Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 75

“พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม

การทรมานและการกระทาให้บุคคล
สูญหาย พ.ศ. 2565”
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
กระทรวงยุติธรรม
วันที่ 8 มิ.ย.65 ที่ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง
กรณี ผกก.โจ้ ร่วมกับพวกใช้ถุงดาคลุมศีรษะนายจิระพงษ์ฯ ผู้ต้องหาคดียาเสพติดถึงแก่ความตาย ในฐานความผิด 4 ข้อหา

1) เป็นเจ้าพนักงานร่วมกันปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติ
หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต
2) เป็นเจ้าพนักงานของรัฐร่วมกันปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในตาแหน่งหรือหน้าที่หรือใช้อานาจในตาแหน่ง
หรือหน้าที่โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต,
3) ร่วมกันฆ่าผู้อื่นโดยทรมานหรือโดยกระทาทารุณโหดร้าย และ
4) ร่วมกันตั้งแต่ห้าคนขึ้นไปข่มขืนใจผู้อนื่ ให้กระทาการใด ไม่กระทาการใด หรือจายอมต่อสิ่งใดโดยทาให้กลัวว่าจะเกิด
อันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของผู้ถูกข่มขืนใจนั้นเองหรือของผู้อื่น หรือโดยใช้กาลัง
ประทุษร้ายจนผู้ถูกข่มขืนใจต้องกระทาการนั้น ไม่กระทาการนั้นหรือจายอมต่อสิ่งนั้น
สาระสาคัญของพระราชบัญญัติ
ป้องกันและปราบปรามการทรมานและ
การกระทาให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565
ประกอบด้วย 5 หมวด 1 บทเฉพาะกาล รวม 43 มาตรา

อารัมภบท กาหนดชื่อร่าง พ.ร.บ.ฯ / วันที่มีผลบังคับใช้ / นิยามคาว่า ผู้เสียหาย เจ้าหน้าที่ของรัฐ


คณะกรรมการ และการควบคุมตัว / รวมทั้งกาหนดให้ รมว. ยธ. เป็นผู้รักษาการตาม พ.ร.บ.ฯ

หมวด 1 บททั่ ว ไป ก าหนดฐานความผิ ด “กระท าทรมาน” “กระท าการที่ โ หดร้ า ย


ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ” และ “กระทาให้บุคคลสูญหาย” / กาหนดห้าม
ทรมาน กระทาการที่โหดร้ายฯ และกระทาให้บุคคลสูญหาย ในทุกสถานการณ์ / ห้ามผลักดันบุคคล
กลับไปเผชิญอันตราย / กาหนดให้สามารถส่งผู้ร้ายข้ามแดนได้ / กาหนดให้ญาติหรือบุคคลใกล้ชิด
เป็นผู้เสียหายด้วย / รวมทั้งกาหนดให้สืบสวนจนกว่าจะพบบุคคลสูญหายและทราบพฤติการณ์และ
บุคคลที่กระทาความผิด
หมวด 2 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระท าให้ บุคคลสู ญหาย
จั ดตั้ ง คกก. ซึ่ งมี รมว. ยธ. เป็ นประธาน และมี ผู้ แทนหน่ วยงานที่ เ กี่ ยวข้ อง พร้ อมด้ วยกรรมการ
ด้านสิทธิมนุษยชน กฎหมาย นิติวิทยาศาสตร์ แพทย์นิติเวช แพทย์จิตเวช ร่วมเป็นกรรมการ / อานาจหน้าที่
คกก. / กคส. เป็นฝ่ายเลขานุการ

หมวด 3 การป้ องกั นการทรมานและการกระท าให้ บุ คคลสู ญหาย ก าหนดให้ ทุ กหน่ วยงาน
ต้ องบั นทึ กภาพและเสี ยงอย่ างต่ อเนื่ องในขณะจั บกุ มและควบคุ มตั ว / จั ดท าบั นทึ กข้ อมู ลเกี่ ยวกั บ
ผู้ถูกควบคุมตัว / กาหนดหลักเกณฑ์ในการเปิดเผยข้อมูลของผู้ถูกจากัดเสรีภาพ / กาหนดให้มีมาตรการ
ระงับการกระทาความผิดและเยียวยาความเสียหายเบื้องต้น / กาหนดมาตรการในการดาเนินการกรณีมีการ
เสียชีวิตระหว่างควบคุมตัว / กาหนดมาตรการคุ้มครองผู้แจ้งข้อมูลที่กระทาการโดยสุจริต
หมวด 4 การดาเนินคดี กาหนดให้หลายหน่วยงานสามารถดาเนินคดีได้ / กาหนดให้มีการรายงาน
ความคืบหน้าของคดีอย่างต่อเนื่อง / กาหนดให้อายุความของความผิดอุ้มหายยังไม่เริ่มนับจนกว่าจะทราบ
ชะตากรรมของผู้เสียหาย / กาหนดให้แจ้งสิทธิในการเรียกค่าสินไหมทดแทนและสิทธิที่จะได้รับความ
ช่วยเหลือทางกฎหมาย / กาหนดให้ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบเป็นศาลที่มีเขตอานาจทุกกรณี
รวมถึงคดีที่ทหารเป็นผู้กระทาความผิด
หมวด 5 บทก าหนดโทษ ก าหนดระวางโทษความผิ ดฐานกระท าทรมาน กระท าที่ โ หดร้ า ย
ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และกระทาให้บุคคลสูญหาย / เหตุเพิ่มโทษและเหตุ
บรรเทาโทษ / ความผิดฐานสมคบ / ความผิดฐานสนับสนุน / รวมทั้งกาหนดโทษแก่ผู้บังคับบัญชาที่ทราบ
ถึงการกระทาความผิดของผู้ใต้บังคับบัญชาแล้วไม่ดาเนินการป้องกันหรือระงับการกระทาความผิดนั้น
บทเฉพาะกาล ก าหนดให้ การกระท าให้ บุ คคลสู ญหายก่ อนวั นที่ กฎหมายมี ผลบั งคั บใช้ ได้ รั บ
การสืบสวนบุคคลจนกว่าจะพบ ทราบพฤติการณ์การกระทาความผิด และผู้กระทาความผิด
คานิยามที่สาคัญ
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้ “ผู้เสียหาย”
“ผู้เสียหาย” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับ
ความเสียหายแก่ชีวิต ร่างกาย หรือจิตใจ 1) ผู้ถูกกระทา/ผู้เสียหายที่แท้จริง
จากการทรมาน การกระทาที่โหดร้าย 2) สามี ภริยา
ไร้มนุษยธรรม หรือย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 3) ผู้บุพการี
หรือการกระทาให้บุคคลสูญหาย 4) ผู้สืบสันดาน
และให้หมายความรวมถึงสามี ภริยา ผู้บุพการี 5) ผู้ซึ่งอยู่กินกันฉันสามีภริยาซึ่งมิได้
ผู้สืบสันดาน ผู้ซึ่งอยู่กินกันฉันสามีภริยา จดทะเบียนสมรส
ซึ่งมิได้จดทะเบียนสมรส ผู้อุปการะและ 6) ผู้อุปการะและผู้อยู่ในอุปการะ
ผู้อยู่ในอุปการะของผู้ถูกกระทาให้สูญหาย *มาตรา 11 : เป็นผู้เสียหายตามป.วิ.อ. ด้วย*
คานิยามที่สาคัญ (ต่อ)
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้ “เจ้าหน้าที่ของรัฐ”
1) ข้าราชการ พนักงานราชการ
“เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า ลูกจ้างประจา ทุกระดับ ทุกตาแหน่ง
บุคคลซึ่งใช้อานาจรัฐหรือได้รับมอบอานาจ 2) บุคคลธรรมดาที่ใช้อานาจรัฐหรือ
หรือได้รับการแต่งตั้ง อนุญาต สนับสนุน ได้รับมอบอานาจ หรือได้รับการแต่งตั้ง
หรือยอมรับโดยตรงหรือโดยปริยาย อนุญาต สนับสนุน หรือยอมรับโดยตรง
จากผู้มีอานาจรัฐให้ดาเนินการตามกฎหมาย หรือโดยปริยาย จากผู้มีอานาจรัฐ
ให้ดาเนินการตามกฎหมาย
คานิยามที่สาคัญ (ต่อ)
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้ “การควบคุมตัว”
1) จับ
“ควบคุมตัว” หมายความว่า การจับ คุมตัว 2) คุมตัว
ขัง กักตัว กักขัง หรือกระทาด้วยประการ 3) ขัง
อื่นใดในทานองเดียวกันอันเป็นการจากัด 4) กักตัว
เสรีภาพในร่างกายของบุคคล 5) กักขัง
6) กระทาด้วยประการอื่นใดที่เป็นการจากัด
เสรีภาพ
หมวด 1
บททั่วไป
ความผิดฐานกระทาการทรมาน
มาตรา 5
ผู้ใดเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาด้วยประการใดให้ผู้อื่นเกิดความเจ็บปวดหรือความทุกข์
ทรมานอย่างร้ายแรงแก่ร่างกายหรือจิตใจ เพื่อวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(1) ให้ได้มาซึ่งข้อมูลหรือคารับสารภาพจากผู้ถูกกระทาหรือบุคคลที่สาม
(2) ลงโทษผู้ถูกกระทาเพราะเหตุอันเกิดจากการกระทาหรือสงสัยว่ากระทาของผู้นั้นหรือ
บุคคลที่สาม
(3) ข่มขู่หรือขู่เข็ญผู้ถูกกระทาหรือบุคคลที่สาม
(4) เลือกปฏิบัติไม่ว่ารูปแบบใด
ผู้นั้นกระทาความผิดฐานกระทาทรมาน
ความผิดฐานกระทาการทรมาน (ต่อ)
1) ผู้กระทา : เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือบุคคลอื่นที่ใช้อานาจรัฐ
2) การกระทา : การกระทาด้วยประการใดๆต่อผู้อื่น
3) วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือรับสารภาพ/ ลงโทษ/ ข่มขู/่ เลือกปฏิบัติ
4) ผล : ทาให้เกิดความเจ็บปวดหรือทุกข์ทรมานอย่างร้ายแรงแก่ร่างกายหรือจิตใจ
*ต้องพิจารณาเป็นรายกรณีว่ากระทากับบุคคลใด เพศ อายุ ความเจ็บป่วย ความรุนแรง
ระยะเวลาที่ถูกกระทา ความเชื่อ ศาสนา และสภาวะแวดล้อมอื่นๆประกอบด้วย*

