Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 65

เครือ่ งมือวัดทางไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์

เครื่ องมือวัด
(Instrumentation)

เครื่ องมือวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
เครือ่ งมือวัดอุตสาหกรรม
 เครื่ องมือวัดอุตสาหกรรม อุปกรณ์จาเป็ นที่ตอ้ งมีติดโรงงาน เพราะเครื่ องมือวัดในงาน
อุตสาหกรรมจะช่วยให้การวัดค่าต่าง ๆ แม่นยาขึ้น ทาให้ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มีคุณภาพตรงตามที่
ออกแบบไว้ การวัดของเครื่ องมือวัดอุตสาหกรรมสามารถวัดค่าได้หลากหลายขึ้นอยูก่ บั ประเภท
ของเครื่ องมือ เช่น วัดอัตราการไหลของน้ า วัดน้ าหนัก และวัดอุณหภูมิ

เครื่ องมือวัดอุตสาหกรรมคือเครื่ องมือที่ออกแบบมาเพื่อให้สามารถวัดค่าต่าง ๆ สาหรับการสร้าง


ผลิตภัณฑ์ในโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อนาค่าที่ได้ไปประมวลผลและควบคุมการผลิตให้ตรงตาม
มาตรฐานที่วางไว้
 เครือ่ งมือวัดอุตสาหกรรมจะมีจดุ ประสงค์ในการวัดอยู่ 2 ประการด้วยกันคือ
 ใช้เครือ่ งมือวัดอุตสาหกรรมเพื่อทราบค่าต่าง ๆ แบบเป็ นค่าดิบ ไม่ได้นาตัวเลขไปวิเคราะห์
อะไร
 ใช้เครือ ่ งมือวัดอุตสาหกรรมเพื่อควบคุมค่า โดยการเทียบค่าทีไ่ ด้กบั ค่าควบคุมที่ตอ้ งการ
เพื่อให้สามารถควบคุมการผลิตให้ตรงตามแผนทีว่ างไว้ให้ได้มากทีส่ ุด เนื่องจากจุดประสงค์
การใช้เครือ่ งมือวัดอุตสาหกรรมอาจแตกต่างกันไปได้ตามโรงงานหรือรูปแบบผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิต
ดังนัน้ เครือ่ งมือวัดอุตสาหกรรมจะถูกออกแบบมาให้สามารถวัดค่าได้อย่างละเอียด มีความถูก
ต้องแม่นยาสูง เพื่อให้สามารถใช้งานกับโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้อย่างเต็มที่
เครือ่ งมือวัด ที่จาเป็ นในโรงงาน มีอะไรบ้าง ?
 1. เวอร์เนีย คาลิปเปอร์ (Vernier Caliper)
 2. ไมโครมิเตอร์ (Micrometer)

 3. ไฮเกจ (Height Gage)

 4. ไดอัลเกจ (Dial Indicator)

 5. ไดอัลเทสอินดิเคเตอร์ (Dial Test Indicator)

 6. บอร์เกจ (Bore Gage)

 7. เกจวัดความลึก (Depth Gage)

