Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 75

ขอแนะนํา

การดูสาํ นวนตัวอยางแตงฉันทภาษามคธ ประโยค ป.ธ.๘ / ป ๒๕๖๐-๒๕๖๑


เรือ่ งทีค่ วรดู ๓๖ เรือ่ ง
แตงสํานวนตัวอยางโดย
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙
( ภาณี ปยะฉันท )
วัดพรหมวงศาราม ดินแดง กทม.
๑.จตุจกฺกคาถา
๒.สฺยามินทฺ ราชสฺส รฏฐาภิปาลโนปายานุสาเรน จกฺกวตฺติวตฺตปริปูรณคาถา
๓.วินยคาถา
๔.อวิโรธนคาถา (ราชธรรม)
๕.อกฺโกธคาถา ๑ (ราชธรรม)
๖.วิริยปารมีคาถา
๗.ขนฺติคาถา ๑ (ราชธรรม)
๘.มทฺทวคาถา (ราชธรรม)
๙.วิริยานิสํสคาถา
๑๐.รฏฐาภิปาลโนปายคาถา ๑
๑๑.สหกรณคาถา ๑
๑๒.อุปายโกสลฺลคาถา ๑
๑๓.กรุณาคาถา
๑๔.กตฺตุกมฺยตาฉนฺทคาถา
๑๕.สหกรณคาถา ๒
๑๖.โสรจฺจคาถา
๑๗.อาชฺชวคาถา (ราชธรรม)
๑๘.สจฺจคาถา
๑๙.ยาจโยคตาคาถา
๒๐.อุปายโกสลฺลคาถา ๒
๒๑.มิตตฺ ธมฺเม สมานตฺตตาคาถา
๒๒.ขนฺติคาถา ๒ (ราชธรรม)
๒๓.สนฺติคาถา ๑
๒๔.อกฺโกธคาถา ๒ (ราชธรรม)
๒๕.อธิฏฐานปารมีคาถา
๒๖.รฏฐาภิปาลโนปายคาถา ๒
๒๗.มิตฺตสมฺปทาคาถา
๒๘.พหุปฺปยตาคาถา
๒๙.ขนฺติคาถา ๓ (ราชธรรม)
๓๐.กาลฺุตาคาถา
๓๑.สนฺตคิ าถา ๒
๓๒.สจฺจปารมีคาถา
๓๓.พุทฺธเจติยคาถา
๓๔.ปุพฺเพกตปุฺญตาคาถา ๑
๓๕.ปุพฺเพกตปุฺญตาคาถา ๒
๓๖.สฺยามินฺทราชวรสฺส ราชปฏิสนฺถารกุสลตาคาถา

+ อวิโรธนคาถา, มทฺท วคาถา, สฺยามินฺท ราชสฺส รฎฐาภิปาลโนปายานุสาเรน


จกฺก วตฺติวตฺต ปริปูรณคาถา, สหกรณคาถา ๑,สหกรณคาถา ๒,โสรจฺจ คาถา,
ขนฺติคาถา ๑ ยาจโยคตาคาถา,สนฺติคาถา ๑,สนฺติคาถา ๒, อกฺโกธคาถา ๑,วินย-
คาถา,กรุ ณ าคาถา,อธิ ฏ ฐ านปารมี ค าถา,จตุ จ กฺ ก คาถา,พหุ ปฺ ป ย ตาคาถา,
วิริยานิสํสคาถา,มิตฺตสมฺปทาคาถา,รฏฐาภิปาลโนปายคาถา ๑,รฏฐาภิปาลโนปาย-
คาถา ๒,กตฺตุกมฺยตาฉนฺทคาถา,สฺยามินฺทราชสฺส ราชปฏิสนฺถารกุสลตาคาถา ฯ
รวม ๒๒ เรื่อง นักเรียนควรดูเปนพิเศษมาก ๆ
ขอใหนักเรียนประโยค ป.ธ.๘ โชคดีครับ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

จักร ๔ คือลอนําสูความเจริญ มีดังนี้ ปฏิรูปเทสวาสะ สัปปุริสูปสสยะ อัตตสัมมาปณิธิ


ปุพเพกตปุญญตา
ปฏิรูปเทสวาสะคืออยูในประเทศอันสมควรขยายความไดวาอยูในเครื่องแวดลอมที่พรอม
ดวยเครื่อ งสงเสริม ในทางดีทุ กประการสยามประเทศเปนปฏิรูปเทศวาสะอยางเปนที่ ยอมรับได
อยางจริงใจเมือ งไทยมีพระพุทธศาสนาเปนศาสนาประจําชาติ ธรรมะที่ สมเด็ จพระบรมศาสดา
สัมมาสัมพุทธเจาทรงคนพบและทรงแสดงประทานไวใหแกโลกดวยพระมหากรุณาเพื่อนําพนทุกข
พนรอ น ชี วิตไดมีค วามสุขคความรม เย็น โดยควรแกค วามปฏิบั ติซึ่ง สามารถไปถึ งความดั บทุก ข
สารพัดอยางสิ้นเชิงนอกจากนั้นเมืองไทยมีพระมหากษัตริยที่ทรงทศพิธราชธรรมตามคําสมเด็ จ
พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจาทรงแสดงไวแจงชัดสองประการสําคัญนี้ เพียงพอสําหรับความเปน
ปฏิรูปเทสวาสะของสยามประเทศ สัปปุริสูปสสยะคือ คบสัตบุรุษทานใหคบสัตบุรุษเพื่อใหมีธรรม
เช นสั ต บุรุ ษมี ดั งนั้ น ยอ มเป น ไปได ที่ ธรรมะขอ นี้ ในจัก ร ๔ จะหมายไปถึง ให ธ รรม ๗ ประการ
ของสัตบุรุษคือรูจักเหตุ รูจักผล รูจักตน รูจักประมาณ รูจักกาล รูจักประชุมชนรูจักบุคคล อัตต-
สัมมาปณิธิ คือตั้งตนไวชอบหรือตั้งตนไวโดยธรรมไมผิดธรรมและจักร ๔ ประการ สุดทายคือ
ปุพเพกตปุญญตาความเปนผูไดทําความดีไวในปางกอน ความประกอบพรอมของจักร ๔ จึงยอม
เปนลอนําสูความเจริญสถานเดียว ฯ
สมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจาผูทรงพระคุณอันประเสริฐ(ร.๙)ไมทรงเปนโทษเปนภัย
ของพสกนิกรไพรฟาขาแผนดินไมทรงอาศัยความโลภ ความโกรธ ความหลงในอันทรงเกี่ยวของดวย
ทรงอาศัยพระกรุณาเปนที่ตั้ง ปรากฏชัดในสารพัดสิ่งที่ทรงกระทําเพื่อขาแผนดินของสมเด็จบรม
บพิตรพระราชสมภารเจาขอรับพระราชทานกลาววาทรงเปนพระอรหันตไมเพียงของพระราชโอรส
พระราชธิดา แตยังทรงเปนพระอรหันตของพสกนิกรขาแผนดินสิ้นทั้งปวงทรงแหนหวงหวงใยไมตาง
จากเปนบุตรธิดาที่แทจริง เสด็จพระราชดําเนินถึงที่ใดไมวาบาน ก็ตาม ปาก็ตาม ที่ลุมก็ตาม ที่ดอน
ก็ ต าม ทรงยั ง ความรื่ น รมย เ กิ ด ขึ้ น ได นี้ เ ป น จริ ง นี้ เ ป น สิ่ ง ที่ ไ ม มี ผู ใ ดอาจคั ด ค า นได ทรงเป น ไป
ดังพระพุทธภาษิตที่รับพระราชทานอัญเชิญมาขางตนคือทรงเลิศลนดวยคุณวิเศษแหงพระอรหันต
ทานเปนเหตุใหทรงปกครองประเทศชาติประชาไทย ใหรมเย็นเปนสุขยิ่งกวาทุกอาณาเขตในโลกนี้
นี้เปนพระมงคลวิเสสสวนปรหิตรัฏฐาภิปาลโนบาย ประชาชนทั้งหลายกับทั้งสกลมหาสงฆสมณะ
พราหมณาจารยทั้งปวงสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณใหญหลวงพนประมาณเมื่อมาถึงวรอุดมมงคล
กาลมหาสมัยเฉลิมพระชนมพรรษาจึงพากันเฉลิมฉลองทั่วทุกแหงหนดวยศุภกุศลมงคลพิธีตาง ๆ ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๑๒๖-๑๒๗.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑ / ๒๕๖๐- ๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
จตุจกฺกคาถา
๑.ปฐยาวัตร ๒.อินทรวิเชียร
ปฏิรูปเทสวาโส อิติ อาทีนิ วุฑฺฒิยา กิจฺเจสุ พฺยตฺโต นวมินฺทราชา
ยานิ จตฺตาริ จกฺกานิ สุเทสิตานิ สตฺถนุ า ทยฺยานโทโส อภโย จ หุตฺวา
เตสํ อตฺโถป ญาตพฺโพ สพฺพสิทฺโธปถมฺภิเก สมฺพนฺธนตฺถาย ปชาย สทฺธึ
ปฏิรูปมฺหิ เทสมฺหิ โย วาโสตฺถิ สเมน โส สพฺพตฺถ โลภาทิวสํ อปตฺโต
ปฏิรูปเทสวาโสติ ปณฺฑิเตน ปวุจฺจติ ๓.อินทรวงศ
ปฏิรูปเทสวาโสติ สงฺขเมว นิคจฺฉติ ทยฺเยหิ สทฺธึ กรุณาชลาธิโก
วาโส จ สฺยามรฎฐสฺมึ อถวา พุทฺธสาสนํ สมฺพนฺธตี ทยฺยปชาย กุพฺพิตํ
โหติ เยภุยฺยโต ทยฺย- รฏฐวาสีหิ มานิตํ กิจฺจฺจ โลกสฺส สทา สุปากฏํ
สตฺถุนาธิคโต ธมฺโม กรุณาย สุเทสิโต โส ปุตฺตธีตูนรหา น เกวลํ
สนฺตึ สุขฺจ ปาเปติ ปฏิปตฺยานุรูปโต โหเตรหา ทยฺยปชาย ทยฺยิกํ
ทยฺยรฏเฐ ปติฏฐาติ ธมฺมิโกปจ ขตฺติโย สพฺพมฺป ปุตฺตํว สกํ ปยายตี
สตฺถุวุตฺตา อยํ วาจา สฺยามรฏฐสฺส สพฺพธิ
ปฏิรูปเทสวาส- ตาย โหติ ปโหนกา สฺยามินฺทราชิโน ตสฺส คุณมาคมฺม ทยฺยิกา
สปฺปุริสูปสฺสโยติ วุจฺจตี ธีรเสวนา สกโล จ มหาสงฺโฆ สพฺเพ สมณพฺราหฺมณา
ธมฺมฺุตาทิธมฺเมสุ ฐิตตา วา สตํ อิธ นิวิฏ หทยา ตสฺส กรุณาธิคุเณ สิยุ
สปฺปุริสูปสฺสโยติ สงฺขเมว นิคจฺฉติ อุตฺตเม มงฺคเล กาเล ทิวสสฺส ปสูติยา
อตฺตโน ฐปนํ สมฺมา ธมฺเมน วา ยถารหํ สมฺปตฺเต เต ตมุทฺทิสฺส นวมํ จกฺกิวํสิกํ
อตฺตสมฺมาปณิธีติ ปณฺฑิเตน ปวุจฺจติ สุภมงฺคลภูเตหิ นานาวิธีหิ สพฺพโส
สุเทสิตา มุนินฺเทน ยา ปุพฺเพกตปุฺญตา มหามหํ ปกุพฺเพยฺยุ ตหึ ตหึ ยถาพลนฺติ ฯ
สา หเว วุฑฺฒิจกฺกานํ จตุตฺถา โหติ ปุคฺคโล พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
จตุจกฺเกหิ สมฺปนฺโน วุฑฺฒึ วินฺทติ เกวลํ
๔.ปฐยาวัตร
ยํ คามํ วา อรฺ วา นินฺนํ อุท ถลํ คโต
ตสฺมึ ฐานสฺมิ ทยฺยานํ ชเนติ รามเณยฺยกํ
ตสฺมา สฺยามินฺทราชา โส อรหนฺตคุณาธิโก
สมาโน ราชธมฺเมน ทยฺยรฏฐํ ปสาสติ
+ ถาปญหาไมมี (ร.๙) อินทรวิเชียร เปลี่ยนบาทที่ ๑ เปน สฺยามินฺทราชา กรณียพฺยตฺโต ฯ
+ ๔.ปฐยาวัตร นวมํ จกฺกิวํสิกํ เปลี่ยนเปน เสฏฐํ สฺยามินฺทขตฺติยํ ฯ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

พระราชจริยารัฏ ฐาภิปาลโนบายคื อวิธีปกครองพระราชอาณาจักรจัก ถวายวิสัชนาสาธก


ในเบื้องตนนี้ดวยจักกวัตติวัตรในจักกวัตรสูตรพระเจาจักรพรรดิพระราชาผูยังจักรรัตนะจักรแกวคือ
จักรอันประเสริฐมีพลานุภาพสามารถครอบงําทุกประเทศในโลกใหอยูในอํานาจเปนใหญในแผนดิน
มีมหาสุมุทร ๔ เปนขอบเขตทรงชนะแลว เปนพระราชาแหงโลกโดยธรรม มีพระราชอาณาจักรมั่นคง
สมบูรณดวยรัตนะที่แปลวาแกวคือสิ่งประเสริฐสุด ๗ ประการคือ ๑.จักกรัตนะจักรแกว ๒.หัตถิรตนะ
ชา งแก ว ๓.อั ส สรตนะ ม า แก ว ๔.มณีร ตนะ มณี แ ก ว ๕. อิ ต ถี ร ตนะ นางแก ว ๖.คหปติ ร ตนะ
คฤหบดี แ ก ว ๗.ปริ ณ ายกรตนะปริ ณ ายกแก ว ทรงอาศั ย ธรรม ทรงสั ก การะธรรม ทรงทํ า
ความเคารพธรรม ทรงนับถือธรรม ทรงบูชาธรรม ทรงยําเกรงธรรม ทรงมีธรรมเปนธงชัย ทรงมี
ธรรมเปนยอด ทรงมีธรรมาธิปไตย คือมีธรรมเปนใหญทรงจัดการรักษาปองกันและคุมครอง อันเปน
ธรรมในชนภายใน ในหมูพล ในหมูกษัตริย ผูไดรับราชาภิเษก ในหมูกษัตริยประเทศราช ในพวก
พราหมณแ ละคฤหบดี ในชาวนิคมและชนบททั้งหลายในพวกสมณะพราหมณในหมูเ นื้อและนก
การกระทําสิ่งที่เปนอธรรม อยาเปนไปในแวนแควน บุคคลเหลาใดในแวนแคว นไมมีทรัพยพึงให
ทรั พ ย แ ก บุ ค คลเหล า นั้ น สมณะพราหมณ เ หล า ใดในแว น แคว น งดเว น จากความเมาและ
ความประมาทตั้งมั่นอยูในขันติและโสรัจจะ ฝกตนแตผูเดียว สงบตนแตผูเดียวใหตนดับกิเลสอยู
แตผเู ดียว พึงเขาไปหาสมณะพราหมณเหลานั้นโดยกาลอันสมควร ไตถามสอบถามถึงกุศล อกุศล
กรรมมีโทษ กรรมไมมีโทษ กรรมควรเสพ กรรมไมควรเสพ กรรมเปนไปเพื่อไมเปนประโยชนเพื่อทุกข
สิ้นกาลนาน กรรมเปนไปเพื่อประโยชนเพื่อสุขสิ้นกาลนาน เมื่อฟงคําของสมณะพราหมณเหลานั้น
แล ว สิ่ง ใดเป น อกุ ศล พึ งละเว นสิ่ งนั้ นเสี ย สิ่ง ใด เป นกุ ศล พึ งถื อ ประพฤติ นี้ แ ลจั กกวัต ติวั ต ร
อันประเสริฐนั้น ฯ
สมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจาทรงตั้งอยูในทศพิธราชธรรมทรงปฏิบัติในบารมีธรรม
โดยพระราชประสงคทรงเปนพระธรรมราชา ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจทั้งปวง ทรงอาศัยธรรม
ทรงสักการะธรรม ทรงทําความเคารพธรรม ทรงนอบนอมธรรม ทรงมีธรรมเปนตราเปนเบื้องหนา
ทรงมี ธ รรมเป น ใหญ ทรงจั ด แจงรั ก ษาป อ งกั น ทรงคุ ม ครองประกอบด ว ยธรรม จึ ง ปรากฏว า
ทรงปฏิบัติไดสมบูรณในฐานะทั้งปวง อาทิในฐานะที่ทรงปฏิบัติตามกําหนดกฎหมายพระราชประเพณี
ในฐานะองคพระประมุ ขแหงชาติป ระกอบดว ยพระมหากรุณ าพน ประมาณ ดั งที่ ไดพ ระราชทาน
โครงการพระราชดําริตาง ๆไดทรงปฏิบัติตามโครงการพระราชดําริทั้งปวงเปนอันมากเพื่อบําบัดทุกข
บํารุงสุขประชาราษฏรทั้งปวง ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๑๖๒-๑๖๓.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
สฺยามินทฺ ราชสฺส รฏฐาภิปาลโนปายานุสาเรน จกฺกวตฺตวิ ตฺตปริปรู ณคาถา
๑.ปฐยาวัตร ๒.อินทรวงศ
รฏฐาภิปาลโนปาย- ปริยาปนฺนกํ มยา สฺยามินฺทราชา กรณียโกวิโท
วตฺตฺหิ จกฺกวตฺติสฺส วุจฺจเต จกฺกวตฺติ โส สาธาปยี ปารมิโย ยถิจฺฉิตํ
จกฺกรตนสมฺปุณฺโณ สพฺพรฏฐํ ปสาสิตุ โส ธมฺมราชา อภิวฑฺฒนาวหํ
สมตฺโถ โหติ ธมฺเมน โลกราชา จ สตฺตหิ สพฺพํ กรณฺยํ ปฏิปชฺชิ ธมฺมโต
จกฺกรตนํ อิจฺจาทิ- รตเนหิ สมปฺปโต ๓.วังสัฏฐะ
โส ธมฺมสกฺกโต ธมฺม- ปูชิโต โหติ ธมฺมิกํ ส ธมฺมมาคมฺม กรณฺยกุพฺพเน
รกฺขาวรณคุตฺติมฺป อนฺโตชโนติอาทิสุ อโหสิ ธมฺมาธิปเตยฺยภูตโก
โคปนีเยสุ โปเสสุ ราชธมฺเมน กุพฺพติ ปชาย อตฺถาย สุขาย เจกธา
รฏเฐ ตุ ปุคฺคลา เยตฺถิ อธนา จกฺกวตฺติ โส อกาสิ รกฺขาวรณมฺป ธมฺมิกํ
ธนํ ทเทยฺย เอเตสํ เย เต สมณพฺราหฺมณา
มทนิมฺมทนา โหนฺติ ขนฺติโสรจฺจสณฺฐิตา รฏฐปฺปมุขภูโต โส ปชาย อตฺถสาธิโก
อิริยาสุป เอเกเก อตฺตานํ ทมยนฺติ จ โย จินฺตาปริยาปนฺโน นโยปาโย พหุพฺพิโธ
เอเต ปยิรุปาสิตฺวา ปริปุจฺเฉยฺย ธมฺมโต อตฺถิ ตสฺสานุสาเรน สพฺพปฺปชาย สพฺพธิ
กุสลํ โหติ ยํ เอตํ กุพฺเพ อกุสลํ ตุ ยํ ทุกฺขมฺป อปเนตุฺจ อุปสํหริตุ สุขํ
ตํ น กุพฺเพยฺย สาวชฺชํ โหติ ยํ น กเรยฺย นํ ปฏิปชฺชติ กิจฺจานิ กรุณาย ยถาพลนฺติ ฯ
ยํ อวชฺชํ ปกุพฺเพ นํ ยํ เสวิตพฺพเมกธา
อทฺธา อเสวิตพฺพํ ยํ ยํ อนตฺถาย เกวลํ
สํวตฺตติ มหตฺถาย สํวตฺตติ ตุ ยํ จิรํ
สพฺพนฺตํ ปริปุจฺเฉยฺย จกฺกวตฺติ วิจกฺขโณ
เตสํ หิตาวหํ วาจํ สุตฺวา โยกุสโล ธุโร
ตํ ชเห กุสโล โหติ โย คเหตฺวา จเรยฺย นํ
อิทํ โข ตํ วรํ จกฺก- วตฺติวตฺตนฺติ วุจฺจติ
๔.ปฐยาวัตร
สฺยามินฺทขตฺติโย เอโส ธมฺมิโก ธมฺมนิสฺสโิ ต
กิจฺจานิ ปฏิปชฺชนฺโต สพฺพฐาเนสุ อตฺตโน
ปฏิปชฺชติ เอตานิ เนติยา จ ปเวณิยา
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๓ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

