1996_2539_6

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 24

ที่มา : คณะกรรมการประสานงาน 20 ปี 6 ตุลา, ตุลากาล, ตุลาคม 2539, หน้า 242-290

ความอิหลักอิเหลือ่ แห่ งชาติ เนื่องมาจาก 6 ตุลา 2519


ไม่ เป็ นประวัติศาสตร์ ไม่ มอี นุสาวรีย์ ไม่ มวี รี ชน ไม่ สนใจชีวติ
ธงชั ย วินิจจะกูล

เกริ่นนา
มีคนสงสัยว่าทาไมมาราลึกถึงอดีตที่อปั ลักษณ์น่าเจ็บปวด ทั้ง ๆ ที่มีความสาเร็ จอีกมากให้น่าราลึกจดจา

ทุกคนหวาดกลัวและหลบหนีความเจ็บปวดบาดแผลในอดีตด้วยกันทั้งนั้น สังคมไทยอาจมีอาการเช่นนี้
มากสักหน่อยเพราะเราพอใจจะสร้างอนาคตบนความฝันหวานถึงอดีตอันรุ่ งโรจน์มากกว่าจะอาศัยความ
กล้าหาญทบทวนอดีตที่ไม่รุ่งโรจน์ เพื่อเรี ยนรู ้วา่ อะไรควรไม่ควร เราพอใจจะอาศัยความเงียบมาเยียวยา
และให้บทเรี ยนแก่คนที่เกี่ยวข้อง เพื่อมิให้เกิดการเสี ยหน้า แตกความสามัคคี มากกว่าจะใช้ความกล้า
หาญทางจริ ยธรรมและความซื่ อสัตย์ต่อตนเองต่ออดีตเป็ นเครื่ องนาทางสู่ อนาคต เรามักเอาคากล่าวหาว่า
“ฟื้ นฝอยหาตะเข็บ” หรื อ “กวนน้ าให้ข่นุ ” มาใช้กนั พร่ าเพรื่ อเพื่อปิ ดกั้นปั ญญาของเราเอง

อดีตอันรุ่ งโรจน์ก่อให้เกิดความภูมิใจ แต่ไม่ค่อยก่อให้เกิดคาถามต่อตัวเราเอง ต่อสังคมวัฒนธรรมของ


เราเอง เพราะอดีตอันรุ่ งโรจน์มกั จะปิ ดฉากลงพร้อมกับความรู ้สึกพึงพอใจ ไม่สงสัย ไม่ตอ้ งคิด

อดีตที่เจ็บปวดอย่าง 6 ตุลา กลับไม่ยอมปิ ดฉากลงง่าย ๆ ในใจของคนจานวนมาก ยังคงค้างคาเป็ นความ


อิหลักอิเหลื่อแห่งชาติที่ไม่ก่อให้เกิดความภูมิใจ แต่กลับเกิดคาถาม ข้อคิดที่ทา้ ทายมากกว่าอดีตที่
รุ่ งโรจน์ซ่ ึ งปิ ดฉากแล้วหลายเท่า ซ้ ากลับไม่ค่อยมีคาตอบเสี ยด้วย การราลึกอดีตอันเจ็บปวดจึงเป็ นวาระ
สาคัญเพื่อการเรี ยนรู ้ เพื่อการศึกษาอย่างวิพากษ์วจิ ารณ์ ชนิดที่การเฉลิมฉลองประวัติศาสตร์ อนั รุ่ งโรจน์
ไม่อาจเสนอให้ได้

คุณค่าด้านกลับของความเจ็บปวด คือ การงอกเงยของบุคคลและสังคมนั้น ๆ ถ้าหากกล้าเผชิญกล้าฟื้ น


ฝอยหาตะเข็บ

บทความนี้ไม่มีเค้าโครงเป็ นระบบจากเริ่ มจนจบ แต่มีประเด็นสาคัญในแต่ละตอนเป็ นท่อน ๆ โดยที่


ผูเ้ ขียนมิได้พยายามลาดับให้ราบรื่ นแต่อย่างใด มีคาถามอันเนื่องมาจาก 6 ตุลา 2519 ให้พิจารณาเอาเอง
ในแต่ละตอนอย่างไม่ต่อเนื่องกันนัก อยากอ่านท่อนใดก่อนก็ได้ ข้ามไปข้ามมาก็ได้เหมือนกับ 6 ตุลา
ที่ไม่มีเค้าโครง ไม่มีลาดับเรื่ องราบเรี ยบ มีแต่ประสบการณ์ของคนนับพันหมื่นที่ไม่เป็ นระบบ บทความ
นี้ไม่มีขอ้ สรุ ป ไม่มีบทปิ ดฉาก เหมือนกับ 6 ตุลา 2519 ที่ยงั ค้างคาไม่จบลงง่าย ๆ ในประวัติศาสตร์
และในใจของผูค้ นทัว่ ไป ยังค้างคาในใจของพ่อแม่พี่นอ้ งของผูเ้ สี ยชีวติ ในเช้าวันพุธนั้น จนทาให้หลาย
ท่านยังเฝ้ าติดตามหาและรอวันกลับของคนที่เขารัก

หากสังคมไทยกล้าหาญพอก็ไม่ควรปิ ดฉากมันลงง่าย ๆ

อดีตทีไ่ ม่ เป็ นประวัติศาสตร์


เหตุการณ์อย่าง 6 ตุลา ไม่ใช่การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์อย่างกรณี นาซี หรื อระบอบเขมรแดงในกัมพูชา ไม่ใช่
สงครามกลางเมืองอย่างในอินโดนีเซี ยปี 1965 แต่เป็ นอาชญากรรมที่รัฐกระทาต่อประชาชนของตนเองซึ่ ง
ท้าทายอานาจของรัฐ เหมือนกับหลายกรณี ในละตินอเมริ กาช่วงทศวรรษ 1970 เหมือนการล้อมปราบ
นักศึกษาในเม็กซิโกปี 1968 และการล้อมปราบสังหารนักศึกษาเกาหลีที่เมืองกวางจูปี 1983

เอาเข้าจริ ง 6 ตุลา 2519 เกิดความสู ญเสี ยต่อชีวติ และทรัพย์สินน้อยกว่ากรณี กวางจูและอื่น ๆ มากนัก


ระดับการปราบปรามรุ นแรงยังน้อยกว่าในชิลี อาร์ เจนตินา หรื อเม็กซิ โก เรี ยกได้วา่ เปรี ยบเทียบกับอีก
หลาย ๆ กรณี ในโลกแล้ว 6 ตุลา 2519 ไม่ใช่เรื่ องเล็ก แต่ไม่ใช่เรื่ องที่โลกจะจดจา

แต่ความเจ็บปวดและทุกข์ของผูเ้ สี ยหายวัดเทียบกันไม่ได้ มีค่าพอ ๆ กันทั้งนั้นในทุกกรณี

6 ตุลา 2519 จึงเป็ นเรื่ องที่จะจดจากันได้แค่ภายในสังคมไทยเท่านั้น คงไม่มีชาวโลกมาเตือนให้เราราลึก


ถึงมันอีกหากเราไม่ทากันเอง ความทรงจาต่อ 6 ตุลา จึงอาจเลือนรางไปได้เพียงชัว่ ข้ามพ้นคน 1-2 รุ่ น
เท่านั้น เพราะ 6 ตุลา ยังคงเป็ นบาดแผลระดับชาติที่คน 1-2 รุ่ นนั้นไม่ค่อยกล้าสะกิด ยังคงก่อความ
ลาบากใจแก่พวกเขาในลักษณะต่าง ๆ กันทั้งฝ่ ายฆ่าและฝ่ ายถูกฆ่า

พวกเขามิได้ลืมและคงลืมไม่ลง แต่เป็ นความทรงจาที่ยากจะกลัน่ ออกมาเป็ นถ้อยคา เป็ นอดีตที่ยากจะ


บันทึกลงเป็ นประวัติศาสตร์

เพราะ 6 ตุลา 2519 ไม่มีความสาเร็ จใด ๆ ให้อวดอ้าง อดีตอันเจ็บปวดจึงปกคลุมปั จจุบนั อยูอ่ ย่างเงียบ
ๆ ราวกับเป็ นปี ศาจหลอกหลอนเราอยูเ่ ป็ นครั้งคราว ตราบใดที่เราไม่สามารถจับปี ศาจตนนี้ให้กลายมา
เป็ นถ้อยคา เป็ นเรื่ องราวที่เราสามารถเข้าใจได้ ราลึกได้ในหลาย ๆ แง่มุมตามที่เราต้องการ ปี ศาจตนนี้ก็
ยังไม่กลายเป็ นประวัติศาสตร์
ผูผ้ า่ นพบเหตุการณ์เช้าวันนั้นมาด้วยตนเอง อาจเก็บความทรงจาไว้กบั ตน แต่ก็จะเป็ นอดีตของเขาเอง
ไม่กลายเป็ นประวัติศาสตร์ ให้สาธารณชนร่ วมรับรู ้ ร่ วมรู ้สึก

ประวัติศาสตร์ อนุสรณ์และการราลึกถึง จึงมีความสาคัญเพื่อพยายามทาให้ปีศาจอันเจ็บปวดนี้กลายเป็ น


ถ้อยคา เป็ นสื่ อที่มีสารหรื อความหมาย เพื่อเชื่อมร้อยความทรงจาของปั จเจกชนให้มาปะติดปะต่อ ปะทะ
ถกเถียงกัน

แต่ท้ งั ประวัติศาสตร์ อนุสรณ์ และการราลึกอดีตเจ็บปวดอย่าง 6 ตุลา กลับมีปัญหามากมาย ภายใต้


ภาวะที่ท้ งั รัฐและสังคมไทยไม่ยนิ ดีจะช่วยกันสยบปี ศาจตนนั้นด้วยความกล้าหาญและสติปัญญา

ลืมไม่ ได้ จาไม่ ลง


ผูเ้ ขียนเคยเสนอว่า โศกนาฏกรรม 6 ตุลา 2519 คงลืมไม่ลง แต่ก็ลาบากที่จะจดจา เพราะเราไม่
สามารถจะทาให้ 6 ตุลา 2519 กลายเป็ นเรื่ องราวที่ชดั เจน อ่าน พูด ฟัง คิด เขียน ได้อย่างสะดวกใจ
ไม่เจ็บปวด

เหตุปัจจัยที่ทาให้ความทรงจาแปรเป็ นถ้อยคาลาบากมีอยูห่ ลายประการด้วยกัน

ประการแรก เหตุปัจจัยทางการเมือง มีปริ ศนาอยูม่ ากมายเกี่ยวกับเหตุการณ์คราวนั้นที่ยงั ต้องการความ


กระจ่าง แต่คงเป็ นไปไม่ได้ในปั จจุบนั และอนาคตอันใกล้เพราะปริ ศนาเหล่านั้นเกี่ยวพันกับบุคคล กลุ่ม
คน และสถาบันทางการเมืองในสังคมไทยมากมายที่ยงั มีชีวติ มีบทบาท มีอานาจโลดแล่นอยูใ่ นปั จจุบนั
ตัวอย่างง่าย ๆ เช่น การวางแผนให้จอมพลถนอม กิตติขจร บวชเณรเข้ามา แล้วตรงดิ่งมาบวชที่วดั บวร
นิเวศฯ พร้อมการปลุกระดมลูกเสื อชาวบ้านกล่าวหาว่านักศึกษาจะทาลายศาสนา หรื อข้อเท็จจริ ง
เกี่ยวกับภาพและข้อกล่าวหาเรื่ องหมิ่นพระบรมเดชานุภาพทั้งหมด ซึ่ งนาไปสู่ การทาลายล้างรุ นแรง จน
ป่ านนี้ ยังไม่เคยเกิดความกระจ่างว่าภาพดังกล่าวเป็ นความบังเอิญหรื อเป็ นความจงใจกลัน่ แกล้งโดยใคร
และอย่างไร ความขัดแย้งในหมู่ทหาร ตารวจ และ การยึดอานาจจากรัฐบาลพลเรื อนเงียบ ๆ ตั้งแต่เช้า
วันนั้นก็ไม่เคยเป็ นที่กระจ่าง

ดูเหมือนว่า แทบจะไม่มีใครในกลุ่มองค์กร สถาบันทางการเมืองที่ไม่เกี่ยวข้องกับ 6 ตุลา 2519 แต่


กลับไม่เคยกระจ่างว่าใครเกี่ยวข้องมากน้อยอย่างไร หรื อเป็ นผูด้ ูอย่างพึงพอใจ หรื อเป็ นเหยือ่ โดยไม่
ตั้งใจ ใครเป็ นผูว้ างแผน ใครฉวยโอกาส ฯลฯ ทว่าเพียงเฉพาะข้อมูลที่เปิ ดเผยต่อสาธารณชนแล้ว หรื อ
เพียงนาหนังสื อพิมพ์ระหว่างวันที่ 20 กันยายน - 10 ตุลาคม 2519 มาอ่านเรี ยงลาดับกันโดยไม่ตอ้ งมีการ
วิเคราะห์ตีความโดยนักวิชาการใด ๆ บทบาทของบุคคลสาคัญหลาย ๆ คนจะปรากฏเองโดยไม่ตอ้ งการ
คาอธิบายประกอบ

ประการที่สอง เวลาที่ผา่ นไป 20 ปี มีเหตุการณ์ตา่ ง ๆ เกิดขึ้นมากมาย และสังคมการเมืองคลี่คลายเป็ น


อันมาก ทาให้ท้ งั ผูม้ ีส่วนในการปราบปรามและผูถ้ ูกปราบปรามในวันนั้นต่างมีความทรงจา และรู ้สึกต่อ
อดีตอย่างอิหลักอิเหลื่อยิง่ กว่าเมื่อ 20 ปี ก่อน ผูอ้ ยูใ่ นฝ่ ายปราบปรามเปลี่ยนจากผูป้ ระกอบวีรกรรม
กลายเป็ นผูม้ ีส่วนกระทาบาปอาชญากรรม ฝ่ ายนักศึกษาผูถ้ ูกปราบปรามเปลี่ยนจากความแค้นกลายเป็ น
ความเศร้าสลดเสี ยใจและรู ้สึกว่าตนก็มีส่วนในความรุ นแรงที่เกิดขึ้น

