Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 36

อ.

รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |1
เรื่อง การวัด

การวัด
....................................................................................................................................
1. ความเป็นมาของการวัด
ในสมัยโบราณบรรพบุรุษของเรายังไม่มีเครื่องมือที่เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับการวัดระยะทาง เวลา พื้นที่
และปริมาตร การสื่อความหมายเกี่ยวกับการวัดของคนสมัยนั้นอาศัยสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ หรือกิจกรรมที่
ทากันเป็นกิจวัตรเป็นเครื่องมือในการบอกระยะทาง เวลา พื้นที่ และปริมาตร ซึ่งเป็นการสื่อความหมาย
เกี่ยวกับการวัดที่ได้จากการสังเกตและการคาดคะเนอย่างหยาบ ๆ ทาให้บางครั้งเกิดปัญหาการสื่อความหมาย
ไม่ตรงกันเช่น
การสื่อความหมายเกี่ยวกับระยะทาง
 บ้านกานันอยู่ห่างจากบ้านของเราประมาณสองคุ้งน้า
 ที่นาของป้าจันทร์อยู่ห่างจากที่นี่ชั่วเวลาเคี้ยวหมากจืดสนิทพอดี
 วัดอยู่ไม่ไกลหรอกแค่เดินไปชั่วหม้อข้าวเดือดเท่านั้น
 หมู่บ้านนาโต่งอยู่ไกลจากที่นี่เท่ากับเสียงช้างร้อง
การสื่อความหมายเกี่ยวกับเวลา
 ให้ออกจากบ้านก่อนพระอาทิตย์ขึ้น
 ตื่นนอนตอนไก่ขัน
 กลับเถอะนกบินกลับรังแล้ว (หมายถึงเย็นแล้ว)
การสื่อความหมายเกี่ยวกับปริมาณอื่น ๆ
 มีทองเท่าหนวดกุ้งหุง
 ข้าวสักสองกามือ
 ใช้เกลือสักหยิบมือหนึ่ง

การสื่อความหมายเกี่ยวกับการวัดได้มีวิวัฒนาการมาเรื่อย ๆ ตามยุคสมัยเมื่อมีการติดต่อไปมาระหว่าง
ชุมชนมีการซื้อขายแลกเปลี่ยนทาให้ต้องมีหน่วยการวัดและเครื่องมือที่ใช้วัดที่ชัดเจนเพื่อสื่อความหมายได้
ตรงกันมากขึ้น เช่น หน่วยการบอกเวลาเป็นทุ่ม และหน่วยการตวงเป็นทะนาน ต่อมาหน่วยการวัดและ
เครื่องมือที่ใช้วัดได้พัฒนาเรื่อยมาจนเป็นมาตรฐานที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้
สาหรับการวัดความยาวมีวิวัฒนาการเป็นลาดับคร่าว ๆ ตามที่เห็นได้ชัดเจนมีดังนี้
ดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นว่าการบอกระยะทางใกล้ไกลของคนไทยในสมัยโบราณเป็นการบอก
ระยะทางอย่างหยาบ ๆ ซึ่งอาจทาให้เข้าใจไม่ตรงกัน ต่อมาเมื่อชุมชนมีการคมนาคมติดต่อแลกเปลี่ยนซื้อขาย
กันมากขึ้น จึงได้พัฒนาหน่วยการวัด และเครื่องมือที่ใช้วัดให้เกิดความเข้าใจตรงกันในวงกว้างขึ้น ในระยะแรก
ๆ มีการใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเป็นเกณฑ์อ้างอิง เช่น น้าลึก 2 ศอก ผ้ากว้าง 3 คืบ ไม้กระดานยาว 4 วา

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |2
เรื่อง การวัด

แต่การใช้คืบ ศอก และวา บอกระยะทางก็ยังไม่ชัดเจนอยู่ดี เพราะ คืบ ศอก และวา ของแต่ละชุมชนที่ใช้กัน


มักยาวไม่เท่ากัน
ต่อมาจึงได้พัฒนาหน่วยการวัดและเครื่องมือที่ใช้วัดให้เป็นมาตรฐานสากล มาตรฐานสากลที่นิยมใช้กันมี
ดังนี้
ระบบอังกฤษ กาหนดหน่วยความยาวเป็น นิ้ว ฟุต หลา และไมล์ เป็นต้น
ระบบเมตริก ถือกาเนิดเมื่อปี พ.ศ. 2336 ที่ประเทศฝรั่งเศส กาหนดหน่วยความยาวเป็น เซนติเมตร
เมตร และ กิโลเมตร เป็นต้น สาหรับประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2466 ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติมาตราชั่งตวง
วัด โดยใช้หน่วยการวัดของระบบเมตริกร่วมกับหน่วยการวัดที่เป็นประเพณีไทยบางหน่วย ซึ่งได้ปรับเทียบเข้า
หาระบบเมตริก แล้วพระราชบัญญัตินี้กาหนดไว้เฉพาะหน่วยการวัดความยาวพื้นที่ปริมาตรและมวล ซึ่งมุ่ง
ประสงค์สาหรับไว้ใช้โดยเฉพาะในการซื้อขาย เช่น
2 ศอก เท่ากับ 1 เมตร
1 ไร่ เท่ากับ 1,600 ตารางเมตร
1 บาท เท่ากับ 15 กรัม
เมื่อปี พ.ศ. 2503 องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International Organization
for Standardization หรือชื่อย่อ ISO) ได้กาหนดให้มีระบบการวัดใหม่ขึ้นเพื่อใช้ในการวัดทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก เรียกว่า ระบบหน่วยระหว่างประเทศ (System
International d'Unites) และเรียกหน่วยการวัดในระบบนี้ว่า หน่วย SI
หน่วยรากฐานของระบบ SI มี 7 หน่วย ที่ใช้วัดปริมาณมูลฐาน (basic quantity) ได้แก่
เมตร (Meter: m) เป็นหน่วยใช้วัดความยาว
กิโลกรัม (Kilogramme: kg) เป็นหน่วยใช้วัดมวล
วินาที (Second: s) เป็นหน่วยใช้วัดเวลา
แอมแปร์ (Ampere: A) เป็นหน่วยใช้วัดกระแสไฟฟ้า
เคลวิน (Kelvin: K) เป็นหน่วยใช้วัดอุณหภูมิ
แคนเดลา (Candela: cd) เป็นหน่วยใช้วัดความเข้มของการส่องสว่าง
โมล (Mole: mol) เป็นหน่วยใช้วัดปริมาณของสาร

นอกจากเราจะมีหน่วยการวัดที่เป็นมาตรฐานสากลแล้ว เครื่องมือที่ใช้วัดที่มีความสาคัญมากเช่นกัน
กล่าวคือ จะต้องเป็นเครื่องมือวัดที่ได้มาตรฐาน ค่าที่วัดได้ทุกครั้งจะต้องมีความเที่ยงตรง
ถึงแม้ว่าจะมีการพัฒนาหน่วยการวัดและเครื่องมือที่ใช้วัดให้มีความเที่ยงตรงเป็นมาตรฐานเพียงใดก็ตาม
ค่าที่วัดได้เหล่านั้นก็เป็นเพียงค่าประมาณที่ได้จากการวัดตามหน่วยการวัดที่เหมาะสมเท่านั้น เช่น อาจวัดเป็น
จานวนเต็มที่ใกล้เคียงที่สุด วัดเป็นทศนิยมหนึ่งตาแหน่งที่ใกล้เคียงที่สุด หรือ วัดเป็นทศนิยมสองตาแหน่งที่
ใกล้เคียงที่สุด ฯลฯ ในการวัดจะวัดให้ละเอียดเพียงใดขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของการใช้งาน เช่น ถ้าต้องการวัด

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |3
เรื่อง การวัด

ตัวเพื่อตัดเสื้อก็ต้องวัดให้ละเอียดเป็นเซนติเมตร หรือ มิลลิเมตร แต่ถ้าต้องการวัดระยะไกล ๆ ก็อาจวัดให้


