Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 316

แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง การอานออกเสียง ในโลกนี้มีอะไรเปน

ไทยแท

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง ฝกภาษาถิ่น

รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุมสาระการ


เรียนรูภาษาไทย

ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑


ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด

สาระที่ ๑ การอาน

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิด


เพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหา

ในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน

ตัวชี้วัด ป.๓/๑ อานออกเสียงคำ ขอความ เรื่องสั้น ๆ และบทรอ


ยกรองงาย ๆ ไดถูกตอง

ตัวชี้วัด ป.๓/๒ อธิบายความหมายของคำและขอความที่อาน

๒. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

การอานออกเสียง เป็ นการเปลงเสียงตามตัวอักษร ถอยคํา และ


เครื่องหมายตาง ๆ ไดถูกตองชัดเจนตามหลักการอาน การรูจักความ
หมายของคําจากเรื่องที่อาน ทําใหอานเรื่องสนุก เขาใจเรื่องที่อานและ
สรางนิสัยรักการอาน การอานเรื่องในโลกนี้มีอะไรเปนไทย
แททําใหนักเรียนเห็นความสำคัญของภาษาไทยมากยิ่งขึ้นและรวมกันอนุ
รักษภาษาไทยเปนสมบัติของชาติไทยตอไป

๓. จุดประสงคการเรียนรู

๓.๑ ดานความรู/ความเขาใจ (K)

๑) บอกความหมายของการอานออกเสียงได

๒) บอกหลักการอานออกเสียงได

๓.๒ ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

๑) อานออกเสียงเรื่องที่กําหนดใหได

๒) เขียนคําและบอกความหมายของคําจากเรื่องได

๓.๓ ดานคุณลักษณะ เจตคติ คานิยม (A)

๑) เห็นความสําคัญของภาษาไทย

๒) มีมารยาทในการอาน และการเขียน

๔. สาระการเรียนรู

- การอานออกเสียงบทรอยกรอง เรื่อง ในโลกนี้มีอะไรเปนไทยแท

๕. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร

๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค

๖.๑ ใฝเรียนรู

๖.๒ มุงมั่นในการทํางาน

๗. กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนำ

๑. ครูสนทนาเกี่ยวกับการเรียนการอ่านออกเขียนได และตั้งคำถามกระ
ตุนความคิดนักเรียน ดังนี้

ครู : ถ้าเราไมไปโรงเรียน หรือไมไดเรียนหนังสือ เราจะเป็ นอย่างไร

ครู: เราเกิดมาแลวสามารถพูดภาษาไทยไดเพราะอะไร

ครู : นักเรียนคิดว่าตอนนี้เราตั้งใจเรียนและฝึ กอ่านเขียนภาษาไทยมาก


พอแล้วหรือยัง เพราะอะไรบ้าง

ครู : ทำอย่างไรเราจะอ่านออกเขียนได

ขั้นสอน

๑. ครูอธิบายเรื่องการอ่านออกเสียง โดยมีหัวข้อในการอธิบาย ดังนี้

- ความหมายของการอ่านออกเสียง
- หลักการอ่านออกเสียง

ครู : นักเรียนจับหลักสำคัญเรื่องการอ่านออกเสียง อะไรบ้าง

ครู : (คุณธรรม) นักเรียนหลายคนตั้งใจฟั งและพยายามเรียนรูเรื่องราว


ของการอ่านออกเสียง แสดงว่านักเรียนรูหนาที่และความรับผิดชอบของ
ตนเอง เยี่ยมมากครับ

๒. ครูทบทวนความรู โดยการตั้งคำถามใหนักเรียนตอบ ดังนี้

ครู : ถาเพื่อนของนักเรียนอ่านเสียงดังขณะที่อ่านออกเสียง นักเรียนควร


จะทำอย่างไร เพราะเหตุใด

ก. ตะโกนอ่านใหเสียงดังกว่าเพื่อน

ข. บอกเพื่อนใหอ่านเบาลง

ค. เฉย ๆ ไมสนใจ

ครู : ถานักเรียนอ่านออกเสียงคำควบกล้ำและ ร ล ไมชัด นักเรียนจะ


แกปั ญหาอย่างไร

ครู : การเรียนรูความหมายและหลักการอ่านออกเสียง เราจะรูว่าเราเรียน


รูและนำไปใช้ไดจริงหรือไม วันนี้ครูก็มีเรื่องมาใหนักเรียนไดฝกอานกัน
โดยเรื่องที่ครูนำมาให้ฝี กอ่านออกเสียงก็คือ เรื่องมนุษย์กับการบิน เราไป
เรียนรูกันครับ

๓. ครูใหนักเรียนอานออกเสียงเรื่องในโลกนี้มีอะไรเป็ นไทยแท โดยมีวิธี


การอ่าน ดังนี้

- อานออกเสียงตามครู ๑ รอบ
- อ่านออกเสียงดวยตนเอง ๑ รอบ
๔. ครูถามคำถามนักเรียน ดังนี้

ครู : จากการอ่านออกเสียงเรื่องในโลกนี้มีอะไรเป็ นไทยแทนักเรียนสนใจ


คำศัพท์คำใดในเรื่องบางหรือไมรูความหมายของคำว่าอะไรบ้าง (กระตุ้น
ให้นักเรียนตอบคำถาม โดยครูใหของรางวัลสำหรับคนตอบคำถาม)

ครู : ถานักเรียนไมรูความหมายของคำเราสามารถหาความหมายของคำ
ไดจากที่ใด

ขั้นปฏิบัติ

๑. ครูชี้แจงวิธีการทำใบงานที่ ๑ เรื่องหาคำหาความหมาย โดยวิธีการทำ


ใบงาน ดังนี้

- หาคำจากเรื่อง ในโลกนี้มีอะไรเปนไทยแท

- หาความหมายของคำ

- ทำรูปแบบแผนผังความคิด

ขั้นสรุป

๑. ครูใชคำถามกระตุนความคิดนักเรียนดังนี้

- การอานออกเสียงคืออะไร

- หลักการอ่านออกเสียงมีอะไรบ้าง

๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรูเรื่องการอ่านออกเสียง โดยการทำ
แผนผังความคิดเรื่อง หลักการอ่านออกเสียงลงในสมุดวิชาภาษาไทยของ
นักเรียน
ครู :บอกประโยชนของการเรียนภาษาไทย

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู

๑) ใบความรูที่ ๑ เรื่อง การอ่านออกเสียง

๒) ใบงานที่ ๑ เรื่อง หาคำหาความหมาย

๓) โปรแกรมนำเสนอ PowerPoint เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อย


กรอง ในโลกนี้มีอะไรเป็ นไทยแท้

๔) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

๕) บทอ่านร้อยกรอง เรื่อง ในโลกนี้มีอะไรเป็ นไทยแท

๙. การประเมินผลรวบยอด

ชิ้นงานหรือภาระงาน

- ใบงานที่ ๑ เรื่อง หาคําหาความหมาย

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผานเกณฑ
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
๑. บอกความหมาย ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต รอยละ ๖๐
ของ พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
การอ่านออกเสียง
๒. บอกหลักการอ่าน
ออกเสียง
ดานทักษะ/ ๑. การอานออก ๑. แบบประเมินกา ผานเกณฑ
กระบวนการ (P) เสียง รอาน การประเมิน
๑. อานออกเสียงเรื่อง เรื่องในโลกนี้มี ออกเสียง เรื่อง ใน รอยละ ๖๐
ในโลกนี้มีอะไรเปนไทย อะไรเปน โลกนี้ ขึ้นไป
แท ไทยแท มีอะไรเปนไทยแท
๒. เขียนคําที่สนใจและ ๒. การเขียนคํา ๒. แบบประเมิน
บอก และหา การเขียนคําและหา
ความหมายจากเรื่อง ความหมายของ ความหมายของคํา
ในโลกนี้ คํา
มีอะไรเปนไทยแท
ดานคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผานเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
คานิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการอาน “ผาน”
และ
การเขียน
สมรรถนะสําคัญของ - การประเมิน - แบบประเมิน ผานเกณฑ
ผูเรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผาน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึงประ - การสังเกต - แบบสังเกต ผานเกณฑ
สงค พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝเรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุงมั่นในการทํางาน “ผาน”
* หมายเหตุ: ดูแบบประเมินในภาคผนวก ก

เกณฑการประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การประเมิน ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช) ๑ (ปรับปรุง)
๑. อานออก อานออก อานออก อานออก อานออกเสียง
เสียง เสียง เสียง เสียง ไมถูกตองตาม
เรื่องที่กําหนด ถูกตองตาม ถูกตองตาม ถูกตองตาม หลักการ
หลักการ หลักการ หลักการ
เปนสวนใหญ เปนสวนนอย
๒. เขียนคําและ เขียนคําและ เขียนคําและ เขียนคําและ เขียนคําและ
บอกความหมาย ความหมาย ความหมาย ความหมาย ความหมายได
ของคํา ได ได ได ถูกตอง
ถูกตองมา ถูกตอง ๔-๕ ถูกตอง ๒-๓ นอยกวา
กกวา คํา คํา ๒ คํา
๕ คํา

เกณฑการตัดสิน

คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก

คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี


คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช

คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง

เกณฑการผาน ตั้งแตระดับ พอใช ขึ้นไป

เกณฑการประเมินการอานออกเสียง

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การประเมิน ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช) ๑ (ปรับปรุง)
๑. ความเร็ว อ่านไมเร็ว อ่านเร็วหรือ อ่านเร็วหรือ อ่านเร็วหรือ
ใน หรือชา อ่าน อ่านช้า ชา
การอ่าน เกินไปตลอด ช้าไปเป็ นส่วน เป็ นบางช่วง ตลอดเวลา
เวลา ใหญ่
๒. การอ่าน อ่านเสียงดัง อ่านเสียงดัง อ่านเสียงดัง อ่านเสียงดัง
เสียงดัง เหมาะสม เหมาะสมและ เหมาะสมและ หรือ
และ ไมเบาเป็ น ไมเบาเป็ นบาง เบาตลอด
ไมเบาเกินไป ส่วนใหญ่ ช่วง เวลา
๓. อ่านตาม อ่านถูกต้อง อ่านถูกต้อง อ่านถูกต้อง อ่านไมถูกต้อง
อักขรวิธี ตามอักขรวิธี ตามอักขรวิธี ตามอักขรวิธี ตามอักขรวิธี
ตลอดเวลาที่ เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
อ่าน
๔. การแบง แบ่งวรรค แบ่งวรรคตอน แบ่งวรรคตอน แบ่งวรรคตอน
วรรคตอน ตอน ในการอ่านถูก ในการอ่านถูก ในการอ่าน
ในการอ่าน ในการอ่าน ต้อง ต้อง ไมถูกต้อง
ถูกต้อง เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
๕. อ่าน อ่าน อ่าน อ่าน อ่านไมคลอง
คล่องแคล่ว ไดคล่องแคล่ ไดคล่องแคล่ว ไดคล่องแคล่ว และ
ว ชัดเจนดี ชัดเจนดี อ่านติดขัด
ชัดเจนดีมาก เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย มาก
ทั้งหมด

เกณฑการตัดสิน

คะแนน ๑๖-๒๐ คะแนน หมายถึง ดีมาก

คะแนน ๑๑-๑๕ คะแนน หมายถึง ดี

คะแนน ๖-๑๐ คะแนน หมายถึง พอใช

คะแนน ๑-๕ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง

เกณฑการผาน ตั้งแตระดับ พอใชขึ้นไป


เกณฑการประเมินหาคําหาความหมาย

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การประเมิน ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช) ๑ (ปรับปรุง)
๑. หาคํา - หาคําและ หาคําและ - หาคําและ - หาคําและ
และ ความหมาย ความหมายได ความหมายได ความหมายได
หาความ ได ๔-๕ คํา ๒-๓ คํา นอยกวา ๒
หมาย มากกวา ๕ คํา
จากเรื่องที่ คํา
อาน
๒. การคัด ลายมือ ลายมือ ลายมือสวยงาม ลา
ลายมือ สวยงาม สวยงาม เขียนถูกตอง ยมือไมสวยงา
เขียนถูกตอง เขียนถูกตอง ตามหลักการ ม
ตามหลักการ ตามหลักการ เขียน และเขียน
เขียน เขียน ภาษาไทยบาง ไมถูกตอง
ภาษาไทย ภาษาไทย สวน ตามหลักการ
ลายมือ เปนสวนใหญ แตลายมือไม เขียน
สม่ําเสมอ ลายมือสม่ํา สม่ําเสมอ ภาษาไทย
เสมอ
๓. ผลงาน ไมมีรองรอย มีรองรอ มีรองรอ มีรองรอ
มีความ ลบ ยลบคําผิด ยลบคําผิด ยลบคําผิด
สะอาด คําผิด หรือ หรือลบคําผิด หรือลบคําผิด หรือลบคําผิด
ลบคําผิด ไมสะอาด ไมสะอาด ๓-๔ ไมสะอาดมา
สะอาด ๑-๒ จุด จุด กกวา
กระดาษ หรือกระดาษ หรือกระดาษ ๕ จุด หรือ
ไมขาด หรือ ขาด ขาด กระดาษ
ชํารุด ชํารุด และ หรือชํารุด และ ขาด หรือชํา
และกระดาษ กระดาษ กระดาษยับ รุด
ไมยับ ยับ หรือ หรือ และกระดาษ
กระดาษ กระดาษไมขาด ยับ
ไมขาด ชํารุด ชํารุด และ หรือกระดาษ
และ กระดาษ ไมขาด
กระดาษไมยับ ไมยับ ชํารุด และ
กระดาษ
ไมยับ

เกณฑการตัดสิน

คะแนน ๑๐-๑๒ คะแนน หมายถึง ดีมาก

คะแนน ๗-๙ คะแนน หมายถึง ดี

คะแนน ๔-๖ คะแนน หมายถึง พอใช

คะแนน ๑-๓ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง

เกณฑการผาน ตั้งแตระดับ พอใชขึ้นไป


๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสําเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข อ จํากัดการใช แ ผนการจัดการเรียนรู และข อ เสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผูบริหารหรือผูที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
ใบความรูที่ ๑ เรื่อง การอ่านออกเสียง
หน่วยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง การอ่านออกเสียง เรื่อง
ในโลกนี้มีอะไรเป็ นไทยแท้รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา
ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓

การอ่านออกเสียง
การอ่านออกเสียง คือ การอ่านที่ผูอ่านเปล่งเสียงออกมาให้
ผูอื่ นไดยินเป็ นถ้อยคำ
ประโยค หรือเรื่องราว

หลักในการอ่านออกเสียง
๑. มีสมาธิและความมั่นใจในการอ่าน
๒. อ่านใหชัดเจนถูกต้องตามอักขรวิธี ไมอ่านผิด อ่าน
ตกหรืออ่านเติม
๓. แบ่งวรรคตอนในการอ่านใหถูกต้อง
๔. เวลาอ่านต้องควบคุมสายตาให้ไล่ไปตามตัวอักษร
ทุกตัวในแต่ละบรรทัดจากซ้ายไปขวาด้วยความรวดเร็ว
ว่องไวและรอบคอบ แลวย้อนสายตากลับลงไปยังบรรทัด
ถัดไปอย่างแม่นยำ
๕. อ่านออกเสียงใหดังพอสมควร ใหเหมาะกับสถานที่
และจำนวนผูฟั งไม่ดัง
หรือค่อยจนเกินไป จะทำให้ผูฟั งเกิดความรำคาญและ
ไมสนใจ
๖. ไมอ่านออกเสียงในที่ที่ไมควรอ่าน เช่น ในห้องสมุด
เป็ นต้น
๗. อ่านออกเสียงใหเป็ นเสียงพูดอย่างเป็ นธรรมชาติ
โดยเน้นเสียงหนัก เบา สูง ต่ำ
ตามลักษณะการพูดโดยทั่วไป
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง บทร้อยกรอง ในโลกนี้มีอะไรเป็ นไทย
แท้
หน่วยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรูภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๑.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี
และวรรณกรรมไทย
อย่างเห็นคุณค่า และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด ป.๓/๔ ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มี
คุณค่าตาม ความสนใจ

๒. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
บทอาขยาน หมายถึง บทท่องจำที่เป็ นบทร้อยกรองที่ไพเราะและให้
ข้อคิดที่เป็ นประโยชนสำหรับผู้อ่าน ซึ่งการอ่านเรื่องในโลกนี้มีอะไรเป็ น
ไทยแททำให้นักเรียนเห็นความสำคัญของภาษาไทยมากยิ่งขึ้นและร่วมกัน
อนุรักษ์ภาษาไทยเป็ นสมบัติของชาติไทยต่อไป

๓. จุดประสงค์การเรียนรู
๓.๑ ด้านความรู/ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของบทอาขยานได
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- ทองจำบทอาขยานเรื่องในโลกนี้มีอะไรเป็ นไทยแท
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
๑) เห็นความสำคัญของภาษาไทย
๒) มีมารยาทในการอ่าน และการเขียน

๔. สาระการเรียนรู
- การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง เรื่อง ในโลกนี้มีอะไรเป็ นไทยแท

๕. สมรรถนะสำคัญของผูเรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู
๖.๒ มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. กิจกรรมการเรียนรู
ขั้นนำ
๑. ครูสนทนาทบทวนหลักการอ่านออกเสียงและใช้คำถามกระตุนความ
คิดนักเรียน ดังนี้
ครู : นักเรียนคิดว่าการเขียนลายมือสวย ๆตองทำอย่างไร
๒. ครูกล่าวชมเชยนักเรียน

ขั้นสอน
๑. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม “เติมฉัน”โดยมีวิธีการทำกิจกรรม
ดังนี้
- ให้เติมคำในช่องว่าง ตัวอย่างเช่น
ในโลกนี้มีอะไรเป็ น_____ ของไทยแน่นั้นหรือคือ_____
ทั้งคนมีคนจนแต่ต้นมา ใช้________ทั่วทุกตัวคน
๒. ครูอ่านบทอาขยานเรื่อง ในโลกนี้มีอะไร
เป็ นไทยแท้ให้นักเรียนฟั ง ดังนี้
- การอ่านแบบธรรมดา
- การอ่านแบบทำนองเสนาะ
๓. ครูให้นักเรียนจับคูกับเพื่อนฟั ง การทองจำกับเพื่อนคนละ ๑
รอบ
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูให้นักเรียนทองจำบทอาขยานเรื่อง ในโลกนี้มีอะไรเป็ นไทย
แท้
๒. ครูกล่าวชมเชยนักเรียนที่พยายามและตั้งใจเรียน
ขั้นสรุป
๑. ครูให้นักเรียนเขียนประโยชนของการเรียนภาษาไทย คนละ ๑
ขอ
๒. ครูรวบรวมประโยชนที่นักเรียนตอบมาสรุป และกระตุ้นให้
นักเรียนตระหนักถึง
การเรียน และกล่าวชื่นชมนักเรียน

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู
๑) ใบความรูที่ ๒ เรื่อง บทอาขยาน
๒) สื่อ PowerPoint เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง เรื่อง ใน
โลกนี้มีอะไรเป็ นไทยแท้
๓) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- การทองจำบทอาขยาน เรื่อง ในโลกนี้มีอะไรเป็ นไทยแท้

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
๑. บอกความหมาย ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
ของ พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
การอ่านออกเสียง
๒. บอกหลักการอ่าน
ออกเสียง
ด้านทักษะ/ ๑. การอ่านออก ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) เสียง การอ่าน การประเมิน
๑. อ่านออกเสียง ๒. การเขียนคำ ออกเสียง ร้อยละ ๖๐
๒. เขียนคำและบอก และหา ๒. แบบประเมิน ขึ้นไป
ความหมาย ความหมายของ การเขียนคำและหา
คำ ความหมายของคำ
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการอ่าน “ผ่าน”
และ
การเขียน
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”
* หมายเหตุ : ดูแบบประเมินในภาคผนวก ก

เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกความ บอกความ บอกความ บอกความ
ความหมาย หมาย หมาย หมาย หมาย
ของบท ของบท ของบท ของบท ของบท
อาขยาน อาขยานได้ถูก อาขยานไดถูก อาขยานไดถูก อาขยานไมถูก
ต้องตามหลัก ต้องตามหลัก ต้องตามหลัก ต้องตาม
การ การเป็ นส่วน การเป็ นส่วน หลักการ
ใหญ่ น้อย
๒. ท่องจำ ทองจำ ทองจำ ทองจำ ทองจำ
อาขยาน อาขยาน อาขยาน อาขยาน อาขยาน
เรื่อง ในโลกนี้ เรื่อง ในโลกนี้ เรื่อง ในโลกนี้ เรื่อง ในโลกนี้
มีอะไรเป็ น มีอะไรเป็ น มีอะไรเป็ น มีอะไรเป็ นไทย
ไทยแท ไทยแท ไทยแท แท้
ไดถูกต้อง ไดถูกต้อง ไดถูกต้อง ไดถูกตอง
ไมมีข้อบก มีข้อบกพรอง มีข้อบกพรอง มีข้อบกพรอง
พรอง ๑-๒ จุด ๓-๔ จุ มากกว่า ๔ จุด

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป
๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

ใบความรูที่ ๒ เรื่อง บทอาขยาน


หน่วยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง บทร้อยกรอง เรื่อง ใน
โลกนี้มีอะไรเป็ นไทยแท
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓
บทอาขยาน
อาขยาน หมายถึง บทท่องจำที่เป็ นบทร้อยกรองที่ไพ
เราะและใหข้อคิดที่เป็ น
ประโยชนสำหรับผู้อ่าน
การอ่านบทอาขยาน สามารถอ่านได๒ แบบ ดังนี้
๑. การอ่านออกเสียงธรรมดา เป็ นการอ่านออกเสียง
ตามปกติเหมือนอ่านออกเสียง
ร้อยแกว มีจังหวะ วรรคตอน
๒. การอ่านเป็ นทำนองเสนาะ เป็ นการอ่านที่มีเสียงสูง
ต่ำ หนัก เบา เสียงสั้น
เสียงยาว มีการเอื้อนเสียงตามจังหวะลีลาและทำนองตาม
ลักษณะของการประพันธ์
แตละประเภท
หลักการอ่านบทอาขยาน มีหลักการอ่าน ดังนี้
๑. อ่านออกเสียง ร ล แลควบกล้ำให้ชัดเจน
๒. อ่านออกเสียงดังฟั งชัด ไมดังหรือเบาเกินไป
๓. ออกเสียงคำให้ถูกต้องและชัดเจน
๔. หาความหมายของคำศัพท์ในบทอาขยานเพื่อจะ
ไดเข้าใจเนื้อหาของบทอาขยาน
มากยิ่งขึ้น
๕. นำความรูและข้อคิดที่ไดจากการอ่านบทอาขยาน
ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน

แบบประเมินการอ่านออกเสียง
ประเมินครั้งที่ ........... วันที่ ........... เดือน ............................................
พ.ศ. .................

คำชี้แจง ประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการอ่านออกเสียง และให้


คะแนนในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมของ
นักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผูผ่านการประเมิน ตองไดคะแนนรวมร้อยละ ๘๐ ขึ้น
ไป
ที่

9.
8.
7.
6.
5.
4.
3.
2.
1.

11.
10.
เลข ชื่อ-
สกุล

3
การจับหนังสือ/พลิกหนังสือ

3
/ทาทางในการอ่านถูกต้อง
อ่านถูกต้องตามอักขรวิธี

3
การเว้นวรรคตอนถูกต้อง
3

น้ำเสียงเหมาะสมกับเรื่องที่
3

อ่าน
ไมอ่านข้าม/อ่านเพิ่ม/ตูคำ
3

อ่านเสียงดังเหมาะสม

ลงชื่อ………………………………..ผู้ประเมิน
18
รวม


การ

ผูผ่านเกณฑ์การประเมิน ตองไดคะแนนตั้งแต่ ๑๔ คะแนน ขึ้นไป


ผ่า ไม่
สรุปผล

ประเมิน

ผ่าน
(…………………………………)
ตำแหนง......................................................................................

เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการอ่านออกเสียง

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การประเมิน 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
๑. การจับ ลักษณะท่าทาง ลักษณะท่าทางจับ ลักษณะท่าทางจับ
หนังสือ จับ หนังสือ/พลิกหนังสือ หนังสือ/พลิก
และท่าทาง หนังสือ/พลิก ถูกต้องเกือบตลอด หนังสือไมถูกต้อง
ในการอ่าน หนังสือ การอ่าน ตลอดการอ่าน
ถูกต้องตลอดการ
อ่าน
๒. อ่านออก ออกเสียง ร ล ออกเสียง ร ล และ ออกเสียง ร ล และ
เสียง และคำ คำควบกล้ำถูกต้อง คำควบกล้ำไมถูก
ตามอักขรวิธี ควบกล้ำถูกต้อง ชัดเจนเป็ นส่วนใหญ่ ต้อง ไมชัดเจน
ชัดเจน
ทุกคำ
๓. การเว้น เว้นวรรคตอนถูก เว้นวรรคตอนถูกต้อง เว้นวรรคตอนไมถูก
วรรคตอน ต้อง เป็ นส่วนใหญ่ตั้งแต่ ต้อง
ทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้น ต้นจนจบ ทั้งเรื่องตั้งแต่ต้นจน
จนจบ จบ
๔. การใช้น้ำ ออกเสียง และใช้ ออกเสียง และใช้น้ำ ออกเสียง และใช้น้ำ
เสียง น้ำเสียง เสียงไดเหมาะสม เสียงไมเหมาะสม
ไดเหมาะสม สอด สอดคลองกับเรื่อง ไมสอดคลองกับ
คลอง เป็ นส่วนใหญ่ เรื่อง
กับเรื่องทั้งเรื่อง
๕. อ่านข้าม อ่านออกเสียง อ่านออกเสียงไดถูก อ่านออกเสียง
คำ ไดถูกต้อง ต้องชัดเจนบางคำ มี ไมชัดเจนมีการข้าม
อ่านเพิ่มคำ ชัดเจนทุกคำ การข้ามคำ อ่านเพิ่ม คำ อ่านเพิ่มและ
อ่านตูคำ อ่านตูคำ
๖. เสียงดัง เสียงดัง ชัดเจน เสียงดังบ้างเป็ นบาง เสียงเบา ไดยิน
ไดยิน ครั้ง ไมทั่วถึง
ทั่วถึงทั้งห้อง
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง การเขียนสรุปและข้อคิดจากเรื่องที่
อ่าน
หน่วยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรูภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรูและความคิด
เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แกปั ญหา
ในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด ป.๓/๕ สรุปความรูและข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนำไป
ใช้ในชีวิตประจำวัน

๒. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การเขียนสรุปเรื่อง หมายถึง การรวบรวมใจความสำคัญของเรื่อง
มาเรียบเรียงใหม่แบบสั้นๆ โดยใช้
สำนวนภาษาของตนเอง โดยคลอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด สรุปข้อความที่
อ่านให้ตรงกับจุดมุ่งหมายของเนื้อเรื่อง
ที่ทำให้ผู้อ่านเข้าใจ การเขียนข้อคิด ผู้เขียนต้องเข้าใจเรื่องที่จะแสดง
ความคิดอย่างถ่องแท้และเขียนข้อคิด
อย่างมีเหตุผล

๓. จุดประสงค์การเรียน
๓.๑ ด้านความรู/ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของการสรุปเรื่องได
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- สรุปเรื่องและข้อคิดจากเรื่องที่อ่านได
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติค่านิยม (A)
๑) เห็นความสำคัญของภาษาไทย
๒) มีมารยาทในการอ่าน และการเขียน

๔. สาระการเรียนรู
- การเขียนสรุปเรื่องและข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน

๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู
๖.๒ มุ่งมั่นในการทำงาน

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
๑. ครูเล่าเรื่องให้นักเรียนฟั ง ๑ เที่ยวและตั้งคำถาม ดังนี้
ครู: วันนี้ครูมีเรื่องมาเล่าให้นักเรียนฟั ง เป็ นเรื่องสั้น ๆ ให้ทุกคนตั้งใจฟั ง
เพราะหลังจากที่ครูเล่าเรื่องจบ นักเรียนต้องจำเรื่องไดและตอบคำถามได
ครู: เรื่องนี้มีตัวละครใครบ้าง (แนวคำตอบ : ลูกนกแขกเตา ๒ ตัว โจร
ฤาษี พระราชา)
ครู : ลูกนกแขกเต้าทั้ง ๒ ตัวมีนิสัยเหมือนหรือต่างกันอย่างไร (แนวคำ
ตอบ : ตัวที่อยู่กับโจรมีนิสัยลักขโมยและใจร้าย ตัวที่อยู่กับฤาษีได เล่า
เรียนจึงมีวาจาที่สุภาพ ชอบช่วยเหลือผูที่เดือดร้อน)
ครู : พระราชาเข้าไปทำอะไรในป่ า (แนวคำตอบ : เข้าไปล่าสัตว์)
ครู : นกแขกเตาที่อยูกับโจรคิดจะทำอะไร เมื่อเห็นพระราชา (แนวคำ
ตอบ : มันคิดฆ่าพระราชาเพื่อชิง
ทรัพย์สิน)
ครู : นกแขกเต้าที่อยู่กับฤาษีเมื่อเห็นพระราชา มันทำตัวอย่างไร (แนวคำ
ตอบ : มันเชิญพระราชาเข้าไปพักผ่อนในอาศรมของพระฤาษี)
ครู : การฟั งนิทานแล้วตอบคำถามจากเรื่องไดนักเรียนต้องใช้ความ
สามารถด้านใดบ้าง (แนวคำตอบ : การมสมาธิตั้งใจฟั ง จำตัวละครไดจำ
เรื่องไดตั้งแต่ต้นจนจบ)
ครู : นักเรียนแต่ละคนมีความสามารถในการฟั งแล้วจำเรื่องไดอย่าง
แม่นยำแตกต่างกัน
ครู: นักเรียนจะทำอย่างไรให้จดจำเรื่องที่ฟั ง หรือเรื่องที่อ่าน ไดนาน
ครู : การเขียนสรุปเรื่อง เป็ นวิธีหนึ่งที่จะช่วยใหเราจำเรื่องที่ฟั งหรืออ่าน
ไดนาน
๒. ครูเชื่อมโยงการเขียนสรุปเรื่องจากการฟั งและการอ่าน เป็ น
ทักษะสำคัญ
ขั้นสอน
๑. ครูอธิบายเรื่อง การสรุปเรื่อง โดยครูมีกิจกรรมใหนักเรียน ดังนี้
ขั้นที่ ๑ อ่านเรื่องคร่าว ๆ ๑ เที่ยว เพื่อทำความเขาใจคำศัพท์และเนื้อ
เรื่อง
ขั้นที่ ๒ ตั้งคำถามในระหว่างอ่านครั้งที่ ๒ เพื่อจับใจความสำคัญของเรื่อ
ง “ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร
ผลเป็ นอย่างไร” ดังนี้
- เรื่องนี้เกี่ยวกับใคร (ตัวละครสำคัญ)
- ทำอะไร
- ที่ไหน
- เมื่อไร
- อย่างไร
- ผลเป็ นอย่างไร
ขั้นที่ ๓ นำคำตอบที่เขียนเป็ นข้อความมาเรียงลำดับให้เป็ นประโยค และ
เรียบเรียงเป็ นสำนวนของตนเอง
ขั้นที่ ๔ ตรวจสอบและปรับปรุงภาษาใหถูกตองสมบูรณ์
๒. ครูสรุปหลักการเขียนสรุปเรื่องโดยใชแผนผังความคิด และให้
นักเรียนอ่านทบทวนความเข้าใจจากใบความรูที่ ๓ เรื่อง การเขียนสรุป
เรื่องและข้อคิด
๓. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเกี่ยวกับการเขียนสรุปเรื่อง
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูชี้แจงวิธีการทำใบงานที่ ๒ เรื่องการเขียนสรุปเรื่องและข้อคิด
โดยจะเป็ นการทำไปพรอม ๆ กับครูตามขั้นตอนที่ ๑-๔ ดังนี้
ขั้นที่ ๑ ให้อ่านในใจเรื่อง ลูกนกแขกเต้าพี่น้องในเวลา ๕ นาที
ขั้นที่ ๒ ตั้งคำถามในระหว่างอ่านครั้งที่ ๒เพื่อจับใจความสำคัญของเรื่อง
และเขียนคำตอบลงในใบงาน ดังนี้
-เรื่องนี้เกี่ยวกับใคร (เกี่ยวกับลูกนกแขกเต้าพี่น้องที่ไดรับการเลี้ยงดูจาก
โจรและฤาษีทั้งสองมีนิสัยแตกต่างกัน)
ขั้นสรุป
๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรูเรื่อง การเขียนสรุปความ
รูและข้อคิดจากการทำกิจกรรม
๒. ครูให้นักเรียนระดมความคิดบอกประโยชนของการเขียนสรุป
ความรู
๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู
๑) ใบความรูที่ ๓ เรื่อง การเขียนสรุปเรื่องและข้อคิดจากเรื่อง
๒) ใบงานที่ ๒ เรื่อง การสรุปความรูและข้อคิดจากเรื่อง
๓) สื่อ PowerPoint เรื่อง การเขียนสรุปเรื่องและข้อคิดจากเรื่อง
๔) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
๕) บทอ่าน เรื่อง ลูกนกแขกเต้าพี่น้อง
๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๒ เรื่อง การเขียนสรุปความรูและข้อคิดจากเรื่อง

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมายของ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
การสรุปเรื่อง พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
ด้านทักษะ/ -การเขียนสรุป -แบบประเมินการ ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) เรื่องและ เขียน การประเมิน
- เขียนสรุปเรื่องและ ขอคิดจากเรื่องที่ สรุปเรื่องและขอคิด ร้อยละ ๖๐
ขอคิด อาน จาก ขึ้นไป
จากเรื่องที่อาน เรื่องที่อาน
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการอ่าน “ผ่าน”
และ
การเขียน
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”
* หมายเหตุ : ดูแบบประเมินในภาคผนวก ก

เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. การ - เขียนสรุป - เขียนสรุป - เขียนสรุป - เขียนสรุป
เขียนสรุป เรื่องได เรื่องได เรื่องได เรื่อง
เรื่อง ใจความสำคัญ เป็ นส่วนใหญ่ บางส่วน ไมชัดเจน
ชัดเจน
๒. การ - เขียนข้อคิด - เขียนข้อคิด - เขียนข้อคิด - เขียนข้อคิด
เขียน อย่าง สอดคลองกับ สอดคลองกับ ไมสอดคลอง
ข้อคิดจาก มีเหตุผล สอด เรื่อง เรื่อง กับ
เรื่อง คลอง ที่อ่าน ที่อ่านเป็ นบาง เรื่องที่อ่าน
กับเรื่องที่อ่าน ส่วน

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป
เกณฑ์การประเมินการเขียนสรุปและข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. การ ลายมือ ลายมือ ลา ลา
เขียนด้วย สวยงาม สวยงามเป็ น ยมือไมสม่ำเส ยมือไมสวยงาม
ลายมือตัว สม่ำเสมอและ ส่วนใหญ่และ มอ และเขียนไมถูก
บรรจง เขียนถูกต้อง เขียนถูกต้อง และเขียน ต้อง
ตามหลักการ ตามหลักการ ไมถูกต้อง ตามหลักการ
เขียน เขียน ตามหลักการ เขียน
เขียน
๒. ความ ไมมีร่องรอย มีร่องรอยลบ มีร่องรอยลบ มีร่องรอยลบ
สะอาด ลบคำผิด หรือ คำผิด คำผิด คำผิด
ลบคำผิด หรือลบคำผิด หรือลบคำผิด หรือลบคำผิด
สะอาด ไมสะอาด ไมสะอาด ไมสะอาด
กระดาษ ๑-๒ จุด ๓-๔ จุด มากกว่า
ไมขาด ๕ จุด
หรือชำรุด

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป
๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

ใบความรูที่ ๓ เรื่อง การเขียนสรุปเรื่องและข้อคิดจาก


เรื่อง
หน่วยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง การเขียนสรุปและ
ข้อคิดจากเรื่อง
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓

การเขียนสรุปเรื่องและข้อคิดจากเรื่อง
การเขียนสรุปเรื่องจากการฟั งและการอ่าน เพื่อจับใจความ
สำคัญแล้วจดบันทึกไวเป็ นการเขียนเพื่อการสื่อสารและช่วยให้
จดจำเรื่องไดนาน
ขั้นตอนการเขียนสรุปเรื่อง
ขั้นที่ ๑ อ่านเรื่องคร่าว ๆ ๑ เที่ยว เพื่อทำความเข้าใจคำศัพท์
และเนื้อเรื่อง
ขั้นที่ ๒ ตั้งคำถามในระหว่างอ่านครั้งที่ ๒ เพื่อจับใจความสำคัญ
ของเรื่อง “ใครทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ผลเป็ นอย่างไร”
ดังนี้
- เรื่องนี้เกี่ยวกับใคร (ตัวละครสำคัญ)
- ทำอะไร
- ที่ไหน
- เมื่อไร
- อย่างไร
- ผลเปนอย่างไร
ขั้นที่ ๓ นำคำตอบที่เขียนเป็ นข้อความมาเรียงลำดับให้เป็ น
ประโยค และเรียบเรียงเป็ นสำนวนของตนเอง
ขั้นที่ ๔ ตรวจสอบและปรับปรุงภาษาให้ถูกต้องสมบูรณ

การเขียนข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน
การหาข้อคิดหรือคติสอนใจจากเรื่องที่อ่าน วาเรื่อง
ใหข้อคิดที่เป็ นประโยชนอะไรบ้าง แล้วจึงนำข้อคิดนั้นมาประ
ยุกตใชในชีวิตประจำวัน
การหาข้อคิดจากการอ่านหนังสือต่าง ๆ เช่น การอ่าน
นิทาน บทความ สารคดี ควรอ่านตั้งแตต้นจนจบเรื่อง แล้ว
ทำความเข้าใจ เนื้อเรื่อง และจับใจความสำคัญ หรือประเด็น
สำคัญที่ผู้เขียนต้องการ

บทอ่าน เรื่อง ลูกนกแขกเต้าพี่น้อง


หน่วยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง การเขียนสรุปและข้อคิดจาก
เรื่อง
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ ๓

ลูกนกแขกเต้าพี่น้อง

ในอดีตกาลนานไกล ลูกนกแขกเตา ๒ ตัวเป็ นพี่น้องกัน พ่อ


แม่ทำรังในป่ าใกล้กับภูเขาใหญ่ทางด้านทิศเหนือที่นกอยู่มี
หมูบ้านโจรตั้งอยู่ ในด้านทิศใต้ที่นกอยู่มีอาศรมของฤาษี ลูกนก
ทั้งสองตัวอยู่กับพ่อแม่ไม่นาน เกิดลมพายุพัดจัด พัดเอาลูกนก
ปลิวออกจากรังทำให้มันพลัดพรากจากกันไปคนละทิศคนละทาง
ตัวหนึ่งไปตกอยู่ในกองอาวุธของหมูบ้านโจร พวกโจรเก็บไป
เลี้ยงและสอนให้มันไปปล้นชิงทรัพย์ อีกตัวไปตกในระหว่างกอ
ดอกไมใกล้อาศรมของฤาษี ฤาษีใจดี นำลูกนกมาเลี้ยง โดยสอน
ให้มีวาจาสุภาพและให้เรียนหนังสือ ลูกนกแขกเต้าทั้ง ๒ ตัวต่างก็
เติบโตในสถานที่และการเลี้ยงดูที่แตกต่างกันราวฟ้ ากับดิน
วันหนึ่งพระราชาเสด็จออกป่ าล่าสัตว์โดยใสเครื่องประดับ
ราคาแพง ในระหว่างออกล่าสัตว์พระราชาพลัดหลงป่ ามาโดย
ลำพัง พระราชาเดินมาจนหยุดพักเหนื่อยและดื่มน้ำ ณ ลำธารอัน
ร่มรื่นด้วยแมกไม แล้วบรรทมใต้ต้นไม สถานที่พระราชาพักนั้น
อยู่ใกล้หมูบ้านโจร
พวกโจรไมอยู่เข้าป่ ากันหมด ในบ้านโจรเหลืออยู่แต่คน
ทำครัวกับนกแขกเต้าเท่านั้น นกแขกเตาบินออกมาพบพระราชา
นอนหลับ จึงรีบกลับมาบอกกับคนทำครัวว่า “เรามาช่วยกันฆ่า
พระราชา แล้วขโมยเครื่องประดับมาแล้วจับพระราชาไปซ่อนใน
พุ่มไม”
พระราชาตื่นพอดี ไดยินนกแขกเตาปรึกษาวิธีการซ่อนศพ
ของพระองค์พระราชารีบวิ่งหนีไปอีกทางอย่างรวดเร็ว จนไปถึง
อาศรมของฤาษีโดยไมรูว่าเป็ นที่ใดในเวลานั้นฤาษีไมอยู่ในอาศรม
เข้าป่ าไปหาผลไมสำหรับเป็ นอาหาร ในอาศรมคงมีแต่ลูกนกแขก
เต้าตัวเดียว
ลูกนกแขกเต้าเมื่อเห็นพระราชาก็บินเข้าไปทักทายว่า
“ขอเดชะ พระราชาพระองค์เสด็จมาดี มิไดเสด็จมาร้าย ขอเชิญ
พระองค์พักผ่อนในอาศรมของฤาษีเถิด”พระราชาเห็นในอัธยาศัย
ไมตรีอันดีงามของลูกนกแขกเตาอีกตัวก็เอ่ยว่า “นกตัวนี้ดีจริง
เป็ นนกที่ดีมีนิสัยเอื้อเฟื้ อช่วยเหลือผู้ลำบาก สวนอีกตัวช่างโหด
เหี้ยมใจร้าย”

เมื่อลูกนกแขกเต้าไดยินพระราชาพูดเช่นนั้น จึงพูดว่า “ขอเดชะ


ขาแต่พระราชา ขาพระองค์กับนกตัวที่พระองค์ตำหนินั้น เกิดแต่
พ่อแม่เดียวกันเป็ นพี่น้องกัน ตัวนั้นเติบโตในสำนักคนไมดีเป็ นโจร
พวกโจรเลี้ยงและสั่งสอนแต่วิชาโจร ส่วนข้าพระองค์อยูในสำนัก
ปราชญ์ซึ่งเป็ นนักบุญมีจิตใจที่มีศีลธรรม ท่านฤาษีสอนให้ทำดี ข้า
พระองคทั้ง ๒ จึงต่างกัน”
พระราชาจึงกล่าวว่า “การคบคนดีมีศีลธรรม หรือคบคน
พาลคนที่เราใกล้ชิด
จะชักจูงใหเป็ นไปในทางเดียวกัน หากคบคนชั่วก็จะชักนำให้ไปใน
ทางชั่ว สวนการคบนักปราชญ์ผูมีปั ญญามีศีลธรรมก็จะชักจูงไป
ในทางที่ดีในทางที่เจริญ” หลังจากนั้นพระราชาก็ให้รางวัลแกลูก
นกแขกเต้าที่ช่วยเหลือพระอง
การคบคนเช่นใดก็เหมือนคนเช่นนั้น อย่าคบคนชั่ว จงคบแต่
คนดี
(จากหนังสือนิทานธรรมะวรรณกรรมในพระไตรปิ ฎก แต่งโดย
ดร.ประยงค์ สุวรรณบุปผา)
ใบงานที่ ๓ เรื่อง การเขียนสรุปเรื่องและข้อคิดจากเรื่อง
หน่วยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง การเขียนสรุปและข้อคิดจากเรื่อง
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๓

คําชี้แจง ใหเขียนสรุปเรื่องและขอคิดจากเรื่อง ตามขั้นตอนตอไปนี้


ขั้นที่ ๑ ใหอา นนิทานเรื่องลูกนกแขกเตาสองพี่นอง ในเวลา ๕ นาที
ขั้นที่ ๒ ตั้งคําถามในระหวางอานและเขียนคําตอบลงในใบงาน ดังนี้

๑. เรื่องนี้เกี่ยวกับใคร
...................................................................................................................
...................
……………………………………..........................................................................
........................................................
……………………………………..........................................................................
........................................................
๒. ตัวละคร ทําอะไร ที่ไหน
อยางไร........................................................................
……………………………………..........................................................................
..........................................................
……………………………………..........................................................................
........................................................

๓. ผลเปนอยางไร
..................................................................................................
……………………………………..........................................................................
..........................................................
……………………………………..........................................................................
........................................................
……………………………………..........................................................................
........................................................

ขั้นที่ ๓ นําคําตอบจากขอ ๑ – ๓ มาเรียงลําดับใหเปนประโยค


ดังนี้.................................
……………………………………..........................................................................
..........................................................
……………………………………..........................................................................
..........................................................
……………………………………..........................................................................
..........................................................
……………………………………..........................................................................
..........................................................

…………………………………….............................................................
.........................................................................
…………………………………….............................................................
...............................

ขั้นที่ ๔ ตรวจสอบและปรับปรุงภาษาใหถูกตองสม

บูรณดังนี้.......................…………………………………….........................

........................................................................................……………
………………………............................................................................
..............
.....................
…………………………………….............................................................
............................... .....................
…………………………………….............................................................
............................... .....................
…………………………………….............................................................
...............................
เขียนสรุปเรื่องจากการอานนิทานเรื่องลูกนกแขกเตาพี่นอง
.....................
……………………………………..........................................................................
.......................................
……………………………………..........................................................................
..................………………………............
.....................
……………………………………..........................................................................
.....................................

ขอคิดจากการอานนิทานเรื่อง ลูกนกแขกเตาพี่นอง
..........................................................
.....................
……………………………………..........................................................................
.....................................
.....................
……………………………………..........................................................................
.....................................
.....................
……………………………………..........................................................................
.....................................
.....................
……………………………………..........................................................................
.....................................

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น.......
....เลขที่..........
ใบงานที่ ๓ เรื่อง การเขียนสรุปเรื่องและข้อคิดจากเรื่อง
หน่วยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง การเขียนสรุปและข้อคิดจากเรื่อง
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๓

คำชี้แจง ใหเขียนสรุปเรื่องและข้อคิดจากเรื่อง ตามขั้นตอนต่อไปนี้


ขั้นที่ ๑ ใหอ่านนิทานเรื่องลูกนกแขกเตาสองพี่น้อง ในเวลา ๕ นาที
ขั้นที่ ๒ ตั้งคำถามในระหว่างอ่านและเขียนคำตอบลงในใบงาน ดังนี้

๑. เรื่องนี้เกี่ยวกับใคร
เกี่ยวกับลูกนกแขกเต้าพี่น้องที่ไดรับการเลี้ยงดูจากโจรและฤาษีทั้ง
สองมีนิสัยแตกต่างกัน
๒. ตัวละคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร
ลูกนกที่อยู่กับโจรคิดฆ่าพระราชา เพื่อชิงทรัพย์ลูกนกที่อยู่กับฤาษี
เข้าไปเชิญพระราชาพักในอาศรม
๓. ผลเป็ นอย่างไร
พระราชาให้รางวัลแกลูกนกแขกเตาที่อยู่กับฤาษ
ขั้นที่ ๓ นำคำตอบจากข้อ ๑ – ๓ มาเรียงลำดับให้เป็ นประโยค ดังนี้
- ลูกนกแขกเต้าพี่น้องที่ไดรับการเลี้ยงดูจากโจรและฤาษีทั้งสองมี
นิสัยแตกต่างกัน
- ลูกนกที่อยู่กับโจรคิดฆ่าพระราชา เพื่อชิงทรัพย์ลูกนกที่อยู่กับฤาษี
เข้าไปเชิญพระราชาพักในอาศรม
- พระราชาให้รางวัลแกลูกนกแขกเต้าที่อยู่กับฤาษี
ขั้นที่ ๔ ตรวจสอบและปรับปรุงภาษาใหถูกต้องสมบูรณดังนี้
ลูกนกแขกเต้าพี่น้องที่ไดรับการเลี้ยงดูจากโจรและฤาษีทั้งสองมีนิสัย
แตกต่างกัน ลูกนกที่อยูกับโจรคิดฆ่าพระราชา เพื่อชิงทรัพย์ลูกนกที่อยูกับ
ฤาษีเข้าไปเชิญพระราชาพักในอาศรมผลของการทำดีพระราชาใหรางวัล
แกลูกนกแขกเต้าที่อยูกับฤาษี
เขียนสรุปเรื่องจากการอ่านนิทานเรื่องลูกนกแขกเต้าพี่น้อง
ลูกนกแขกเต้าพี่น้องที่ไดรับการเลี้ยงดูจากโจรและฤาษีทั้งสองมีนิสัย
แตกต่างกัน ลูกนกที่อยู่กับโจรคิดฆ่าพระราชา เพื่อชิงทรัพย์ลูกนกที่อยูกับ
ฤาษีเข้าไปเชิญพระราชาพักในอาศรมผลของการทำดีพระราชาให้รางวัล
แกลูกนกแขกเต้าที่อยูกับฤาษ
ข้อคิดจากการอ่านนิทานเรื่อง ลูกนกแขกเต้าพี่น้อง
- การคบคนดีจะช่วยใหเราทำดี
- คบคนแบบใดย่อมชักนำใหเราเป็ นแบบนั

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น.......
....เลขที่..........
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาไทยถิ่น
เหนือ
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง ฝกภาษาถิ่น
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๔ หลักการใชภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและ
พลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษา
ไทยไวเปนสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด ป.๓/๖ เลือกใชภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นไดเหมาะ
สมกับกาลเทศะ

๒. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
ประเทศไทยมีวัฒนธรรมด้านภาษาตามภูมิภาค มีภาษาที่ใชสื่ อสาร
ตามลักษณะของภูมิภาค คือ ภาษา
ถิ่นเหนือ ภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นใตภาษากลาง สวนภาษาไทยมาตรฐาน
เป็ นภาษากลางที่ใชในทางราชการจึงต้องรูจักการเลือกใช้คำภาษาไทย
มาตรฐานและภาษาถิ่นไดอย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ

๓. จุดประสงค์การเรียนรู
๓.๑ ด้านความรู/ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นเหนือ
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- จำแนกภาษาไทยมาตรฐานและภาษาไทยถิ่นเหนือได
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการอ่าน และการเขียน

๔. สาระการเรียนรู
- ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นเหนือ

๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู
๖.๒ มุงมั่นในการทำงาน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
๑. ครูทักทายนักเรียนเป็ นภาษาถิ่นเหนือเพื่อกระตุนความสนใจ
นักเรียน
๒. ครูเชื่อมโยงการใช้ภาษาพูดในชีวิตประจำวันที่ในชุมชนของเรา
จะมีคนไทยหลายภูมิภาคมาอาศัย ทำให้เราไดยินการพูดด้วยภาษาถิ่น
ของแต่ละคน
ขั้นสอน
๑. ครูอธิบายเรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น
๒. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม “เขียนภาษาถิ่นเหนือ” จากคำที่ครู
กำหนดให้
๓. ครูทบทวนความเข้าใจโดยให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดร่วม
กับครู โดยอ่านจากใบความรูที่ ๔ เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานและภาษา
ไทยถิ่นเหนือ
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูชี้แจงวิธีการทำใบงานที่ ๓ เรื่องภาษาไทยถิ่นเหนือ
๒. ครูชี้แจงบทบาทครูปลายทางให้ดูแลช่วยเหลือและอธิบายเพิ่ม
เติมรายบุคคลในระหว่างที่นักเรียนทำใบงาน
ขั้นสรุป
๑. ครูให้นักเรียนสรุปความรู โดยให้นักเรียนทำแผนผังความคิด
เรื่องภาษาถิ่นเหนือ
๒. ครูให้นักเรียนอภิปรายความรูเรื่องภาษาไทยมาตรฐานและภาษา
ไทยถิ่นเหนือ
๓. ครูกล่าวชื่นชมและแนะนำการเรียนกับนักเรียน

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู
๑) ใบความรูที่ ๔ เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นเหนือ
๒) ใบงานที่ ๓ เรื่อง ภาษาถิ่นเหนือ
๓) สื่อ PowerPoint เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นเหนือ
๔) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๓ เรื่อง ภาษาถิ่นเหนือ

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมายของ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
ภาษาไทยมาตรฐาน พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
และ
ภาษาไทยถิ่นเหนือ
ด้านทักษะ/ - จําแนกภาษา - แบบประเมินใบ ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) ไทย งาน การประเมิน
- จําแนกภาษาไทย มาตรฐานและ ที่ ๓ เรื่อง ภาษา ร้อยละ ๖๐
มาตรฐาน ภาษาไทย ไทย ขึ้นไป
และภาษาไทยถิ่นเหนือ ถิ่นเหนือ มาตรฐานและภาษา
ไทย
ถิ่นเหนือ
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการอ่าน “ผ่าน”
และ
การเขียน
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”
* หมายเหตุ : ดูแบบประเมินในภาคผนวก ก
ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกความ บอกความ บอกความ บอกความ
ความหมาย หมาย หมาย หมาย หมาย
ของ ของภาษาไทย ของภาษาไทย ของภาษาไทย ของภาษาไทย
ภาษาไทย มาตรฐานและ มาตรฐานและ มาตรฐานและ มาตรฐานและ
มาตรฐาน ภาษาไทยถิ่น ภาษาไทยถิ่น ภาษาไทยถิ่น ภาษาไทยถิ่น
และ เหนือ เหนือ เหนือ เหนือ
ภาษาไทย ไดถูกต้องตาม ไดถูกต้องเป็ น ไดถูกต้องเป็ น ไมถูกต้อง
ถิ่นเหนือ หลักการ สวนใหญ สวนน้อย
๒. จำแนก จำแนกภาษา จำแนกภาษา จำแนกภาษา จำแนกภาษา
ภาษาไทย ไทย ไทย ไทย ไทย
มาตรฐาน มาตรฐานและ มาตรฐานและ มาตรฐานและ มาตรฐานและ
และ ภาษาไทยถิ่น ภาษาไทยถิ่น ภาษาไทยถิ่น ภาษาไทยถิ่น
ภาษาไทย เหนือ เหนือ เหนือ เหนือ
ถิ่นเหนือ ไดถูกต้องทุก ไดถูกต้อง ไดถูกต้อง ไดถูกต้องน้อย
ข้อ ๘-๙ ขอ ๖-๗ ขอ กว่า
๕ ขอ
๓. มารยาท เขียนคำและ เขียนคำและ เขียนคำและ เขียนคำและ
ใน ความหมายได ความหมายได ความหมายได ความหมายได
การเขียน ถูกต้อง ถูกต้อง ๔-๕ ถูกต้อง ๒-๓ ถูกต้อง น้อย
มากกว่า คำ คำ กว่า
๕ คำ ๒ คำ

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๑๑-๑๒ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๙-๑๐ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง พอใช
คะแนน ๑-๖ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช ขึ้นไป
๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

ใบความรูที่ ๔ เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาไทย


ถิ่นเหนือ
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง ฝกภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานกับ
ภาษาไทยถิ่นเหนือ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒
ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓

ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาไทยถิ่นเหนือ
ภาษาไทยมาตรฐาน หมายถึง ภาษาไทยที่ใช้พูด
เขียน ติดต่อสื่อสารกันโดยทั่วไปเป็ นภาษาประจำชาติที่คน
ส่วนใหญ่ในประเทศไทยใช้ในการศึกษา ติดต่องาน และใช้
ในราชการ
ภาษาไทยถิ่น เป็ นภาษาที่ใช้สื่อสารกันเฉพาะตามทอง
ถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งมีความแตกต่างกันตามทองถิ่นที่อยู่ใน
แต่ละพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ ภาษาถิ่นเป็ นเอกลักษณ์ทาง
วัฒนธรรมของท้องถิ่นที่เราควรรักษาไวใช้ให้ถูกต้อง เพื่อ
เป็ นมรดกของชาติต่อไป
ภาษาไทยถิ่นจำแนกตามภาคภูมิศาสตร์ได ๔
ประเภท คือ ภาษาถิ่นเหนือ ภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นกลาง
และภาษาถิ่นใต้นิยมเรียกสั้น ๆ วา ภาษาเหนือ ภาษา
อีสาน ภาษากลาง และภาษาใต้
ภาษาถิ่นกลาง เป็ นภาษาที่ใช้ทั่วไปเป็ นมาตรฐาน
เหมือนกันทั่วประเทศ นอกจาก
เป็ นภาษาราชการของชาวกรุงเทพฯ
ภาษาถิ่นเหนือ เป็ นภาษาที่มีสำเนียงการออกเสียงที่
โดดเดน เช่น คำที่ภาษาไทย
มาตรฐานใช้ ร ภาษาถิ่นเหนือจะเป็ น ฮ และมักลงท้าย
ประโยคพูดอย่างอ่อนหวานด้วยคำว่า “เจา”

ใบงานที่ ๓ เรื่อง ภาษาถิ่นเหนือ


หน่วยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาไทยถิ่น
เหนือ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๓

คำชี้แจง อ่านคำไทยมาตรฐาน แล้วเขียนคำภาษาไทยถิ่นเหนือ

แล้วฝึ กอ่าน
ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาไทยถิ่นเหนือ
๑.ตลาด
๒.กางเกง
๓.อร่อย
๔. รัก
๕.ฉัน
๖. มะละกอ
๗. พระ
๘. พูด
๙. เที่ยว
๑๐. ธง

คำชี้แจง นำคำภาษาถิ่นที่กำหนดใหไปเติมลงในช่องว่างให้ถูก
ต้อง

กาด จอง ละอ่อน ข้าเจ้า ม่วนแต๊ๆ


แอว
วันนี้ฉัน.........................กางร่ม...................ไป
เที่ยว.....................................ตลาด....................... สนุก
มาก.........................

