มเติมจากมนุษย์ หากสามารถควบคุมปั จจัยคุกคามได้ และไม่เกิดภัยตามธรรมชาติ (เช่น
ปะการังฟอกขาว และพายุพดั ทาลาย) อาจจะต้องใช้เวลาอีกประมาณ 8 ปี แนวปะการังถึงจะอยูใ่ นระดับที่สมบูรณ์ได้
(โดยประมาณว่ามีค่าปกคลุมของปะการังที่มชี วี ิตในภาพรวม 60% ขึน้ ไป) ข้อเสนอแนะที่สามารถดาเนินการได้อย่างเป็ น
รูปธรรมเพื่อจัดการให้แนวปะการังสามารถฟื้ นตัวได้ตามธรรมชาติ ดังนี้

1. ใช้มาตรการควบคุมอย่างจริงจัง ให้มกี ารท่องเที่ยวทางทะเลในแนวทางที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อมโดยมีการ


อบรมผูป้ ระกอบการท่องเที่ยวให้ปฏิบตั ติ ามกฎกติกา ทัง้ นีส้ ามารถนาแนวทางของ Green Fins ที่กรม
ทรัพยากรทางทะเลดาเนินการอยู่
2.นามาตรฐานการดานา้ มาควบคุมอย่างจริงจัง เช่น ในแหล่งดานา้ ลึกที่มคี วามเปราะบาง เช่นตามกองหินที่
เป็ นแหล่งกัลปั งหา ไม่อนุญาตให้นกั ดานา้ ที่มปี ระสบการณ์นอ้ ยลงดานา้
3.ติดตัง้ ทุน่ ผูกเรือให้เพียงพอ และห้ามการทิ้งสมอเรือในแนวปะการังอย่างเด็ดขาด
4.สาหรับและเก็บขยะใต้นา้ เป็ นประจา เพื่อให้ปะการังฟื้ นตัวได้ตามปกติ
5.มีการแบ่งเขตการใช้ประโยชน์ที่ชดั เจน แหล่งชมปะการังนา้ ตืน้ (snorkeling) ต้องกาหนดจุดที่แน่นอน และ
เป็ นจุดที่นกั ท่องเที่ยวยืนเหยียบไม่ถึงพื้น
6.มีการแบ่งเขตการใช้ประโยชน์ที่ชดั เจน แหล่งชมปะการังนา้ ตืน้ (snorkeling) ต้องกาหนดจุดที่แน่นอน และ
เป็ นจุดที่นกั ท่องเที่ยวยืนเหยียบไม่ถึงพื้น
แนวทางการฟื้ นฟูแนวปะการัง
7.ในอนาคตต้องปรับปรุงมาตรฐานของเรือนาเที่ยว ให้เรือที่เข้ามาในเขตอุทยานฯ ต้องเป็ นเรือที่มี
ถังเก็บกักของเสียจากห้องส้วม ห้ามปล่อยของเสียลงในเขตพื้นที่อทุ ยานฯอย่างเป็ ดขาดเนือ่ งจากนา้
เสียจากห้องส้วมก่อให้เกิดโรคกับปะการัง
8.จัดการแหล่งนา้ ขังบนผิวดิน โดยลดการปล่อยของเสียลงแหล่งนา้ (ควบคุมจานวนนักท่องเที่ยว
ให้เหมาะสมกับพื้นที่) และใช้พืชนา้ ตามธรรมชาติบนเกาะช่วยดูดซับธาตุอาหารและของเสีย
9.สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน เช่น ดาเนินงานวิจยั ร่วมในพื้นที่อทุ ยานแห่งชาติฯ ระหว่าง
กรมอุทยานแห่งชาติฯ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ มหาวิทยาลัย สมาคมวิทยาศาสตร์ทาง
ทะเล ซึ่งทางอุทยานแห่งชาติฯ ต้องอานวยความสะดวกอย่างจริงจัง
แนวทางการฟื้ นฟูแนวปะการัง
สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝัง่ ทะเลและป่ าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ได้
ดาเนินการการศึกษาความเป็ นไปได้ในการฟื้ นฟูแนวปะการังเสื่อมโทรมในประเทศไทยทางฝัง่ ทะเลอันดามัน เมือ่ พ.ศ.2537
ที่จงั หวัดภูเก็ต จากการศึกษาเบื้องต้นพบว่าแนวปะการังส่วนใหญ่มศี ักยภาพในการฟื้ นตัวได้เองตามธรรมชาติ แต่การเข้า
ฟื้ นฟูโดยมนุษย์ก็สามารถเร่งให้แนวปะการังบางแห่งมีการฟื้ นตัวได้เร็วขึน้ โดยสถาบันได้ทดลองฟื้ นฟูแนวปะการังโดยวิธี
ต่างๆ ทัง้ การย้ายปลูก การสร้างพื้นที่ลงเกาะให้แก่ตวั อ่อนปะการังในธรรมชาติ การเร่งการสะสมของหินปูนและเร่งการ
เจริญเติบโตของปะการังโดยใช้กระแสไฟฟ้า ซึ่งพบว่า 2 วิธีแรกประสบความสาเร็จอย่างเห็นได้ชดั ได้แก่

1. การย้ายปลูกปะการังเป็ นวิธีการฟื้ นฟูแนวปะการังวิธีหนึง่


ซึ่งจากการศึกษาการย้ายปลูกปะการังเขากวางและปะการังก้อนของสถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากร
ทางทะเล ชายฝัง่ ทะเล และป่ าชายเลน พบว่า การรอดและการเจริญเติบโตของปะการังดังกล่าวแตกต่างกันไป
ขึน้ กับสภาพแวดล้อมของแต่ละบริเวณที่ทาการศึกษา วิธีนเี้ หมาะสมกับพื้นที่สิ่งแวดล้อมเหมาะสมต่อการ
เจริญเติบโตของปะการังแต่ยงั ขาดตัวอ่อนหรือเศษของปะการังที่มชี วี ิตที่จะสามารถเติบโตต่อไปในบริเวณนัน้
แนวทางการฟื้ นฟูแนวปะการัง
2.การเสริม “พื้นแข็ง”
ก็เป็ นอีกวิธีหนึง่ ที่ใช้ในการฟื้ นฟูแนวปะการัง กรณีนเี้ หมาะสมที่จะทาในพื้นที่ที่ถกู ทาลาย
จนกระทัง่ ซากปะการังแตกหักป่ นจากแรงระเบิด หรือซากปะการังถูกพายุซดั ขึน้ ไปกองอยู่บนหาด
เหลือแต่พื้นทรายไว้ ในกรณีเช่นนี้ ตัวอ่อนปะการังขาดพื้นแข็งสาหรับยึดเกาะเพื่องอกใหม่ ดังนัน้ จึง
อาจจาเป็ นต้องเสริมพื้นแข็งลงไปในแนวปะการังนัน้ ที่ได้มกี ารทดลองกันแล้วนัน้ สถาบันวิจยั และ
พัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝัง่ ทะเล และป่ าชายเลน ได้ดาเนินการที่เกาะไม้ทอ่ น จังหวัดภูเก็ต
โดยได้หล่อท่อคอนกรีตจัดเป็ นรูปทรงหมอนสามเหลี่ยม
จบการนาเสนอ

You might also like