ละเอียดเป็นกิโลเมตร หรือ เป็นเมตร ก็เพียงพอแล้ว
อย่างไรก็ตามในชีวิตประจาวันเราไม่อาจนาเครื่องมือที่ใช้วัดไปใช้ในทุกสถานที่ ทุกเวลาได้ จาเป็นต้อง
ประมาณความยาวหรือปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ที่ต้องการทราบการบอกค่าประมาณของปริมาณของสิ่งต่าง ๆ
โดยไม่ได้วัดจริง เรียกว่า การคาดคะเน ค่าที่ได้จากการคาดคะเนจะใกล้เคียงค่าที่แท้จริงมากน้อยเพียงใด
ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ และทักษะของผู้คาดคะเนที่สามารถใช้ปริมาณของสิ่งที่คุ้นเคยมาเป็นตัวเทียบขนาดกับ
สิ่งที่ต้องการคาดคะเน เช่น มีความคุ้นเคยกับสิ่งที่มีความยาวประมาณ 1 เมตร ก็จะใช้ความยาวประมาณ 1
เมตร นั้นเป็นตัวเทียบเคียงกับความยาวของสิ่งที่ต้องการหาความยาว ใช้ความสูงของนักเรียนเป็นตัว
เทียบเคียงหาความสูงของเพื่อน ใช้อัตราเร็วและเวลาในการขับรถเป็นตัวเทียบเคียงเพื่อบอกระยะทาง เป็นต้น

2. การวัดความยาว
หน่วยการวัดความยาวที่นิยมใช้กันในประเทศไทย ได้แก่ หน่วยการวัดความยาวในระบบเมตริก ระบบ
อังกฤษ และมาตราไทย หน่วยการวัดความยาวที่สาคัญซึ่งนักเรียนควรรู้จัก ดังนี้
หน่วยการวัดความยาวในระบบเมตริก
10 มิลลิเมตร เท่ากับ 1 เซนติเมตร
100 เซนติเมตร เท่ากับ 1 เมตร
1,000 เมตร เท่ากับ 1 กิโลเมตร
หน่วยการวัดความยาวในระบบอังกฤษ
12 นิ้ว เท่ากับ 1 ฟุต
3 ฟุต เท่ากับ 1 หลา
1,760 หลา เท่ากับ 1 ไมล์
หน่วยการวัดความยาวในมาตราไทย
12 นิ้ว เท่ากับ 1 คืบ
2 คืบ เท่ากับ 1 ศอก
4 ศอก เท่ากับ 1 วา
20 วา เท่ากับ 1 เส้น
400 เส้น เท่ากับ 1 โยชน์
กาหนดการเทียบ 1 วา เท่ากับ 2 เมตร
หน่วยการวัดความยาวในระบบอังกฤษเทียบกับระบบเมตริก (โดยประมาณ)
1 นิ้ว เท่ากับ 2.54 เซนติเมตร
1 หลา เท่ากับ 0.9144 เมตร
1 ไมล์ เท่ากับ 1.6093 กิโลเมตร

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |4
เรื่อง การวัด

ตัวอย่างที่ 1 ให้นักเรียนเปลี่ยนหน่วยการวัดความยาวในระบบเดียวกันและต่างระบบกัน
1. คุณป้ามาลีสูง 155 เซนติเมตร อยากทราบว่าคุณป้ามาลีสูงกี่เมตร
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

2. ความกว้างของรั้วโรงเรียนด้านติดถนนเป็น 1.9 กิโลเมตร อยากทราบว่าความกว้างของรั้ว


โรงเรียนด้านติดถนนเป็นกี่เมตร
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

3. ระยะทางจากบ้านไปโรงเรียน 2.5 ไมล์ อยากทราบว่าระยะทางจากบ้านไปโรงเรียนเป็นกี่หลา


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

4. ที่ดินแปลงหนึ่งกว้าง 400 วา อยากทราบว่าที่ดินนี้กว้างกี่เมตร


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

5. เสาธงโรงเรียนสูงประมาณ 243 ฟุต อยากทราบว่าเสาธงนี้สูงประมาณกี่หลา


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

6. ภราดรศรีชาพันธุ์นักเทนนิสที่มีชื่อเสียงของไทยสูง 185 เซนติเมตร


ไมเคิลจอร์แดนนักบาสเกตบอลที่มีชื่อเสียงของสหรัฐอเมริกาสูง 6 ฟุต 6 นิ้ว
อยากทราบว่าใครสูงกว่ากันและสูงกว่าเท่าไร
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |5
เรื่อง การวัด

กิจกรรมที่ 1 : การเลือกหน่วยการวัดที่เหมาะสม
1. ให้นักเรียนเติมหน่วยการวัดในเรื่องต่อไปนี้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์

รังสรรค์เป็นเศรษฐีอยู่บ้านตึก 5 ชั้น สูงประมาณ 20 ...................... รังสรรค์ต้องการบริจาค


โทรทัศน์ขนาด 20 .................. จานวน 2 เครื่อง ให้โรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัด
นครปฐม วันที่รังสรรค์เดินทางไปจังหวัดนครปฐมเขาขับรถออกจากบ้านโดยใช้อัตราเร็วเฉลี่ย
80 ............ต่อ........... เมื่อถึงรังสิต รังสรรค์รู้สึกหิวจึงหยุดพักเพื่อรับประทานก๋วยเตี๋ยวเรือ
เมื่อจอดรถริมถนนแล้วต้องเดินผ่านสะพานข้ามคลองยาว 10 ................. ที่ร้านก๋วยเตี๋ยวคนแน่น
มาก เจ้าของร้านต้องจัดที่นั่งเสริมเป็นม้านั่งเล็ก ๆ ให้รังสรรค์นั่งม้านั่งนี้สูงเพียง 30 ............
เมื่อรังสรรค์รับประทานเสร็จแล้วต้องเดินทางต่อไปอีกเป็นเวลาประมาณ 1 ............. 15 .......
จึงจะถึงโรงเรียน หลังจากที่รังสรรค์บริจาคโทรทัศน์แล้วครูใหญ่ได้มอบพรมเช็ดเท้าฝีมือของนักเรียน
ขนาด 1.5 .....................  2 .................. ให้รังสรรค์เป็นที่ระลึกพร้อมคาขอบคุณ

2. นักเรียนคิดว่าการวัดต่อไปนี้ ควรใช้หน่วยความยาวใด ในระบบเมตริกและควรวัดให้ละเอียดเพียงใด


จงอธิบาย

ตัวอย่าง ช่างวัดขนาดของกระจกสาหรับใส่บานหน้าต่าง
คาตอบ ควรใช้หน่วยเป็นเมตรและวัดให้ละเอียดถึงทศนิยมตาแหน่งที่สอง หรือควรใช้หน่วยเป็น
เซนติเมตรและวัดให้ละเอียดถึงทศนิยมตาแหน่งที่หนึ่ง

1) พ่อค้าวัดความยาวของผ้าเพื่อขายให้แก่ลูกค้า
.........................................................................................................................
2) ช่างไม้วัดความยาวของไม้เพื่อเลื่อยไม้มาทาบานประตู
.........................................................................................................................
3) วัดความยาวจากเสารั้วหน้าบ้านถึงเสารั้วหลังบ้านเพื่อซื้อลวดหนามมาจึงรั้ว
.........................................................................................................................
4) วัดความยาวและความกว้างของกระจกเพื่อใส่กรอบรูป
.........................................................................................................................
5) วัดความยาวของไม้อัดเพื่อเลื่อยมาประกอบตู้
.........................................................................................................................
6) วัดระยะทางจากบ้านถึงโรงเรียน
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |6
เรื่อง การวัด

3. ให้นักเรียนวัดความยาวของสิ่งต่อไปนี้ ตามหน่วยที่คิดว่าเหมาะสม และให้มีความละเอียด เป็นทศนิยม


ตามความเหมาะสมของการนาไปใช้งานได้
1) วัดรอบเอวของนักเรียนเพื่อซื้อกางเกง
.........................................................................................................................
2) วัดป่าเพื่อซื้อเสื้อสาเร็จรูป
.........................................................................................................................
3) วัดรอบนิ้วนางเพื่อทาแหวน
.........................................................................................................................
4) วัดความกว้างและความยาวของเท้าเพื่อสั่งตัดรองเท้า
.........................................................................................................................