ตัวอย่าง การคลุมถุงดาศรีษะ การใช้ไฟฟ้าช็อต การขังห้องเย็น


Palestinian hanging :
การแขวนแขนละทิ้งตัวลงมา

Water boarding : การทาให้รู้สึกเหมือนจมน้า


ความผิดฐานกระทาการที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม
หรือย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
มาตรา 6
ผู้ใดเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐลงโทษหรือกระทาด้วยประการใดที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม
หรือย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ อันเป็นเหตุให้ผู้อื่นถูกลดทอนคุณค่าหรือละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐาน
ความเป็นมนุษย์ หรือเกิดความเจ็บปวดหรือความทุกข์ทรมานแก่ร่างกายหรือจิตใจที่มิใช่การกระทา
ความผิดตามมาตรา 6 ผู้นั้นกระทาความผิดฐานกระทาการที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ายี
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
การกระทาตามวรรคหนึ่ง ไม่รวมถึงอันตรายอันเป็นผลปกติหรือสืบเนื่องจากการลงโทษ
ทั้งปวงที่ชอบด้วยกฎหมาย
ความผิดฐานกระทาการที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม
หรือย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (ต่อ)
1) ผู้กระทา : เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือบุคคลอื่นที่ใช้อานาจรัฐ
2) การกระทา : การกระทาด้วยประการใดๆที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ายีศักดิ์ศรี
ความเป็นมนุษย์ต่อผู้อื่น
3) ผล : 3.1 ทาให้ผู้อื่นถูกลดทอนคุณค่าหรือละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานความเป็นมนุษย์ หรือ
3.2 เกิดความเจ็บปวดหรือทุกข์ทรมานแก่ร่างกายหรือจิตใจที่ไม่ใช่การกระทาทรมาน
*ไม่รวมถึงอันตรายที่เป็นผลปกติหรือสืบเนื่องมาจากการลงโทษทั้งปวงที่ชอบด้วยกฎหมาย*