 8. เครือ่ งวัดความแข็ง (Hardness Tester


เครือ่ งมือวัดทางไฟฟ้ า

 เครือ่ งมือวัดทางไฟฟ้ า (Electrical measuring


instrument)
 เครือ ่ งมือวัดทางไฟฟ้ าเป็ นอุปกรณ์ทใี่ ช้ในการวัดพารามิเตอร์ทางไฟฟ้ าต่างๆ ในวงจรและระบบ
เครือ่ งมือเหล่านี้มีบทบาทสาคัญในวิศวกรรมไฟฟ้ า อิเล็กทรอนิกส์ และสาขาอืน่ ๆ ทีต่ อ้ งการ
การวัดปริมาณไฟฟ้ าทีแ่ ม่นยา ต่อไปนี้คอื เครือ่ งมือวัดทางไฟฟ้ าบางประเภททัว่ ไป:
 1.โวลต์มิเตอร์ (Volt meter เขียนย่อ V): สาหรับการวัดแรงดันไฟฟ้ า ซึ่ งเป็ นความต่าง
ศักย์ระหว่างจุดสองจุดในวงจรไฟฟ้า โวลต์มิเตอร์ใช้เพื่อกาหนดระดับแรงดันไฟฟ้าใน
ส่ วนประกอบหรื อส่ วนประกอบของวงจร
 2.แอมมิเตอร์ (Amp meter เขียนย่อเป็ น I): สาหรับวัดกระแสไฟฟ้ า ซึ่ งเป็ นการไหลของ
ประจุไฟฟ้าผ่านวงจร แอมมิเตอร์ใช้สาหรับวัดกระแสที่ไหลผ่านจุดใดจุดหนึ่งในวงจร
 3.โอห์มมิเตอร์ (OHM meter สัญลักษณ์ Ω): สาหรับวัดความต้านทานในวงจร ใช้วดั
ความต้านทานของตัวต้านทาน ตัวนา และส่ วนประกอบอื่นๆ
 4.ออสซิลโลสโคป: แม้วา่ จะไม่ใช่เพียงเครื่ องมือวัดแต่ออสซิลโลสโคปเป็ นเครื่ องมือกราฟิ กที่ใช้ในการ
แสดงภาพและวิเคราะห์รูปคลื่นแรงดันไฟฟ้าแบบเรี ยลไทม์ ช่วยให้วิศวกรและช่างเทคนิคสังเกต
พฤติกรรมของสัญญาณไฟฟ้าเมื่อเวลาผ่านไป
 5.มัลติมิเตอร์ (Multimeter): เป็ นเครื่ องมืออเนกประสงค์ที่รวมฟังก์ชนั การวัดต่างๆ ไว้ในอุปกรณ์เครื่ อง
เดียว สามารถวัดแรงดัน กระแส ความต้านทาน และบางครั้งพารามิเตอร์อื่นๆ ได้เช่นกัน มัลติมิเตอร์ใช้กนั
อย่างแพร่ หลายสาหรับการทดสอบและแก้ไขปัญหาทัว่ ไป
 6.แคลมป์ มิเตอร์: มิเตอร์น้ ีใช้วดั กระแสไฟโดยไม่ตอ้ งตัดวงจร มันหนีบรอบตัวนาและวัดสนามแม่เหล็กที่
เกิดจากกระแสเพื่อกาหนดการไหลของกระแส
 7.เมกโอห์มมิเตอร์ (เครื่ องทดสอบฉนวน): เครื่ องมือนี้วดั ความต้านทานฉนวนของอุปกรณ์ไฟฟ้า ซึ่งมี
ความสาคัญต่อการรักษาความปลอดภัยและความสมบูรณ์ของระบบไฟฟ้า
 8.ตัวบ่งชี้ลาดับเฟส: ใช้เพื่อกาหนดลาดับการเชื่อมต่อเฟสในระบบไฟฟ้าสามเฟส ข้อมูลนี้มีความสาคัญ
อย่างยิง่ ต่อการรับประกันการทางานที่ถูกต้องของอุปกรณ์สามเฟส
ทรานสดิวเซอร (Transducer) และเซนเซอร (Sensors)

เป็ นนระบบการวัดทัว่ ๆ ไปจะมีองค์ประกอบสาคัญ ๆ แบ่งเป็ นส่ วนย่อย ๆ


โดยมีส่วน หน้า(ส่ วนแรก) ทาหน้าที่รับการเปลี่ยนแปลงจากตัวแปรหรื อสิ่ ง
ที่ตอ้ งการวัดเข้ามาเราเรี ยกว่าส่ วนตรวจจับ และ ส่ งให้ส่วนปรับแต่ง
สัญญาณ ส่ วนประมวลผลและส่ วนแสดงผลตามลาดับ
ทรานสดิวเซอร์ คืออุปกรณ์แปลงข้อมูลหรื อพลังงานรู ปแบบต่าง ๆ ให้เป็ นข้อมูล
หรื อพลังงานไฟฟ้า หรื ออาจกล่าวได้วา่ คืออุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานจาก
รู ปแบบหนึ่ งเป็ นอีกรู ปแบบหนึ่ งโดยที่ทรานสดิวเซอร์ อาจรวมทั้งอุปกรณ์ตรวจจับ
ํ กจะหมายรวมทั้ง 4 ส่ วน
และส่ วนปรับแต่งสัญญาณ เช่น ทรานสดิวเซอร์ ชงั่ น้าหนั
คือ ส่ วนการตรวจจับ ส่ วนปรับแต่งสัญญาณ ส่ วนประมวลผล และส่ วนแสดงผล
เซนเซอร์ คือตัวอุปกรณ์ตรวจรู ้ตวั แรกในระบบการวัด ซึ่ งใช้ตรวจจับหรื อรับรู ้การ
เปลี่ยนแปลง ปริ มาณทางกายภาพของตัวแปรต่าง ๆ เช่น ความร้อน แสง สี เสี ยงระยะ
ทางการเคลื่อนที่ความดัน การไหลเป็ นต้น แล้วเปลี่ยนให้อยูใ่ นรู ปของสัญญาณหรื อ
ข้อมูลที่สอดคล่องและเหมาะสมกับส่ วนของการกาหนดเงื่อนไข ทาง สัญญาณ ถ้าใช้
เซนเซอร์ วดั แบบสัมผัสกับตัวแปรโดยตรงเรี ยก ตัวตรวจรู ้แบบปฐม (Primary
Sensors) หรื อ ตัวตรวจรู ้ช้ นั ต้น
ชนิดของเซนเซอร์ การแบ่งชนิดของทรานสดิวเซอร์ แบ่งโดยอาศัยหลักเกณฑ์ต่าง ๆ
ดังต่อไปนี้คือ