กิจกรรมที่ 2 : คาดคะเนความยาว

การวัดความยาวในบางครั้งอาจไม่จาเป็นต้องใช้เครื่องมือที่ใช้วัดโดยตรงถ้าการวัดนั้นต้องการทราบ
ความยาวอย่างคร่าว ๆ เราอาจใช้การคาดคะเนได้คาดคะเนความยาว

1. ในแต่ละสถานการณ์ต่อไปนี้นักเรียนควรคาดคะเนสิ่งใดเพื่อใช้เป็นส่วนประกอบในการตัดสินใจ
จงอธิบาย
1) ขับรถบรรทุกของสูงผ่านใต้สะพานลอย
.........................................................................................................................
2) ขับรถผ่านเข้าไปในซอยที่มีรถจอดอยู่สองข้าง
.........................................................................................................................
3) ยกตู้เสื้อผ้าที่ประกอบสาเร็จแล้วไปไว้ในห้อง
.........................................................................................................................
4) ต้องการกระโดดข้ามคูน้า
.........................................................................................................................
5) นักกีฬาพยายามทาสถิติกระโดดสูง
.........................................................................................................................
6) หากล่องมาใส่ของขวัญให้เพื่อน
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |7
เรื่อง การวัด

2. สถานการณ์ใดต่อไปนี้ สามารถใช้การคาดคะเนที่เหมาะสมได้ จงอธิบาย


1) ธีระบอกระยะทางที่ตนเองเดินออกกาลังกายตอนเช้า
.........................................................................................................................
2) ช่างไม้บอกลูกน้องให้เลื่อยไม้ทาขาโต๊ะ
.........................................................................................................................
3) อรุณถามกับสมคิดว่าผู้ชายที่กาลังเดินมาสูงเท่าไร
.........................................................................................................................
4) ช่างตัดเสื้อเลือกผ้าชิ้นที่ยาวพอตัดเสื้อได้ 2 ตัว
.........................................................................................................................
5) ต้องการซื้อบานหน้าต่างหนึ่งบานมาแทนบานที่ชารุด
.........................................................................................................................
6) ช่างรังวัดรังวัดที่ดินเพื่อแยกโฉนด
.........................................................................................................................

3. จงคาดคะเนขนาดของสิ่งที่กาหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทั้งอธิบายวิธีการคาดคะเน
1) ความสูงของครู
2) ความสูงของเพื่อน
3) ความกว้างและความยาวของห้องเรียน
4) ความสูงของประตูห้องเรียน
5) ระยะทางจากประตูโรงเรียนถึงโรงอาหาร
6) ความยาวรอบอาคารเรียน

4. จงบอกชื่อสิ่งของที่นักเรียนคาดคะเนว่า จะมีความยาวเท่ากับความยาวที่กาหนดให้ในช่องซ้ายมือของ
ตาราง

ความยาว ชื่อสิ่งของ
5 มิลลิเมตร
15 เซนติเมตร
3 เมตร
1 เมตร
75 เซนติเมตร

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |8
เรื่อง การวัด

3. การวัดพื้นที่
หน่วยการวัดพื้นที่
นักเรียนทราบมาแล้วว่า เราใช้พื้นที่ในการบอกขนาดของเนื้อที่ เช่นต้องการบอกขนาดของเนื้อที่นา
หรือ เนื้อที่ของสนามหญ้า ซึ่งต้องคานวณหาพื้นที่ และบอกเป็นหน่วยการวัดพื้นที่ ตัวอย่าง เช่น กรมที่ดิน
รังวัดที่นาของลุงแดงแล้วคานวณได้พื้นที่โดยประมาณเป็น 10 ไร่ 2 งาน 15 ตารางวา
นักเรียนคุ้นเคยกับการวัดพื้นที่และใช้หน่วยการวัดพื้นที่ในระบบเมตริก และมาตราไทยซึ่งใช้หน่วยการ
วัดพื้นที่เป็นตารางหน่วย หรือ หน่วย 2 ตามหน่วยการวัดความยาวมาแล้ว เช่น

D C

2 เมตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ABCD


เท่ากับ .............................. ตารางเมตร
A B
3 เมตร
D C

2 วา พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ABCD
เท่ากับ .............................. ตารางวา
A B
5 วา

ในบางสถานการณ์ นักเรียนอาจพบเห็นการใช้หน่วยการวัดพื้นที่ในระบบอังกฤษ ซึ่งใช้หน่วยการวัด


พื้นที่เป็นตารางหน่วยตามหน่วยการวัดความยาวในระบบอังกฤษ เช่น ตารางนิ้ว และ ตารางฟุตการ เปลี่ยน
หน่วยการวัดพื้นที่ในระบบหรือมาตราเดียวกัน สามารถคานวณได้จากการเปลี่ยนหน่วยการวัดความยาวตาม
ความสัมพันธ์ของหน่วยในระบบหรือมาตรานั้น ดังตัวอย่าง

1. ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีพื้นที่เป็น 1 ตารางเมตร เมื่อต้องการเปลี่ยนหน่วยเป็นตาราง


เซนติเมตร ทาได้ดังนี้
D C D C

1 ม. ........ ซม.

A B A B
1 ม. ......... ซม.

เนื่องจากความยาว 1 เมตร เท่ากับ ...................... เซนติเมตร


ดังนั้น พื้นที่ 11 ตารางเมตร เท่ากับ ...................... ตารางเซนติเมตร
นั่นคือพื้นที่ 1 ตารางเมตร เท่ากับ ....................... ตารางเซนติเมตร
อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath
คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |9
เรื่อง การวัด

2. PQRS เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีพื้นที่เป็น 1 ตารางฟุต เมื่อต้องการเปลี่ยนหน่วยเป็น


ตารางนิ้ว ทาได้ดังนี้
S R S R

1 ฟุต ........ นิ้ว

P Q P Q
1 ฟุต ......... นิ้ว

เนื่องจากความยาว 1 ฟุต เท่ากับ ...................... นิ้ว


ดังนั้น พื้นที่ 11 ตารางฟุต เท่ากับ ...................... ตารางนิ้ว
นั่นคือพื้นที่ 1 ตารางฟุต เท่ากับ ....................... ตารางนิ้ว

ในชีวิตประจาวันเรายังมีความจาเป็นต้องมีการซื้อขายที่ดิน ซึ่งการคิดพื้นที่ของไทยยังนิยมบอกพื้นที่
เป็นหน่วยในมาตราไทยเป็น ไร่ งาน และ ตารางวา แต่ในการจ้างเหมาซื้อดินมาถมที่บางครั้งผู้รับเหมาจะ
คานวณความยาว และพื้นที่เป็นที่เป็นหน่วยในระบบเมตริก เป็นตารางเมตร หรือคานวณปริมาตรเป็นลูกบาศก์
เมตร ดังนั้นเพื่อให้เป็นประโยชน์ในการใช้งานจึงต้องมีการปรียบเทียบหน่วยระหว่างระบบหรือมาตรา ดัง
ตัวอย่าง

3. ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีพื้นที่เป็น 1 ตารางวา เมื่อต้องการเปลี่ยนหน่วยเป็นตาราง


เมตร ทาได้ดังนี้
D C D C

1 วา ........ เมตร

A B A B
1 วา ......... เมตร

เนื่องจากความยาว 1 วา เท่ากับ ...................... เมตร


ดังนั้น พื้นที่ 11 ตารางวา เท่ากับ ...................... ตารางเมตร
นั่นคือพื้นที่ 1 ตารางวา เท่ากับ ....................... ตารางเมตร

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |10
เรื่อง การวัด

หน่วยการวัดพื้นที่ที่สาคัญซึ่งนักเรียนควรรู้จักมีดังนี้
หน่วยการวัดพื้นที่ในระบบเมตริก
1 ตารางเซนติเมตร เท่ากับ 100 หรือ 102 ตารางมิลลิเมตร
1 ตารางเมตร เท่ากับ 10,000 หรือ 104 ตารางเซนติเมตร
1 ตารางกิโลเมตร เท่ากับ 1,000,000 หรือ 106 ตารางเมตร

หน่วยการวัดพื้นที่ในระบบอังกฤษ
1 ตารางฟุต เท่ากับ 144 หรือ 122 ตารางนิ้ว
1 ตารางหลา เท่ากับ หรือ 32 ตารางฟุต
9
1 เอเคอร์ เท่ากับ 4,840 ตารางหลา
1 ตารางไมล์ เท่ากับ 640 เอเคอร์

หรือ 1 ตารางไมล์ เท่ากับ 1, 7602 ตารางหลา

หน่วยการวัดพื้นที่ในมาตราไทย
100 ตารางวา เท่ากับ 1 งาน
4 งาน เท่ากับ 1 ไร่
หรือ 400 ตารางวา เท่ากับ 1 ไร่