วินัย คือ พระพุทธบัญญัตเิ ปนคําสั่งปรับอาบัติแกภิกษุผูประพฤติทางกายวาจา เปนอาสวัฏ-


ฐานิยธรรม คือการกระทําที่ไมดีงาม เปนทีต่ ั้งแหงอาสวะ กิเลสดองจิตสันดานนั้น ๆ โดยทรงปรารภ
ความประพฤติดังนั้นของภิกุรูปหนึ่งเปนเหตุ จึงทรงบัญญัติวินัยปองกันเปนสิกขาบท ๆ หรือเปนขอ ๆ
ไปโดยภิ ก ษุ นั้ น เป น ต น เหตุ ใ ห ท รงบั ญ ญั ติ ไ ม ต อ งอาบั ติ เพราะยั ง มิ ไ ด ท รงบั ญ ญั ติ ไ ว ส ว นภิ ก ษุ
ผูประพฤติดังนั้นหลังจากบัญญัติแลวจึงตองอาบัติ ชื่อวา วินัย เพราะเปนเครื่องกําจัดหามปองกัน
โทษละเมิดทางกายวาจาเปนเครื่องนําไปโดยวิเศษ เปนเหตุใหเกิดความเรียบรอยดีงามดังที่พระผูมี-
พระภาคเจ าตรัสไวโ ดยความว า ทรงอาศัยอํ านาจประโยชน ๑๐ ประการทรงบัญ ญัติสิ กขาบท
แกภิกษุทั้งหลาย คือ เพื่อความดีงามแหงสงฆ เพื่อความผาสุกแหงสงฆ เพื่อขมบุคคลที่แกยาก
เพื่ออยูผาสุกแหงภิกษุทั้งหลายผูมีศีลเปนที่รัก เพื่อสํารวมระวังปองกันอาสวะทั้งหลายที่เปนปจจุบัน
เพื่ อ กํ า จั ด ห า มอาสวะทั้ ง หลายที่ เ ป น ภาคหน า เพื่ อ ความเลื่ อ มใสแห ง ผู ที่ ยั ง ไม เ ลื่ อ มใส
เพื่อความเลื่อมใสยิ่งขึ้นแหงผูที่เลื่อมใสแลว เพื่อความตั้งมั่นแหงสัทธรรม เพื่ออนุเคราะหถือเอา
ตามวินัย ฯ
ในพระวินัยปฏกไดมีแสดงวา ทานพระสารีบุตร ไดกราบทูลถามพระผูมีพระภาคพุทธเจาวา
พรหมจรรย ศ าสนา ของพระพุ ท ธเจ า พระองค ไ หนไม ตั้ ง อยู น าน ของพระองค ไ หนตั้ ง อยู น าน
เพราะเหตุปจจัยอะไร ตรัสตอบวาพรหมจรรยศาสนาของพระผูมีพระภาคเจาวิปสสี ของพระผูมี-
พระภาคเจาสิขีของพระผูมีพระภาคเจาเวสสภูไมตั้งอยูนาน เพราะพระผูมีพระภาคเจา ๓ พระองคนี้
ไมทรงขวนขวาย เพื่อแสดงธรรมโดยพิสดาร นวังคสัตถุศาสนคือคําสอนของพระศาสดามีองค ๙
มีสุตตะ เคยยะเปนตนมีนอย ไมทรงบัญญัติสิกขาบทแกพระสาวกทั้งหลาย ปาติโมกขก็ไมทรงแสดง
โดยอันตรธานแหงพระพุทธเจาเหลานั้น โดยอันตรธานแหงพระสาวกพุทธานุพุทธะ สาวกภายหลัง
ตางนาม ตางโคตร ตางชาติ ตางตระกูล บวชแลวยังพรหมจรรยศาสนานั้นใหอันตรธานไปโดยเร็ว
เหมือนดอกไมตาง ๆ วางไวบนแผนกระดานมิไดรอยไวดวยดายลมยอมเกลี่ยเรี่ยรายกระจัดกระจาย
ดอกไมเหลานั้นโดยเหตุที่มิไดรอยดวยดาย สวนพรหมจรรยศาสนาของพระผูมีพระภาคเจากกุสันธะ
ของพระผูมีพระภาคเจาโกนาคมนะ ของพระผูมีพระภาคเจากัสสปะ ตั้งอยูนาน เพราะพระผูมี-
พระภาคเจา ๓ พระองคนั้น ทรงขวนขวายเพื่อแสดงธรรมโดยพิสดารแกพระสาวกทั้งหลาย สุตตะ
เคยยะเปนตนมีมาก ทรงบัญญัติสิกขาบทแกพระสาวกทั้งหลาย ทรงแสดงปาติโมกข โดยอันตรธาน
แหงพระพุ ทธเจาเหลานั้น โดยอันตรธานแหงพระสาวกพุทธานุพุท ธะ สาวกภายหลัง ตางนาม
ตางโคตร ตางชาติ ตางตระกูล บวชแลวตั้งพรหมจรรยนั้นตลอดกาลนานเหมือนดอกไมตาง ๆ
ที่ ว างไว บ นแผ น กระดานร อ ยไว ดี แ ล ว ด ว ยด า ย ลมย อ มไม เ กลี่ ย เรี่ ย รายกระจั ด กระจาย
ดอกไมเหลานั้นโดยเหตุที่รอยไวดีแลวดวยดาย ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๑๗๖-๑๗๗.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๓ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
วินยคาถา
๑.ปฐยาวัตร ๒.วสันตดิลก
วินโย พุทฺธปฺญตฺต- สิกฺขาปทนฺติ วุจฺจติ พุทฺธาน พฺรหฺมจริยํ กตเมสมสฺมึ
อาสวฏฐานิยํ ธมฺมํ กายวาจาย กุพฺพโต โลเก อโหสิ อจิรฏฐิติเหตุปตฺตํ
เอเกกสฺส หิ ภิกฺขุสฺส กมฺมํรพฺภ วิสุ วิสุ เสฏฐนฺตุ ตํ กตมมารชินานมสฺมึ
อาปตฺติปฏิพาหาย สิกฺขาปทํ ฐเปติ โส โลเก จิรฏฐิติคุณมฺป อโหสิ ปตฺตํ
โย อาทิกมฺมิโก โหติ ตสฺสาปฺญตฺตภาวโต โก ปจฺจโย อิธ อโหสิ มุนินฺท ภนฺเต
ตํภิกฺขุโน อนาปตฺติ โย ตุ ภิกฺขุ ปมาทิโก อิจฺจุตฺตมํ ชินมปุจฺฉยิ สาริปุตฺโต
๓.อินทรวิเชียร
ตถาคเตน ปฺญตฺต- สิกฺขาปทํ อติกฺกมิ
ติณฺณํ วิปสฺสีสุคตาทิกานํ
ตสฺส อาปตฺติ ตสฺมา หิ วินโย นาม ภิกฺขุโน
พุทฺธาน พฺรหฺมจฺจริยํ วิสิฏฐํ
ลามกํ กายวาจาย วีติกฺกมนเมกธา
ปตฺตํ อโหสี อจิรฏฐิตินฺติ
วิทฺธํเสติ นิวาเรติ เตน อตฺถวเส ทส
เถรสฺสิมํ วาจมโวจ พุทฺโธ
ปฏิจฺจ โส ชิโน สงฺฆ- สุฏุตายาติอาทิเก
สิกฺขาปทานิ ภิกฺขูนํ ปฺญาเปติ ฐเปติ จ
๔.ปฐยาวัตร
สพฺเพ หิเม ตโย พุทฺธา วิปสฺสีสุคตาทิกา คจฺฉิ วิตฺถารโต เหเต ธมฺมํ เทเสตุกามกา
อปฺโปสฺสกุ ฺกา วิราคํ ตํ วิตฺถารโต สุเทสิตุ พหุฺจ สุตฺตเคยฺยาทิ- นวงฺคสตฺถุสาสนํ
ปริตฺตํ สุตฺตเคยฺยาทิ- นวงฺคสตฺถุสาสนํ สิกฺขาปทฺจ ปฺญตฺตํ สาวกานํ ยถารหํ
สิกฺขาปทํ อปฺญตฺตํ สาวกานํ ยถารหํ ปาฏิโมกฺขฺจ อุทฺทิฏฐํ สสาวกานมตฺตโน
ปาฏิโมกฺขํ อนุทฺทิฏฐํ สสาวกานมตฺตโน เตสํ อนฺตรธาเนน นานานามาติอาทิกา
เตสํ อนฺตรธาเนน นานานามาติอาทิกา ปจฺฉา ปพฺพชิตา ภิกฺขู นิกฺขิตฺตํ ผลเก ยถา
ปจฺฉา ปพฺพชิตา ภิกฺขู นิกฺขิตฺตํ ผลเก ยถา สุคณฺฐิตฺจ สุตฺเตน วาเตนาปหตํ อถ
อคณฺฐิตฺจ สุตฺเตน วาเตน ปหตํ อถ สพฺพํ นานาวิธํ ปุปฺผํ วิกีรณํ น ปาปุณิ
สพฺพํ นานาวิธํ ปุปฺผํ วิกีรณํ อปาปุณิ ทีฆรตฺตํ ฐเปสุ นํ ตถาติ ปุน อาห โสติ ฯ
ขิปฺป อนฺตรธาเปสุ ตํ พฺรหฺมจริยํ ตถา
กกุสนฺธาทิพุทฺธานํ อุตฺตมนฺตุ จิรฏฐิตึ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
+ นวังคสัตถุศาสน-สุตฺต,ํ เคยฺยํ,เวยฺยากรณํ,คาถา,อุทานํ,อิติวุตฺตกํ,ชาตกํ,อพฺภูตธมฺม,ํ เวทลฺลํ ฯ
+ ผลก(ปุง,นปุง)-โล,แผนกระดาน ฯ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๔ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

อวิโรธนะที่แปลวาความไมผิดสําหรับธรรมะในชั้นนี้ ควรหมายความวา รูผิดแลวไมดื้อขืนทํา


คือ ไม ย อมทํา ผิ ดทั้ งที่ รู รู ผิด ในที่ นี้ห มายถึง ผิ ดจากข อที่ ควรทุก อย า งเชน ผิ ดจากความยุ ติ ธรรม
ดวยอํานาจอคติผิดไปจากปรกติคือเมือ่ ประสบความเจริญ หรือความเสื่อมก็รักษาอาการ กาย วาจา
ใจ ไว ใ ห ค งที่ ไ ม ใ ห ขึ้ น ลงเพราะยิ น ดี ยิ น ร า ยคนสามั ญ ในชั้ น ต น ยั ง ทํ า ผิ ด อยู เ พราะไม รู ว า ผิ ด
ถายอมปลอยไปเชนนั้น ไมศึกษาก็จักเปนผูไมรูจักชอบไมรูจักผิดไมอาจปฏิบัติถู กดีไดผูปกครอง
ผูเปนหัวหนา เมื่อทําผิดดวยอํานาจ รักชอบบาง อํานาจชังบาง อํานาจหลงบาง อํานาจกลัวบาง
ผูอยูในปกครองก็เดือดรอนอยูเปนทุกขผูอยูในปกครองเมื่อทําผิดเชนนั้นผูอยูในปกครองดวยกัน
ตลอดจนถึงผูปกครองเอง ก็เดือดรอนอยูเปนทุกขแตถาผูปกครองผูเปนหัวหนามีใจกอปรดวยธรรม
มุงความถูกพยายามศึกษาพิจารณาใหรูจักผิดและชอบแลวพยายามทําการงานใหถูกตามคลอง
ธรรมไมใหผิด และแนะนําพร่ําสอนผูอยูในอํานาจปกครองใหประพฤติเชนนั้นดวยผูอยูในปกครอง
ก็พยายามทําใหถูกตองตามคลองธรรม ไมใหผิดตางฝายก็จักอยูดวยความสงบสุข ฯ
กลา วโดยเฉพาะขอ ที่พระมหากษั ตริ ยาธิ ราชเจา ทรงตั้ งอยู ในขั นติร าชประเพณี ไม ทรง
ประพฤติผิดจากพระราชธรรมจรรยานุวัตรนิติศาสตร ไมทรงประพฤติใหคลาดไปจากความยุติธรรม
ทรงอุปถัมภยกยอง คนผูมีคุณความชอบ ควรอุปถัมภยกยองบําราบ คนมีความผิด ควรบําราบในที่
เปนธรรม ไมทรงอุปถัมภยกยองและบําราบคนนั้น ๆ ดวยอํานาจอคติ ๔ ประการ มีฉันทาคติเปนตน
ก็ดี เมื่อมีลาภยศสรรเสริญสุข ซึ่งเปนที่พอพระราชหฤทัย มาถึงพระองค ก็ไมทรงแสดงความยินดี
ซึ่งเปนเหตุใหผูอื่นดูหมิ่นไดวาทรงมัวเมาอยูในสิ่งนั้นเมื่อมีเสื่อมลาภเสื่อมยศตองนินทาไดความทุกข
รอน ซึ่งไมเปนที่พอพระราชหฤทัยมาถึง ก็ไมแสดงความยินรายเสียพระทัยใหปรากฏ ซึ่งเปนเหตุ
ให ผู อื่ น ดู ห มิ่ น ได ว า ทรงหาขั น ติ คุ ณ มิ ไ ด ห รื อ เป น เหตุ ใ ห ผู น อ ยซึ่ ง อยู ใ นพระบรมเดชานุ ภ าพ
พลอยตกใจ แตกตื่นอลหมาน ทรงรักษาพระอาการคงที่อยูไมแสดงความผิดจากปรกติเดิมก็ดีดังนี้
จัดเปนอวิโรธนะ ไมผิดนี้ เมื่อพิจารณาดูแลว ก็จะเห็นวาเปนขอรวมของทุก ๆ ขอได ดวยพระธรรม
ทุ ก ๆ ข อ ที่ เ ป น ราชธรรมนั้ น ล ว นเป น ข อ ปฏิ บั ติ ที่ ไ ม ผิ ด ทั้ ง นั้ น คื อ เป น ข อ ปฏิ บั ติ ที่ ถู ก ต อ งสมควร
ถาไมปฏิบัติขอใดขอหนึ่งเรียกวาเปนการปฏิบัติผิดในขอนั้นแตถาปฏิบัติในขอนั้นและทุก ๆ ขอแลว
ก็ไดชื่อวาเปนการปฏิบัติไดถูกตองไมผิด เพราะเหตุนั้น ขอสรุปคือขอที่วาไมผิดนี้ จึงเปนขอที่สําคัญ
ในทศพิธราชธรรมทั้ง ๑๐ ขอนั้น ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๑๙๖-๑๙๗.