1.แบ่งตามความต้องการพลังงาน
- แบบแอคทีฟ (Active Sensors) เป็ นทรานสดิวเซอร์ที่สามารถปล่อยพลังงานเองได้เช่น เทอร์
โมคัปเปิ ล เพียชโซ เซลล์แสงอาทิตย์ ออปโตไดโอด เป็ นต้น อุปกรณ์เหล่านี้ไม่ตอ้ งมี
แหล่งจ่ายกาลังจาก ภายนอกให้กส็ ามารถให้สญ ั ญาณแรงดันหรื อกระแสที่แปรตามตัว
แปรได้เอง
- แบบพาสซีฟ (Passive Sensors) แบบนี้จะต้องใช้แหล่งจ่ายจากภายนอกจึงจะทาการตรวจรู ้
ได้ เช็นเซ็นเซอร์ที่ใช้หลักการเปลี่ยนค่าความต้านทาน ค่าความจุค่าความเหนี่ยวนา ฯลฯ
เป็ นต้น
2.แบ่งตามลักษณะกลไกในการทางาน
– การเปลี่ยนแปลงคาความจุ (Variable Capacitance Transducer)
- การเปลี่ยนแปลงค่าความเหนี่ยวนา (Variable Inductance Transducer)
- การเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทาน (Variable Resistance Transducer)
3. แบ่งตามชนิดของการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
- เปลี่ยนพลังงานกลเป็ นไฟฟ้า
- เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็ นพลังงานกล
- เปลี่ยนพลังงานแสงเป็ นพลังงานไฟฟ้า
- เปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็ นพลังงานไฟฟ่ า
4. แบ่งตามชนิดของสัญญาณที่ใช้
- แบบอนาลอกให้สญ ั ญาณเป็ นแบบต่อเนื่อง
- แบบไบนารี ให้สญ ั ญาณแบบเปิ ด – ปิ ด (ON – OFF)
- ดิจิตอลให้สญ ั ญาณเป็ นแบบดิจิตอล
5. แบ่งตามตาแหน่งที่ใช้ในระบบ
- ทรานสดิวเซอร์ดา้ นเข้า (Input Transducer) อยูท่ างด้านเข้าของระบบเครื่ องมือ เช่น
ไมโครโฟน เป็ นต้น - ทรานสดิวเซอร์ดา้ นออก (Output Transducers) เช่น ลาโพงของ
ระบบเครื่ องขยายเสี ยง เป็ นต้น
6. แบ่งตามข้อมูลหรื อวัตถุประสงค์ในการวัด
- เช่น ทรานสดิวเซอร์วดั การเคลื่อนที่วดั อุณหภูมิ ความดัน อัตราการไหล ตาแหน่ง เป็ นต้น
มัลติมเิ ตอร์ (Multimeter)

อะนาลอก (Analog) ดิจติ อล (Digital)


มัลติมเิ ตอร์แบบเข็ม (Analog multimeter)

ใช้วดั หาค่าทางไฟฟ้ าและ


อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่
- ค่าแรงดันไฟฟ้ า
- ค่ากระแสไฟฟ้ า
- ค่าความต้านทาน
ส่วนประกอบของมัลติมเิ ตอร์แบบเข็ม
หน้าปั ดมิเตอร์
แสดงสเกล
เข็มมิเตอร์

จุดเสียบวัดสัญญาณ
Output
สวิตช์เลือก
เสียบสายขัว้ บวก ย่านวัด
เสียบสายขัว้ ลบ
ส่วนประกอบของสเกลหน้ าปัด
1. สเกลอ่านค่าความต้านทาน
2. สเกลอ่านค่าแรงดันไฟตรง และแรงดันไฟสลับ
3. สเกลอ่านค่าแรงดันไฟตรงที่มี 0 อยูก่ ่ ึงกลาง
4. สเกลอ่านค่าแรงดันไฟสลับสู งสุ ด 2.5 V
5. สเกลอ่านค่าอัตราขยายกระแส ของทรานซิ สเตอร์ (hFE)
6. สเกลอ่านเดซิเบล (dB)
7. สเกลอ่านค่าแรงดันไฟตรง (LV) เมื่อตั้งย่านวัดกระแสที่โอห์ม
8. สเกลอ่านค่ากระแสไฟตรง (LI) เมื่อตั้งย่านวัดกระแสที่โอห์ม
9. สเกลอ่านค่าเมื่อทดสอบแบตเตอรี่
10. กระจกเงา
11. หลอด LED บอกการต่อวงจร
ส่วนประกอบของสเกลหน้ าปัด (ต่อ)

สเกลค่าคามต้านทาน

สเกลอ่านค่าแรงดันและกระแส
สวิตช์เลือกย่านการวัด

วัดค่าแรงดันไฟฟ้ า วัดค่าแรงดันไฟฟ้ า
DC AC

วัดค่ากระแสไฟฟ้ า วัดค่าความต้านทาน
DC
การใช้ดซี โี วลท์มเิ ตอร์ (DC Voltage)