หน่วยการวัดพื้นที่ในมาตราไทยเทียบกับระบบเมตริก
1 ตารางวา เท่ากับ 4 ตารางเมตร
1 งาน เท่ากับ 400 ตารางเมตร
หรือ 1 ไร่ เท่ากับ 1,600 ตารางเมตร
1 ตารางกิโลเมตร เท่ากับ 625 ไร่

หน่วยการวัดพื้นที่ในระบบอังกฤษเทียบกับระบบเมตริก (โดยประมาณ)
1 ตารางนิ้ว เท่ากับ 6.4516 ตารางเซนติเมตร
1 ตารางฟุต เท่ากับ 0.0929 ตารางเมตร
1 ตารางหลา เท่ากับ 0.8361 ตารางเมตร
1 เอเคอร์ เท่ากับ 4046.856 ตารางเมตร (2.529 ไร่)
1 ตารางไมล์ เท่ากับ 2.5899 ตารางกิโลเมตร

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |11
เรื่อง การวัด

ตัวอย่างที่ 2 จงเปลี่ยนหน่วยพื้นที่ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) พื้นที่ 12,500 ตารางเซนติเมตร คิดเป็นกี่ตารางเซนติเมตร
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

2) พื้นที่ 13.5 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นกี่ตารางเมตร


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

3) พื้นที่ 57 ตารางฟุต คิดเป็นกี่ตารางหลาและกี่ตารางฟุต


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

4) พื้นที่ 4.25 ไร่ คิดเป็นกี่ไร่ และกี่ตารางวา


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

7
5) พื้นที่ 13 ไร่ คิดเป็นกี่ไร่ กี่งาน และ กี่ตารางวา
10
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |12
เรื่อง การวัด

กิจกรรมที่ 3 : พื้นที่ในมาตราเดียวกัน

1. จงตอบคาถามต่อไปนี้
1) พื้นที่ 5 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นกี่ตารางเมตร
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

2) พื้นที่ 80,000,000 ตารางเมตร คิดเป็นกี่ตารางกิโลเมตร


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

3) พื้นที่ 7 ตารางเมตร คิดเป็นกี่ตารางเซนติเมตร


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

4) พื้นที่ 12,000 ตารางเซนติเมตร คิดเป็น กี่ตารางเมตร


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

5) พื้นที่ 12 ไร่ คิดเป็นกี่ตารางวา


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

6) พื้นที่ 36 ไร่ คิดเป็นกี่งาน


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

7) พื้นที่ 5 ไร่ คิดเป็นกี่ตารางวา


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

8) พื้นที่ 1,850 ตารางวา คิดเป็นกี่ไร่ กี่งาน และ กี่ตารางวา


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |13
เรื่อง การวัด

9) พื้นที่ 2.56 ไร่ คิดเป็นกีไ่ ร่ กีง่ าน และ กี่ตารางวา


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

10) พื้นที่ 725 ตารางนิ้ว คิดเป็นกี่ตารางฟุต และ กี่ตารางนิ้ว


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

11) พื้นที่ 3 ตารางไมล์ คิดเป็นกี่เอเคอร์


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

12) พื้นที่ 12,800 เอเคอร์ คิดเป็นกี่ตารางไมล์


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

2. จันทร์และปานได้รับมรดกเป็นที่ดิน คนละ 1 แปลง ที่ดินของจันทร์มีพื้นที่ 3 ไร่ 2 งาน 70 ตารางวา


ที่ดินของปาน มีพื้นที่ 1,500 ตารางวา อยากทราบว่าที่ดินแปลงใดมีเนื้อที่มากกว่า
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

3. บริเวณสนามหญ้าหน้าอาคารพลศึกษากว้าง 150 เมตร ยาว 200 เมตร บริเวณแปลงผักหลังโรงเรียน


มีพื้นที่ 23,000 ตารางเมตร บริเวณใดมีเนื้อที่มากกว่า
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |14
เรื่อง การวัด

ในการเปรียบเทียบพื้นที่ที่มีหน่วยการวัดพื้นที่ต่างระบบหรือต่างมาตราจาเป็นต้องทาให้มีหน่วยการวัด
พื้นที่เป็นอย่างเดียวกันก่อนดังตัวอย่าง

ตัวอย่างที่ 3 จังหวัดภูเก็ตเป็นเกาะที่สวยงามอยู่ริมฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทยมีพื้นที่ประมาณ
570 ตารางกิโลเมตร ประเทศสิงคโปร์เป็นเกาะอยู่ทางใต้ของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ
246.7 ตารางไมล์ เกาะใดมีพื้นที่มากกว่าและมากกว่ากันประมาณเท่าไร
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

ตัวอย่างที่ 4 มาลีมีที่ดินอยู่ 7 ไร่ มีคนมาขอเช่าที่ดินด้านหน้าคิดเป็นพื้นที่ 3,400 ตารางเมตร


มาลียังเหลือที่ดินอยู่กี่ไร่
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |15
เรื่อง การวัด

กิจกรรมที่ 4 : พื้นที่ต่างมาตรา
1. ในแต่ละข้อได้กาหนดการเทียบหน่วยให้จงตอบคาถามต่อไปนี้
1) พื้นที่ 20 ตารางฟุต ประมาณเป็นกี่ตารางเมตร (1 ตารางฟุตเท่ากับ 0.09 ตารางเมตร)
.........................................................................................................................

2) พื้นที่ 8,400 ตารางเมตร ประมาณเป็นกี่ตารางหลาเหลา (1 ตารางหลาเท่ากับ 0.84 ตารางเมตร)


.........................................................................................................................

3) พื้นที่ 5 เอเคอร์ ประมาณเป็นกีตารางเมตร ( 1 เอเคอร์ เท่ากับ 4046.86 ตารางเมตร)


.........................................................................................................................

4) พื้นที่ 8 ตารางไมล์ ประมาณเป็นกี่ตารางกิโลเมตร (1 ตารางไมล์เท่ากับ 2.59 ตารางกิโลเมตร)


.........................................................................................................................

5) พื้นที่ 1,875 ไร่ประมาณเป็นกี่ตารางกิโลเมตร (1 ตารางกิโลเมตรเท่ากับ 625 ไร่)


.........................................................................................................................

6) พื้นที่ 5,600 ตารางเมตร ประมาณเป็นกี่ไร่ (1 ไร่เท่ากับ 1,600 ตารางเมตร)


.........................................................................................................................

2. วิภามีที่นา 1 ไร่ 2 งาน 25 ตารางวา คิดเป็นที่ดินกี่ตารางเมตร


.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

3. เดิมจิระมีที่ดินอยู่ 2 ไร่ 1 งาน 50 ตารางวา ซื้อเพิ่มอีก 1 ไร่ 3 งาน 75 ตารางวา


รวมที่ดินทั้งหมดเป็นกี่ตารางเมตร
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

4. ที่สหรัฐอเมริกาครอบครัวโจนาธานมีที่ดินสาหรับทาฟาร์มอยู่ 780 เอเคอร์ คิดเป็นพื้นที่กี่ไร่ กีง่ าน และ


กี่ตารางวา (กาหนด 1 เอเคอร์เท่ากับ 2.53 ไร่)
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |16
เรื่อง การวัด

กิจกรรมที่ 5 :
ในทางปฏิบัติการใช้หน่วยการวัดพื้นที่กับเนื้อที่ใด ๆ จะต้องคานึงถึงความเหมาะสมของหน่วยที่จะใช้กับ
ขนาดของสิ่งที่จะวัดตามที่นิยมกัน

ให้นักเรียนเติมจานวนหน่วยความยาวหรือหน่วยพื้นที่ในช่องว่างให้เหมาะสมกับสถานการณ์และ
คานึงถึงเนื้อที่ที่มีอยู่

เงาะอ่านหนังสือนิตยสารบ้านสวยซึ่งมีขนาดของเล่มกว้าง 25 .................. ยาว 30 ..................