หลังเหตุการณ์ 6 ตุลา สด ๆ ร้อน ๆ วิทยุยานเกราะและโทรทัศน์ของทหารแพร่ ภาพและกระจายเสี ยงที่


แสดงถึงความปรี ดาปราโมทย์ในชัยชนะ วิทยุยานเกราะบ่ายวันที่ 6 ตุลา มีการสัมภาษณ์ พ.ต.ท.สล้าง
บุนนาค (ยศในขณะนั้น) ที่เล่าถึงวีรกรรมของตนและเพื่อนตารวจท่ามกลางอาวุธร้ายแรงที่นกั ศึกษาระดม
ยิงใส่ ทั้งผูส้ ัมภาษณ์และผูใ้ ห้สัมภาษณ์แสดงความยินดีออกหน้าออกตา รวมถึงเยาะเย้ยนักศึกษาที่ถูก
รุ มประชาทัณฑ์จนพูดไม่ออกว่า เป็ นญวนแหง ๆ

ทัศนะต่อ 6 ตุลา คลี่คลายเป็ นลาดับเห็นได้ชดั ใน 2 กรณี ดว้ ยกัน กรณี แรก คือ กระแสเรี ยกร้องให้นิร
โทษกรรมผูต้ อ้ งหาคดี 6 ตุลา และการพิจารณาคดีซ่ ึ งทาให้นกั ศึกษาพ้นจากการเป็ นอาชญากร ผูก้ ่อ
จลาจล ผูใ้ ช้ความรุ นแรง กรณี ที่สองคือ ครั้งที่ พล.ต.จาลอง ศรี เมือง ถูกกล่าวหาก่อนการเลือกตั้ง 2531
ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับ 6 ตุลา 2519 ซึ่ งเห็นได้ชดั ว่าผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องกับการปราบปรามและการชุมนุม
ลูกเสื อชาวบ้านเช้าวันนั้น กลับเป็ นฝ่ ายถูกสงสัยและเสี ยหาย จนกระทัง่ ต้องพากันปั ดให้พน้ ตัวเป็ น
พัลวันว่า ตนมิได้ยา่ งกรายเข้าไปใกล้ธรรมศาสตร์ เลยในเช้าวันนั้น

การสังหารนักศึกษามิใช่วรี กรรมอีกต่อไป แต่กลายเป็ นอาชญากรรมที่จบั มือใครดมไม่ได้และทุกคนใน


ฝ่ ายปราบปรามพากันเรี ยกร้องความสามัคคีกบั ให้เลิกฟื้ นฝอยหาตะเข็บ นักศึกษาผูถ้ ูกปราบปรามเช้าวันที่
6 ตุลา เริ่ มได้รับความเห็นใจ ไม่มีใครตั้งคาถามอีกว่ามีการแสดงละครหมิ่นพระบรมเดชานุภาพหรื อไม่
กระทัง่ ข้อเขียนในปี 2537 ตารวจฝ่ ายปราบปรามที่ราลึกเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 ก็มาจากนายตารวจที่
เห็นใจนักศึกษา และเล่าว่าตนรู ้ความจริ งว่านักศึกษาถูกใส่ ร้ายจึงได้พยายามช่วยเหลือเท่าที่สามารถจะทา
ได้ในวันนั้น ทว่าไม่เป็ นผลเท่าไรนัก

ฝ่ ายขวาและผูม้ ีส่วนปฏิบตั ิการเช้าวันนั้น ก็เป็ นมนุษย์ปุถุชน 20 ปี ที่ผา่ นไปคงคลายความหวาดกลัว


คอมมิวนิสต์ลงบ้าง ถึงวันนี้ เชื่อว่าเขาคงลืมสิ่ งที่ตนกระทาเมื่อ 20 ปี ก่อนไม่ลงเช่นกันหลายคนคงไม่
ต้องการพูดถึงมันอีก เพราะคงอิหลักอิเหลื่อ ละอายในสิ่ งที่ตนกระทาลงไป
ในฝ่ ายนักศึกษาผูถ้ ูกปราบปรามนั้น หลายคนเข้าป่ ามิใช่ดว้ ยความเย้ายวนของ พคท. และลัทธิ
คอมมิวนิสต์ แต่ดว้ ยความหวาดกลัวภัยและด้วยความเคียดแค้น หวังจะได้ต่อสู ้ตอบแทนความโหดร้ายที่
รัฐกระทาต่อตนและเพื่อน แต่ความล่มสลายของศรัทธา ความคิด อุดมคติและความหวังทุกประการที่มี
ต่อสังคมนิยมและ พคท. กลับทาให้พวกเขาเจ็บปวดซ้ าสอง จนกลายเป็ นสิ่ งชารุ ดทางประวัติศาสตร์
และกลับสู่ เมืองด้วยโอกาสที่รัฐเปิ ดให้

หลายคนย้อนทบทวนชีวิตและประสบการณ์ของตนในขบวนนักศึกษา กระทัง่ ยอมรับว่าความคิดอุดมคติ


สังคมนิยมที่ก่อตัวมาตั้งแต่ก่อน 6 ตุลา 2519 มีส่วนให้ตนคิดและมีกิจกรรมทางการเมืองอันนาไปสู่ การ
เผชิญหน้ากับรัฐอย่างแหลมคม กล่าวอย่างง่าย ๆ คือ ความรุ นแรงและการสู ญเสี ยที่เกิดขึ้นนั้น ส่ วน
หนึ่งเป็ นผลมาจากความคิดและการเมืองของขบวนนักศึกษาเอง เป็ นผลมาจากความหลงใหล เชื่อมัน่
ในสังคมนิยมและ พคท. ความรุ นแรงกลายเป็ นสิ่ งหลีกเลี่ยงได้ยากภายใต้ความเชื่อและการเมืองแบบนั้น
ดังนั้น แม้วา่ ขบวนนักศึกษาไม่ใช่ผกู ้ ่อการไม่ใช่อาชญากรรมแต่คงจะปฏิเสธไม่ได้วา่ ตนมีส่วนต้อง
รับผิดชอบต่อความสู ญเสี ยที่เกิดขึ้นด้วย

นอกจากจะไม่มีความคิด ไม่มีพลังจะไปแก้แค้นใครแล้ว นักศึกษาหลายคนต่างพากันรู ้สึกว่าตนมีส่วน


รับผิดชอบต่อชีวติ ที่สูญไป หรื อต่อความผันแปรทุกข์ยากอันเนื่ องมาจาก 6 ตุลา 2519 ความเคียดแค้น
สู ญไป เหลือแต่ความเสี ยใจหล่อหลอมความทรงจาต่อ 6 ตุลา มิหนาซ้ า ความสู ญเสี ยทั้งปวงที่เกิดขึ้น
ไม่ได้ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างสาคัญในการเมืองไทยเลย

จากความเคียดแค้นจึงกลายเป็ นความเป็ นความโหวงเหวงว่างเปล่าต่ออดีต เป็ นความอิหลักอิเหลื่อที่ยาก


จะอธิบาย

ประการที่สาม ความหฤโหดของ 6 ตุลา เกินความคาดหมายของผูค้ นในสังคมไทยจนยากจะอธิ บายได้


การแขวนคอ เผาทั้งเป็ น และทารุ ณหรื อกระทาอนาจารในที่สาธารณะในเช้าวันนั้น ยากจะเชื่อว่าอยูใ่ น
แผนการของใคร (แม้วา่ ภาพของชายคนเดียวกันในทั้งสามเหตุการณ์จะชวนให้คิดเป็ นเช่นนั้นได้ก็ตามที
ที่หฤโหดยิง่ กว่าทารุ ณกรรมสาธารณะคือ การที่หลายคนในที่เหล่านั้นยืนดูอย่างยิม้ ย่องและปรบมือพออก
พอใจในสิ่ งที่เกิดขึ้น สังคมที่บอกตัวเองมาตลอดว่ารักสันติ มีเมตตากรุ ณา คงไม่อยากจะทบทวน
พิจารณาอดีตฉากนี้อีก เพราะมีคาถามมากมายเกี่ยวกับศีลธรรมของผูค้ นต้องอธิ บาย ซึ่ งจนทุกวันนี้ยงั ไม่มี
ใครพยายามอธิ บายแม้แต่นอ้ ย
ประการที่สี่ ความอิหลักอิเหลื่อของคนทัว่ ไปในสังคมที่ไม่สังกัดฝ่ ายใดทั้งสิ้ น คราว 14 ตุลา 2516 คน
ทั้งชาติรู้สึกตนเองตกเป็ นเหยื่อของเผด็จการทหาร คนทั้งชาติหนุนช่วยนักศึกษา ชัยชนะของฝ่ าย
นักศึกษาจึงช่วยให้คนทั้งชาติเป็ นฝ่ ายชนะโดยมี “จอมทรราช” ตกเป็ นเป้ าเพียงไม่กี่คน ง่ายที่สังคมไทย
จะเข้าใจว่าใครเป็ นผูร้ ้าย

คราวพฤษภา 2535 ผูค้ นอาจลังเลต่อการนาของ พล.ต.จาลอง ศรี เมือง บ้าง แต่เขาไม่ลงั เลที่จะเข้าข้าง
ฝ่ ายต่อต้านรสช. ชัยชนะของฝ่ ายนั้นจึงถือเป็ นชัยชนะของประชาชนส่ วนใหญ่ไปด้วย ใครดีใครร้าย
สามารถเข้าใจได้ชดั เจน

แต่ 6 ตุลา 2519 สาธารณชนแตกเป็ นหลายฝ่ ายหลายความคิด ฝ่ ายที่ตอ่ ต้านนักศึกษาและพอใจการ


ปราบปรามก็มีมาก ฝ่ ายที่ไม่เห็นด้วยกับนักศึกษาแต่ไม่เอาด้วยกับการปราบปรามขนาดนั้นก็มีมาก ฝ่ ายที่
ลังเลไม่หนุนไม่คา้ นนักศึกษาหรื อหนุนบางอย่างค้านบางเรื่ องมีมหาศาล ฝ่ ายที่อยากจะเห็นด้วยกับ
นักศึกษาแต่ลงั เลกับวิธีการของขบวนนักศึกษาก็มีมหาศาล ผลที่ปรากฏ คือ คนจานวนมหาศาลนัง่ อยู่
บ้าน เฝ้ าดูและรับฟังถึงการเข่นฆ่ากลางเมืองอย่างอเนจอนาถ โดยตนเองทาอะไรไม่ได้ ซ้ ายังเป็ น
ประจักษ์พยานดูทารุ ณกรรม และดูคนปรบมือชื่นชมทารุ ณกรรม ผูถ้ ูกปราบปรามตกเป็ นเหยือ่ ทาง
การเมือง แต่ประชาชนที่ถูกปลุกระดมด้วยโฆษณาชวนเชื่อของทหารและฝ่ ายขวาจนเชื่อสนิทและโกรธ
แค้นนักศึกษาว่าเป็ นศัตรู ทาลายชาติ ก็ตกเป็ นเหยือ่ เช่นกันในคนละแง่ เพราะความหฤโหดเช่นนั้น
เกิดขึ้นได้ต่อเมื่อผูก้ ระทาสลัดทิ้งสัญชาตญาณและสติสัมปชัญญะของมนุษย์ปุถุชนออกไปชัว่ คราว จึง
สามารถเข่นฆ่าศัตรู ของชาติได้อย่างโหดร้ายปานนั้น

ใครก่อเหตุ ใครเป็ นเหยือ่ ใครดี ใครร้าย สับสนไปหมด

ยกเว้นผูท้ ี่ยนิ ดีปรี ดากับการนองเลือด คนอื่น ๆ ที่รับฟังหรื อชมหรื อฟังกับตาหู ตนเอง คงล้วนแต่เศร้า
สลดและไม่อยากจะเชื่อสายตาตนเอง ผูค้ นทั้งสังคมต้องย้อนถามตนเองว่าความวิปริ ตเช่นนั้นเกิดขึ้นได้
อย่างไรในสังคมไทย ความผิดถูกดีร้ายเป็ นเรื่ องซับซ้อนสับสนที่สังคมยากจะสะสาง

ประการที่หา้ ประวัติศาสตร์ ไทยไม่มีทางให้แก่อดีตแบบ 6 ตุลา 2519 ประวัติศาสตร์ ชาติไทยเป็ นเรื่ อง


ของความสามัคคีภายใต้การนาของกษัตริ ย ์ หรื อผูน้ าผูท้ รงทศพิธราชธรรมผูอ้ ุปถัมภ์ปกป้ องประชาชน
เพื่อรักษาเอกราชอธิ ปไตยของชาติและเพื่อความเจริ ญรุ่ งเรื องก้าวไปข้างหน้า 6 ตุลา 2519 เป็ นเรื่ องของ
ความไม่สามัคคีของคนในชาติ การปราบปรามโดยรัฐหรื อผูน้ าของชาติลงมือทาต่อประชาชนของตนเอง
โดยเอาเอกราชความอยูร่ อดของชาติเป็ นข้ออ้าง และไม่ก่อให้เกิดคุณูปการความก้าวหน้าใด ๆ ต่อสังคม
อดีตแบบ 6 ตุลา 2519 จึงเป็ นความผิดปกติอย่างฉกรรจ์ ที่รังแต่จะทาให้สานึกประวัติศาสตร์ แห่งชาติ
สับสนรวนเร หรื อกระทัง่ ท้าทายทาลายความเชื่อที่ประวัติศาสตร์ แห่งชาติพยายามปลูกฝัง