+ ราชธรรม,เนื้อหาดีมากเกี่ยวกับการสรรเสริญพระมหากษัตริยบําเพ็ญราชธรรม,ควรดูเปนพิเศษ ฯ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๔ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
อวิโรธนคาถา
๑.ปฐยาวัตร
อวิโรธนธมฺโม เม วุจฺจเต อิธ โย ชโน เอวมฺป สุขสํวาสา โหหินฺติ สุขิโน จ เต
วิรุทฺธกรณํ ตฺวา วิรุทฺธกมฺมภาวโต ขตฺติโย ขนฺติโก ราช- ธมฺมโต อวิรุทฺธกํ
น กโรติ ตถารูป ตํ วา ชานํ น กุพฺพติ กิจฺจํ จรติ โย โปโส ปคฺคณฺหารหภูตโก
อวิโรธนสมฺปนฺโน โหตีติ โส ปวุจฺจติ ภวตี กตกลฺยาโณ ตํ ปคฺคณฺหาติ ธมฺมโต
สพฺพยุตฺติวิรุทฺธํ วา อคตีนํ วเสนป โย นิคฺคหารโห โหติ กตาปราธภูตโก
ยุตฺติธมฺมวิรุทฺธํ วา ปกตียา วิรุทฺธกํ ตํ นิคฺคณฺหาติ ธมฺเมน ฉนฺทาทิวสโตป น
อิจฺจิทํ อีทิสํ กมฺมํ วิโรธนนฺติ วุจฺจติ ปคฺคณฺหาติ จ ตํ ตํ น นิคฺคณฺหาติ จ สพฺพธิ
อวิโรธนสมฺปนฺโน โหติ โย อิธ ปุคฺคโล ๒.อินทรวงศ
โส วุฑฺฒึ อุท หานึ วา ปตฺวา ตาทิตมตฺตโน ลาภาทิวิตฺตฺหิ ส อิฏกํ ยทา
รกฺขิตุ สุฏุ สกฺโกติ โลกธมฺมวเสน น วินฺเทติ ตุฏฐึ อวมานนาวหํ
นานาอุจฺจาวจาการํ ทสฺเสติ มนุชา อิธ สพฺพํ น ทสฺเสสิ ตทา ส ภูมิโป
อาโท วิรุทฺธภาเวน วิรุทฺธกํ อชานิย เหตุ อลาภาทิมนิฏฐกํ ยทา
นานาวิธํ ปกุพฺพนฺติ สเจ เต ตํ ปุนปฺปุนํ วินฺเทติ โสกํ อวมานนาวหํ
กตฺวาน ตํ น สิกฺเขยฺยุ วิรุทฺธํ อวิรุทฺธกํ สพฺพํ น ทสฺเสสิ ตทา ยถารหํ
น ชานนฺติ น สกฺโกนฺติ ยุตฺตกํ ปฏิปชฺชิตุ๓.อินทรวิเชียร
ฉนฺทาทิวสโต เจป ปสาสกา วิรุทฺธกํ ธมฺมานมคฺคํ อวิโรธนํทํ
กเรยฺยุ ทุกฺขิตา เสนฺติ ทุกฺขํ ชนา ปสาสิตา โหตีติ ชาเนยฺย สเมน ธีโร
สิกฺขิตฺวา เจ ชนา สพฺพํ วิโรธนาวิโรธนํ เย เตตฺถิ สาตฺถา ทส ราชธมฺมา
ธมฺมปฺปเถน กุพฺเพยฺยุ กรณฺยํ อวิรุทฺธกํ สพฺเพป เอเต อวิรุทฺธภูตา
๔.ปฐยาวัตร
สเจ น เตสุ ยงฺกฺจิ ปฏิปชฺเชยฺย ขตฺติโย
ปฏิปชฺเชยฺย นาเมส ธมฺมํ ตมฺหิ วิรุทฺธกํ
สเจ ปน ปุเนตํ วา สพฺเพ วา ปฏิปชฺชิยา
ปฏิปชฺเชยฺย นาเมส ตํ ธมฺมํ อวิรุทฺธกํ
ตสฺมา หเว สรูเปน อิทมฺป อวิโรธนํ
ปรมํ ราชธมฺเมสุ ทสสูติ ปวุจฺจตีติ ฯ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
+ปสาสก-ผูปกครอง,ปสาสิต-ผูอยูใตปกครอง ฯ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๕ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

อักโกธะ ความไมโกรธกิริยาที่ไมแสดงความโกรธใหปรากฏตลอดถึงไมพยาบาทมุงรายผูอื่น
แมจักตองลงโทษผูทําผิดก็ทําตามเหตุผลไมทําดวยอํานาจความโกรธชื่อวาอักโกธะ คนผูรวมกันอยู
เปนหมู ยอมมีกระทบกระทั่งกันบางเมื่อขมใจไวไมได เกิดโกรธขึ้งตอกันขึ้นและผูกเวรไว ก็เปน
สมุฏฐานใหเกิดโทสะความประทุษรายกันทางใจกอนแลวประทุษรายกันทางกายทางวาจาสืบไป
อันเรียกวาพยาบาททําใหอยูดวยกันไมเปนสุข ตอเมื่อรักษาใจขมใจไวไมโกรธขึ้นหรือเมื่อเกิดโกรธขึ้น
ในใจก็ระงั บไวไมแสดงออกมาใหปรากฏไมปฏิบัติลุอํ านาจแหง ความโกรธจักอยูดว ยความสงบ
เรียบรอยเปนสุข ความไมโกรธจักมีไดก็เพราะเมตตา หวังความสุขความเจริญแกตนและตอกันและ
กั น คนที่ เ ป น หั ว หน า ปกครองก็ ต าม เป น ผู อ ยู ใ นปกครองก็ ต ามเมื่ อ แสดงความโกรธออกมา
ใหปรากฏก็แสดงวาตนเองลุอํานาจความโกรธ กิริยาที่แสดงความโกรธออกมานั้นไมงาม
ขอ ที่ พ ระมหากษั ต ริ ย าธิ ราชเจ า ทรงมีพ ระราชอั ธยาศั ย ประกอบด ว ยพระเมตตาไม ท รง
ปรารถนากอเวรใหผูใดผูหนึ่ง ไมทรงพระพิโรธดวยเหตุที่ไมสมควรแมมีเหตุใหทรงพระพิโรธแตก็ทรง
ขมเสียไดใหสงบระงับอันตรธาน ทรงปฏิบัติโดยโยนิโสมนสิการคือการใสใจพิจารณาพบตนเหตุ
จัดเปนอักโกธะขอที่ ๗
อนึ่งในขอที่ ๗ นี้ สําหรับบารมีนั้นไดแก สัจจบารมี สวนในทศพิธราชธรรมนั้นไดแกอักโกธะ
ความไมโ กรธอั นหมายถึง เมตตาประกอบอยู เมื่อ พิจ ารณาแล วแมว าทั้ง ๒ ข อนี้ จะมีพ ยัญ ชนะ
ที่ตางกันแตวาในดานการปฏิบัตินั้นตองอาศัยซึ่งกันและกันกลาวคือการที่จะปฏิบัติไมใหมีความโกรธ
หรือมีเมตตาขึ้นไดนั้น จะตองมีจิตใจประกอบดวยสัจจะคือความตั้งใจจริงในการที่จะปลูกเมตตา
ขึ้นมาในจิตใจคือใหเปนเมตตาจริงในจิตใจ เมื่อเปนดังนี้จึงจะทําใหเกิดความไมโกรธอันตรงกันขาม
ขึ้นไดและเมื่อเกิดความไมโกรธและเกิดเมตตาขึ้นแลวก็จะใหมุงดีปรารถนาดีจึงอดอยูมิไดที่จะอยู
เฉย ๆ จึงตองขวนขวายที่จะทําใหผูที่มีเมตตานั้นเกิดความสุขความเจริญตามความหมายของเมตตา
เพราะถามีเมตตาจริงแลวก็อยูเฉย ๆ ไมไดจะตองปฏิบัติทําใหเกิดความเจริญในที่นั้น ๆ ในที่ที่
มีเมตตานั้น เมื่อทรงมีเมตตาอยูในราษฎรจึงตองขวนขวายที่จะเสด็จพระราชดําเนินไปทรงทําใหเกิด
ความสุขความเจริญแกราษฎร ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๒๑๔-๒๑๕.
+ ราชธรรม
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๕ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
อกฺโกธคาถา ๑
๑.ปฐยาวัตร ๒.วังสัฏฐะ
อกฺโกโธ วุจฺจเต โกธ- อปาตุกรณํ อุท อโกธนํ โหหิติ เมตฺตจิตฺตโต
พฺยาปาทนตฺถิตาฺญสฺมึ อกฺโกโธติ ปวุจฺจติ ปสาสกา วา ปมุขาป อิสฺสรา
สเจ โย อปราธสฺส กตฺตุ โหติ ปสาสโก ปสาสิตา ปาตุกโรนฺติ โกธนํ
ทณฺฑํ เอตสฺส โปสสฺส ปเณสฺสติป โกวิโท อิเม ชนา โกธวสํ นิคจฺฉเร
ตสฺส กุพฺพิสฺสตี สพฺพํ ทณฺฑํ เหตฺวานุรูปกํ ๓.อินทรวงศ
น กุพฺพิสฺสติ ตํ โกธ- วเสน คณวาสิโน โน กสฺส เวรํ กริตุภิปตฺถยี
อฺญมฺญมฺป ฆฏเฏนฺติ กฺวจิ เต เจ ติติกฺขิตุ ราชา สเมตฺโตปฏิรูปเหตุนา
น สกฺโกนฺติ สมุปฺปนฺน- โกธา จ เวรพทฺธกา โกธํ น ทสฺเสสิ จ ตํ ติติกฺขิตุ
อุปฺปชฺเชนฺติ มเน โทสํ ตาว กายวเจน จ สกฺขิตฺถ เจตสฺส สหิตฺถ โยนิโส
อฺญมฺญํ ปทูเสนฺติ อายตึ น สุเขธิตา วตฺตํ ยถาวุตฺตมิทํส ราชิโน
ภวนฺติ สุขสํวาสา เต เจ โกธํ ติติกฺขิตุ อกฺโกธนนฺเตว ปวุจฺจตี สตา
สกฺโกนฺติ วา สมุปฺปนฺเน โกเธ วา ตมนตฺถกํ
โกธํ วูปสเมนฺเตเต โกธสฺส วสมคฺคตา
เอวํ สติ วสิสฺสนฺติ สนฺติยา จ สุเขน จ
๔.ปฐยาวัตร
สตฺตมา ปารมี โหติ ปรมา สจฺจปารมี เมตฺตาโวหารโต สพฺพํ สุขํ วา วฑฺฒนํ อุท
อุทฺทิฏโฐ อยมกฺโกโธ ราชธมฺโม ตุ สตฺตโม ชเนตุ พฺยาวโฏ โหติ รฏฐิเกสุ ตุ เมตฺติโก
กิฺจาป พฺยฺชเนเนเต นานา ภวนฺติ เทฺว ปน สฺยามินฺทขตฺติโย เตสํ สุขํ วา วฑฺฒนํ อุท
ปฏิปชฺชนกาลมฺหิ อฺญมฺญสฺส ปจฺจโย ชเนตุ สพฺพฐานานิ พฺยาปาเรน อสฺจรีติ ฯ
อกฺโกธํ เมตฺตจิตฺตํ วา ปฏิปชฺชิตุกามโก
สจฺเจน ปฏิสํยุตฺต- จิตฺโต ภเวยฺย สพฺพธิ
เมตฺตํ จิตฺเต วิรูเหยฺย เอวํ สติ อโกธนํ
สจฺจํ จิตฺเต สมุปฺปชฺเช ยทิ จิตฺเต อโกธนํ
เมตฺตา อุท สมุปฺปชฺเช ทฺวีหิ ธมฺเมหิ ยุตฺตโก
สุขเขมํ สุปตฺเถติ อฺญสฺสตฺถาย ปุคฺคโล
ปติฏฐาเปตุมตฺตานํ ตุณฺหีภาเว น อิจฺฉติ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๖ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

วิริยะเปนบารมีขอที่ ๕ ที่พระโพธิสัตว ไดบําเพ็ญมาเปนอันมากในทศชาติแสดงมหาชนก-


ชาดกในทางเยี่ยมดวยความเพียรมีเรื่องอยูวาพระมหาชนกพระโอรสแหงพระเจามิถิลาตองพลัดถิ่น
ไปประทับในตางประเทศ ตั้งแตทรงอยูในพระครรภของพระมารดามีจิตใจกลาหาญ มีความเพียร
แรงกลาไดขึ้นเรือบรรทุกสินคา ขามมหาสมุทรเพื่อไปสูสุวรรณภูมิ เรือไดถูกคลื่นลมรายแรงอัปปาง
ลง ในทามกลางมหาสมุทรพระมหาชนกไดวายน้ํามุงกรุงมิถิลาโดยไมทอจนถึง วันที่ ๗ เทพธิดา
รักษามหาสมุทรชื่อมณีเมขลาไดผานมาพบ จึงไดตั้งปญหาถามวาเพียรวายน้ําไปเพื่อประโยชนอะไร
ผลสําเร็จคือความตาย พระมหาชนกไดตอบโดยความวาขาพเจาไดตรองเห็นโลกวัตรขอวัตรปฏิบัติ
ของโลกตรองเห็นผลของความพยายามจึงพากเพียรอยูกลางมหาสมุทรทั้งที่ไมเห็นฝงเมื่อเพียรทํา
กิ จ ของบุ รุ ษ ก็ ชื่ อ ว า ไม เ ป น หนี้ ญ าติ ไม เ ป น หนี้ เ ทวดา ไม เ ป น หนี้ ม ารดาบิ ด า ไม ต อ งเดื อ ดร อ น
ในภายหลังคนในโลกนี้ประกอบการงาน สําเร็จบาง ไมสําเร็จบางเห็นกันอยู คนอื่นจมไปแลวก็ตาม
ข า พเจ า จะว า ยข า มต อ ไปข า พเจ า ได เ ห็ น ท า นผู เ ป น เทวดาในที่ ใ กล ก็ จั ก เพี ย รพยายามต อ ไป
ให ถึ ง ฝ ง สมุ ท รเทวธิ ด าได ฟ ง ถ อ ยคํ า ของพระมหาชนกอั น แสดงถึ ง จิ ต ใจที่ ตั้ ง มั่ น ในความเพี ย ร
พยายาของตนเองทํากิจที่บุรุษพึงทําไมทอถอยเพียรไปใหถึงฝงสมุทรเทวดาจึงไดชวยนําพระมหา-
ชนกไปสงถึงมิถิลา
เรื่องนี้พึงเห็นสารคติเปนพิเศษไดวาพระมหาชนกมิไดหวังพึ่งเทวดาแตคิดพึ่งตนเองมาตั้งแต
ตนเมื่อเห็นเรือจะอัปปาง ก็คิดจะเตรียมตนวายน้ําแลวก็เพียรวายน้ํามุงใหถึงฝงใหจงไดตลอดเวลา
หลายวัน เมื่อเทวดามาปรากฏกลาวชักชวนใหทอแทหมดกําลังใจ ก็ไมยอมทิ้งความเพียรคงมีใจ
เขมแข็งมั่นคง มุงเพียรวายน้ําจนกวาจะตายไปกับความเพียรทั้งที่เห็นเทวดาอยูเฉพาะหนาก็ไมขอให
เทวดาชวยตั้งหนาชวยตนดวยตนตอไป เทวดาจึงไดเขาชวยบุคคลเชนนี้เองเรียกวาเปนผูที่เทวดาชวย
คื อ ความเพี ย รนี้ เ องที่ พึ ง เห็ น ว า เป น เทวดาเมื่ อ จั บ ทํ า งานที แ รกมั ก เห็ น ความเพี ย รเป น
ความยากลํา บาก น าเบื่อ หนาย ตอเมื่ อความเพียรไปจนใกลจะสําเร็จ ก็จะเห็นวา ความเพียรนี้
เปน เทวดาขึ้ นมาทันที ลืมความเหนื่ อยยากเพราะเห็ นผลที่ทํา ใหป ลื้มใจอยู เบื้อ งหน าแล วผูที่ เคย
พากเพียร เหนื่อยยากในการงานที่จะอํานวยผลที่ปรารถนาอยางยิ่งเมื่อใกลจะสําเร็จผล ยอมจะรูสึก
เห็ น ดั ง นี้ อ ยู ด ว ยกั น เพราะงานที่ จ ะสํ า เร็ จ ผลแน น อนย อ มมี ท างทะลุ ป รุ โ ปร ง เป น อานิ ส งส
ของความเพี ย รที่ ผุ ด ขึ้ น มาให เ ห็ น ชั ด คนเกี ย จคร า นจะไม มี โ อกาสได เ ห็ น เทวดาคื อ อานิ ส งส
ของความเพียร ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๒๓๓-๒๓๔.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๖ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
วิรยิ ปารมีคาถา
๑.วสันตดิลก ๒.ปฐยาวัตร
ยนฺตํ พหุฺหิ ปริปูรยิ โพธิสตฺโต โพธิสตฺโต อหํ โลก- วตฺตํนุวิจฺจ จุตฺตรึ
ตํ วีริยํ สุคตปฺจมปารมีติ วายามสฺสานิสํสฺจ ทิสฺวา สมุทฺทมชฺฌิเม
สงฺขํ นิคจฺฉติ มหาชนกสฺส วตฺถุ วายมามิ อทิสฺวาป ตีรํ วิริยวา อหํ
ญาตพฺพเมส มิถิลิสฺสรราชปุตฺโต กุพฺพํ ปุริสกิจฺจานิ ญาติเทวานมนฺตเร
นานาวณิชฺชกรณาย สุวณฺณภูมึ อนโณ โหมิ ภจฺจานํ มาตาปตูนมนฺตเร
คนฺตฺวา มหาตรณิยา อุทธิสฺส มชฺเฌ อนโณ โหมิ ตํเหตุ นานุตปฺปามิ ปจฺฉิเม
ภินฺนาย อูมิติขิณปฺปหตาย ตสฺสํ อฺเญ ชนา นิมุชฺชิตฺวา จณฺฑวาริชภกฺขกา
พาหาพเลน อตริตฺถ มหาสมุทฺทํ อเหสุ ตริตุ ตีรํ มโหทธิสฺส อายตึ
ตํ สตฺตมมฺหิ ทิวสมฺหิ สมุทฺทปาลา สมีเป เทวตาภูตํ ตํ ปสฺสํ วายมามิหํ
ทิสฺวา อปุจฺฉิ มณิเมขลเทวธีตา อิจฺเจวํ ปฏิวาทมฺป อทาสิ มณิเมขลา
กึ ตฺวฺจ วายมสิ ตีรมปสฺสมาโน โพธิสตฺตมฺหิ วายาเม สุสมาหิตมานเส
อทฺธา หิ มาณว มริสฺสสิ อนฺตเกติ ปสีทิตฺวา อปาเปสิ โสตฺถินา มิถิลาปุรํ
๓.อินทรวงศ สารคฺคติ หิ ทฏพฺพา เอตฺถาทิโตป เทวตํ
โกสชฺชปตฺตา จ อภิกฺขณํ ชนา นาถํ กาตุมจินฺเตนฺโต มหาชนกมาณโว
กิจฺเจสุ หีนพฺพิริยา จ เทวตา อตฺตานมตฺตโน นาถํ กาตุ จินฺเตสิ เกวลํ
ยา สพฺภิ าตา วิริยานิสํสกา อีทิโส เทวคุตฺโตติ วุจฺจตี วิริยฺจิทํ
ทฏุ ตเมตํ น ลภนฺติ สพฺพโสติ ฯ เทวตา วิย ทฏพฺพํ ชโน กมฺมนฺตการโก
วิริยํ ทุกฺกรํ โหติ อิติ จินฺเตติ ตมฺปน
ยทา สิทฺธิมติปฺปตฺตํ ภวิสฺสติ ตทา ส ตํ
เทวตา โหติ อิจฺเจวํ ปชานาติ ส สมฺมุขา
วิตฺตาวหํ ผลํ ปสฺสํ สพฺพํ กิจฺฉํ ปมุสฺสติ
ชนา กิลนฺตปุพฺพา จ กิจฺเจสุ ทฬฺหวีริยา
นิปฺผตฺตึ คจฺฉมาเนสุ เตสุ กิจฺเจสุ อิฏกํ
ผลํ ตถา ปชานนฺติ อทฺธา หิ สิทฺธิปตฺตกํ
กิจฺจํ กุโต อสชฺชนฺตํ ยถิจฺฉิตํ ปวินฺทติ
วิริยสฺสานิสํโส จ เอเตสํ อุทปาทติ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
+ ตรณี(อิต)-สําเภา,กําปน ฯ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๗ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