หนา 8 .................. พบข้อความประกาศขายที่ดินของ บริษัท แคนสวรรค์จัดสรรที่ดินซึ่งมีเนื้อที่จัดสรรอยู่
ประมาณ 54 ................. และได้ตัดแบ่งเป็นแปลงขนาดแปลงละ 100 -150 .................................
เงาะกาลังต้องการที่ดินขนาดนี้สาหรับสร้างเรือนหอพอดี จึงติดต่อไปที่ บริษัท และตกลงซื้อที่ดินขนาด
150 ........................ หนึ่งแปลง ต่อมาอีก 1 เดือนเงาะว่าจ้างช่างรับเหมาสร้างบ้าน และวางแผนแบ่ง
บริเวณที่ดินสาหรับสร้างสิ่งต่าง ๆ ดังนี้
 แบ่งทาสวนหย่อมหน้าบ้านขนาดกว้าง ....................... ยาว ........................................
 บริเวณตัวบ้านขนาดกว้างลานจอดรถขนาดกว้าง ....................... ยาว ............................
 ช่างรับเหมาคานวณขนาดของบานประตูและหน้าต่างโดยใช้หน่วยความยาวเป็น ....................
และในการติดตั้งบานประตูหน้าต่างเข้ากับวงกบช่างไม้ต้องวัดความยาวให้ละเอียดเป็นหน่วย
................................

 ช่างทาสีคานวณพื้นที่ของฝาห้องและเพดานที่ต้องทาสีเป็นหน่วย .....................................
 ช่างปูกระเบื้องคานวณพื้นที่ที่ต้องปูพื้นเป็นหน่วย ........................ และเตรียมซื้อกระเบื้องที่มี
ขนาด 20  20 .................... สาหรับปูพื้นชั้นล่างของบ้านจานวน 80 กล่องกล่องละ 25 แผ่น
ซึ่งกระเบื้อง 1 กล่องสามารถปูพื้นได้ประมาณ 1 .....................

ข้อควรระวัง
นักเรียนตรวจสอบหรือยังว่าขนาดของพื้นที่ต่าง ๆ ที่นักเรียนเต็มจานวนและหน่วยลงไปในช่องว่างนั้นเกินกว่า
พื้นที่ของที่ดินของเงาะหรือไม่

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |17
เรื่อง การวัด

การคานวณเกี่ยวกับพื้นที่

กิจกรรมที่ 6 : พื้นที่กับความยาวด้าน
จงหาพื้นที่ของรูปต่างๆ ต่อไปนี้ โดยเขียนความสัมพันธ์ของความยาวของด้านที่เกี่ยวข้องกันเติมใน
ช่องว่าง ดังตัวอย่าง

ตัวอย่าง
D C
ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
พื้นที่ของ ABCD เท่ากับ AB  BC ตารางหน่วย
A B

1. C ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมใด ๆ
พื้นที่ของ ABC เท่ากับ ......................................

A D B

2. D C ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน
พื้นที่ของ ABCD เท่ากับ ....................................

A E B

3. S R PQRS เป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู
พื้นที่ของ PQRS เท่ากับ ....................................

P T Q

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |18
เรื่อง การวัด

4. G
DEFG เป็นรูปสี่เหลี่ยมรูปว่าว
D F พื้นที่ของ DEFG เท่ากับ ....................................

B
5.
DABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
A C พื้นที่ของ DABCD เท่ากับ ....................................

6.
S
DPQRS เป็นรูปสี่เหลี่ยมใด ๆ
พื้นที่ของ LPQRS เท่ากับ ....................................
Y R
P
X

ในบางครั้งการหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตอาจต้องคานวณหาพื้นที่มากกว่าหนึ่งขั้นตอน และอาจต้องใช้
ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านจากสูตรต่างๆข้างต้น ดังตัวอย่าง

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |19
เรื่อง การวัด

ตัวอย่างที่ 5 จงหาพื้นที่ของส่วนที่แรเงาของตัวอักษร H เมื่อกาหนดความยาว ดังรูป

2 ซม
1 ซม 5 ซม

2 ซม
1.5 ซม 1.5 ซม
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

ตัวอย่างที่ 6 แผนผังบริเวณพื้นที่ชั้นล่างของบ้านหลังหนึ่ง มีลักษณะและขนาดของด้านตามที่กาหนดไว้ดังรูป


จงหาพื้นที่ของบริเวณพื้นชั้นล่าง
F 6 ม. E
4 ม.
C
D
H 3 ม. G
6 ม.
4 ม.
A B
11 ม.

.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |20
เรื่อง การวัด

ตัวอย่างที่ 7 กาหนดให้ ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมรูปว่าวมี AC เป็นเส้นทแยงมุม


AB = AD = 10 เซนติเมตร ABC ˆ และ ADC ˆ เป็นมุมฉาก
และมีพื้นที่ 240 ตารางเซนติเมตร จงหา ความยาวรอบรูปของ ABCD
B

A C

D
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

ตัวอย่างที่ 8 จงหาพื้นที่ของส่วนที่แรเงาในรูปเมื่อกาหนดความยาวของด้านต่าง ๆ ดังนี้


AB = 15 เมตร MN = 3 เมตร

3 ม. BR = 11 เมตร DN = 4 เมตร
4 ม. RN = 7 เมตร CR = 6 เมตร

7 ม.

6 ม.

11 ม.

15 ม.
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |21
เรื่อง การวัด

ตัวอย่างที่ 9 ที่ดินแปลงหนึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีพื้นที่ 1 ไร่ 3 งาน 28 ตารางวา และกว้าง 52 เมตร


ที่ดินแปลงนี้ยาวกี่เมตร

.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

ตัวอย่างที่ 10 สนามฟุตบอลรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 34 วายาว 68 วา ผู้รับเหมาตัดหญ้าคิดค่าตัดหญ้าตาราง


เมตรละ 0.75 บาท จะต้องเสียค่าตัดหญ้าเป็นเงินเท่าไร

.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |22
เรื่อง การวัด

กิจกรรมที่ 7 : ใครใหญ่กว่ากัน

1. กานันศรแบ่งที่ดินให้ลูก 4 คน แต่ละคนได้ที่ดินมีลักษณะและขนาดตามรูปที่แรเงาดังต่อไปนี้

ต้อย เต๋า
2 วา 2 วา
5 วา 6 วา

แต๋ว
5 วา ติ่ง
2 วา 2 วา
6 วา 5 วา

1) ให้นักเรียนเขียนชื่อลูก ๆ ของกานั้นเรียงลาดับจากคนที่ได้รับที่ดินแปลงใหญ่ไปหาที่ดินแปลงเล็กเอ
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

2) นักเรียนมีวิธีพิจารณาหาคาตอบของข้อ 1) ได้อย่างไรโดยไม่ใช้การคานวณจงอธิบาย
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |23
เรื่อง การวัด

2. เต๋าทาว่าวด้วยโครงไม้ไผ่ไว้ตัวหนึ่ง เขาตั้งใจจะไปซื้อกระดาษที่ตลาดมาปิดโครงว่าว แต่ต้อยบอกว่าเธอ


มีกระดาษอยู่แผ่นหนึ่ง ดังรูป ซึ่งใช้ไปแล้วส่วนหนึ่งที่เหลือยกให้เต๋าไปใช้ทาว่าว จงใช้การคาดคะเนมา
พิจารณาว่า กระดาษที่ต้อยให้สามารถปิดโครงว่าวได้พอหรือไม่จงอธิบาย

12 ซม.
15 ซม.
25 ซม. 20 ซม.
38 ซม. 10 ซม.
25 ซม.
30 ซม.

22 ซม.

.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

3. เต๋าเก็บใบไม้มา 2 ใบ ให้แต้วหาว่าใบไหนใหญ่กว่ากัน

นักเรียนคิดว่าแต้วจะบอกได้หรือไม่ และควรจะมีวิธีการพิจารณาอย่างไรจงอธิบาย
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |24
เรื่อง การวัด

4. การวัดปริมาตรและน้าหนัก

จงพิจารณาภาพต่อไปนี้

ม้วนสาลี แท่งแก้ว ม้วนสาลี แท่งแก้ว


รูปที่ 1 รูปที่ 2

จากรูปที่ 1 เมื่อม้วนสาลีและแท่งแก้วมีปริมาตรเท่ากัน หากนักเรียนนาไปชั่งจะพบว่าแท่งแก้วหนักกว่า