ความรู ้ประวัติศาสตร์ ไม่วา่ ที่ใด ๆ ในโลก ไม่เคยพยายามจดจาอดีตทุกสิ่ งทุกอย่าง แต่กลับเป็ นการ


เลือกสรรว่าจะจดจาอะไร อย่างไร จึงจะสอดคล้องกับปั จจุบนั และสนองผูผ้ ลิตความรู ้ประวัติศาสตร์
นั้น ๆ ดังนั้น ในทุก ๆ กระบวนการผลิตความรู ้ทางประวัติศาสตร์ จึงมีอดีตที่ได้รับการกอบกูแ้ ปรรู ปให้
กลายเป็ นเรื่ องที่สามารถเข้าใจและสื่ อสารได้ และมีอดีตที่ถูกตัดทิง้ หรื อต้องมองข้ามหากไม่สามารถทา
ให้เป็ นส่ วนหนึ่งของเรื่ องราวที่กลายเป็ นความรู ้ประวัติศาสตร์ ได้

อดีตที่ผา่ นกระบวนการทาให้กลายเป็ นประวัติศาสตร์ จึงอยูใ่ นขอบข่ายของสิ่ งที่สังคมสามารถจดจาได้


อดีตที่ไม่พึงปรารถนาก็จะถูกผลักใสให้สงบนิ่งอยูใ่ นขอบข่ายของความหลงลืม

6 ตุลา 2519 คือโศกนาฏกรรมที่ประวัติศาสตร์ กลืนไม่เข้า คายไม่ออก มีการพูดถึงอยูเ่ สมอ แต่ไม่มีการ


พูดให้กระจ่าง ถูกเอ่ยถึงเขียนถึงอยูบ่ ่อย ๆ แต่ไม่มีความหมายใด ๆ ชัดเจน บ่อยครั้งถูกเอ่ยถึงในฐานะ
วันเดือนปี ที่ไม่อยากบรรยายว่าเกิดอะไรขึ้น จะลืมก็ไม่ได้ จะจาก็ไม่ลง สถิตอยูต่ รงพรมแดนระหว่าง
ปริ มณฑลของความทรงจากับความหลงลืม

กลายเป็ นความอิหลักอิเหลื่อแห่งชาติคา้ งคาในใจคนมา 20 ปี

เช่นนี้แล้วจะให้มีอนุสาวรี ยเ์ ดือนตุลาได้อย่างไรกัน?

อาชญากรรมที่ห้ามสะสาง
ทันทีที่มีความคิดว่าจะราลึก 20 ปี 6 ตุลา 2519 ก็เกิดคาถามขึ้นมาว่า จะเป็ นการแก้แค้นกันหรื อไม่?
เพียงใด?

ผูเ้ ขียนพบเพื่อนหลาย ๆ คนที่ยงั คงเจ็บแค้น แต่ไม่พบสักคนเดียวที่ยงั คิดจะแก้แค้น ความเจ็บแค้นอาจ


ทาให้เขาคิดจะประท้วงผูม้ ีส่วนร่ วมก่อการในเช้าวันนั้น เช่น วิทยุหรื อหนังสื อพิมพ์ที่มีส่วนสร้างความ
เกลียดชังจนกลายเป็ นความรุ นแรง แต่ไม่มีใครคิดเกินไปกว่าการประกาศให้โลกรู ้วา่ บุคคลหรื อ
สื่ อมวลชนเหล่านั้นต้องร่ วมชาระสะสางความจริ งให้ปรากฏ

นับแต่กระแสเรี ยกร้องให้นิรโทษกรรมผูต้ อ้ งหาคดี 6 ตุลา เมื่อปี 2521 เสี ยงเรี ยกร้องให้รอมชอม


สมานฉันท์ก็ดงั ระงม ข้อดีคือ ผูเ้ ขียนเองและเพื่อน ๆ ได้ออกจากคุก ข้อดีของความสมานฉันท์แบบนั้น
คือ ความตึงเครี ยดในสังคมไทยลดระดับลงฉับพลันอย่างสาคัญ ข้อดีของความรอมชอมชนิดนี้คือการ
หลีกเลี่ยงความรุ นแรงทางความคิดและการเมืองในขณะนั้น แต่ความรอมชอมสมานฉันท์ชนิดนี้กลับมี
ข้อเสี ยเช่นกัน คือเก็บซ่อนความขัดแย้งแตกต่างในสังคมเอาไว้ลึก ๆ กดเอาไว้ราวกับไม่มีอยู่ และไม่มี
ช่องทางหรื อวิธีการที่ความขัดแย้งแตกต่างจะได้ปรากฏเผยตัว เพื่อจัดการแก้ไขอย่างเหมาะสม

ความสามัคคีที่สยบการกล่าวถึง 6 ตุลา 2519 นับจากนั้น จึงเป็ นความสมานฉันท์แบบผิวเผินที่ซ่อน


หมักหมมปั ญหาเอาไว้ ก้นบึ้งของสิ่ งที่ความสามัคคีกลบเอาไว้คือมาตรฐานทางศีลธรรมและจริ ยธรรมทาง
การเมือง เรื่ องความรุ นแรงที่รัฐกระทาต่อประชาชน

เป็ นโชคดีของรัฐไทยที่ผเู้ จ็บแค้นจาก 6 ตุลา ต่างเผชิ ญกับความเจ็บปวดระลอกใหม่ในชนบทกลายเป็ น


การล่มสลายทางอุดมคติ ไม่เหลือพลังของความเจ็บแค้นจาก 6 ตุลา จะมากระทาอะไรต่อใครอีก บาง
คนกลับเจ็บแค้น พคท. เสี ยยิง่ กว่ารัฐไทย และกลับพยายามเข้าใจรัฐไทยสังคมไทยที่เคยทาร้ายเขามาก
ขึ้น เพราะยังไง ๆ ก็เป็ นรัฐของไทย สังคมของไทย ในขณะที่เขาเห็นว่า พคท. เป็ นของแปลกปลอม
จากต่างชาติที่อนั ตรายยิง่ กว่ารัฐไทย

แต่เป็ นโชคร้ายของสังคมไทยที่ความรุ นแรงโดยรัฐ ไม่วา่ การล้อมปราบเช้าวันนั้น หรื อการลอบสังหาร


ผูน้ านักศึกษา ชาวนา กรรมกร ในช่วงก่อนหน้านั้นกลับไม่เคยได้รับการพูดถึงหรื อทาให้กระจ่าง

แม้กระทัง่ จะราลึก 6 ตุลา ยังต้องคอยระวังว่า จะต้องไม่ยอมให้มีการแก้แค้นใดเกิดขึ้นแม้แต่ระดับน้อย


นิด

คงไม่มีใครปฏิเสธว่าเราสามารถราลึก แสดงความเสี ยใจต่อชีวติ และความสู ญเสี ยเมื่อ 6 ตุลา ผูเ้ ขียนขอย้า


ว่าไม่มีใครคิดจะแก้แค้น แต่เคยคิดไหมว่า เป็ นเรื่ องตลกเศร้า ๆ หรื อเปล่าที่สังคมนี้ จะราลึก
โศกนาฏกรรมโดยไม่คิดจะแตะต้องอาชญากรรม และอาชญากรที่เป็ นต้นเหตุ ? หรื อสังคมไทยจะยอมรับ
ไหมหากมีการตอกย้าว่าอะไรคืออาชญากรรมโดยไม่แตะต้องอาชญากร ?

สังคมไทยมีคุณลักษณะพิเศษเช่นนี้กระมัง คือยินยอมให้ราลึกถึงเหยือ่ ของอาชญากรรม แต่กลับไม่กล้า


ทาให้ปรากฏว่า อะไรคืออาชญากรรม ? เรายินยอมให้มีการนิรโทษกรรมแก่ผมู ้ ีส่วนในการสังหาร
ประชาชนได้เรื่ อย ๆ ในนามของกฎหมายและการทาตามหน้าที่

(สังคมไทยน่ารักกว่าเกาหลีใต้ตรงนี้เอง การลงโทษผูน้ าที่มีส่วนในการสั่งปราบปรามประชาชนคงไม่มี


ทางเกิดขึ้นในสังคมการเมืองไทยได้ง่าย ๆ )
เคยคิดไหมว่า ความสมานฉันท์สามัคคีของคนในชาติแบบนี้มีอนั ตรายเหลือเกิน สิ่ งที่ถูกความ
สมานฉันท์สังหารสนิทคือบรรทัดฐานศีลธรรมทางการเมือง ความรุ นแรงต่อประชาชนจึงสามารถเกิดขึ้น
ได้เรื่ อย ๆ เพราะไม่เคยทาให้กระจ่าง ซ้ ากลับยอมรับการนิ รโทษกรรม จนไม่สามารถกล่าวได้วา่ อะไร
ถูก อะไรผิด อะไรกระทาได้ อะไรไม่ได้

การราลึกความเจ็บปวดโดยไม่กระทาให้กระจ่างว่าอาชญากรรมคืออะไร เป็ นแค่ครึ่ งทางของการสกัดกั้น


มิให้อาชญากรรมนั้นเกิดขึ้นอีก

ราลึก 20 ปี 6 ตุลา ดูเหมือนจะทาได้อย่างมากก็แค่ครึ่ งทางแค่น้ ี

เช่นนี้แล้ว หากมีการสร้างอนุสรณ์ 6 ตุลา 2519 จะราลึกถึงโศกนาฏกรรมอย่างไรโดยไม่แตะต้อง


อาชญากรรม?

เหยือ่ หรือวีรชน
ประวัติศาสตร์ แห่งชาติของไทยที่เน้นการต่อสู ้เพื่อปกป้ องรักษา หรื อกอบกูเ้ อกราชและอิสระของชาติ
กาหนดลักษณะของความตายที่พึงได้รับการยกย่องไว้เด่นชัด “วีรชน” ในประวัติศาสตร์ ไทยล้วนแล้วแต่
เป็ นผูน้ า กษัตริ ย ์ นักรบ

ไทยไม่เคยเป็ นเมืองขึ้น สถาบันประเพณี และศาสนาไม่เคยถูกบัน่ ทอน ไม่เคยมีสามัญชนผูน้ าชาตินิยมท้า


ทายอานาจรัฐระบอบอาณานิ คม มีแต่ผปู ้ กครองแห่งชาติที่นาพาชาติรอดจากการคุกคามของชาติอื่น ไม่
เคยมีสามัญชนที่ได้รับการยกย่องเพราะท้าทายอานาจรัฐสยามเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนส่ วนใหญ่
ยกเว้นผูท้ ี่ชนะได้อานาจรัฐอย่างคณะราษฎร ซึ่ งกลายเป็ นผูป้ กครองเสี ยเอง ซ้ ากลับถูกประวัติศาสตร์
ประเมินค่าว่าเป็ นจุดเริ่ มของระบอบเผด็จการทหารมากกว่าจะเป็ นผูท้ า้ ทายอานาจรัฐเก่าเพื่อสร้างระบอบ
ใหม่

วัฒนธรรมไทยไม่มีธรรมเนียมเคารพยกย่องสามัญชนที่ทา้ ทายอานาจรัฐจนกระทัง่ 14 ตุลา 2516 จึงเกิด


“วีรชน” ชนิดนี้ข้ ึนเป็ นครั้งแรก

ผูเ้ สี ยสละเมื่อ 14 ตุลา 2516 ไม่เข้าข่ายผูก้ อบกูร้ ักษาเอกราชของชาติดว้ ยการต่อสู ้กบั ชาติอื่นก็จริ ง แต่
พวกเขาเข้าข่ายนาพาประเทศชาติสู่ความเจริ ญก้าวหน้าครั้งใหญ่ พวกเขาตายท่ามกลางความขัดแย้งทาง
การเมืองที่สาธารณชนเข้าข้างพวกเขา สาธารณชนต่างรู ้สึกร่ วมว่าตนตกเป็ น “เหยือ่ ” ของระบอบเผด็จ
การทหาร กล่าวได้วา่ ความตายของพวกเขาเป็ นการเสี ยสละ “แห่งชาติ” ในนามของชาติและเพื่อชาติ
โดยที่ชาติในที่น้ ีเริ่ มเกิดความหมายใหม่คือ การมีส่วนร่ วมของประชาชนจานวนมหาศาลภายในชาติท้ งั ที่
มาร่ วมเดินขบวนและที่เอาใจช่วยอยูก่ บั บ้าน ผูเ้ สี ยชีวติ เมื่อ 14 ตุลา จึงได้เป็ น “วีรชน” ทันที คน
จานวนมากยังเรี ยกได้เต็มปากไม่ขดั เขิน 14 ตุลา ยังเป็ นกรณี พิเศษในแง่ที่วา่ สมญานามดังกล่าวมาจาก
สาธารณชนและสื่ อมวลชนโดยไม่สนใจว่าทางการจะเรี ยกเช่นนั้นหรื อไม่

ผูเ้ สี ยชีวติ เมื่อพฤษภา 2535 ก็ได้รับการยกย่องทันทีในทานองเดียวกัน คือ ประชาชนร่ วมใจกันยกย่อง


เพราะเป็ นความตายแห่งชาติที่ประชาชนเข้าข้าง แต่ “วีรชน” เดือนพฤษภาอาจไม่ได้รับการกล่าวขวัญ
เท่า 14 ตุลา 2516 เพราะมีคนไม่นอ้ ยสงสัยลังเลที่จะยกย่องการต่อสู ้ในถนนของประชาชนคราวนั้น
บทเรี ยนจาก 14 ตุลา 2516 – 6 ตุลา 2519 ยังรบกวนใจหลาย ๆ คนว่า จะประเมินค่าการต่อสู ้เสี ยสละ
เช่นนั้นอย่างไรดี

เพราะอดีตอย่าง 6 ตุลา 2519 ยังค้างคาอยูใ่ นใจทุกฝ่ าย จะเรี ยกผูเ้ สี ยชีวติ ในวันนั้นว่าเป็ นอะไรดี ศัตรู
ของชาติหรื อวีรชนประชาธิปไตย?