ขันติความอดทนความทนทานอยางสามัญมีความอดกลั้นเปนลักษณะเรียกวาอธิวาสนขันติ
ขันติคือความอดกลั้นเชนทนตรากตรําตอความหนาวรอนหิวกระหายเปนตนทนลําบากตอทุกขเวทนา
ในเวลาเจ็บไขไดปวย ทนตอเจ็บใจ ตอถอยคําจาบจวงลวงเกิน เพราะสิ่งที่อดทนเหลานี้ มีเกิดขึ้นอยู
ที่กายใจปรากฏมีหนาวรอนหิวกระหายมีทุกขเวทนามีเจ็บจึงอดกลั้นไวหนาวรอนหิวกระหายก็อดกลั้น
ตามที่ควรอดกลั้นเจ็บปวดก็อดกลั้นไมรองทุรนทุรายเจ็บใจก็อดกลั้นไมแสดงอาการโกรธรายแรง
ทางกายวาจา อดกลั้นใหอยูในใจ และพิจารณาระบายออกทําใหผอนคลายไมใหเครียดใหสงบ
ใจจึ ง แจ ม ใสแช ม ชื่ น กายก็ ส งบเป น ปกติ อ าการดั ง นี้ เ รี ย กว า โสรั จ จะที่ แ ปลว า ความเสงี่ ย มคื อ
ความสงบปกติขันติที่สมบูรณจึงต องมีโสรัจจะประกอบอยูดวย การหัดอดกลั้นและทําใจใหสงบ
เปนปกติในเวลาถูกต องอนิฏฐารมณ คือเรื่ องที่ ไมชอบยอมยากในตอนแรก แต เมื่อ หัดปฏิ บัติไ ป
บอยเขาก็จะงายขึ้นจนถึงทําจิตใหสงบเปนปกติไดมีอาการมั่นคงมีอารมณอะไรมากระทบกระทั่ง
ก็ไมกระเทือนขันติก็เลื่อนขึ้นเปนมีความทนทานเปนลักษณะเรียกวาตีติกขาขันติคือความทนทาน
ดังที่ตรัสไวในโอวาทปาฏิโมกขวา ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา ขันติคือความทนทานเปนตบะอยางยิ่ง
ขันติเปนอลังการวิเศษ อํานวยผลแกผูที่มีอยูทุกคน เพราะผูที่มีจิตเขมแข็งอดทนสงบเปน
ปกติท นทานไดทุ กสถานการณ ย อมชื่อ วา ไดที่ ตั้ง มั่น อั นมั่ นคง เปน ผูช นะในชั้ นที่ ตั้ง รั บแลว ทํา ให
สามารถปฏิบัติกิจหนาทีใ่ หสําเร็จ
ขันติเปนบารมีขอที่ ๖ ที่พระโพธิสัตวไดบําเพ็ญมาเปนอันมาก ในทศชาติแสดงจันทกุมาร-
ชาดกในทางเยี่ยมดวยขันติ มีเรื่องยอวา พระจันทกุมารโอรสพระเจากรุงปุปผวดีทรงตั้งอยูในธรรม
ทรงวินิจฉัยคดีโดยธรรมเปนเหตุใหขัดผลประโยชนของปุโรหิตผูไรยุติธรรมปุโรหิตจึงหาเหตุกลั่น
แกลง จนถึงใหเตรียมการเผาพระกุมารบูชายัญ พระจันทกุมารไดทรงมีขันติตลอดมา แมจะตอง
ถูกเผาบูชายัญก็ไมทรงสยบใหอธรรม ประชาชนไดประจักษในความอดทนสละไดของพระกุมาร
เพื่อรักษาธรรม เพื่อประโยชนสุขของประชาชนจึงพรอมกันชวยพระกุมารไว
ขันติบารมี ของพระโพธิสัตวแบงออกเปน ๓ ชั้นคือ
ขั น ติ บ ารมี ไ ด แ ก ขั น ติ ที่ บํ า เพ็ ญ ด ว ยมุ ง หวั ง พระโพธิ ญ าณเป น เบื้ อ งหน า รั ก ขั น ติ
เพื่อพระโพธิญาณยิ่งกวาคนที่รักและทรัพยสิน
ขั น ติ อุ ป บารมี ไ ด แ ก ขั น ติ ที่ บํ า เพ็ ญ ด ว ยมุ ง หวั ง พระโพธิ ญ าณเป น เบื้ อ งหน า รั ก ขั น ติ
เพื่อพระโพธิญาณยิ่งกวาอวัยวะรางกายของตน
ขั น ติ ป รมั ต ถบารมี ไ ด แ ก ขั น ติ ที่ บํ า เพ็ ญ ด ว ยมุ ง หวั ง พระโพธิ ญ าณเป น เบื้ อ งหน า รั ก ขั น ติ
เพื่อพระโพธิญาณยิ่งกวาชีวิตของตน ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๒๓๔-๒๓๕.
+ ราชธรรม,เนื้อหาดีมาก
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๗ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
ขนฺตคิ าถา ๑
๑.ปฐยาวัตร ๒.อินทรวิเชียร
ยา ขนฺติ ทุกฺขธมฺมานํ อธิวาสนลกฺขณา สา ขนฺติ ยสฺสตฺถิ วิจกฺขโณ โส
อธิวาสนขนฺตีติ เอสา วุจฺจติ ยานิป อิฏฐํ หิตํ วินฺทติ ขนฺติจิตฺโต
สีตุณฺหฺจ ชิฆจฺฉา จ ปปาสา โรคพฺยาธิ จ โปโส หิ นานาวิธทุกฺขธมฺเม
เคลฺฺจาติวากฺยฺจ อเหสุ ขนฺติเกน เต สพฺเพ อนิฏเฐป ติติกฺขมาโน
ทุกฺขธมฺมา อกิจฺเฉน ติติกฺขิยนฺติ เต ยทา ตํขนฺติยา ถาวรนาถลทฺโธ
กายสฺมิฺจ มนสฺมิฺจ สมุปฺปชฺชนฺติ สพฺพโส กิจฺจานิ นิปฺผาทยตี นิพทฺธํ
สกฺโกติ สหิตุ เตสํ ตทา ขนฺติสมปฺปโต ๓.อินทรวงศ
ขตฺติยุตฺโต ส กาเยน วาจาย วา อนตฺถกํ สา โพธิสตฺตกฺกตฉฏปารมี
จณฺฑํ โกธํ อทสฺเสตฺวา อนฺโตเจตสิ ตํ กรํ อกฺขายเต จนฺทกุมารชาตกํ
โยนิโส สมฺมสิตฺวาน อสฺสาสมตฺตโน กรํ ปุตฺโต สุทํ ปุปฺผวตินฺทราชิโน
สกํ เจโต อวิกฺขิตฺตํ อุปสนฺตฺจ กุพฺพติ ธมฺเมน อฏฏํ สุวินิจฺฉินาติ โส
ตปฺปจฺจยาสฺส โปสสฺส หทยํ วิปฺปสีทติ ยฺญสฺส ปูชนตฺถาย ฌาเปตุ ตํ กุมารกํ
กาโย สมฺมติ อากาโร โสรจฺจํ นาม อีทิโส สชฺชาเปสิ กุมาโร ตุ อโหสิ ขตฺติยุตฺตโก
โสรจฺจปฏิสํยุตฺต- ตาย สมฺปุณฺณกา สิยา ตปฺปจฺจยา ปชา สพฺพา กุมารกํ อนิตฺถริ
เอสา ขนฺติ อนิฏนฺตุ หทยํ ผุสตี ยทา สา ขนฺติ โพธิสตฺตสฺส ปฐมา ขนฺตปิ ารมี
สหนํ สมฺมนฺจาโท ตทา ภวติ ทุกฺกรํ ทุติยา จ ขนฺตอิ ปุ - ปารมี ตติยา อถ
เอตนฺตุ ปคุณํ กตฺวา ปุนปฺปุนมฺป ปูริตํ ขนฺตปิ รมตฺถปารมี อิจฺเจวํ โหติ ติพฺพิธาติ ฯ
สุกรํ โหติ ยาวตฺต- จิตฺตูปสมฺมนา อยํ
ตาที หุตฺวา อนิฏเน อารมฺมเณน หฺโ ต
น สมิฺชติ ตสฺมาสฺส ขนฺตี สหนลกฺขณา
ตีติกฺขาขนฺติ อิจฺเจวํ ปณฺฑิเตน ปวุจฺจติ
โอวาทปาฏิโมกฺเข ตุ สา ขนฺตี ปรมํ ตโป
ตีตกิ ขฺ าติ มุนินฺเทน ภิกฺขุสงฺฆสฺส เทสิตา
๔.ปฐยาวัตร
ตสฺมา ลาภํ วิโลเมสิ อธมฺมฏฐสฺส ชมฺมโก
ปุโรหิโต อธมฺมฏโฐ ตสฺส รฺโญ มุสาวโจ
อาโรเจสิ นรินฺโท ตุ โอกปฺเปนฺโต มุสาวเจ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๘ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

มัททวะ แปลวาความออนโยนคือความเปนผูมีอัธยาศัยออนโยนไมดื้อดึงถือตนดวยอํานาจ
ถัม ภะ ( ดื้ อดุ จ เสา ) มี ค วามออ นโยนไปตามเหตุ ผลตามความสมควรดัง ที่ เรี ย กว า การณวสิ ก
เปนไปตามอํานาจแหงเหตุที่ควรดําเนินและมีสัมมาคารวะตอทานผูใหญผูเจริญออนโยนตอบุคคล
ที่ เ สมอกั น และต่ํ า กว า วางตนสม่ํ า เสมอไม ก ระด า งดู ห มิ่ น ผู อื่ น ด ว ยอํ า นาจมานะ เพราะชาติ
เพราะโคตร เพราะยศ เพราะทรัพยเปนตน
ขอที่พระมหากษัตริยาธิราชเจาทรงมีพระราชอัธยาศัยออนโยนเมื่อมีผูกราบทูลดวยขออรรถ
ขอธรรมที่กอปรดวยเหตุผล ซึ่งเปนวิสัยของบัณฑิตชน มิไดทรงหามปรามทรงวิจารณโดยถวนถี่
ถาดีชอบก็ทรงอนุโมทนาอนุวัตรตาม ไมทรงถีอพระองค ดวยอํานาจมานะทรงสัมมาคารวะออนนอม
แกผูเจริญ โดยวัย โดยคุณ ไมทรงดูหมิ่น จัดเปนมัททวะ
บารมีขอที่ ๕ คือวิริยะกับทศพิธราชธรรมขอที่ ๕ คือมัททวะความออนโยน ดูถอยคําตาง
ความหมายกันแตเมื่อพิจารณาจากหลายพระสูตรจะพบวามีความเนื่องกันอยูในประการที่สําคัญ
ยกตัวอยางในกันทรกสูตรแสดงวา จิตที่ตั้งมั่นเปนสมาธิแลวบริสุทธิ์ผองแผว ไมมีเนิน ปราศจาก
อุปกิเลส เปนจิตออน ควรแกการงาน ตั้งอยูถึงความไมหวั่นไหวออนนอมไป เพื่อญาณปรีชาซึ่งเปน
อภิ ญญาชั้น สู งได คื อ จิต ที่ ควรแก ก ารงาน คือ ปฏิบั ติ เพื่ อ ญาณปรี ช าได จะต องเปน จิ ตที่ มี สมาธิ
มี ลั ก ษณะอ อ น ใช คํ า ว า มุ ทุ ภู ต ะ เป น จิ ต อ อ น เมื่ อ พิ จ ารณาดู ก็ จ ะเห็ น ว า จิ ต ที่ ไ ม มี ส มาธิ
เปนจิตกระดางดวยอํานาจนิวรณคือกิเลสที่เกิดขึ้นกลุมรุมอยูในจิตทําจิตใหกลัดกลุมวุนวาย ไมอาจ
ใชจิตเชนนี้ทํางาน ไมอาจนอมไปเพื่อพิจารณาเพื่อปญญาได เปนอันวาใชความเพียรไมได ไมมีกําลัง
ที่จะตั้งความเพีย รจึง ชื่อว าไม ควรแกก ารงาน ตอเมื่อจิ ตเป นสมาธิจึ งควรแก การงานคือควรตั้ ง
ความเพียรทํางานได เพราะเปนจิตออนโอน เรียกวายอมใหนอมไปทํางานแมในการทํางานทั่วไป
ดวยความเพียร จิตก็ตองออนยอมใหนอมไปเพื่อตั้งความเพียรทํางานนั้น เพียรเพื่อทําอะไรใหสําเร็จ
จึงตองมีความออนโยนยินยอมพอใจของจิตประกอบอยูดวย ในธานุวภังคสูตร แสดงอุปมาที่ทําให
เห็ น ได ง ายขึ้ น ว า เปรี ย บเหมื อ นช า งทองสุ ม ทองในเบ า คือ ตั้ ง ความความเพีย รสุ ม ทองก็ ต อ งใช
ความเพียรใหพอดีมิใหมากไปนอยไปพอดีบางคราวก็ตองสูบลมใหแรง บางคราวก็ตองพรมน้ําใหไฟ
ลดลง เพื่อใหทองละลายใหพอดี ทองจึงออนเหลวควรแกการงานผุดผองไดที่ จึงเททองที่เหลวไดที่
ทําทองรู ปพรรณตาง ๆ ได ตามปรารถนา วิ ริยะและมัท วะ ความอ อนโยน จึง ตองประกอบไป
ดวยกันดังนี้ ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๒๓๖-๒๓๗.
+ ราชธรรม,ควรดูเปนพิเศษ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๘ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
มทฺทวคาถา
๑.ปฐยาวัตร ๒.อินทรวิเชียร
มทฺทวํ สพฺภิ ญาตพฺพํ มุทุชฺฌาสยตา อุท ราชา มุทุชฺฌาสยยุตฺตจิตฺโต
มานสฺส นตฺถิตา ถมฺภ- วเสน อุท เหตุนา อาโรจิเต เกนจิ ธมฺมวาเท
มุทุจิตฺเตน วา ยุตฺต- ตา กุเลเชฏฐกสฺส วา เนตํ นิวาเรติ สเจ ส โหเต
สมฺมาคารวกิจฺจมฺป สมานหีนกสฺส วา กลฺยาณภูโต อนุวตฺตตี ตํ
มุทุตา ชาติอาทีหิ อฺเญสํนาวมฺญนา ๓.อินทรวงศ
สพฺพํ กิจฺจํ ยถาวุตฺตํ มทฺทวนฺติ ปวุจฺจติ โส นาติมานี ภวตี วยาทินา
๔.ปฐยาวัตร เชฏฐาน โข คารวธมฺมปุณฺณโก
ปฺจมา ปารมีเตฺวว ปวุจฺจติ จ วีริยํ โหเต จ เตสํ อวมฺญนารโต
ปฺจโม ราชธมฺโมติ ปวุจฺจติ จ มทฺทวํ สพฺพมฺป ตํ วุจฺจติ มทฺทวํ สตา
กิฺจาป พฺยฺชเนเนเต นานา ภวนฺติ เทฺว ปน โอหารยติ อคฺคึ โส ตสฺมา หิ มุทุภูตกํ
เอกพทฺธาตฺถโต โหนฺติ ทฏฐพฺพา อุปมา อิธ กมฺมนียฺจ โหเต ตํ กมฺมาโร สิปฺปโกวิโท
สมฺมา สมาหิตํ จิตฺตํ สมาธิยติ เกวลํ ตํ มุทุ ปตตาเปตฺวา นานารูปมฺป วีกตึ
สุทฺธฺจ มุทุภูตฺจ กมฺมนียฺจ สพฺพธิ กาตุ เหเมน สกฺโกติ ยถิจฺฉิตํ ตถา อิติ
โหติ อาเนฺชปตฺตฺจ อภิฺญาย ตมีทิสํ วีริยํ มทฺทวฺเจว โยเชตพฺพานิ เอกโตติ ฯ
อภินีหรตี โยคี ยํ จิตฺตํ อสมาหิตํ
เอตํ โอฬาริกํ โหติ อกมฺมนิยภูตกํ
ตสฺมา โยคี อภิฺญาย อภินีหริตุมีทิสํ
น สกฺโกติ ยทา จิตฺตํ มุทุ กมฺมนิยํ ภเว
ตทา โยคี อภิฺญาย สมฺมาภินีหเรยฺย ตํ
ธานุวภงฺคสุตฺตสฺมึ อุปมาทานิ วุจฺจเต
ยถา หิ เหมมุกฺกายํ กรํ กมฺมารปุคฺคโล
วีริเยน กโรตี ตํ โส วีริยํ ปโหนกํ
อพหุ วา อนปฺป วา ฐเปติ วาตเมกทา
พลวนฺตํ ปกุพฺพิตฺวา ธมตี เหมเมกทา
อุเทน ปริโผเสตฺวา เหมํ มุทุ ปกุพฺพิตุ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
+ อุกฺกา(อิต) เบา,ที่หลอมโลหะ,ธมติ-เปา,สูบ, อคฺคึ โอหารยติ ยังไฟใหลด ฯ
+ กมฺมาร-ชางทอง,คนถลุงโลหะ, วิกติ(อิต) การทําใหแปลก,การทําใหเปนตาง ๆ ฯ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๙ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

สมเด็ จ พระธรรมิ ศ รก็ ท รงสรรเสริ ญ จตุ ร งคมหาปธานคื อ ความเพี ย รอย า งใหญ ไ ม เ ห็ น


