Download as key, pdf, or txt
Download as key, pdf, or txt
You are on page 1of 19

อลิซึมเมแทบอลิซึม

Metabolism
ในการศึกษาแรก ๆและคิดกันว่าพลังชีพเป็ นสิ่งที่ทำให้เนื้อเยื่อสิ่งมีชีวิตมี
ชีวิตในคริสต์ศตวรรษที่ 19 หลุยส์ ปาสเตอร์ บอกว่าการหมักถูกเร่ง
ปฏิกิริยาโดยสารที่อยู่ในเซลล์ยีสต์ เรียกว่า "เอ็นไซม์"

ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เอดูอาร์ด บุคเนอร์ แยกการศึกษาปฏิกิริยาเคมี


เมแทบอลิซึมจากการศึกษาทางชีวภาพของเซลล์ ต่อมา ฮันส์ เครบส์ ค้น
พบวัฏจักรยูเรียรวมถึงวัฏจักรกรดซิตริกและวัฏจักรไกลออกซีเลต
หลุยส์ ปาสเตอร์ เอดูอาร์ด บุดเนอร์ ฮันส์ เครบส์
เมแทบอริซึม

เป็ นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสิ่งมีชีวิต ให้เป็ น


พลังงานภายในเซลล์มีการใช้หรือปลดปล่อยพลังงานออก
มา สารอาหารและพลังงานจะถูกนำมาใช้ในการทำกิจกรรม
ต่างๆของสิ่งมีชีวิต
เช่น การเคลื่อนไหว
สิ่งมีชีวิตแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม

1 . กลุ่มที่สร้างอาหารเองได้
เช่น พืชที่รับพลังงานจากแสงอาทิตย์ เพื่อนำมาสร้างน้ำตาล

2 . กลุ่มที่สร้างอาหารเองไม่ได้
เช่น สัตว์ที่รับพลังงานจากอาหารที่กิน
น้ำตาลที่พืชสร้างและอาหารที่สัตว์กิน จะถูก
สังเคราะห์สารและสลายสาร ซึ่งในสิ่งมีชีวิตจะ
ต้องใช้เอนไซม์ในการสังเคราะห์สาร เรียก
ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิตว่า "เมแทบอลิ
เมแทบอลิซึมแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
1.แคแทบอลิซึม
2.แอแนบอลิซึม
แคทาบอลิซึม

การสลายตัวของโมเลกุลเพื่อให้ได้พลังงาน ที่ให้แก่
ร่างกาย และช่วยให้กล้ามเนื้อหดตัวและร่างกาย
เคลื่อนไหวได้
แคแทบอลิซึม

แลตโตส กลูโคส + กาแลคโทส

แลตโตสจากเดิมที่เป็ นโมเลกุลคู่ ถูกย่อยให้กลายเป็ นโมเลกุลเดี่ยว


หรือกลายเป็ นกลูโคส+กาแลคโทส
แอแนบอลิซึม

การสังเคราะห์สารประกอบที่เซลล์ต้องการ ซึ่งโมเลกุลขนาด
เล็กจะเปลี่ยนเป็ นโมเลกุลที่มีขนาดใหญ่ขึ้นและซับซ้อนขึ้น
อย่างคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน และนำไปเก็บไว้ที่ตับ
และกล้ามเนื้อ
แอแนบอลิซึม

กลูโคส + กาแลคโตส มอนโทส

กลูโคส+ กาแลคโตส เป็ นโมเลกุลเดี่ยว จะถูกแปลงไปเป็ น


มอนโทสที่เป็ นโมเลกุลคู่ที่มีขนาดใหญ่
วิถีเมแทบอลิซึม
โดยสารผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยาหนึ่งจะ
เป็ นสารตั้งต้นของอีกปฎิกิริยาหนึ่งต่อ
เนื่องกันไปจนได้สารผลิตภัณฑ์สุดท้าย
โดยทั่วไปเอนไซม์ชนิดชนิดหนึ่ง จะเร่ง
ปฎิกิริยาเคมีได้เฉพาะอย่างเท่านั้น ดัง
นั้นในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตจึงมีเอมไซม์
หลายชนิดเพื่อเร่งปฎิกิริยาเคมีต่างๆ
ภายในเซลล์
สารชีวเคมีหลัก

สารชีวเคมีหลัก
โครงสร้างส่วนใหญ่ที่ประกอบขึ้นเป็ นสัตว์ พืชมาจาก
โมเลกุลพื้นฐานสามกลุ่มหลัก ได้แก่ กรดอะมิโน
คาร์โบไฮเดรตและลิพิดหรือไขมัน
กรดอะมิโนและโปรตีน

โปรตีนมีความสำคัญในการส่งสัญญาณของเซลล์ ระบบ
ภูมิคุ้มกัน การยึดติดของเซลล์ การลำเลียงแบบใช้พลังงาน
ข้ามเยื่อ และวัฏจักรเซลล์

กรดอะมิโนมีผลต่อพลังงานของเซลล์ โดยการให้
แหล่งคาร์บอนสำหรับ เข้าสู่วัฏจักรกรดซิตริก
กรดอะมิโน

ลิพิด หรือ ไขมัน


มีผลต่อพลังงานของเซลล์ โดยการให้แหล่งคาร์บอนสำหรับ
เข้าสู่วัฏจักรกรดซิตริก

เป็ นส่วนหนึ่งของเยื่อทั้งภายนอกและภายใน เช่น เยื่อหุ้ม


เซลล์ ลิพิดประกอบด้วยกรดไขมันและกลีเซอรอล กลีเซอร
อลที่เชื่อมติดกับกรดไขมันเอสเทอร์สามตัวเรียก
ไตรกลีเซอไรด์
เอ็นไซม์
เอนไซม์ทำหน้าที่เป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา ทำให้ปฏิกิริยาเคมี
ต่าง ๆ ของร่างกายดำเนินอย่างรวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพ เอนไซม์ยังทำหน้าที่ควบคุมวิถีเมแทบอลิ
ซึมในกระบวนการการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงใน
สิ่งแวดล้อมของเซลล์
สารแปลกปลอม
สิ่งมีชีวตได้รับสารประกอบที่ไม่สามารถใช้เป็ นอาหารได้
และอาจเกิดอันตราย ถ้าสารนั้นสะสมอยู่ในเซลล์ เพราะ
ไม่มีหน้าที่ทางเมแทบอลิซึม สารประกอบที่อาจเป็ น
อันตรายนี้เรียกว่า "สารแปลกปลอม"
สมาชิก
1. นางสาวจุฑามณี ลาจันทร์ เลขที่ 21
2. นางสาวปิยฐิตรา ม่วงสี เลขที่ 22
3. นางสาวเพ็ญพิชชา แนบบุญ เลขที่ 23
4. นางสาวรุ้งเพชร บุญวัฒนานนท์ เลขที่ 24

You might also like