ตัวอย่าง ถูกใส่สายจูงสุนัขและบังคับให้ทาท่าเป็นสุนัข การบังคับให้มุสลิมกินหมู


ตัวอย่างของการกระทา: ศาลต่างประเทศ
การกระทาทรมาน การกระทาที่โหดร้าย
1. Palestinian hanging: จับเปลือย เอาแขนมาด้านหลัง 1. Wall-standing: ยืนกางแขน โดยมีนิ้วมือเท่านั้นที่สัมผัส
ใช้เชือกมัดเข้าไว้ด้วยกันที่ข้อมือ และห้อยลงมาจาก กาแพง กางขา ยืนเขย่งบนปลายนิว้ เท้าต่อเนือ่ ง
เพดาก ให้ข้อต่อไหล่รับน้าหนักตัว และใช้เชือกห้อยตัว เป็นเวลาหลายชั่วโมง (23-29 ชั่วโมง แต่มีช่วงหยุดพักบ้าง)
ลงมาต่อเนื่องกว่า 35 นาที จนแขนเป็นอัมพฤกษ์ ให้น้าหนักตัวลงบนนิ้ว
ชั่วคราว 2. Hooding: เอาถุงสีดา หรือน้าเงินเข้มคลุมศีรษะตลอด
2. การข่มขืนกระทาชาเรา ไม่ว่าจะมีการทาร้ายร่างกายใน การสอบปากคา (อ้างว่าเพื่อไม่ให้รู้ตัวผู้สอบสวน)
รูปแบบร่วมด้วยหรือไม่ 3. การบังคับให้อดนอน 2 วันกับ 19 ชั่วโมง หรือการให้นอน
3. บังคับให้อดนอนต่อเนื่อง 8 วัน และข่มขู่ว่าจะฆ่า ข่มขืน ไม่เกินครั้งละ 2 ชั่วโมง ติดต่อกันตลอดเวลาการเดินทาง
ทรมาน ฆ่าลูกชาย และพ่อแม่ เป็นเวลา 65 ชั่วโมง (ถ้าให้นอนเกินวันละ 6 ชั่วโมง ไม่เป็น
CIDT)
การกระทาทรมาน การกระทาที่โหดร้าย
4. การทุบตีหลายครั้งที่ใบหน้า ไหล่ หลัง และขา และ 4. ระหว่างรอการสอบสวน ให้ผู้ต้องขังอยู่ในห้องที่มีเสียงดังต่อเนื่อง
ใช้ไฟฟ้าที่ต่อกับไดนาโมช็อตที่นิ้วมือ ไม่ว่าจะเกิดผล เป็นเวลานาน (อ้างว่าเพื่อไม่ให้ผู้ต้องขังปรึกษาหารือกัน)
ระยะยาวหรือไม่ 5. ให้กินเพียงขนมปัง 1 ชิ้น และ น้า 1แก้วต่อ 6 ชั่วโมง
5. ทุบตีหลายครั้ง มัดมือ และบังคับไม่ให้นอนเป็นเวลา 6. การข่มขู่ว่าจะทาร้าย ข่มขู่ว่าจะทรมาน ข่มขู่ว่าจะยากล่อม
หลายวัน ว่าจะเกิดรอยแผลหรือไม่ แต่ถือเป็น ประสาท (เว้นแต่การขู่ว่าจะฆ่าหรือข่มขืน)
การทาอันตรายต่อจิตใจ (mental integrity) 7. เผาทาลายบ้านและทรัพย์สนิ และบังคับให้ออกจากหมู่บ้าน
6. ทุบตีหลายครั้ง, บังคับให้เปลือยกาย, เอาอุปกรณ์สวน
ทวาร, ล่ามตรวน, เอาผ้าคลุมศีรษะ, ปิดตา, และ
ฉีดยากล่อมประสาท
7. บังคับให้นักโทษที่อดอาหารประท้วงกินข้าว
ด้วยการมัดมือ ใช้อุปกรณ์ง้างปาก และเอาท่อต่อเข้า
ไปในคอเพื่อใส่อาหารเข้าไป โดยยังไม่มีความจาเป็น
ทางการแพทย์บ่งชี้ ถ้าขัดขืนก็ทุบตี
การกระทาทรมาน การกระทาที่โหดร้าย
8. ทุบตีจนตาย 8. ญาติพี่น้องถูกตารวจฆ่าตายตัดตอนต่อหน้า และถูกบังคับให้นอนลงกับพื้น
ไม่เช่นนั้นถูกยิงด้วย
9. ถูกทุบตีด้วยไม้กระบอง จนต้องเข้ารักษา
ที่โรงพยาบาล ทางานไม่ได้ 40 วัน แขนและ 9. ทหารเกณฑ์ที่มีปัญหาสุขภาพ (กระดูกสันหลังมีปัญหาจากการฝึก) ถูก
ขาข้างขวาอ่อนแรงตลอดชีวิต ลงโทษด้วยโดยลุกนั่ง (งอเข่า) กลางแจ้ง 350 ครั้งจนล้มลงไปและยืนไม่ได้
10. การหวดฟาดฝ่าเท้าจนแตก (falaka) 10. เกณฑ์คนอายุ 71 ปีมาฝึก โดยฝึกเช่นเดียวกับคนหนุ่มจนต้องเข้า
โรงพยาบาลหลังจากฝึกไปได้ 1 เดือน
11. ถูกขังระหว่างรอโทษประหารชีวิตเป็นเวลา
8 ปี โดยเป็นการขังเดี่ยวห้ามติดต่อกับ 11. ถูกขังระหว่างรอโทษประหารชีวิตในสภาพเรือนจาที่ไม่ดี (ใช้กระป๋องเพื่อ
นักโทษคนอื่นหรือบุคคลภายนอก ขับถ่ายแทนโถส้วม, ห้องขังเก่าทรุดโทรมไม่สะอาด, ไม่มีแสงธรรมชาติ, ขัง
ไม่มีเครื่องทาความร้อน ไม่มีแสงธรรมชาติ เดี่ยวเกิน
ไม่มีช่องระบายอากาศ ได้อาบน้าหลายเดือน 23 ชั่วโมงต่อวัน ได้ไปนอกห้องขังเฉพาะตอนไปเอาหนังสือที่ห้องสมุดวันละ
ไม่ได้พบแพทย์ อาหารผิดหลักโภชนาการ ไม่กี่นาที, ไปสวดภาวนา 2 ครั้งต่อปี, ห้ามเจอผู้ต้องขังคนอื่น
ถ้าทาผิดจะถูกลงโทษงดอาหาร 12. ทาหมันให้หลังคลอดโดยเจ้าตัวไม่ได้ยินยอม เพราะแพทย์กลัวว่าถ้าท้องอีก
จะเกิดอันตราย
สรุปความแตกต่างระหว่าง
การกระทาทรมาน VS. การกระทาที่โหดร้าย

การกระทาทรมาน การกระทาที่โหดร้าย

• เจตนาพิเศษ : เพื่อข้อมูลหรือ • ไม่มีเจตนาพิเศษ


คารับสารภาพ/ลงโทษ/ข่มขู่/
เลือกปฏิบัติ
• ผลร้ายแรง ต่อร่างกาย/จิตใจ • ไม่ต้องมีผลร้ายแรง
ความผิดฐานกระทาให้บุคคลสูญหาย

มาตรา 7
ผู้ใดเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐควบคุมตัว หรือลักพาบุคคลใด โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิเสธว่ามิได้
กระทาการดังกล่าว หรือปกปิดชะตากรรมหรือสถานที่ปรากฏตัวของบุคคลนั้นซึ่งส่งผลให้บุคคลนั้น
ไม่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย ผู้นั้นกระทาความผิดฐานกระทาให้บุคคลสูญหาย
การกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งให้ถือเป็นความผิดต่อเนื่องจนกว่าจะทราบชะตากรรม
ของบุคคลนั้น
ความผิดฐานกระทาให้บุคคลสูญหาย (ต่อ)
1) ผู้กระทา : เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือบุคคลอื่นที่ใช้อานาจรัฐ
2) การกระทา : 2.1 ควบคุมตัวหรือลักพาบุคคล และ
2.2 เจ้าหน้าที่ปฏิเสธว่าไม่ได้ควบคุมตัว
หรือลักพาบุคคล หรือ ปกปิดชะตากรรม หรือ
ปกปิดสถานที่ปรากฏตัวของบุคคลนั้น
3) ผล : ทาให้บุคคลนั้นไม่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
ตัวอย่าง การอุ้มหายนักปกป้องสิทธิมนุษยชน
การสืบสวนคดีอุ้มหาย
มาตรา 10
ในคดีความผิดฐานกระทาให้บุคคลสูญหายตามมาตรา 7 ให้ดาเนินการ
สืบสวนจนกว่าจะพบบุคคลซึ่งถูกกระทาให้สูญหายหรือปรากฏหลักฐานอันน่าเชื่อ
ว่าบุคคลนั้นถึงแก่ความตายและทราบรายละเอียดของการกระทาความผิดและรู้ตัว
ผู้กระทาความผิด
ห้ามกระทาทรมาน กระทาที่โหดร้ายฯ และอุ้มหายทุกสถานการณ์