ทั้งหมด 7 ย่าน คือ 0.1 V, 0.5V, 2.5V, 10V, 50V, 250V และ 1,000V
การใช้ดซี โี วลท์มเิ ตอร์ (DC Voltage)
การใช้ดซี โี วลท์มเิ ตอร์ (DC Voltage)
การใช้ดซี โี วลท์มเิ ตอร์ (DC Voltage)
การใช้ดซี โี วลท์มเิ ตอร์ (DC Voltage)
การใช้ดซี โี วลท์มเิ ตอร์ (DC Voltage)
การใช้ดซี โี วลท์มเิ ตอร์ (DC Voltage)
การใช้ดซี โี วลท์มเิ ตอร์ (DC Voltage)
การใช้ดซี โี วลท์มเิ ตอร์ (DC Voltage)
การใช้ดซี แี อมป์ มิเตอร์ (DC Current)

ทั้งหมด 4 ย่าน คือ 50uA, 2.5mA, 25mA และ 0.25 mA


การใช้ดซี แี อมป์ มิเตอร์ (DC Current)
การใช้ดซี แี อมป์ มิเตอร์ (DC Current)
การใช้ดซี แี อมป์ มิเตอร์ (DC Current)
การใช้ดซี แี อมป์ มิเตอร์ (DC Current)
การใช้โอห์มมิเตอร์ วัดค่าความต้านทาน

ทั้งหมด 5 ย่าน คือ x1, x10, x100, x1k และ x10k


การใช้โอห์มมิเตอร์ วัดค่าความต้านทาน

10 x100kΩ = 1000kΩ = 1MΩ

ค่าทีอ่ ่านได้จากสเกล ตัวคูณ (ย่านวัด)


การใช้โอห์มมิเตอร์ วัดค่าความต้านทาน

24 x1kΩ = 24kΩ อ่านว่า 24 กิโลโอห์ม

ค่าทีอ่ ่านได้จากสเกล ตัวคูณ (ย่านวัด)


การใช้โอห์มมิเตอร์ วัดค่าความต้านทาน

44 x10Ω = 440Ω

ค่าทีอ่ ่านได้จากสเกล ตัวคูณ (ย่านวัด)


การใช้โอห์มมิเตอร์ วัดค่าความต้านทาน

95 x1Ω = 95Ω

ค่าทีอ่ ่านได้จากสเกล ตัวคูณ (ย่านวัด)


ดิจติ อลมัลติมเิ ตอร์ (Digital Multimeter)

ดิจติ อล (Digital)
ดิจติ อลมัลติมเิ ตอร์ (Digital Multimeter)
ดิจติ อลมัลติมเิ ตอร์ (Digital Multimeter)
หน้าจอแสดงค่าทีว่ ดั ได้เป็ นตัวเลข
แคล้ มป์ มิเตอร์ (CLAMP METER)
 แคล้มป์ มิเตอร์ (Clamp meter) เป็ นเครื่ องมือวัดทาง
ไฟฟ้าอีกชนิดหนึ่งที่ใช้ สาหรับเปลีย่ นปริมาณทางไฟฟ้า
ให้ อยู่ในรูปที่เราสัมผัสได้ เช่ น ตัวเลขแสดงผล หรื อให้ อยู่
ในรูปของเข็มชี้ค่าแสดงผล โดยจะสามารถตรวจวัดค่า
กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรได้ อย่ างรวดเร็วและแม่ นยา
โดยไม่ ต้องดับไฟ หรื อหยุดการทางานของอุปกรณ์ ไฟฟ้า
ในขณะที่ทาการวัด จึงกล่าวได้ ว่าแคล้มป์ มิเตอร์ เป็ น
เครื่ องมือวัดอีกชนิดหนึ่งที่มีความจาเป็ นมากในงานด้ าน
ไฟฟ้าต่ างๆ ไม่ ว่าจะเป็ นระบบปรับอากาศ เครื่ องทาความ
เย็น หรื องานซ่ อมบารุงระบบไฟฟ้าภายในรถยนต์ เป็ น
ต้ น
เครื่ องวัดลาดับเฟส (PHASE SEQUENCE TESTER)