แกองคาพยพ ๔ แสดงโดยพระบาลีวา
กามํ ตโจ นหารู จ อฏฐิ จ อวสิสฺสตุ
เปนตนความวา เลือดเนื้อในกายของเราแหงเหือดไปเถิด จงเหลืออยูแตหนัง เอ็น กระดูก ก็ตามที
ผลอันใดจะพึงไดดวยเรี่ยวแรงของบุรุษ ดวยความบากบั่นของบุรุษยังไมถึงผลนั้นแลว แลจักหยุด
เพียรเสียจักเปนอันไมม.ี
แมสมเด็จพระชินสีหไดตรัสรูเปนพระสัพพัญูสัมมาสัมพุทธเจาเปนเอกอัครในโลกก็เพราะ
อาศัยความเพียรตั้งแตเสด็จออกมหาภิเนษกรมณไดทรงอบรมวิริยะบําเพ็ญทุกรกิริยาถึง ๖ ป
ทรงแสวงหาพระปญญาตรัสรู ในวิธีตาง ๆ ในที่สุด ก็ไดบรรลุในทางทําจิตใหบริสุทธิ์พระราชามหา
กษัตริยจะมีพระอิสริยยศเดชานุภาพยิ่งใหญเปนพระเจาจักรพรรดิราชทรงปกครองปฐพีมณฑลมี
ประเทศราชอยูใตพระบารมีก็ตองอาศัยพระวิริยะภาพบากบั่นหมั่นทรงบําเพ็ญจักรพรรดิวัตรทรงทํานุ
บํารุงรัฐพระราชอาณาจักรสีมามณฑลแลประชาชนพลพาหนะ ใหพรอมพรั่ง ตั้งพระองคอยูในไตรพิธ
สุจ ริ ต ทศพิ ธ ราชธรรมจริ ย าวั ต ร ความเพี ย รเป น องคะสมบั ติ ข องอุ ด มบุ รุ ษ ฉะนี้ ท า นจึ ง จั ด เป น
พระบารมีของพระพุทธเจาประการหนึ่ง โดยศาสนโวหารวาวิริยบารมี ในพระบารมี ๑๐ ทัศและ
จัดเปนราชธรรม ของพระราชามหากษัตริยประการหนึ่ง โดยธรรมโวหารวา ตโป ในทศพิธราชธรรม
พระสัมมาสัมพุทธเจาไดตรัสรูแลว ก็ยังทรงอุตสาหะ เสด็จเที่ยวจาริกไปแสดงธรรมโปรดเวไนยนิกร
เปนสวนปรหิตปฏิบัติคือทรงประพฤติเกื้อกูลแกผูอื่นเปนพุทธกิจสวนสัตตูปการสัมปทา พระราชา
มหากษั ต ริ ย ผู ไ ด มุ ร ธาภิ เ ษกแล ว ก็ ท รงประกอบพระวิ ริ ย ะภาพในราชกรณี ย ะเพื่ อ ประโยชน
ดุจเดียวกันใหเจริญรุงเรืองทันสมัยอยูเปนนิตย
สมเด็ จ บรมบพิ ต รพระราชสมภารเจ า ทรงพระอุ ต สาหะในอั น ทรงบํ า เพ็ ญ ราชธรรมแล
ทรงบํ า รุ ง สยามรั ฐ สี ม ามณฑลอั น เวิ้ ง ว า งยากที่ จ ะลุ ถึ ง ที่ สุ ด ก็ ดุ จ เดี ย วกั บ พระมหาชนก
เมื่อตกมหาสมุ ทรพยายามวา ยกระแสชลอยู ในหวงมหาสาครไมแ ลเห็นฝ งถึงดัง นั้นก็ไม มีทอแท
ด ว ยกํ า ลั ง วิ ริ ย บารมี น างมณี เ มขลามี ก รุ ณ ามาช ว ย ซึ่ ง ได แ ก ค วามสํ า เร็ จ ตามมุ ง หมายเป น ผล
แหงความเพียรแลแกลวกลาเปนอยางดีพระคุณขอนี้นับวาวิริยะสมบัติเปนพระศุภสิริสวัสดิ์อุดม
มงคลอันมหาประเสริฐบังเกิดมีในสมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจานั้น ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๒๗๔-๒๗๕.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๙ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
วิรยิ านิสสํ คาถา
๑.ปฐยาวัตร ๒.อินทรวิเชียร
อนเปกฺขิย องฺคานิ มหาปธานวีริยํ มุทฺธาภิสิตฺโต วิริเยน ยุตฺโต
กามํ ตโจ นหารู จ อฏฐิ จ อวสิสสฺ ตุ ราชาป อตฺถาย ปชาย กิจฺจํ
อวสฺสสุ สฺ ตุ เม สรีเร สพฺพนฺตํ มํสโลหิตํ ปูเรสิ รฏฐํ อภิวุฑฺฒิปตฺตํ
ยนฺตํ ปุริสถาเมน ปตฺตพฺพํ โหติ ตํ ผลํ อชฺชตฺตนฺเจว อกาสิ นิจฺจํ
อปตฺวาน น สณฺฐานํ วีริยสฺส ภวิสฺสติ ๓.อินทรวงศ
อิจเฺ จวํ วณฺณิตํ โหติ ธมฺมิสฺสเรน สตฺถุนา สฺยามินฺทราชา วิริเยน ราชิโน
สมฺมาวิริยมาคมฺม ชินสีโหป อุตฺตมํ ธมฺเม อปูเรสิ มหาวิสาลกํ
โพธิญาณํธิคจฺฉิตฺวา อโหสิ เอกปุคฺคโล สฺยามปฺปเทสํ อุปถมฺภิ จุตฺตรึ
เอโส สุทํภินิกฺขมฺม ทฬฺหํ วาสิตวีริโย สฺยามานมตฺถาย ชนาน สพฺพทา
ทุกฺกรํ กิริยํ กตฺวา ฉ วสฺสานิ อนุตฺตรํ ๔.ปฐยาวัตร
โพธิญาณํ คเวสนฺโต ปริยนฺเต คุณุตฺตมํ เตน สฺยามินฺทราเชน ปริปูริตวีริยํ
สจิตฺตปริโยทปน- วิธานํ อธิคจฺฉติ โย มหาชนโก โอเฆ สมุทฺทสฺส ฐิโต สกํ
มหาเตชานุภาโว ตุ ขตฺติโยคมฺม วีริยํ วิริยํคมฺม ตีรมฺป อปสฺสํ วายมิตฺถ จ
ปรกฺกโม สกํ จกฺก- วตฺติวตฺตํ ปกุพฺพิย เมขลาปาปโต ตีรํ อโหสิ อถ โสตฺถินา
ปสาเส ราชธมฺเมน รฏฐฺจ รฏฐิเก อถ วิริเยน สมํ โหติ เอตสฺส สิริมงฺคลํ
ปุณฺณกิจฺเจน สชฺเชยฺย พลกายฺจ วาหนํ วีริยํ ตสฺมิ สฺยามินฺท- ราชสฺมึ สุปติฏฐิตนฺติ ฯ
ปติฏฐาเปยฺย อตฺตานํ ราชธมฺเมสุ สพฺพโส
อุตฺตมปฺปุริสสฺสงฺค- สมฺปตฺติภูตกํ อิติ
วิริยํ โลกนาถสฺส อคฺคา วิริยปารมี
อิติ วุจฺจติ ตํ เอโก ราชธมฺโม วโร อิติ
สงฺขํ คตํ ตโปเตฺวว ปณฺฑิเตน ปวุจฺจติ
สมฺโพธิญาณปตฺโต ตุ มหุสฺสาโห ตถาคโต
ธมฺมํ ปชาย เทเสตุ ฐาเนสุ จาริกฺจรํ
สพฺพทา ปริปูเรสิ สตฺตูปการสมฺปทํ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
+ (คาถา) กามํ ตโจ นหารู จ ฯเปฯ มงคลทีปนี ๒ / หนา ๓๘๔ พุทธพจนนักเรียนควรทองไว ฯ
+ อชฺชตฺตน-ใหม,สําหรับปจจุบัน,ทันสมัย ฯ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๐ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

เมื่อประชาชนทุกจําพวกไดรับทํานุบํารุงใหมีกําลังเลี้ยงตนไดแลวประเทศยอมสงบราบคาบ
จากโจรภัย.มีเรื่องเลาวา พระเจามหาวิชิตราชทรงพระราชดําริจะระงับโจรผูรายในพระราชอาณาเขต
ทรงพระสั น นิ ษ ฐานตามคํ า พราหมณ ปุ โ รหิ ต ว า แต ลํ า พั ง จั บ มาลงพระราชอาชญา ไม ส ามารถ
จะระงับใหราบคาบไดเพราะโจรที่จับไดนั้นเปนแตลางรายโจรที่เหลืออยูยังเบียบเบียนคนทั้งหลายได
ตอไปอีก พระองคทรงตั้งอยูในพระราโชบายทรงสงเคราะหชนชาวนาดวยพันธุพืชขาวปลูกแลเครื่อง
อุปกรณสําหรับกสิกรรม ทรงอุปถัมภพวกพาณิชยดวยทรัพยเปนตนทุน ทรงอุดหนุนราชบุรุษดวยเบี้ย
เลี้ยงแลเบี้ยหวัดใหมีกําลังเลี้ยงตนแลขวนขวายในการทํางาน พวกชาวนาแลพวกประกอบพาณิชย-
กรรมมีทางหาเลี้ยงชีวิต ยอมไมประพฤติทุจริตทางโจรกรรม พวกราชบุรุษไดรับอุปถัมภพอเพียงแลว
ยอมประพฤติธรรมในหนาที่ ไมเห็นแกทรัพยอัน จะพึงไดโดยทางไมชอบรัฐชนบทก็ประกอบดว ย
ความสงบราบคาบปราศจากโจรผูราย คนทั้งหลายตางขวนขวายในกิจของตน ๆ เต็มใจแบงผลถวาย
เปนราชพลีเพิ่มพูนทวีพระราชทรัพยขึ้นอีกมากมายทั้งไดความสุขกายเบิกบานใจ ยังบุตรใหฟอนที่อก
ไมตองตื่นตระหนกสะดุงหวาดเสียวอยูดวยความวางใจ นี้รัฐสมบัติเรียกวา นิรคฺคลํ คือสถานที่ราบ
คาบปราศจากโจรภั ย ราวกั บ ไม ต อ งลงลิ่ ม ประตู เ รื อ น.ในจั ก รพรรดิ วั ต รจํ า แนกประเภทชน
ที่พ ระมหากษั ต ริย จ ะพึ งทํ า นุบํ ารุ ง ไว เ ปน เหล า ๆ คื อ อั นโตชนคนภายในราชสํา นั ก ๑ พลกาย
กองเสนา ๑ กษัตริยเจาพระนครอื่น ๑ พระราชวงศานุวงศ ๑ พราหมณผูคฤหบดีราษฏรชาวชนบท
๑ พราหมณผูสมณะ ๑
พระมหากษัตริยเจาปฐพีทรงพระปรีชามีพระกรุณาทรงสงเคราะหคนทั้งหลายดวยอุบายนั้น ๆ
ย อ มทรงสามารถยึ ด เหนี่ ย วน้ํ า ใจไว ไ ด ใ นสามั ค คี ธ รรมได อ าศั ย แลเป น กํ า ลั ง ป อ งกั น แลบํ า รุ ง
พระราชอาณาจักรใหเกษมสถาพร. แลพระเจาแผนดินนั้นเหมือนดวงศศิธรอันปรากฎแกประชุมชน
ตางคนตางหวังพระราชานุเคราะหพระองคตองทรงพระปรีชาญาณในอันพระราชทานใหเหมาะแล
ทั่วถึงไมเชนนั้นก็จะพึงยังอรดีคือความริษยาใหเกิดในหมูชนเสียผลในทางรักษาสามัคคี. สังคหะ
ที่พระเจามรุธ าภิษิต ราชทรงบําเพ็ ญยอมเปนอุบ ายประกอบชั กนําให เกิดสามัคคีธ รรมเป นกําลั ง
แหงพระราชอาณาจักร ฯ
**อนึ่ง เนื่องดวยฤดูฝนไมเปนปกติ ลางแหงตกมากเกินพอดีบาง ลางแหงตกนอยไมพอ
ตองการบาง ขาวกลาที่หวานแลวเสียเพราะน้ําทวมบาง เพราะขาดน้ําเลี้ยงบาง การทํานาไมไดผล
ไพบูลย เปนเหตุลําบากแหงคนยากจนผูอาศัยผลแหงการอื่นเปนอยูแมแหงชาวนาเอง.สมเด็จบรม
บพิตรพระราชสมภารเจาจะทรงปลดความลําบากของประชาราษฏรดวยพระมหากรุณาไดมีพระบรม
ราชโองการโปรดเกลาฯ ใหจัดซื้อขาวสงไปเจือจานแกราษฏรในตําบลที่อัตคัด ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๓๑๔-๓๑๕.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๐ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
รฏฐาภิปาลโนปายคาถา ๑
๒.ปฐยาวัตร ๑.อินทรวิเชียร
มหาวิชิตราชสฺส วตฺถุเมตฺถ นิทสฺสนํ ยสฺมา อุปตฺถมฺภนกิจฺจลทฺธา
ภเวยฺย โส สุทํ รฏเฐ โจเร ธํเสตุกามโก สพฺพา ปชา โปสิตุมตฺตชีวํ
ปุโรหิเตน ตุมฺเห เจ เอกจฺจํ โจรกกฺขฬํ สกฺโกติ ตสฺมา ชนตาย รฏฐํ
คเหตฺวาสฺส ปเณยฺยาถ ทณฺฑํ โจเร ปมทฺทิตุ โจรพฺภยา สมฺมติ ทีฆรตฺตํ
น สกฺเขยฺยาถ เสสา หิ ชเน ปุน วิหึสเร ๓.อินทรวงศ
อิจฺเจวํ อตฺตโน วุตฺต- ธมฺมิโกปายยุตฺตโก ตํเหตุ รฏฐํ อุปสมฺมตี ปชา
อโหสิ ธมฺมิโก ราชา ราโชปาเย ปติฏฐิโต กิจฺเจ ตุ พฺยาปารปยุตฺตกา สเก
เอเต ธฺเญน สงฺคณฺหิ เย เต กสฺสกภูตกา เทตี หเว ราชพลิฺจ ปติยา
เต ปาภเตน สงฺคณฺหิ เย เต วาณิชภูตกา รฏฐสฺส ภิยฺโย อนุพฺรูหตี ธนํ
เย ราชปุริสา โหนฺติ เวตฺตเนน สเมน เต จนฺทเลขูปโม รฎฐ- วาสีนํ โหติ ขตฺติโย
อุปตฺถมฺเภสิ ตํเหตุ เต กสฺสกา จ วาณิชา อาสึสนฺติ อนุคฺคณฺหํ เต วิจกฺขณตาย ตุ
ชีวสฺส ยาปนตฺถาย ลทฺโธปายา น โจริกํ ตํ ทเทยฺย ส ภูปาโล เอวํ อสติ เกวลํ
กมฺมํ จรนฺติ ลทฺธา ตุ อุปตฺถมฺภํ ปโหนกํ ชเนยฺย อรตึ เตสํ ธมฺมิโก กตสงฺคโห
เต ราชปุริสา ธมฺมํ กิจฺเจ จรนฺติ สพฺพโส อาณาจกฺกพลนฺเตฺวว ปณฺฑิเตน ปวุจฺจติ
๔.ปฐยาวัตร **อโถปากติกํ วสฺสํ พหุ กตฺถจิ วสฺสติ
ราชานุคฺคณฺหมาคมฺม วสิตฺวา สุขเขมโต กตฺถจี วสฺสตี อปฺป วปตํ ตุ ตหึ ตหึ
รฏฐิกา ฆรทฺวาเรสุ อคฺคลานํ อภาวโต สสฺสํ นสฺสติ ตสฺมา หิ น ผลํ กสิกมฺมุโน
วิชาตมาตุยา ปุตฺโต อุเร นจฺจาปโต วิย วิปุลํ โหติ ตํเหตุ ทุคฺคตา กสิกมฺมุโน
อเหสุ สุขสํวาสา อสฺสาเทน อฉมฺภิโน ผลํ นิสฺสาย ทุกฺขนฺติ ตาทิสา โหนฺติ กสฺสกา
อยํ รฏฐสฺส สมฺปตฺติ นิรคฺคลนฺติ วุจฺจติ ตสฺมา วิจกฺขโณ ราชา ทุกฺขสฺมา รฏฐิเก ชเน
ขตฺติเยน สุทํ จกฺก- วตฺติวตฺตมฺหิ เย ชนา โมจาเปตุ สมิจฺฉนฺโต นิคเม ยมฺหิ ทุคฺคตา
โปสิตพฺพาตฺถิ เอเตสํ ปเภทสํวิภาชนํ ชนา อตฺถิ กยิตฺวาน ธฺญานิ ตมฺหิ ชีวตํ
สพฺภิ อนฺโตชโนตฺยาทิ เวทิตพฺพํ วิจกฺขโณ เตสํ นิตฺถรณตฺถาย อุยฺโยชาเปติ สพฺพทาติ ฯ
ตํตํอุปายโส สมฺมา สงฺคณฺหํ รฏฐิเก ชเน
ราชา สกฺโกติ สามคฺคิ- ธมฺมสฺมึ ปาสิตุ มโน
เต นิสฺสาย สุโคเปติ อาณาจกฺกฺจ ถาวรํ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๑ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