มาตรา 12
พฤติการณ์พิเศษใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาวะสงครามหรือภัยคุกคามที่จะเกิดสงคราม
ความไม่มั่นคงทางการเมืองภายในประเทศ หรือสถานการณ์ฉุกเฉินสาธารณะอื่นใด
ไม่อาจนามาอ้างเพื่อการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เป็นการกระทา
ที่ชอบด้วยกฎหมาย
ห้ามผลักดันกลับ
มาตรา 13
ห้ามมิให้หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐขับไล่ ส่งกลับ หรือส่งผู้ร้าย
ข้ามแดนไปยังอีกรัฐหนึ่ง หากมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าบุคคลนั้น จะไปตกอยู่ในอันตราย
ที่จะถูกกระทาทรมาน ถูกกระทาการที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ายีศักดิ์ศรีความเป็น
มนุษญ์ หรือถูกกระทาให้สูญหาย
หมวด 2
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทรมาน
และการกระทาให้บุคคลสูญหาย
มาตรา 14 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทรมานและ
การกระทาให้บุคคลสูญหาย” ประกอบด้วย
(1) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานกรรมการ
(2) ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นรองประธานกรรมการ
(3) กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ปลัดกระทรวงมหาดไทย
อัยการสูงสุด ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ นายกสภาทนายความ และประธานสภาการสื่อมวลชน
แห่งชาติ
(4) กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจานวนหกคน ดังต่อไปนี้
(ก) ผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์เป็นที่ประจักษ์ในด้านสิทธิมนุษยชนจานวนสองคน
ด้านกฎหมาย และด้านนิติวิทยาศาสตร์ ด้านละหนึ่งคน
(ข) แพทย์ทางนิติเวชศาสตร์จานวนหนึ่งคน และแพทย์ทางจิตเวชศาสตร์จานวนหนึ่งคน
ให้อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
แต่งตั้งข้าราชการของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพจานวนไม่เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทรมาน
17 คน
และการกระทาให้บุคคลสูญหาย (ต่อ)
ประธาน : รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รองประธาน : ปลัดกระทรวงยุติธรรม

กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ กรรมการ ครม. แต่งตั้ง ได้แก่


ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้เชี่ยวชาญ
ปลัดกระทรวงมหาดไทย • ด้านสิทธิมนุษยชน 2 คน
ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ • ด้านกฎหมาย 1 คน
อัยการสูงสุด • ด้านนิติวิทยาศาสตร์ 1 คน
ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ แพทย์
อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ • นิติเวชศาสตร์ 1 คน
อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ(เลขานุการ) • จิตเวชศาสตร์ 1 คน
นายกสภาทนายความ
ประธานสภาการสื่อมวลชนแห่งชาติ
หน้าที่และอานาจคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ
มาตรา 19 คณะกรรมการมีหน้าที่และอานาจ ดังต่อไปนี้
(1) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีหรือหน่วยงานของรัฐให้มีการปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบ หรือ
มาตรการอื่นที่จาเป็นตามพระราชบัญญัตินี้
(2) กาหนดนโยบาย แผนงาน และมาตรการเพื่อป้องกันและปราบปรามการทรมานการกระทาหรือ
การลงโทษที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และการกระทาให้บุคคลสูญหาย
(3) กาหนดนโยบายและมาตรการฟื้นฟูและเยียวยาด้านร่างกายและจิตใจแก่ผู้เสียหาย
อย่างครอบคลุม โดยคานึงถึงการทาให้กลับสู่สภาพเดิมเท่าที่จะเป็นไปได้
(4) กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการช่วยเหลือและเยียวยาผู้เสียหายด้านการเงินและจิตใจรวมถึงการฟื้นฟู
ระยะยาวทางการแพทย์ให้แก่ผู้เสียหาย โดยได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง
(5) กาหนดมาตรการป้องกันการกระทาความผิดซ้าและการปกปิดการควบคุมตัวบุคคลรวมทั้ง
มาตรการคุ้มครองผู้แจ้งข้อมูลการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้
(6) ตรวจสอบข้อมูลและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการทรมาน การกระทาที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรมหรือ
ย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ หรือการกระทาให้บุคคลสูญหายตามพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้ง
รับและติดตามตรวจสอบข้อร้องเรียน
(7) พิจารณารายงานสถานการณ์เกี่ยวกับการทรมาน การกระทาที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรมหรือ
ย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และการกระทาให้บุคคลสูญหาย และรายงานผลการดาเนินการ
ประจาปีเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และเผยแพร่ให้
ประชาชนทราบเป็นการทั่วไป
(8) แต่งตั้งที่ปรึกษาหรืออนุกรรมการเพื่อปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
(9) วางระเบียบหรือประกาศเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งค่าใช้จ่ายอื่น โดยได้รับ
ความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง
(10) วางระเบียบอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
หน้าที่และอานาจคณะกรรมการฯ นอกจากมาตรา 19

● มาตรา 23 (7) กาหนดข้อมูลอืน่ ๆ ในบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับผูถ้ ูกควบคุมตัว


● มาตรา 24 ร้องขอให้เจ้าหน้าที่เปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับผู้ถูกควบคุมตัวตาม ม.23
● มาตรา 26 ยื่นคาร้องต่อศาลเพื่อยุติการกระทาความผิดและเยียวยาความเสียหายเบื้องต้น
● มาตรา 28 เข้าไปมีส่วนร่วมในการติดตามตรวจสอบกรณีผู้ถูกควบคุมตัวถึงแก่ความตาย
● มาตรา 29 รับแจ้งเหตุการกระทาความผิด
● มาตรา 32 ติดตามความคืบหน้าของคดี และดาเนินมาตรการต่างๆ เพื่อให้ความช่วยเหลือ
ทางกฎหมาย คุ้มครองและเยียวยาผู้เสียหาย
หน้าที่และอานาจของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
มาตรา 21 ให้กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพรับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการและให้มีหน้าที่และอานาจ ดังต่อไปนี้
(1) ประสานงานและร่วมมือกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องในการสืบหา ติดตาม
และช่วยเหลือผู้เสียหาย
(2) สนับสนุนให้ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการป้องกันและ
ปราบปรามการทรมาน การกระทาหรือการลงโทษที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
และการกระทาให้บุคคลสูญหาย
(3) ศึกษา วิจัย และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการทรมาน การกระทาหรือการลงโทษที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม
หรือย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และการกระทาให้บุคคลสูญหาย รวมทั้งให้ความรู้และฝึกอบรมแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่
ของรัฐ
(4) รวบรวมข้อมูล สถิติคดี และจัดทารายงานสถานการณ์เกี่ยวกับการทรมาน การกระทาที่โหดร้าย
ไร้มนุษยธรรม หรือย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และการกระทาให้บุคคลสูญหายและรายงานผลการดาเนินงานประจาปี
พร้อมทั้งแนวทางการป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณา
(5) ปฏิบัติการอื่นตามที่คณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการมอบหมาย
หมวด 3
การป้องกันการทรมานและการกระทาให้บุคคลสูญหาย
การบันทึกภาพและเสียงอย่างต่อเนื่องขณะจับ
และมีอัยการและฝ่ายปกครองเข้าตรวจสอบ

มาตรา 22 ในการควบคุมตัว เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบต้องบันทึกภาพและเสียง