 เครือ่ งวัดลาดับเฟสไฟ 3 เฟส หรือ Phase Sequence Tester ในระบบไฟ 3


เฟสจาเป็ นต้องทาการตรวจลาดับเฟส เพราะหากเกิดการสลับเฟสจะทาให้โหลดประเภท
มอเตอร์หมุนกลับทิศ หรือมีผลเสียหายอืน่ ๆ เครือ่ งวัดลาดับเฟสจะทาหน้าทีต่ รวจจับว่าใน
ระบบไฟ 3 เฟสมีการเรียงเฟสอย่างถูกต้องหรือไม่
เครือ่ งมือวัดค่าความต้านทานดิน
 เครือ่ งมือวัดความต้านทานดิน (Earth
tester) มีความจาเป็ นในการใช้งาน
เพือ่ วัดระบบกราวน์ของหลักดิน
(Earth electrode) หรือ
ของวงจรว่ามีความต้านทาน ณ พื้นที่นนั้ ๆ
อยู่ในระดับที่กาหนดหรือไม่ ถ้าหากระบบ
กราวน์ของวงจรไม่ได้ค่าตามที่กาหนดไว้ จะ
ทาให้เกิดสัญญาณรบกวนหรือกระแสรัว่ ไหล
ที่อาจจะเกิดขึ้นไม่สามารถผ่านลงดินได้ ซึง่ จะ
ทาให้ไปรบกวนอุปกรณ์ไฟฟ้ า
อุบตั ิเหตุสลด เด็ก 6 ขวบอาบนา้ แต่โดนไฟช็อต ย่าได้ยนิ เสียงรีบเข้าช่วยแต่
ไม่รอด ปู่ ตามไปเจอโดนไฟดูดอีกราย เสียชีวิต 3 ศพ
 วันที่ 7 กรกฎาคม 2567 เว็บไซต์ Sinchew รายงานว่า เกิดเหตุการณ์สุดสลดใจ หลัง
เด็กหญิงวัย 6 ขวบถูกไฟฟ้ าช็อตจากไฟฟ้ ารัว่ ขณะอาบนา้ เมื่อปูยา่ ได้ยินก็รบี ไปช่วยหลาน แต่
ทัง้ 3 คนกลับเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุครัง้ นี้
เหตุการณ์ดงั กล่าวเกิดขึ้นช่วง 13.30 น. เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ทีผ่ า่ นมา ทีป่ ระเทศ
กัมพูชา ครอบครัวหนึ่งซึง่ อาศัยอยูใ่ นเมืองเซบา จังหวัดเสียมราฐ ถูกพบว่าเสียชีวติ ในบ้าน 3
ศพ ประกอบด้วยหลานสาว และปู่ กับย่า ก่อนทีต่ อ่ มาเจ้าหน้าทีซ่ งึ่ เข้าตรวจสอบจะพบสาเหตุ
ชวนสะเทือนใจรายงานระบุวา่ คุณย่าได้ยินเสียงร้องของหลานสาววัย 6 ขวบทีก่ าลังอาบนา้ อยู่
จึงรีบเข้าไปช่วยหลาน แต่ตวั เองก็ถูกไฟฟ้ าช็อตและกรีดร้องเสียงดังออกมาจากห้องนา้ เมื่อคุณ
ปู่ ได้ยินเสียงจึงรีบเข้าไปช่วย แต่เขาก็ถูกไฟฟ้ าดูดและล้มลงกับพื้นโดยไม่ทนั ตัง้ ตัว
 เจ้าหน้าทีต ่ ารวจ เปิ ดเผยว่า ผูเ้ สียชีวติ ทัง้ สามรายเป็ น ชายวัย 51 ปี หญิงวัย 47 ปี และ
หลานสาวอายุ 6 ปี หลังจากการชันสูตรพลิกศพ พบว่าเหยื่อทัง้ 3 รายเสียชีวติ จากไฟฟ้ าช็อต
เครือ่ งมือวัดค่าความต้านทานฉนวน
 เครื่ องมือตรวจสอบฉนวน (Insulation
tester) มีความจาเป็ นเพื่อตรวจดูว่าอุปกรณ์
หรื อเครื่ องมือทางไฟฟ้านั้นมีความบกพร่ อง
ในเรื่ องฉนวนหรื อไม่ โดยจะวัดออกมาเป็ น
หน่ วยของความต้ านทานทีม่ ีค่าเป็ นเมกะ
โอมห์ (MΩ) ซึ่งถ้ าเครื่ องมืออุปกรณ์ มี
ความบกพร่ องในเรื่ องของฉนวนจะทาให้ ผ้ ูที่
ใช้ เครื่ องมือหรื ออุปกรณ์น้ันๆ ถูกไฟฟ้าดูดได้
และอาจจะทาให้ เกิดการลัดวงจรจนทาให้ เกิด
เพลิงไหม้ ได้
POWER METERS (พาวเวอร์มิเตอร์)
 เครื่ องวิเคราะห์ พลังงานไฟฟ้ าและคุณภาพ
ของระบบไฟฟ้ า หรื อ พาวเวอร์
มิเตอร์ (Power meter) เป็ นอุปกรณ์
ตรวจเช็คและวิเคราะห์ การใช้ พลังงานไฟฟ้ า
และคุณภาพของระบบไฟฟ้ าในโรงงาน
อุตสาหกรรม ซึ่งเป็ นอุปกรณ์ วดั พารามิเตอร์
ทีส่ าคัญทางไฟฟ้ าอย่ างเช่ น แรงดันไฟฟ้ า
กระแสสลับ ความถี่ กาลังไฟฟ้ า ฮาร์ มอนิกส์
Transient Inrush current พลังงาน และ
พารามิเตอร์ ต่างๆ ในการใช้ งานปกติ และ
สามารถใช้ เป็ น Data logger
เครื่ องวัดไฟฟ้ าสถิตย์ (ELECTROSTATIC FIELD METER )
 Electrostatic Field Meter เป็ น
เครื่องมือชิ้นหนึ่ง ทีใ่ ช้วดั ไฟฟ้ าสถิตทีเ่ กิดขึ้นบริเวณใดบริเวณหนึ่ง
ได้ สามารถแสดงค่าความต่างศักย์ออกว่าเป็ นแรงดัน (โวลท์) ใช้
งานได้ง่าย โดยการใช้เครือ่ งมือชี้ไปทีบ่ ริเวณทีต่ อ้ งการวัดห่าง
ประมาณ 1 นิ้ว เพื่อให้ทราบว่าตรงนัน้ มีไฟฟ้ าสถิตอยูเ่ ท่าใด ซึง่
เป็ นบริเวณทีม่ ีประจุไฟฟ้ าคงค้างอยู่ มีผลเสียหายต่ออุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์หรือไม่ เพื่อจะได้หาวิธีทางแก้ไขต่อไปและอีกวิธีหนึ่ง
คือการวัดความต้านทานของพื้นผิว เพื่อให้ทราบว่าพื้นผิวนัน้
สามารถป้ องกันไฟฟ้ าสถิตหรือไม่ มีความวัดความเป็ นฉนวนที่ไม่
ยอมให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านได้ หรือใช้วดั พื้นทีก่ ารทางาน รวมถึง
ถุงเท้า รองเท้า ทีใ่ ช้ในการป้ องการเกิดไฟฟ้ าสถิตขณะทางาน
เครือ่ งวัดแสง ( LUX METER )
 เครื่ องวัดแสง หรื อ Lux Meter คือ
เครื่ องมือสาหรับหาค่าความสว่าง
ของแสงที่ผา่ นพื้นผิวโดยการวัด
วัดค่าฟลักซ์การส่ องสว่าง
(Luminous Flux) ต่อหน่วยพื้นที่
เครื่ องวัดแสงบางประเภทมีการ
ติดตั้งหน่วยความจาเอาไว้ภายใน
ตัวเครื่ อง เพื่อบันทึกข้อมูล และ
นาเข้ามูลที่ได้มาวิเคราะห์ดว้ ย
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ การวัด
ความเข้มของแสงมีหน่วยเป็ นฟุต
แคนเดิล (fc), ลักซ์ (Lux)
เครือ่ งวัดเสียง (SOUND LEVEL METER)
 เครื่ องวัดเสี ยง
 เครื่ องวัดเสี ยง (Sound Level Meter) คือเครื่ องมือวัดที่ใช้ในการวัดปริ มาณและประเมิน
ความเข้มของเสี ยงในสภาพแวดล้อมที่กาหนด โดยจะวัดระดับความดันเสี ยงในหน่วยเด
ซิเบล (dB) หากระดับเสี ยงที่สูงกว่า 85 เดซิเบลถือว่าเป็ นอันตราย มลพิษทางเสี ยงเป็ น
ปัญหา แนะนาให้รักษาระดับเสี ยงให้ต่ากว่า 85dB เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ ยงต่อการ
สู ญเสี ยการได้ยนิ หรื อความเมื่อยล้าเมื่อเวลาผ่านไป สาหรับหูของมนุษย์และอาจต้องใช้
อุปกรณ์ป้องกันเช่นที่อุดหูหรื อหูฟัง
เทอร์โมมิเตอร์ (THERMOMETER)