สมเด็จ พระบรมศาสดาจะแสดงการบํา รุง สหกรณ อันเปน รัฐ ปศาสนนัย ครั้ งโบราณกาล


ไดตรัสเทศนาถึงเรื่องพระเจามหาวิชิตราชในกูฏทันตสูตรทีฆนิกายสีลวรรคมีใจความวา พระเจา-
มหาวิ ชิ ต ราชดํ า เนิ น พระราโชบายเพื่ อ จะระงั บ การเบี ย ดเบี ย นกั น และกั น อั น เป น เสี้ ย นหนาม
แห ง แผ น ดิ น กล า วคื อ เป น อุ ป สั ค แห ง สหกรณ ชนจํ า พวกใดขวนขวายในการทํ า นาแลเลี้ ย งโค
ก็พระราชทานพันธุขาวปลูก แกคนจําพวกนั้น ชนพวกใดขวนขวายในการคา ก็พระราชทานตนทุน
แก ช นจํ าพวกนั้ น เป น การเพิ่ ม กํ า ลั ง ชนจํ า พวกใดทํ าราชการ ก็ พ ระราชทานเบี้ ย เลี้ ย งเบี้ ย หวั ด
แกชนจําพวกนั้น ชนเหลานั้นตางขวนขวายในการของตน ๆ ยอมไมประทุษรายกัน พระราชทรัพย
เก็ บ ได เ ป น ราชพลี มี จํ า นวนเป น กองใหญ พ ระราชอาณาจั ก รเป น สุ ข เกษมสิ้ น เสี้ ย นหนาม
หาความเบียดเบียนกันมิได ประชาราษฎรชื่นบาน ยังบุตรใหฟอนอยูที่อก อยูราวกับมี ประตูเรือน
ไมไดลงลิ่ม .บุคคลหรือคณะผูนับเนื่องในสหกรณ ปลีกตัวเสียไมทํางานพรักพรอมกันยอมเปนเชน
แหงโกฎฐาสสรีระอันหยุดไมทํา หนาที่ หรือทําบกพรองจัดวาเปนโรคเกิดขึ้นในสหกรณนั้นเชนกับโรค
เกิดขึ้นในสรีระยอมทอนกําลังหรือนําไปถึงความพินาศดุจเดียวกัน เชนโบราณราชธานีกรุงศรีอยุธยา
ขาดสหกรณ แ ห ง ข า ราชการฝ า ยทหารพลเรื อ นจึ ง เสี ย ที แ ก พ ม า ข า ศึ ก ส ว นกรุ ง เทพมหานคร
อมรรัตนโกสินทรนี้พรอมมูลดวยสหกรณจึงบริบูรณสมบูรณเจริญรุงเรือง ตั้งมั่นคงมาไดจบตราบเทา
ทุกวันนี้ ฯ
ในฝายคดีธรรม สหกรณเปนกิจอันจําเปนปรารถนาดุจเดียวกัน.การประพฤติสุจริตไมครบ
ไตรทวารยอมไมเปนประโยชนเต็มที่ การเห็นอริยะสัจ ๔ อันทานจัดเปนโลกุตระก็เพราะประกอบ
ด ว ยสหกรณ แ ห ง กิ จ ทั้ ง ๔ คื อ เห็ น ทุ ก ข ๑ละสมุ ทั ย ๑ทํ า ให แ จ ง นิ โ รธ ๑แลยั ง มรรคให เ กิ ด ๑
พรอมในขณะเดียวกัน. แมผูประพฤติธรรมก็จําปรารถนาสหกรณแหงผูอื่นดวยไมอยางนั้นยากที่จะได
ตลอด ถาอยางยิ่งหรือหยอนไปความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันจักไมมีเพราะอยางนี้สมเด็จพระผูมี-
พระภาคจึงไดทรงบัญญัติสิกขาบทขึ้นตามอัตถุปปติเหตุเพื่อเปนบรรทัดแหงความประพฤติของภิกษุ
ทั้งหลาย ดวยทรงหมายจะใหตั้งอยูในสีลสามัญญตาความเปนผูมีศีลเสมอกัน จึงมีชื่อเรียกสิกขาบท
นั้ น ว า สาชี วํ หรื อ สาชี พ โดยอรรถว า เป น เครื่ อ งอาศั ย เป น อยู ร ว มกั น ภิ ก ษุ ป ระพฤติ ส มควร
แกสิกขาบทนั้น ๆ เรียกวา สาชีวสมาปนฺโน ผูถึงพรอมดวยสาชีพกลาวคือเปนผูถึงพรอมดวยสหกรณ
รูปหนึ่ง กิจการของสงฆจักสําเร็จก็เพราะสหกรณแหงภิกษุผูเนื่องในสงฆ ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๓๑๐.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๑ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
สหกรณคาถา ๑
๑.ปฐยาวัตร ๒.อินทรวงศ
รฏฐปฺปสาสโนปาย- ภูตํ โปราณกาลโต สพฺพํ สุกมฺมจฺจรณํ น กุพฺพโต
สหกรณุปตฺถมฺภํ ทสฺสมาเนน สตฺถุนา สมฺมา ติทฺวาเรหิ อยุตฺตกํ หิตํ
มหาวิชิตราชสฺส วตฺถุ เอตฺถ สุภาสิตํ สาเธติ ภิยฺโย จตุสจฺจทสฺสนํ
โลกุตฺตรํ เว ภวตีติ วิฺุนา
มหาวิชิตราชา หิ ราชกิจฺจาน โกวิโท
อกฺขายตี สพฺพธิ ทุกฺขทสฺสนํ
รฎฐกณฺฏกสงฺขาตํ อฺญมฺญสฺส หึสนํ
อิจฺจาทิกิจฺเจหิ ปยุตฺตภาวโต
ธํเสตุ ธมฺมิโกปายํ อกาสิ อตฺถิ เย ชนา ๓.อินทรวิเชียร
พฺยาวฏา กสิกมฺเม จ โคปาเล ธฺญวีชกํ อฺเญส สพฺพํ สหกิจฺจเมตํ
เตสํทาสิ วณิชฺชาย พฺยาวฏา เยตฺถิ ปาภตํ ตํ ธมฺมจารีหิป อิจฺฉิตพฺพํ
เตสํ อทาสิ เย ราช- ภฏา ภวนฺติ เวตฺตนํ เอวํสตี ทุกฺกรภูตกิจฺโจ
เตสํ อทาสิ เอวนฺเต สกกิจฺเจสุ พฺยาวฎา เตสํ สทา โหหิติ ธมฺมจาโร
อฺญมฺญํ น หึสนฺติ เตน สํหริตํ ธนํ ๔.ปฐยาวัตร
อนุพฺรูหติ เตเนส อาณาจกฺกํภิวฑฺฒนํ สเจ หิ ธมฺมจาโรยํ อธิโก อูนโก อุท
สุขเขมฺจ ปาเปสิ รฺญา ตุ รฏฐกณฺฏกํ ภเวยฺย ธมฺมจารีนํ เอกีภาโว น โหหิติ
มทฺทิตํ รฏฐวาสีนํ อฺญมฺญสฺส อนฺตเร เตน โข ภควา ภิกฺขู สีลสามฺญตาคุเณ
วิหึสา นตฺถิ อุตฺตาน- มุขา ตุ รฏฐิกา ชนา ปติฏฐาปยิตุ อิจฺฉํ สิกฺขาปทานิ ทฬฺหโต
สุขิตา มาตุยา ปุตฺโต อุเร นจฺจาปโต ยถา สุปฺญาเปสิ ยสฺมา หิ สห อาชีวเร จิธ
วสึสุ ฆรทฺวาเรสุ อคฺคลานํ อภาวโต สภาคชีวิกา โหนฺติ ภิกฺขู สภาควุตฺติโน
ปุคฺคโล วา คโณฺเญหิ สทฺธึ กิจฺจํ น กุพฺพติ ตสฺมา สิกฺขาปทํ ตํ ตํ สาชีวนฺติ ปวุจฺจติ
สหกรเณ อุปฺปนฺน- โรโคว โหติ สพฺพทา อถวา อิธ โย ตํตํ- สิกฺขาปทานุรูปกํ
ปจฺฉินฺนสหกรณา เสนาย รฏฐวาสินํ วตฺตํ จรติ สาชีว- สมาปนฺโนติ วุจฺจติ
ชนานฺจ สุทํ อฑฺฒา รมฺมา สิริอยุชฺฌิยา สงฺฆิกานิ ตุ กิจฺจานิ สงฺฆยุตฺตสฺส ภิกฺขุโน
โปราณราชธานีป มรมฺมริปุมทฺทิตา สหกรณมาคมฺม สมิชฺฌิสฺสนฺติ สพฺพธีติ ฯ
วิสาลนฺตุ อิทํ เทว- มหานครเมกธา
สหกรณสมฺปนฺนํ วุฑฺฒิปตฺตฺจ อชฺชโต
โลกสฺมึ สุปติฏฐาติ ตํ สหกฺกรณํ ตถา
ภิกฺขูหิ อิจฺฉิตพฺพฺจ กาตพฺพํ อถ สพฺพธิ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๒ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

ถาอํานาจใหญอันประกอบดวยกําลังอันตั้งอยูในอุบายโกศล รูจักดําเนินการใหเปนผลดี
แก บ า นเมื อ งก็ ย อ มจะแผ อ านุ ภ าพให ไ พศาลออกไปได ข อ นี้ พึ ง สาธกด ว ยเรื่ อ งในจั ก รวั ติ สู ต ร
ในที ฆ นิ ก ายปาฏิ ก วรรค พระราชามหากษั ต ริ ย เ ชษฐโกรสของพระเจ า ทั ฬ หเนมี จั ก รพรรดิ ร าช
ทรงตั้งอยูในโอวาทของพระชนกทรงบําเพ็ญจักรพรรดิวัตรจัดธรรมิการักขาวรณคุตติ์ปกครองเหลา
อนุยันตกษัตริยราชบริพารพราหมณคฤหบดีเสวกามาตย ราษฎรชาวนิคมชนบท ขาขอบขัณฑสีมา
สมณะพราหมณาจารย ตลอดถึงมฤคปกษีชาติใหเกษมสุขปราศจากภยันตราย ปองกันเหตุราย
มิใหเปนไปทํานุบํารุงประชาชนผูไรทรัพยใหมั่งคั่งสมบูรณ ไมตองประพฤติมิจฉาชีพอันจะกอใหเกิด
การเบี ย ดเบี ย นกั น และกั น หมั่ น ไตถ ามถึ ง บาปบุ ญ คุ ณ โทษ ประโยชน มิใ ช ป ระโยชน ก ะสมณะ-
พราหมณาจารยผูทรงคุณธรรม ละวันกิจที่ใหโทษประกอบแตกิจที่เปนประโยชนเปนวัตตสมาทาน
แผพระเดชานุภาพและพระเกียรติคุณไพศาลไปทั่วทิศานุทิศ ไมมีกษัตริยเจานครนั้น ๆ จะอาจแขงขัน
ไม อ อ นน อ มเสด็ จ ยาตราจตุ ร งคิ นี แ สนยากรไปถึ ง ไหน ก็ ไ ด ค วามยอมไปถึ ง นั่ น ถึ ง ความเป น
พระเจ า จั ก รพรรดิ ร าชปกครองมหาปฐพี มี ส มุ ท รสาครเป น ขอบขั ณ ฑสี ม ามณฑลได ร าบคราบ
ดวยธรรมิกอุบายไมตองใชอาญาเคี่ยวเข็ญเปนเบื้องหนานี้ก็เปนเรื่องปรัมปราแตเปนขอสาธกใหเห็น
ผลแหงอุบายโกศลอันเปนเครื่องทวีความเจริญของอํานาจนั้น ๆ ใหยิ่งขึ้น ฯ
ในฝ ายศาสนธรรมสมเด็จ พระสั มมาสัม พุท ธเจา ทรงอาศัย พระคุ ณข อนี้เ ปน ที่ตั้ งเมื่อ ทรง
สั่งสอนเวไนยสัตวก็อนุวัตรโดยควรแกอัธยาศัยและเวลา ชนเหลาใดมีสันดานหนาไปดวยอกุศล
ก็ทรงแสดงทุจริตและผลของทุจริต ใหเกิดสังเวชแลวละเวนเสีย ชนเหลาใดมีสันดานประกอบไป
ดวยกุศล ก็ ทรงแสดงสุจริตและผลของสุจ ริต ใหเกิด ปติปราโมทยแลวและสมาทานชนเหลาใด
มีอธิมุติออนก็ทรงสั่งสอนดวยทิฏฐธรรมมิกัตถประโยชน ชนเหลาใดมีอธิมุติปานกลางก็ทรงสั่งสอน
ในทางสัมปรายิกัตถประโยชนในเวลาใด มีอธิมุติกลาก็ตรัสเทสนาดวยปรมัตถประโยชนในเวลาใด
ควรจะทรงแสดงธรรมเช นไรก็ท รงแสดงตามควรแก เวลานั้ น ศาสโนวาทของพระองค จึ งมี คุ ณ
เปนอัศจรรยผูทําตามไดผลสมควรแกความปฏิบัติ มีผูศรัทธาเลื่อมใส ถวายพระเนมิตตกนามวา
อนุ ตฺต โร ปุริ ส ทมฺม สารถิ เป น สารถี ฝ กบุ รุษ ควรทรมานไม มีผู อื่น จะยิ่ งกวา สามารถประดิ ษฐาน
พระศาสนาขึ้นในโลกเพื่อประโยชนแกเทวดามนุษยสืบมา ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๓๓ .
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๒ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
อุปายโกสลฺลคาถา ๑
๑.ปฐยาวัตร ๒.อินทรวิเชียร
สเจ อุปายโกสลฺล- สมปฺปโต มหาวโส อุปฺปชฺชิยา โข ภยการณํ ยํ
ยสฺสตฺถิ โส ชโน รฏฐ- ปสาสโก หิตกฺกรํ เอตํ นิวาเรยฺย ปชํ อโภคํ
กรณียํ ปชานิตฺวา รฏฐานุภาวมตฺตโน อฑฺฒํ สโภคฺจ กเรยฺย เอโส
วิตฺถาริกํ วิสาลฺจ กาตุ สกฺโกติ ทฬฺหโต กมฺมํ น ยุฺเชยฺย อนตฺถภูตํ
สาธกฺเจตฺถ ทฏฐพฺพํ จกฺกวตฺติ วิจกฺขโณ ๓.อินทรวงศ
ปตุโน ทฬฺหเนมิสฺส โอวาทสฺมึ ปติฏฐิโต โส อตฺถิ เย ธมฺมิกพฺราหฺมณา วรา
ภูปาลธมฺมโต จกฺก- วตฺติวตฺตํ อกาสิ โส เต ปาปปุฺญฺจ คุณํ หิตาวหํ
ธมฺมิกาวรณํ กตฺวา สพฺเพนุยนฺตขตฺติเย โทสฺจ อตฺถฺจ อนตฺถการณํ
ชนตํ ปริวารฺจ พฺราหฺมเณ จ คหปฺปตี ปุจฺเฉยฺย ยํ โทสทมตฺถิ ตํ สทา
วชฺเชยฺย กิจฺจมฺปน ยํ หิตาวหํ
เสวเก รฏฐิเก ธมฺม- จารี สมณพฺราหฺมเณ
เอตํ กเร สพฺพธิ จกฺกวตฺติ โส
อภเย สุขิเต กตฺวา ปสาสิ ราชธมฺมโต
๔.ปฐยาวัตร
อิทํ วตฺตสมาทาโน อิติ กิจฺจํ ปวุจฺจติ ปฏิปตฺยานุรูเปน อานิสํโสนุกุพฺพโต
ตปฺปจฺจยา สกา กิตฺติ อพฺภุคฺคตา ภวิสฺสติ อุปฺปชฺชติ ปสนฺเนหิ พุทธฺ สาสนิเกหิ โส
น สกฺเขยฺยุ ยุคคฺคาหํ คณฺหิตุ อฺญขตฺติยา อนุตตฺ โร ปุรสิ ทมฺม- สารถีติ ปสํสิโต
จกฺกวตฺติมหาราชา มหาเสนาย ยํ คโต สพฺพเทวมนุสฺสานํ หิตาย จ สุขาย จ
ตสฺมึ ฐาเน ปชา สปฺป- ติสฺสา ตํ อนุวตฺตติ ปติฏฐาปยิตุ ธมฺมํ โลเก โหติ สมตฺถโกติ ฯ
ปชํ ธมฺมิกุปาเยน จกฺกวตฺติ ปสาสติ
นาณาปรายโน โหติ สมฺพุทฺโธ ตุ ตถาคโต
อนุสาสติ เวเนยฺเย เวลานุรูปโต สทา
เย ชนากุสลุสฺสนฺนา เตสํ ทุจฺจริตํ ผลํ
เอตสฺส จ อเทเสสิ สํเวเชสิ เต ชเน
เย ชนา กุสลุนฺสนฺนา เตสํ สุจริตํ ผลํ
เอตสฺส จ อเทเสสิ ชเนสิ ปติมุตฺตรึ
อนุสาสติ เวเนยฺเย อธิมุตฺยานุรูปโต
ตสฺมา หิ สาสโนวาโท คุณจฺฉริยภูตโก
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
+ อธิมุตฺต(ิ อิต)-ความนอมใจเชื่อ,การปลงใจเชื่อ,สปฺปติสฺสา-ยําเกรง ฯ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๓ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