อย่างต่อเนื่องในขณะจับและควบคุมจนกระทั่งส่งตัวให้พนักงานสอบสวนหรือปล่อยตัวบุคคลดังกล่าวไป
เว้นแต่มีเหตุสุดวิสัยที่ไม่สามารถกระทาได้ ก็ให้บันทึกเหตุนั้นเป็นหลักฐานไว้ในบันทึกการควบคุมตัว
การควบคุมตัวตามวรรคหนึ่ง ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบแจ้งพนักงานอัยการและ
นายอาเภอในท้องที่ที่มีการควบคุมตัวโดยทันที สาหรับในกรุงเทพมหานครให้แจ้งพนักงานอัยการและ
ผู้อานวยการสานักการสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง หากผู้รับแจ้งเห็นว่ามีเหตุอันควรสงสัยว่า
จะมีการทรมาน การกระทาที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์หรือ
การกระทาให้บุคคลสูญหาย ให้ผู้รับแจ้งดาเนินการตามมาตรา 26 ต่อไป
แนวทางการบันทึกภาพและเสียงในขณะจับ
และควบคุม การแจ้งการควบคุมตัว และการบันทึกข้อมูล
เกี่ยวกับผู้ถูกควบคุมตัว ตาม พ.ร.บ. ทรมานฯ พ.ศ. 2565
19 พ.ค. 66
1 นิยามคาสาคัญ
สิ่งบันทึกภาพและเสียงให้เก็บไว้จนกว่า
คดีถูกจับกุมถึงทีส่ ุด หรือขาดอายุความ เว้นแต่
ให้บันทึกภาพและเสียงในขณะจับและควบคุมตัว
2
เว้นแต่ มีเหตุสุดวิสัยให้บันทึกไว้ใน ปท. 1 • กรณีผู้ถูกจับและควบคุม ให้การว่าไม่ถูกทรมาน
โหดร้าย หรืออุ้มหาย + ยินยอมให้ยกเลิก
การจัดเก็บ + ไม่มีการร้องทุกข์กล่าวโทษ :
ให้บันทึกภาพและเสียงดังนี้ ให้ยกเลิกการจัดเก็บเมื่อพ้น 1 ปี นับแต่วันที่ถูกจับ
• ใช้อุปกรณ์ที่รัฐจัดหาให้หากจาเป็นให้ใช้อุปกรณ์อื่น 5 และควบคุม
3 • ห้ามลดประสิทธิภาพการบันทึก
• หากเหตุสุดวิสัยสิ้นสุดลงให้ดาเนินการบันทึกทันที • กรณีคดีอยู่ในอานาจศาลแขวง + คดีถึงที่สุด
+ส่งมอบเป็นพยานหลักฐานแห่งคดีแล้ว
ให้ยกเลิกการจัดเก็บได้วิธีการยกเลิกการจัดเก็บ
ให้จัดเก็บสิ่งบันทึกภาพและเสียงไว้ที่หน่วยงาน ให้แต่ละหน่วยงานกาหนดเอง
4 ของตน และให้ออกแนวทางเรื่องการจัดเก็บ
และ จนท. ผู้จัดเก็บเอง
ให้แจ้งข้อมูล 8 ประการ แก่ พนักงานอัยการ
และฝ่ายปกครอง
ห้ามแก้ไขเปลี่ยนแปลง ตัดต่อ ลบ ทาลาย คัดลอก 1) ชื่อ สกุล เลข ID ที่อยู่
หรือเปิดเผยสิ่งบันทึกภาพและเสียง เว้นแต่ 2) วัน เวลา สถานที่ที่ทาการจับกุม
3) พฤติการณ์ในการจับและควบคุม
• คัดลอก เพื่อสืบสวนสอบสวน พิจารณาคดี 4) สถานที่ควบคุมบุคคลดังกล่าว
หรือเพื่อดาเนินการตามกฎหมายกาหนด 5) ภาพถ่ายผู้ถูกจับและควบคุม
6 และให้แต่ละหน่วยงานกาหนดแนวทางตาม 7 6) ชื่อ ตาแหน่ง โทรศัพท์ จนท. ผู้จับและควบคุม
กม. ข้อมูลข่าวสารของราชการ 7) เหตุสุดวิสัยที่ไม่สามารถบันทึกได้
8) ชื่อ ตาแหน่ง โทรศัพท์ จนท. ผู้แจ้ง
• เปิดเผย เผยแพร่ ส่งต่อ หรือส่งมอบ เพื่อ
• ศูนย์รับแจ้งต้องมีหลักฐานการรับแจ้งภายใน 24 ชม.
สืบสวนสอบสวน พิจารณาคดี เพื่อดาเนินการ
นับแต่ได้รับแจ้ง
ตาม กฎหมายกาหนด และให้แต่ละหน่วย
กาหนดแนวทางเอง • ให้แจ้งผ่านศูนย์รับแจ้ง/แจ้งผ่านระบบ
ARREST.DOPA.GO.TH
ให้จัดทาบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถูกควบคุมตัวตาม ม. 23 จนท. ที่มีอานาจยื่นคาร้องตาม ม. 26 อาจส่งเรื่องให้
และเก็บไว้ที่หน่วยงานตนเอง ตามแนวทาง 10
8 อัยการยื่นคาร้องต่อศาลได้
ที่แต่ละหน่วยงานกาหนด

ให้ สตช + สนง. อสส+ ปค. +DSI + กคส. บูรณาการ


11
ประสานงานร่วมกัน
ให้ผู้รับแจ้ง ตรวจสอบข้อเท็จจริงและเหตุผล
ความจาเป็นในการควบคุมตัว ตามแนวทาง
ที่แต่ละหน่วยกาหนดเท่าที่ไม่ขัดกับแนวทางนี้
9
หากพบเหตุอันควรสงสัย และจาเป็นต้องใช้ข้อมูล
ตาม ปท. 1 ให้จนท. ส่งสาเนา ปท.1 พร้อมรับรองสาเนา
ไปยังศูนย์รับแจ้ง และให้ผู้รับแจ้ง ดาเนินการ
ตาม ม. 26 ต่อไป
แนวทางการบันทึกภาพและเสียงฯ
บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถูกควบคุมตัว
มาตรา 23 ในการควบคุมตัว เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบต้องบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถกู ควบคุมตัวโดยอย่างน้อยต้องมี
รายละเอียด ดังต่อไปนี้
(1) ข้อมูลอัตลักษณ์เกี่ยวกับผู้ถูกควบคุมตัว เช่น ชื่อ นามสกุล หรือตาหนิรูปพรรณ
(2) วัน เวลา และสถานที่ของการถูกควบคุมตัว และข้อมูลเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ทาการควบคุมตัวในกรณีที่มีการย้าย
สถานที่ดังกล่าว จะต้องระบุถึงสถานที่ปลายทางที่รับตัวผู้ถูกควบคุมตัว รวมทั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบการย้ายนั้น
(3) คาสั่งที่ให้มีการควบคุมตัว และเหตุแห่งการออกคาสั่งนั้น
(4) เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ออกคาสั่งให้ควบคุมตัว
(5) วัน เวลา และสถานที่ของการปล่อยตัวผู้ถูกควบคุมตัว และผู้มารับตัวผู้ถูกควบคุมตัว
(6) ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพร่างกายและจิตใจของผูถ้ ูกควบคุมตัว ก่อนถูกควบคุมตัว และก่อนการปล่อยตัว
ในกรณีที่ผู้ถูกควบคุมตัวถึงแก่ความตายระหว่างการควบคุมตัว จะต้องระบุถึงสาเหตุแห่งการตายและสถานที่เก็บศพ
(7) ข้อมูลอื่น ๆ ที่คณะกรรมการกาหนดเพื่อป้องกันการทรมาน การกระทาที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม
หรือย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ หรือการกระทาให้บุคคลสูญหาย
บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถูกควบคุมตัว
ตาม ม. 23 (ปท. 1)
1 ข้อมูลอัตลักษณ์ผู้ถูกควบคุมตัว

