Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 36

แผนการจัดการเรียนรู้

รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
รหัสวิชา ค 33101
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมาย
ของสถิติและข้อมูล

จัดทำโดย
นางอารีย์ สาเกกูล

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6
ภาคเรียนที่ 1
ปี การศึกษา 2567
โรงเรียนสุโขทัยวิทยาคม
อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
สุโขทัย

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑
เรื่อง “สถิติและนำเสนอข้อมูล”
จำนวนชั่วโมง ๒ ชั่วโมง รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค 33101
ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง “ความหมายของ
สถิติและข้อมูล”

๑. มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ๔ ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถิติ


และใช้ความรู้ทางสถิติในการ
แก้ปั ญหา

๒. ตัวชี้วัดปลายทาง ค ๓.๑ ม.๖/๑ เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติใน


การนำเสนอข้อมูลและแปลความหมาย
ของค่าสถิติเพื่อประกอบการตัดสินใจ
ตัวชี้วัดระหว่างทาง –

๓. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) พัฒนานักเรียนด้าน


๓.๑ ความซื่อสัตย์สุจริต
๓.๒ ความมีระเบียบวินัย
๓.๓ ความใฝ่ เรียนรู้
๓.๔ ความมุ่งมั่นในการทำงาน

๔. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๔.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๔.๒ ความสามารถในการคิด
๔.๒.๑ ทักษะการให้เหตุผล
๔.๒.๒ ทักษะการเชื่อมโยง
๔.๒.๓ ทักษะการตีความ
๔.๓ ความสามารถในการแก้ปั ญหา

๕. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
สถิติและข้อมูลเป็ นการรวบรวมข้อมูลสถิติเกี่ยวกับจำนวนและลักษณะ
ของประชากร เป็ นการวิเคราะห์ข้อมูลออกมาเป็ นข่าวสารหรือสารสนเทศ
และกระบวนการทางสถิติที่ช่วยในการสรุปผล ดังนั้นสถิติจึงเป็ นเครื่องมือ
ที่สำคัญซึ่งช่วยให้มนุษย์ใช้เหตุผลในการตัดสินใจและยังมีประโยชน์อย่าง
กว้างขวางในหลากหลายสาขาวิชา เช่น ด้านการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์
ด้านการแพทย์ ด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม ด้านการเมืองและการปกครอง

5.กิจกรรมการเรียนรู้ รูปแบบการสอน Active Learning เทคนิค :


Concept Based Teaching
ชั่วโมงที่ 1
นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สถิติและข้อมูล

ขั้นนำ การใช้ความรู้เดิมเชื่อมโยงความรู้ใหม่ (Prior Knowledge)


1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน แล้วแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียน
ทราบ
2.ทบทวนความรู้เกี่ยวกับความหมายของข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล
การนำเสนอข้อมูลและการแปล
ความหมายของข้อมูลที่นักเรียนได้ศึกษามาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
จากการนำเสนอของครูบนแผ่น
ทึบแสง ดังนี้
 ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงของสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา ไม่ว่าจะ
เป็ น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่
ต่าง ๆธรรมชาติทั่วไป
 การเก็บรวบรวมข้อมูล หมายถึง ขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการ
ทางสถิติที่มีความสำคัญ เพื่อให้ได้มา
ซึ่งข้อมูลที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ และสอดคล้องกับกรอบแนวความคิด
สมมติฐาน เทคนิคการวัด และ
การวิเคราะห์ข้อมูล
 การนำเสนอข้อมูล หมายถึง การนำเสนอผลการจัดระเบียบข้อมูล
เพื่อให้ผู้รับข้อมูลสามารถ
พิจารณารายละเอียดที่ต้องการทราบได้ง่าย และรวดเร็ว
 การแปลความหมายของข้อมูล เป็ นการหาข้อสรุปจากการนำเสนอ
ข้อมูล
หมายเหตุ : ครูอาจให้นักเรียนทำแบบทดสอบพื้นฐานก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สถิติและข้อมูล
โดยการสแกน QR Code ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.6
หน้า 3

ขั้นสอน รู้และเข้าใจ (Knowing and Understanding)