หรื อเป็ นเพียงแค่ “เหยือ่ ” ที่น่าสงสาร

หลัง 6 ตุลา มาจนกระทัง่ การนิ รโทษกรรม รัฐบาลและกลุ่มการเมืองฝ่ ายขวาเรี ยกฝ่ ายนักศึกษาว่า


ผูก้ ่อการจลาจล ผูก้ ่อความไม่สงบ หรื อกระทัง่ เรี ยกว่าเป็ นคอมมิวนิสต์ เป็ นญวน คือเป็ นทั้งเหยือ่ และ
อาชญากรผูก้ ่อเหตุวนุ่ วาย แม้แต่เมื่อปลอบผูต้ อ้ งหาคดี 6 ตุลา ออกมา นายกรัฐมนตรี ขณะนั้นยัง
ตักเตือนว่าอย่าทาผิดซ้ าอีก ราวกับว่าเราเป็ นฝ่ ายผิดเมื่อ 6 ตุลา จนกระทัง่ สุ ธรรม แสงประทุม ต้อง
ตอบโต้ดว้ ยการยืนยันว่า “เราคือผูบ้ ริ สุทธิ์ ” ซึ่งกลายเป็ นคาตอบโต้ที่มีความหมายยาวไกลทาง
ประวัติศาสตร์ เพราะเป็ นการให้ความหมายต่อ 6 ตุลา สวนทางกับทัศนะที่รัฐพยายามสถาปนา

ความเปลี่ยนแปลงในเวลาต่อมาค่อย ๆ ปลดนักศึกษาออกจากการเป็ นผูก้ ระทาผิด ผูเ้ สี ยชีวติ ค่อย ๆ


ได้รับความเคารพเห็นใจ พวกเขาไม่ใช่อาชญากร ไม่ใช่ศตั รู ของชาติ ไม่ใช่ผหู ้ ลงผิด อีกต่อไป แต่
พวกเขายังคงเป็ นแค่เหยือ่ เป็ นหมากอันน่าสงสาร ทุกวันนี้พวกเขาจึงอาจได้รับการราลึกถึงอย่างน่า
สงสาร น่าเห็นใจ แต่ความเคารพ ความยกย่องไม่ได้ตามมาด้วย

ในหมู่นกั ศึกษาที่เข้าร่ วมการต่อสู ้ในชนบท แรก ๆ ก็ถือว่าผูเ้ สี ยชีวติ ในนั้นเป็ นวีรชนอย่างแน่นอน


หลายคนเข้าป่ าไม่ใช่เพื่อสังคมนิยมเท่ากับเพื่อแก้แค้นให้แก่วรี ชน 6 ตุลา ผูร้ ักชาติประชาธิ ไตย ผูท้ รง
ทั้งเกียรติและความเคารพยกย่อง แต่ทศั นะเช่นนี้กลับผูกติดอยูก่ บั อุดมคติความเชื่ อว่า วีรชนเหล่านั้นถม
ทางเพื่อสังคมใหม่ในอนาคต ครั้นอนาคตล่มสังคมใหม่เป็ นแค่ความเพ้อฝัน หลายคนจึงเริ่ มลังเล ไม่
แน่ใจว่าผูเ้ สี ยชีวิตเมื่อ 6 ตุลา เป็ นวีรชนหรื อเปล่า ? อะไรคือผลของการเสี ยสละ ? อะไรคือคุณูปการต่อ
สังคม ? ทุกวันนี้หลายคนจึงถือว่าผูเ้ สี ยชีวติ เมื่อ 6 ตุลา เป็ นเหยือ่ เป็ นหมากที่น่าสงสารน่าเห็นใจ แต่
ความเคารพเกียรติภูมิความยกย่องไม่ได้ตามมาด้วย

ชัยชนะทาให้ชีวติ ที่เสี ยสละกลายเป็ นวีรชนได้ฉบั พลัน ทัศนะประวัติศาสตร์ ไม่วา่ ของชาติหรื อของ พคท.
ช่วยให้เห็นคุณูปการของความตาย จึงทาให้คนเสี ยชีวิตกลายเป็ นวีรชนได้

แต่ครั้นไม่มีชยั ชนะและปราศจากทัศนะประวัติศาสตร์ แบบ พคท. หรื อของชาติ จึงเกิดความลังเลสงสัยที่


จะมอบความเคารพเกียรติ และความยกย่องแก่ชีวติ เหล่านั้น

“วีรชน” ในวัฒนธรรมการเมืองไทยผูกติดกับชัยชนะของพลังทางการเมืองที่เขาสังกัดและทัศนะ
ประวัติศาสตร์ ของพลังทางการเมืองนั้น ไม่วา่ จะเรี ยกว่ารัฐบาล ชาติไทย หรื อ พคท. ผูเ้ สี ยชีวติ เป็ นวีร
ชนได้โดยอัตโนมัติหากเขาต่อสู ้ ผกค.เพื่อชาติ ต่อสู้เผด็จการเพื่อประชาชน หรื อหากสังคมนิยมเผอิญ
ชนะขึ้นมา วีรกรรมของวีรชนมิได้ตดั สิ นที่คุณสมบัติอนั น่าเคารพยกย่องของบุคคลหรื อชี วติ นั้น ๆ

สังคมวัฒนธรรมไทยไม่ได้ให้ความเคารพต่อความใฝ่ ฝันของปั จเจกชนที่ต่อสู ้เพื่ออุดมคติเพื่อคนที่ยากไร้


เสี ยเปรี ยบหรื อต่อสู ้กบั การใช้อานาจอย่างไม่เป็ นธรรม โดยเฉพาะอย่างยิง่ หากความใฝ่ ฝันนั้นท้าทาย
อานาจของผูป้ กครอง

หลัง 6 ตุลา 2519 วัฒนธรรมเช่นนี้เริ่ มเปลี่ยนแปลง เริ่ มเกิดแบบฉบับของบุคคลในอุดมคติของ


ประชาชน เช่น “ป๋ วย – ปรี ดี” ทั้งคู่เป็ นผูน้ าทางปั ญญา เป็ นข้าราชการใหญ่ เป็ นอาจารย์ เป็ นคนใน
ระบบที่สาธารณชนพร้อมใจกันยกย่องโดยไม่สนใจรัฐ เป็ นคนที่สาธารณชนแสวงหา เป็ นเทคโนแครท
ที่รับใช้ประชาชน เป็ นคนในแวดวงอานาจที่ถูกทาร้ายโดยอานาจที่ไม่เป็ นธรรม

แต่ทว่า ดูเหมือนสังคมไทยจะยังคงไม่มีที่ทางสาหรับปั จเจกชนตัวเล็ก ๆ ที่ไม่เคยเป็ นข้าราชการผูใ้ หญ่


ที่มีความใฝ่ ฝันเพื่อคนอื่นและต่อสู ้จนตัวเองพ่ายแพ้สูญเสี ย สังคมไทยยังไม่ยอมให้คุณค่าแก่ชีวติ เล็ก ๆ
เหล่านั้น อดีตฝ่ ายซ้ายก็อยูภ่ ายใต้กรอบวัฒนธรรมแบบเดียวกัน พวกเขาจึงลังเลที่จะเคารพยกย่องชีวติ
เล็ก ๆ ที่กล้าหาญเพื่ออุดมคติ บางคนลังเลกระทัง่ จะเรี ยกความสู ญเสี ยนั้นว่า การเสี ยสละ

ผูเ้ สี ยชีวติ เมื่อเช้าวันที่ 6 ตุลา 2519 มิได้กระทาตามบงการหรื อคาสั่งของใคร พวกเขามีความเชื่อ มี


ความใฝ่ ฝัน ผูน้ านักศึกษาและ พคท. จะถูกผิดอย่างไร จะสานึกในความรับผิดชอบของตนหรื อไม่เป็ น
เรื่ องหนึ่ง แต่ผเู ้ สี ยสละเช้าวันนั้นมิใช่เหยื่อที่น่าอนาถของความผิดพลาดเหล่านั้น พวกเขามีชีวติ
ความคิด จิตใจของตนเอง และได้เลือกที่จะต่อสู ้อย่างกล้าหาญแม้รู้วา่ มีอนั ตรายอยูร่ อบด้านในเวลานั้น
ความถูกผิดและความสานึกรับผิดชอบของผูน้ าองค์กรนาและความคิดชี้นาของยุคนั้น ไม่สามารถลดทอน
ความจริ งที่วา่ ชี วติ ที่สูญไปเมื่อเช้าวันที่ 6 ตุลา 2519 มีคุณค่าน่าเคารพยกย่อง เป็ นชี วติ เล็ก ๆ ที่ไม่เคย
เป็ นผูน้ าในระบบราชการไม่เคยเป็ นผูใ้ หญ่ของสังคมไทย ไม่เคยปกครองใคร เราคงไม่หนุนส่ ง
คะยั้นคะยอให้ใครไปตายเพื่ออุดมคติกนั ง่าย ๆ แต่หากคน ๆ หนึ่งเชื่ อมัน่ ในสิ่ งที่ตนทาเพื่อสังคมเพื่อคน
ส่ วนใหญ่ถึงขนาดยอมเผชิ ญอันตรายถึงชีวติ นัน่ คือ ชี วติ ที่มีเกียรติที่สังคมพึงเคารพยกย่องมิใช่หรื อ ?

ผูเ้ สี ยชีวติ ทางการเมืองแบบเป็ นกลุ่มมักจะกลายเป็ นที่รู้จกั กันด้วยคานามธรรม อย่างเช่น “วีรชน” แต่


สาหรับพ่อแม่ญาติพี่นอ้ งของเขา พวกเขามีชีวิตเลือดเนื้ อที่สัมผัสได้ ก่อนที่จะมีฉายานามใด ๆ ในทาง
การเมือง ในกรณี ได้ชยั ชนะ เกียรติภูมินามธรรม อาจพอหล่อเลี้ยงปลอบประโลมการสู ญเสี ยไปได้บา้ ง
แต่ไม่มีวนั แทนที่ชีวติ ที่มีชื่อเสี ยงเรี ยงนามไปได้ ในกรณี ถูกสงสัยลังเลหรื อยอมรับเพียงแค่วา่ เป็ นเหยือ่ ที่
น่าสงสาร ความทุกข์ระทมต่อการสู ญเสี ยกลับไม่ได้รับแม่กระทัง่ เกียรติภูมินามธรรมมาปลอบประโลม
สังคมตอบแทนด้วยความว่างเปล่าและไม่ไยดี นี่เป็ นความโหดร้ายซ้ าสองที่สังคมไทยกระทาต่อการ
เสี ยสละของชีวติ นั้น

อนุสาวรี ยเ์ ดือนตุลาที่ตอ้ งผนวกเอา 6 ตุลา เข้าไปด้วย ความทรงจาของคนรุ่ นเดือนตุลาที่พว่ งเอา 6 ตุลา
เข้าไปด้วย จึงพกพาปั ญหาการประเมินคุณค่าของชีวติ และความตายเข้าไปด้วยอย่างแยกไม่ออก ความ
อิหลักอิเหลื่อต่อความตายเมื่อ 6 ตุลา 2519 ไม่รู้จะให้คุณค่า เกียรติภูมิความเคารพยกย่องหรื อไม่ ?
อย่างไรดี ? จึงพลอยทาให้อนุสรณ์และความทรงจาต่อเดือนตุลายากจะยอมรับได้ง่าย ในสังคมไทย

เหนื อสิ่ งอื่นใด เพราะสังคมวัฒนธรรมไทยยังไม่มีที่ทางให้แก่ “ชีวติ ” เล็ก ๆ ที่ทา้ ทายอานาจของ


ผูป้ กครองเพื่อประโยชน์สุขของคนส่ วนใหญ่ เพราะสังคมวัฒนธรรมไทยนับแต่โบราณกาลเชื่อว่า
ผูป้ กครองและรัฐคุม้ ครองประโยชน์สุขของคนส่ วนใหญ่ ผูต้ ่อต้านรัฐอุปถัมภ์จึงล้วนแล้วแต่เป็ นมิจฉาทิฐิ
เป็ นผูร้ ้าย เพราะสังคมวัฒนธรรมไทยเคารพยกย่อง “ชีวิต” น้อยกว่า “ชาติ” น้อยกว่าคุณูปการทาง
การเมืองที่เป็ นรู ปธรรม

เพราะเราเห็นคุณค่าในตัวเองของ “ชีวติ ” หนึ่ง ๆ น้อยกว่าสถานะและคุณูปการของชีวิตนั้น ๆ ต่อสังคม


การเมือง

เช่นนี้แล้ว หากมีอนุสรณ์ 6 ตุลา 2519 จะนับใครเป็ นวีรชนหรื อไม่ ? จะเน้นถึงแต่ชาติประชาธิปไตย


หรื อชีวติ ?
อนุสรณ์ อัปลักษณ์ ไทย
ชาติไหน ๆ ก็มีการราลึกอดีตเพื่อหลีกหนีอดีต มีอนุสรณ์เพื่อหลอกตัวเองไม่ให้อดีตอันไม่พึงประสงค์มา
หลอนปั จจุบนั เช่น ฝรั่งเศสและออสเตรี ย ยังคงเขียนประวัติศาสตร์ หลอกตัวเองว่าเป็ นเหยื่อนาซี
เน้นขบวนการต่อต้านนาซี ทั้ง ๆ ที่ท้ งั สองประเทศมีผรู ้ ่ วมมือกับนาซี เต็มไปหมด ญี่ปุ่นเน้นว่าตนตกเป็ น
เหยือ่ ระเบิดปรมาณู เพื่อเบี่ยงเบนประวัติศาสตร์ ดา้ นที่ตนก่ออาชญากรรมต่อประชาชนจีนและเกาหลี
รัฐบาลหลายประเทศในเอเชี ยทาร้ายปราบปรามประชาชนของตนเองในนามของความมัน่ คงแห่งชาติและ
ความรุ่ งเรื องทางเศรษฐกิจ พม่าก็กาลังทาเช่นนี้อยู่ พวกเขาหวังให้ความสาเร็ จทางเศรษฐกิจตอกย้า
ชาตินิยมและความหลงชาติเพื่อกลบเกลื่อนการใช้อานาจไม่เป็ นธรรมของสังคม จีน ไทย อินโดนีเซี ย
กาลังเขียนประวัติศาสตร์ แบบเดียวกัน