2 วัน เวลา สถานที่ และจนท. ผู้ควบคุมตัว

3 คาสั่งและเหตุแห่งการออกคาสั่งควบคุมตัว

4 จนท. ผู้ออกคาสั่งควบคุมตัว

5
วัน เวลา สถานที่ปล่อยตัว ผู้มารับตัว /
ส่งมอบตัว

6
สภาพร่างกายและจิตใจของผู้ถูกควบคุมตัว
ที่มองเห็นด้วยตาเปล่า

7 ข้อมูลอื่น ๆ ที่ คกก. กาหนด


เหตุสุดวิสัยที่ไม่สามารถบันทึกภาพ
8
และเสียงได้

9 บันทึกอื่น ๆ เพิ่มเติม

แบบ ปท. 1
แนวทางการบันทึกภาพและเสียง
แนวทางการปฏิบัติตาม 1
การแจ้ง และการบันทึกข้อมูล

พ.ร.บ. ทรมานฯ 2 แบบฟอร์ม ปท. 1

ที่มา : มติของคณะกรรมการขับเคลื่อน 3 คู่มือการใช้ระบบรับแจ้ง


การดาเนินงานตามร่าง พ.ร.บ.ทรมานฯ
(คาสั่ง ยธ. ที่ 193/2565 ลงวันที่ 21 ก.ย. 65)
4 แบบฟอร์มขอรหัส admin

5 ศูนย์รับแจ้งของอัยการ

6 ศูนย์รับแจ้งของปกครอง

7 การแจ้งกรณีผู้ถูกควบคุมตัวถึงแก่ความตาย
สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถูกควบคุมตัว
มาตรา 24 เพื่อประโยชน์ของผู้ถูกควบคุมตัว ผู้มีส่วนได้เสียโดยชอบด้วยกฎหมาย
ในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ถูกควบคุมตัว เช่น ญาติ ผู้แทนหรือทนายความ หรือคณะกรรมการ
คณะอนุกรรมการ หรือเจ้าหน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ มีสิทธิร้องขอต่อเจ้าหน้าที่
ของรัฐผู้รับผิดชอบให้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถูกควบคุมตัวตามมาตรา 23
หากเจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิเสธที่จะเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถูกควบคุมตัว ผู้ร้องขอมีสิทธิ
ยื่นคาร้องต่อศาลที่ตนเองมีภูมิลาเนา ศาลอาญาหรือศาลจังหวัดแห่งท้องที่ที่เชื่อว่ามีการทรมาน
การกระทาที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ หรือพบเห็นผู้ถูกกระทาให้
สูญหายครั้งสุดท้าย แล้วแต่กรณี เพื่อให้ศาลสั่งเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวได้
ศาลมีอานาจสั่งให้เจ้าหน้าที่ของรัฐตามวรรคหนึ่งเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถูกควบคุมตัว
ตามมาตรา 23 ให้แก่ผู้ร้องขอได้ ในกรณีที่ศาลมีคาสั่งไม่เปิดเผยข้อมูล ผู้ร้องขออาจอุทธรณ์
ไปยังศาลอุทธรณ์ คาสั่งศาลอุทธรณ์ให้เป็นที่สุด
กรณีที่ไม่ต้องเปิดเผยข้อมูล

มาตรา 25 เจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบหรื อ ศาลอาจไม่ เ ปิ ด เผยข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ
1
ผู้ ถู ก ควบคุ ม ตั ว ตามมาตรา 23 หากผู้ นั้ น อยู่ ภ ายใต้ ก ารคุ้ ม ครองของกฎหมายโดยเป็ น
2
ผู้อยู่ในอานาจศาล และการเปิ ดเผยดัง กล่าวอาจละเมิดต่อ ความเป็น ส่ว นตัว หรือก่อ ให้ เ กิด
ผลร้ายต่อบุคคล หรือเป็นอุปสรรคต่อการสืบสวนสอบสวนคดีอาญา
ผู้มีสิทธิยื่นคาร้องต่อศาลเพื่อยุติการกระทาความผิด
มาตรา 26 เมื่อมีการอ้างว่าบุคคลใดถูกกระทาทรมาน ถูกกระทาการที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรมหรือ
ย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ หรือถูกกระทาให้สูญหาย บุคคลดังต่อไปนี้มีสิทธิยื่นคาร้องต่อศาลท้องที่ที่มีอานาจพิจารณา
คดีอาญาเพื่อให้มีคาสั่งยุติการกระทาเช่นนั้นทันที
(1) ผู้เสียหายหรือผู้มีส่วนได้เสียตามมาตรา 24
(2) พนักงานอัยการ
(3) ผู้อานวยการสานักการสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง หรือนายอาเภอตามมาตรา 22 หรือพนักงาน
ฝ่ายปกครองซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้อานวยการสานักการสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง หรือนายอาเภอ
(4) พนักงานสอบสวนหรือพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ
(5) คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือเจ้าหน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ
(6) บุคคลอื่นใดเพื่อประโยชน์ของผู้เสียหาย
เมื่อได้รับคาร้องตามวรรคหนึ่ง ให้ศาลไต่สวนฝ่ายเดียวโดยพลัน โดยให้ศาลมีอานาจเรียกเจ้าหน้าที่ของรัฐ
หรือบุคคลใดมาให้ถ้อยคาหรือให้ส่งเอกสารหรือวัตถุอนื่ ใดประกอบการไต่สวนหรือสั่งให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ
นาตัวผู้ถูกควบคุมตัวมาศาลด้วยก็ได้
การยุติการกระทาความผิดและเยียวยาความเสียหายเบื้องต้น

มาตรา 27 เพื่อประโยชน์ในการยุติการกระทาที่อ้างตามมาตรา 26 และเยียวยาความเสียหายเบื้องต้น


ศาลอาจมีคาสั่ง ดังต่อไปนี้
(1) ให้ยุตกิ ารทรมาน หรือการกระทาที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
(2) ให้เปลี่ยนสถานทีค่ วบคุมตัว
(3) ให้ผู้ถูกควบคุมตัวได้พบญาติ ทนายความ หรือบุคคลอื่นซึ่งไว้วางใจเป็นการส่วนตัว
(4) ให้มีการรักษาพยาบาล และการประเมินโดยแพทย์ทางนิติเวชศาสตร์ และแพทย์ทางจิตเวชศาสตร์ที่รับรอง
โดยแพทยสภา รวมทั้งให้มีการจัดทาบันทึกทางการแพทย์ ตลอดจนการฟื้นฟูร่างกายและจิตใจ
(5) ให้เปิดเผยเอกสารบันทึกหรือข้อมูลอื่นใด
(6) กาหนดมาตรการอื่นใดที่เหมาะสมเพื่อประโยชน์ในการยุติการทรมานการกระทาที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรมหรือ
ย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ หรือการกระทาให้บุคคลสูญหายหรือเยียวยาความเสียหายเบื้องต้นให้แก่ผู้เสียหาย
กรณีที่ศาลพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่มีเหตุจาเป็นในการควบคุมตัวต่อไป ให้ศาลสั่งปล่อยตัวผู้ถูกควบคุมตัวไปทันที
คาสั่งศาลตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นที่สุด
การแจ้งกรณีผู้ถูกควบคุมตัวถึงแก่ความตาย

มาตรา 28 ในกรณีที่ผู้ถูกควบคุมตัวถึงแก่ความตาย ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ


ผู้รับผิดชอบแจ้งคณะกรรมการทราบเพื่อให้มีส่วนร่วมในการติดตามตรวจสอบ
ข้อมูลและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการทรมานในระหว่างควบคุมตัวโดยพลัน
ผู้ใดพบเห็นหรือทราบให้แจ้ง และถ้าแจ้งโดยสุจริตไม่ต้องรับผิด

มาตรา 29 ผู้ใดพบเห็นหรือทราบการทรมาน การกระทาที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือ


ย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ หรือการกระทาให้บุคคลสูญหาย ให้แจ้งพนักงานฝ่ายปกครอง
พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน คณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการที่ได้รับมอบหมาย
โดยไม่ชักช้า
ผู้แจ้งตามวรรคหนึ่ง ถ้าได้กระทาโดยสุจริตไม่ต้องรับผิดทั้งทางแพ่ง ทางอาญา หรือทาง
วินัยแม้ภายหลังปรากฏว่าไม่มีการกระทาความผิดตามที่แจ้ง
หมวด 4
การดาเนินคดี
อายุความ

มาตรา 30 อายุความสาหรับความผิดตามมาตรา 7 มิให้เริ่มนับจนกว่า


จะทราบชะตากรรมของผู้ถูกกระทาให้สูญหาย
การดาเนินคดี
1
มาตรา 31 ในกรุงเทพมหานครและจังหวัดอื่นนอกจากพนักงานสอบสวนตามประมวล
2
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแล้ว ให้พนักงานฝ่ายปกครองชั้นผู้ใหญ่ พนักงานฝ่ายปกครองตาแหน่ง
3
ตั้งแต่ปลัดอาเภอหรือเที4 ยบเท่าขึ้นไปในสังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย พนักงานสอบสวน
คดีพิเศษ และพนักงานอัยการ เป็นพนักงานสอบสวนมีอานาจสอบสวนและรับผิดชอบตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และดาเนินคดีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้และความผิดอื่น
ที่เกี่ยวพันกัน
ในกรณีที่พนักงานสอบสวนคดีพิเศษทาการสอบสวนคดีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้คดีใด
ให้คดีนั้นเป็นคดีพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
กรณีการสอบสวนโดยหน่วยงานอื่นที่ไม่ใช่พนักงานอัยการ ให้พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ
แจ้งเหตุแห่งคดีให้พนักงานอัยการทราบ เพื่อเข้าตรวจสอบหรือกากับการสอบสวนทันที
ในกรณีไม่แน่ว่าพนักงานสอบสวนท้องที่ใดหรือหน่วยงานใด เป็นพนักงานสอบสวน
ผู้รับผิดชอบให้อัยการสูงสุดหรือผู้ทาการแทนเป็นผู้ชี้ขาด
ในกรณีที่ผู้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เป็นเจ้าพนักงานของรัฐตามกฎหมาย
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และอยู่ในหน้าที่และอานาจของ
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ให้พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบดาเนินคดี
ต่อไปตามพระราชบัญญัตินี้ และแจ้งให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ทราบ
รายงานความคืบหน้าของคดี และให้ความช่วยเหลือด้านต่างๆ

1
มาตรา 32 ให้หน่วยงานที่มีอานาจสืบสวนสอบสวนในคดีความผิดตาม
พระราชบัญญัตินี้ รายงานให้ผู้เสียหายทราบถึงผลความคืบหน้าของคดีอย่างต่อเนื่อง และ
2
ให้คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือเจ้าหน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ
มีหน้าที่และอานาจติดตามผลความคืบหน้าของคดีและดาเนินมาตรการต่าง ๆ เพื่อ
คุ้มครองสวัสดิภาพและความปลอดภัย ชดเชยเยียวยา และฟื้นฟูความเสียหายทางร่างกาย
และจิตใจ ให้คาปรึกษาแนะนาด้านกฎหมาย และสนับสนุน ช่วยเหลือด้านการดาเนินคดี
โดยการมีส่วนร่วมจากผู้เสียหาย
สิทธิในการเรียกค่าสินไหมทดแทนและ
ได้รับความช่วยเหลือทางกฎหมาย

มาตรา 33 เพื่อประโยชน์ในการช่วยเหลือผู้เสียหาย ให้พนักงานสอบสวนหรือ


พนักงานอัยการแจ้งให้ผู้เสียหายทราบในโอกาสแรกถึงสิทธิที่จะเรียกค่าสินไหมทดแทน
อันเนื่องมาจากการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ และสิทธิที่จะได้รับ
ความช่วยเหลือทางกฎหมาย
ในกรณีที่ผู้เสียหายมีสิทธิและประสงค์ที่จะเรียกค่าสินไหมทดแทนดังกล่าว
ในวรรคหนึ่งให้พนักงานอัยการเรียกค่าสินไหมทดแทนแทนผู้เสียหายด้วย
ศาลที่มีเขตอานาจ

มาตรา 34 ให้ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบเป็นศาลที่มีเขตอานาจเหนือ
คดีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ และให้รวมถึงคดีซึ่งผู้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัติ
นี้เป็นบุคคลซึ่งอยู่ในอานาจศาลทหารในขณะกระทาความผิดด้วย
หมวด 5
บทกาหนดโทษ
ระวางโทษการกระทาทรมาน

มาตรา 35 ผู้กระทาความผิดฐานกระทาทรมานตามมาตรา 5 ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่


ห้าปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสามแสนบาท
ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทารับอันตรายสาหัส ผู้กระทา
ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สิบปีถึงยี่สิบห้าปี และปรับตั้งแต่สองแสนบาทถึงห้าแสนบาท
ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทาถึงแก่ความตาย ผู้กระทา
ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สิบห้าปีถึงสามสิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่สามแสนบาท
ถึงหนึ่งล้านบาท
ระวางโทษกระทาให้บุคคลสูญหาย

มาตรา 37 ผู้กระทาความผิดฐานกระทาให้บุคคลสูญหายตามมาตรา 7 ต้องระวาง


โทษจาคุกตั้งแต่ห้าปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสามแสนบาท
ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทารับอันตรายสาหัส ผู้กระทา
ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สิบปีถึงยี่สิบห้าปี และปรับตั้งแต่สองแสนบาทถึงห้าแสนบาท
ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทาถึงแก่ความตาย ผู้กระทา
ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สิบห้าปีถึงสามสิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่สามแสนบาท
ถึงหนึ่งล้านบาท
ระวางโทษกระทาที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม และย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

มาตรา 36 ผู้กระทาความผิดฐานกระทาการที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ายีศักดิ์ศรี


ความเป็นมนุษย์ตามมาตรา 6 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท
หรือทั้งจาทั้งปรับ
เหตุเพิ่มโทษ

มาตรา 38 ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา 35 หรือมาตรา 36 เป็นการกระทา


แก่บุคคลอายุไม่เกินสิบแปดปี หญิงมีครรภ์ ผู้พิการทางร่างกายหรือจิตใจ หรือผู้ซึ่งพึ่งตนเอง
มิได้เพราะอายุหรือความป่วยเจ็บ ผู้กระทาต้องระวางโทษหนักกว่าที่บัญญัติไว้
ในมาตรานั้นกึ่งหนึ่ง
ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา 37 เป็นการกระทาแก่บุคคลตามวรรคหนึ่ง
ผู้กระทาต้องระวางโทษหนักกว่าที่บัญญัติไว้ในมาตรานั้นกึ่งหนึ่ง
เหตุลดโทษ

มาตรา 411ถ้าผู้กระทาความผิดตามมาตรา 37 มาตรา 38 วรรคสอง มาตรา 39


หรือมาตรา 40 ช่วยให้มีการค้นพบผู้ถูกกระทาให้สูญหายก่อนศาลชั้นต้นพิพากษา
โดยผู้นั้นมิได้รับอันตรายสาหัสหรือตกอยู่ในภาวะอันใกล้จะเป็นอันตรายต่อชีวิต หรือ
2
ให้ข้อมูลที่สาคัญและเป็นประโยชน์ในการดาเนินคดี ศาลจะลงโทษผู้กระทาความผิด
น้อยกว่าที่กฎหมายกาหนดเพียงใดก็ได้
ผู้สมคบ