3. ให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างกรณีของโอกาสที่จะมีฝนตกในวันหนึ่งๆ
โดยครูกล่าวว่า “นักเรียนไม่สามารถทราบได้ล่วงหน้าว่า วันนี้ฝนตกหรือไม่
หรือสภาพอากาศจะเป็ นอย่างไร เหมาะสมกับการเดินทางมากน้อยเพียงใด
จึงต้องมีการ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติเข้ามาช่วย”
4. ให้นักเรียนศึกษาวีดิทัศน์เกี่ยวกับการพยากรณ์อากาศ พร้อมทั้งร่วม
กันอภิปรายและสรุปประเด็นที่ได้
จากการชมวีดิทัศน์ จากนั้นครูสุ่มนักเรียนออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน โดย
ครูตรวจสอบความถูกต้อง และอธิบายเพิ่มเติม
5. ครูถามคำถามนักเรียนว่า นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ กับการเปลี่ยนรูป
แบบการคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย
ปี 2566 เพราะเหตุใด
(แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบได้หลากหลายตามพื้นฐานความรู้
เช่น เห็นด้วย เพราะลดความ เหลื่อมล้ำและความไม่เท่าเทียมกันใน
การสอบ แก้ปั ญหาเรื่องค่าใช้จ่ายในการสอบหลายครั้ง หรือไม่เห็นด้วย
เพราะไม่มีโอกาสสอบแก้ตัว โอกาสสอบติดมหาวิทยาลัยของรัฐน้อยลง)
6. กระตุ้นให้นักเรียนสังเกตว่า จากสถานการณ์ข้างต้น ในการเก็บ
รวบรวมข้อมูล นักเรียนต้องใช้หลักการ
ทางสถิติ หรือไม่ เพราะเหตุใด
(แนวตอบ ใช้หลักการทางสถิติ เพราะการสำรวจความคิดเห็นหรือ
โพล ผู้สำรวจไม่สามารถรวบรวม
ความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ทั่วทุกจังหวัดใน
ประเทศไทยได้ ดังนั้น เพื่อความแม่นยำ จึงต้องมีการคัดเลือกตัวอย่าง เพื่อ
นำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ)
7. ให้นักเรียนยกตัวอย่างเกี่ยวกับการสำรวจความคิดเห็นหรือโพล
(แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบได้หลากหลาย ตามพื้นฐาน
ความรู้ เช่น การสำรวจความคิดเห็นเรื่อง
ผู้สมัคร รับเลือกตั้งหรือพรรคการเมืองในช่วงเลือกตั้ง)
8. ให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างสถานการณ์ที่ครูนำเสนอว่า “นักเรียนมี
ความคิดเห็นอย่างไร กับการที่
ประเทศไทยจะเปลี่ยนการเรียนการสอนโดยใช้ E-book มากกว่าการใช้
หนังสือเรียน”
(แนวตอบ นักเรียนสามรถตอบได้หลากหลาย ตามพื้นฐานความรู้
เช่น เห็นด้วย เพราะการใช้ E-book
สามารถเก็บเนื้อหาของหนังสือเรียนทุกเล่ม สะดวกในการพกพา หรือไม่
เห็นด้วย เพราะไม่สะดวกในการจดเพิ่มเติม)
9. ให้นักเรียนตอบคำถามว่า สถานการณ์ตัวอย่างดังกล่าว ต้องใช้
สถิติในการเก็บรวบรวมข้อมูล และ
วิเคราะห์ข้อมูลหรือไม่ เพราะเหตุใด
(แนวตอบ ใช้ เพราะไม่สามารถเก็บความคิดเห็นของประชากร
ได้ทุกกลุ่ม เราจึงต้องมีการเลือก
ตัวอย่างและใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล)

ชั่วโมงที่ 2
10.ทบทวนความรู้เกี่ยวกับตัวอย่างของกรณีหรือปั ญหาที่ใช้สถิติ
ที่เกี่ยวกับการสำรวจความคิดเห็น
หรือโพล จากชั่วโมงที่แล้ว
11.แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน โดยคละความสามารถทาง
คณิตศาสตร์ (อ่อน ปานกลาง และเก่ง)
ให้อยู่กลุ่มเดียวกัน แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้น และยก
ตัวอย่างสถานการณ์หรือปั ญหาที่ เกี่ยวข้องกับสถิติในชีวิตประจำวันมากลุ่ม
ละ 1 ตัวอย่าง จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอที่ หน้าชั้น
เรียน
โดยครูให้คำแนะนำเพิ่มเติม
12.ให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างกรณีของการจัดการความเสี่ยง เป็ น
ตัวอย่างของกรณีหรือปั ญหาที่ต้อง
ใช้สถิติ
13.นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายว่า “การจัดการความเสี่ยง
เป็ นกระบวนการที่ใช้ในการระบุ
ความเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยงและกำหนดแนวทางในการควบคุมเพื่อ
ป้ องกันหรือลดความเสี่ยงซึ่งมีความสำคัญและเป็ นประโยชน์มาก เช่น
ความเสี่ยงด้านเครดิต เป็ นความเสี่ยงจากการที่ผู้ซื้อสินค้าไม่สามารถ
ปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อตกลงในสัญญาที่จะชำระค่าสินค้า จะเห็นว่าสิ่งที่
อาจเกิดขึ้นนี้ไม่ได้เกิดขึ้นทันที แต่จะเกิดขึ้นในอนาคต ดังนั้นการตัดสินใจ
ขายสินค้าให้ลูกค้ารายหนึ่งผู้ตัดสินใจจึงต้องอาศัยประสบการณ์ในอดีต
เป็ นเครื่องชี้นำ เพื่อประมาณการความเสี่ยงในอนาคต”
14. ให้นักเรียนตัวแทนกลุ่ม 1 คน ยกตัวอย่างสถานการณ์ที่ต้อง
ใช้การจัดการความเสี่ยง
(แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบได้หลากหลาย ตามพื้นฐาน
ความรู้ เช่น การลงทุนขายสินค้า
การซื้อหุ้น)
15. ให้นักเรียนช่วยกันตอบคำถามนักเรียนว่า “การเปรียบเทียบ
ประสิทธิผลของยารักษาโรค ถือเป็ น
ตัวอย่างของกรณีหรือปั ญหาที่ต้องใช้สถิติหรือไม่”
(แนวตอบ เป็ นตัวอย่างของกรณีหรือปั ญหาที่ต้องใช้สถิติ)
16. ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมว่า “การเปรียบเทียบประสิทธิผลของ
ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง 2 ตัว
โดยจะเลือกคนไข้ที่มีปั จจัยของลักษณะต่าง ๆ ที่คาดว่ามีผลต่อความดัน
โลหิตเหมือนกันเป็ นคู่ ๆ โดยเลือก คนหนึ่งในแต่ละคู่อย่างสุ่ม แล้วให้
กินยาตัวที่หนึ่ง และให้อีกคนหนึ่งในคู่นั้นกินยาอีกตัวหนึ่ง การทำเช่นนี้
จะเป็ นการรับรองว่า ผลที่เกิดขึ้นเป็ นผลจากยาที่แตกต่างกันเท่านั้น โดย
ไม่มีปั จจัยอื่นเข้ามาเกี่ยวข้อง”