ไทยเราเองมีอนุสาวรี ย ์ 2-3 แห่ง ที่มีไว้เชิดชูชยั ชนะและความรักชาติ โดยกลบเกลื่อนเบี่ยงเบนความขม


ขื่นที่ไทยได้กระทาต่อมนุษย์ดว้ ยกันที่สังกัดชาติเพื่อนบ้าน การเฉลิมฉลองที่กระทากันทุกปี จึงมีหน้าที่
ตอกย้าความหลงชาติไทย ในขณะที่ลบเลือนหลงลืมทุกข์ของมนุษย์ดว้ ยกันในประเทศข้างเคียง

อนุสรณ์ใด ๆ จึงมีหน้าที่เพื่อการจดจาและความหลงลืมในเวลาเดียวกัน

โดยปกติ รัฐต้องการอนุสรณ์และการราลึกอดีตที่ค้ าจุนภาวะปกติของระบอบการเมืองในปั จจุบนั ไม่ทา้


ทายอานาจและระบอบปกครองที่เป็ นอยู่ อนุสรณ์และอดีตที่รัฐสนับสนุนจึงมีขีดจากัดเห็นกันอยูช่ ดั ๆ

แต่ทว่าความหมายของอนุสาวรี ย ์ อนุสรณ์ และอดีต กลับสามารถเปลี่ยนไปได้ตามกาลเวลาหรื อ


สามารถตายไปหรื อเกิดใหม่ตามความสอดคล้องกับปั จจุบนั อนุสาวรี ยห์ ลายแห่งจึงยืนโทนโท่อย่างไร้
ชีวติ กลายเป็ นแค่ปฏิมากรรมประกอบสวนสาธารณะและม้านัง่ ยามเย็น อนุสาวรี ยจ์ านวนมากในโลก
ประสบชะตากรรมเช่นนี้

อนุสาวรี ยแ์ ละอดีตบางแห่งถูกประชาชนสังหารหรื อยกเลิกเพราะเป็ นปฏิปักษ์กบั ปั จจุบนั เช่นรู ปปั้ นเลนิ น


สตาลิน ในหลายประเทศในยุโรปตะวันออก

แต่มีอนุสาวรี ยอ์ ีกมากที่กลับยืนยงข้ามยุคสมัยได้ เพราะเกิดความหมายเปลี่ยนแปลงไปจากแรกเริ่ มแต่


กลับสอดคล้องกับความต้องการของปั จจุบนั เช่น อนุ สาวรี ยว์ รี กษัตริ ยห์ ลายพระองค์ของไทยที่ยนื ยง
ข้ามหลายยุคสมัยทางการเมืองไทย อนุสาวรี ยพ์ ระปิ ยมหาราชซึ่ งเริ่ มแรกเพื่อเชิ ดชูพระเกียรติยศเทียบเท่า
ผูน้ ายิง่ ใหญ่พระองค์อื่นในยุโรป แต่ปัจจุบนั สาธารณชนมีส่วนร่ วมสร้างความหมายใหม่ผา่ นพิธีกรรมที่
ลานพระรู ปและการบูชาเชิงพาณิ ชย์จนยืนยงเป็ นพระปิ ยมหาราชของสังคมกระฎุมพีไทยปลายศตวรรษที่
20 อนุสาวรี ยช์ ยั สมรภูมิที่ผคู ้ นลืมความหมายแรกเริ่ มไปหมดแล้วแต่กลับรอดมาถึงปั จจุบนั ได้เพราะชื่อ
จนกลายเป็ นอนุสาวรี ยท์ ี่ไม่มีอดีตแต่กลับมีอนาคตอยู่ อนุสาวรี ยป์ ระชาธิ ปไตยที่มีผกู ้ ล่าวว่าน่าเกลียด
เป็ นกองซี เมนต์มหึ มากลางถนน ซึ่ งนาเอาสัญญลักษณ์ต่าง ๆ มายาใหญ่อย่างไร้รสนิ ยม ก็รอดชีวิตและ
กลับฟื้ นความหมายใหม่ได้เพราะชื่อแท้ ๆ ผูค้ นไม่รู้จกั อดีตแรกเริ่ มของอนุสาวรี ยแ์ ห่ งนี้สักเท่าไรและไม่
สาคัญด้วย เพราะประชาชนช่วยกันสร้างความหมายใหม่ให้แก่อนุสาวรี ยแ์ ห่งนี้แล้ว กลายเป็ นว่ากลับมี
พลังและบทบาทสาคัญในประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยของไทยด้วยวิธีการที่เป็ นประชาธิปไตยที่สุด คือ
มหาชนร่ วมสร้างมันขึ้นมาใหม่

อนุสาวรี ยท์ ุกแห่งจึงเป็ นส่ วนหนึ่งของความพยายามสถาปนาประวัติศาสตร์ ให้แน่นอนตายตัว เพื่อค้ าจุน


อุดมการณ์แห่งชาติ แต่อนุ สาวรี ยท์ ุกแห่งกลับลื่นไหล กากวมพอที่จะหมดความหมายหรื อผลิต
ความหมายใหม่ ๆ ได้ แม้แต่ที่อปั ลักษณ์สับสนอย่างอนุ สาวรี ยป์ ระชาธิ ปไตยก็กลับงดงามได้ท่ามกลาง
คลื่นมหาชนเมื่อ 14 ตุลา 2516 และพฤษภา 2535 โดยไม่สนใจว่ารัฐหรื อนักวิชาการ จะยอมรับหรื อไม่
ก็ตาม

อนุสาวรี ยใ์ นประเทศไทยมีลกั ษณะร่ วมกันประการหนึ่งคือเป็ นการราลึกอดีตอันงดงามรุ่ งโรจน์เราไม่เคยมี


อนุสาวรี ยใ์ ห้ผคู ้ นราลึกความอัปลักษณ์แห่งชาติแม้แต่แห่งเดียว เราไม่มีอนุสรณ์ไว้เตือนใจถึงความ
สู ญเสี ยอันน่าสลดใจระดับชาติ ตัวอย่างของอนุสาวรี ยป์ ระเภทนี้ในโลกมีให้เห็นมากมาย เช่น
พิพิธภัณฑ์การล้างเผ่าพันธุ์ยวิ ค่ายกักกันทรมานชาวยิวในเยอรมันและโปแลนด์ก็เก็บรักษาไว้เป็ นอนุสรณ์
พิพิธภัณฑ์คุกตูสเลงในกัมพูชา หรื อพิพิธภัณฑ์ที่ฮิโรชิมา ล้วนแล้วแต่มีไว้เพื่อเตือนใจถึงหายนะที่มนุษย์
ได้ก่อขึ้นต่อมนุษย์ดว้ ยกันเอง อนุสรณ์เหล่านี้ไม่ถือว่านาความเสื่ อมเสี ยมาสู่ ชาติ เพราะข้อเตือนใจและ
บทเรี ยนไม่ใช่เรื่ องภาพพจน์ของชาติ ไม่ใช่เรื่ องความสามัคคีหรื อแตกแยกภายในชาติ เท่ากับเป็ น
บทเรี ยนร่ วมกันของมนุษยชาติ

อนุสรณ์ใด ๆ ต่อ 6 ตุลา 2519 ไม่สามารถจะเสแสร้งให้กลายเป็ นเรื่ องของอดีตอันรุ่ งโรจน์ได้ ไม่


สามารถสถาปนาอดีตที่ตอกย้ าค้ าจุนสังคมวัฒนธรรมปั จจุบนั ได้ เพราะ 6 ตุลา 2519 คืออดีตที่เปิ ดเผย
อัปลักษณ์ของสังคมไทย 5 ประการสาคัญซึ่ งตรงข้ามกับเอกลักษณ์ไทยที่มกั เชิดชูกนั ทั้งหลาย ได้แก่

หนึ่ง อาชญากรรมของรัฐ ที่ใช้ความรุ นแรงต่อประชาชนของตนเองในความขัดแย้งทางการเมือง


สอง การกาจัดและสังหารความคิดที่แตกต่างด้วยความรุ นแรง
สาม ความขัดแย้งแตกต่างฝังลึกในสังคมที่ไม่รู้จกั ตัวเอง โหยหาความสามัคคีจนไม่รู้จกั จัดการกับความ
ขัดแย้งอย่างเหมาะสม
สี่ การทาลายความเป็ นมนุษย์ซ่ ึ งกันและกันของคู่ขดั แย้งจนนาไปสู่ ความหฤโหดเกินคาดหมาย
ห้า ความไร้น้ าใจในสังคมไทยที่ไม่รู้จกั การเยียวยาผูร้ ับเคราะห์จากโศกนาฏกรรม หวังแต่จะอาศัยความ
เงียบบรรเทาความเจ็บปวดของผูเ้ สี ยหายและพ่อแม่ญาติพี่นอ้ งของเขา

หากจะมีอนุสรณ์ ต่อ 6 ตุลา 2519 น่าจะต้องเป็ นอนุสาวรี ยท์ ี่ซื่อสัตย์ บ่งบอกถึงอัปลักษณ์ไทยที่แฝงฝัง


อยูใ่ นสังคม เพื่อเตือนสติให้สังคมไทยหันมาดูความจริ งของตนเอง หลอกลวงตัวเองให้นอ้ ยลง เพื่อ
ช่วยกันสร้างอนาคตที่ดีกว่าที่เป็ นอยู่

อนุสรณ์ 6 ตุลา 2519 พรรค์น้ ีคงจะทาให้ชยั ชนะเมื่อ 14 ตุลา 2516 ประสบความอึดอัดลาบากใจไป


ด้วย (อย่าว่าแต่ประวัติศาสตร์ แห่งชาติเลย) คงปฏิเสธไม่ได้วา่ 6 ตุลา เป็ นความคลี่คลายทาง
ประวัติศาสตร์ ต่อเนื่องมาจาก 14 ตุลา แต่เหตุการณ์ 2 กรณี อาจมีความหมายด้านที่ต่างกันมากพอดู
การผนวกเอา 6 ตุลา 2519 พ่วงเข้าไปในความทรงจาและอนุสรณ์เดือนตุลา คงมีประโยชน์คือช่วยหอบ
หิ้ว 6 ตุลาให้ยงั พอมีที่ทางในความทรงจาของประชาชน มิฉะนั้นแล้วเรื่ องของอัปลักษณ์ไทยและ
โศกนาฏกรรมอาจถูกทอดทิ้งไปเฉย ๆ ก็เป็ นไปได้ แต่คงไม่น่าแปลกใจ ถ้าหาก 6 ตุลา 2519 ไม่ถูก
นับเข้าเป็ นเหตุการณ์สาคัญที่มีส่วนช่วยสร้างประชาธิ ปไตยของไทย บางคนมักจะเอ่ยถึงแต่ 2475 , 14
ตุลา 2516 และ พฤษภา 2535

เพราะ 6 ตุลา 2519 มีนยั สาคัญเป็ นด้านกลับของประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยไทย 2519 เป็ นอีกด้านของ


เหรี ยญเดียวกันกับ 2475 , 2516 และ 2535 แต่ไม่ใช่เหตุการณ์ที่มีนยั สาคัญทางประวัติศาสตร์ แบบ
เดียวกัน ผูท้ ี่ตดั 2519 ออกจากหลักหมายสาคัญของประวัติศาสตร์ ประชาธิ ปไตย จึงอาจนับได้วา่ มี
ทัศนะประวัติศาสตร์ ชดั เจนทีเดียว จึงอิหลักอิเหลื่อที่จะผนวกเอาอีกด้านของเหรี ยญเดียวกันเข้าไว้เป็ น
สายธารประวัติศาสตร์ เดียวกัน
ทั้งสองด้านของเหรี ยญประวัติศาสตร์ ประชาธิ ปไตยไทย มีคุณค่าความสาคัญมหาศาลด้วยกันทั้งสิ้ น แต่
ไม่ใช่อย่างเดียวกันนัก

เช่นนี้แล้ว หากมีอนุสรณ์ 6 ตุลา จะกล้าซื่อสัตย์ทา้ ทายเอกลักษณ์ไทยไหม ? จะผนวกความหมาย


เฉพาะของ 6 ตุลา 2519 เข้าไปในอนุสรณ์เดือนตุลาอย่างไรดี ?