1
มาตรา 39 ผู้ใดสมคบเพื่อกระทาความผิดตามมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 37 หรือมาตรา
38 ต้องระวางโทษหนึ่งในสามของโทษที่กาหนดไว้สาหรับความผิดนั้น
2
ถ้าได้มีการกระทาความผิดเพราะเหตุที่ได้มีการสมคบกันตามวรรคหนึ่ง ผู้สมคบกันนั้นต้อง
ระวางโทษตามที่กาหนดไว้สาหรับความผิดนั้น 3
ในกรณีที่ความผิดได้กระทาถึงขั้นลงมือกระทาความผิด แต่เนื่องจากการเข้าขัดขวาง
ของผู้สมคบทาให้การกระทานั้นกระทาไปไม่ตลอดหรือกระทาไปตลอดแล้วแต่การกระทานั้น
ไม่บรรลุผลศาลจะลงโทษผู้สมคบที่กระทาการขัดขวางนั้นน้อยกว่าที่กฎหมายกาหนดเพียงใดก็ได้
ผู้สนับสนุน

มาตรา 40 ผู้สนับสนุนในการกระทาความผิดตามมาตรา 35 มาตรา 36


มาตรา 37 หรือมาตรา 38 ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับตัวการในความผิดนั้น
ผู้บังคับบัญชา
2
มาตรา 42 ผู้บังคับบัญชาผู้ใดทราบว่าผู้ใต้บังคับบัญชาซึ่งอยู่ภายใต้การบังคับบัญชา
ของตนจะกระทาหรือได้กระทาความผิดตามมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 37 หรือมาตรา 38
3
และไม่ดาเนินการที่จาเป็นและเหมาะสม เพื่อป้องกันหรือระงับการกระทาความผิด หรือ
ไม่ดาเนินการหรือส่งเรื่องให้ดาเนินการสอบสวนและดาเนินคดีตามกฎหมาย ต้องระวางโทษ
กึ่งหนึ่งของโทษที่กาหนดไว้สาหรับความผิดนั้น 1
ผู้บังคับบัญชาตามวรรคหนึ่งจะต้องเป็นผู้ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบและมีอานาจควบคุม
การกระทาซึ่งเกี่ยวข้องกับความผิดฐานกระทาทรมาน ความผิดฐานกระทาการที่โหดร้าย
ไร้มนุษยธรรม หรือย่ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ หรือความผิดฐานกระทาให้บุคคลสูญหาย
บทเฉพาะกาล
มาตรา 43 ให้นาความในมาตรา 10 มาใช้บังคับแก่การกระทาให้บุคคล
สูญหายก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับโดยอนุโลม
สรุป
หลักการสาคัญของการทรมาน การกระทาที่โหดร้ายฯ และการอุ้มหาย
• ห้ามทรมาน กระทาที่โหดร้าย และอุ้มหาย อย่างเด็ดขาดโดยไม่มีข้อยกเว้น

หลักการอื่นๆ
• ห้ามผลักดันบุคคลกลับไปยังประเทศใดๆ ที่เสี่ยงให้เกิดความผิดทั้ง 3 ฐาน
ผู้เสียหายคือใคร มีสิทธิอะไรบ้าง
• ผู้เสียหาย หมายถึง สามี ภริยา ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้ซึ่งอยู่กินกันฉันท์สามีภริยาซึ่งมิได้
จดทะเบียนสมรส ผู้อุปการะ ผู้อยู่ในอุปการะ
• มีสิทธิที่จะได้รับ รู้ค วามจริง โดยในกรณีอุ้มหาย จะต้องสืบ สวนจนกว่าจะพบผู้สูญ หาย
ทราบพฤติการณ์ และรู้ตัวผู้ทาผิด รวมถึงการอุ้มหายที่เกิดขึ้นก่อนพรบ. มีผลใช้บังคับ
• มีสิทธิได้รับการฟื้นฟูเยียวยาทั้งทางร่างกายและจิตใจ ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน
• มีสิทธิเข้าถึงข้อมูลการควบคุมตัว
• มีสิทธิยื่นคาร้องต่อศาลเพื่อให้ยุติการกระทาความผิดและเยียวยาความเสียหายเบื้องต้น
• มีสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ได้รับความช่วยเหลือทางกฎหมาย การต่อสู้คดี รับทราบ
ความคืบหน้าของคดีอย่างต่อเนื่อง รวมถึงมีสิทธิในการได้รับค่าสินไหมทดแทน
เจ้าหน้าที่ของรัฐจะต้องดาเนินการอย่างไรบ้าง
• บันทึกภาพและเสียงอย่างต่อเนื่องในขณะจับและควบคุมตัว เว้นแต่มีเหตุสุดวิสัย
พร้อมทั้งแจ้งการควบคุมตัวไปยังอัยการและฝ่ายปกครอง
• บันทึกข้อมูลผู้ถูกควบคุมตัว และเปิดเผยข้อมูลเป็นหลัก
• ยื่นคาร้องต่อศาลเมื่อมีการอ้างว่ามีการกระทาความผิดเกิดขึ้นเพื่อยุติการกระทาความผิดและ
เยียวยาความเสียหายเบือ้ งต้น
• กรณีเสียชีวิตระหว่างควบคุมตัว ให้แจ้งไปยังคณะกรรมการฯ เพื่อร่วมติดตามตรวจสอบการทรมานโดยพลัน
• รับแจ้งเหตุการกระทาความผิด และดาเนินคดีทันที โดยมีอัยการตรวจสอบและกากับการสอบสวน
• แจ้งสิทธิในการได้รับค่าสินไหมทดแทนและการได้รับความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ผู้เสียหาย
• รายงานความคืบหน้าของคดีให้ผู้เสียหายทราบอย่างต่อเนื่อง
ถ้ามีการกระทาความผิดจะต้องขึ้นศาลใด และได้รับโทษเท่าใด
• ขึ้นศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบทุกกรณี
• ทรมาน จาคุกตั้งแต่ 5 ปี – ตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 100,000 – 1,000,000 บาท
• การกระทาที่โหดร้ายฯ จาคุกไม่เกิน 3ปี หรือ ปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
• อุ้มหาย จาคุกตั้งแต่ 5 ปี – ตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 100,000 – 1,000,000 บาท
• ผู้บังคับบัญชาที่รู้แต่เพิกเฉย ลงโทษกึ่งหนึ่ง
• ผู้สมคบ โทษ 1 ใน3 /สมคบความผิดสาเร็จ โทษเท่ากับตัวการ/ สมคบลงมือแต่เข้าขัดขวางการกระทา
ความผิดไม่บรรลุผล ลดโทษลงน้อยเพียงใดก็ได้
• ผู้สนับสนุน โทษเท่าตัวการ
• ทาความผิดต่อกลุ่มเปราะบาง โทษหนักขึ้นกึ่งหนึ่ง
• ท าผิ ด แต่ ช่ ว ยค้ น พบผู้ สู ญ หายก่ อ นศาลชั้ น ต้ น พิ พ ากษา และผู้ นั้ น ไม่ ไ ด้ รั บ อั น ตรายสาหั ส
หรือให้ข้อมูลสาคัญและเป็นประโยชน์ในการดาเนินคดี ลดโทษลงน้อยเพียงใดก็ได้
“เคารพชีวิต ใช้สิทธิตามกฎหมาย
ขจัดการอุ้มหายและทรมาน”
THANK YOU

You might also like