ขั้นสรุป
17. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปกรณีตัวอย่างหรือปั ญหาที่ต้องใช้
สถิติ ดังนี้
 การสำรวจความคิดเห็นหรือโพล จะต้องเก็บข้อมูลจากตัวอย่าง
เพื่อนำไปเป็ นตัวแทน
จากประชากรทั้งหมด ซึ่งวิธี เลือกตัวอย่างต้องใช้ความรู้ทางสถิติขั้นสูง
 การจัดการความเสี่ยงเป็ นกระบวนการที่ใช้ในการระบุความ
เสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยงและ
กำหนดแนวทางในการควบคุมเพื่อป้ องกันหรือลดความเสี่ยงซึ่งมีความ
สำคัญและเป็ นประโยชน์มาก จะต้องอาศัยความรู้ทาง สถิติและความรู้
เรื่อง ตลาดสินค้า
 การเปรียบเทียบประสิทธิผลของยารักษาโรค จะต้องใช้ความรู้
ทางสถิติในเรื่องการวางแผนการทดลอง โดยมี หลักการสำคัญของการ
ออกแบบการทดลอง คือ จะต้องแสดงผลของยาอย่างเดียวโดยไม่มีอิทธิพล
ของปั จจัยอื่น เข้ามาเกี่ยวข้อง
18. มอบหมายงานให้นักเรียนแต่ละคนค้นคว้าข่าวหรือบทความที่
เกี่ยวกับการใช้สถิติที่เป็ นประโยชน์ ในสาขาอาชีพต่าง ๆ มาคนละ1
บทความ พร้อมติดภาพประกอบ ลงในกระดาษ A4 เป็ นการบ้าน เพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเป็ นรายบุคคล และเตรียมนำเสนอในชั่วโมงถัดไป

6.ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
ผังมโนทัศน์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สถิติและข้อมูล

7.การวัดและการประเมินผล
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน
7.1 การประเมิน - ตรวจผังมโน - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ
ชิ้นงาน/ ภาระ ทัศน์ ชิ้นงาน/ ภาระ 2
งาน (รวบยอด) หน่วยการเรียน งาน ผ่านเกณฑ์
รู้ที่ 1 สถิติและ
ข้อมูล
7.2 การประเมิน
ก่อนเรียน - ตรวจแบบ - แบบทดสอบ - ประเมินตาม
- แบบทดสอบ ทดสอบ ก่อนเรียน สภาพจริง
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน
ก่อนเรียน หน่วย ก่อนเรียน
การเรียนรู้ที่ 1
สถิติและข้อมูล
7.3 การประเมิน
ระหว่าง
การจัด - ตรวจแบบ - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ
กิจกรรม ประเมิน ผลงาน ผลงาน และ 2
1) ตัวอย่าง และการนำ การนำเสนอผล ผ่านเกณฑ์
ของกรณีหรือ เสนอผลงาน งาน
ปั ญหาที่ต้องใช้
สถิติ
2) ความหมาย - ตรวจแบบฝึ ก - แบบฝึ กทักษะ - ร้อยละ 70
ของสถิติ ทักษะ 1.1 1.1 ผ่านเกณฑ์
- ตรวจ Exercise - Exercise 1.1 - ร้อยละ 70
1.1 ผ่านเกณฑ์
3) สถิติกับ - การประเมินผล - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ
การตัดสินใจ งานและ การนำ ผลงาน และ 2
วางแผน เสนอผลงาน การนำเสนผล ผ่านเกณฑ์
งาน
4) ความหมาย - ตรวจแบบฝึ ก - แบบฝึ กทักษะ - ร้อยละ 70
และประเภทของ ทักษะ 1.1 1.1 ผ่านเกณฑ์
ข้อมูล - ตรวจ Exercise - Exercise 1.1 - ร้อยละ 70
1.1 ผ่านเกณฑ์
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน
5) วิธีการเก็บ - ตรวจใบงานที่ - แบบฝึ กทักษะ - ร้อยละ 70
รวบรวมข้อมูล 1.1 1.1 ผ่านเกณฑ์
- ตรวจแบบฝึ ก - ใบงานที่ 1.1 - ร้อยละ 70
ทักษะ 1.1 - Exercise 1.1 ผ่านเกณฑ์
- ตรวจ Exercise - ร้อยละ 70
1.1 ผ่านเกณฑ์
6) ปั ญหาใน - การประเมินผล - แบบประเมิน - ร้อยละ 70
การใช้ข้อมูล งานและ การนำ ผลงาน และ ผ่านเกณฑ์
เสนอผลงาน การนำเสนอผล
- ตรวจแบบฝึ ก งาน - ร้อยละ 70
ทักษะประจำ - แบบฝึ กทักษะ ผ่านเกณฑ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ประจำ หน่วย
1 การเรียนรู้ที่ 1
7) การนำ - ประเมินการนำ - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ
เสนอผลงาน เสนอ การ 2
ผลงาน นำเสนอผล ผ่านเกณฑ์
งาน
8) - สังเกต - แบบสังเกต - ระดับคุณภาพ
พฤติกรรม พฤติกรรม พฤติกรรม 2
การทำงานราย การทำงานราย การทำงานราย ผ่านเกณฑ์
บุคคล บุคคล บุคคล
9) พฤติกรรม - สังเกต - แบบสังเกต - ระดับคุณภาพ
การทำงานกลุ่ม พฤติกรรม พฤติกรรม 2
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน
การทำงานกลุ่ม การทำงาน ผ่านเกณฑ์
กลุ่ม
10) - สังเกตความมี - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ
คุณลักษณะ วินัย คุณลักษณะ 2
อันพึง ใฝ่ เรียนรู้ และ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
ประสงค์ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
6.4 การประเมิน
หลังเรียน - ตรวจแบบ - แบบทดสอบ - ร้อยละ 70
- แบบทดสอบ ทดสอบ หลังเรียน ผ่านเกณฑ์
หลังเรียนหน่วย หลังเรียน
การเรียนรู้ที่ 1
สถิติและข้อมูล