ทั้งนี้เพราะแท่งแก้วมีความหนาแน่นมากกว่า
จากรูปที่ 2 เมื่อม้วนสาลีและแท่งแก้วมีน้าหนักเท่ากันนักเรียนจะเห็นได้ว่าปริมาตรของแท่งแก้วน้อย
กว่าปริมาตรของม้วนสาลีทั้งนี้เพราะแท่งแก้วมีความหนาแน่นมากกว่า
จากตัวอย่างม้วนสาลีและแท่งแก้วข้างต้น เป็นตัวอย่างให้นักเรียนเห็นความสัมพันธ์ของปริมาตร
น้าหนัก และความหนาแน่นของสิ่งแต่ละสิ่ง โดยสิ่งสองสิ่งที่มีปริมาตรเท่ากัน สิ่งที่มีความหนาแน่นมากกว่าจะ
มีน้าหนักมากกว่าและในทางกลับกันสิ่งสองสิ่งที่มีน้าหนักเท่ากัน สิ่งที่มีความหนาแน่นมากกว่าจะมีปริมาตร
น้อยกว่า
ในชีวิตประจาวัน เราใช้พื้นฐานประสบการณ์เกี่ยวกับความหนาแน่นของสิ่งต่าง ๆ ในการคาดคะเน
เกี่ยวกับปริมาตรและน้าหนักอยู่เสมอ ดังตัวอย่างกิจกรรมต่อไปนี้

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |25
เรื่อง การวัด

กิจกรรมที่ 8 : คะเนได้เท่าไร
นักเรียนคิดว่าการคาดคะเนในแต่ละสถานการณ์ต่อไปนี้ เป็นไปอย่างเหมาะสมหรือไม่จงอธิบาย
1. กชกรต้องการซื้อส้มเขียวหวานชนิดคัดผล 2 กิโลกรัมจากส้มกองหนึ่ง
เมื่อหยิบส้มหนึ่งผลวางบนตาชั่ง สังเกตว่ามีน้าหนักมากกว่า 1 ขีดเล็กน้อย เธอจึงหยิบส้มใส่ถุงให้
แม่ค้าชั่ง 17 ผล
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

2. ต้องมีกระถางเพาะชากิ่งมะลิ 80 ใบ เขามีดินผสมสาหรับใช้เพาะชาอยู่แล้ว 1 ถุง จึงนามาใส่


กระถางเพาะชาได้ 7 ใบพอดี ดินผสมชนิดนี้ทางร้านขาย 5 ถุง 100 บาท ต้องส่งเงินให้หลานไป
ซื้อดินมาใส่กระถางที่เหลือทั้งหมด 200 บาท
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

3. คุณยายพาป่านไปซื้อของหลายอย่างที่ร้านค้าแห่งหนึ่ง คนขายแบ่งของที่ซื้อเป็น 4 ถุง


ถุงที่หนึ่งมีกระดาษทิชชูชนิดม้วน 4 ม้วน และ ฟองน้าล้างจาน 1 อัน
ถุงที่สองมีน้าปลาขวดใหญ่ 1 ขวด และ น้าตาลทรายขนาด 1 กิโลกรัม 1 ถุง
ถุงที่สามมีมะนาว 6 ลูก พริกขี้หนู 2 ขีด และดอกแค 1 ถุงประมาณ 3 ขีด
ถุงที่สี่มีเนื้อวัว 3 ขีด ไก่ครึ่งตัว และ ปลาทู 1 เข่ง
ป่านต้องการช่วยคุณยายถือของจึงหยิบถุงที่คิดว่าหนักกว่าถุงอื่น ๆ มาถือ 2 ถุง คือ ถุงที่ 2 และ
ถุงที่ 4
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
4. ปกติป่าชูใจเคยซื้อมะม่วงเขียวเสวยคัดจากแม่ค้าประจาได้ 3 ผลต่อกิโลกรัม วันนี้แม่ค้ามาสาย
คัดมะม่วงให้ไม่ทัน ป้าชูใจต้องการมะม่วง 1.5 กิโลกรัม จึงหยิบมะม่วงขนาดที่เคยซื้อ 3 ผล
และขนาดที่ย่อมกว่าเล็กน้อยมา 2 ผล
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
5. แดงทราบว่าทรายหนักเป็น 2.6 เท่าของน้าที่มีปริมาตรเท่ากัน เขามีถังขนาดเดียวกัน 2 ใบ
ใบหนึ่งใส่ทรายไว้ครึ่งถัง อีกใบหนึ่งใส่น้าไว้เต็มถัง แดงจึงบอกให้ลูกหิ้วถังน้า ส่วนตัวเขาหิ้วถัง
ทราย เพราะรู้ว่าถังทรายหนักกว่า
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |26
เรื่อง การวัด

การวัดปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
นักเรียนเคยทราบมาแล้วว่าเราใช้หน่วยการวัดปริมาตรเป็น ลูกบาศก์หน่วย หรือ หน่วย 3 ตามหน่วย
ของความยาวที่ใช้ในสถานการณ์นั้น

1 ซม. 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร หมายถึง ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากที่


มี ความกว้าง ความยาว และ ความสูง เป็น 1 เซนติเมตร
1 ซม. 1 ซม. เท่ากัน

ตัวอย่างแท่งไม้มี ความยาว 4 เซนติเมตร


ความกว้าง 3 เซนติเมตร และ ความสูง 2 เซนติเมตร จะได้
ปริมาตรของแท่งไม้เป็น 4  3  2 = 24 ลูกบาศก์เซนติเมตร

หน่วยการวัดปริมาตรและหน่วยการวัดน้าหนัก
หน่วยการวัดปริมาตรและน้าหนักที่สาคัญซึ่งนักเรียนควรรู้จักมีดังนี้

หน่วยการวัดปริมาตรในระบบเมตริก
1 ลูกบาศก์เซนติเมตร เท่ากับ 1,000 หรือ 103 ลูกบาศก์มิลลิเมตร
1 ลูกบาศก์เมตร เท่ากับ 1,000,000 หรือ 106 ลูกบาศก์เซนติเมตร
1 ลูกบาศก์เซนติเมตร เท่ากับ 1 มิลลิลิตร
1 ลิตร เท่ากับ 1,000 หรือ 103 มิลลิลิตร
หรือ 1 ลิตร เท่ากับ 1,000 หรือ 103 ลูกบาศก์เซนติเมตร
1,000 ลิตร เท่ากับ 1 ลูกบาศก์เมตร

หน่วยการวัดปริมาตรในระบบอังกฤษ
3 ช้อนชา เท่ากับ 1 ช้อนโต๊ะ
16 ช้อนโต๊ะ เท่ากับ 1 ถ้วยตวง
1 ถ้วยตวง เท่ากับ 8 ออนซ์

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |27
เรื่อง การวัด

หน่วยการวัดปริมาตรในระบบอังกฤษเทียบกับระบบเมตริก (โดยประมาณ)
1 ช้อนชา เท่ากับ 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร
1 ถ้วยตวง เท่ากับ 240 ลูกบาศก์เซนติเมตร

หน่วยการวัดน้าหนักในระบบเมตริก
1 กรัม เท่ากับ 1,000 หรือ 103 มิลลิกรัม
1 กิโลกรัม เท่ากับ 1,000 หรือ 103 กรัม
1 เมตริกตัน เท่ากับ 1,000 หรือ 103 กิโลกรัม

หน่วยการวัดน้าหนักในระบบเมตริกเทียบกับระบบอังกฤษ (โดยประมาณ)
1 กิโลกรัม เท่ากับ 2.2046 ปอนด์
1 ปอนด์ เท่ากับ 0.4536 กิโลกรัม

หน่วยการตวงระบบประเพณีไทยเทียบกับระบบเมตริก
กระทรวงพาณิชย์ได้กาหนดการเทียบหน่วยการตวงระบบประเพณีไทยกับระบบเมตริก
เพื่อการซื้อขาย คือกาหนดให้
ข้าวสาร 1 ถัง มีน้าหนัก 15 กิโลกรัม
ข้าวสาร 1 กระสอบ มีน้าหนัก 100 กิโลกรัม

ตัวอย่างที่ 11 แม่ชงนมให้น้องดื่มวันละ 3 ขวด ขวดละ 8 ออนซ์


ในแต่ละวันน้องดื่มนมกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

ตัวอย่างที่ 12 ทารกแรกเกิดคนหนึ่งมีน้าหนัก 7.04 ปอนด์ อีก 3 เดือนต่อมา ไปชั่งน้าหนักได้ 6.5


กิโลกรัม น้าหนักของทารกคนนี้เพิ่มขึ้นกี่กิโลกรัม
(กาหนดให้ 1 กิโลกรัม เท่ากับ 2.2 ปอนด์)
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath
คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |28
เรื่อง การวัด

กิจกรรมที่ 9 : ห้องครัวของรจนา
ให้นักเรียนทากิจกรรมต่อไปนี้ห้องครัวของรจนา

จงเติมจานวนหรือหน่วยการวัดความยาว พื้นที่ ปริมาตร น้าหนัก ในช่องว่าง ให้เหมาะสมกับ


สถานการณ์นี้

ห้องครัวของรจนากว้าง ......................... ยาว ...................... มีพื้นที่ .............................