ความมีกรุณาไดชื่อวาการุญญภาพ.กรุณานั้นโดยพยัญชนะคือความหวั่นใจในเมื่อเห็นผูอื่น
ไดทุกขยากโดยอรรถก็คือความคิดอยากจะชวยทุกขของเขา.คุณขอนี้ เปนขาศึกโดยตรงแหงวิเหสา
ความคิดเบียดเบียนผูอื่นเปนพลวปจจัยใหคิดเกื้อกูลกันและกันนําบุคคลใหเปนผูประเสริฐลวงสามัญ
ชนขึ้นไปทานผูเปนใหญแหงหมูชนที่สุดจนอธิบดีเฉพาะในตระกูลหนึ่ง ยอมมีคุณขอนี้เปนวิหารธรรม
แผ ไ พศาลออกไปตามชั้ น แห ง บุ ค คลกล าวอย า งอุ ก ฤษฎ ฝ า ยอาณาจัก รสมเด็ จ พระเจ าแผ น ดิ น
ยอมเปนที่นับถือลนพนของพสกนิกรก็เพราะพระกรุณา.มารดาบิดามีกรุณาในบุตรฉันใด สมเด็จ-
พระเจาแผนดินก็แผพระกรุณาไปในประชาชน ผูอยูใตพระเดชานุภาพ ทรงรวมสุขรวมทุกขดวยฉันนั้น
พระคุณขอนี้แลชักนําพระองคตั้งอยูในยุติธรรมไมลําเอียงในฝายใดฝายหนึ่งและรําพึงถึงสุข ทุกข
ของประชาชนที่สุดทรงจําแลงเพศเปนอัญญาตกบุรุษไมใหใครรูจักพระองคเสด็จเที่ยวสอดสองเอง
ไดทราบขาวดีรายประจักษแจงมีเรื่องแสดงไวในอรรถกถา บางคัมภีรบางก็มี ในเวลาที่ศึกมาประชิด
พระนครตองเสด็จนําพยุหแสนยากรออกตอยุทธเพื่อปองกันภัยมิใหมีมาถึงขาขอบขัณฑสีมาก็มี
โดยชุกชุม ฯ
สมเด็จพระเจาแผนดินมีพระกรุณากวางขวางฉะนี้ จึงเปนที่นับถือลนพนควรไดรับอภัยและ
ไดรับความยกยองไวในที่สูงปรากฏแกชนทั้งหลายราวกับเทวดาในหมูมนุษยจัดวาเปนสมมติเทวราช
เปนผูควรแกสวนกุศลที่มหาชนบําเพ็ญแลวและจะพึงอุทิศถวายดวยความหวังเพื่อทรงพระเจริญ
ภิยโยภาพสืบไปในฝายศาสนจักรสมเด็จพระพุทธเจาไดเปนสรณะที่พํานักนับถือของพุทธศาสนิก -
บริษัท จําเดิมแตครั้งยังดํารงพระชนมจนบัดนี้ก็เพราะพระมหากรุณาพระคุณขอนี้เปนเหตุใหพระองค
บําเพ็ญพระบารมีมาแตครั้งเปนพระโพธิสัตวจัดเปนมหากรุณาสมาโยคในฝายเหตุสัมปทาใหบรรลุ
พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณเปนผลสมบัติจําเดิมแตตรัสรูแลวก็คงอยูในพระกรุณาคุณเสด็จเที่ยว
เทศนาโปรดเวไนยนิ ก รในนครคามนิค มชนบทนั้น ๆ ใหไ ด บ รรลุโ ลกิ ย สมบัติ แ ละโลกุ ด รสมบั ติ
ตามอนุสัยตราบเทาถึง อวสานที่สุดทรงพระอาพาธหนักจะเสด็จดับขัน ธปรินิพพานในคืนนั้นแล ว
ยังทรงเทศนาโปรดสุภัททปริพาชก ใหสําเร็ จพระอรหันตเปนปจฉิมสาวกขอความที่นํามาสาธกนี้
แสดงใหเห็นพระกรุณาของสมเด็จพระผูมีพระภาคเจาอันเปนไปในสัตวโลกสักเพียงไรเพราะเหตุนี้
พระองคจึงไดเปนอุดมสรณะทีร่ ะลึกนับถืออันสูงสุดของพุทธศาสนิกประชาชนตลอดมาจนทุกวันนี้ ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๔๓-๔๔.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๓ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
กรุณาคาถา
๑.ปฐยาวัตร ๒.อุเปนทรวิเชียร
วิฺุนา กรุณา นาม การุฺนฺติ ปวุจฺจติ ยถา หิ มาตา กรุณํ ปตา จ
ปรทุกฺเข สตี สาธุ- จิตฺตกมฺปนลกฺขณา กโรนฺติ ปุตฺตาน จ ธีตราน
ทุกฺขาปนยนาการปฺ- ปวตฺติลกฺขณา จ สา ตถา นรินฺโท กรุณาภิยุตฺโต
เอวํ โหติ วิหึสาย อุชุปจฺจตฺถิกา อยํ กเรยฺย รฏฐมฺหิ ปชาย เอตํ
ชเนตุ อฺมฺสฺส หิตํ พลวปจฺจโย ๓.อินทรวิเชียร
กรุณายุตฺตโก โปโส โลเก อิตฺตรมจฺจโต ฉนฺทาทิกมฺมา อคตึ อคนฺตฺวา
วิสิฏ ตรตํ คจฺฉิ ชเนสุป กุเลป โย
โส รฏฐวาสีน สุขฺจ ทุกฺขํ
นโร คณิสฺสโร โหติ โส การุฺญวิหาริโก
ตีเรติ อฺญาตกเวสโต โส
สพฺพโปเสสุ ตํ กุพฺเพ อาณาจกฺเก ตุ ขตฺติโย
คามาทิฐานานิ กทาจิ คนฺตฺวา
มหาการุณิกตฺตา ว ปชาย โหติ มานิโต
ปจฺจกฺขโต สพฺพธิ รฏฐิกานํ
๔.ปฐยาวัตร
กทาจิ สห สตฺตูหิ มหารณํ ปกุพฺพติ สพฺพํ ปชานาติ สุขฺจ ทุกฺขํ
มหาการุณิโก เอวํ รฏวาสีหิ มานิโต เทเสสิ โส สุภทฺโท ตํ สุณํ ปจฺฉิมสาวโก
ยุชฺชตี อภยํ ลทฺธุ อุจฺจฏาเน คุณุตฺตเม อิจฺเจวํ ปากโฏ สมฺมา อรหตฺตํ อปาปุณิ
อติสมฺภาวนีโย จ โหติ มานุสิกาย จ ตํเหตุ ภควา พุทฺธ- สาสนีกานมุตฺตมํ
เทโว วิย ชนานมฺป ปากโฏ โหติ สพฺพโส สรณํ โหติ สพฺพตฺถ ยาว อชฺชตนา สทาติ ฯ
สมฺมติเทวราชาติ เอวํ สงฺขํ นิคจฺฉติ
มหาชเนน ราชานํ อุทฺทิสฺส วุฑฺฒิมิจฺฉตา
กตํ ยํ กุสลํ ตสฺส ปฏิรูโป อโหสิ โส
มหาการุณิกตฺตา ตุ โลกานุกมฺปโก ชิโน
ยาว อชฺชตนา โหติ ปชาย สรณํ วรํ
กรณํคมฺม โส โพธิ- สตฺตภูตกาลโต วรํ
ปารมึ ปริปูเรสิ ตสฺมาสฺส กรุณา อยํ
มหากรุณาสมาโยโค อิติ เอวํ ปวุจฺจติ
ครุกาพาธิโก เจส สุภทฺทสฺส อนุตฺตรํ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
+ อิตฺตรมจฺจโต-กวาคนผูต่ําตอย ฯ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๔ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

กั ต ตุ กั ม ยตาฉั น ทะนี้ ย อ มยั ง ความประสงค ใ ห สํ า เร็ จ แม จ ะเป น การยากสั ก ปานไรข อ นี้
พึ ง สาธกแม ด ว ยเรื่ อ งในตติ ย สั ง คี ติ ก ถา ครั้ ง นั้ น พระโมคคั ล ลี บุ ต รเกิ ด อยู ใ นตระกู ล พราหมณ
มิจฉาทิฏฐิ พระสิคควะไปเพียรเกลี้ยกลอมอยู ๗ กวาป จึงเอามาบวชพระศาสนาได.ในชั้นแรก
ไปบิณฑบาตที่ประตูเรือนแตไมไดภิกษาบอย ๆ เขาก็ไดวาจานิมนตรับขางหนาแลวก็ไดภิกษาแลวก็
คุนเขาจนไดรับไปฉันในเรือนแลวรูจักวิสาสะกับโมคคัลลีบุตรมาณพแสดงความรูของตนในไตรเพท
ทําใหมาณพนับถือแลวถามปญหาปรารภธรรมในพระพุทธศาสนาใหมาณพติดและประสงคจะรู
จึงตามมาบวชไดเลาเรียนแตกฉานในพระพุทธวจนะและบรรลุโลกุตตรธรรมเปนพระอรหันตเจา
ภายหลังไดเปนอธิบดีสงฆในชมพูทวีปครั้งอโศกรัชสมัยไดเปนกําลังใหญของพระเจาอโศกมหาราช
ในอันกําจัดเสี้ยนพระศาสนาเมื่อครั้งเดียรถียเขามาปลอมบวชดวยมุงลาภสักการะแตนั้นไดเปน
ประธานแหงภิกษุสงฆผูประชุมทําสังคายนาพระธรรมวินัยเปนครั้งที่ ๓ ตอมาไดสงพระเถระทั้งหลาย
ไปเพื่อประกาศพระศาสนาในปจ จันตประเทศ เปนหลายตํา บลพระสิ คควะมี กัตตุ กัมยตาฉั นทะ
เพียรไปเกลี้ยกลอมโมคคัลลีบุตรมาณพมาบวชไดสมประสงคฉะนี้ ฯ
อีกเรื่องหนึ่งทีฆาวุกุมารพระราชโอรสของพระเจาทีฆีติผูครองโกศลรัฐประสูติเมื่อพระชนก
เสียราชสมบัติแกพระเจาพรหมทัตผูครองแควนกาสี แลวตั้งพระหฤหัยจะแกแคนและเอาพระราช
สมบัติของพระบิดาคืนใหจงได เพียรหาชองเขาใกล พระเจาพรหมทัตจนไดเปนนายสารถีคนโปรด
คราวหนึ่งพระเจาพรหมทัตเสด็จประพาสปา ทีฆาวุกุมาร แสรงขับรถพระที่นั่งเร็วจนราชบริพาร
ตามเสด็ จไมทันท าวเธอทรงเหนื่อ ยก็ตรัสสั่ งใหหยุด รถพระที่ นั่ง เสด็ จลงพัก ณ ที่แหง หนึ่งแล ว
บรรทมหลั บไป ที ฆาวุ ได ชอ งที่จ ะแก แค นจึ ง ถอดพระแสงจากฝก แลว ปลุ ก บรรทมขึ้น แสดงตน
ใหทราบวาเปนศัตรูจะแกแคนแทนพระราชบิดาพระเจาพรหมทัตตกพระราชหฤทัยขอพระชนมชีพ
ประทานสัตยวาจะคืนโกศลรัฐใหกุมารนึกถึงพระวาจาพระราชบิดาวาจงเห็นยาวดีกวาสั้นจึงสูอดกลั้น
ระงั บ เวรเสี ย ถวายพระชนม แ ด พ ระเจ า พรหมทั ต แล ว ได ร าชสมบั ติ คื น พร อ มทั้ ง พระราชธิ ด า
ภายหลั ง ได ค รองแคว น กาสี อี ก ด ว ยที ฆ าวุ อ าศั ย กั ต ตุ กั ม ยตาฉั น ทะยั ง ความประสงค ข องตน
ใหสําเร็จไดฉะนี้ ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๙๕-๙๖.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๔ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
กตฺตกุ มฺยตาฉนฺทคาถา
๑.ปฐยาวัตร
โย กตฺตุกมฺยตาฉนฺโท ปกุพฺพโต หิตกฺกโร พฺรหฺมทตฺตสฺส กาสินฺท- รฺโญ วลฺลภสารถิ
โส ทุกฺกรํ อธิปฺปายํ สาเธติ ตติยาย หิ เอกสฺมึ สมเย พฺรหฺม- ทตฺโต สเสวโก วนํ
ธมฺมสงฺคีติยํ วตฺถุ ภเวยฺย เอตฺถ สาธกํ คจฺฉิ ทีฆาวุ สฺจิจฺจ รถํ ปาเชสิ เวคโส
มิจฺฉาทิฏฐิกภูตสฺส พฺราหฺมณสฺส กุเล ตทา โอหิยึสุ ตุ ภูปสฺส ปริวารา ปริชฺชนา
ชายิ เถโร มหาปฺโ โมคฺคลฺลีปุตฺตสวฺหโย ๒.อินทรวงศ
อีหาย สตฺต วสฺสานิ ตํ สงฺคณฺหิย สิคฺคโว ราชา ส มคฺคสฺมิ กิลนฺตโก รถํ
ตมาทาย มุนินฺทสฺส อปพฺพาเชสิ สาสเน ขิปฺป ฐปาเปสิ ทุมสฺส เหฏฐิเม
ติวิเท าณสมฺปตฺตึ ทสฺเสตฺวา เอส มาณวํ นิทฺทายิ โกสา ปน ขคฺคนีหโฏ
มานาเปนฺโต มุนินฺทสฺส ธมฺมมารพฺภ สาสเน ทีฆาวุ รฺโญ กริ ตาสมตฺตกํ
เอเตน ปุจฺฉิตํ ปฺหํ วิสฺสชฺเชสิ ส มาณโว ๓.วสันตดิลก
อนุโพธิตุกาโม ตํ ธมฺมํ อโหสิ อุตฺตเม สนฺตาสยุตฺตหทโย กิร พฺรหฺมทตฺโต
สาสเน ปพฺพชิตฺวาน พุทฺธธมฺมํ สุสิกฺขิย ชีวํ อยาจิ จ สกํ อถ สจฺจวาจํ
ปภินฺโน พุทฺธสตฺเถสุ อรหตฺเต ปติฏหิ เปตฺเตยฺยกํ ตว อหํ ปฏิเทมิ รฏฐํ
ปจฺฉา เถโร มหุสฺสาโห โมคฺคลฺลีปุตฺตสวฺหโย อิจฺเจวมสฺส กรุณาย อทาสิ ขิปฺป
อโสกสมเย ชมฺพุ- ทีปสฺมึ สงฺฆนายโก ๔.ปฐยาวัตร
ยทา สยมฺป มุณฺเฑตฺวา ลาภสกฺการเปกฺขกา ทีฆาวุ ปตุนา สมฺมา ทินฺโนวาทมนุสฺสรํ
ลามกา ติตฺถิยา พุทฺธ- สาสนปฺปฏิกณฺฏกา เวรํ น พนฺธิ ภูปสฺส นิยฺยาเทนฺโต ส ชีวิตํ
นานามลํ ปกุพฺพึสุ ตทา เตสํ ปมทฺทเน เอตสฺส ราชสมฺปตฺตึ ปฏิลทฺธา สธีตรํ
มหาพโล อโสกสฺส รฺโญโหสิ ตโต ปรํ ปุน โข ปจฺฉิเม รชฺชํ กาสีรฏเฐ อการยิ
ตติยทฺธมฺมสงฺคีติ- สมเย ปริณายโก โส กตฺตุกมฺยตาฉนฺทํ อคฺคมาคมฺม สพฺพธิ
อถายสฺมา ส โมคฺคลฺลี- ปุตฺโต ธมฺมํ ปกาสิตุ สพฺพํ สกํ อธิปฺปายํ นิปฺผาเทสิ ยถิจฺฉิตนฺติ ฯ
เถเร ปจฺจนฺตรฏานิ อุยฺโยเชสิ ยถาพลํ
ตํ กตฺตุกมฺยตาฉนฺทํ สกมาคมฺม สิคฺคโว
อิติ อีหาย สงฺคณฺหํ โมคฺคลฺลีปุตฺตมาณวํ
อาทาย สาสเน อคฺเค ปพฺพาเชสิ ยถิจฺฉิตํ
ปุตฺโต ทีฆีติราชสฺส ทีฆาวุ ตุ กุมารโก
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
+ ทุม(ปุง)-ตนไม ฯ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๕ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

ส ว นทั้ ง หลายย อ มรวมกั น เข า เป น สรี ร ะฉั น ใด ป จ จั ย เครื่ อ งอาศั ย แห ง สั ง ขารคื อ อาหาร
เครื่ อ งนุ ง ห ม ที่ อ ยู อ าศั ย เครื่ อ งใช ส อยและยาเป น ป จ จั ย เครื่ อ งบํ า บั ด โรคก็ ต อ งอาศั ย สหกรณ
ของผูประกอบและสหกรณแหงวัตถุนั้น ๆ จึงเกิดผลใหสําเร็จกิจตามประสงคฉันนั้น ฯ เมื่อกลาว
เฉพาะบุคคลคนหนึ่ง ๆ หรือพวกหนึ่ง ๆ ที่รวมกันเขาเปนหมูเปนคณะตลอดถึงเปนสัญชาติยอมตอง
อาศัยสหกรณแหงกันและกัน ดุจสวนอวัยวะทั้งหลาย ฯ ในสกุลก็ดี ในคณะก็ดี การปนงานกันทํา
เปนกิจจําตองปรารถนาในเบื้องตน สหกรณเปนกรณียะจําตองการในลําดับการ ๒ อยางนั้นเปนไป
กลมเกลียวกันแลวยอมยังสกุลยังคณะใหตั้งมั่นใหเจริญรุงเรืองดุจสหกรณแหงอวัยวะทั้งหลาย
ยังสรีระใหเปนไปโดยผาสุกฉะนั้น ฯ สมเด็จพระบรมศาสดาหวังจะทรงแสดงการบํารุงสหกรณ
อันเปนรัฐประสาสนนัยครั้งโบราณกาลไดตรัสเทศนาถึงเรื่องพระเจามหาวิชิตราชในกูฎทันตสูตร
สีลขันธวรรคทีฆนิกายมีใจความวาพระเจามหาวิชิตราชทรงดําเนินราโชบายเพื่อระงับการเบียดเบียน
กันและกันอันเปนเสี่ยนหนามแหงแผน ดินกลาวคือเปนอุปสัคแหงสหกรณชนจําพวกใดขวนขวาย
ในการทํานาและเลี้ยงโคพระราชทานพันธุขาวปลูกแกชนจําพวกนั้น ชนจําพวกใดขวนขวายในการคา
พระราชทานตนทุนแกชนจําพวกนั้นเปนการเพิ่มกําลัง ชนจําพวกใดทําราชการพระราชทานเบี้ยเลี้ยง
เบี้ ยหวัด แก ชนจํา พวกนั้ น ชนเหลา นั้น ตา งขวนขวายในการงานของตน ๆย อมไม ประทุ ษร ายกั น
ทองพระคลังก็เพิ่มพูนดวยพระราชทรัพยที่เปนราชพลีพระราชอาณาเขตเกษมสุขสวัสดีสิ้นเสี้ยนหนาม
หาความเบียดเบียนกันมิไดประชาราษฏรตางชื่นบานดวยความวางใจยังบุตรใหฟอนอยูที่อกอยูราว
กับมีประตูเรือนไมตองลงลิ่มสลัก ฯ บุคคลหรือคณะผูนับเนื่องในสหกรณถาปลีกตนเสียไมทํางาน
พรักพรอมกับเขายอมเปนแชนสวนอวัยวะแหงสรีระอันหยุดไมทําหนาที่หรือทําบกพรองจัดวาเปนโรค
เกิดขึ้นในสหกรณนั้นเชนเดียวกับโรคเกิดขึ้นในสรีระยอมทอนกําลังหรือนําไปถึงความพินาศ ฯ
ในฝายคดีธรรมสหกรณเปนกิจอันจําตองปรารถนาดุจเดียวกัน ฯ การประพฤติสุจริตหากไม
ครบไตรทวารยอมไมสําเร็จประโยชนเพราะถึงหากกายจะพยายามฝนทําสุจริตแตวาจายังไมสนิท
และใจยังมุงเพื่อทุจริตอยูการที่ทําก็ยอมจะไมเปนสุจริตเรียบรอยตลอดไปตอพรอมทั้งไตรทวาร
จึ ง จะสํ า เร็ จ ประโยชน ด ว ยดี ฯ แม ผู ป ระพฤติ ธ รรมก็ จํ า ต อ งปรารถนาสหกรณ แ ห ง ผู อื่ น ด ว ย
ไม อ ย า งนั้ น ก็ ย ากที่ จ ะทํ า ได ต ลอดยิ่ ง หรื อ หย อ นไปไม ส มกั น ความเป น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วจั ก ไม มี
เพราะอยา งนี้สมเด็จพระบรมศาสดาจึง ทรงบั ญญัติสิ กขาบทตามสมควรแกเ หตุเพื่ อเปน บรรทั ด
แหงความประพฤติของภิกษุทั้งหลายดวยทรงมุงหมายจะใหตั้งอยูในสีลสามัญญตาความสม่ําเสมอ
กันโดยศีลจึงมีชื่อเรียกสิกขาบทวา สาชีวํ สาชีพ ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๑๐๗-๑๐๘ .
+ ออกสอบแตงไทยเปนมคธ ป.ธ.๙ / ป ๒๕๕๙ .
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๕ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
สหกรณคาถา ๒
๑.ปฐยาวัตร
ยถา สโมสริตฺวาน โกฏฐาสา หิ สรีรตํ เตสํทาสิ วณิชฺชาย พฺยาวฏา เยตฺถิ ปาภตํ
สุฏุ สาเธนฺติ สงฺขาร- นิสฺสยพฺภูตปจฺจยา เตสํ อทาสิ เย ราช- ภฏา ภวนฺติ เวตฺตนํ
อาหาโรตาทโย สพฺพ- ชนานํ สหการินํ เตสํ อทาสิ เอวนฺเต สกกิจฺเจสุ พฺยาวฎา
ปฏิจฺจ สหกรณํ ตํตํวตฺถูน เจกธา อฺญมฺญํ น เหเฐนฺติ เตน สํหริตํ ธนํ
เอวํ สกกรณฺยานิ สาเธนฺติ ปุคฺคลา อุท อนุพฺรูหติ เตเนส อาณาจกฺกํภิวฑฺฒนํ
โลกสฺมึ คณภาเวน วสิตฺวา ชนตา อุท สุขเขมฺจ ปาเปสิ รฺญา ตุ รฏฐกณฺฏกํ
นิสฺสยนฺติ สหกรณํ อาโท กุเล คเณ อุท มทฺทิตํ รฏฐวาสีนํ อฺญมฺญสฺส อนฺตเร
ชเนหิ กิจฺจสมฺภาโค กาตพฺโพ ตทนนฺตรา เหฐนา นตฺถิ อุตฺตาน- มุขา ตุ รฏฐิกา ชนา
สหกรณํ กาตพฺพํ สเจ สมฺพนฺธภาวโต สุขิตา มาตุยา ปุตฺโต อุเร นจฺจาปโต วิย
ตโทภยํ ปวตฺเตยฺย สทา กุลํ คณํ อุท วสึสุ ฆรทฺวาเรสุ อคฺคลานํ อภาวโต
ปติฏฐาเปติ วุฑฺฒิฺจ สมฺปาเปติ ยถารหํ ปุคฺคโล วา คโณฺเญหิ สทฺธึ กิจฺจํ น กุพฺพติ
รฏฐปฺปสาสโนปาย- ภูตํ โปราณกาลโต สหกรเณ อุปฺปนฺน- โรโคว โหติ สพฺพทา
สหกรณุปตฺถมฺภํ ทสฺสมาเนน สตฺถุนา ๒.อินทรวงศ
มหาวิชิตราชสฺส วตฺถุ เอตฺถ สุภาสิตํ สพฺพํ สุกมฺมจฺจรณํ ปกุพฺพโต
สมฺมา ติทฺวาเรหิ อยุตฺตเมกธา
มหาวิชิตราชา หิ ราชกิจฺจาน โกวิโท
อตฺถํ น สาเธติ ติทฺวารยุตฺตกํ
รฎฐกณฺฏกสงฺขาตํ อฺญมฺญสฺส เหฐนํ
สาเธติ อตฺถํ ปฏิปชฺชโต สทา
ธํเสตุ ธมฺมิโกปายํ อกาสิ อตฺถิ เย ชนา
๓.อินทรวิเชียร
พฺยาวฏา กสิกมฺเม จ โคปาเล ธฺญวีชกํ อฺเญส สพฺพํ สหกิจฺจเมตํ
๔.ปฐยาวัตร
ตํ ธมฺมจารีหิป อิจฺฉิตพฺพํ
สเจ หิ ธมฺมจาโรยํ อธิโก อูนโก อุท
เอวํสตี ทุกฺกรภูตกิจฺโจ
ภเวยฺย ธมฺมจารีนํ เอกีภาโว น โหหิติ
เตสํ สทา โหหิติ ธมฺมจาโร
เตน โข ภควา ภิกฺขู สีลสามฺญตาคุเณ
ปติฏฐาปยิตุ อิจฺฉํ สิกฺขาปทานิ ทฬฺหโต
สุปฺญาเปสิ ยสฺมา หิ สห อาชีวเร จิธ
สภาคชีวิกา โหนฺติ ภิกฺขู สภาควุตฺติโน
ตสฺมา สิกฺขาปทํ ตํ ตํ สาชีวนฺติ ปวุจฺจตีติ ฯ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๖ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