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1)หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
ความมหมายของสถิติและข้อมูล
2)แบบฝึ กหัดรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
ความหมายของสถิติและข้อมูล
3)ใบงานที่ 1.1 เรื่อง วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
4)PowerPoint เรื่อง สถิติและข้อมูล
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1)ห้องเรียน
2)ห้องสมุด
3)อินเทอร์เน็ต

9. ความเห็นของผู้บังคับบัญชา

ความเห็นหัวหน้ากลุ่ม ความเห็นหัวหน้า ความเห็นรองผู้อำนวยการ


สาระ ฝ่ ายบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารวิชาการ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ..................................... .....................................
..................................... ........................... ...........................
........................... ..................................... .....................................
..................................... ........................... ...........................
........................... ..................................... .....................................
..................................... ........................... ...........................
...........................
ลงชื่อ............................. ลงชื่อ.............................
ลงชื่อ............................. ............... ...............
................ (นางทวีรัตน์ (นายปราช เชื้อ
(นางอารีย์ สาเก เหรียญทอง) ประดิษฐ์)
กูล)

ความเห็นของผู้บริหารโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................
......................................................................................................................
.......................................

ลงชื่อ...........................................................
(นายไพบูลย์ พวงเงิน)
ผู้อำนวยการโรงเรียนสุโขทัย
วิทยาคม

...................../...................../...................
10. บันทึกผลหลังการสอน

Ÿ ด้านความรู้

Ÿ ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

Ÿ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

Ÿ
ด้านความสามารถทางคณิตศาสตร์

Ÿ ด้านอื่น ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปั ญหาของนักเรียนเป็ น


รายบุคคล (ถ้ามี))

Ÿ ปั ญหา/อุปสรรค

Ÿ แนวทางการแก้ไข

ลงชื่อ ................................................... ผู้สอน


( นางอารีย์
สาเกกูล )
................/..
................/..............
แบบประเมินหน่วยการเรียนรู้
คำชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับระดับการประเมิน
ดังนี้
ระดับการ 4 หมาย มีความสอดคล้อง / เชื่อม มาก
ประเมิน ถึง โยง / เหมาะสม ที่สุด
3 หมาย มีความสอดคล้อง / เชื่อม มาก
ถึง โยง / เหมาะสม
2 หมาย มีความสอดคล้อง / เชื่อม น้อย
ถึง โยง / เหมาะสม
1 หมาย มีความสอดคล้อง / เชื่อม น้อย
ถึง โยง / เหมาะสม ที่สุด
ระดับ
การ
รายการประเมิน
ประเมิน
4 3 2 1
1. หน่วยการเรียนรู้ น่าสนใจ กะทัดรัด ชัดเจน
ครอบคลุมเนื้อหาสาระ
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญของ
นักเรียน และคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ มีความเชื่อมโยงกันอย่างเหมาะสม
3. ความสอดคล้องของมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
สาระการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้
4. ความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันระหว่างชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรู้และ
กิจกรรมการเรียนรู้
5. กิจกรรมการเรียนรู้ สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
6. กิจกรรมการเรียนรู้มีความครอบคลุมการพัฒนาผู้เรียน
ให้มีความรู้ ทักษะ/
กระบวนการ สมรรถนะที่สำคัญ ของผู้เรียนและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
7. กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสม สามารถให้ผู้เรียน
สร้างสรรค์ชิ้นงานหรือ
ภาระงานได้
8. มีการประเมินผลตามสภาพจริงสอดคล้องกับมาตรฐาน
การเรียนรู้/ตัวชี้วัด
กิจกรรมการเรียนรู้
9. ประเด็นและหลักเกณฑ์การประเมินสมรรถนะสะท้อน
คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐาน
การเรียนรู้/ตัวชี้วัด
10. สื่อการเรียนรู้ในแต่ละกิจกรรมมีความเหมาะสมกับ
เวลาและนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง
รวมสรุปผล
รวมเฉลี่ยสรุปผล

ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ
..................................................................................................................
.......................................................
..................................................................................................................
.......................................................