ในครัวมี
ถังพลาสติก 1 ใบ สาหรับใส่ข้าวสาร ได้ประมาณ ................................
มีหม้อหุงข้าวสาหรับ 6 คนรับประทานซึ่งมีความจุ 1.5 .........................
กระติกน้าร้อนมีความจุ 2.5 .........................................
มีถังแก๊สขนาดบรรจุ ..................................................
ถังใส่น้าสาหรับบริโภคขนาด ........................................
มีน้ามันพืช 1 ขวด ซึ่งมีปริมาตรสุทธิ 1 ...........................
น้าปลา 1 ขวด ซึ่งมีปริมาตรสุทธิ 750 ............................
เกลือป่น 1 ขวด ซึ่งมีปริมาตรสุทธิ 80 ...........................
มีน้าตาลทราย 1 ถุง ซึ่งมีน้าหนักสุทธิ 1 .........................
ภายในตู้เย็นมีของอยู่มากมาย เช่น
มีนมกล่องขนาด 220 ............................................... อยู่ 3 กล่อง
มีน้าดื่มอยู่ในเหยือกพลาสติกซึ่งมีความจุประมาณ ............................... อยู่ 2 เหยือก
มีไข่ไก่ ..................................................................
มีเนื้อไก่อยู่ประมาณ ...............................................
มีฟักเขียว 1 ผล หนักประมาณ ...................................
แตงโมครึ่งผลสีหนักประมาณ ......................................

นักเรียนคิดว่าในห้องครัวของรจนาน่าจะมีสิ่งใดอยู่อีกบ้างจงเขียนระบุเพิ่มเติมตามใจชอบอีก 2 สิ่ง
พร้อมทั้งบอกปริมาณและหน่วยที่เหมาะสม
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |29
เรื่อง การวัด

กิจกรรมที่ 10 : วัดเกลือ
ให้นักเรียนทากิจกรรมต่อไปนี้

การทานาเกลือมีมากแถบจังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม และเพชรบุรี ชาวนาเกลือมีสูตรคานวณหา


ปริมาตรของกองเกลือทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด กว้าง 1 วา ยาว 1 วา สูง 1 ศอก ว่าเป็นเกลือ 1
เกวียน

นักเรียนจงใช้ความรู้ที่ว่า 1 วา เท่ากับ 2 เมตร 1 เกวียน เท่ากับ 100 ถัง 1 ถัง เท่ากับ 20 ลิตร
และ 1 ลิตร เท่ากับ 1,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร มาอธิบายให้เห็นว่าสูตรการหาปริมาตรดังกล่าว
เป็นจริง

.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |30
เรื่อง การวัด

5. การวัดเวลา

ในสมัยโบราณมนุษย์เห็นดวงอาทิตย์ขึ้นก็รู้ว่าวันใหม่เริ่มขึ้นแล้ว และการบอกเวลาว่าเป็น เช้า สาย บ่าย


หรือ เย็น ก็อาจดูจากความยาวของเงาที่เปลี่ยนแปลงไป ทาให้เกิดแนวคิดในการกาหนดเวลา 1 วัน ว่าเป็น
เวลาที่โลกหมุนรอบตัวเองครบ 1 รอบพอดี เมื่อมนุษย์ได้เรียนรู้ทางคาราศาสตร์มากขึ้น จึงมีแนวคิดในการ
กาหนดเวลา 1 ปีทางสุริยคติ ว่าเป็นเวลาที่โลกโคจรรอบควงอาทิตย์ครบ 1 รอบพอดี ต่อมานักดาราศาสตร์ได้
พบว่าเวลาที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ครบ 1 รอบ เป็นเวลามากกว่า 365 วัน เล็กน้อย ระบบปฏิทินในสมัย
แรก ๆ ที่นิยมใช้กัน ได้แก่ ระบบปฏิทินจูเลียน (Julian Calender) ระบบนี้จึงกาหนดว่า 1 ปีมี 365.25
วัน เมื่อใช้ไปได้ระยะหนึ่งพบว่า การใช้ปฏิทินนี้ในทุก ๆ 400 ปีจะนับวันมากเกินความจริงไป 3 วันเศษ
หลังจากนั้นจึงได้มีการปรับปรุงเป็นระบบปฏิทินเกรกอเรียน (Gragorian Calender) ซึ่งเป็นระบบปฏิทิน
ที่ใช้กันอยู่ทั่วโลกในปัจจุบัน และมีความคลาดเคลื่อนจากความจริงทางดาราศาสตร์น้อยที่สุด ระบบปฏิทิน
เกรกอเรียน กาหนดให้ 1 ปีมี 365.2425 วัน โดยกาหนดเงื่อนไขว่าในปีปกตินั้น 1 ปีมี 365 วัน แต่ในปี
อธิกสุรทิน ซึ่งเป็นปีที่เดือนกุมภาพันธ์มี 29 วันนั้น 1 ปีมี 366 วัน การกาหนดปีอธิกสุรทินให้เป็นไปตาม
หลักการดังนี้
1. ถ้าปี ค.ศ. ใด หารด้วย 4 ไม่ลงตัว จะไม่เป็นปีอธิกสุรทิน
2. ถ้าปี ค.ศ. ใด หารด้วย 4 ลงตัว และ หารด้วย 100 ลงตัว แต่หารด้วย 400 ไม่ลงตัว ปี ค.ศ.
นั้นจะไม่เป็นปีอธิกสุรทิน
3. ถ้าปี ค.ศ. ใด หารด้วย 4 ลงตัว แต่หารด้วย 100 ไม่ลงตัว ปี ค.ศ. นั้นจะเป็นปีอธิกสุรทิน
4. ถ้าปี ค.ศ. ใดหารด้วย 4 ลงตัว และหารด้วย 400 ลงตัวปี ค.ศ. นั้นจะเป็นปีอธิกสุรทิน

นักเรียนคิดว่าปีใดต่อไปนี้เป็นปีอธิกสุรทิน
1) ค.ศ. 1944 2) ค.ศ. 2010
..................................................... ........................................................
3) ค.ศ. 2100 4) ค.ศ. 2400
..................................................... ........................................................
5) ค.ศ. 2443 6) พ.ศ. 2530
..................................................... ........................................................
7) พ.ศ. 2543 8) พ.ศ. 2559
..................................................... ........................................................
ในการกาหนดเวลามีข้อตกลงว่า 1 วัน มี 24 ชั่วโมง 1 ชั่วโมงมี 60 นาที และ 1 นาทีมี 60 วินาที
ในชีวิตประจาวันของนักเรียนการตรงต่อเวลาเป็นเรื่องสาคัญมากเรื่องหนึ่ง เราจึงจาเป็นต้องเข้าใจให้ตรงกันว่า
เป็นเวลาใดในการที่จะรู้ว่าเป็นเวลาใดนั้น นอกจากจะดูจากนาฬิกาโดยตรงแล้ว บางครั้งก็อาจต้องมีการ
คานวณเวลามาเกี่ยวข้องด้วยดังตัวอย่างต่อไปนี้
อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath
คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |31
เรื่อง การวัด

ตัวอย่างที่ 13 ในการแข่งขันจักรยานวิบากเสือภูเขา เส้นทางรอบเขาใหญ่ตั้งต้นจากกรุงเทพฯ-


นครนายก-นครราชสี มาสิ้นสุดการเดินทางที่กรุงเทพฯ สมจิตใช้เวลาในการซ้อมใหญ่
58.45 ชั่วโมงอยากทราบว่าในการซ้อมแข่งขันจักรยานวิบากเสือภูเขาครั้งนี้
ถ้าสมจิตออกเดินทางวันเสาร์ที่ 1 ธันวาคม 2546 เวลา 06.00 น. เขาจะกลับมาที่
จุดสิ้นสุดการแข่งขันวันและเวลาใด
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

นักเรียนทราบมาแล้วว่า ณ ขณะเดียวกันบางประเทศอาจเป็นเวลาเดียวกัน และบางประเทศอาจเป็น