 เทอร์โมมิเตอร์ (Thermometer) เป็ นเครือ่ งมือวัดอุณหภูมิความร้อน โดยทัว่ ไป


สามารถใช้วดั อุณหภูมิของของแข็งเช่น อาหาร ของเหลว เช่น นา้ หรือก๊าซ เช่น อากาศ และมี
หน่วยวัดอุณหภูมิทวั่ ไปสามหน่วย ได้แก่ องศาเซลเซียส องศาฟาเรนไฮต์ และเคลวิน
กล้องถ่ายภาพความร้อน (THERMAL IMAGING CAMERA)

 กล้องถ่ายภาพความร้อน (Thermal imaging camera) หรือทีเ่ รียกว่า


กล้องความร้อนอินฟราเรด เป็ นกล้องประเภทหนึ่งทีอ่ อกแบบมาเพื่อจับภาพการแผ่รงั สีความ
ร้อนทีป่ ล่อยออกมาจากวัตถุและพื้นผิว อุปกรณ์น้ ีจะตรวจจับรังสีอนิ ฟราเรดทีป่ ล่อยออกมาจาก
วัตถุ และสร้างภาพทีแ่ สดงการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในฉาก ซึง่ แตกต่างจากกล้องทัว่ ไปที่
จับภาพตามแสงทีม่ องเห็นได้
เซนเซอร์แบบต่างๆ
 ตรวจวัดความเข้มแสง
 ตรวจวัดความร้อน/อุณหภูมิ