การแปลความหมาย การประเมินหน่วยการเรียนรู้
เกณฑ์ ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 ปรับปรุง 1.51 – 2.50 พอใช้
2.51 – 3.50 ดี 3.51 – 4.00 ดีมาก
หรือ คะแนน 10 – 15 ปรับปรุง 16 – 25 พอใช้ 26
– 35 ดี 36 – 40 ดีมาก

แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของสถิติและข้อมูล

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง เป็ นข้อมูลที่ไม่เป็ นตัวเลข
ก.จำนวนเงินที่นักเรียนใน ข.การสำมะโนเป็ นวิธีการเก็บ
ห้องเรียนมีอยู่ในวันหนึ่ง รวบรวมข้อมูลที่
เราสนใจจากทุก ๆ หน่วย ใน ง. ถูกทุกข้อ
ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง 3. ข้อความใดไม่ใช่ข้อมูลแสดง
ค.อาชีพของผู้ปกครองของ ปริมาณ
นักเรียนคนหนึ่งใน ก.อายุของนักเรียน
ห้องเรียนเป็ นข้อมูลที่ไม่เป็ น ข.รายได้ของผู้ปกครอง
ตัวเลข ค.จำนวนนักเรียนในห้องเรียน
ง. การสำรวจด้วยตัวอย่างเป็ นวิธี ง. เบอร์โทรศัพท์ของนักเรียนใน
การเก็บรวบรวม ข้อมูลที่ ห้อง
ต้องการจากส่วนหนึ่งของ 4. ข้อใดไม่ใช่ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ประชากร ก.เพศของสมาชิกในครอบครัว
2. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ข.สถานภาพสมรสของครูใน
ก.สถิติ หมายถึง ตัวเลขที่แทน โรงเรียน
จำนวนหรือข้อเท็จจริงของสิ่งที่ ค.ความชอบ ความคิดเห็น
เราศึกษา ง. ความสูง ความยาว
ข.สถิติ หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วย 5. ข้อใดคือขั้นตอนการดำเนินการ
ระเบียบวิธีการทางสถิติ ซึ่ง ทางสถิติ
ประกอบด้วย การเก็บรวบรวม ก.การเก็บรวบรวมข้อมูล การ
ข้อมูลการนำเสนอข้อมูล การ วิเคราะห์ข้อมูล
รวิเคราะห์และแปลความหมาย และการนำเสนอข้อมูล
ข้อมูล ข. การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำ
ค.ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริง เสนอข้อมูล
หรือสิ่งที่ยอมรับว่าเป็ นข้อเท็จ และการตีความหมายข้อมูล
จริงของเรื่องที่สนใจศึกษา ค.การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำ
เสนอข้อมูล
และการวิเคราะห์ข้อมูล
ง. การเก็บรวบรวมข้อมูล การ ค.การสัมภาษณ์เป็ นข้อมูลทุติย
วิเคราะห์ข้อมูล ภูมิ
การนำเสนอข้อมูล และการ ง. สถิติการเสียชีวิตอุบัติเหตุจาก
ตีความหมายข้อมูล สำนักงาน สถิติเป็ นข้อมูลทุติย
6. การเก็บข้อมูลจากทุกๆ หน่วย ภูมิ
ของประชากรที่สนใจ ศึกษาภายใน 9. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของการเก็บ
พื้นที่และระยะเวลาที่กำหนดเรียก รวบรวมข้อมูลที่ดี
ว่าอะไร ก.ข้อมูลถูกต้อง
ก.การสำมะโน ข. ข้อมูลสอดคล้องกับ
ข.การสำรวจด้วยตัวอย่าง วัตถุประสงค์
ค.การสำรวจข้อมูลด้วย ค.ข้อมูลน่าเชื่อถือ
แบบสอบถาม ง. ข้อมูลหลากหลาย
ง. ถูกทุกข้อ 10. “การสำรวจเกษตรกรผู้ปลูก
7. ข้อใดเป็ นข้อมูลปฐมภูมิ ข้าวในภาคกลาง ”
ก.รูปภาพที่นักเรียนรวบรวม ประชากรหมายถึงข้อใด
ข.ข้อมูลนักเรียนจากทะเบียน ก.เกษตรกรคนไทยทุกคน
บ้าน ข. เกษตรกรภาคกลางทุกคน
ค.สถิติคนไข้ที่ได้จากโรง ค.เกษตรกรผู้ปลูกข้าวทุกคน
พยาบาล ง. เกษตรกรผู้ปลูกข้าวในภาค
ง. ผลการเรียนนักเรียนจาก กลาง ทุกคน
ทะเบียนของ โรงเรียน 11. จากข้อที่ 10 กลุ่มตัวอย่าง
8. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง หมายถึงข้อใด
ก.การสำรวจเป็ นข้อมูลทุติยภูมิ ก.เกษตรกรคนไทยบางคน
ข.การสำมะโน เป็ นข้อมูลทุติย ข.เกษตรกรภาคกลางบางคน
ภูมิ ค.เกษตรกรผู้ปลูกข้าวบางคน
ง. เกษตรกรผู้ปลูกข้าวภาค ง. ขนาดของเบอร์รองเท้า
กลางบางคน 16. ข้อใดไม่ใช่ปั ญหาในการใช้
12. ข้อใดเป็ นแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลทุติยภูมิ
ก.ข้อมูลงานวิจัย ก.ข้อมูลบางรายการขาดหายไป
ข.ข้อมูลจากวารสารวิชาการ
ค.ข้อมูลการสัมภาษณ์ ข.การเลือกตัวอย่างที่เหมาะสม
เกษตรกร ค.ข้อมูลมีความทันสมัย
ง. ข้อมูลจากหน่วยงานราชการ ง. ถูกทุกข้อ
ที่ได้เก็บรวบรวมไว้ 17. การเก็บข้อมูลที่ต้องการ
13. ข้อใดเป็ นแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ประหยัดเวลา ต้นทุน
ก.การสัมภาษณ์ชาวนา ควรเก็บข้อมูลโดยวิธีใด
ข.การแจกแบบสอบถาม ก.การสังเกต
นักเรียน ข.การสัมภาษณ์
ค.การสำมะโนประชากร ค.การทดลอง
ง. การสืบค้นข้อมูลจาก ง. แบบสอบถามทางไปรษณีย์
วารสาร/บทความ 18. การเก็บข้อมูลที่มีขั้นตอนการ
14. ข้อใดเป็ นข้อมูลเชิงปริมาณ จดบันทึกตามระยะ
ก.สถานะทางเพศ เวลาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิด
ข.ระดับการศึกษา ความถูกต้องของ
ค.คะแนนสอบ ข้อมูลมากที่สุด เป็ นการเก็บ
ง. อาชีพ ข้อมูลแบบใด
15. ข้อใดเป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพ ก.การสังเกต
ก.จำนวนนักเรียน ข.การสัมภาษณ์
ข.รายได้ต่อเดือน ค.การทดลอง
ค.น้ำหนักของนักเรียน ง. แบบสอบถามทางไปรษณีย์
19. ข้อใดไม่ใช่กระบวนการทาง ง. ข้อสรุปที่ได้ไปอ้างอิงถึง
สถิติเชิงอนุมาน ลักษณะของประชากร
ก.วิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวม 20. ข้อใดเหมาะสำหรับการเก็บ
จากตัวอย่าง ข้อมูลเกี่ยวกับตำแหน่ง ดวงดาว
ข.วิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวม บนท้องฟ้ า
จากประชากร ก.การสัมภาษณ์
ค.เลือกตัวอย่างจากประชากรที่ ข.การสอบถาม
ต้องการศึกษา ค.การทดลอง
ง. การสังเกต