อนุสาวรีย์ทสี่ ร้ างไม่ ได้ เลิกไม่ ได้


ในเมื่อเป็ นอดีตที่กลืนไม่เข้าคายไม่ออกแทบทุกแง่ อนุสรณ์ใด ๆ ต่อวีรชนประชาธิ ปไตยที่จะพ่วงเอา 6
ตุลา เข้าไปด้วย ก็ตอ้ งเผชิ ญความอิหลักอิเหลื่อดังกล่าวไปด้วย ทั้ง ๆ ที่ลาพังอนุสาวรี ยว์ รี ชน 14 ตุลา
ก็ฝ่าแนวต้านทานของประวัติศาสตร์ อนุรักษ์นิยมไม่ค่อยรอดอยูแ่ ล้ว
หลายท่านคงพอจะทราบถึงปั ญหาเทคนิคมากมายเกี่ยวกับการสร้างอนุสาวรี ยเ์ ดือนตุลา เคยคิดบ้างไหม
ว่าลึกลงไปภายใต้ปัญหาเทคนิคเหล่านั้นคือความอิหลักอิเหลื่อแห่งชาติเหล่านี้แหละ จะสร้างก็ไม่ได้ จะ
เลิกหรื อปฏิเสธไปเลยก็ไม่ได้

ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ผูเ้ สี ยชีวติ ในคราวนั้นได้รับการยกย่องเป็ นวีรชนทันที ศพของพวกเขา


เก็บรักษาไว้ 1 ปี เต็ม จึงค่อยมีพิธีพระราชทานเพลิงศพที่ทอ้ งสนามหลวงโดยพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยูห่ วั ฯ และสมเด็จพระบรมราชิ นีนาถฯ เสด็จเป็ นองค์ประธานในพระราชพิธีดว้ ยพระองค์เองเมื่อ
ตุลาคม 2517

ความคิดที่จะสร้างอนุสาวรี ยร์ าลึกถึงวีรชน 14 ตุลา จึงดูจะไม่มีอุปสรรคใด ๆ

ท่ามกลางกระแสต่อต้านขบวนนักศึกษาที่สูงขึ้นและการโจมตีใส่ ร้ายต่าง ๆ นานา รวมทั้งเรื่ องทุจริ ตใน


ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษา ฯ รัฐบาล ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ยังสนับสนุนการสร้างอนุสาวรี ยว์ รี ชน 14
ตุลา อยูใ่ นเดือนตุลาคม 2518 นายกรัฐมนตรี กบั สมเด็จพระสังฆราชในเวลานั้นเป็ นประธานวางศิลาฤกษ์
อาคารอนุสรณ์สถาน 14 ตุลา ณ สี่ แยกคอกวัว และก่อแท่นซี เมนต์เป็ นหลักหมายไว้ ณ ที่นนั่

ทว่าตลอดเวลาดังกล่าว สถานที่ซ่ ึ งจะสร้างอนุสรณ์สถานนั้นยังไม่ได้รับอนุ ญาตจากเจ้าของคือสานักงาน


ทรัพย์สินส่ วนพระมหากษัตริ ย ์ รัฐบาลรับไปเจรจาให้ก็ยงั ไม่สาเร็ จเสร็ จสิ้ น แม้ดูเหมือนว่าจะไม่มี
ปั ญหาอะไร แต่ปัญหาเทคนิคบางประการกลับค้างคาอยูจ่ นถึง 6 ตุลา 2519 ก็ยงั ไม่มีอะไรคืบหน้า

หลังเหตุการณ์ 6 ตุลา รัฐบาลธานินทร์ กรัยวิเชียร ยึดเงินในบัญชีของศูนย์นิสิตฯ รวมทั้งงบประมาณ


สร้างอนุสรณ์ 14 ตุลา เข้าเป็ นสมบัติของรัฐ ความคิดเรื่ องอนุสาวรี ย ์ 14 ตุลา จึงชะงักไม่มีกาหนด แต่
ทุก ๆ ปี กลุ่มองค์กรนักศึกษายังจัดพิธีราลึก 14 ตุลา ณ สถานที่น้ นั เป็ นประจา ความคิดเรื่ องอนุสาวรี ย ์
14 ตุลา จึงกลับไม่ตายหายไป แม้จะมีเพียงแท่นซี เมนต์เล็ก ๆ อย่างเดียวเป็ นหลักหมายอยู่ ณ ที่น้ นั ก็
ตาม

ระหว่างนั้น สานักงานทรัพย์สิน ฯ กลับปล่อยพื้นที่ดงั กล่าวให้ผอู ้ ื่นเช่าจนกลายเป็ นศูนย์การซื้ อขายสลาก


กินแบ่งรัฐบาลมาจนทุกวันนี้ เมื่อ 14 ตุลา 2516 ตึกสานักงานสลากกินแบ่ง ฯ เป็ นอาคารหนึ่งที่ถูกเผา
ในระหว่างการต่อสู ้ของประชาชนในฐานะเป็ นเครื่ องมือมอมเมาประชาชนให้หมกมุ่นอยูก่ บั การพนัน
การปล่อยให้สถานที่สร้างอนุ สรณ์ 14 ตุลา กลายเป็ นศูนย์ซ้ื อขายสลากกินแบ่งจึงเสมือนการตบหน้า
สวนทางกับเจตนารมณ์ของสถานที่แห่งนั้นโดยตรง
แต่ทว่า ผูข้ ายสลากกินแบ่งกลับไม่ก่อสิ่ งปลูกสร้างใด ๆ นอกจากกางเต๊นท์ข้ ึนมาบนพื้นที่น้ นั แม้จะได้
ครอบครองทามาหากินต่อมาตลอดกว่า 20 ปี ก็ตาม มิหนาซ้ าสิ่ งปลูกสร้างชัว่ คราวก็รายรอบอยูต่ ามริ ม
ถนน ส่ วนตรงกลางซึ่ งมีแท่นซี เมนต์ศิลาฤกษ์อนุสรณ์ 14 ตุลา ไม่เคยมีสิ่งปลูกสร้างใด ๆ ปกปิ ด
พื้นที่ดงั กล่าวยังคงเป็ นของวีรชน 14 ตุลา ที่พวกเขาไม่กล้าละเมิด

ยิง่ ไปกว่านั้น สานักงานทรัพย์สิน ฯ เคยดาริ จะพัฒนาพื้นที่ดงั กล่าวเพื่อการพาณิ ชย์แต่กลับไม่มีการ


ดาเนินงานใด ๆ ขึ้นมาจริ ง พื้นที่อนุสรณ์ 14 ตุลา จึงยังคงมีชีวติ อยู่ ทว่าทุก ๆ วัน แท่นซี เมนต์กลับ
เต็มไปด้วยดอกไม้ ธูปเทียน ของผูซ้ ้ื อขายสลากกินแบ่ง โดยไม่ใยดีต่อประวัติศาสตร์ ที่วรี ชน 14 ตุลา
เผาตึกกองสลากฯ มาแล้ว ทุกวันนี้ รถรายังคงเข้าไปจอดรายรอบแท่นซี เมนต์ดงั กล่าวประชิดเข้าไปทุกที
แต่ทุก ๆ ปี ณ วันที่ 14 ตุลา พื้นที่ดงั กล่าวกลับยังคงเป็ นที่ราลึกถึงเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา
2519 เป็ นประจา

ในปี 2531 รัฐบาลชาติชาย เห็นด้วยที่จะรื้ อฟื้ นโครงการสร้างอนุสรณ์วรี ชนเดือนตุลาขึ้นมาอีก รัฐบาล


คืนเงินศูนย์นิสิตฯ ให้แก่คณะกรรมการที่แต่งตั้งขึ้นเพื่อการนี้ พร้อมสมทบเงินเข้าไปอีก เหตุการณ์
พฤษภา 2535 ยิง่ ตอกย้าให้ความคิดเรื่ องอนุสรณ์วรี ชนประชาธิ ปไตยมีน้ าหนักชอบธรรมยิง่ ขึ้น รัฐบาล
ชวน หลีกภัย ก็เห็นด้วยกับการสร้างอนุสรณ์วีรชนเดือนตุลา แต่จนแล้วจนรอดพื้นที่ตรงสี่ แยกคอกวัว
กลับยังคงมีปัญหาเทคนิคเรื่ องสัญญาเช่าค้างคาอยูเ่ ช่นเคย จึงไม่สามารถทาการก่อสร้างใด ๆ ได้ ครั้น
ต่อมามีความคิดจะเปลี่ยนไปก่อสร้าง ณ อาคารกรมประชาสัมพันธ์เก่าซึ่ งถูกเผาพินาศในเหตุการณ์
พฤษภา 2535 สมเด็จพระสังฆราชประทานชื่อมาแล้วว่า “สวนสันติพร” แต่แล้วด้วยความจาเป็ นเพื่อ
แก้ปัญหาจราจรในบริ เวณดังกล่าว พื้นที่จานวนพอสมควรจึงถูกดัดแปลงเป็ นถนนและทางแยก เพื่อ
ระบายรถที่ลงมาจากสะพานพระปิ่ นเกล้า โครงการอนุสรณ์วีรชนประชาธิ ปไตย ณ บริ เวณนั้นจึงเงียบ
หายไปอีกครั้ง

สงครามหรื อชักคะเย่อระหว่างการสร้าง – ไม่สร้างอนุสรณ์วรี ชน 14 ตุลา (ที่ตอ่ มาพยายามขยายมาเป็ นวีร


ชนเดือนตุลา และต่อมาขยายมาเป็ นวีรชนประชาธิ ปไตย) จึงปรากฏให้เห็นชัดเจนในลาดับเรื่ องราว
ดังกล่าวและยังคงปรากฏให้เห็นตาตาทุกวีว่ นั ณ สี่ แยกคอกวัวนัน่ เอง สร้างก็ไม่ได้ เลิกก็ไม่ได้

ตลอดระยะเวลาดังกล่าว มีการพูดถึงอนุสรณ์วีรชนเดือนตุลา โดยพยายามผนวก 6 ตุลา 2519 เข้าไป


กับ 14 ตุลา 2516 โดยถือว่าเป็ นความสู ญเสี ยในการต่อสู ้เพื่อประชาธิ ปไตยเหมือน ๆ กัน การพ่วงเข้า
ไปด้วยกันดังกล่าวดูสมเหตุสมผลดีแล้วสาหรับผูท้ ี่เห็นว่าวีรชน 6 ตุลา 2519 คือผูต้ ่อต้านเผด็จการ
ปกป้ องประชาธิ ปไตย แต่คงมีคนจานวนไม่นอ้ ยไม่คิดเช่นนั้น ซ้ าร้ายยังอาจมองย้อนจาก 6 ตุลา 2519
กลับไปหา 14 ตุลา 2516 แล้วเปลี่ยนทัศนะต่อ 14 ตุลา และวีรชนในวันนั้นไปด้วยก็ได้ กล่าวอีกอย่าง
คือ 6 ตุลา 2519 อาจทาให้ 14 ตุลา 2516 พลอยมีปัญหาตามไปด้วย 6 ตุลาอาจสร้างความลาบากแก่
อนุสรณ์เดือนตุลายิง่ ขึ้นไปอีก ทั้ง ๆ ที่ลาพังอนุสรณ์ 14 ตุลา ก็ยากลาบากจนยังไม่สามารถเกิดได้อยู่
แล้ว

อนุสาวรี ยใ์ นประเทศไทยสร้างไม่ยาก จะให้เสร็ จโดยเร็ วก็ยอ่ มได้ ตัวอย่างที่เกี่ยวข้องใกล้เคียงคือ พระ


บรมราชานุสาวรี ยพ์ ระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั ที่หน้าอาคารรัฐสภา ในฐานะผูพ้ ระราชทาน
รัฐธรรมนูญฉบับแรกและให้กาเนิดประชาธิ ปไตยของไทย โครงการนี้เริ่ มปรากฏในเดือนมีนาคม 2520
ลงมือสร้างในเดือนพฤษภาคม รัฐบาลขณะนั้นอนุมตั ิงบประมาณทันที 10-15 ล้านบาท และเสร็ จในปี
ถัดมา

อนุสาวรี ยแ์ ห่งนี้กลายเป็ นอนุ สาวรี ยร์ ะบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข บรรจุ
ประวัติศาสตร์ ไทยตั้งแต่ศิลาจารึ กสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชมาจนถึงรัชกาลที่ 7 ต่างหากจาก
อนุสาวรี ยป์ ระชาธิ ปไตยกลางถนนราชดาเนิน ซึ่งสร้างโดยรัฐบาลคณะราษฎร สมัยจอมพล ป. พิบูล
สงคราม กับบรรจุหลัก 6 ประการของคณะราษฎรไว้ ต่างหากจากอนุสาวรี ยว์ ีรชนเดือนตุลาหรื อวีรชน
ประชาธิ ปไตย เพื่อราลึกถึงการต่อสู ้ของประชาธิ ปไตย ซึ่ งยังคงติดปั ญหาทางเทคนิ คค้างคามา
ตลอดเวลา 20 กว่าปี โดยไม่มีวแี่ ววว่าปั ญหาเทคนิคนั้นจะแก้ตกลุล่วงไปได้

ปั ญหาทางเทคนิคดังกล่าว แท้ที่จริ งคือเทคนิคของการเลี่ยงปั ญหาความอิหลักอิเหลื่อแห่งชาตินนั่ เอง

อนุสรณ์ 6 ตุลา ทีเ่ ป็ นไปไม่ ได้


ในหลาย ๆ ประเทศ อนุสรณ์ที่แสดงถึงความอัปลักษณ์ของสังคมนั้นมักถูกปิ ดกั้นไม่ให้มีตวั ตนขึ้นมา
ความทรงจาถึงเหตุการณ์อปั ลักษณ์จึงมักปรากฏในรู ปของศิลปะ เช่น ภาพ ดนตรี เรื่ องสั้น นวนิยาย
ประติมากรรม หรื ออนุสรณ์สถานส่ วนบุคคลหรื อภายในครอบครัว เป็ นต้น อนุสรณ์ประเภทนี้ไม่ข้ ึน
ต่อรัฐ และอาจท้าทายรัฐกลาย ๆ ด้วย ความทรงจาต่อการกวาดล้างในปี 1965 ของอินโดนี เซี ยก็อยูใ่ น
ลักษณะนี้ดว้ ยเช่นกัน

สังคมไทยให้อิสระการแสดงออกมากกว่านั้น กระนั้นก็ดี การเมืองปั จจุบนั ความรู ้สึกผิด ละอาย


เสี ยใจ และวัฒนธรรม ต่อความตายวีรชนและอนุสาวรี ยข์ องเราเอง ล้วนแต่ประกอบกันเป็ นความจากัด
อิหลักอิเหลื่อว่า เราจะราลึกถึงอดีตของความอัปลักษณ์อย่างไรกัน
ผูเ้ ขียนจึงทดลองให้นกั ศึกษาอเมริ กาซึ่ งไม่ถูกผูกติดกับการเมืองไทยปั จจุบนั ไม่รู้สึกผิด ละอาย เสี ยใจ
ต่อ 6 ตุลา 2519 และมีวฒั นธรรมแบบของเขา เสนอความเห็นว่า หากจะราลึกหรื อสร้างอนุสรณ์
ให้แก่ 6 ตุลา 2519 จะมีลกั ษณะอย่างไร ? ข้อเสนอของพวกเขาคงไม่สอดคล้องความเป็ นไปได้ใน
สังคมไทยนัก และมักจะเริ่ มต้นตามตรรกแบบทื่อ ๆ แต่หลาย ๆ กรณี ก็มีจินตนาการ และนัยท้าทาย
ความคิดวัฒนธรรมและการเมืองของไทยไม่นอ้ ย