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น.......
....เลขที่..........
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นอีสาน
และภาษาถิ่นใต้
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย
การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ
พลังของภาษา ภูมิปั ญญาทางภาษา และรักษาภาษา
ไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด ป.๓/๖ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้
เหมาะสมกับกาลเทศะ

๒. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
ประเทศไทยมีวัฒนธรรมด้านภาษาตามภูมิภาค มีภาษาที่ใช้สื่อสาร
ตามลักษณะของภูมิภาค คือ ภาษา
ถิ่นเหนือ ภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นใต้ ภาษากลาง ส่วนภาษาไทย
มาตรฐานเป็ นภาษากลางที่ใช้ในทางราชการ
จึงต้องรู้จักการเลือกใช้คำภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้อย่างเหมาะ
สมกับกาลเทศะ

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของภาษาถิ่นอีสานและภาษาถิ่นใต้ได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- จำแนกภาษาไทยมาตรฐานและภาษาไทยถิ่นอีสานและ
ภาษาถิ่นใต้ได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการอ่าน และการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
- ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นอีสานและภาษาถิ่นใต้

๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
๑. ครูกล่าวคำทักทายนักเรียนเป็ นภาษาถิ่นเหนือ อีสาน และใต้
เพื่อกระตุ้นความสนใจนักเรียน
ครู : สวัสดีเจ้า มื่อนี่ ครูสิมา แล่งภาษาถิ่นเด้อ
ครู : ประโยคที่ครูพูดเมื่อสักครู่ มีภาษาถิ่นของภาคใดบ้าง (แนวคำตอบ
ภาษาไทยกลาง ภาษาถิ่นเหนือ ภาษาถิ่นอีสาน และภาษาถิ่นใต้)
ครู : ประโยคที่ครูพูด ถ้าพูดใหม่ด้วยภาษาไทยมาตรฐาน จะพูดว่าอย่างไร
(แนวคำตอบ ; สวัสดีครับ วันนี้ครูจะมาพูดภาษาถิ่นนะ)
๒. ครูทบทวนเรื่องการใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นเหนือ
โดยให้บอกคำไทยมาตรฐานและคำถิ่นเหนือพร้อมบอกความหมาย ดังนี้
อร่อยมาก ยาย ขี้จุ๊ มะละกอ ป้ อ
๓. ครูเชื่อมโยงภาษาถิ่นตามการจำแนกภาคภูมิศาสตร์ของ
ประเทศไทย ๔ ประเภท
ขั้นสอน
๑. ครูอธิบายเรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นอีสานและภาษา
ถิ่นใต้
๒. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม “เขียนภาษาถิ่นอีสานและภาษาถิ่น
ใต้” จากคำที่ครูกำหนดให้
๓. ครูทบทวนความเข้าใจโดยให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดร่วม
กับครู โดยอ่านจากใบความรู้ที่ ๕เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
อีสานและภาษาถิ่นใต้
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูชี้แจงวิธีการทำใบงานที่ ๔ เรื่อง ภาษาถิ่นอีสานและภาษาถิ่น
ใต้
๒. ครูเฉลยและอภิปรายเกี่ยวกับคำตอบที่ได้จากการทำใบงาน
ขั้นสรุป
๑. ครูให้นักเรียนสรุปความรู้ โดยให้นักเรียนทำแผนผังความคิด
เรื่อง ภาษาถิ่น อีสานและภาษาถิ่นใต้
๒. ครูให้นักเรียนอภิปรายความรู้เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานกับภาษา
ถิ่นอีสานและภาษาถิ่นใต้
๓. ครูกล่าวชื่นชมและแนะนำการเรียนกับนักเรียน

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๕ เรื่อง ภาษาถิ่นอีสานและภาษาถิ่นใต้
๒) ใบงานที่ ๔ เรื่อง ภาษาถิ่นอีสานและภาษาถิ่นใต้
๓) สื่อ PowerPoint เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นอีสาน
และภาษาถิ่นใต้
๔) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๔ เรื่อง ภาษาถิ่นอีสานและภาษาถิ่นใต้

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมายของ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
ภาษาไทยมาตรฐานกับ พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
ภาษา
ถิ่นอีสานและภาษาถิ่น
ใต้
ด้านทักษะ/ - จำแนกภาษา - แบบประเมินใบ ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) ไทย งาน การประเมิน
- จำแนกภาษาไทย มาตรฐานกับ ที่ ๔ เรื่อง ภาษา ร้อยละ ๖๐
มาตรฐาน ภาษาไทย ไทย ขึ้นไป
กับภาษาไทยถิ่นอีสาน ถิ่นอีสานและ มาตรฐานกับภาษา
และ ภาษาถิ่นใต้ ถิ่น
ภาษาถิ่นใต้ อีสาน และภาษาถิ่น
ใต้
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการอ่าน “ผ่าน”
และ
การเขียน
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”
เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกความ บอกความ บอกความ บอกความ
ความหมาย หมาย หมาย หมาย หมาย
ของ ของภาษาไทย ของภาษาไทย ของภาษาไทย ของภาษาไทย
ภาษาไทย มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ
มาตรฐาน ภาษา ภาษา ภาษา ภาษา
กับ ถิ่นอีสานและ ถิ่นอีสานและ ถิ่นอีสานและ ถิ่นอีสานและ
ภาษาถิ่น ภาษา ภาษา ภาษา ภาษา
อีสาน ถิ่นใต้ ได้ถูก ถิ่นใต้ ได้ถูก ถิ่นใต้ได้ถูก ถิ่นใต้ไม่ถูกต้อง
และภาษา ต้อง ต้อง ต้อง
ถิ่นใต้ ตามหลักการ เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
๒. จําแนก จําแนกภาษา จําแนกภาษา จําแนกภาษา จําแนกภาษา
ภาษา ไทย ไทย ไทย ไทย
ไทย มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ
มาตรฐาน ภาษาไทยถิ่น ภาษาไทยถิ่น ภาษาไทยถิ่น ภาษาไทยถิ่น
กับ อีสาน อีสาน อีสาน อีสาน
ภาษาไทย และภาษาถิ่น และภาษาถิ่น และภาษาถิ่น และภาษาถิ่น
ถิ่น ใต้ ได้ ใต้ได้ ใต้ได้ ใต้ได้
อีสานและ ถูกต้องทุกข้อ ถูกต้อง ๘-๙ ถูกต้อง ๖-๗ ถูกต้องน้อย
ภาษา ข้อ ข้อ กว่า
ถิ่นใต้ ๕ ข้อ
๓. มารยาท ตั้งใจเขียน ผล ตั้งใจเขียน ผล ตั้งใจเขียน ผล ไม่ตั้งใจเขียน
ใน งาน งาน งาน ผลงาน สกปรก
การเขียน สะอาด สกปรก ๑-๒ สกปรก ๓-๔ มากกว่า ๔
เรียบร้อย แห่ง แห่ง แห่ง
ตลอดเสร็จทัน เสร็จทันเวลา แต่ก็เสร็จทัน ไม่เสร็จทัน
เวลา เวลา เวลา
เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๑๐-๑๒ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๗-๙ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๔-๖ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๓ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป
๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

ใบความรู้ที่ ๔ เรื่อง ภาษาถิ่นอีสานและภาษาถิ่นใต้


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นอีสาน
และภาษาถิ่นใต้
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๓
ภาษาถิ่นอีสาน เป็ นภาษาที่สำเนียงคุ้นหูเป็ นอย่างดี ใช้พูด
กันในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีลักษณะเฉพาะของตนเอง มัก
ลงท้ายประโยคพูดว่า เด้อ นอ แน แม
ตัวอย่าง ไปบ่แน หมายถึง ไปหรือเปล่า , เฮ็ดหยังเด้อ หมายถึง
ทําอะไร

คำในภาษาถิ่นอีสาน
ภาษาถิ่นใต้ เป็ นภาษาที่มีสำเนียงที่รวดเร็ว มักจะเป็ นคำพูดห้วน
ๆ สั้น ๆ และมักลงท้าย
ประโยคด้วยคำว่า หา เล่า ตะ เหอ
แนวคิดสำคัญ ภาษาไทยมาตรฐานเป็ นภาษาไทยที่ใช้
สื่อสารทางราชการและในการศึกษาทั่วประเทศ เราควรเรียนรู้
เพื่อให้เข้าใจภาษาและวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่นและเรียน
ภาษาไทยมาตรฐานเพื่อใช้ให้ถูกต้องในโอกาสที่เหมาะสม

ใบงานที่ ๔ เรื่อง ภาษาถิ่นอีสานและภาษาถิ่นใต้


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานกับภาษา
ถิ่นอีสานและภาษาถิ่นใต้
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ ๓

คำชี้แจง
๑. อ่านคำภาษาไทยมาตรฐาน แล้วเขียนเป็ นคำภาษาถิ่นเหนือ
ภาษาถิ่นอีสาน และคำ
ภาษาถิ่นใต้
๒. ให้เขียนว่า คำที่ขีดเส้นใต้ เป็ นภาษาถิ่นเหนือ/ถิ่นอีสาน/ถิ่น
ใต้/ภาษาไทยมาตรฐาน
๑) เปิ้น เป็ น ละอ่อน
เป็ นภาษา ..............................................

๒) ฉาน กิน หนมจีน ที่ หลาด


เป็ นภาษา ..............................................

๓) ไก่ย่างเจ้านี้ อร่อยมาก
เป็ นภาษา ..............................................

๔) ข้อย กิน ข้าวปุ้น


เป็ นภาษา ..............................................

๕) ฉันพูดชัดเจน แต่เพื่อนก็ฟั งไม่รู้เรื่อง


เป็ นภาษา ..............................................

๖) ฉาน แหล่ง ว่า โคม อันนี้ใช้ได้ดี


เป็ นภาษา ..............................................
๗) ข้าวยำร้านนี้ หรอยจังฮู้
เป็ นภาษา ..............................................

๘) ตำบักหุ่ง เจ้านี้ แซบอีหลี


เป็ นภาษา ..............................................

๙) ข้าวซอยร้านนี้ จ๊าดลำ
เป็ นภาษา ..............................................

๑๐) ข้าเจ้า กาง จ้อง ไปแอ่ว ที่ กาด ต้นพยอม


เป็ นภาษา ..............................................

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง ทบทวนชวนคิด (ภาษาถิ่น)


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย
การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ
พลังของภาษา ภูมิปั ญญาทางภาษา และรักษาภาษา
ไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด ป.๓/๖ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้
เหมาะสมกับกาลเทศะ

๒. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
ประเทศไทยมีวัฒนธรรมด้านภาษาตามภูมิภาค มีภาษาที่ใช้สื่อสาร
ตามลักษณะของภูมิภาค คือ ภาษา
ถิ่นเหนือ ภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นใต้ ภาษากลาง ส่วนภาษาไทย
มาตรฐานเป็ นภาษากลางที่ใช้ในทางราชการ
จึงต้องรู้จักการเลือกใช้คำภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้อย่างเหมาะ
สมกับกาลเทศะ

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของภาษาถิ่นได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- จำแนกภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการอ่าน และการเขียน
๔. สาระการเรียนรู้
- ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาไทยถิ่น

๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทำงาน

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
๑. ครูให้นักเรียนดูสถานการณ์สมมุติโดยมีวิธีการทำกิจกรรมต่อไปนี้
- ครูให้นักเรียนดูคนที่ใช้ภาษาถิ่นพูดคุยทักทายกัน
- ภาษาถิ่นกลาง ภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นเหนือ ภาษาถิ่นใต้
๒. ครูเชื่อมโยงเรื่องการใช้ภาษาถิ่นในการสื่อสารของคนในปั จจุบัน
เราจะพบคนต่างถิ่นมาทำงานในพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศไทย ในความ
แตกต่างด้านการใช้ภาษาพูดที่มีการใช้ภาษาถิ่น หากเราเรียนรู้เรื่องภาษา
ถิ่น จะทำให้เราเข้าใจความหมายของประโยคที่พูด และเข้าใจความคิด
ความรู้สึกของคนที่เราพูดคุยด้วย
ขั้นสอน
๑. ครูทบทวนความรู้เรื่องภาษาไทยมาตรฐานและภาษาไทยถิ่น
๒. ครูยกตัวอย่างคำภาษาถิ่นให้นักเรียนอ่านและเปรียบเทียบคำกับ
ภาษาไทยมาตรฐาน
๓. ครูเชื่อมโยงเข้าสู่การปฏิบัติกิจกรรม
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูชี้แจงวิธีการทำใบงานที่ ๕ เรื่องเปรียบเทียบภาษาไทย
มาตรฐานกับภาษาไทยถิ่น
๒. ครูชี้แจงบทบาทครูปลายทางให้ดูแลช่วยเหลือและอธิบายเพิ่ม
เติมรายบุคคลในระหว่างที่นักเรียนทำใบงาน

ขั้นสรุป
๑. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาษาถิ่น ดังนี้
- นักเรียนคนใดพูดภาษาถิ่นได้บ้าง
- นักเรียนช่วยพูดภาษาถิ่นของนักเรียนให้เพื่อนฟั งหน่อย
๒. ครูและนักเรียนสรุปความรู้ร่วมกัน

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๖ เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาไทยถิ่น
๒) ใบงานที่ ๕ เรื่อง เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาไทย
ถิ่น
๓) สื่อ PowerPoint เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น
๔) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๕ เรื่อง เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาไทยถิ่น

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมายของ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
ภาษาไทยมาตรฐาน พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
และ
ภาษาไทยถิ่น
ด้านทักษะ/ - จำแนกภาษา - แบบประเมินใบ ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) ไทย งาน การประเมิน
- จำแนกภาษาไทย มาตรฐานและ ที่ ๕ เรื่อง ภาษา ร้อยละ ๖๐
มาตรฐาน ภาษา ไทย ขึ้นไป
และภาษาถิ่น ถิ่น มาตรฐานและภาษา
ถิ่น
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการอ่าน “ผ่าน”
และ
การเขียน
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”
เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกความ บอกความ บอกความ บอกความ
ความหมาย หมาย หมาย หมาย หมาย
ของ ของภาษาไทย ของภาษาไทย ของภาษาไทย ของภาษาไทย
ภาษาไทย มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ
มาตรฐาน ภาษา ภาษา ภาษา ภาษา
กับ ถิ่นได้ถูกต้อง ถิ่นได้ถูกต้อง ถิ่นได้ถูกต้อง ถิ่นไม่ถูกต้อง
ภาษาถิ่น ตามหลักการ เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย

๒. จำแนก จำแนกภาษา จำแนกภาษา จำแนกภาษา จำแนกภาษา


ภาษา ไทย ไทย ไทย ไทย
ไทย มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ
มาตรฐาน ภาษาถิ่นได้ ภาษาถิ่นได้ ภาษาไทยถิ่น ภาษาถิ่นได้ถูก
กับ ถูกต้องทุกข้อ ถูกต้อง ได้ ต้องน้อยกว่า ๕
ภาษาถิ่น ๘-๙ข้อ ถูกต้อง ๖-๗ ข้อ
ข้อ
๓. มารยาท ตั้งใจเขียน ผล ตั้งใจเขียน ผล ตั้งใจเขียน ผล ไม่ตั้งใจเขียน
ใน งาน งาน งาน ผลงาน สกปรก
การเขียน สะอาด สกปรก ๑-๒ สกปรก ๓-๔ มากกว่า ๔
เรียบร้อย แห่ง แห่ง แห่ง
ตลอดเสร็จทัน เสร็จทันเวลา แต่ก็เสร็จทัน ไม่เสร็จทัน
เวลา เวลา เวลา
เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๑๑-๑๒ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๙-๑๐ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๖ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป
๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
ใบความรู้ที่ ๖ เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง ทบทวนชวนคิด (ภาษา
ถิ่น)
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓

ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น
ภาษาไทยมาตรฐาน หมายถึง ภาษาไทยที่ใช้พูด
เขียน ติดต่อสื่อสารกันโดยทั่วไป
เป็ นภาษาประจําชาติที่คนส่วนใหญ่ในประเทศไทยใช้ใน
การศึกษา ติดต่องาน และใช้ใน
ราชการ
ภาษาไทยถิ่น เป็ นภาษาที่ใช้สื่อสารกันเฉพาะตามท้อง
ถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งมีความแตกต่างกันตามท้องถิ่นที่อยู่ใน
แต่ละพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ ภาษาถิ่นเป็ นเอกลักษณ์ทาง
วัฒนธรรมของท้องถิ่นที่เราควรรักษาไว้ใช้ให้ถูกต้อง เพื่อ
เป็ นมรดกของชาติต่อไปภาษาไทยถิ่นจําแนกตามภาค
ภูมิศาสตร์ ได้ ๔ ประเภท คือ ภาษาถิ่นเหนือ ภาษาถิ่น
อีสาน ภาษาถิ่นกลาง และภาษาถิ่นใต้ นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า
ภาษาเหนือ ภาษาอีสาน
ภาษากลาง และภาษาใต้
ภาษาถิ่นกลาง เป็ นภาษาที่ใช้ทั่วไปเป็ นมาตรฐาน
เหมือนกันทั่วประเทศ นอกจากเป็ นภาษาราชการของชาว
กรุงเทพฯ
ภาษาถิ่นเหนือ เป็ นภาษาที่มีสําเนียงการออกเสียงที่
โดดเด่น เช่น คําที่ภาษาไทยมาตรฐานใช้ ร ภาษาถิ่นเหนือ
จะเป็ น ฮ และมักลงท้ายประโยคพูดอย่างอ่อนหวานด้วย
คําว่า “เจ้า”
ภาษาถิ่นอีสาน เป็ นภาษาที่สําเนียงคุ้นหูเป็ นอย่างดี
ใช้พูดกันในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีลักษณะเฉพาะของ
ตนเอง มักลงท้ายประโยคพูดว่า เด้อ นอ แน แม ตัวอย่าง
ไปบ่แน หมายถึง ไปหรือเปล่า , เฮ็ดหยังเด้อ หมายถึง ทํา
อะไร
ภาษาถิ่นใต้ เป็ นภาษาที่มีสําเนียงที่รวดเร็ว มักจะเป็ น
คําพูดห้วน ๆ สั้น ๆ และมักลงท้ายประโยคด้วยคําว่า หา
เล่า ตะ เหอ
ประโยชน์ของการศึกษาภาษาไทยถิ่น
ทําให้ทราบว่าภาษาที่ใช้ในการสื่อสารในประเทศไทย
มีความหลากหลาย เข้าใจ
ความหมายของคําภาษาถิ่นต่าง ๆ และเป็ นการอนุรักษ์
ภาษาถิ่นให้คงอยู่ต่อไป

ใบงานที่ ๕ เรื่อง เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษา


ไทยถิ่น
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง ทบทวนชวนคิด (ภาษาถิ่น)
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ ๓
คําชี้แจง
ตอนที่ ๑ ให้เติมคําภาษาไทยมาตรฐานและภาษาไทยถิ่นต่อไป
นี้ให้ถูกต้อง

ภาษาไทย ภาษาไทยถิ่น ภาษาไทยถิ่น ภาษาไทยถิ่น


มาตรฐาน เหนือ อีสาน ใต้

มะละกอ

มะขะนัด ยานัด

โกรธ เคียด

พูด

หรอย

ปิ๊ กบ้าน

ขี้ตั๋ว
ชื่อ...........................................นามสกุล...................................
.......ชั้น...........เลขที่..........

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง การพูดแสดงความคิดเห็นและความ


รู้สึก
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๓ การฟั ง การดูและการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟั งและดูอย่างมีวิจารณญาณ และ
พูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและ
สร้างสรรค์
ตัวชี้วัด ป.๓/๔ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่
ฟั งและดู

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
การพูดแสดงความคิดเห็น หมายถึง การพูดเพื่อแสดงความรู้สึก
หรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างมีเหตุผล การพูดแสดงความรู้สึก

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของการแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก
ได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการฟั งและการพูด

๔. สาระการเรียนรู้
- การพูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก

๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนํา
๑. ครูใช้คําถามท้าทายความสามารถของนักเรียน ดังนี้
ครู : นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
สิ่งของและภาพที่ครูนํามาให้ดูโดยพูดอย่างอิสระ
ครู : นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปภาพที่ครูให้ชม
ขั้นสอน
๑. ครูอธิบายความรู้เรื่อง การพูดแสดงความคิดเห็น และความรู้สึก
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและตั้งข้อสังเกตจาก
การเรียนเรื่อง การพูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก
๓. ครูให้นักเรียนฟั งนิทานอีสป ๑ เรื่องเทพารักษ์กับชายตัดฟื น
และให้ทํากิจกรรม ดังนี้
- พูดแสดงตวามคิดเห็นจากเรื่องที่ฟั ง
- พูดความรู้สึกจากเรื่องที่ฟั ง
๔. ครูและนักเรียนสรุปความรู้ร่วมกัน
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูชี้แจงการทําใบงานที่ ๖ เรื่องการพูดแสดงความคิดเห็นและ
ความรู้สึกเรื่อง ความสุขของฉัน
คือ....มีวิธีการทํากิจกรรม ดังนี้
- เขียนร่างการพูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก ในใบงานที่ ๖
- จับคู่กับเพื่อนฝึ กพูดแสดงความรู้สึก
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความคิดเห็นและความรู้สึกของเรื่อง
ความสุขอยู่ที่ไหน
๓. ครูใช้คําถามเพื่อกระตุ้นการแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก
ของนักเรียนดังนี้
- นักเรียนจะเลือกอยู่ที่ใด ระหว่างชนบทและในเมือง เพราะเหตุใด
- นักเรียนจะเลือกอยู่ที่ใด ระหว่างชนบทและในเมือง เพราะเหตุใด
ขั้นสรุป
๑. ครูใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียนดังนี้
- การแสดงความคิดเห็นคืออะไร
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่องการแสดงความคิดเห็น

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๗ เรื่อง การพูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก
๒) ใบงานที่ ๖ เรื่อง ความสุขของฉัน คือ ....
๓) สื่อ PowerPoint เรื่อง การพูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก
๔) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน - ใบงานที่ ๖ เรื่อง ความสุขของฉัน

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมายของ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
การแสดงความคิดเห็น พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
และความรู้สึก
ด้านทักษะ/ - จำแนกภาษา - แบบประเมินใบ ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) ไทย งาน การประเมิน
- พูดแสดงความคิดเห็น มาตรฐานและ ที่ ๕ เรื่อง ภาษา ร้อยละ ๖๐
และ ภาษา ไทย ขึ้นไป
ความรู้สึก ถิ่น มาตรฐานและภาษา
ถิ่น
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการพูด “ผ่าน”
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”
เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกความ บอกความ บอกความ บอกความ
ความหมาย หมาย หมาย หมาย หมาย
ของ ของภาษาไทย ของภาษาไทย ของภาษาไทย ของภาษาไทย
ภาษาไทย มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ
มาตรฐาน ภาษา ภาษา ภาษา ภาษา
กับ ถิ่นได้ถูกต้อง ถิ่นได้ถูกต้อง ถิ่นได้ถูกต้อง ถิ่นไม่ถูกต้อง
ภาษาถิ่น ตามหลักการ เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย

๒. จำแนก จำแนกภาษา จำแนกภาษา จำแนกภาษา จำแนกภาษา


ภาษา ไทย ไทย ไทย ไทย
ไทย มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ
มาตรฐาน ภาษาถิ่นได้ ภาษาถิ่นได้ ภาษาไทยถิ่น ภาษาถิ่นได้ถูก
กับ ถูกต้องทุกข้อ ถูกต้อง ได้ ต้องน้อยกว่า ๕
ภาษาถิ่น ๘-๙ข้อ ถูกต้อง ๖-๗ ข้อ
ข้อ
๓. มารยาท ตั้งใจเขียน ผล ตั้งใจเขียน ผล ตั้งใจเขียน ผล ไม่ตั้งใจเขียน
ใน งาน งาน งาน ผลงาน สกปรก
การเขียน สะอาด สกปรก ๑-๒ สกปรก ๓-๔ มากกว่า ๔
เรียบร้อย แห่ง แห่ง แห่ง
ตลอดเสร็จทัน เสร็จทันเวลา แต่ก็เสร็จทัน ไม่เสร็จทัน
เวลา เวลา เวลา

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

ใบงานที่ ๖ เรื่อง ความสุขของฉันคือ


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง การพูดแสดงความคิดเห็นและความ
รู้สึก
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๓
คําชี้แจง อ่านบทร้อยกรองเรื่อง ความสุขอยู่ที่ไหน แล้วยกร่างเขียนบท
พูดแสดง
ความคิดเห็น และความรู้สึก

๑. สรุปเนื้อหาสาระสําคัญ เรื่อง ความสุขอยู่ที่ไหน


............................................................................................
.........................................
............................................................................................
.........................................
............................................................................................
.........................................
............................................................................................
.........................................
............................................................................................
.........................................
............................................................................................
.........................................
๒. ร่างบทพูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก
............................................................................................
.........................................
............................................................................................
.........................................
............................................................................................
.........................................
............................................................................................
.........................................
............................................................................................
.........................................
............................................................................................
.........................................
............................................................................................
.........................................
............................................................................................
.........................................
............................................................................................
.........................................
............................................................................................
.........................................
ชื่อ...........................................นามสกุล...............................
...........ชั้น...........เลขที่..........
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง การเขียนบรรยายคน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๓.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อ
ความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบ ต่าง ๆ เขียนรายงาน
ข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ป.๓/๒ เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้อย่างชัดเจน

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
การเขียนบรรยาย เป็ นการเขียนเล่าเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งที่
เกิดขึ้น มีลําดับต่อเนื่องกัน เพื่อให้ ผู้อ่านเห็นภาพเหตุการณ์ ลําดับเวลา
สถานที่ บุคคล ผู้เขียนควรกล่าวถึง เหตุการณ์ให้ชัดเจน โดยมีข้อมูลและ
เนื้อหาสาระของเรื่องที่จะแสดงความคิด บางครั้งอาจแทรกบทสนทนาตัว
ละครทําให้ผู้อ่านเข้าใจลักษณะ อารมณ์ความคิดของตัวละคร และเข้าใจ
เรื่องทั้งหมด การเขียนบรรยายคน ต้องเขียนบอกลักษณะภายนอก
ลักษณะเด่นที่สังเกตง่าย พฤติกรรม บุคลิกภาพ และกิจวัตรประจําวัน

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของการเขียนบรรยายคนได้
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (P)
- เขียนบรรยายคนได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
- การเขียนบรรยายคน

๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนํา
๑. ครูนําภาพคนที่มีลักษณะแตกต่างกัน ๒ - ๓ ภาพให้นักเรียน
สังเกตภาพ และให้ทํากิจกรรมบอกภาพที่เห็น ดังนี้
ครู : จากภาพที่ ๑ คนในภาพมีลักษณะอย่างไร (ครูจดประโยคที่นักเรียน
บรรยายภาพคนบนกระดานดํา)
ครู : ในภาพที่ ๒ ให้บอกลักษณะของคนในภาพคนละประโยค (แนวคํา
ตอบ เช่น ตัวสูง ผมยาว สีดํา ตาโต จมูกโด่ง ปากบาง หน้าเรียวรูปไข่
เป็ นต้น)
๒. ครูเชื่อมโยงการพูดบรรยายภาพคนของนักเรียน สู่การเขียน
บรรยายภาพคนเพราะการที่เราสามารถสังเกตรายละเอียดคนแล้วเขียน
บรรยายได้ตรงกับความจริงเป็ นทักษะสําคัญจําเป็ นของการสื่อสาร
ในปั จจุบัน