เฉลย
1. ก 2. ข 3. ง 4. ง 5. ก 6. ก 7. ก 8. ง 9. ง 10. ง
11. ง 12. ค 13. ง 14. ค 15. ง 16. ข 17. ง 18. ค 19. ข 20. ง
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของสถิติและข้อมูล

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ข้อมูลสถิติในข้อใดที่เก็บรวบรวม ประกอบด้วย การเก็บรวบรวม
ด้วยการทดลอง ข้อมูล
ก.จำนวนคนไข้ที่มารับบริการที่ การนำเสนอข้อมูล การรวิ
สถานีอนามัย เคราะห์และแปลความหมาย
แห่งหนึ่งเป็ นรายวันเป็ นเวลา 1 ข้อมูล
ปี ค.สถิติ หมายถึง ศาสตร์หรือหลัก
ข.จำนวนอุบัติเหตุบนถนนสายหนึ่ง การที่นำมากระทำกับหลักฐานที่
เป็ นรายเดือน ในระยะเวลา 3 ปี เป็ นข้อมูล อาจจะเป็ นข้อมูลเชิง
ที่ผ่านมา ปริมาณหรือเชิงคุณภาพ
ค. น้ำหนักของพืชเมื่อเก็บเกี่ยว ง. ถูกทุกข้อ
โดยใช้ปุ๋ยสูตรต่าง ๆ ในการเพาะ 3. ข้อความใดไม่ใช่ข้อมูลแสดง
ปลูก ปริมาณ
ง. จำนวนสมาชิกในห้องเรียนที่ ก.น้ำหนักของนักเรียน
ทดลองทาง วิทยาศาสตร์ ข.ระดับความพึงพอใจของนักเรียน
2. ข้อใดเป็ นความหมายของสถิติ ค.จำนวนลูกมะพร้าว
ก.สถิติ หมายถึง จำนวนหรือค่าที่ ง. ระยะทางจากบ้านมาโรงเรียน
ได้จากการเก็บรวมข้อมูล แสดง 4. ข้อใดไม่ใช่ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ถึงข้อเท็จจริงของสิ่งที่ต้องการ ก.เพศของสมาชิกในครอบครัว
ศึกษา ข.สถานภาพสมรสของครูใน
ข.สถิติ หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วย โรงเรียน
ระเบียบวิธีการทางสถิติ ซึ่ง ค.จำนวนคนในครัวเรือน
ง. บ้านเลขที่ของนักเรียน 8. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
5. ข้อใดเป็ นขั้นตอนแรกในการดำเนิน ก.สถิติจำนวนนักท่องเที่ยวใน
การทางสถิติ ประเทศไทยจาก สำนักงาน
ก.การตีความหมายข้อมูล สถิติแห่งชาติเป็ นข้อมูลทุติยภูมิ
ข. การวิเคราะห์ข้อมูล ข.การสำมะโน เป็ นข้อมูลทุติย
ค.การนำเสนอข้อมูล ภูมิ
ง. การเก็บรวบรวมข้อมูล ค.การสัมภาษณ์ความพึงพอใน
6. ข้อใดเป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ ของนักท่องเที่ยว เป็ นข้อมูล
ได้มาจากแหล่งที่ เก็บรวบรวมไว้ ทุติยภูมิ
แล้ว ง. การทดลองปลูกข้าวโพดเป็ น
ก.การเก็บรวมรวบข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลทุติยภูมิ
ข.การเก็บรวมรวบข้อมูลปฐมภูมิ 9. ข้อใดเป็ นคุณสมบัติของการเก็บ
ค.การเก็บรวมรวบข้อมูลสำมะโน รวบรวมข้อมูลที่ดี
ง. การเก็บรวมรวบข้อมูลสำรวจ ก.ข้อมูลมีความหลากหลาย
ตัวอย่าง ข. ข้อมูลที่ได้จากการคาดเดา
7. ข้อใดเป็ นข้อมูลปฐมภูมิ ค.ข้อมูลที่ได้จากเรื่องเล่า
ก.ข้อมูลจำนวนผู้ว่างงานจาก ง. ข้อมูลถูกต้อง สอดคล้องกับ
สำนักงานสถิติ แห่งชาติ วัตถุประสงค์ 10. “การทดสอบ
ข.ผลสอบ O-NET ของนักเรียน สมรรถภาพของนักเรียนในระดับ
จากสถาบัน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6” ประชากร
การทดสอบการศึกษาแห่งชาติ หมายถึงข้อใด
ก.นักเรียนทุกคนในโรงเรียน
ค.การทดสอบสมรรถภาพของ ข.นักเรียนในระดับชั้น
นักเรียน มัธยมศึกษาปี ที่ 6 ทุกคน
ง. ถูกทุกข้อ
ค.นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ง. การสอบถาม