เวลาที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับเวลาท้องถิ่นของประเทศนั้น ๆ เช่น ขณะที่เวลาท้องถิ่นของประเทศไทยเป็นเวลา
12.00 น. เวลาท้องถิ่นของประเทศฝรั่งเศสเป็นเวลา 6.00 น. ของวันเดียวกัน การสื่อความหมายเกี่ยวกับเวลา
กับผู้ที่อยู่ในคนละประเทศ จึงมีปัจจัยเรื่องเวลาท้องถิ่นมาเกี่ยวข้องด้วยดัง ตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่างที่ 14 ปานไปเที่ยวที่ประเทศอียิปต์เขาใช้กล้องถ่ายรูปที่บรรจุฟิล์มไปจากเมืองไทยเรียบร้อยแล้ว
ถ่ายรูปมหาพีระมิดซึ่งเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกกลับมาฝากเพื่อน ๆ
นิดพิจารณารูปมหาพีระมิดที่ปานถ่ายมา พบว่า ที่ภาพถ่ายบันทึกวันเวลาไว้เป็นเวลา
15.00 น. ของวันที่ 10/05/04 ซึง่ ปานบอกนิดว่าเป็นเวลาของประเทศไทย
ให้นักเรียนหาว่าปานถ่ายภาพนี้ตามเวลาท้องถิ่นในประเทศอียิปต์ตรงวันที่เท่าไร และ
เวลาใด (เวลาท้องถิ่นของประเทศอียิปต์ช้ากว่าเวลาท้องถิ่นของประเทศไทย 5 ชั่วโมง)

.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |32
เรื่อง การวัด

กิจกรรมที่ 11 : เวลากับชีวิตประจาวัน
ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. เดือนเมษายน 2547 เป็นเดือนที่กรุงเทพมหานครฉลองครบรอบ 222 ปี ของการสถาปนากรุง
รัตนโกสินทร์ จงหาว่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงประกาศสถาปนา
กรุงรัตนโกสินทร์เมื่อ ปีพ. ศ. ใด และตรงกับ ค.ศ. ใด
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

2. สุมาลินสอบชิงทุนเพื่อไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอกที่ประเทศญี่ปุ่นได้ เธอต้องออกเดินทางจาก
กรุงเทพฯไปยังประเทศญี่ปุ่นโดยเครื่องบินซึ่งใช้เวลาเดินทางประมาณ 6 ชั่วโมง 20 นาที
ถ้าเครื่องบินออกจากกรุงเทพฯวันที่ 22 กรกฎาคมเวลา 23.10 น. สุมาลินจะถึงประเทศญี่ปุ่น
วันที่เท่าไรและประมาณเวลาใดตามเวลาท้องถิ่นของประเทศญี่ปุ่น
(กาหนดให้เวลาท้องถิ่นของประเทศญี่ปุ่นเร็วกว่าเวลาท้องถิ่นของประเทศไทย 2 ชั่วโมง)
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

3. ปิดภาคเรียนฤดูร้อนมานิตไปฝึกงานที่โรงงานผลิตเสื้อผ้าสาเร็จรูปเพื่อการส่งออก ซึ่งต้องประจา
ที่สานักงานวันละ 8 ชั่วโมง จนจบโครงการฝึกงานโดยไม่มีวันหยุด เขาได้รับค่าตอบแทนเป็นราย
ชั่วโมงชั่วโมงละ 30 บาท มานิตเริ่มปฏิบัติงานวันที่ 1 เมษายน ถึง วันที่ 7 พฤษภาคม มานิต
ทางานตลอดโครงการกี่ชั่วโมง และได้รับค่าตอบแทนทั้งหมดเท่าไร
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath
คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |33
เรื่อง การวัด

4. ในการทาความสะอาดโปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมหนึ่งใช้เวลา 8,700 วินาที ถ้าเริ่มทาความ


สะอาดเมื่อเวลา 7.00 น. จะเสร็จสิ้นการทางานเวลาใด
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

5. ตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ถึง วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2565 คิดเป็นเวลากี่วัน
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

6. ตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2566 คิดเป็นเวลากี่ปีกี่เดือน และ
กี่วัน
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

7. ให้นักเรียนเขียนเวลา ณ ขณะนี้ และ คานวณอายุของตัวเองนับตั้งแต่เวลาเกิดจนถึงเวลาปัจจุบัน


ว่ามีอายุปี กี่เดือน กี่ชั่วโมง และกีน่ าที
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |34
เรื่อง การวัด

กิจกรรมที่ 12 : คิดไว้ใช่หรือยัง

จงพิจารณาว่าการคาดคะเนเวลาในแต่ละสถานการณ์ต่อไปนี้ เหมาะสมหรือไม่
1. โก้ชวนเอกไปร่วมงานครบรอบ 30 ปี ของโรงเรียนโดยนัดจะมารับเวลา 9.15 น. เอกตกลงรับคา
ที่จะไปร่วมงานด้วย แต่ตัวเองจะต้องจัดการกับงานประจาที่จะต้องช่วยแม่ทางานให้เสร็จก่อน
ได้ลองคะเนเวลาดูแล้วว่างานของแม่ต้องใช้เวลาไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง จึงตั้ง นาฬิกาปลุกไว้ที่ 6
นาฬิกา
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
2. โรงเรียนของจิตราเข้าแถวเคารพธงชาติตอนเช้าเวลา 7.50 น. ทุกวัน จิตราจะออกจากบ้านไป
โรงเรียนเวลา 7.10 น. และถึงโรงเรียนก่อนเข้าแถวประมาณ 5 นาที วันนี้ครูนัดให้มาถึง
โรงเรียนก่อน 7.30 น. จิตราจึงออกจากบ้านไปโรงเรียนเมื่อเวลา 6.45 น.
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
3. สาลีเป็นลูกค้าคนแรกที่สั่งข้าวไข่เจียว แม่ครัวใช้เวลาเจียวไข่ 5 นาที จึงได้อาหาร
สีดาตามมาทีหลัง เห็นแม่ครัวยกข้าวไข่เจียวมาให้สาลี จึงสั่งข้าวไข่เจียวด้วย แม่ครัวบอกสีดาว่า
จะเสร็จภายใน 3 นาที
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
4. ตามปกติสมศรีใช้ยาสีฟันหลอดใหญ่ขนาดน้าหนักสุทธิ 160 กรัม 1 หลอด ไปได้นานประมาณ
48 วัน เมื่อยาสีฟันใกล้หมดสมศรีไปซื้อยาสีฟันขนาดเดิมที่ร้านค้าแห่งหนึ่งสมศรีซื้อยาสีฟันมา
1 ห่อ (3 หลอด) และคิดว่าน่าจะใช้ได้นานถึง 6 เดือน
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
5
5. ปกติปูใช้เวลาเดินทางจากบ้านไปโรงเรียนโดยผ่านตลาดประมาณ ชั่วโมง ใช้เวลาเดินทางจาก
6
1
โรงเรียนถึงตลาดประมาณ ชั่วโมง วันนี้คุณแม่บอกกับปูว่าตอนเย็นเมื่อเลิกเรียนแล้วให้ปู
4
แวะซื้อปลาทูจากตลาดมาให้แม่ด้วย เพราะแม่จะทาน้าพริกปลาทูเป็นอาหารเย็น ปรากฏว่าปู
เลิกเรียนและเดินทางไปตลาดเมื่อเวลา 16.00 น. ปูคาดคะเนว่าน่าจะไปถึงบ้านก่อนเวลา
17.00 น.
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath


คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน้า |35
เรื่อง การวัด

6. ต้นและต่อขับรถคนละคันออกจากกรุงเทพฯ เพื่อไปพบกันที่ชะอาต้นออกจากกรุงเทพฯ
เวลา 9 นาฬิกา 15 นาที แวะรับประทานอาหารที่เขาวังครึ่งชั่วโมง แล้วจึงเดินทางต่อจนถึง
ชะอา รวมเวลาที่ใช้ทั้งหมด 3 ชั่วโมง 55 นาที ในขณะที่ต่อเดินทางโดยไม่แวะที่ไหนเลยใช้เวลา
3 ชั่วโมง 15 นาที สรุปได้ว่าต้นขับรถเร็วกว่าต่อ
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

คิดสนุก
ดาวพุธใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ 88 วัน ดังนั้นเวลา 1 ปีของดาวพุธจึงมี 88 วัน
ชายคนหนึ่งอายุ 10 ปี บนโลกชายคนนี้มีอายุกี่ปีบนดาวพุธ (คิด 1 ปีบนโลกมี 365 วัน)

.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

อ้างอิง
หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 : สสวท

อ.รังสรรค์ ทองสุ กนอก GTRmath

You might also like