ขั้นสอน
๑. ครูอธิบายเรื่อง การเขียนบรรยายบุคคลและหลักการเขียน
บรรยาย และให้
นักเรียนอ่านใบความรู้ที่ ๘ เรื่อง การเขียนบรรยายคน
๒.ครูให้นักเรียนทํากิจกรรม“บรรยายฉัน” โดยมีวิธีการทํากิจกรรม
ดังนี้
- นักเรียนดู ภาพคนที่ครูกําหนดให้
- นักเรียนและครูร่วมกันเขียนบรรยาย
ภาพคน
๓. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการทํากิจกรรมบรรยายฉัน ครู
ให้ข้อสังเกตข้อแนะนําสําหรับการเขียนบรรยาย
๔. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูให้นักเรียนนํากระจกขึ้นมาคนละ ๑ ใบ แล้วส่องกระจกดูหน้า
ตนเอง
๒.ครูชี้แจงการทําใบงานที่ ๗ เรื่องบรรยายตัวฉัน
๓.ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นของงานที่นักเรียนเขียน
บรรยายตัวเอง
ขั้นสรุป
๑. ครูให้นักเรียนทําแผนผังความคิดสรุปความรู้เรื่อง การเขียน
บรรยายคน
๒. ครูให้นักเรียนตอบคําถาม ดังนี้
- การเขียนบรรยายคืออะไร
- การเขียนบรรยายคนมีหลักการอย่างไรบ้าง
๓. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน และให้ข้อคิดการทบทวนบทเรียนช่วยให้
เรียนได้ดีขึ้น
๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๘ เรื่อง การเขียนบรรยายคน
๒) ใบงานที่ ๗ เรื่อง เขียนบรรยายตนเอง
๓) สื่อ PowerPoint เรื่อง การเขียนบรรยายคน
๔) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๗ เรื่อง เขียนบรรยายตนเอง

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมายและ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
หลักการเขียนบรรยาย พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
คน
ด้านทักษะ/ - จำแนกภาษา - แบบประเมินใบ ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) ไทย งาน การประเมิน
- เขียนบรรยายตนเอง มาตรฐานและ ที่ ๕ เรื่อง ภาษา ร้อยละ ๖๐
ภาษา ไทย ขึ้นไป
ถิ่น มาตรฐานและภาษา
ถิ่น
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการเขียน “ผ่าน”
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”

เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกความ บอกความ บอกความ บอกความ
ความหมาย หมาย หมาย หมาย หมาย
ของ ของภาษาไทย ของภาษาไทย ของภาษาไทย ของภาษาไทย
ภาษาไทย มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ
มาตรฐาน ภาษา ภาษา ภาษา ภาษา
กับ ถิ่นได้ถูกต้อง ถิ่นได้ถูกต้อง ถิ่นได้ถูกต้อง ถิ่นไม่ถูกต้อง
ภาษาถิ่น ตามหลักการ เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย

๒. จำแนก จำแนกภาษา จำแนกภาษา จำแนกภาษา จำแนกภาษา


ภาษา ไทย ไทย ไทย ไทย
ไทย มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ มาตรฐานกับ
มาตรฐาน ภาษาถิ่นได้ ภาษาถิ่นได้ ภาษาไทยถิ่น ภาษาถิ่นได้ถูก
กับ ถูกต้องทุกข้อ ถูกต้อง ได้ ต้องน้อยกว่า ๕
ภาษาถิ่น ๘-๙ข้อ ถูกต้อง ๖-๗ ข้อ
ข้อ
๓. มารยาท ตั้งใจเขียน ผล ตั้งใจเขียน ผล ตั้งใจเขียน ผล ไม่ตั้งใจเขียน
ใน งาน งาน งาน ผลงาน สกปรก
การเขียน สะอาด สกปรก ๑-๒ สกปรก ๓-๔ มากกว่า ๔
เรียบร้อย แห่ง แห่ง แห่ง
ตลอดเสร็จทัน เสร็จทันเวลา แต่ก็เสร็จทัน ไม่เสร็จทัน
เวลา เวลา เวลา

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
ใบความรู้ที่ ๘ เรื่อง การเขียนบรรยายคน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง การเขียนบรรยายคน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ ๓

การเขียนบรรยายคน
การเขียนบรรยาย เป็ นการเขียนเล่าเหตุการณ์ใด
เหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น เพื่อให้
ผู้อ่านเห็นภาพเหตุการณ์ ลําดับเวลา สถานที่ บุคคล ผู้
เขียนควรเขียนเหตุการณ์ ให้ชัดเจน เล่าข้อเท็จจริงหรือ
รายละเอียดของเรื่องตามที่เป็ นอยู่โดยคํานึงถึงความต่อ
เนื่อง
การเขียนบรรยายมีหลายรูปแบบ เช่น เล่าเรื่อง เล่า
เหตุการณ์ การเขียนชีวประวัติ การเขียนบันทึก การให้
ข้อมูล การรายงานข่าว เป็ นต้น
หลักการเขียนบรรยาย
๑. ใช้ถ้อยคํากะทัดรัด อ่านแล้วเข้าใจง่าย มีความ
หมายคมคาย
๒. บรรยายตามลําดับเหตุการณ์ บรรยายโดยไม่ทําให้
ผู้อ่านสับสน
๓. จุดประทับใจควรมีเหตุการณ์หรือจุดสําคัญที่ทําให้
ผู้อ่านประทับใจ
๔. บรรยายต่อเนื่องอาจแทรก ข้อคิดเห็น ความรู้ เพื่อ
ประโยชน์ของผู้อ่าน
หลักการเขียนบรรยายคน
๑. บทนํา เป็ นการเขียนรายละเอียดย่อๆว่าคนนั้นเป็ น
ใคร พบเห็นที่ไหน หรือเคย
ได้ยินเรื่องเกี่ยวกับคน ๆ นั้นมาอย่างไรบ้าง
๒. เนื้อเรื่อง ให้เขียนรายละเอียด ดังนี้
๒.๑ เขียนลักษณะภายนอก ได้แก่ เพศ อายุ สีผม
สีตาจมูก ใบหน้า
ตัวอย่าง ชมพู่เป็ นเด็กหญิงอายุ ๙ ปี มีผมดํา ดวงตาสีดํา
จมูกโด่งใบหน้ากลม
๒.๒ เขียนลักษณะเด่นที่เห็นชัดเจนที่สุด ได้แก่
รูปร่าง สีผิว
ตัวอย่าง ชมพู่มีผิวเหลืองและสูง
๒.๓ เขียนพฤติกรรม ได้แก่ กิริยาท่าทางที่คน ๆ
นั้นมักทําเสมอ
ตัวอย่าง ชมพู่เป็ นเด็กมีน้ํ าใจ มาโรงเรียนแต่เช้าทุกวันและ
ชอบวิ่งเล่น
๒.๔ เขียนบุคลิกภาพ ได้แก่ การแต่งกาย
ตัวอย่าง ชมพู่ชอบใส่เสื้อสีชมพู กางเกงขาสั้น และใส่
นาฬิกาสีแดง
๒.๕ เขียนกิจวัตรประจําวัน ได้แก่ อาชีพ หรือ
งานอดิเรก ความฝั น
ตัวอย่าง ชมพู่ชอบวาดรูปในเวลาว่าง และเล่นกระโดด
เชือกในตอนเย็น โตขึ้นชมพู่อยากเป็ นนักวาดรูป
๓. สรุป เขียนแทรกข้อคิดเห็นเกี่ยวกับคนนั้น

ตัวอย่างการเขียนบรรยายคน
ชมพู่นักเรียนตัวอย่าง
ชมพู่เป็ นเด็กหญิงอายุ ๙ ปี มีผมดํา ดวงตาสีดํา จมูก
โด่ง ใบหน้ากลม ชมพู่มี ผิวเหลืองและสูง เธอเป็ นเด็กมี
น้ำใจ มาโรงเรียนแต่เช้าทุกวันและชอบวิ่งเล่น ชมพู่ ชอบ
ใส่เสื้อสีชมพู กางเกงขาสั้น และใส่นาฬิกาสีแดง ในเวลา
ว่างชมพู่ชอบวาดรูปและ เล่นกระโดดเชือกในตอนเย็น โต
ขึ้นชมพู่อยากเป็ นนักวาดรูป
ชมพู่เป็ นเพื่อนที่ดี มีน้ำใจช่วยเหลือและทํางานกลุ่ม
อย่างตั้งใจ ทุกปี ชมพู่จะ ได้รับทุนการศึกษาจากโรงเรียน
เป็ นตัวอย่างแก่นักเรียนทั้งโรงเรียน

ใบงานที่ ๗ เรื่อง เขียนบรรยายตนเอง


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง การเขียนบรรยายคน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ ๓

คําชี้แจง ให้นักเรียนติดรูปภาพหรือวาดภาพตนเอง แล้ว


เขียนบรรยายตนเอง ความยาว
ไม่เกิน ๑๐ บรรทัด ด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด

...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
... ...............................................................................................................
............................................................... ...................................................
...................................................................................................................
........ ..........................................................................................................
....................................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
........................................................... .......................................................
...................................................................................................................
....
...................................................................................................................
...........................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล...............................
...........ชั้น...........เลขที่..........
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง การเขียนบรรยายสัตว์และสิ่งของ

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น

รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อ
ความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษา
ค้นคว้า
อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ป.๓/๒ เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้อย่างชัดเจน

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
การเขียนบรรยาย เป็ นการเขียนเล่าเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งที่
เกิดขึ้น เพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพ
เหตุการณ์ ลําดับเวลา สถานที่ บุคคล ผู้เขียนควรกล่าวถึง เหตุการณ์ให้
ชัดเจน โดยมีข้อมูลและเนื้อหาสาระ
ของเรื่องที่จะแสดงความคิด บางครั้งอาจแทรกบทสนทนาตัวละครทําให้ผู้
อ่านเข้าใจลักษณะอารมณ์ ความคิด
ของตัวละคร และเข้าใจเรื่องทั้งหมด

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของการเขียนบรรยายสัตว์และสิ่งของได้
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (P)
- เขียนบรรยายสัตว์และสิ่งของได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
- การเขียนบรรยายสัตว์และสิ่งของ

๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนํา
๑. ครูนําสัตว์เลี้ยงมาให้นักเรียนได้แสดง ความคิดเห็น เช่น แมว
สุนัข นก แล้วให้ทํา
กิจกรรมบอกภาพที่เห็น ดังนี้
ครู : จากภาพที่ ๑ สัตว์ในภาพมีลักษณะ อย่างไร (ครูจดประโยคที่
นักเรียนบรรยาย ภาพสัตว์บนกระดานดํา)
ครู : ในภาพที่ ๒ ให้บอกลักษณะของ สิ่งของในภาพคนละประโยค (แนว
คําตอบ เช่น รูปร่างใหญ่ ทําจากพลาสติก สีเหลือง เป็ นต้น)
๒. ครูเชื่อมโยงการพูดบรรยายภาพสัตว์ และสิ่งของ สู่การเขียน
บรรยาย เพราะการที่เราสามารถสังเกตรายละเอียด สัตว์หรือสิ่งของ แล้ว
เขียนบรรยายได้ ตรง กับความจริง เป็ นทักษะสําคัญจําเป็ นของ การ
สื่อสารในปั จจุบัน
ขั้นสอน
๑. ครูทบทวนเรื่อง การเขียนบรรยาย
๒. ครูให้นักเรียนทํากิจกรรม “บรรยายฉัน” โดยมีวิธีการทํา
กิจกรรม ดังนี้
- นักเรียนดูสิ่งของที่ครูกําหนดให้ แล้วบรรยายสิ่งนั้น
- นักเรียนดูภาพที่ครูกําหนดให้แล้วบรรยาย ภาพ
๓. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการทํา กิจกรรมบรรยายฉัน ครู
ให้ข้อสังเกต ข้อแนะนําสําหรับการเขียนบรรยาย
๔. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูให้นักเรียนทําใบงานที่ ๘ เรื่อง เขียนบรรยายสัตว์และสิ่งของ
๒.ครูชี้แจงการทําใบงานที่ ๘ เรื่อง เขียน บรรยายสัตว์เลี้ยงที่ฉันรัก
๓.ครูชี้แจงบทบาทครูปลายทางให้ดูแล ช่วยเหลือและอธิบายเพิ่ม
เติมรายบุคคล
๔. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดง ความคิดเห็นของงานที่นักเรียน
เขียนบรรยาย

ขั้นสรุป

๑. ครูให้นักเรียนทําแผนผังความคิดสรุป ความรู้เรื่อง การเขียน


บรรยาย
๒. ครูให้นักเรียนตอบคําถาม ดังนี้
- การเขียนบรรยายคืออะไร
- การเขียนบรรยายมีหลักการอย่างไรบ้าง
๓. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน และให้ข้อคิด การทบทวนบทเรียนช่วย
ให้เรียนได้ดีขึ้น

๘. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๙ เรื่อง การเขียนบรรยายสัตว์และสิ่งของ
๒) ใบงานที่ ๘ การเขียนบรรยายสัตว์เลี้ยงที่ฉันรัก
๓) สื่อ PowerPoint เรื่อง การเขียนบรรยาย
๔) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๘ การเขียนบรรยายสัตว์เลี้ยงที่ฉันรัก

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมายและ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
หลักการเขียนบรรยาย พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
คน
ด้านทักษะ/ - จำแนกภาษา - แบบประเมินใบ ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) ไทย งาน การประเมิน
- เขียนบรรยายตนเอง มาตรฐานและ ที่ ๕ เรื่อง ภาษา ร้อยละ ๖๐
ภาษา ไทย ขึ้นไป
ถิ่น มาตรฐานและภาษา
ถิ่น
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการเขียน “ผ่าน”
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”

เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกความ บอกความ บอกความ บอกความ
ความหมาย หมาย หมาย หมาย หมาย
ของ ของการเขียน ของการเขียน ของการเขียน ของการเขียน
การ บรรยายเขียน บรรยายเขียน บรรยายเขียน บรรยายเขียน
บรรยาย บรรยายถูก บรรยายได้ถูก บรรยายเป็ น บรรยาย
ต้อง ต้อง ส่วนน้อย ไม่ถูกต้อง
เป็ นส่วนใหญ่
๒. เขียน - เขียนอธิบาย ปฏิบัติได้ ๓ ปฏิบัติได้ ๒ ปฏิบัติได้ ๑
บรรยาย ตาม เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์
สัตว์และ หัวข้อเรื่องได้
สิ่งของ อย่าง
ได้ ชัดเจน
- เนื้อเรื่อง
สมบูรณ์
สรุปได้
ชัดเจน
- ให้ข้อมูลที่
เป็ น
ข้อเท็จจริง
- แสดงความ
คิดเห็นได้น่า
อ่าน
- โครงสร้าง
ประโยคถูก
ต้อง
- ใช้ตัวสะกด
ไวยากรณ์ ถูก
ต้อง
๓. มารยาท ตั้งใจเขียน ผล ตั้งใจเขียน ผล ตั้งใจเขียน ผล ไม่ตั้งใจเขียน
ใน งาน งาน งาน ผลงาน สกปรก
การเขียน สะอาด สกปรก ๑-๒ สกปรก ๓-๔ มากกว่า ๔
เรียบร้อย แห่ง แห่ง แห่ง
ตลอดเสร็จทัน เสร็จทันเวลา แต่ก็เสร็จทัน ไม่เสร็จทัน
เวลา เวลา เวลา

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

ใบความรู้ที่ ๘ เรื่อง การเขียนบรรยายสัตว์และสิ่งของ


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง การเขียนบรรยายสัตว์และ
สิ่งของ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ ๓

การเขียนบรรยายสัตว์
หลักการเขียนบรรยายสัตว์
๑. บอกประเภทของสัตว์ เช่น สัตว์ บก สัตว์น้ำ สัตว์เลี้ยงลูก
ด้วยนม
๒. บอกลักษณะของสัตว์ ได้แก่ เพศ รูปร่าง (ใบหน้า จมูก หู
ขา หาง)
๓. บอกอาหารของสัตว์ เช่น กินพืช กินเนื้อ
๔. บอกที่อยู่อาศัยของสัตว์ เช่น บนบก ในน้ำ บนต้นไม้ ในรู
๕. บอกความสามารถของสัตว์ เช่น วิ่งเร็ว บินได้ จับปลา
ตัวอย่าง การเขียนบรรยาย ยีราฟ
ยีราฟ สัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนมที่ตัวสูง ขายาว ลําคอยาว มีเขา
๑ คู่ ตัวมีสีเหลือง
และสีน้ำตาลเข้มเป็ นลาย เป็ นสัตว์ บกที่มีขาสูงที่สุดในโลก อยู่
รวมเป็ นฝูงในทุ่งโล่ง
ร่วมกับสัตว์กินพืชชนิดอื่น ๆ เช่น ม้าลาย หรือนกกระจอกเทศ
เมื่อคลอดออกมา
จะสามารถยืนและเดินได้ ภายในเวลาไม่นาน และวิ่งได้ภายใน
เวลา ๒-๓ วัน

การเขียนบรรยายสิ่งของ
หลักการเขียนบรรยายสิ่งของ
๑. บอกชื่อสิ่งของได้ ชัดเจน เช่น กระปุกออมสิน แก้วน้ำ
๒. บอกสี น้ำหนักสิ่งของ เช่น สีดํา สีขาว หนัก เบา
๓. บอกลักษณะรูปร่างของสิ่งของ เช่น กลม ทรงกระบอก
๔. บอกขนาดสิ่งของ เช่น สูงประมาณ ๖ นิ้ว กว้างประมาณ
๗ นิ้ว
๕. บอกราคาสิ่งของ เช่น ราคา ๒๐ บาท
๖. บอกอายุการใช้ งาน เช่น ใช้งานได้ ๑ ปี
๗. บอกวิธีการใช้งาน เช่น นําไปใส่เงิน
๘. บอกประโยชน์ใช้สอย เช่น ใส่อาหารร้อนได้
๙. บอกการดูแลรักษา เช่น ใช้น้ำเย็นทําความสะอาด
ใบงานที่ ๘ เรื่อง การเขียนบรรยายสัตว์และสิ่งของ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง การเขียนบรรยายสัตว์และ
สิ่งของ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ ๓

คําชี้แจง ให้นักเรียนติดรูปภาพหรือวาดภาพสัตว์เลี้ยงที่ชื่น
ชอบแล้วเขียนบรรยายตนเอง ความยาว ไม่เกิน ๑๐
บรรทัด ด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
... ...............................................................................................................
............................................................... ...................................................
...................................................................................................................
........ ..........................................................................................................
....................................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
........................................................... .......................................................
...................................................................................................................
....
...................................................................................................................
...........................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล...............................
...........ชั้น...........เลขที่..........
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๐ เรื่อง การเขียนบรรยายสถานที่
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๓.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อ
ความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงาน
การศึกษาค้นคว้า
อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ป.๓/๒ เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้อย่างชัดเจน

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
การเขียนบรรยาย เป็ นการเขียนเล่าเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งที่
เกิดขึ้น เพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพ
เหตุการณ์ ลําดับเวลา สถานที่ บุคคล ผู้เขียนควรกล่าวถึง เหตุการณ์ให้
ชัดเจน โดยมีข้อมูลและเนื้อหาสาระ
ของเรื่องที่จะแสดงความคิด บางครั้งอาจแทรกบทสนทนาตัวละครทําให้ผู้
อ่านเข้าใจลักษณะอารมณ์ ความคิด
ของตัวละคร และเข้าใจเรื่องทั้งหมด
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของการเขียนบรรยายสถานที่ ได้
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (P)
- เขียนบรรยายสถานที่ ได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
- การเขียนบรรยายสถานที่

๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน

๗. กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนํา

๑. ครูนําผลงานการเขียนบรรยายคน สัตว์ สิ่งของ ที่นักเรียนเขียน


มาอ่านให้ นักเรียนฟั ง แล้วสนทนาเกี่ยวกับผลงาน
๒. ครูชื่นชมในผลงาน ความตั้งใจเขียน และความมุ่งมั่นในการทํา
งานจนสําเร็จ
ขั้นสอน
๑. ครูทบทวนหลักการเขียนบรรยาย โดยใช้แผนผังความคิด
๒. ครูให้นักเรียนทํากิจกรรม“บรรยายฉัน” โดยมีวิธีการทํากิจกรรม
ดังนี้
- นักเรียนดูสิ่งของที่ครูกําหนดให้ แล้วบรรยายสิ่งนั้น
- นักเรียนดูภาพที่ครูกําหนดให้ แล้วบรรยายภาพนั้น
๓. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการทํากิจกรรมบรรยายฉัน ครู
ให้ข้อสังเกต ข้อแนะนําสําหรับการเขียนบรรยาย
๔. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูให้นักเรียนทําใบงานที่ ๙ เรื่อง เขียนบรรยายธรรมชาติที่ชื่น
ชอบ
๒. ครูชี้แจงการทําใบงานที่ ๘ เรื่อง เขียนบรรยายสัตว์เลี้ยงที่ฉันรัก

ขั้นสรุป
๑. ครูให้นักเรียนทําแผนผังความคิดสรุป ความรู้เรื่อง การเขียน
บรรยายคน สัตว์ สิ่งของ และสถานที่
๒. ครูให้นักเรียนตอบคําถาม ดังนี้
- การเขียนบรรยายคืออะไร
- การเขียนบรรยายมีหลักการอย่างไรบ้าง
๓. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน และให้ข้อคิด การทบทวนบทเรียนช่วย
ให้เรียนได้ดีขึ้น
๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๑๐ เรื่อง การเขียนบรรยายสถานที่ และแผนผัง
ความคิด
๒) ใบงานที่ ๙ เรื่อง เขียนบรรยายธรรมชาติที่ฉันชื่นชอบ
๓) สื่อ PowerPoint เรื่อง การเขียนบรรยายสถานที่ และแผนผัง
ความคิด
๔) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๙ เรื่อง เขียนบรรยายธรรมชาติที่ฉันชื่นชอบ
สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมายและ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
หลักการเขียนบรรยาย พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
คน
ด้านทักษะ/ - จำแนกภาษา - แบบประเมินใบ ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) ไทย งาน การประเมิน
- เขียนบรรยายตนเอง มาตรฐานและ ที่ ๕ เรื่อง ภาษา ร้อยละ ๖๐
ภาษา ไทย ขึ้นไป
ถิ่น มาตรฐานและภาษา
ถิ่น
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการเขียน “ผ่าน”
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”

เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกหลักการ บอกหลักการ บอกหลักการ บอกหลักการ
หลัก เขียน เขียน เขียน เขียน
การเขียน บรรยายสถาน บรรยายสถาน บรรยายสถาน บรรยายสถาน
บรรยาย ที่ ที่ ที่ ที่
สถาน ถูกต้อง ได้ถูกต้อง ได้ เป็ นส่วน ไม่ถูกต้อง
เป็ นส่วนใหญ่ น้อย
๒. เขียน - เขียนอธิบาย ปฏิบัติได้ ๓ ปฏิบัติได้ ๒ ปฏิบัติได้ ๑
บรรยาย ตาม เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์
สถานที่ หัวข้อเรื่องได้
อย่าง
ชัดเจน
- เนื้อเรื่อง
สมบูรณ์
สรุปได้
ชัดเจน
- ให้ข้อมูลที่
เป็ น
ข้อเท็จจริง
- แสดงความ
คิดเห็นได้น่า
อ่าน
- โครงสร้าง
ประโยคถูก
ต้อง
- ใช้ตัวสะกด
ไวยากรณ์ ถูก
ต้อง
๓. มารยาท ตั้งใจเขียน ผล ตั้งใจเขียน ผล ตั้งใจเขียน ผล ไม่ตั้งใจเขียน
ใน งาน งาน งาน ผลงาน สกปรก
การเขียน สะอาด สกปรก ๑-๒ สกปรก ๓-๔ มากกว่า ๔
เรียบร้อย แห่ง แห่ง แห่ง
ตลอดเสร็จทัน เสร็จทันเวลา แต่ก็เสร็จทัน ไม่เสร็จทัน
เวลา เวลา เวลา

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
ใบความรู้ที่ ๑๐ เรื่อง การเขียนบรรยายสถานที่
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๐ เรื่อง การเขียนบรรยายสถานที่
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ ๓

การเขียนบรรยายสถานที่
หลักการเขียนบรรยาย
๑. บอกชื่อสถานที่ เช่น วัดพระแก้ว โรงพยาบาลศิริราช
๒. บอกที่ตั้ง สถานที่อื่น ๆ ที่อยู่ข้างเคียง เช่น วัดพระแก้ว
อยู่ตรงข้ามสนามหลวง
๓. บอกลักษณะภายนอกของสถานที่ เช่น รอบ ๆ สนาม
หลวงมีต้นมะขาม
๔. บอกลักษณะภายในของสถานที่ เช่น ในวัดพระแก้วมี
ภาพวาดรามเกียรติ์ สวยงาม
๕. บอกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ เช่น มีคณะแพทย์และ
พยาบาลที่เก่ง
๖. บอกความรู้สึกและข้อเสนอแนะต่อสถานที่ เช่น คนไข้
รู้สึกมั่นใจจึงมารักษามาก
ตัวอย่าง การเขียนบรรยายสถานที่
ฉันมาเที่ยวที่ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ที่ มีลําต้นสูงใหญ่ กิ่ง
ก้านใบแน่นหนา
และแผ่กว้าง แสงอาทิตย์ไม่อาจส่องลอดได้ เบื้องล่างจึงร่มรื่น น้ํ า
ในลําธารใสจนเห็น
กรวดทราย ปลาว่ายเวียน ทุกวันจะมีสัตว์ป่ านานาชนิดมากินน้ํ า
ที่ลําธาร
ฉันรู้สึกสบายใจและมีความสุขที่ได้มาที่เขาใหญ่ และขอเชิญ
ชวนให้ทุกคนที่มา ท่องเที่ยวไม่ทิ้งขยะ และไม่รบกวนสัตว์ป่ า
แผนผังความคิดเรื่อง การเขียนบรรยาย

๑. การเขียน
บรรยายคน
๒. การเขียน
บรรยาย สัตว์ การเขียน
หลักการเขียน
บรรยาย ๑. ใช้คํากะทัดรัด
๒. เขียนตามลําดับ
เหตุการณ์
๓. มีเหตุกา
ใบงานที่ ๙ เรื่อง เขียนบรรยายธรรมชาติที่ฉันชื่นชอบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ เรื่อง ฝึ กภาษาถิ่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๐ เรื่อง การเขียนบรรยายสถานที่
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ ๓

คําชี้แจง ให้นักเรียนนํารูปภาพสถานที่ หรือวาดภาพ


ธรรมชาติที่ ชื่นชอบ แล้วเขียน
บรรยายความยาว ๑๐ บรรทัด ด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด

...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
... ...............................................................................................................
............................................................... ...................................................
...................................................................................................................
........ ..........................................................................................................
....................................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
........................................................... .......................................................
...................................................................................................................
....
...................................................................................................................
...........................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล...............................
...........ชั้น...........เลขที่..........
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕
ศาสตร์ศิลป์ การลา

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ศาสตร์ศิลป์ การลา


รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๙
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนําไป
ใช้ตัดสินใจ แก้ปั ญหาในการดําเนิน
ชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด
ป ๓/๑ อ่านออกเสียงคํา ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรอง
ง่ายๆ ได้ถูกต้อง
ป ๓/๒ อธิบายความหมายของคําและข้อความที่อ่าน
ป ๓/๘ อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และ
แผนภูมิ
ป ๓/๙ มีมารยาทในการอ่าน
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อ
ความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบ
ต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
ป ๓/๓ เขียนบันทึกประจําวัน
ป ๓/๖ มีมารยาทในการเขียน
สาระที่ ๓ การฟั ง การดูและการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟั งและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูด
แสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาส ต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณ
และสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ป ๓/๑ เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟั งและดูทั้งที่เป็ นความรู้และ
ความบันเทิง
ป ๓/๒ บอกสาระสําคัญจากการฟั งและดู
ป ๓/๔ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟั งและดู
ป ๓/๖ มีมารยาทในการฟั ง การดู และการพูด
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา
ภูมิปั ญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ป ๓/๒ ระบุชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และ
วรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และ
นํามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
ป ๓/๒ รู้จักเพลงพื้นบ้านและเพลงกล่อมเด็ก เพื่อปลูกฝั งความ
ชื่นชมวัฒนธรรมท้องถิ่น

๒. สาระสําคัญและความคิดรวบยอด
การอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขต้องมีความเข้าใจ
ตนเองและผู้อื่น โดยเฉพาะทักษะด้าน
การใช้ภาษาในการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ นักเรียนเมื่ออยู่ในสังคม
โรงเรียนต้องสื่อสารกับเพื่อน ครูจึงจําเป็ น
ที่ต้องรู้หลักการเขียนจดหมายเพื่อธุระสําคัญ และการลาป่ วย การอ่าน
แผนที่ แผนภาพและแผนภูมิเป็ นการอ่าน สัญลักษณ์ที่พบเห็น จะช่วยทํา
ให้มีความรู้ ความหมายและสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง การเรียนรู้เรื่อง
เพลงพื้นบ้าน เป็ นความบันเทิงของคนไทย เป็ นการอนุรักษ์วัฒนธรรมพื้น
บ้านของไทยให้ดํารงอยู่ได้ และส่งเสริมสุขภาพจิตให้ดีขึ้น การเป็ นผู้มี
มารยาทในการฟั ง การพูด การดู การอ่าน และการเขียน จะทําให้เราเป็ น
ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่ดี

๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
๑) ความหมายของการตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผล
๒) หลักการเล่ารายละเอียดจากเรื่อง
๓) ความหมายของจดหมายลาครู
๔) ความหมายของแผนภาพ
๕) ความหมายของแผนที่
๖) ความหมายของแผนภูมิ
๗) หลักการพูดแสดงความคิดเห็น
๓.๒ ทักษะและกระบวนการ
๑) ตั้งคําถามและตอบคําถามจากเรื่องที่อ่าน
๒) เล่ารายละเอียดของเรื่อง
๓) ระบุส่วนประกอบของจดหมาย
๔) เขียนจดหมายลาครูประเภทลาป่ วย
๕) เขียนจดหมายลาครูประเภทลากิจ
๖) เขียนแผนภาพ
๗) อ่านข้อมูลจากแผนภาพ
๘) เขียนแผนที่
๙) อ่านข้อมูลจากแผนที่
๑๐) เขียนแผนภูมิ
๑๑) อ่านข้อมูลจากแผนภูมิ
๑๒) พูดแสดงความคิดเห็น
๓.๓ คุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม
๑) มีมารยาทในการอ่านและการเขียน
๒) มีมารยาทในการฟั ง การดู และการพูด
๓) มีมารยาทในการอ่านและการเขียน

๔. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๔.๑ ความสามารถในการคิด
๔.๒ ความสามารถในการสื่อสาร
๔.๓ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์

๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๕.๒ ซื่อสัตย์สุจริต
๕.๓ มีวินัย
๕.๔ ใฝ่ เรียนรู้
๕.๕ มุ่งมั่นในการทํางาน
๖. การประเมินผลรวบยอด
๖.๑ ชิ้นงานหรือภาระงาน
๑) ใบงานที่ ๑ เรื่อง การตั้งคําถามและตอบคําถามจากการ
อ่าน
๒) การเล่ารายละเอียดจากเรื่อง
๓) ใบงานที่ ๓ เรื่อง ระบุส่วนประกอบของจดหมายลาครู
๔) ใบงานที่ ๔ เรื่อง เขียนจดหมายลาครูประเภทลาป่ วย
๕) ใบงานที่ ๕ เรื่อง เขียนจดหมายลาครูประเภทลากิจ
๖) ใบงานที่ ๖ เรื่อง อ่านและเขียนแผนภาพจากหัวข้อที่กํา
หนด
๗) ใบงานที่ ๗ เรื่อง อ่านข้อมูลแผนที่ ตามหัวข้อที่กําหนด
๘) ใบงานที่ ๘ เรื่อง อ่านและเขียนแผนภูมิตามหัวข้อที่กํา
หนด
๙) การพูดแสดงความคิดเห็น

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง การตั้งคําถามและตอบคําถามจากการ


อ่าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ เรื่อง ศาสตร์ศิลป์ การลา
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนําไป
ใช้ตัดสินใจ แก้ปั ญหา
ในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด ป.๓/๑ อ่านออกเสียงคํา ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อย
กรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด ป.๓/๓ ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่
อ่าน

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
การตั้งคําถามและตอบคําถาม เป็ นการแสวงหาความรู้ที่มี
ประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดการเรียนรู้ที่พัฒนา
ทักษะการคิด การตีความ การไตร่ตรอง การถ่ายทอดความคิด สามา
รถนําไปสู่การเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของการตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- ตั้งคําถามและตอบคําถามจากเรื่องที่อ่านได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการอ่านและการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
- การตั้งคําถามและตอบคําถาม
๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนํา
๑. ครูนําภาพมาให้นักเรียนได้สังเกต และร่วมกันตั้งคําถามจากภาพ
ที่กําหนดให้
- ภาพธรรมชาติ
- ภาพฝูงช้างในป่ า
- ภาพการก่อเจดีย์ทราย
ครู : ให้นักเรียนสังเกตภาพว่าในภาพมี
รายละเอียดอะไรบ้าง
ภาพที่ ๑ ภาพธรรมชาติ
ภาพที่ ๒ ภาพฝูงช้างในป่ า
ภาพที่ ๓ ภาพการก่อเจดีย์ทราย
๒. ครูกล่าวเชื่อมโยงการอ่านภาพแล้ว สามารถเข้าใจภาพ สามารถ
ตั้งคําถามและตอบคําถามจากภาพเป็ นทักษะพื้นฐานของการจับใจความ
๓. ครูบอกจุดประสงค์การเรียนรู้
ขั้นสอน
๑. ครูอธิบายหลักการตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผล แล้วให้
นักเรียนอ่าน
ทบทวนความเข้าใจในใบความรู้ที่ ๑ เรื่อง การตั้งคําถามและการตอบคํา
ถามเชิงเหตุผล
๒. ครูให้นักเรียนทํากิจกรรม “ตั้งคําถามและตอบคําถาม” โดยวิธี
การทํากิจกรรม ดังนี้
- ฟั งนิทานเรื่อง ทําไมเต่าจึงมีกระดอง
- ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผล
ครู : ตั้งคําถาม ดังนี้
- ตัวละครในนิทานมีใครบ้าง
- มีกี่เหตุการณ์
- แต่ละเหตุการณ์ “ใคร ทําอะไร ที่ไหน
อย่างไร”
- ผลสุดท้ายเรื่องจบอย่างไร
- ทําไมจึงเป็ นเช่นนั้น
๓. ครูสรุปความรู้ร่วมกับนักเรียน
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูชี้แจงวิธีการทําใบงานที่ ๑ เรื่อง การตั้งคําถามและตอบคํา
ถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่อ่าน
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย เกี่ยวกับการตั้งคําถามและตอบ
คําถามเชิงเหตุผล
ขั้นสรุป
๑. ครูใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- การตั้งคําถามและตอบคําถาม คืออะไร
- บอกวิธีการตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผล
- บอกประโยชน์ของการตั้งคําถามและตอบคําถาม
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การตั้งคําถามและตอบ
คําถามเชิงเหตุผล
โดยการทําแผนผังความคิดเรื่อง การตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผล
ลงใน สมุดวิชาภาษาไทยของนักเรียน
๓. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๑ เรื่อง การตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผล
จากการอ่าน
๒) ใบงานที่ ๑ เรื่อง การตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจาก
การอ่าน
๓) สื่อ PowerPoint เรื่อง การตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผล
จากการอ่าน
๔) สื่อสําหรับครู นิทานเชิงเหตุผล เรื่อง ทําไมเต่าจึงมีกระดอง

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๑ เรื่อง การตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากการ
อ่าน

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมายของ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
การตั้ง พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
คําถามและตอบคําถาม
เชิง
เหตุผล
ด้านทักษะ/ - การตั้งคําถาม - แบบประเมินตั้ง ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) และตอบ คําถาม การประเมิน
- ตั้งคําถามและตอบคํา คําถามจากเรื่อง และตอบคําถาม ร้อยละ ๖๐
ถาม ที่อ่าน จากเรื่อง ขึ้นไป
เชิงเหตุผลจากเรื่องที่ ที่อ่าน
อ่าน
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการเขียน “ผ่าน”
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”
เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. ตั้งคํา ตั้งคําถามและ ตั้งคําถามและ ตั้งคําถามและ ตั้งคําถามและ
ถามและ ตอบ ตอบ ตอบ ตอบ
ตอบคําถาม คําถามเชิง คําถามเชิง คําถามเชิง คําถามเชิง
เชิง เหตุผล เหตุผล เหตุผล เหตุผล
เหตุผลจาก จากเรื่องที่ จากเรื่องที่ จากเรื่องที่ จากเรื่องที่อ่าน
เรื่อง อ่าน อ่าน อ่าน ไม่ถูกต้อง
ที่อ่าน ถูกต้อง ถูกต้องเป็ น ถูกต้องเป็ น
ส่วนใหญ่ ส่วนน้อย
๒. มี ตั้งใจอ่านและ ตั้งใจอ่านและ ตั้งใจอ่านและ ไม่ตั้งใจอ่าน
มารยาทใน เขียน เขียน เขียน และ
การอ่าน ตลอดเวลา เกือบตลอด บางช่วงเวลา เขียน ส่งเสียง
และ ไม่ส่งเสียงดัง เวลา ส่งเสียงดัง ดัง
การเขียน ทํางานเสร็จ ไม่ส่งเสียงดัง แต่ทํางาน ทํางานไม่เสร็จ
ในเวลา ทํางานเสร็จ เสร็จ ในเวลา
ในเวลา ในเวลา

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินการตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผล
จากการอ่าน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. ตั้งคํา - การตั้งคํา - การตั้งคํา - การตั้งคํา - การตั้งคําถาม
ถามและ ถาม ถาม ถาม และตอบคํา
ตอบคําถาม และตอบคํา และตอบคํา และตอบคํา ถาม
เชิง ถาม ถาม ถาม จากการอ่านได้
จากเรื่อง จากการอ่าน จากการอ่าน จากการอ่าน น้อยกว่า ๑ ข้อ
การอ่าน ได้ ได้ ได้
มากกว่า ๕ ๓-๔ ข้อ ๑-๒ ข้อ
ข้อ
๒. การ ตัวอักษรมีหัว ตัวอักษรมีหัว ตัวอักษรไม่มี ตัวอักษรไม่มี
เขียนด้วย ลายมือ ลายมือ หัว หัว
ลายมือตัว สวยงาม สวยงาม ลายมือ ลายมือไม่
บรรจง สม่ําเสมอ เขียนถูกต้อง สวยงาม สวยงาม
เขียนถูกต้อง ตาม แต่ไม่สม่ํา และเขียนไม่ถูก
ตาม หลักการเขียน เสมอ ต้อง
หลักการเขียน เขียนถูกต้อง ตามหลักการ
ตาม เขียน
หลักการเขียน
๓. ความ ไม่มีร่องรอย มีร่องรอ มีร่องรอ มีร่องรอ
สะอาด ลบ ยลบคําผิด ยลบคําผิด ยลบคําผิด
คําผิด หรือลบ หรือลบคําผิด หรือลบคําผิด หรือลบคําผิด
คําผิดสะอาด ไม่สะอาด ไม่สะอาด ไม่สะอาด
๑-๒ จุด ๓-๔ จุด มากกว่า
๕ จุด

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง การเล่ารายละเอียดเกี่ยวกับ
ข่าวหรือเหตุการณ์ประจําวัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ เรื่อง ศาสตร์ศิลป์ การลา
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๓ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟั งและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูด
แสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณ และ
สร้างสรรค์
ตัวชี้วัด ป.๓/๑ เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟั งและดูทั้งที่เป็ นความรู้
และความบันเทิง

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
การเล่ารายละเอียดจากการฟั งและดู ต้องอาศัยทักษะการฟั งและดู
ผ่านกระบวนการวิเคราะห์
สาระสําคัญเพื่อให้ทราบจุดมุ่งหมายของเรื่องที่ฟั งและดู

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกหลักการเล่ารายละเอียดจากเรื่องได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- เล่ารายละเอียดของเรื่องได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการฟั ง การดู และการพูด

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ การเล่ารายละเอียดของเรื่องที่ฟั งและดู
๔.๒ มารยาทในการฟั งและดู

๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนํา
๑. ครูสนทนานักเรียนเกี่ยวกับกิจกรรม ช่วงเช้าที่บ้านของนักเรียน
โดยใช้คําถาม กระตุ้นความคิด ดังนี้
ครู : เมื่อเช้านักเรียนรู้หรือไม่ว่า บ้านเมืองของเราเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น
บ้าง
ครู : นักเรียนจะติดตามข่าวสารบ้านเมืองได้อย่างไรบ้าง
ครู : นักเรียนคนใดสามารถเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในบ้านเมืองของเราได้
บ้าง ๑ เรื่อง
๒. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน
ขั้นสอน
๑. ครูอธิบายเรื่องการเล่ารายละเอียดจากเรื่อง
๒. ครูให้นักเรียนดูวีดิทัศน์ เกี่ยวกับข่าวและเหตุการณ์ประจําวัน
๓. ครูใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- นักเรียนเล่ารายละเอียดของเรื่องที่ดูโดยบอกว่า ใคร ทําอะไร ที่ไหน
อย่างไร เมื่อไร
- นักเรียนได้ข้อคิดอะไรจากเรื่องนี้
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูให้นักเรียนฟั งและดูข่าวหรือเหตุการณ์ประจําวัน
๒. ครูให้นักเรียนเล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่อง
๓. ครูกล่าวชื่นชมและให้ข้อสังเกตในการเล่ารายละเอียดจากเรื่องที่
ฟั งและดู
ขั้นสรุป
๑. ครูให้นักเรียนสรุปความรู้เรื่อง การเล่า รายละเอียดจากเรื่องที่
ฟั งและดู (Mind Map)
๒. ครูใช้คําถามสรุปความรู้นักเรียน ดังนี้
ครู : ถ้าเรารู้เรื่องราวข่าวสารของบ้านเมืองจะมีประโยชน์อย่างไร
๓. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๒ เรื่อง การเล่ารายละเอียดเกี่ยวกับข่าวหรือเหตุกา
รณ์ประจําวัน
๒) สื่อ PowerPoint เรื่อง การเล่ารายละเอียดเกี่ยวกับข่าวหรือเหตุ
การณ์ประจําวัน

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- การเล่ารายละเอียดจากเรื่อง
สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกหลักการเล่า ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
รายละเอียดจากเรื่อง พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
ด้านทักษะ/ - การตั้งคําถาม - แบบประเมินตั้ง ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) และตอบ คําถาม การประเมิน
- เล่ารายละเอียดของ คําถามจากเรื่อง และตอบคําถาม ร้อยละ ๖๐
เรื่อง ที่อ่าน จากเรื่อง ขึ้นไป
ที่อ่าน
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการฟั ง “ผ่าน”
การดู
และการพูด
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”
เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. เล่า เล่าราย เล่าราย เล่าราย เล่าราย
ราย ละเอียด ละเอียด ละเอียด ละเอียด
ละเอียด ของเรื่องที่ฟั ง ของเรื่องที่ฟั ง ของเรื่องที่ฟั ง ของเรื่องที่ฟั ง
ของ และดู และดู และดู และดู
เรื่องที่ฟั ง ได้ถูกต้อง ได้เกือบทั้ง ถูกต้องเป็ น ไม่ถูกต้อง
และดู เรื่อง ส่วน
น้อย
๒. บอก บอกมารยาท บอกมารยาท บอกมารยาท บอกมารยาท
มารยาท การฟั ง การฟั ง การฟั ง การฟั ง
ของการฟั ง และดูได้ถูก และดูถูกเป็ น และดูถูกต้อง และดูไม่ถูก
และดู ต้อง ส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย ต้อง

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป
๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง จดหมายลาครู (ส่วนประกอบ


จดหมาย)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ เรื่อง ศาสตร์ศิลป์ การลา
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อ
ความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบ ต่าง ๆ เขียนรายงาน
ข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ป.๓/๔ เขียนจดหมายลาครู

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
การเขียนจดหมายลาครู เป็ นการเขียนจดหมายถึงครู เพื่อแจ้ง
สาเหตุของการหยุดเรียน เนื่องจาก การป่ วยหรือมีกิจธุระจําเป็ น การ
เขียนจดหมายเป็ นการเขียนที่มีรูปแบบที่ผู้เขียนต้องเขียนให้ถูกต้อง การ
เขียนจดหมายลาครูต้องใช้ภาษาที่สุภาพ เขียนเฉพาะใจความสําคัญ ใช้
กระดาษสีขาว สะอาด ไม่ยับยู่ยี่หรือฉีกขาด เขียนด้วยลายมือที่สวยงาม
เรียบร้อย ไม่มีรอยลบที่สกปรก

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของจดหมายลาครูได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- ระบุส่วนประกอบของจดหมายได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการอ่านและการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
- จดหมายลาครู
๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนํา
๑. ครูนําจดหมายลาครูหลาย ๆ ฉบับมาให้นักเรียนดู และพิจารณ
ว่าจดหมายต่อไปนี้เป็ นจดหมายที่มีลักษณะอย่างไร โดยตั้งคําถามกระตุ้น
ความคิดนักเรียน ดังนี้
- จดหมายที่นักเรียนอ่านเนื้อความเป็ น จดหมายที่เขียนถึงใคร
- เนื้อความของจดหมายที่เขียนถึงคุณครู มีเนื้อหาอย่างไร
- นักเรียนคิดว่าเป็ นจดหมายประเภทใด
๒. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียนและเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน
ขั้นสอน
๑. ครูอธิบายเรื่อง จดหมายลาครูทั้งจดหมายลาครู และจดหมายลา
ป่ วย เพื่อให้นักเรียนทําความรู้จักจดหมายลาครูและส่วนประกอบ โดยให้
นักเรียนศึกษา จากใบความรู้
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ เกี่ยวกับเรื่อง จดหมายลาครู
โดยให้นักเรียนทํากิจกรรม “ส่วนประกอบของจดหมายลาครู” มีวิธีการ
ทํากิจกรรม ดังนี้
- ครูนํารูปแบบของจดหมายมาให้นักเรียนดูและร่วมกันพิจารณาส่วน
ประกอบต่าง ๆ (โดยไม่มีเนื้อความ)

- ครูนํารูปแบบของจดหมายลาครู และ ร่วมกันพิจารณาส่วนประกอบ


ของจดหมายลาครู (ใส่เนื้อความของจดหมาย)
- ครูนําตัวอย่างจดหมายลาครู ทั้งจดหมายลาครูและจดหมายลาป่ วยมา
ให้นักเรียนได้ระบุส่วนประกอบของประโยค
- ครูให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาส่วนประกอบของจ่าหน้าซองจดหมาย
๓. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง จดหมายลาครู
๔. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูชี้แจงวิธีการทําใบงานที่ ๒ เรื่อง ระบุส่วนประกอบจดหมาย
ลาครู โดยมีวิธีการทําใบงาน ดังนี้
- ครูให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบส่วนประกอบของจดหมายที่ครูกําหนด
ดังนี้
๑. ที่อยู่ วงกลมล้อมรอบส่วนที่เป็ นที่อยู่ ด้วย สีแดง
๒. วันที่ วงกลมล้อมรอบส่วนที่เป็ นที่อยู่ ด้วย สีเขียว
๓. คําขึ้นต้น วงกลมล้อมรอบส่วนที่เป็ น ที่อยู่ด้วย สีหลือง
๔. เนื้อความ วงกลมล้อมรอบส่วนที่เป็ น ที่อยู่ด้วย สีฟ้ า
๕. คําลงท้าย วงกลมล้อมรอบส่วนที่เป็ น ที่อยู่ด้วย สีส้ม
๖. ลายมือชื่อผู้เขียน วงกลมล้อมรอบ ส่วนที่เป็ นที่อยู่ด้วย สีน้ําเงิน
๗. คํารับรองของผู้ปกครอง วงกลม ล้อมรอบส่วนที่เป็ นที่อยู่ด้วย สีม่วง
๘. นักเรียนเขียนจ่าหน้าซองจดหมาย
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ เกี่ยวกับส่วนประกอบของ
จดหมายลาครู
ขั้นสรุป
๑. ครูใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- จดหมายลาครู คืออะไร
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของ
จดหมายลาครู โดยการทําแผนผังความคิดเรื่อง ส่วนประกอบของ
จดหมายลา ลงในสมุดวิชาภาษาไทยของนักเรียน
๓. ครูให้นักเรียนบอกเหตุผลว่าทําไมต้องเขียนจดหมายลาครู
๔. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๓ เรื่อง จดหมายลาครู (ส่วนประกอบของจดหมาย)
๒) ใบงานที่ ๒ เรื่อง ระบุส่วนประกอบของจดหมายลาครู
๓) สื่อ PowerPoint เรื่อง จดหมายลาครู
๔) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๓ เรื่อง ระบุส่วนประกอบของจดหมายลาครู
สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมายของ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
จดหมายลาครู พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
ด้านทักษะ/ - การตั้งคําถาม - แบบประเมินตั้ง ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) และตอบ คําถาม การประเมิน
- ระบุส่วนประกอบ คําถามจากเรื่อง และตอบคําถาม ร้อยละ ๖๐
ของ ที่อ่าน จากเรื่อง ขึ้นไป
จดหมาย ที่อ่าน
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการอ่าน “ผ่าน”
และ
การเขียน
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”
เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกความ บอกความ บอกความ บอกความ
ความหมาย หมาย หมาย หมาย หมาย
จดหมายลา จดหมายลา จดหมายลา จดหมายลา จดหมายลาครู
ครู ครู ครู ครู ไม่ถูกต้องตาม
ถูกต้องตาม ถูกตามหลัก ถูกตามหลัก หลักการ
หลักการ การ การ
เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
๒. ระบุ ระบุส่วน ระบุส่วน ระบุส่วน ระบุส่วน
ส่วน ประกอบ ประกอบ ประกอบ ประกอบ
ประกอบ ของจดหมาย ของจดหมาย ของจดหมาย ของจดหมาย
ของ ได้ ได้ ได้ ได้
จดหมาย ถูกต้องทุกข้อ ถูกต้อง ๖-๗ ถูกต้อง ๔-๕ ถูกต้องน้อย
ข้อ ข้อ กว่า
๔ ข้อ
๓. มี ตั้งใจอ่านและ ตั้งใจอ่านและ ตั้งใจอ่านและ ไม่ตั้งใจอ่าน
มารยาทใน เขียน เขียน เขียน และ
การอ่าน ตลอดเวลา เกือบตลอด บางช่วงเวลา เขียน ส่งเสียง
และ ไม่ส่งเสียงดัง เวลา ส่งเสียงดัง ดัง
การเขียน ทํางานเสร็จ ไม่ส่งเสียงดัง แต่ทํางาน ทํางานไม่เสร็จ
ในเวลา ทํางานเสร็จ เสร็จ ในเวลา
ในเวลา ในเวลา

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินระบุส่วนประกอบของจดหมายลาครู

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. ระบุ ระบุส่วน ระบุส่วน ระบุส่วน ระบุส่วน
ส่วน ประกอบ ประกอบ ประกอบ ประกอบ
ประกอบ ของจดหมาย ของจดหมาย ของจดหมาย ของจดหมาย
ของ ได้ ได้ ได้ ได้
จดหมายได้ ถูกต้องทุกข้อ ถูกต้อง ๖-๗ ถูกต้อง ๔-๕ ถูกต้องน้อย
ข้อ ข้อ กว่า
๔ ข้อ
๒. การ ตัวอักษรมีหัว ตัวอักษรมีหัว ตัวอักษรไม่มี ตัวอักษรไม่มี
เขียนด้วย ลายมือ ลายมือ หัว หัว
ลายมือตัว สวยงาม สวยงาม ลายมือ ลายมือไม่
บรรจง สม่ําเสมอ เขียนถูกต้อง สวยงาม สวยงาม
เขียนถูกต้อง ตาม แต่ไม่สม่ํา และเขียนไม่ถูก
ตาม หลักการเขียน เสมอ ต้อง
หลักการเขียน เขียนถูกต้อง ตามหลักการ
ตาม เขียน
หลักการเขียน
๓. ความ ไม่มีร่องรอย มีร่องรอ มีร่องรอ มีร่องรอ
สะอาด ลบ ยลบคําผิด ยลบคําผิด ยลบคําผิด
คําผิด หรือลบ หรือลบคําผิด หรือลบคําผิด หรือลบคําผิด
คําผิดสะอาด ไม่สะอาด ไม่สะอาด ไม่สะอาด
๑-๒ จุด ๓-๔ จุด มากกว่า
๕ จุด
เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง จดหมายลาครู (จดหมายลา
ป่ วย)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ เรื่อง ศาสตร์ศิลป์ การลา
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อ
ความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงาน
การศึกษาค้นคว้า
อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ป.๓/๔ เขียนจดหมายลาครู

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
การเขียนจดหมายลาครู เป็ นการเขียนจดหมายถึงครู เพื่ อแจ้ง
สาเหตุของการหยุดเรียน เนื่องจาก
การป่ วยหรือมีกิจธุระจําเป็ น การเขียนจดหมายเป็ นการเขียนที่มีรูปแบบ
ที่ผู้เขียนต้องเขียนให้ถูกต้อง การเขียนจดหมายลาครูต้องใช้ภาษาที่สุภาพ
เขียนเฉพาะใจความสําคัญ ใช้กระดาษสีขาว สะอาด ไม่ยับยู่ยี่หรือฉีกขาด
เขียนด้วยลายมือที่สวยงาม เรียบร้อย ไม่มีรอยลบที่สกปรก
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของจดหมายลาครูได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- เขียนจดหมายลาครูประเภทลาป่ วยได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการอ่านและการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
- จดหมายลาครู

๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนํา
๑. ครูให้นักเรียนทํากิจกรรม “เติมคํานําสู่ จดหมายลาครู ”โดยมีวิธี
การทํากิจกรรม ดังนี้
- ครูให้นักเรียนอ่านเนื้อความในจดหมาย ที่แบ่งเป็ นส่วน ๆ ตามส่วน
ประกอบของจดหมาย
- ครูให้นักเรียนช่วยกันนําเนื้อความ ส่วนต่าง ๆ ของจดหมายมาเรียบ
เรียงให้เป็ นจดหมายลาครู
๒. ครูใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- เนื้อความในจดหมายกล่าวถึงอะไร
- เป็ นจดหมายลาครูประเภทใด
- ทบทวนส่วนประกอบของจดหมายลาครูมีกี่ส่วน
๓. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียนและเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน
ขั้นสอน
๑. ครูอธิบายเรื่อง จดหมายลาครูประเภทลาป่ วย
๒. ครูใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- ย่อหน้าสุดท้ายของเนื้อความในจดหมายลาครูประเภทลาป่ วย มักเขียน
ว่าอะไร
๓. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูให้นักเรียนทําใบงานที่ ๓ เรื่องเขียนจดหมายลาครูประเภทลา
ป่ วย
๒. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการเขียนจดหมายลาครู
ประเภทลาป่ วย
๓. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน
ขั้นสรุป
๑. ครูใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- จดหมายลาครู คืออะไร
- เนื้อความในย่อหน้าที่สุดท้ายของจดหมายลาครูมักเขียนว่าอะไร
๒. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน
๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๓ เรื่อง จดหมายลาครู(ส่วนประกอบของจดหมาย)
๒) ใบงานที่ ๓ เรื่อง เขียนจดหมายลาครูประเภทลาป่ วย
๓) สื่อ PowerPoint เรื่อง จดหมายลาครูประเภทลาป่ วย
๔) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๓ เรื่อง เขียนจดหมายลาครูประเภทลาป่ วย

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมายของ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
จดหมายลาครู พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
ด้านทักษะ/ - การตั้งคําถาม - แบบประเมินตั้ง ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) และตอบ คําถาม การประเมิน
- เขียนจดหมายลาครู คําถามจากเรื่อง และตอบคําถาม ร้อยละ ๖๐
ประเภท ที่อ่าน จากเรื่อง ขึ้นไป
ลาป่ วย ที่อ่าน
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการอ่าน “ผ่าน”
และการเขียน
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”

เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน
ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกความ บอกความ บอกความ บอกความ
ความหมาย หมาย หมาย หมาย หมาย
จดหมายลา จดหมายลา จดหมายลา จดหมายลา จดหมายลาครู
ครูได้ ครู ครู ครู ไม่ถูกต้องตาม
ถูกต้องตาม ถูกตามหลัก ถูกตามหลัก หลักการ
หลักการ การ การ
เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
๒. เขียน เขียนจดหมาย เขียนจดหมาย เขียนจดหมาย เขียนจดหมาย
จดหมาย ลาครู ลาครู ลาครู ลาครู
ลาครู ประเภทลา ประเภทลา ประเภทลา ประเภทลา
ประเภท ป่ วย ป่ วย ป่ วย ป่ วย
ลาป่ วยได้ ได้ถูกต้องตาม ได้ถูกต้องตาม ได้ถูกต้องตาม ได้ไม่ถูกต้อง
หลักการเขียน หลักการเขียน หลักการเขียน ตาม
ทุกประเด็น เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย หลักการ
๓. มี ตั้งใจอ่านและ ตั้งใจอ่านและ ตั้งใจอ่านและ ไม่ตั้งใจอ่าน
มารยาทใน เขียน เขียน เขียน และ
การอ่าน ตลอดเวลา เกือบตลอด บางช่วงเวลา เขียน ส่งเสียง
และ ไม่ส่งเสียงดัง เวลา ส่งเสียงดัง ดัง
การเขียน ทํางานเสร็จ ไม่ส่งเสียงดัง แต่ทํางาน ทํางานไม่เสร็จ
ในเวลา ทํางานเสร็จ เสร็จ ในเวลา
ในเวลา ในเวลา
เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินเขียนจดหมายลาครูประเภทลาป่ วย