ทุกคน 14. ข้อใดเป็ นข้อมูลเชิงปริมาณ
ง. ถูกทุกข้อ ก.สถานะทางศาสนา ข. ระดับ
ความพึงพอใจ
11. จากข้อที่ 10 กลุ่มตัวอย่าง ค.สัญชาติ ง. รายได้
หมายถึงข้อใด 15. ข้อใดเป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพ
ก.นักเรียนในโรงเรียนบางคน ก.สถานภาพสมรถ
ข.นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ข.ค่าใช้จ่ายต่อเดือน
ตอนต้นบางคน ค.ความสูงของนักเรียน
ค.นักเรียนในระดับชั้น ง. อายุ
มัธยมศึกษาบางคน 16. ข้อใดไม่ใช่ปั ญหาในการใช้
ง. นักเรียนในระดับชั้น ข้อมูลปฐมภูมิ
มัธยมศึกษาปี ที่ 6 บางคน ก.การวางแผนการทดลองที่
12. ข้อใดเป็ นแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ เหมาะสม
ก.ข้อมูลจากงานวิจัย/รายงาน ข.การเลือกตัวอย่างที่เหมาะสม
ข.ข้อมูลจากการทดสอบ ค. ข้อมูลมีความทันสมัย
วิทยาศาสตร์ ง. ถูกทุกข้อ
ค.ข้อมูลจากหนังสือพิมพ์ 17. การเก็บรวบรวมข้อมูลในข้อใด
ง. ข้อมูลจากหน่วยงานเอกชนที่ได้ ที่นิยมใช้ในการทำ สำมะโนหรือ
เก็บรวบรวมไว้ สำรวจตัวอย่าง
13. ข้อใดเป็ นแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ก.การสังเกต
ก.การสืบค้นข้อมูลจากรายงาน ข.การสัมภาษณ์
ของหน่วยงาน เอกชน ค.การทดลอง
ข.การสำรวจตัวอย่าง ง. แบบสอบถามทางไปรษณีย์
ค.การสำมะโน
18. การเก็บข้อมูลที่มีปริมาณ ข.ข้อสรุปที่ได้ไปอ้างอิงถึงลักษณะ
คำถามไม่มาก ไม่ซับซ้อน และได้ ของประชากร กลุ่มที่ทำการ
ข้อมูลรวดเร็ว เป็ นการเก็บข้อมูลแบบ ศึกษาเท่านั้น
ใด ค.ข้อสรุปที่ได้ไปอ้างอิงถึง
ก.การสังเกต ลักษณะของประชากร กลุ่มอื่น
ข.การสัมภาษณ์ ง. ถูกทุกข้อ
ค.การสอบถามทางโทรศัพท์ 20. ข้อใดเหมาะสำหรับการเก็บ
ง. แบบสอบถามทางไปรษณีย์ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ จำนวน
19. ข้อใดไม่ใช่กระบวนการทางสถิติ นักเรียนที่เข้าห้องสมุดในช่วงเวลา
เชิงพรรณา หนึ่ง
ก.เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่ม ก.การสัมภาษณ์
ประชากรที่ต้องการ ศึกษา ข.การนับและการวัด
ค.การสังเกต
ง. การทดลอง

เฉลย

1. ก 2. ง 3. ข 4. ค 5. ง 6. ก 7. ค 8. ก 9. ง 10. ข
11. ง 12. ข 13. ก 14. ง 15. ก 16. ค 17. ข 18. ค 19. ค 20. ข
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

แบบประเมินชิ้นงาน การสร้างแผนผังหรือ flowchart การสรุปเรื่องสถิติ


และข้อมูล
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
ของนักเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ
ระดับคะแนน

ลำดับ ระดับคะแนน
รายการประเมิน
ที่ 4 3 2 1
ความชัดเจน ครบองค์ประกอบของ
1 การสร้างแผนผังหรือ flowchart
การสรุปเรื่องสถิติและข้อมูล
ความถูกต้องของการสร้างแผนผัง
2 หรือ flowchart การสรุปเรื่องสถิติ
และข้อมูล
3 ความคิดสร้างสรรค์
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


(......................
..........................)
................/......
............/..............
เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน การสร้างแผนผังหรือ flowchart การสรุปเรื่อง
สถิติและข้อมูล