เพื่อเตือนสติให้ราลึกถึงผลของการทาลายความเป็ นมนุษย์ นักศึกษาคนหนึ่งเสนอให้หวั ใจของงานราลึก


และอนุสรณ์ใด ๆ อยูท่ ี่การรื้ อฟื้ นความเป็ นมนุษย์กลับมา เช่น พิมพ์ภาพผูเ้ สี ยชีวติ ในสภาพปกติ
พร้อมชื่ อสกุล วันเกิด ตาย ชื่อพ่อแม่ ที่อยู่ แจกจ่ายให้ผคู ้ นรู ้วา่ พวกเขามิใช่ศตั รู ของชาติ แต่คือคน
เหมือนเราท่านที่มีพอ่ แม่ ญาติพี่นอ้ ง และมีชีวติ ปกติสามัญ เท่านี้ก็พอแล้ว อีกคนเสนอให้ป้ายสี ดา
เล็ก ๆ ลงบนผนัง หรื อสถานที่ที่มีผเู ้ สี ยชีวติ ในธรรมศาสตร์ โดยไม่ตอ้ งมีคาอธิ บายใด ๆ นอกจากคา
ว่า “6 ตุลา 2519”

เพื่อราลึกอดีตด้วยสถานที่ นักศึกษาอีกคนเสนอให้เปลี่ยนธรรมศาสตร์สักตึก หรื อหลายตึกเป็ น


พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ ประชาธิ ปไตยไทยที่มีท้ งั ด้านความสาเร็ จ รุ่ งโรจน์ และด้านโศกนาฏกรรม
ความสู ญเสี ย นักศึกษาคนนี้ รู้ (ก่อนผูเ้ ขียนซะอีก) ว่า ธรรมศาสตร์ จะย้ายปริ ญญาตรี ไปรังสิ ต จึงเสนอ
ว่า ท่าพระจันทร์ น่าจะเพียงพอสาหรับพิพิธภัณฑ์ ตึกโดมอาจมีคุณค่าความหมายมากกว่าเป็ นอาคาร
ผูบ้ ริ หาร เพราะเป็ นสิ่ งก่อสร้างที่ผกู พันกับเหตุการณ์สาคัญ ๆ มาตั้งแต่หลัง 2475 จนถึงตุลา 2519

เพือ่ ราลึกถึงประวัติศาสตร์ ที่ยงั ไม่ลงตัว อีกคนเสนอว่าอนุสรณ์ 6 ตุลา ควรจะต่างจากอนุสาวรี ยท์ วั่ ๆ


ไป ที่พยายามสถาปนาความรู ้ประวัติศาสตร์ แบบเดียวตายตัวลงไป จนทาให้หลายแห่งกลายเป็ นแค่
ส่ วนประกอบของเก้าอี้นงั่ เล่นภายในเวลาไม่กี่สิบปี ในเมื่อยังมีปริ ศนามากมายเกี่ยวกับ 6 ตุลา 2519 ที่
ยังคงแก้ไม่ได้ในอนาคตอันใกล้ ในเมื่อทุกฝ่ ายมีความทรงจาที่กระอักกระอ่วนเกี่ยวกับ 6 ตุลา 2519 ก็
น่าจะมีอนุสรณ์ที่ตอกย้าสถาปนาความไม่ลงตัวของประวัติศาสตร์ และความทรงจา คือเป็ นอนุสรณ์ที่
กากวมแต่บนั ทึกและสื่ อสารทาให้ทศั นะที่ขดั แย้งกันเป็ นที่ปรากฏทั้งทัศนะในอดีตเมื่อเกิดเหตุการณ์ และ
ปั จจุบนั ที่คลี่คลายไป ทั้งในหมู่ฝ่ายราลึกถึงความสู ญเสี ยโดยไม่จาเป็ นต้องบังคับให้ผรู ้ าลึกต้องคิดในแบบ
เดียวกัน ยอมรับประวัติศาสตร์ เดียวกัน อนุสรณ์แบบนี้น่าจะเตือนสติให้เราใจกว้างพร้อม ๆ กับ
ตระหนักว่า ความสู ญเสี ยเป็ นความรู ้สึกที่ทุกฝ่ ายสามารถเข้าใจร่ วมกันได้ ความกากวมที่อนุสรณ์น้ ี
ส่ งเสริ มก็เพื่อสื บทอดการวิพากษ์วจิ ารณ์ สื บทอดความทรงจาที่อิหลักอิเหลื่อไม่ให้ถูกหลีกหนีลบเลือนไป
ง่าย ๆ (ความคิดนี้มาจากอนุ สรณ์สงครามเวียดนาม ในวอชิงตัน ดี.ซี . ซึ่ งปล่อยให้ชาวอเมริ กนั ตีความ
อดีตได้ต่าง ๆ กัน และยังถกเถียงกันต่อมา อนุสรณ์ไม่ควรทาให้ความทรงจาตายตัว แต่ควรสื บทอด
การคิด เรี ยนรู ้ ตีความ วิพากษ์วจิ ารณ์อดีต เพื่อให้อนุสรณ์น้ นั ๆ ไม่ตาย แต่กลับมีความหมายใหม่
ๆ ได้ สาหรับคนรุ่ นหลัง ๆ ตามแต่ความสัมพันธ์ที่คนรุ่ นนั้น ๆ จะมีต่ออดีตในกรณี น้ นั ๆ)

เพื่อตอบโต้อปั ลักษณ์เมื่อปี 2519 ในเรื่ องเสรี ภาพทางความคิด มีผเู ้ สนอให้สร้างอนุสรณ์ที่เรี ยบง่าย


ประหยัดที่สุดคือทาขอบคอนกรี ตรอบพื้นที่สักประมาณ 3-4 ตารางเมตรก็พอประกาศให้อาณาบริ เวณ
ดังกล่าวเป็ น “ปริ มณฑลใจกว้าง” ให้สาธารณชนรับรู ้วา่ ภายในปริ มณฑลนี้ใครจะพูด แสดงความ
คิดเห็นเรื่ องอะไรก็ได้ อย่างไรก็ได้ ห้ามจับกุมห้ามปราบปราม กติกาข้อเดียวคือ ผูพ้ ดู จะต้องไม่โกรธ
หากพกพาอารมณ์โกรธหรื อพูดไปแล้วเกิดความโกรธ ถือว่าผิดกติกา ต้องยุติ และออกไปนอก
ปริ มณฑลนั้น บนขอบคอนกรี ตมีจารึ กเล็ก ๆ ว่า “ราลึก 6 ตุลา 2519 ภายในกรอบนี้ความเห็นทุก
ประการได้รับการอนุญาตให้แสดงออกได้” (มีผแู ้ ย้งว่าอารมณ์โกรธน่าจะได้รับการผ่อนปรน ตราบ
เท่าที่ไม่กลายเป็ นความรุ นแรงทางกายต่อตนเองและผูอ้ ื่น มีอีกคนขอเปลี่ยนจากปริ มณฑล 3 – 4 ตาราง
เมตรเป็ นหอศิลป และดนตรี ที่หา้ มเซนเซอร์ ห้ามจับกุม เป็ นที่ทดลองศิลป และดนตรี นานาชนิดตาม
จินตนาการ อย่างน้อยขอให้ศิลปเป็ นปริ มณฑลที่ปลอดจากการควบคุม ปราบปราม)

เพื่อวิชาการและการค้นคว้าประวัติศาสตร์ ต่อไป มีผเู ้ สนอให้กองทุนหรื อมูลนิธิใด ๆ ก็ตามเพื่อการนี้


คอยให้ทุนสนับสนุนการวิจยั เกี่ยวกับเรื่ องเดือนตุลาโดยเฉพาะ ปล่อยให้คนรุ่ นหลังสื บทอดชีวิตและ
ความทรงจา โดยให้อิสระเขาศึกษาและตีความอดีตของคนรุ่ นก่อน มีผเู ้ สนอว่า น่าจะมีหนังสื อบันทึก
ปากคาของผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์วนั นั้นทุก ๆ ฝ่ าย แต่เน้นที่คนตัวเล็ก ๆ ที่ไม่ค่อยมีใครสนใจ
เช่น ผูช้ ุมนุมอยูก่ ลางสนาม ฝ่ ายพยาบาล ช่างเสี ยง หน่วยรักษาความปลอดภัยที่รอดชีวติ
ผูส้ นับสนุนฝ่ ายขวาในสนามหลวง คนที่ยนื ปรบมือดูการแขวนคอและเผา ตารวจชั้นผูน้ อ้ ย คนที่ชอบ
และพอใจวิทยุยานเกราะ ลูกเสื อชาวบ้านที่ไม่ได้ประกอบวีรกรรมใด ๆ ฯลฯ น่าจะชักชวนพวกเขาให้
เขียนหรื อบันทึกเทปความทรงจาของตนส่ งเข้ามาเก็บรักษาไว้ คนเหล่านี้มีส่วนสร้างประวัติศาสตร์
ความทรงจาของพวกเขาจะเป็ นวัตถุดิบให้คนรุ่ นหลังเขียนประวัติศาสตร์ มีคนเสนอว่า เรื่ องราวใน
ชนบทก็เช่นกัน ยังมีคนบันทึกเขียนถึงไม่มากนัก เพราะมัวแต่เน้นการวิเคราะห์โครงสร้างสถานการณ์
ทางการเมืองจนไม่ได้บนั ทึกเรื่ องราวหลากหลายของคนที่เข้าป่ าที่ไม่ใช่ผนู ้ านักศึกษา ไปประกอบหน้าที่
ต่าง ๆ กันสารพัดตามเขตงานต่าง ๆ และกลับออกมาด้วยสาเหตุและบาดแผลมากน้อยคนละอย่างกัน
ชารุ ดมากน้อยไม่เท่ากัน

เพื่อเก็บบทเรี ยนของ 6 ตุลา 2519 สร้างสรรค์การเมืองในอนาคต มีผเู ้ สนอว่าองค์กรที่สืบทอดความ


ทรงจาต่อ 6 ตุลา น่าจะเน้นการแก้ไขอัปลักษณ์ของสังคมไทยที่ 6 ตุลา เปิ ดเผยออกมา ที่สาคัญที่สุด
คือ มีส่วนช่วยสร้างกระบวนการและช่วยแก้ไขความขัดแย้งที่แหลมคมในสังคมอย่างสันติ และช่วยกัน
ทาให้สังคมไทยปฏิเสธการใช้ความรุ นแรงโดยรัฐอย่างเด็ดขาด ทั้งนี้ไม่จาเป็ นต้องเป็ นพรรคการเมือง ไม่
ต้องมีนโยบาย หรื อเข้าไปยุง่ เกี่ยวกับการเมืองปั จจุบนั และไม่ตอ้ งเสนอทางออกใด ๆ ต่อปั ญหาสัก
เรื่ องก็ได้ ทาตัวเป็ นแค่เวที โอกาส ช่องทางที่คู่ขดั แย้งแหลมคมในปั ญหาหนึ่ง ๆ มีโอกาสพบปะพูดคุย
กัน หาทางออก หรื อเป็ นแค่สื่อกลางให้คนในสังคมตระหนักถึงความขัดแย้งที่แก้ไม่ตกง่าย ๆ เพื่อช่วย
การตัดสิ นใจของสาธารณชน ที่สาคัญคือ อาศัยวิธีการที่เปิ ดเผย โปร่ งใส ให้ประชาชนมีส่วนร่ วม

ออกจะลาบากสักหน่อย หากจะสื บทอดเจตนารมณ์ของ 6 ตุลา 2519 เพราะกล่าวอย่างตรงไปตรงมา


คือเจตนาของรัฐที่จะปราบปรามขบวนการของประชาชน ที่รัฐเห็นว่าเป็ นคอมมิวนิสต์และเป็ นภัยต่อชาติ
ส่ วนเจตนาของฝ่ ายนักศึกษาคือการต่อต้านเผด็จการ คัดค้านความพยายามฟื้ นอานาจของระบอบทหาร
แต่ผทู ้ ี่กระทาการหลักในเหตุการณ์น้ นั ไม่ใช่ฝ่ายนักศึกษา

อาจจะเหมาะสมกว่า หากจะเสนอภารกิจที่เก็บรับมาจากบทเรี ยนของ 6 ตุลา 2519 ว่าคือการปฏิเสธ


ความรุ นแรงโดยรัฐ ปฏิเสธการกาจัดและจากัดปราบปรามเซนเซอร์ ทางความคิด ปฏิเสธการทาลายความ
เป็ นมนุษย์ดว้ ยอุดมการณ์ หรื อเหตุผลที่น่ากลัวทั้งหลาย แสวงหาการแก้ไขความขัดแย้งอย่างสันติและ
เป็ นประชาธิปไตย และให้ความช่วยเหลือต่อชีวิตเลือดเนื้ อของผูป้ ระสบเคราะห์กรรมทางการเมืองรวมทั้ง
ครอบครัวของเขา

ให้ความสาคัญต่อมนุษย์และชีวติ เหนือความคิดความถูกผิดทางการเมืองใด ๆ ทั้งสิ้ น

ราลึกถึง 6 ตุลา คือ ราลึกถึงชี วติ


ชัยชนะและความสาเร็ จเพื่อชาติ อาจช่วยให้เกิดความภูมิใจในอดีต แต่บ่อยครั้งหัวใจพองโตต่อ
ผลสาเร็ จนามธรรม (ประชาธิปไตย เอกราช ชาติ การปฏิวตั ิ) ทาให้เราลืมเลือดเนื้ อและชีวติ ที่สูญเสี ยไป