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. เขียน เขียนจดหมาย เขียนจดหมาย เขียนจดหมาย เขียนจดหมาย
จดหมายลา ลาครู ลาครู ลาครู ลาครู
ครู ประเภทลา ประเภทลา ประเภทลา ประเภทลา
ประเภทลา ป่ วย ป่ วย ป่ วย ป่ วย
ป่ วย ถูกต้องทุก ผิดพลาด ๑ ผิดพลาด ๒ ผิดพลาด
ประเด็น ประเด็น ประเด็น มากกว่า
๒ ประเด็น
๒. การ ตัวอักษรมีหัว ตัวอักษรมีหัว ตัวอักษรไม่มี ตัวอักษรไม่มี
เขียนด้วย ลายมือ ลายมือ หัว หัว
ลายมือตัว สวยงาม สวยงาม ลายมือ ลายมือไม่
บรรจง สม่ำเสมอ เขียนถูกต้อง สวยงาม สวยงาม
เขียนถูกต้อง ตาม แต่ไม่ และเขียนไม่ถูก
ตาม หลักการเขียน สม่ำเสมอ ต้อง
หลักการเขียน เขียนถูกต้อง ตามหลักการ
ตาม เขียน
หลักการเขียน
๓. ความ ไม่มีร่องรอย มีร่องรอ มีร่องรอ มีร่องรอ
สะอาด ลบ ยลบคําผิด ยลบคําผิด ยลบคําผิด
คําผิด หรือลบ หรือลบคําผิด หรือลบคําผิด หรือลบคําผิด
คําผิดสะอาด ไม่สะอาด ไม่สะอาด ไม่สะอาด
กระดาษไม่ ๑-๒ จุด ๓-๔ จุด มากกว่า
ขาด หรือกระดาษ หรือกระดาษ ๕ จุด หรือ
หรือชํารุด ขาด ขาด กระดาษ
และ ชํารุด และ หรือชํารุด ขาด หรือชํารุด
กระดาษไม่ยับ กระดาษ และ และกระดาษ
ยับ หรือ กระดาษยับ ยับ
กระดาษ หรือ หรือกระดาษ
ไม่ขาด ชํารุด กระดาษไม่ ไม่ขาด
และ ขาด ชํารุด และ
กระดาษไม่ยับ ชํารุด และ กระดาษ
กระดาษ ไม่ยับ
ไม่ยับ

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง จดหมายลาครู (จดหมายลา
กิจ)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ เรื่อง ศาสตร์ศิลป์ การลา
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อ
ความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบ ต่าง ๆ เขียนรายงาน
ข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ป.๓/๔ เขียนจดหมายลาครู

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
การเขียนจดหมายลาครู เป็ นการเขียนจดหมายถึงครู เพื่อแจ้ง
สาเหตุของการหยุดเรียน เนื่องจาก
การป่ วยหรือมีกิจธุระจําเป็ น การเขียนจดหมายเป็ นการเขียนที่มีรูปแบบ
ที่ผู้เขียนต้องเขียนให้ถูกต้อง การเขียนจดหมายลาครูต้องใช้ภาษาที่สุภาพ
เขียนเฉพาะใจความสําคัญ ใช้กระดาษสีขาว สะอาด ไม่ยับยู่ยี่หรือฉีกขาด
เขียนด้วยลายมือที่สวยงาม เรียบร้อย ไม่มีรอยลบที่สกปรก

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของจดหมายลาครูได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- เขียนจดหมายลาครูประเภทลากิจได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการอ่านและการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
- จดหมายลากิจ

๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนํา
๑. ครูให้นักเรียนทํากิจกรรม “เติมคํานําสู่ จดหมายลาครู” โดยมีวิธี
การทํากิจกรรม ดังนี้
- ให้นักเรียนอ่านเนื้อความในจดหมาย ที่แบ่งเป็ นส่วน ๆ ตามส่วน
ประกอบของ จดหมาย
- ให้นักเรียนช่วยกันนําเนื้อความส่วนต่าง ๆ ของจดหมายมาเรียบเรียงให้
เป็ นจดหมาย ลาครู
๒. ครูใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- เนื้อความในจดหมายกล่าวถึงอะไร
- จดหมายลาครูประเภทใด
- ทบทวนส่วนประกอบของจดหมายลาครู มีกี่ส่วน
ขั้นสอน
๑. ครูอธิบายเรื่อง จดหมายลาครูประเภท ลากิจ
๒. ครูใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- ย่อหน้าสุดท้ายของเนื้อความในจดหมาย ลาครูประเภทลาป่ วย มักเขียน
ว่าอะไร
๓. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูให้นักเรียนทําใบงานที่ ๔ เรื่อง เขียนจดหมายลาครูประเภท
ลากิจ
๒. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการเขียนจดหมายลาครู
ประเภทลากิจ
๓. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน
ขั้นสรุป
๑. ครูใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- จดหมายลาครู คืออะไร
- เนื้อความในย่อหน้าที่สุดท้ายของจดหมายลาครูประเภทลากิจมักเขียน
ว่าอะไร
๒. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๓ เรื่อง จดหมายลาครู
๒) ใบงานที่ ๔ เรื่อง เขียนจดหมายลาครูประเภทลากิจ
๓) สื่อ PowerPoint เรื่อง จดหมายลาครู (ลากิจ)
๔) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๔ เรื่อง เขียนจดหมายลาครูประเภทลากิจ

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมายของ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
จดหมายลาครู พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
ด้านทักษะ/ - การเขียน - แบบประเมินการ ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) จดหมายลา ทํา การประเมิน
- เขียนจดหมายลาครู ครูประเภทลา ใบงานที่ ๕ เรื่อง ร้อยละ ๖๐
ประเภท กิจ เขียน ขึ้นไป
ลากิจ จดหมายลาครู
ประเภท
ลากิจ
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการอ่าน “ผ่าน”
และการเขียน
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”

เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน
ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกความ บอกความ บอกความ บอกความ
ความหมาย หมาย หมาย หมาย หมาย
จดหมายลา จดหมายลา จดหมายลา จดหมายลา จดหมายลาครู
ครูได้ ครู ครู ครู ไม่ถูกต้องตาม
ถูกต้องตาม ถูกตามหลัก ถูกตามหลัก หลักการ
หลักการ การ การ
เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
๒. เขียน เขียนจดหมาย เขียนจดหมาย เขียนจดหมาย เขียนจดหมาย
จดหมาย ลาครู ลาครู ลาครู ลาครู
ลาครู ประเภทลากิจ ประเภทลากิจ ประเภทลากิจ ประเภทลากิจ
ประเภท ได้ ถูกต้อง ได้ ถูกต้อง ได้ ถูกต้อง ได้ ไม่ถูกต้อง
ลากิจได้ ตาม ตาม ตาม ตาม
หลักการเขียน หลักการเขียน หลักการเขียน หลักการ
ทุกประเด็น เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
๓. มี ตั้งใจอ่านและ ตั้งใจอ่านและ ตั้งใจอ่านและ ไม่ตั้งใจอ่าน
มารยาทใน เขียน เขียน เขียน และ
การอ่าน ตลอดเวลา เกือบตลอด บางช่วงเวลา เขียน ส่งเสียง
และ ไม่ส่งเสียงดัง เวลา ส่งเสียงดัง ดัง
การเขียน ทํางานเสร็จ ไม่ส่งเสียงดัง แต่ทํางาน ทํางานไม่เสร็จ
ในเวลา ทํางานเสร็จ เสร็จ ในเวลา
ในเวลา ในเวลา

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินเขียนจดหมายลาครูประเภทลากิจ

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. เขียน เขียนจดหมาย เขียนจดหมาย เขียนจดหมาย เขียนจดหมาย
จดหมายลา ลาครู ลาครู ลาครู ลาครู
ครู ประเภทลากิจ ประเภทลากิจ ประเภทลากิจ ประเภทลากิจ
ประเภทลา ถูกต้องทุก ผิดพลาด ๑ ผิดพลาด ๒ ผิดพลาด
กิจ ประเด็น ประเด็น ประเด็น มากกว่า
๒ ประเด็น
๒. การ ตัวอักษรมีหัว ตัวอักษรมีหัว ตัวอักษรไม่มี ตัวอักษรไม่มี
เขียนด้วย ลายมือ ลายมือ หัว หัว
ลายมือตัว สวยงาม สวยงาม ลายมือ ลายมือไม่
บรรจง สม่ำเสมอ เขียนถูกต้อง สวยงาม สวยงาม
เขียนถูกต้อง ตาม แต่ไม่ และเขียนไม่ถูก
ตาม หลักการเขียน สม่ำเสมอ ต้อง
หลักการเขียน เขียนถูกต้อง ตามหลักการ
ตาม เขียน
หลักการเขียน
๓. ความ ไม่มีร่องรอย มีร่องรอ มีร่องรอ มีร่องรอ
สะอาด ลบ ยลบคําผิด ยลบคําผิด ยลบคําผิด
คําผิด หรือลบ หรือลบคําผิด หรือลบคําผิด หรือลบคําผิด
คําผิดสะอาด ไม่สะอาด ไม่สะอาด ไม่สะอาด
กระดาษไม่ ๑-๒ จุด ๓-๔ จุด มากกว่า
ขาด หรือกระดาษ หรือกระดาษ ๕ จุด หรือ
หรือชํารุด ขาด ขาด กระดาษ
และ ชํารุด และ หรือชํารุด ขาด หรือชํารุด
กระดาษไม่ยับ กระดาษ และ และกระดาษ
ยับ หรือ กระดาษยับ ยับ
กระดาษ หรือ หรือกระดาษ
ไม่ขาด ชํารุด กระดาษไม่ ไม่ขาด
และ ขาด ชํารุด และ
กระดาษไม่ยับ ชํารุด และ กระดาษ
กระดาษ ไม่ยับ
ไม่ยับ

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง การอ่านและเขียนแผนภาพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ เรื่อง ศาสตร์ศิลป์ การลา
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนําไป
ใช้ตัดสินใจ แก้ปั ญหา ในการดําเนิน ชีวิต และมีนิสัยรักการ
อ่าน
ตัวชี้วัด ป.๓/๘ อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และ
แผนภูมิ

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
แผนภาพ คือภาพหรือเค้าโครงที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยในการอธิบายเรื่อง
ราวให้เป็ นระบบและเข้าใจชัดเจน
ยิ่งขึ้น แผนภาพมีหลายรูปแบบที่นักเรียนควรศึกษาในระดับชั้นนี้เพื่อใช้
ประโยขน์ คือ แผนภาพแบบใยแมงมุม
แผนภาพแบบโครงสร้าง และแผนภาพแบบขั้นบันได

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของแผนภาพได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- เขียนแผนภาพได้
- อ่านข้อมูลจากแผนภาพได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการอ่านและการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
- การอ่านและการเขียนแผนภาพ

๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนํา
๑. ครูให้นักเรียนดูโครงสร้างภาพของบุคลากรในโรงเรียน และใช้คํา
ถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- เมื่อดูภาพโครงสร้างบุคลากรในโรงเรียนแล้วเข้าใจความหมายหรือไม่
๒. ครูเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหา
ขั้นสอน
๑. ครูอธิบายเรื่อง การอ่านข้อมูลจากแผนภาพ โดยให้นักเรียนทํา
กิจกรรม “แผนภาพหรรษา” ดังนี้
- ครูนําผลไม้ของจริงมาให้นักเรียนดูแล้วให้นักเรียนบอกว่ามีผลไม้อะไร
บ้าง - ครูนําชื่อของผลไม้ที่นักเรียนบอกมา เขียนชื่อบนกระดาน
๒. ครูใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- นักเรียนจะนําชื่อผลไม้ที่ได้มาเขียนแผนภาพได้อย่างไร
- ครูนําชื่อผลไม้ที่ได้มาเขียนแผนภาพ
๓. ครูอธิบายความรู้เรื่อง การเขียนแผนภาพ และสอนอ่านข้อมูล
จากแผนภาพ
๔. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูให้นักเรียนทําใบงานที่ ๕ เรื่อง อ่านและเขียนแผนภาพจาก
หัวข้อที่ กําหนด
๒. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการเขียนแผนภาพ
๓. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน
ขั้นสรุป
๑. ครูใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- แผนภาพคือ คืออะไร
- แผนภาพมีประโยชน์อย่างไร
๒. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๔ เรื่อง การอ่านและเขียนแผนภาพ
๒) ใบงานที่ ๕ เรื่อง การเขียนแผนภาพจากหัวข้อที่กําหนด
๓) สื่อ PowerPoint เรื่อง การอ่านและเขียนแผนภาพ
๔) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๕ เรื่อง การเขียนแผนภาพจากหัวข้อที่กําหนด

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมายของ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
แผนภาพ พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
ด้านทักษะ/ - การเขียน - แบบประเมินการ ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) แผนภาพ ทํา ใบงานที่ ๖ การประเมิน
- เขียนแผนภาพ และการอ่าน เรื่อง การเขียน ร้อยละ ๖๐
- อ่านข้อมูลจาก แผนภาพ แผนภาพ ขึ้นไป
แผนภาพ จากหัวข้อที่กําหนด
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการอ่าน “ผ่าน”
และการเขียน
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”

เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกความ บอกความ บอกความ บอกความ
ความหมาย หมาย หมาย หมาย หมาย
แผนภาพ ของแผนภาพ ของแผนภาพ ของแผนภาพ ของแผนภาพ
ถูกต้องตาม ถูกต้องตาม ถูกต้องตาม ไม่ถูกต้องตาม
หลักการ หลักการเป็ น หลักการ หลักการ
ส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
๒. อ่านและ อ่านและเขียน อ่านและเขียน อ่านและเขียน อ่านและเขียน
เขียน แผนภาพได้ แผนภาพได้ แผนภาพได้ แผนภาพได้ไม่
แผนภาพ ถูกต้องตาม ถูกต้องตาม ถูกต้องตาม ถูกต้องตาม
หลักการเขียน หลักการเขียน หลักการเขียน หลักการ
ทุกประเด็น เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
๓. มี ตั้งใจอ่านและ ตั้งใจอ่านและ ตั้งใจอ่านและ ไม่ตั้งใจอ่าน
มารยาทใน เขียน เขียน เขียน และ เขียน ส่ง
การอ่าน ตลอดเวลา เกือบตลอด บางช่วงเวลา เสียงดัง ทํางาน
และ ไม่ส่งเสียงดัง เวลา ส่งเสียงดังแต่ ไม่เสร็จในเวลา
การเขียน ทํางานเสร็จ ไม่ส่งเสียงดัง ทํางานเสร็จ
ในเวลา ทํางานเสร็จ ในเวลา
ในเวลา

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินอ่านและเขียนแผนภาพจากหัวข้อที่กําหนด

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. อ่านและ อ่านและเขียน อ่านและเขียน อ่านและเขียน อ่านและเขียน
เขียน แผนภาพถูก แผนภาพถูก แผนภาพถูก แผนภาพถูก
แผนภาพ ต้อง ต้อง ต้อง ต้อง
ร้อยละ ๘๐ ร้อยละ ๖๐ ร้อยละ ๔๐
๒. การ ตัวอักษรมีหัว ตัวอักษรมีหัว ตัวอักษรไม่มี ตัวอักษรไม่มี
เขียนด้วย ลายมือ ลายมือ หัว หัว
ลายมือตัว สวยงาม สวยงาม ลายมือ ลายมือไม่
บรรจง สม่ำเสมอ เขียนถูกต้อง สวยงาม สวยงาม
เขียนถูกต้อง ตาม แต่ไม่ และเขียนไม่ถูก
ตาม หลักการเขียน สม่ำเสมอ ต้อง
หลักการเขียน เขียนถูกต้อง ตามหลักการ
ตาม เขียน
หลักการเขียน
๓. ความ ไม่มีร่องรอย มีร่องรอ มีร่องรอ มีร่องรอ
สะอาด ลบ ยลบคําผิด ยลบคําผิด ยลบคําผิด
คําผิด หรือลบ หรือลบคําผิด หรือลบคําผิด หรือลบคําผิด
คําผิดสะอาด ไม่สะอาด ไม่สะอาด ไม่สะอาด
กระดาษไม่ ๑-๒ จุด ๓-๔ จุด มากกว่า
ขาด หรือกระดาษ หรือกระดาษ ๕ จุด หรือ
หรือชํารุด ขาด ขาด กระดาษ
และ ชํารุด และ หรือชํารุด ขาด หรือชํารุด
กระดาษไม่ยับ กระดาษ และ และกระดาษ
ยับ หรือ กระดาษยับ ยับ
กระดาษ หรือ หรือกระดาษ
ไม่ขาด ชํารุด กระดาษไม่ ไม่ขาด
และ ขาด ชํารุด และ
กระดาษไม่ยับ ชํารุด และ กระดาษ
กระดาษ ไม่ยับ
ไม่ยับ

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง การอ่านข้ อมูลจากแผนที่


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ เรื่อง ศาสตร์ศิลป์ การลา
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนําไป
ใช้ตัดสินใจ แก้ปั ญหาในการดําเนิน ชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด ป.๓/๘ อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และ
แผนภูมิ

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
แผนที่ คือ แบบที่เขียนย่อจากพื้นดิน บอกแม่น้ำ ฝั่ งทะเล และอื่น
ๆ การอ่านแผนที่ เป็ นการอ่านสัญลักษณ์และรูปภาพเพื่อศึกษาเกี่ยวกับ
ลักษณะของพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งแผนที่ที่นักเรียนมักพบและใช้ข้อมูลให้เป็ น
ประโยชน์ ได้แก่ แผนที่ประเทศไทย แผนที่การเดินทาง

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของแผนที่ ได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
๑) เขียนแผนที่ได้
๒) อ่านข้อมูลจากแผนที่ได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการอ่านและการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
- แผนที่
๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนํา
๑. ครูให้นักเรียนดูภาพแผนที่แสดงสถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดต่าง
ๆ และใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- ถ้านักเรียนอยากจะไปเที่ยวสถานที่เหล่านี้ แต่ไม่รู้เส้นทางและตําแหน่ง
ที่ตั้งเราจะหาข้อมูลได้จากที่ใด
๒. ครูเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหา
ขั้นสอน
๑. ครูอธิบายเรื่อง การอ่านข้อมูลจาก แผนที่ โดยให้นักเรียนทํา
กิจกรรม “แผนที่หรรษา” ดังนี้
- ครูวาดแผนที่ในโรงเรียนให้นักเรียนช่วยกันบอกทางไปโรงอาหาร
- ครูวาดแผนที่จากโรงเรียนไปสถานีรถไฟหัวหินแล้วให้นักเรียนช่วยกัน
บอกเส้นทาง
๒. ครูใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- นักเรียนเดินทางไปที่ต่าง ๆ ตามที่ครูบอกได้ เพราะสังเกตอะไรจาก
แผนที่
- ครูนําชื่อผลไม้ที่ได้มาเขียนแผนภาพ
๓. ครูอธิบายความรู้เรื่อง การเขียนแผนที่และให้นักเรียนฝึ กอ่าน
ข้อมูลจากแผนที่
๔. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูให้นักเรียนทําใบงานที่ ๖ เรื่องอ่านข้อมูลแผนที่ ตามหัวข้อที่
กําหนด
๒. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการอ่านข้อมูลจาก
แผนที่ตามหัวข้อที่กําหนด
๓. ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียน
ขั้นสรุป
๑. ครูใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- แผนที่ คืออะไร
- แผนที่มีประโยชน์อย่างไร
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่องการอ่านข้อมูลจากแผนที่
โดยการทําแผนผังความคิด
๓. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๕ เรื่อง การอ่านข้อมูลจากแผนที่
๒) ใบงานที่ ๖ เรื่อง การอ่านข้อมูลจากแผนที่ตามหัวข้อที่กําหนด
๓) สื่อ PowerPoint เรื่อง การอ่านข้อมูลจากแผนที่
๔) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
๕) แผนที่แสดงสถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดต่าง ๆ

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๖ เรื่อง การอ่านข้อมูลจากแผนที่ตามหัวข้อที่กําหนด

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมายของ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
แผนที่ พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
ด้านทักษะ/ - การเขียน - แบบประเมินการ ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) แผนที่ ทํา การประเมิน
- เขียนแผนที่ ใบงานที่ ๖ เรื่อง ร้อยละ ๖๐
- อ่านข้อมูลจากแผนที่ อ่านข้อมูลจาก ขึ้นไป
แผนที่
ตามหัวข้อที่กําหนด
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการอ่าน “ผ่าน”
และการเขียน
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”

เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกความ บอกความ บอกความ บอกความ
ความหมาย หมาย หมาย หมาย หมาย
ของ ของแผนที่ ถูก ของแผนที่ ถูก แผนที่ถูกตาม แผนที่ไม่ถูก
แผนที่ ต้อง ต้อง หลักการ ต้องตาม
ตามหลักการ ตามหลักการ เป็ นส่วนน้อย หลักการ
เป็ นส่วนใหญ่
๒. อ่าน อ่านข้อมูล อ่านข้อมูล อ่านข้อมูล อ่านข้อมูลและ
ข้อมูล และตอบ และตอบ และตอบ ตอบ
จากแผนที่ คําถามเกี่ยว คําถามเกี่ยว คําถามเกี่ยว คําถามเกี่ยวกับ
กับ กับ กับ เแผนที่ตาม
เแผนที่ ตาม เแผนที่ตาม เแผนที่ตาม หัวข้อ
หัวข้อ หัวข้อ หัวข้อ ที่กําหนดถูก
ที่กําหนดถูก ที่กําหนดถูก ที่กําหนดถูก ต้อง
ต้อง ต้อง ต้อง ร้อยละ ๔๐
ทุกข้อ ร้อยละ ๘๐ ร้อยละ ๖๐
๓. มี ตั้งใจอ่านและ ตั้งใจอ่านและ ตั้งใจอ่านและ ไม่ตั้งใจอ่าน
มารยาทใน เขียน เขียน เขียน และ
การอ่าน ตลอดเวลา เกือบตลอด บางช่วงเวลา เขียน ส่งเสียง
และ ไม่ส่งเสียงดัง เวลา ส่งเสียงดัง ดัง
การเขียน ทํางานเสร็จ ไม่ส่งเสียงดัง แต่ทํางาน ทํางานไม่เสร็จ
ในเวลา ทํางานเสร็จ เสร็จ ในเวลา
ในเวลา ในเวลา

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป
เกณฑ์การประเมินการอ่านข้อมูลแผนที่ตามหัวข้อที่กําหนด

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. อ่าน อ่านข้อมูล อ่านข้อมูล อ่านข้อมูล อ่านข้อมูลและ
ข้อมูล และตอบ และตอบ และตอบ ตอบ
จากการ คําถามเกี่ยว คําถามเกี่ยว คําถามเกี่ยว คําถามเกี่ยวกับ
เขียน กับ กับ กับ เแผนที่ตาม
แผนที่ เแผนที่ตาม เแผนที่ตาม เแผนที่ตาม หัวข้อ
หัวข้อ หัวข้อ หัวข้อ ที่กําหนดถูก
ที่กําหนดถูก ที่กําหนดถูก ที่กําหนดถูก ต้อง
ต้อง ต้อง ต้อง ร้อยละ ๔๐
ทุกข้ ร้อยละ ๘๐ ร้อยละ ๖๐
๒. การ ตัวอักษรมีหัว ตัวอักษรมีหัว ตัวอักษรไม่มี ตัวอักษรไม่มี
เขียนด้วย ลายมือ ลายมือ หัว หัว
ลายมือตัว สวยงาม สวยงาม ลายมือ ลายมือไม่
บรรจง สม่ำเสมอ เขียนถูกต้อง สวยงาม สวยงาม
เขียนถูกต้อง ตาม แต่ไม่ และเขียนไม่ถูก
ตาม หลักการเขียน สม่ำเสมอ ต้อง
หลักการเขียน เขียนถูกต้อง ตามหลักการ
ตาม เขียน
หลักการเขียน
๓. ความ ไม่มีร่องรอย มีร่องรอ มีร่องรอ มีร่องรอ
สะอาด ลบ ยลบคําผิด ยลบคําผิด ยลบคําผิด
คําผิด หรือลบ หรือลบคําผิด หรือลบคําผิด หรือลบคําผิด
คําผิดสะอาด ไม่สะอาด ไม่สะอาด ไม่สะอาด
กระดาษไม่ ๑-๒ จุด ๓-๔ จุด มากกว่า
ขาด หรือกระดาษ หรือกระดาษ ๕ จุด หรือ
หรือชํารุด ขาด ขาด กระดาษ
และ ชํารุด และ หรือชํารุด ขาด หรือชํารุด
กระดาษไม่ยับ กระดาษ และ และกระดาษ
ยับ หรือ กระดาษยับ ยับ
กระดาษ หรือ หรือกระดาษ
ไม่ขาด ชํารุด กระดาษไม่ ไม่ขาด
และ ขาด ชํารุด และ
กระดาษไม่ยับ ชํารุด และ กระดาษ
กระดาษ ไม่ยับ
ไม่ยับ

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง การอ่านข้อมูลจากแผนภูมิ


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ เรื่อง ศาสตร์ศิลป์ การลา
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนําไป
ใช้ตัดสินใจ แก้ปั ญหาในการดําเนิน ชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด ป.๓/๘ อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่
และแผนภูมิ

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
แผนภูมิ คือแผนภาพอย่างหนึ่งที่ทําขึ้นเพื่อใช้แสดงประกอบเรื่องให้
เข้าใจเรื่องราวง่ายขึ้น แผนภูมิที่
นักเรียนควรรู้จัก ได้แก่ แผนภูมิรูปภาพ และแผนภูมิแท่ง

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของแผนภูมิได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
๑) เขียนแผนภูมิได้
๒) อ่านข้อมูลจากแผนภูมิได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการอ่านและการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
- การอ่านข้อมูลจากแผนภูมิ

๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนํา
๑. ครูให้นักเรียนดูภาพ แผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ ที่แสดง
ข้อมูลต่าง ๆ และใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- ภาพที่ดูเป็ นแผนประเภทใดบ้าง (แนวคําตอบ : แผนภาพ แผนที่
แผนภูมิ )
- ภาพทั้ง ๓ ภาพนี้มีความเหมือนและต่างกันอย่าไรบ้าง
๒. ครูเชื่อมโยงการอ่านและการเขียนแผนภาพ และแผนที่จาก
ชั่วโมงที่ผ่านมาและแจ้งวัตถุประสงค์ของการเรียนเรื่องการอ่านข้อมูลจาก
แผนภูมิ
ขั้นสอน
๑. ครูอธิบายเรื่อง การอ่านข้อมูลจากแผนภูมิโดยให้นักเรียนทํา
กิจกรรม “แผนที่หรรษา” ดังนี้
- ครูถามนักเรียนในชั้นป.๓ ว่ามีสมาชิกกี่คน
๒. ครูใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- จากข้อมูลนักเรียนชั้น ป.๓ จะนํามาเขียนแผนภาพ แผนที่ หรือแผนภูมิ
แบบใดจะเหมาะสมกว่ากัน
- ครูและนักเรียนร่วมกันเขียนแผนภูมินักเรียนชั้น ป.๓ และสอนอ่าน
ข้อมูลจากแผนภูมิ
๓. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูให้นักเรียนทําใบงานที่ ๗ เรื่องอ่านและเขียนแผนภูมิตามหัว
ข้อที่กําหนด
๒. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการอ่านและการเขียน
แผนภูมิ
๓. ครูชี้แจงบทบาทครูปลายทางให้ดูแลช่วยเหลือและอธิบายเพิ่ม
เติมรายบุคคลในระหว่างที่นักเรียนทําใบงาน
๔. ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียน
ขั้นสรุป
๑. ครูใช้คําถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
- แผนภูมิ คืออะไร
- แผนภูมิมีประโยชน์อย่างไร
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่องการอ่านและเขียน
แผนภูมิ โดยการทําแผนผังความคิด
๓. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน
๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๖ เรื่อง การอ่านและเขียนแผนภูมิ
๒) ใบงานที่ ๗ เรื่อง อ่านและเขียนแผนภูมิตามหัวข้อที่กําหนด
๓) สื่อ PowerPoint เรื่อง การอ่านและเขียนแผนภูมิ
๔) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๗ เรื่อง อ่านและเขียนแผนภูมิ ตามหัวข้อที่กําหนด