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 4 3 2 1
1. ความ สร้างแผนผัง สร้างแผนผัง สร้างแผนผัง สร้างแผนผัง
ชัดเจน หรือ หรือ หรือ หรือ
ของการ flowchart flowchart flowchart flowchart
สร้าง การสรุปเรื่อง การสรุปเรื่อง การสรุปเรื่อง การสรุปเรื่อง
แผนผัง สถิติและ สถิติและ สถิติและ สถิติและ
หรือ ข้อมูลได้ ข้อมูลได้ ข้อมูลได้ ข้อมูลได้
flowcha ชัดเจน ครบ ชัดเจน ครบ ชัดเจน ครบ ชัดเจน ครบ
rt การ องค์ประกอบ องค์ประกอบ องค์ประกอบ องค์ประกอบ
สรุปเรื่อง ทั้ง 5 ขั้นตอน 3-4 ขั้นตอน 2-3 ขั้นตอน 1 ขั้นตอน
สถิติและ หรือไม่ชัดเจน
ข้อมูล ครบองค์
ประกอบเลย
2. ความ เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ
ถูกต้อง ของผลงานถูก ของผลงานถูก ของผลงานถูก ของผลงานไม่
ของการ ต้องครบถ้วน ต้องเป็ นส่วน ต้องบาง ถูกต้องเป็ น
สร้าง ใหญ่ ประเด็น ส่วนใหญ่
แผนผัง
หรือ
flowcha
rt การ
สรุปเรื่อง
สถิติและ
ข้อมูล
3. ความ ผลงานแสดง ผลงานแสดง ผลงานมีความ ผลงานไม่มี
คิด ถึงความคิด ถึงความคิด น่าสนใจ แต่ ความน่าสนใจ
สร้างสรร สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ ยังไม่มีแนวคิด และไม่แสดง
ค์ แปลกใหม่ แปลกใหม่ แต่ แปลกใหม่ ถึงแนวคิด
และเป็ น ยังไม่เป็ น แปลกใหม่
ระบบ ระบบ

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14 - 16 ดีมาก
11 - 13 ดี
8 - 10 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง

แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอก
เวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ ระดับคะแนน

ลำดั ระดับคะแนน
รายการประเมิน
บที่ 4 3 2 1
1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน    

2 ความถูกต้องของเนื้อหา    

3 ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย    

ประโยชน์ที่ได้จากการนำ
4    
เสนอ
5 วิธีการนำเสนอผลงาน    

รวม

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
(......................
..........................)
............/........
........./................
เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 4 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบางส่วน ให้ 3คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้2 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
18 - 20 ดีมาก
14 - 17 ดี
10 - 13 พอใช้
ต่ำกว่า 10 ปรับปรุง

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอก
เวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 มีความกระตือรือร้น    
2 มีความพยายาม    
ทำงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบ
3    
หมาย
4 มีระเบียบวินัย    
5 ตรงต่อเวลา    

รวม
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
(......................
..........................)
............/.......
........../................
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้4 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
18 - 20 ดีมาก
14 - 17 ดี
10 - 13 พอใช้
ต่ำกว่า 10 ปรับปรุง
แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอก
เวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
การมี
การ
ชื่อ – ส่วนร่วม
การแสดง การ ทำงาน รวม
ลำ สกุล ความมี ในการ
ความคิด ยอมรับ ตามที่ได้ 20
ดับ ของ น้ำใจ ปรับปรุง
เห็น ฟั งคนอื่น รับมอบ คะแ
ที่ นักเรีย ผลงาน
หมาย นน
น กลุ่ม
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
(......................
..........................)
............/........
........./................
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
18 - 20 ดีมาก
14 - 17 ดี
10 - 13 พอใช้
ต่ำกว่า 10 ปรับปรุง

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอก
เวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

คุณลักษณะ ระดับคะแนน
อันพึง รายการประเมิน 4 3 2 1
ประสงค์ด้าน
1. รักชาติ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้
ศาสน์ 1.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี ปรองดอง
กษัตริย์ และเป็ นประโยชน์ต่อโรงเรียน
1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติ
ตามหลักศาสนา
1.4 เข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบันพระมหา
กษัตริย์ตามที่โรงเรียนจัดขึ้น
2. ซื่อสัตย์ 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็ นจริง
สุจริต 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง
3. มีวินัย รับ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ
ผิดชอบ ของครอบครัว มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน
4. ใฝ่ เรียนรู้ 4.1 รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ และนำไปปฏิบัติ
ได้
4.2 รู้จักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม
4.3 เชื่อฟั งคำสั่งสอนของบิดา - มารดา โดยไม่โต้แย้ง
4.4 ตั้งใจเรียน
5. อยู่อย่าง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่าง
พอเพียง ประหยัด
5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า
5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน
6. มุ่งมั่นใน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รับ
การทำงาน มอบหมาย
6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งาน
สำเร็จ
7. รักความ 7.1 มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและ
เป็ นไทย ภูมิปั ญญาไทย
7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
8. มีจิต 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทำงาน
สาธารณะ 8.2 รู้จักการดูแลรักษาทรัพย์สมบัติและสิ่งแวดล้อม
ของห้องเรียนและโรงเรียน

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
(......................
..........................)
............/........
........./................
เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
พฤติกรรมที่ปฏิบัติสม่ำเสมอ ให้ ช่วงคะแนน 4 คะแนน
ระดับคุณภาพ
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบ่อยครั้ง ให้ 368 -คะแนน
80 ดีมาก

พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 254 -คะแนน


67 ดี

140 -คะแนน
53 พอใช้
พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครั้ง ให้
ต่ำกว่า 40 ปรับปรุง

You might also like