 ตรวจวัดไอออน

 ตรวจวัดแก๊ส

 ตรวจวัดสนามแม่เหล็ก

 ตรวจวัดความดัน/แรงดัน

51
LIGHT SENSORS
 Light dependent resistor (LDR)
 Photo diode

 Photo transistor

 Light sensor IC

 Solar cell

 Photo tube

 Photo multiplier tube

 LED as light sensor

52
LIGHT DEPENDENT RESISTOR (LDR)
 Light dependent resistor (LDR) สร้าง
จากสารประกอบแคดเมียมซัลไฟด์ ซึ่งจะ
มีความต้านทานต่่าลงเมื่อได้รับแสง
 ความต้านทานของ LDR ไม่ได้เป็นเชิง
เส้นตรงกับความเข้มแสง แต่จะเป็นเชิง
ลอการิทึม
 ความไวแสงขึ้นอยู่กับความยาวคลื่นแสง

 ความเร็วในการตอบสนองต่อการเปลี่ยน
ความเข้มแสงจะช้ากว่า photo diode /
photo transistor

53
PHOTO DIODE
 Photo diode จะเปลี่ยนแสงไฟเป็น
กระแสไฟฟ้า โดยค่ากระแสไฟฟ้าจะแปร
ผันโดยตรงกับความเข้มแสง
 กระแสที่ได้ที่ความยาวคลื่นของแสง
แตกต่างกันจะไม่เท่ากัน นั่นคือ
sensitivity ของไดโอดต่อแสงที่ความยาว
คลื่นต่างกันจะไม่เท่ากันดังรูปตัวอย่างเช่น
photo diode เช่น เบอร์ BPX65

54
PHOTO TRANSISTOR
 Photo transistor จะเปลี่ยนแสงไฟเป็น
กระแสไฟฟ้า และมีการขยายสัญญาณ
ด้วย โดยค่ากระแสไฟฟ้าจะแปรผัน
โดยตรงกับความเข้มแสง
 เช่น TR เบอร์

 Photo transistor จะตอบสนองต่อแสงที่


บางความยาวคลื่นได้มากเป็นพิเศษ เช่น
น่ามาใช้เป็นตัวรับแสงอินฟาเรดในรีโมท
คอนโทรลของเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ

55
LIGHT SENSOR IC
 มีการน่า Photo diode/transistor มาประกอบ
กับวงจรขยายสัญญาณ รวมเป็นไอซีซึ่งท่าให้การ
ใช้งานง่ายขึ้น และมี sensitivity และ linearity
สูงขึ้น
 เช่นไอซี OPT101 จะให้สัญญาณ voltage
output ช่วง 0-5 V ที่แปรผันโดยตรงกับความ
เข้มแสง

56
SOLAR CELL
 Solar cell จะเปลี่ยนแสงเป็นกระแสไฟฟ้า ได้
เช่นเดียวกัน โดยค่ากระแสไฟฟ้าจะแปรผัน
โดยตรงกับความเข้มแสง
 เนื่องจากมีพื้นที่รับแสงขนาดใหญ่จึงสามารถใช้
ผลิตไฟฟ้าได้

57
PHOTO TUBE
& PHOTO MULTIPLIER TUBE
 Photo tube อาศัยหลักการ photoelectric
effect นั่นคือแสงจะชนให้อิเล็กตรอนที่ผิวของ
โลหะบางชนิดหลุดออกมาได้ อิเล็กตรอน
ดังกล่าวจะเคลื่อนที่ในสนามไฟฟ้าเกิดเป็น
กระแสไฟฟ้าขึ้น กระแสไฟฟ้าที่ได้แปรผัน
โดยตรงกับความเข้มแสง โลหะดังกล่าวต้องอยู่
ในหลอดสุญญากาศ
 PMT จะมีการเพิ่มจ่านวนอิเล็กตรอนโดยท่าการ
เร่งอิเล็กตรอนที่หลุดออกมาไปชนกับแผ่นโลหะ
ชิ้นถัดๆ ไปซึ่งมีความต่างศักย์สูงขึ้นตามล่าดับ
ท่าให้สามารถเพิ่มจ่านวนอิเล็กตรอนขึ้นอย่าง
มหาศาล ท่าให้วัดกระแสได้มากแม้จะมีแสงตก
กระทบน้อยมาก (ให้ sensitivity สูงมาก)

58
LED AS LIGHT SENSOR
 รอยต่อ PN ของ LED สามารถเปลี่ยนแสงเป็น
กระแสไฟฟ้าได้ โดยมีความจ่าเพาะกับความยาว
คลื่นแสงที่ LED ให้ออกมา กระแสไฟฟ้าจะแปร
ผันโดยตรงกับความเข้มแสง แต่จะได้กระแสน้อย
เพราะมีพื้นที่รับแสงเล็กมาก
 มีการน่ามาใช้ในเครื่องคัลเลอริมิเตอร์อย่างง่าย