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมายของ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
แผนภูม พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
ด้านทักษะ/ - การเขียน - แบบประเมินการ ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) แผนภูมิ ทํา การประเมิน
- เขียนแผนภูมิ ใบงานที่ ๗ เรื่อง ร้อยละ ๖๐
- อ่านข้อมูลจาก อ่านและเขียน ขึ้นไป
แผนภูมิ แผนภูมิ
ตามหัวข้อที่กําหนด
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มารยาทในการอ่าน “ผ่าน”
และการเขียน
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”

เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกความ บอกความ บอกความ บอกความ
ความหมาย หมาย หมาย หมาย หมาย
แผนภูมิ ได้ แผนภูมิ ถูก แผนภูมิ ถูก แผนภูมิ ถูก แผนภูมิ ไม่ถูก
ต้องตามหลัก ตามหลักการ ตามหลักการ ต้องตาม
การ เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย หลักการ
๒. อ่านและ อ่านและเขียน อ่านและเขียน อ่านและเขียน อ่านและเขียน
เขียน แผนภูมิได้ถูก แผนภูมิได้ถูก แผนภูมิได้ถูก แผนภูมิได้
แผนภูมิ ต้อง ต้อง ต้อง ไม่ถูกต้องตาม
ตามหลักการ ตามหลักการ ตามหลักการ หลักการ
เขียน เขียน เขียน
ทุกประเด็น เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
๓. มี ตั้งใจอ่านและ ตั้งใจอ่านและ ตั้งใจอ่านและ ไม่ตั้งใจอ่าน
มารยาทใน เขียน เขียน เขียน และ
การอ่าน ตลอดเวลา เกือบตลอด บางช่วงเวลา เขียน ส่งเสียง
และ ไม่ส่งเสียงดัง เวลา ส่งเสียงดัง ดัง
การเขียน ทํางานเสร็จ ไม่ส่งเสียงดัง แต่ทํางาน ทํางานไม่เสร็จ
ในเวลา ทํางานเสร็จ เสร็จ ในเวลา
ในเวลา ในเวลา

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป
เกณฑ์การประเมินเขียนจดหมายลาครูประเภทลาป่ วย

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. เขียน เขียนแผนภูมิ เขียนแผนภูมิ เขียนแผนภูมิ เขียนแผนภูมิ
แผนภูมิ ถูกต้องทุก ผิดพลาด ๑ ผิดพลาด ๒ ผิดพลาด
ประเด็น ประเด็น ประเด็น มากกว่า
๒ ประเด็น
๒. การ ตัวอักษรมีหัว ตัวอักษรมีหัว ตัวอักษรไม่มี ตัวอักษรไม่มี
เขียนด้วย ลายมือ ลายมือ หัว หัว
ลายมือตัว สวยงาม สวยงาม ลายมือ ลายมือไม่
บรรจง สม่ำเสมอ เขียนถูกต้อง สวยงาม สวยงาม
เขียนถูกต้อง ตาม แต่ไม่ และเขียนไม่ถูก
ตาม หลักการเขียน สม่ำเสมอ ต้อง
หลักการเขียน เขียนถูกต้อง ตามหลักการ
ตาม เขียน
หลักการเขียน
๓. ความ ไม่มีร่องรอย มีร่องรอ มีร่องรอ มีร่องรอ
สะอาด ลบ ยลบคําผิด ยลบคําผิด ยลบคําผิด
คําผิด หรือลบ หรือลบคําผิด หรือลบคําผิด หรือลบคําผิด
คําผิดสะอาด ไม่สะอาด ไม่สะอาด ไม่สะอาด
กระดาษไม่ ๑-๒ จุด ๓-๔ จุด มากกว่า
ขาด หรือกระดาษ หรือกระดาษ ๕ จุด หรือ
หรือชํารุด ขาด ขาด กระดาษ
และ ชํารุด และ หรือชํารุด ขาด หรือชํารุด
กระดาษไม่ยับ กระดาษ และ และกระดาษ
ยับ หรือ กระดาษยับ ยับ
กระดาษ หรือ หรือกระดาษ
ไม่ขาด ชํารุด กระดาษไม่ ไม่ขาด
และ ขาด ชํารุด และ
กระดาษไม่ยับ ชํารุด และ กระดาษ
กระดาษ ไม่ยับ
ไม่ยับ

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป
๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง การแสดงความคิดเห็นเกี่ยว


กับวรรณคดีที่อ่าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ เรื่อง ศาสตร์ศิลป์ การลา
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และ
วรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และ นํามาประยุกต์ใช้ในชีวิต
จริง
ตัวชี้วัด ป.๓/๓ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีที่อ่าน
๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
การพูดแสดงความคิดเห็น หมายถึง การพูดเพื่อแสดงความรู้สึก
หรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างมีเหตุผล

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกหลักการพูดแสดงความคิดเห็นได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- พูดแสดงความคิดเห็นได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการฟั ง การดู และการพูด

๔. สาระการเรียนรู้
- การพูดแสดงความคิดเห็น

๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนํา
๑. ครูสนทนาเกี่ยวกับข่าวรายวันที่ได้ดูและฟั งในชีวิตประจําวัน โดย
แสดงความคิดเห็น ดังนี้
ครู : ข่าวรายวันที่ได้ดู และฟั งในชีวิตประจําวันมักเป็ นข่าวเกี่ยวกับอะไร
ครู : ข่าวนั้นทําให้นักเรียนรู้สึกอย่างไรบ้าง
ครู : มีข่าวใดบ้างที่นํามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวันได้
ครู: อ่านข่าวเกี่ยวกับการเป็ นจิตอาสาของคนในสังคม ให้นักเรียนฟั งแล้ว
ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นจากข่าว
๒. ครูเชื่อมโยงการฟั ง การอ่านข่าวแล้วต้องคิดวิเคราะห์ว่ามีข้อเท็จ
จริงหรือไม่และแจ้งวัตถุประสงค์ของการเรียน

ขั้นสอน
๑. ครูอธิบายความรู้เรื่อง การพูดแสดง ความคิดเห็น และหลักการ
พูดแสดง ความคิดเห็น
๒. ครูนําภาพนิทานและบอกชื่อเรื่องนิทานที่นักเรียนคุ้นเคย มาให้
นักเรียนแสดงความคิดเห็น ดังนี้ นิทานเรื่อง กระต่ายกับเต่า นิทานเรื่อง
เทพารักษ์กับคนตัดฟื น
ครู : เนื่องจากนักเรียนได้แสดงความคิดเห็นมาหลายครั้งแล้ว ดังนั้นวันนี้
ครูจะให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นจากภาพนิทานที่นักเรียนคุ้นเคย และ
ตั้งคําถาม ดังนี้
๑) มีความคิดเห็นอย่างไรกับตัวละครในเรื่อง
๒) มีความคิดเห็นอย่างไรกับนิทาน
๓) ข้อคิดที่ได้จากนิทาน
๔) ชอบหรือไม่ชอบนิทานเรื่องนี้ เพราะเหตุใด
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูชี้แจงวิธีการพูดแสดงความคิดเห็นโดยมีวิธีการทํากิจกรรม
ดังนี้
- นักเรียนอ่านเรื่องที่ครูกําหนดให้
- นักเรียนพูดแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
๒. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการพูดแสดงความคิด
เห็น
๓. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน
ขั้นสรุป
๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียน
๒. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียน

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๗ เรื่อง การพูดแสดงความคิดเห็น
๒) สื่อ PowerPoint เรื่อง การพูดแสดงความคิดเห็น
๓) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- การพูดแสดงความคิดเห็น

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกหลักการพูด ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
แสดง พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
ความคิดเห็น
ด้านทักษะ/ - การพูดแสดง - แบบประเมินการ ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) ความคิดเห็น พูด การประเมิน
- พูดแสดงความคิดเห็น แสดงความคิดเห็น ร้อยละ ๖๐
ขึ้นไป
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มีมารยาทในการฟั ง “ผ่าน”
การดู
และการพูด
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”
เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกหลักการ บอกหลักการ บอกหลักการ บอกหลักการ
หลักการ พูด พูด พูด พูด
พูดแสดง แสดงความคิด แสดงความคิด แสดงความคิด แสดงความคิด
ความคิด เห็น เห็น เห็น เห็น
เห็น ได้ ทุกข้อ ได้เป็ นส่วน เป็ นส่วนน้อย ได้น้อยกว่า ๑
ใหญ่ ข้อ
๒.พูดแสดง พูดแสดง พูดแสดง ูดแสดงความ พูดแสดงความ
ความคิด ความ ความ คิดเห็นได้ถูก คิดเห็นได้ถูก
เห็นได้ คิดเห็นได้ถูก คิดเห็นได้ถูก ต้อง ต้อง
ต้อง ต้อง ตามหลักการ ตามหลักการ
ตามหลักการ ตามหลักการ เป็ นส่วนน้อย ไม่ถูกต้อง
เป็ นส่วนใหญ่
เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินการพูดแสดงความคิดเห็น
ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. อ่าน อ่านเรื่องได้ อ่านเรื่องได้ อ่านเรื่องไม่ อ่านเรื่องไม่
เรื่อง ชัดเจน ชัดเจน ชัดเจน ชัดเจน
ที่กําหนดให้ ถูกต้องตาม แต่เสียงไม่ ไม่สม่ําเสมอ ไม่สม่ําเสมอ
หลักการอ่าน สม่ําเสมอ แต่อ่านถูก ไม่ถูกต้องตาม
ในภาษาไทย ถูกต้องตาม ต้องตาม หลักการอ่าน
หลักการอ่าน หลักการอ่าน ในภาษาไทย
ในภาษาไทย ในภาษาไทย เป็ นบางส่วน
เป็ นบางส่วน
๒. พูด พูดแสดง พูดแสดง พูดแสดง พูดแสดงความ
แสดง ความคิดเห็น ความ ความ คิดเห็นได้ถูก
ความคิด ได้ คิดเห็นได้ถูก คิดเห็นได้ถูก ต้อง
เห็นได้ ถูกต้องตาม ต้อง ต้อง ตามหลักการ
ถูกต้องตาม หลักการพูด ตามหลักการ ตามหลักการ พูด
หลักการพูด แสดง พูด พูด แสดงความคิด
แสดง ความคิดเห็น แสดงความคิด แสดงความคิด เห็น
ความคิด ได้ เห็น เห็น บกพร่อง
เห็น ทุกประเด็น บกพร่อง ๑ บกพร่อง ๒ มากกว่า
ประเด็น ประเด็น ๒ประเด็น

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๖
ภาษาเพื่อการสื่อสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๖
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ภาษาเพื่อการสื่อสาร
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา
๑๐ ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนําไป
ใช้ตัดสินใจ แก้ปั ญหาในการดําเนิน ชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด
ป ๓/๑ อ่านออกเสียงคํา ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่าย
ๆ ได้ถูกต้อง
ป ๓/๒ อธิบายความหมายของคําและข้อความที่อ่าน
ป ๓/๓ ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป ๓/๕ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนําไปใช้ในชีวิต
ประจําวัน
ป ๓/๖ อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ําเสมอและนําเสนอ
เรื่องที่อ่าน
ป ๓/๙ มีมารยาทในการอ่าน
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อ
ความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบ ต่าง ๆ เขียนรายงาน
ข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
ป ๓/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป ๓/๕ เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป ๓/๖ มีมารยาทในการเขียน

สาระที่ ๓ การฟั ง การดูและการพูด


มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟั งและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูด
แสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาส ต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณ
และสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ป ๓/๖ มีมารยาทในการฟั ง การดู และการพูด

สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา
ภูมิปั ญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของ
ชาติ

ตัวชี้วัด
ป ๓/๔ แต่งประโยคง่ายๆ

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และ
วรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และ
นํามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
ป. ๓/๑ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรมเพื่อนําไปใช้ในชีวิต
ประจําวัน
ป. ๓/๓ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีที่อ่าน

๒. สาระสําคัญและความคิดรวบยอด
ประโยคเป็ นองค์ประกอบเบื้องต้นในการติดต่อสื่อสารและมีหลาก
หลายประเภท เช่น ประโยคบอกเล่า ประโยคปฏิเสธ ประโยคคําถาม
ประโยคคําสั่ง และประโยคขอร้อง ซึ่งสามารถนํามาใช้ได้ในหลากหลาย
สถานการณ์ที่พบเจอในชีวิตประจําวัน หากเลือกใช้ประโยคได้ถูกต้อง
จะทําให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้นทั้งผู้ส่งสาร และผู้รับสาร
รวมทั้งการอ่านเรื่องหนังสือคือเพื่อนจะเสริมจินตนาการในการเขียนและ
สร้างเสริมมารยาทในการฟั ง การดู และการพูด

๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
๑) หลักการอธิบายความหมายของคํา
๒) หลักการอ่านออกเสียง
๓) หลักการสรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน
๔) ความหมายของสํานวนไทย
๕) ความหมายของปริศนาคําทาย
๖) ความหมายและลักษณะของประโยคเพื่อการสื่อสาร
๗) หลักการคัดลายมือ
๘) หลักการเขียนบรรยายภาพ
๙) หลักการพูดแนะนําเชิญชวน
๑๐) ลักษณะของอักษรนํา
๓.๒ ทักษะและกระบวนการ
๑) อ่าน เขียนอธิบายความหมายของคําศัพท์ในบทเรียน
๒) อ่านออกเสียงเรื่องเล่นทายคํา
๓) สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน
๔) นําความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตประ
จําวัน
๕) ค้นหาความหมายของสํานวนไทย
๖) ตอบปริศนาคําทาย
๗) แต่งประโยคเพื่อการสื่อสาร
๘) คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
๙) เขียนบรรยายภาพ
๑๐) พูดแนะนําเชิญชวนให้ผู้อื่นเชื่อและปฏิบัติตาม
๑๑) สํารวจและจําแนกคําที่เป็ นอักษรนํา
๓.๓ คุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม
๑) เห็นประโยชน์ของการศึกษาคําศัพท์ในบทเรียน
๒) มีมารยาทในการอ่าน และการเขียน
๓) เห็นความสําคัญของการใช้สํานวนในการสื่อสาร
๔) เห็นคุณค่าของการเล่นปริศนาคําทาย
๕) ใช้ประโยคเพื่อการสื่อสารได้ถูกต้อง
๖) มีมารยาทในการฟั ง ดูพูด
๔. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๔.๑ ความสามารถในการคิด
๔.๒ ความสามารถในการสื่อสาร
๔.๓ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์

๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๕.๒ ซื่อสัตย์สุจริต
๕.๓ มีวินัย
๕.๔ ใฝ่ เรียนรู้
๕.๕ มุ่งมั่นในการทํางาน

๖. การประเมินผลรวบยอด
๖.๑ ชิ้นงานหรือภาระงาน
๑) ใบงานที่ ๑ เรื่อง คํามีความหมาย
๒) ใบงานที่ ๒ เรื่อง ปั ญหาในการอ่านออกเสียงของฉัน
๓) ใบงานที่ ๓ เรื่อง สรุปความรู้และข้อคิดที่ได้
๔) ใบงานที่ ๔ เรื่อง สํานวนชวนค้นหา
๕) ใบงานที่ ๕ เรื่อง ปริศนาน่าคิด
๖) ใบงานที่ ๖ เรื่อง วิเคราะห์ประโยคเพื่อการสื่อสาร
๗) ใบงานที่ ๗ เรื่อง ฝึ กหัดคัดลายมือ
๘) ใบงานที่ ๘ เรื่อง การเขียนบรรยายภาพ
๙) ใบงานที่ ๙ เรื่อง การพูดแนะนําเชิญชวน
๑๐) ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง สํารวจคําที่มีอักษรนํา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง คําศัพท์น่ารู้ เรื่อง เล่นทายคํา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๖ เรื่อง ภาษาเพื่อการสื่อสาร
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนํา
ไปใช้ตัดสินใจ แก้ปั ญหา ในการดําเนิน ชีวิต และมีนิสัยรักการ
อ่าน
ตัวชี้วัด ป.๓/๑ อ่านออกเสียงคํา ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อย
กรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง
ป.๓/๒ อธิบายความหมายของคําและข้อความที่อ่าน

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
การศึกษาคํา ความหมายของคําหรือข้อความ ทําให้การอ่านและ
การเขียนถูกต้อง จะช่วยให้้ การอ่าน
เรื่องราวในบทเรียนเข้าใจได้ง่ายและสามารถพัฒนาทักษะทางภาษาได้ดี

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกหลักการอธิบายความหมายของคําได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- อ่าน เขียนอธิบายความหมายของคําศัพท์ในบทเรียนได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
๑) เห็นประโยชน์ของการศึกษาคําศัพท์ในบทเรียน
๒) มีมารยาทในการอ่าน และการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
- การอ่าน เขียน คําศัพท์ และอธิบายความหมายของคําศัพท์ในบท
เรียน

๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนํา
๑. ครูนําบัตรตัวอักษรปริศนามาให้ นักเรียนดู และตั้งคําถาม ดังนี้
ท ค ย า ำ
ครู : ใครทราบบ้างว่าตัวอักษรและสระที่สลับที่กันนี้เมื่อจัดลําดับใหม่คือ
คําใด
ครู : นักเรียนทราบหรือไม่ว่าคําคํานี้มีความหมายว่าอย่างไร
ครู : นักเรียนเคยเล่นคําทายหรือไม่ถ้าเคยเล่นนักเรียนเคยเล่นกับใคร
ครู : นักเรียนคิดว่าการเล่นทายคํามีประโยชน์หรือไม่ อย่างไร
ครู : วันนี้ครูมีเรื่องมาให้นักเรียนได้ฝึ กอ่าน เรื่องราวในวันนี้จะเป็ นเรื่อง
เกี่ยวกับการเล่นคําทาย
๒. ครูชี้แจงให้นักเรียนทราบว่าก่อน การอ่านเรื่องถ้านักเรียน
สามารถอ่านเขียนคําศัพท์ได้ถูกต้อง และทราบความหมายของคําจะทําให้
นักเรียนสามารถอ่านและเข้าใจเรื่องได้ง่ายยิ่งขึ้น
ขั้นสอน
๑. ครูนําบัตรคําศัพท์ ในบทเรียนเรื่อง เล่นคําทาย มาให้นักเรียนฝึ ก
อ่านดังนี้ พจนานุกรม อับเฉา ไตร่ตรอง แมลงปอ สํานวน โบราณ พลาด
พลั้ง ลําธาร สุภาษิต โอดครวญ คติเตือนใจ ตุ้งติ้ง เปรียบเปรย
แสลง กินใจ ติเพื่อก่อ
ครู : ครูชูบัตรคําทีละบัตรแล้วให้นักเรียนอ่านคําศัพท์เหล่านั้นและให้
นักเรียนบอกความหมายของคําศัพท์นั้นตามความเข้าใจ ของนักเรียน
ครู : ถ้านักเรียนอยากรู้ความหมายที่ถูกต้อง หรืออ่านคําได้ถูกต้อง
นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลได้จากที่ไหน
๒. ครูนําพจนานุกรมมาให้นักเรียนศึกษาพร้อมอธิบายและสาธิตวิธี
การใช้พจนานุกรม
๓. ครูกําหนดคําศัพท์ เช่น แมลงปอ สุภาษิต สํานวน กินใจ
ครู : นักเรียนแข่งขันกันเปิ ดพจนานุกรมใครพบก่อนให้ออกมาอ่านความ
หมายหน้าชั้นเรียน และบอกเพื่อนว่าคําศัพท์นั้นอยู่หน้าไหน แล้วให้เพื่อน
เปิ ดตาม
ครู : นักเรียนคิดว่าถ้าเราไม่รู้ความหมายคําศัพท์ จะมีผลต่อการอ่าน
อย่างไร
๔. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นจากประเด็น
คําถามต่อไปนี้
ครู : การที่เรารู้ความหมายของคําศัพท์มีประโยชน์อย่างไร
๕ .ครูมอบหมายภาระงานให้นักเรียนค้นหาคําศัพท์จากเรื่อง เล่นคํา
ทาย
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูชี้แจงวิธีการทําใบงานที่ ๑ เรื่อง คํามีความหมาย โดยวิธีการ
ทําใบงาน ดังนี้
- หาคําจากเรื่องเล่นคําทาย
- หาความหมายของคํา
ขั้นสรุป
๑. ครูให้นักเรียนฝึ กอ่านคําศัพท์และความหมายของคําศัพท์จากบท
เรียนเรื่อง เล่นคําทาย
๒. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประโยชน์ของการศึกษาความหมายของคํา
ประโยค และข้อความในบทเรียน
ครู : การศึกษาความหมายของคํา ในบทเรียนก่อนการอ่านเนื้อเรื่องมี
ประโยชน์อย่างไร
๓. ครูมอบหมายให้นักเรียนสรุปความรู้ เรื่อง หลักการค้นหาความหมาย
ของคํา โดยสรุปเป็ นผังความคิดในสมุดวิชาภาษาไทยเป็ นการบ้าน

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบงานที่ ๑ เรื่อง คํามีความหมาย
๒) สื่อ PowerPoint เรื่อง คําศัพท์น่ารู้เรื่องเล่นคําทาย
๓) พจนานุกรม
๔) บัตรคําศัพท์

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๑ เรื่อง คํามีความหมาย

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- - บอกหลักการ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
อธิบาย พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
ความหมายของคํา
ด้านทักษะ/ - ใบงานที่ ๑ - แบบประเมินการ ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) เรื่อง คํามี ทํา การประเมิน
- อ่าน เขียน อธิบาย ความหมาย ใบงานที่ ๑ เรื่อง คํา ร้อยละ ๖๐
ความหมายของคําศัพท์ มี ขึ้นไป
ในบทเรียน ความหมาย
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มีมารยาทในการอ่าน “ผ่าน”
และ
การเขียน
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”
เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑.บอกหลัก บอกหลักการ บอกหลักการ บอกหลักการ บอกหลักการ
การ อธิบายความ อธิบายความ อธิบายความ อธิบายความ
อธิบาย หมาย หมาย หมาย หมาย
ความหมาย ของคําได้ถูก ของคําได้ถูก ของคําได้ถูก ของคําไม่ถูก
ของคํา ต้อง ต้อง ต้อง ต้อง
ตามหลักการ ตามหลักการ ตามหลักการ ตามหลักการ
เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
๒.อ่าน หาความ หาความ หาความ หาความหมาย
เขียน หมายของ หมายของ หมายของ ของ
อธิบาย คําศัพท์ในบท คําศัพท์ในบท คําศัพท์ในบท คําศัพท์ในบท
ความหมาย เรียน เรียน เรียน เรียน
ของคําศัพท์ ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง น้อย
ในบทเรียน มากกว่า ๔-๕ คํา ๒-๓ คํา กว่า
๕ คํา ๒ คํ

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง การอ่านออกเสียง เรื่อง เล่น


ทายคํา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๖ เรื่อง ภาษาเพื่อการสื่อสาร
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนําไป
ใช้ตัดสินใจ แก้ปั ญหา
ในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด ป.๓/๑ อ่านออกเสียงคํา ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อย
กรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด ป.๓/๖ มีมารยาทในการอ่าน

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
การอ่านออกเสียงเป็ นการเปล่งเสียงตามตัวอักษร ถ้อยคํา และ
เครื่องหมายต่าง ๆ ได้ถูกต้อง ชัดเจน
ตามหลักการอ่าน การรู้จักความหมายของคําจากเรื่องที่อ่าน ทําให้อ่าน
เรื่องสนุก เข้าใจเรื่องที่อ่านและสร้าง
นิสัยรักการอ่าน

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกหลักการอ่านออกเสียงได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
๑) อ่านออกเสียงเรื่องเล่นทายคําได้
๒) สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- มีมารยาทในการอ่าน

๔. สาระการเรียนรู้
- การสรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน

๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนํา
๑. ครูสนทนาและใช้คําถามกระตุ้น ความคิดนักเรียน ดังนี้
ครู : อาชีพใดบ้างที่ต้องอาศัยทักษะ ในการอ่าน
ครู : นักเรียนชื่นชอบผู้ประกาศข่าวคนใด เพราะเหตุใด
ครู : ผู้อ่านข่าวต้องมีคุณสมบัติอย่างไร
ครู : ในอนาคตนักเรียนอยากเป็ น ผู้ประกาศข่าวหรือไม่ เพราะเหตุใด
ครู : นักเรียนคิดว่าตนเองอ่านออกเสียงได้ ถูกต้องชัดเจนหรือไม่เพียงใด
๓. ครูเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนว่า การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วเป็ น
พื้นฐานของการอ่าน ต้องผ่านการฝึ กฝนบ่อยๆ จึงจะอ่านได้อย่างถูกต้อง
ตามอักขรวิธีของภาษาไทย
ครู : วันนี้ครูมีเรื่องมาให้นักเรียนได้ฝึ กอ่านออกเสียง เรื่อง เล่นคําทาย
จากหนังสือเรียนภาษาพาที
ครู : เรามาทบทวนหลักการอ่านออกเสียงกัน
ขั้นสอน
๑. ครูทบทวนความรู้เรื่อง การอ่านออกเสียง โดยมีหัวข้อในการ
อธิบาย ดังนี้
- ความหมายของการอ่านออกเสียง
- หลักการอ่านออกเสียง
๒. ครูตั้งคําถามเพื่อกระตุ้นความคิดของนักเรียนดังนี้
ครู : นักเรียนมีหลักในการอ่านออกเสียง
คําที่ถูกต้อง และชัดเจนอย่างไร
๓. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมส่วนที่นักเรียนยังบอกไม่ครบ เช่น การอ่าน
ต้องกวาดสายตามองช่วงสายตากว้าง เปลี่ยนบรรทัดเร็ว ไม่อ่านตก ไม่
อ่านตู่ตัว ไม่ข้ามคํา ไม่ซ้ํ าคํา
๔. ครูสาธิตการอ่านออกเสียงบทเรียนเรื่อง เล่นคําทาย เพื่อเป็ น
แนวทางในการอ่านให้กับนักเรียน และกระตุ้นการสังเกต
ครู : ขณะที่นักเรียนฟั งครูสาธิตการอ่านให้สังเกตวิธีการอ่านตามหลักการ
อ่านออกเสียง และมีมารยาทในการฟั ง ดูพูดด้วย
๕. ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายภายในกลุ่มหลังฟั งครูสาธิตการอ่าน
สรุปผลการอภิปราย และเตรียมนําเสนอผลงาน โดยครูสุ่มกลุ่มในการนํา
เสนอ และให้เพื่อนกลุ่มอื่นร่วมแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมประเด็นการ
อภิปราย มีดังนี้
- การอ่านคําถูกต้อง
- การแบ่งวรรคตอนในการอ่าน
- การอ่านออกเสียงตัว ร ล การอ่านคําควบกล้ํา
- การใช้น้ํ าเสียงในการอ่าน
ครู : การเรียนรู้หลักการอ่านออกเสียงจะทําให้เรารู้ว่าเราเรียนรู้และนําไป
ใช้ได้จริงหรือไม่ วันนี้ครูก็มีเรื่องมาให้นักเรียนได้ฝึ กอ่านกัน โดยเรื่องที่ครู
นํามาให้ฝึ กอ่านออกเสียงก็คือ เรื่อง เล่นทายคํา
๖. ครูกําหนดให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านออกเสียงเรื่อง เล่นทายคํา
จากหนังสือเรียนภาษาพาทีตามย่อหน้าที่ครูกําหนด
๗. นักเรียนกลุ่มอื่นร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องตามประเด็นที่ครู
กําหนดดังนี้
๑) การแบ่งวรรคตอนในการอ่าน
๒) ความถูกต้องชัดเจนของคํา
๓) การอ่านออกเสียง ร ล คําควบกล้ํา
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มฝึ กอ่านออกเสียง เรื่อง เล่นคําทาย
จากหนังสือเรียน
ภาษาพาที ตามย่อหน้าที่ครูกําหนดโดยผลัดกันอ่านออกเสียง แล้วให้
สมาชิกคนที่เหลือเป็ นฝ่ ายสังเกต ตรวจสอบและแสดงความคิดเห็นเพื่อ
เสนอแนะข้อบกพร่องในการอ่านให้เพื่อนนําไปปรับปรุงแก้ไข
๒. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปปั ญหาที่พบมากในการอ่านออก
เสียง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกับกลุ่มอื่น ๆ เช่น การอ่านออกเสียงคําผิด
เพราะไม่รู้คําอ่านที่ถูกต้อง จากนั้นครูเสนอแนะแนวทางการแก้ไขที่ถูก
ต้อง และเหมาะสม
๓. ครูชี้แจงการทําใบงานที่ ๒ เรื่อง ปั ญหา ในการอ่านออกเสียง
ของฉัน และแนวทางในการแก้ไขปั ญหา