อนุสาวรี ยแ์ ห่งความสาเร็ จมักเชื้อเชิ ญให้เราระเริ ง จนลืมว่าชัยชนะมักได้มาด้วยความสู ญเสี ยของผูอ้ ื่น


อนุสาวรี ยจ์ านวนมากในโลกนี้ชวนให้เราภาคภูมิใจในผลลัพธ์ของการฆ่ามนุษย์ดว้ ยกันในนามของชาติ
ภูมิใจที่ชาติของเราเอาชนะมนุษย์ดว้ ยกันที่สังกัดชาติอื่น (หรื อกระทัง่ เอาชนะมนุษยชาติเดียวกันก็มี) เรา
ถูกพร่ าสอนมาแต่เด็กว่าให้เห็นแก่ชาติก่อนเห็นแก่ชีวติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ชาติของเราก่อนชีวิตมนุษย์ที่
สังกัดชาติอื่น

เรามักลืมไปว่าชาติเป็ นชุมชนจินตนาการ แต่ชีวิตคือหน่วยเล็กเล็กที่ยงิ่ ใหญ่เหลือเกิน และทุก ๆ ชีวติ


สาคัญเหมือนกันหมด กว่าชี วติ หนึ่งจะเติบโตขึ้นมาได้มนุ ษย์ตอ้ งสร้างสรรค์สิ่งมหัศจรรย์ข้ ึนมากมายวัน
แล้ววันเล่า
ชีวติ ของชาติเราหรื อชาติอื่นคือประจักษ์พยานความมหัศจรรย์น้ ีดว้ ยกันทั้งสิ้ น

ความสู ญเสี ยพ่ายแพ้โศกนาฏกรรมเสี ยอีกที่อาจทาให้เราตระหนักถึงความล้ าค่าของทุก ๆ ชีวติ ทุก ๆ


วิญญาณ ความหดหู่เจ็บปวดช่วยสกัดกั้นไม่ให้หวั ใจของเรายึดติดอยูก่ บั นามธรรมใด ๆ แต่กลับสัมผัส
ถึงความสู ญเสี ยเลือดเนื้อได้ตลอดเวลา

อาชญากรรมที่น่ากลัวที่สุดอาจไม่ใช่อาชญากรรมที่ใช้วธิ ี หฤโหดผิดมนุษย์ แต่คืออาชญากรรมทาลายล้าง


มนุษย์ดว้ ยกันในนามของเหตุผลไม่วา่ จะเป็ นชาติศาสน์กษัตริ ย ์ หรื อเป็ นการปฏิวตั ิหรื อเพื่อชาติเพื่อสังคม
ใหม่ เพราะอาชญากรรมเหล่านี้เกิดขึ้นอย่างสมเหตุสมผลกลบเกลื่อนความน่าสะพึงกลัวของการทาลาย
ล้าง ทาให้เราเห็นอาวุธและการสังหารเป็ นเรื่ องธรรมดาสามัญ หรื อเป็ นแค่สถิติตวั เลข ทาให้ความ
ทารุ ณโหดร้ายเป็ นความจาเป็ นอันชอบธรรม ทาให้คนอื่นเชื่อว่า ความสามัคคีและความอยูร่ อดของชาติ
ได้มาในราคาแพง ด้วยเลือดเนื้ อของมนุษย์ดว้ ยกัน ความเจ็บปวดอาจช่วยเรามองทะลุเหตุผลบังตา
เหล่านั้นง่ายขึ้น มองเห็นความเจ็บปวดของมนุษย์ดว้ ยกันง่ายขึ้น มองเห็นชีวิตของชาติก่อนอุดมคติ
ทางการเมืองใด ๆ

ความสาคัญอันดับแรกของการราลึกอดีตอย่าง 6 ตุลา 2519 จึงได้แก่การราลึกถึงมนุษย์ในโศกนาฏกรรม

คิดถึงผูเ้ สี ยชีวติ บาดเจ็บ เขามี พ่อ แม่ ญาติพี่นอ้ ง ที่เฝ้ าเลี้ยงเขามานานหลายปี แต่แล้วกลับดับไป
ฉับพลัน หลายคนยังเก็บความทุกข์ไว้จนทุกวันนี้ หลายคนยังปฏิเสธไม่ยอมพูดถึงอดีต ส่ วนมากเผชิญ
ชีวติ ที่เจ็บปวดตามลาพัง

คิดถึงนักศึกษานับพันที่เข้าป่ า หลายคนเสี ยชีวติ ในการสู ้รบ ที่เหลือเผชิ ญทุกข์ซ้ าสอง กลับออกมาอย่าง


ผูพ้ า่ ยแพ้ราบคาบ หลายคนยังคงชารุ ดจมปลักกับอดีตอันว่างเปล่า ยังไม่สามารถเรี ยกชีวติ ที่มีเกียรติ
กลับคืนมา

ผูเ้ กี่ยวข้องหรื อประสบเคราะห์กรรมในลักษณะอื่น ๆ อีกมาก เช่น ผูถ้ ูกกักขังในฐานะเป็ นภัยสังคม ผู ้


ถูกกล่าวหากลัน่ แกล้งอย่างคุณอานันท์ ปั นยารชุน และคนตัวเล็ก ๆ อีกนับร้อยพันรวมถึงผูท้ ี่ตกเป็ นเป้ า
ของการโจมตีทาร้าย ทั้ง ๆ ที่พยายามแก้ไขความขัดแย้งอย่างสุ ดความสามารถและต่อมาภายหลังยัง
พยายามต่อสู ้ให้ความถูกผิดเมื่อ 6 ตุลา 2519 ปรากฏอีก อย่างอาจารย์ป๋วย อึ้งภากรณ์
ภายใต้ความสามัคคีที่เรี ยกร้องกันนั้นสังคมไทยไม่เหลียวแลผูร้ ับเคราะห์กรรมเหล่านี้ ไม่รู้จกั วิธีเยียวยา
ทางกายและใจ เพื่อช่วยให้พวกเขาจานวนมากเรี ยกเกียรติและความเข้มแข็งในชี วติ กลับคืนมา พวกเขา
ช่วยตัวเองทั้งนั้น

สาหรับหลายชีวติ 6 ตุลา 2519 จึงยังปิ ดฉากไม่ลง

ความสู ญเสี ยอันดับแรกไม่ใช่การเมืองฝ่ ายใด แต่คือชีวติ ที่มีชื่อ มีสกุล มีพอ่ แม่ มีวนั เกิด และน่าจะมี
อนาคตการราลึกถึงอดีตที่เจ็บปวดคือร่ วมรู ้สึกกับความสู ญเสี ยของคนตัวเล็ก ๆ จานวนมากที่เผชิญทุกข์
นานหลายปี ตามลาพัง โดยไม่มีความสาเร็ จนามธรรมใด ๆ มาปลอบประโลม

จิตใจของเราและศีลธรรมของสังคมอาจดีข้ ึนมาบ้าง หากเราท่านทุกคนอาศัยโอกาสการราลึก 6 ตุลา


2519 เพื่อคิดและรู้สึกถึงชีวติ และเลือดเนื้ อเหล่านี้ ผูม้ ีอานาจใช้ความรุ นแรงควรราลึกถึงชีวติ เลือดเนื้ อให้
มากสักหน่อย จิตใจจึงอาจได้รับการขัดเกลาและไม่คิดจะใช้อานาจที่มีอยูง่ ่าย ๆ

กับความใฝ่ ฝัน
เมื่อ 20 ปี ก่อน ชีวติ ที่สูญเสี ยเหล่านั้นถูกหาว่าเป็ นศัตรู ของ ชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ เป็ นญวนพูดไทย
ไม่ได้ เป็ นอาชญากร เป็ นผูก้ ่อการจลาจล ผูก้ ่อการร้าย

เคยคิดย้อนศรคากล่าวหาเมื่อ 20 ปี ก่อนเหล่านั้นไหมว่าชี วติ เยาวชนที่มีความใฝ่ ฝันเป็ นสมบัติล้ าค่าของ


สังคม

ความใฝ่ ฝันเมื่อ 20 ปี ก่อนถูกตราหน้าว่าเป็ นอันตราย สังคมนิยมถูกตราหน้าว่าเป็ นศัตรู ของชาติที่ตอ้ ง


กาจัด แม้ฆ่าพวกที่คิดแบบนี้ตายก็ไม่บาป

6 ตุลา 2519 คือการกาจัดทั้งสังคมนิยมคอมมิวนิสต์และสังหารชีวติ ที่มีความใฝ่ ฝัน

รัฐอาจกล่าวหานักศึกษาในขณะนั้นว่าถูกชักจูงให้หลงผิด หรื อวันนี้ อาจมีผเู ้ คียดแค้น พคท. ว่านาพา


นักศึกษาไปสู่ หายนะ ทั้ง ๆ ที่เยาวชนในวัยขนาดนั้นยังไม่มีวฒุ ิภาวะเพียงพอ ในทานองเดียวกัน
สังคมไทยก็ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะในเรื่ องของการจัดการกับความใฝ่ ฝันของเยาวชน รากฐานทางภูมิปัญญา
ของสังคมเราไม่เข้มแข็งพอที่จะทาให้การตกลงปลงใจยอมรับอุดมการณ์ความเชื่อชุดหนึ่ง ๆ หรื อการ
ต่อสู ้ปฏิเสธความคิดชุดนั้นผ่านกระบวนการวิพากษ์วจิ ารณ์อย่างเข้มงวดหนักหน่วงแต่สันติ รัฐจึงอาศัย
การปราบปรามด้วยอาวุธ คิดจะสังหารนักศึกษาถึง 2-3 %
สิ่ งที่ปฏิเสธไม่ได้คือ เยาวชนเหล่านั้นมีชีวติ มีความคิด กล้ามีความฝัน กล้าลงแรงสร้างอนาคตตาม
สานึก ประสบการณ์ และวุฒิภาวะของตน กระทัง่ ตระหนักว่าตนกาลังท้าทายอานาจก็ยงั กล้าเดินหน้า
ตามความเชื่ อของตน ความเชื่อของเขาอาจไร้เดียงสาจริ ง รัฐอาจดูเบาที่กล่าวหาว่าพวกเขาถูกจูงจมูก
แต่คงปฏิเสธไม่ได้วา่ ชีวติ เหล่านั้นเชื่ออย่างนั้นและกล้าฝันอย่างนั้นจริ ง ๆ

6 ตุลา 2519 ปราบทั้งคอมมิวนิสต์และปราบชีวิตที่กล้าฝัน

ราลึก 6 ตุลา 2519 จึงไม่ใช่แค่เรื่ องของความอัปลักษณ์ ความสู ญเสี ยอีกด้านของชีวิตที่สูญเสี ยไปคือ


ความใฝ่ ฝันอันมีพลัง สดชื่น เพื่อคนยากไร้ เพื่อผูเ้ สี ยเปรี ยบ เพื่อ “คนส่ วนใหญ่”

ความเจ็บปวดของอดีตได้ทาลายด้านนี้ของหลาย ๆ ชีวติ ที่ยงั อยูร่ อดมาจนทุกวันนี้ลงไป ทุกข์ซ้ าสองโดย


พคท. ทาให้หลายคนบรรลุนิติภาวะทางการเมืองเสี ยยิง่ กว่าการกราศึกสงคราม จนทาให้หลายคนเข็ด
ขยาดไม่กล้ามีความใฝ่ ฝันใด ๆ ง่าย ๆ อีก หรื อเลิกฝันอย่างเด็ดขาด ซ้ ายังอาจดูแคลนผูย้ งั มีความใฝ่ ฝันว่า
อ่อนด้อยประสบการณ์ หลายคนพลิกชีวติ ของตนไปในทางตรงข้ามคือไม่มีอดีต ไม่มีความฝันถึง
อนาคต หลายคนดาเนินชีวิตที่แห้ง ๆ วันแล้ววันเล่า ไม่กล้าฝัน

นักศึกษาคนหนึ่งของผูเ้ ขียนกลับเห็นว่า สิ่ งที่ควรราลึกเกี่ยวกับ 6 ตุลา 2519 คือชีวิตที่มีความหวังความ


ใฝ่ ฝัน ซึ่ งได้ถูกทาลายลงไปในเช้าวันพุธนั้นและถูกทาลายซ้ าสองโดยตัวแทนของความใฝ่ ฝันนั้นเอง

สังคมไทยหมกมุ่นกับการกอบโกย บริ โภค เงิน กาไร และช่องทางเอาเปรี ยบคนอื่น ส่ วนหนึ่งก็เพราะ


ความอ่อนแอของพลังอุดมคติ พลังของจินตนาการและความใฝ่ ฝัน เพราะพลังเหล่านี้ถูกทาลายตลอดมา
ประวัติศาสตร์ ไทย สังคมไทย หวาดระแวงความฝันและจินตนาการเกินไป

เขาเสนอให้อนุสรณ์ 6 ตุลา 2519 เป็ นพิพิธภัณฑ์ของความใฝ่ ฝันในสังคมไทย นับจากเทียนวรรณ ปรี ดี


พนมยงค์ ป๋ วย อึ้งภากรณ์ และรวมถึงนักคิดนักฝันของขบวนการสังคมนิยมไทยทั้งหลาย

6 ตุลาคม 2519 มีความหมายมากมายให้เราคิดคานึง ทุกคนมีสิทธิราลึกถึง 20 ปี ก่อนเพื่อแสวงหาคุณ


ค่าที่ดีต่อชี วติ ของตน เราพินิจอดีตมิใช่เพื่อจมอยูก่ บั อดีตแต่เพื่อเรี ยกความเข้มแข็งสดชื่นเรี ยกชีวิตที่มี
เกียรติและความใฝ่ ฝันกลับคืนมาอีกครั้ง

You might also like