59
เซนเซอร์ตรวจวัดความร้อน/อุณหภูมิ
 Thermister = Thermo + resistor เป็นตัวต้านทานชนิดหนึ่งที่ความต้านทานจะแปรค่าตาม
อุณหภูมิ สร้างจากวัสดุที่มีค่า temperature coefficient สูง
 Thermocouple เป็นอุปกรณ์ที่มีการต่อโลหะ 2 ชนิดเข้าด้วยกัน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
จะท่าให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้าขึ้นที่รอยต่อ
 Temperature sensor IC มีการรวมวงจรขยายสัญญาณเข้ากับ thermister ท่าให้ได้ sensitivity
และ linearity สูงขึ้น เช่นไอซีเบอร์ LM35 เป็นต้น

60
เซนเซอร์ตรวจวัดไอออน
 Ion selective electrode (ISE)
 ส่วนใหญ่ใช้หลักการวัดศักย์ไฟฟ้าของเมมเบรนหรือเยื่อแลกเปลี่ยนไอออน เมื่อ
ไอออนเกิดการเกาะจับที่ขั้วไฟฟ้าจะท่าให้ความต่างศักย์ของขั้วเปลี่ยนแปลงไป การ
วัดศักย์ที่เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยนี้ต้องใช้โวลต์มิเตอร์ที่มีความต้านทานสูงมากๆ
เพื่อไม่ให้เกิดการดึงกระแสจากขั้ว

61
เซนเซอร์ตรวจวัดแก๊ส
 มักจะอาศัยหลักการตรวจวัดความน่าไฟฟ้าที่เปลี่ยนไปของสารกึ่งตัวน่าบางชนิดเมื่อเกิดการจับกับ
โมเลกุลของแก๊ส หรือเกิดปฏิกิริยากับแก๊ส เช่น สารประกอบดีบุกออกไซด์ เป็นต้น
 FIGARO TGS 822 – เป็นเซนเซอร์ชนิดดีบุกออกไซด์ที่ใช้วัดไอระเหยของสารอินทรีย์ เช่น ใช้
ตรวจวัดแอลกอฮอล์ในลมหายใจ ซึ่งเซนเซอร์จะมีความน่าไฟฟ้าต่่าใน clean air แต่จะน่าไฟฟ้าได้
สูงขึ้นเมื่อได้รับไอระเหยหรือแก๊ส

62
เซนเซอร์ตรวจวัดสนามแม่เหล็ก
 การวัดสนามแม่เหล็กจะใช้หลักการ
Hall effect
 UGN3503 magnetic field
sensor เป็นไอซีที่รวมเอาหัววัด
วงจรขยายสัญญาณ ไว้ด้วยกัน ไอซี
จะให้ output voltage 2.5V เมื่อ
ไม่มีสนามแม่เหล็กและโวลต์จะ
เปลี่ยนแปลง 1.3 mV / Gauss ซึ่ง
ที่ -1000 G (north pole) จะได้
2.5-1.3 = 1.2 V และที่ -1000 G
(south pole) จะได้ output
2.5+1.3 = 3.8 V โดยมี linearity
ดีกว่า 0.1%
63
เซนเซอร์ตรวจวัดความดัน/แรงดัน

 การตรวจวัดความดัน/แรงดันมักใช้
วัสดุเพียโซอิเล็กตริก ซึ่งเปลี่ยนแรงกด
เป็นกระแสไฟฟ้าได้
 เซนเซอร์วัดแรงดันจะเป็นไอซีที่รวม
เอาตัววัดและอุปกรณ์ขยายสัญญาณไว้
ด้วยกัน เช่น MPX2100AP pressure
sensor ซึ่งจะให้ output voltage
แปรผันโดยตรงกับแรงดัน โดยวัดได้
สูงสุดถึง 100 kPa (ความกดอากาศที่
ระดับน้่าทะเล 101.3 kPa) เซนเซอร์นี้
สามารถใช้วัดระดับความสูงจาก
ระดับน้่าทะเลได้
64
แบบฝึ กหัด

่ อวัดทางไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิ กส ์หมายถึง


1. จงอธิบายหลักการของเครืองมื
อะไร ?
2. เซนเซอร ์ และทรานดิวเซอร ์หมายถึงอะไร ?
่ อวัดคืออะไร ?
3. ประโยชน์ของเครืองมื
4. จงออกแบบการนาเซนเซอร ์ ไปใช ้งานในระบบการผลิตสินค ้า บรรจุสน ิ ค ้า
โดยเขียนแบบประกอบพร ้อม อธิบายกระบวนการทางานงานของระบบ
ผลิตด ้วย ?

You might also like