ขั้นสรุป
๑.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปหลักการอ่าน ออกเสียงความสําคัญ
ของการอ่านออกเสียง มารยาทการอ่านออกเสียง และแนวทาง ในการ
พัฒนาการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ของนักเรียน โดยครูตั้งคําถาม
กระตุ้น
ความคิดของนักเรียน
ครู : ถ้านักเรียนต้องการประสบความสําเร็จในการอ่านออกเสียง นักเรียน
จะต้องทําอย่างไร
ครู : นักเรียนมีหลักในการพัฒนาการอ่านออกเสียงของตนเองอย่างไร
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การอ่านออกเสียง โด
ยการทําแผนผังความคิดเรื่อง หลักการอ่านออกเสียงลงในสมุดวิชาภาษา
ไทยของนักเรียน

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบงานที่ ๒ เรื่อง ปั ญหาในการอ่านออกเสียงของฉัน
๒) สื่อ PowerPoint เรื่อง การอ่านออกเสียง
๓) หนังสือเรียนภาษาพาที

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๒ เรื่อง ปั ญหาในการอ่านออกเสียงของฉัน

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกหลักการอ่าน ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
ออกเสียง พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
ด้านทักษะ/ ๑. อ่านออก ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) เสียงเรื่อง การอ่าน การประเมิน
๑. อ่านออกเสียงเรื่อง เล่นทายคํา ออกเสียงเรื่องเล่น ร้อยละ ๖๐
เล่นทายคํา ๒. การสรุป ทายคํา ขึ้นไป
๒. สรุปความรู้และ ความรู้และ ๒. แบบประเมิน
ข้อคิดจาก ข้อคิดจากเรื่องที่ การสรุป
เรื่องที่อ่าน อ่าน ความรู้และข้อคิด
จาก
เรื่องที่อ่าน
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มีมารยาทในการอ่าน “ผ่าน”
และ
การเขียน
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”

เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกหลักการ บอกหลักการ บอกหลักการ บอกหลักการ
หลักการ อ่าน อ่าน อ่าน อ่าน
อ่านออก ออกเสียงได้ ออกเสียงได้ ออกเสียงได้ ออกเสียงได้
เสียง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ไม่ถูกต้องตาม
ตามหลักการ ตามหลักการ ตามหลักการ หลักการ
เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
๒. อ่าน อ่านออกเสียง อ่านออกเสียง อ่านออกเสียง อ่านออกเสียง
ออกเสียง เรื่อง เล่นทาย เรื่อง เล่นทาย เรื่อง เล่นทาย เรื่อง เล่นทาย
เรื่อง เล่น คําได้ คําได้ คําได้ คําได้
ทายคํา ถูกต้องไม่ บกพร่อง ๑ บกพร่อง ๒ บกพร่อง
บกพร่อง คํา คํา มากกว่า
๒ คํา
๓. สรุป สรุปความรู้ สรุปความรู้ สรุปความรู้ สรุปความรู้
ความรู้ และ และ และ และ
และข้อคิด ข้อคิดจาก ข้อคิดจาก ข้อคิดจาก ข้อคิดจากเรื่อง
จาก เรื่อง เรื่อง เรื่อง ที่อ่านได้ถูก
เรื่องที่อ่าน ที่อ่านได้ถูก ที่อ่านได้ถูก ที่อ่านได้ถูก ต้อง
ต้อง ต้อง ต้อง บกพร่อง ๒ คํา
ไม่บกพร่อง บกพร่อง ๑ บกพร่อง ๒
คํา คํา

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป
เกณฑ์การประเมินการอ่านออกเสียง

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. อ่านไม่เร็ว อ่านเร็วหรือ อ่านเร็วหรือ อ่านเร็วหรือช้า
ความเร็วใน หรือช้า อ่าน อ่านช้า ตลอดเวลา
การอ่าน เกินไปตลอด ช้าไปเป็ นส่วน เป็ นบางช่วง
เวลา ใหญ่
๒. อ่าน อ่านเสียงดัง อ่านเสียงดัง อ่านเสียงดัง อ่านเสียงดัง
เสียงดัง เหมาะสมและ เหมาะสมและ เหมาะสมและ หรือ
ที่เหมาะสม ไม่เบาเกินไป ไม่เบาเป็ น ไม่เบาเป็ น เบาตลอดเวลา
ส่วนใหญ่ บางช่วง
๓. อ่านถูก อ่านถูกต้อง อ่านถูกต้อง อ่านถูกต้อง อ่านไม่ถูกต้อง
ต้อง ตามอักขรวิธี ตามอักขรวิธี ตามอักขรวิธี ตามอักขรวิธี
ตาม ตลอดเวลาที่ เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
อักขรวิธี อ่าน
๔. แบ่ง แบ่งวรรคตอน แบ่งวรรคตอน แบ่งวรรคตอน แบ่งวรรคตอน
วรรคตอน ในการอ่านถูก ในการอ่านถูก ในการอ่านถูก ในการอ่าน
ในการอ่าน ต้อง ต้อง ต้อง ไม่ถูกต้อง
ให้ เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
ถูกต้อง
๕. อ่าน อ่านได้ อ่านได้ อ่านได้ อ่านไม่คล่อง
คล่องแคล่ว คล่องแคล่ว คล่องแคล่ว คล่องแคล่ว และ
ให้ชัดเจน ชัดเจนดีมาก ชัดเจนดี ชัดเจนดี อ่านติดขัดมาก
ทั้งหมด เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป
๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง สรุปความรู้และข้อคิดจาก
เรื่อง เล่นคําทาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๖ เรื่อง ภาษาเพื่อการสื่อสาร
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนําไป
ใช้ตัดสินใจ แก้ปั ญหา ในการดําเนิน ชีวิต และมีนิสัยรักการ
อ่าน
ตัวชี้วัด ป.๓/๕ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนําไปใช้ในชี
วิตประจําวัน

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
การอ่านวรรณกรรมเรื่อง เล่นทายคํา จะต้องสรุปความรู้และข้อคิด
เพื่อนําไปปรับใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวันได้อย่างเหมาะสม
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกหลักการสรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- นําความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้

๔. สาระการเรียนรู้
- สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเรื่อง เล่นทายคํา

๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนํา
๑. ครูให้นักเรียนดูภาพจากหนังสือภาษาพาที เรื่อง เล่นคําทาย
จากนั้นครูตั้งคําถามเพื่อกระตุ้นความคิดของนักเรียน ดังนี้
ครู : ตัวละครในเรื่องเล่นทายคํามีใครบ้าง
ครู : เหตุการณ์ในเรื่องเล่นทายคําเกิดขึ้นที่ไหน
ครู : บ้านของคุณปู่มีลักษณะอย่างไร
ครู : มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นในเรื่องบ้าง
๒. ครูรวบรวมคําตอบของนักเรียนจากเรื่องเล่นทายคําและกล่าว
เชื่อมโยงว่าเมื่อเราอ่านเรื่องแล้วเราสรุปความรู้จากเรื่องที่อ่านเพื่อหาแนว
คิดและนําไปปรับใช้ในชีวิตประจําวัน
ครู : วันนี้ครูจะพานักเรียนไปเรียนรู้หลักการสรุปความรู้และข้อคิดจาก
เรื่องที่อ่าน
ขั้นสอน
๑. ครูอธิบายความรู้เรื่องการสรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน
ดังนี้
- หลักการสรุปความรู้จากเรื่องที่อ่าน
- การหาข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน
ครู : นักเรียนจับหลักสําคัญในเรื่องที่ครูสอนได้หรือไม่
๒. ครูทบทวนความรู้ โดยการตั้งคําถามให้นักเรียนตอบ ดังนี้
ครู : นักเรียนจะหาแนวคิดจากเรื่องที่อ่านได้อย่างไร
ครู : นักเรียนจะนําข้อคิดจากเรื่องที่อ่านไปใช้ในชีวิตประจําวันได้อย่างไร
๓. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่าจากบทเรียนเรื่อง เล่นทายคํา เป็ น
เรื่องที่ ผู้อ่าน อ่านแล้วได้ประโยชน์ นักเรียนลองช่วยกันพิจารณาดูว่า
เรื่องนี้ให้ข้อคิดอะไรกับนักเรียนและนักเรียนจะนําข้อคิดที่ได้
ไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้อย่างไร
๔. ครูมอบภาระงานให้นักเรียนทําใบงาน เรื่องเล่นทายคํานําสู่
ข้อคิด
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูชี้แจงวิธีการทําใบงานที่ ๓ เรื่อง สรุปความรู้และข้อคิดที่ได้
โดยวิธีการ ทําใบงาน ดังนี้
- อ่านทบทวนบทเรียนเรื่องเล่นทายคํา
- จับประเด็นสําคัญของเรื่อง
- สรุปแนวคิดจากเรื่อง
ขั้นสรุป
๑. ครูใช้คําถามเพื่อกระตุ้นความคิดของนักเรียนดังนี้
ครู : การสรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านมีประโยชน์อย่างไร
ครู : นักเรียนได้แนวคิดอะไรจากการอ่านบทเรียนเรื่องเล่นคําทาย
ครู : นักเรียนคิดว่าตนเองมีความรู้เรื่อง สํานวนไทยมากน้อยเพียงใด
ครู : ถ้านักเรียนอยากเรียนรู้เพิ่มเติมเรื่อง สํานวนไทยนักเรียนจะทํา
อย่างไร
๓. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ เรื่องหลักการสรุปความรู้และ
แนวคิดจากเรื่องที่อ่าน โดยการเขียนในรูปแบบแผนผังความคิดเป็ นการ
บ้าน

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบงานที่ ๓ เรื่อง สรุปความรู้และข้อคิดที่ได้
๒) สื่อ PowerPoint เรื่อง การสรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่อง เล่น
คําทาย
๓) หนังสือเรียนภาษาพาที

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๓ เรื่อง สรุปความรู้และข้อคิดที่ได้
สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกหลักการสรุป ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
ความรู้ พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
และข้อคิดจากเรื่องที่
อ่าน
ด้านทักษะ/ ๑. การสรุป ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) ความรู้และ การสรุป การประเมิน
๑. สรุปความรู้และ ข้อคิดจากเรื่องที่ ความรู้และข้อคิด ร้อยละ ๖๐
ข้อคิดจาก อ่าน จาก ขึ้นไป
เรื่องที่อ่าน ๒. การนําความ เรื่องที่อ่าน
๒. นําความรู้และข้อคิด รู้และ ๒. แบบประเมินกา
จาก ข้อคิดจากเรื่องที่ รนํา
เรื่องที่อ่านไปปรับใช้ใน อ่านไป ความรู้และข้อคิด
ชีวิตประจําวัน ปรับใช้ในชีวิต จาก
ประจําวัน เรื่องที่อ่านไปปรับ
ใช้ใน
ชีวิตประจําวัน
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มีมารยาทในการอ่าน “ผ่าน”
และ
การเขียน
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”

เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑. บอก บอกหลักการ บอกหลักการ บอกหลักการ บอกหลักการ
หลักการ สรุป สรุป สรุป สรุป
สรุปความรู้ ความรู้และ ความรู้และ ความรู้และ ความรู้และ
และ ข้อคิด ข้อคิด ข้อคิด ข้อคิด
ข้อคิดจาก จากเรื่องที่ จากเรื่องที่ จากเรื่องที่ จากเรื่องที่อ่าน
เรื่อง อ่านได้ อ่านได้ อ่านได้ ไม่ถูกต้องตาม
ที่อ่าน ถูกต้องตาม ถูกต้องตาม ถูกต้องตาม หลักการ
หลักการ หลักการ หลักการ
เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
๒. สรุป สรุปความรู้ สรุปความรู้ สรุปความรู้ สรุปความรู้
ความรู้ และ และ และ และ
และข้อคิด ข้อคิดจาก ข้อคิดจาก ข้อคิดจาก ข้อคิดจากเรื่อง
จาก เรื่อง เรื่อง เรื่อง ที่อ่านบกพร่อง
เรื่องที่อ่าน ที่อ่านได้ถูก ที่อ่าน ที่อ่าน มากกว่า ๒ จุด
ต้อง บกพร่อง บกพร่อง
ทุกประเด็น ๑ จุด ๒ จุด
๓. นําความ นําความรู้และ นําความรู้และ นําความรู้และ นําความรู้และ
รู้และ ข้อคิดจาก ข้อคิดจาก ข้อคิดจาก ข้อคิดจากเรื่อง
ข้อคิดจาก เรื่อง เรื่อง เรื่อง ที่อ่านไปปรับ
เรื่อง ที่อ่านไปปรับ ที่อ่านไปปรับ ที่อ่านไปปรับ ใช้ใน
ที่อ่านไป ใช้ใน ใช้ใน ใช้ใน ชีวิตประจําวัน
ปรับใช้ในชี ชีวิตประจําวัน ชีวิตประจําวัน ชีวิตประจําวัน ไม่ได้
วิตประจํา ได้ ได้ ได้
วันได้ ทุกประเด็น เป็ นส่วนใหญ่ บางส่วน

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง สํานวนชวนรู้


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๖ เรื่อง ภาษาเพื่อการสื่อสาร
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและ
พลังของภาษา ภูมิปั ญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้
เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด ป.๓/๑ เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
สํานวนหรือสํานวนโวหาร เป็ นถ้อยคําหรือข้อความที่มีความหมาย
ในเชิงเปรียบเทียบ ให้ข้อคิดเตือนใจ
และใช้สืบต่อกันมาช้านาน ช่วยทําให้การใช้้ภาษาในการสื่อสารได้ อย่าง
ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ และให้ อารมณ์ ความรู้สึกเป็ นพื้นฐานที่สําคัญ
ในการใช้้ภาษาไทยทั้งในการพูดและการเขียน

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของสํานวนไทยได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- ค้นหาความหมายของสํานวนไทยได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- เห็นความสําคัญของการใช้สํานวนในการสื่อสาร

๔. สาระการเรียนรู้
- สํานวนไทย
๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนํา
๑.ครูให้นักเรียนเล่นเกมต่อสํานวนไทยจากเรื่องเล่นคําทายเพื่อ
เป็ นการทบทวนบทเรียน โดยครูขึ้นต้นสํานวนแล้วให้นักเรียนช่วยกันต่อ
ให้เป็ นสํานวนที่สมบูรณ์
ครู : หวานเป็ นลม....
ครู : รําไม่ดี....
ครู : ขี่ช้าง...
ครู : น้ํ าขึ้น....
ครู : สีซอ....
ครู : เห็นช้างขี้...
ครู : คางคกขึ้นวอ...
๒. ครูกล่าวชมเชยนักเรียนที่สามารถต่อสํานวนไทยจากเรื่องเล่นคํา
ทายได้ถูกต้อง
๓. ครูชี้แจงให้นักเรียนเข้าใจว่าสํานวนไทยยังมีอีกมากมายถ้าเรา
จะนําสํานวนมาใช้ในการพูดหรือการเขียนเราต้องรู้ความหมายของสํา
นวนจึงจะนํามาใช้ได้ถูกต้อง
ครู : วันนี้ครูมีสํานวนไทยมาให้นักเรียนได้ศึกษา
ขั้นสอน
๑. ครู ให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างสํานวน ที่นักเรียนเคยพบเห็น
ในชีวิตประจําวัน
๒. ครูตั้งคําถามเพื่อจุดประกายความคิดของนักเรียนดังนี้
ครู : นักเรียนรู้จักสํานวนไทยอะไรอีกบ้าง
ครู : นักเรียนเข้าใจความหมายของสํานวนเหล่านี้หรือไม่
ครู : นักเรียนเคยพบเจอสํานวนเหล่านี้จากที่ใด
๓. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาใบความรู้ที่ ๒ เรื่อง สํานวนไทย
แล้วสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นภายในกลุ่มของตนเอง
๔. ครูตั้งคําถามเพื่อประเมินความรู้ของนักเรียนดังนี้
ครู : สํานวนหมายถึงอะไร
ครู : สํานวนไทยมีที่มาจากเรื่องใดบ้าง
๕.ครูอธิบายความรู้เพิ่มเติมเรื่องสํานวนไทยตามประเด็นต่อไปนี้
- ความหมายของสํานวนไทย
- ลักษณะของสํานวนไทย
๖. ครูให้นักเรียนทํากิจกรรม”เปิ ดป้ ายทายสํานวน” โดยให้นักเรียน
เลือกเปิ ดแผ่นป้ ายแล้วให้นักเรียนช่วยกันพิจารณาว่าภาพนั้นตรงกับสํา
นวนไทยว่าอย่างไรจากนั้นให้นักเรียนแข่งขันหาความหมายของสํานวน
จากพจนานุกรม
๗. ครูกล่าวชื่นชมนักเรียนที่มีความมุ่งมั่นในการทํางานและรู้จักการ
แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
๘. ครูมอบหมายภาระงานให้นักเรียนสืบค้นหาสํานวนไทยและ
หาความหมายจากพจนานุกรม
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูชี้แจงวิธีการทําใบงานที่ ๔ เรื่องสํานวนชวนค้นหา โดยวิธีการ
ทําใบงาน ดังนี้
- ค้นหาสํานวนไทย
- หาความหมายของสํานวนไทย
- วาดภาพประกอบสํานวนไทย
ขั้นสรุป

๑. ครูตั้งประเด็นคําถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายความรู้เรื่อง
สํานวน ดังนี้

ครู : สํานวนไทยสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมไทยอย่างไร
ครู : นักเรียนมีหลักในการเลือกใช้สํานวนไทยในการสื่อสารอย่างไร
ครู : ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาเรื่องสํานวนไทยคืออะไร
ครู : นักเรียนจะนําความรู้เรื่องสํานวนไทยไปใช้ในชีวิตประจําวันได้
อย่างไร
๒. ครูให้นักเรียนสรุปความรู้เรื่องสํานวนไทยเป็ นผังความคิดลงใน
สมุดวิชาภาษาไทย ตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๒ เรื่อง สํานวนไทย
๒) ใบงานที่ ๔ เรื่อง สํานวนชวนค้นหา
๓) สื่อ PowerPoint เรื่อง สํานวนชวนคิด
๔) พจนานุกรม

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๔ เรื่อง สํานวนชวนค้นหา

สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมายของ ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
สํานวน พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
ไทย
ด้านทักษะ/ - การค้นหา - แบบประเมินการ ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) ความหมาย ทํา การประเมิน
- ค้นหาความหมายของ ของสํานวนไทย ใบงานที่ ๔ เรื่อง สํา ร้อยละ ๖๐
สํานวนไทย นวน ขึ้นไป
ชวนค้นหา
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มีมารยาทในการอ่าน “ผ่าน”
และ
การเขียน
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”
เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑.บอกหลัก บอกหลักการ บอกหลักการ บอกหลักการ บอกหลักการ
การ อธิบายความ อธิบายความ อธิบายความ อธิบายความ
อธิบาย หมาย หมาย หมาย หมาย
ความหมาย ของสํานวน ของสํานวน ของสํานวน ของสํานวน
ของสํานวน ไทยได้ ได้ถูก ไทยได้ ได้ถูก ไทยได้ ได้ถูก ไทยได้ ไม่ถูก
ไทยได้ ต้อง ตามหลัก ต้องตามหลัก ต้องตามหลัก ต้องตามหลัก
การ การ การ การ
เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
๒. ค้นหา ค้นหาสํานวน ค้นหาสํานวน ค้นหาสํานวน ค้นหาสํานวน
ความหมาย และ และ และ และ
ของ เขียนความ เขียนความ เขียนความ เขียนความ
สํานวนไทย หมาย หมาย หมาย หมาย
ได้ ของสํานวน ของสํานวน ของสํานวน ของสํานวน
ไทยได้ ไทยได้ ไทยได้ ไทย
ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
สอดคล้อง สอดคล้อง สอดคล้อง ไม่สอดคล้อง
กับภาพทุก กับภาพร้อย กับภาพร้อย กับภาพ
ภาพ ละ ๘๐ ละ ๖๐

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป

๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง ปริศนาคําทาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๖ เรื่อง ภาษาเพื่อการสื่อสาร
รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑
ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และ
วรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และ นํามาประยุกต์ใช้ในชีวิต
ประจําวัน
ตัวชี้วัด ป.๓/๑ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรมเพื่อนําไปใช้ในชี
วิตประจําวัน

๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
ปริศนาคําทายเป็ นเงื่อนงําเพื่อให้แก้ปั ญหาในปริศนา ส่วนใหญ่มุ่ง
เน้นเพื่อทดสอบเชาว์ปั ญญา ปริศนา
ที่รู้จักกันดีในประเทศไทยคือปริศนาอะไรเอ่ย ปริศนาคําทายของไทยนิยม
เล่นกันมาช้านานจึงถือว่าเป็ นภูมิปั ญญาทางภาษา
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้/ความเข้าใจ (K)
- บอกความหมายของปริศนาคําทายได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- ตอบปริศนาคําทายได้
๓.๓ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- เห็นคุณค่าของการเล่นปริศนาคําทาย

๔. สาระการเรียนรู้
- ปริศนาคําทาย

๕. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่ เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนํา
๑. ครูให้นักเรียนแข่งขันทายปริศนาที่ครูกําหนดให้โดยดูข้อความที่
ครูนํามาติดบนกระดานแล้วให้นักเรียนแข่งขันกันตอบปริศนาดังนี้
ครู : อะไรเอ่ย มีตารอบตัว มีหัวหัวเดียว
ครู : อะไรเอ่ย ชื่ออยู่บนฟ้ า กายาอยู่บนดิน
ครู : อะไรเอ่ย ตัดโคนไม่ตาย ตัดปลายไม่เน่า
๒. ครูตั้งคําถามเพื่อกระตุ้นความคิดของนักเรียนดังนี้
ครู : นักเรียนตอบคําถามเหล่านี้ได้หรือไม่
ครู : การที่นักเรียนตอบคําถามได้เพราะเหตุใด
ครู :นักเรียนคิดว่าการตอบคําถามแบบนี้มีประโยชน์หรือไม่
ครู : ข้อความแบบนี้เราเรียกว่า ปริศนา คําทาย ลักษณะของปริศนาคํา
ทายคือการตั้งคําถามอย่างหนึ่ง ส่วนใหญ่จะบอกลักษณะสําคัญ เช่น รูป
ร่าง หน้าที่ ประโยชน์ และเมื่อมีการตั้งคําถาม แล้วก็ต้องมีคําตอบตามมา
ครู : วันนี้ครูมีปริศนาคําทายมาฝากนักเรียนเพื่อให้นักเรียนได้ฝึ กปฎิภาณ
ไหวพริบเพื่อหาคําตอบของปริศนา

ขั้นสอน
๑. ครูอธิบายเรื่องปริศนาคําทาย โดยมีหัวข้อในการอธิบาย ดังนี้
- ความหมายของปริศนาคําทาย
- ลักษณะของปริศนาคําทาย
- วิธีการเล่นปริศนาคําทาย
๒. ครูประเมินความเข้าใจของนักเรียนโดยการตั้งคําถามเพื่อกระตุ้น
ความคิดของนักเรียนดังนี้
ครู : ปริศนาคําทายเกิดขึ้นได้อย่างไร
ครู : ลักษณะของปริศนาคําทายเป็ นอย่างไร
ครู : การเล่นปริศนาคําทายมีประโยชน์อย่างไร
๓. ครูอธิบายวิธีการเล่นปริศนาคําทายจากนั้นให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม
เพื่อแข่งขันทายปริศนาคําทายจากปริศนาเหล่านี้
๔. ครูกล่าวชมเชยนักเรียนกลุ่มที่ได้รับคะแนนสูงสุดแสดงให้เห็นว่า
กลุ่มของนักเรียนมีความสามัคคีกันในการระดมความคิดเพื่อหาคําตอบ
ของปริศนา
๕ ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า การเล่นปริศนาคําทายเป็ นการฝึ ก
ไหวพริบฝึ กทักษะการคิด และยังได้รับความสนุกสนาน
๖. ครูมอบภาระงานให้นักเรียนทําใบงานเรื่องปริศนาน่าคิด
ขั้นปฏิบัติ
๑. ครูชี้แจงวิธีการทําใบงานที่ ๕ เรื่องปริศนาน่าคิด โดยวิธีการทํา
ใบงาน ดังนี้
- อ่านปริศนาแล้วหาคําตอบ
- แต่งปริศนาคําทาย
- ออกมานําเสนอปริศนาคําทายของตนให้เพื่อนทาย

ขั้นสรุป
๑. ครูใช้คําถามเพื่อกระตุ้นความคิดของนักเรียนดังนี้
ครู : ปริศนาคําทายมีลักษณะเป็ นอย่างไร
ครู : นักเรียนคิดว่าจะสืบสานเรื่องการเล่นปริศนาคําทายได้อย่างไร
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ เรื่องประโยชน์ของปริศนา
คําทาย โดยการเขียนในรูปแบบแผนผังความคิดเป็ นการบ้าน

๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑) ใบความรู้ที่ ๓ เรื่อง ปริศนาคําทาย
๒) ใบงานที่ ๕ เรื่อง ปริศนาน่าคิด
๓) สื่อ PowerPoint ปริศนาคําทาย

๙. การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ ๕ เรื่อง ปริศนาน่าคิด
สิ่งที่ต้องการวัด/ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน ประเมิน
ด้านความรูความ ๑. การถาม- ๑. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เข้าใจ (K) ตอบ การถามตอบ การประเมิน
- บอกความหมาย ๒. การสังเกต ๒.แบบสังเกต ร้อยละ ๖๐
ปริศนา พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
คําทาย
ด้านทักษะ/ - ตอบปริศนาคํา - แบบประเมินการ ผ่านเกณฑ
กระบวนการ (P) ทาย ทํา การประเมิน
- ตอบปริศนาคําทาย ใบงานที่ ๕ เรื่อง ร้อยละ ๖๐
ปริศนา ขึ้นไป
น่าคิด
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
เจตคติ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
ค่านิยม (A) ระดับคุณภาพ
- มีมารยาทในการอ่าน “ผ่าน”
และ
การเขียน
สมรรถนะสำคัญของผู้ - การประเมิน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ
เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน การประเมิน
๑.ความสามารถในการ การสื่อสารและ การสื่อสารและการ ระดับคุณภาพ
สื่อสาร การคิด คิด “ผ่าน”
๒. ความสามารถใน
การคิด
คุณลักษณะอันพึง - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ
ประสงค์ พฤติกรรม พฤติกรรม การประเมิน
๑. ใฝ่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน “ผ่าน”
เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การ ๔ (ดีมาก) 3(ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
ประเมิน
๑.บอกหลัก บอกหลักการ บอกหลักการ บอกหลักการ บอกหลักการ
การ อธิบายความ อธิบายความ อธิบายความ อธิบายความ
อธิบาย หมาย หมาย หมาย หมาย
ความหมาย ของปริศนาคํา ของปริศนาคํา ของปริศนาคํา ของปริศนาคํา
ของปริศนา ทาย ได้ถูก ทาย ได้ถูก ทาย ได้ถูก ทาย ไม่ถูกต้อง
คําทาย ต้อง ต้อง ต้อง ตามหลักการ
ตามหลักการ ตามหลักการ ตามหลักการ
เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นส่วนน้อย
๒. ตอบ ตอบปริศนา ตอบปริศนา หาความ ตอบปริศนาคํา
ปริศนา คําทาย คําทาย หมายของ ทาย
คําทาย ได้ถูกต้อง ๕ ได้ถูกต้อง ๓ คําศัพท์ในบท ได้ถูกต้องน้อย
คําทาย คําทาย เรียน กว่า
ได้ถูกต้อง ๓ คําทาย
๒-๓ คํา
๓. สร้าง สร้างปริศนา สร้างปริศนา สร้างปริศนา
ปริศนา คําทาย คําทาย คําทาย สร้างปริศนาคํา
คําทาย ได้ถูกต้องทุก ได้ถูกต้องร้อย ได้ถูกต้องร้อย ทาย
ข้อ ละ ละ ไม่ถูกต้อง
๘๐ ๖๐

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป
๑๐. บันทึกผลหลังสอน *
ผลการจัดการเรียนการสอน
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ความสำเร็จ
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแกไข
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูสอน
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๑. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดรับมอบหมาย
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
...................................................................................................................
...........................................................
ลงชื่อ......................................................ผูตรวจ
(..........................................................)
วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

You might also like