โสรัจจะนั้น แปลตามพยัญชนะวาความยินดีในธรรมอันงามแสดงโดยอรรถไดแกความสงบ
เสงี่ยมความแชมชื่นมีอาการจะพึงกําหนดรูดังนี้ ไมพอใจในที่จะวิวาทแกงแยงกับผูอื่นหากจะเกิดขึ้น
ก็จะหาทางระงับโดยออนโยนตามแตจะเปนไป เชนแตงคนกลางใหเปนผูเปรียบเทียบแลยอมทําตาม
คําของคนกลางนั้น.มีเรื่องในสักกะสังยุตวาครั้งสงครามแหงเทวดาแลอสูรประชิดกันอยูทาวเวปจิตติ
อสุรินทรชวนทาวเทวินทราธิราชใหแขงเอาชนะกันในทางกลาวภาษิตโตตอบกันเปนสงครามปาก
ทาวสุชัมบดีทรงยอมตามพวกเทวดาแลพวกอสูรตางเลือกตั้งชุมนุมไวเพื่อเปนผูตัดสิน พวกอสูรเคย
อยูใ นชั้นดาวดึงสมากอนจึงใหทาวเวปจิตติเริ่มกอนจอมอมรตรัสแกคําของทาวเวปจิตตินั้นวา ควรใช
อํานาจปราบคนพาล ฝายทาวโกสียตรัสสรรเสริญขันติธรรมดังแสดงแลวในหนหลัง โตตอบกันไปมา
ในที่สุดชุมนุมนัน้ ตัดสินวาภาษิตของทาวเวปจิตติเปนเหตุจับทัณฑะศัสตราประหัตประหารกัน ภาษิต
ของทาวสักกะเทวราชเปนเหตุระงับความเบียดเบียนใหทาวเทวินทรชนะทั้งสองฝายตั้งอยูในโสรัจจะ
แสวงหาทางสงบสงครามดวยเลิกสัมประหารฉะนี้.แมความพิพาทในระหวางบุคคลก็ดี ในระหวาง
ประเทศก็ดีอันผู มิเกี่ยวของหาทางปรองดองโดยเรียบรอยเชน ตั้งอนุญาโตตุลาการก็จัดวาระงั บ
ดวยโสรัจจธรรม ฯ
อีกประการหนึ่ง มีเหตุจะพึงใชอํานาจแตหาทางผอนปรนที่จะไมตองใชไดเพียงไรกอนพึงเห็น
อุทาหรณเชนมีพระพุทธานุญาตใหสงฆทําปพพาชนียกรรมขับภิกษุลามกจากอาวาส มีธรรมเนียม
ที่สงฆจะพึงหามภิกษุนั้นแตโดยดีกอน ๓ ครั้ง ตอไมฟงจึงสวดประกาศกรรมนั้น . อนึ่งเมื่อมีเหตุ
อั น จะพึ ง ใช ขั น ติ ห าทางปลอบจิ ต มิ ใ ห นึ ก ถึ ง ความที่ ไ ม ไ ด ตั้ ง ใจว า มี เ ป น ธรรมดาหรื อ มานึ ก
ถึงกัมมัสสกตาคือความสัตวโลกมีกรรมเปนของตนจําเสวยผลแหงกรรมที่ทํานั้น.ขันติแลโสรัจจะ
ตางเปนอัญญมัญญปจจัยแหงกันแลกันคือตางเปนเหตุอิงอาศัยกันแลกันคนชอบในทางสงบเสงี่ยม
จึงอดกลั้นเหตุอันไมเปนที่ปรารถนาคนถือขันติก็จําตองหาทางปลอบจิตมิใหอึดอัดกลับใหแชมชื่น
ดวยโสรัจจะตางเปนคูของกันฉะนี.้ ชนมีโสรัจจะเปนธรรมยอมมีสติสัมปชัญญะสอดสองเห็นเหตุการณ
ไกล ทําอะไรไมหุนหันหางความพลั้งพลาดอันเปนเหตุวิปฏิสารเมื่อภายหลัง เหตุดังนั้นโสรัจจะจึงเปน
มงคลอันล้ําเลิศ ใหเกิดวุฒสิ ิริสวัสดิจ์ ัดเปนประการที่ ๒ ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๓๔๓-๓๔๔.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๖ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
โสรจฺจคาถา
๑.ปฐยาวัตร
โสรจฺจฺหิ มยาทานิ โสตารานํ ปวุจฺจเต โส ภิกฺขุ นานุกุพฺเพยฺย ตํ กมฺมมสฺส ภิกฺขุโน
รุจิ โข โสภเณ ธมฺเม โสรจฺจนฺติ ปวุจฺจติ สงฺโฆ สมฺมา ปกาเสยฺย ปฏิฆฺเจ มเน ยทา
อฺญโปเสน วา สทฺธึ วิวาทํ กลหํ อุท อุปฺปชฺเชยฺย ตทา วูป- สเมยฺย ขนฺติยา อุท
กาตุ อนิจฺฉตากาโร โสรจฺจนฺติ ปวุจฺจติ โสรจฺจปุณฺณโก กมฺมสฺ- สกตาสรเณน วา
วิวาโท เจ สมุปฺปชฺเช โสรจฺจปุณฺณโก ชโน อิทฺหิ ขนฺติโสรจฺจํ อฺญมฺญสฺส ปจฺจโย
เอตํ มทฺทวโต วูป- สเมติ สุฎุ นิจฺฉยํ โสรโต อธิวาเสตุ สกฺโกตินิฏฐการณํ
กาตุ เวมชฺฌิกํ โปสํ นิโยเชติ จ ธมฺมิกํ ๒.อินทรวงศ
เวมชฺฌิกสฺส เจตสฺส วจนํ อนุกุพฺพติ โสรจฺจโต อฏฏิยมานมตฺตโน
สกฺกสํยุตฺตวตฺถุมฺป มยาทานิ ปวุจฺจเต จิตฺตํ สเมตฺวาน สเมน ขนฺติโก
เทวานํ อสุรานฺจ สงฺคาโม ปจฺจุปฏฐิโต สกฺโกติ กาตุ หสนาธิกํ อิเม
เวปจิตฺติ ยุคคฺคาหํ คณฺหณาย ปุรินฺททํ ธมฺมา หิ เอวํ ยุคนทฺธภูตกา
สมาทเปสิ สกฺโก ตุ กถํส อนุกุพฺพติ ๓.อินทรวิเชียร
เทวา จ อสุรา ปาริ- สชฺชํ เทวํ วินิจฺฉยํ โสรจฺจปุณฺโณ สติมา สมาโน
ปกุพฺพิตุ นิโยเชนฺติ เวปจิตฺติสุริสฺสโร ทีฆํ วิจาเรน สเมน ทิสฺวา
พาลํ อาณาย วิทฺธํเส อิจฺเจวํ ตาว ภาสติ ปจฺฉาตฺถิ ยํ วิปฺปฏิสารกมฺมํ
ปสํสติ ตุ โกสินฺโท ขนฺติธมฺมํ คุณุตฺตมํ โน ตํ กโรตี สหสา นิพทฺธํ
สํวตฺตติ ปหาราย ภาสิตํ เวปจิตฺตินา ๔.ปฐยาวัตร
สํวตฺตติ ตุ ธํเสตุ เหฐนํ สกฺกภาสิตํ ตสฺมา หิ อิติ โสรจฺจ- ธมฺโม อุตฺตมมงฺคโล
วุฑฺฒึ สิริฺจ โสตฺถิฺจ สมุปฺปาเทติ กุพฺพโตติ ฯ
เทวรฺโญ ชโย โหติ อิตรสฺส ปราชโย
อถวา ปุคฺคลานฺจ รฏฐานํ อถ อนฺตเร
วิวาโทป สิยา เอโส สมานฉนฺทเมสตา
เวมชฺฌิกํ นิโยเชตฺวา พฺยตฺตํ นิจฺฉยการกํ
สมฺมา วูปสเมตพฺโพ อิธ ลามกภิกฺขุโน
ปพฺพาชนียกมฺมฺจ กาตุ สงฺโฆ มเหสินา
อนุฺญาโต อนาจารํ ปกาเส ตติยํ ยทิ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๗ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

อาชชวะความเปนผูตรง ๆ นั้นไดแกความเปนผูไมมีมายาสาไถยประพฤติตอผูอื่น ดวยความ


จริงของตนลางคนเปนผูเจามายาพอใจประพฤติเสแสรงน้ําใจผูเปนอยางหนึ่งแสดงการทําแลคําพูด
เปนอยางอื่นเชนน้ําใจเกลียด แตทําทีชอบพอสนิทสนมหรือเปนผูมีแงงอนมีความปรารถนาอยางหนึ่ง
ในใจแตไมแสดงออกมาตรง ๆ ที่จริงประสงคจะใหผูอื่นทําใหถูกใจเชนชอบใจอยูอยางนี้แตทําไขสือ
ขอหารือความคิดผูอื่นไมถูกใจไมเอาหรือเปนผูอําพรางพูดเชือนเสียไมขยายความจริงเชนเมื่อถูกซัก
ความอยางใดอยางหนึ่งลางคนมักเปนผูอวดตัวเกินกวาความเปนจริงคนผูมีลักษณะเชนนี้ไมใชอุชุ
คนตรง ๆ ยากที่คนอื่นจะเกี่ยวของดวยคนผูประพฤติตอผูอื่นดวยความจริงใจของตน มีน้ําใจอยางใด
ทํ า อย า งนั้ น พู ด อย า งนั้ น ไม มี น อกไม มี ใ นได ชื่ อ ว า อุ ชุ ค นตรง ๆ ง า ยที่ ค นอื่ น จะเกี่ ย วข อ งด ว ย
ในพระพุทธศาสนาพระศาสดาแลพระสาวกตางประพฤติตรง ๆ ตอกันจึงเปนความสะดวกในการ
ประกอบศาสนกิจ เพื่อประโยชนแกม หาชนทั้งเทวดาและมนุษยในฝายพระสาวกอันพระศาสดา
ตรัสถามยอมกราบทูลตามความจริงมีเรื่องแสดงไวสาธกเชนภิกษุลางรูปประพฤติไมสมควรทํ า
ความอัปยศใหเกิดขึ้นแกคณะในเมื่อสิกขาบทห ามการประพฤติเชนนั้น ยังไมไดทรงบัญญติขึ้นไว
ทําอยางใดอยางหนึ่งไปแลวเกิดระแวงสงสัยก็กราบทูลขอพระวินิจฉัย
พระองคตรัสถามถึงเจตนาแลอื่น ๆ ยอมกราบทูลตรง ๆ ภิกษุลางรูปเกิดความกระสันขึ้น
ไมยินดีในพรหมจรรยมีรูปพรรณซูบผอมเศราซีด พระศาสดาตรัสถามถึงเหตุแหงความไมผาสุก
ยอมกราบทูลตามตรงแลอะไรเปนเหตุกระสัน ยอมกราบทูลเปดเผยสาวกอื่นอีกมีฉันทะอัธยาศัย
เป น อย า งไรในเมื่ อ มี เ หตุ เ กิ ด ขึ้ น และพระศาสดาตรั ส ถามย อ มกราบทู ล ด ว ยความจริ ง ใจเช น นี้
พระศาสดาทรงสามารถแก ค วามเสื่ อ มเสี ย และความบกพร อ งของสาวกเฉพาะรู ป ให ดี ขึ้ น แล
อาจอุปถัมภคุณความดีของสาวกลางรูปใหไพบูลยเปนอันบริหารคณะดีไดโดยสะดวก ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๓๕๓-๓๕๔ .
+ ราชธรรม
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๗ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
อาชฺชวคาถา
๑.ปฐยาวัตร
อาชฺชวํ นาม มายาย สาเถยฺยสฺส จ นตฺถิตา สตฺถุปฺปุฏโ ยถาภูตํ โทสมาจิกฺขิ สตฺถุนา
ยสฺสตฺถิ อาชฺชวํ อฺ สจฺเจน โส ปยายติ ยทิ สิกฺขาปทํ อสฺส ปฺตฺตํ โกจิ ภิกฺขุธ
อิเธกจฺโจ หิ มายาวี สฺจิจฺจ ปน ฉนฺทิกํ อนนุจฺฉวิกํ กมฺมํ กตฺวา เวมติโก ตหึ
กมฺมํ จรติ จิตฺเตน อฺ จินฺเตติ กายโต วินิจฺฉยมฺป ยาจนฺโต สตฺถุนา ปุฏฐเจตโน
อฺ กโรติ อฺ วา วตฺถุ มุเขน ภาสติ อาโรเจติ ยถาภูตํ ตํ กมฺมํ อุชุภาวโต
อเมตฺติโก อิเธกจฺโจ เจจฺจ วิสฺสาสิกํ สทา ๒.อินทรวิเชียร
รุจึ ทสฺเสติ สิงฺคี วา อิจฺฉากาโร ว เจตสิ อุกฺกฏฐิโต พฺรหฺมจรียธมฺเม
เอตํ อุชุ น ทสฺเสติ ตํ รุจฺจนกมิจฺฉติ โกจารโต ชาตสรีรกีโส
อตฺตนา รุจิตํ อตฺถิ โกจิ เจจฺจ ปเนว ตํ พุทฺเธน ปุฏ ารติการโณ ตํ
สทฺธึ อฺเหิ มนฺเตติ ยํรุจีตํ น อิจฺฉติ กมฺมํ อุชุ ปาตุกโรติ สมฺมา
นิคูหจารโก วาฺ กเถติ ปริปุจฺฉิโต ๓.อินทรวงศ
สจฺจํ นาจิกฺขตี โกจิ อตฺตุกฺกํสนจารโก โยโกจิ ปุฏโ อุชุกมฺมภาวโต
อีทิโส ปุคฺคโลยํ น อุชุ โหติ ส เสวิตุ อาจิกฺขตี ตํ อถ โส ตถาคโต
ทุกกฺ โร โหติ ยฺวายํ ตุ อฺโปสานมนฺตเร ยสฺสตฺถิ วีติกฺกมโทสอูนตา
สจฺจํ จรติ โส โปโส สมฺมุขา จ ปรมฺมุขา ตํ สุฏุ ภิกฺขุสฺสป ตสฺส วิสชฺชิตุ
ยถาจินฺตี ตถาการี ตถาวาที จ อีทิโส สกฺโกติ จฺสฺสุปถมฺภิตุ คุณํ
อุชูติ วุจฺจตี เอโส สุกโร โหติ เสวิตุ สกฺโกติ สงฺฆปฺปริหาริโก สุขนฺติ ฯ
สตฺถา หิ สาวกา จฺ- มฺสฺส อุชุจารกา
โหนฺติ เตน สเทวสฺส มหาชนสฺส สพฺพธิ
หิตาย สพฺพกิจฺจานิ สาสนสฺส สุเขน เต
ปยุฺชึสุ มุนินฺเทน ปุฏ า จ สพฺพสาวกา
อาจิกฺขนฺติ ยถาภูตํ เอตฺถ สาธกภาวโต
นิทสฺสิตมิทํ วตฺถุ โกจิ ภิกฺขุ นิวารณํ
สิกฺขาปทํ อปฺตฺตํ ยทา โหติ อยุตฺตกํ
กมฺมํ กตฺวาน สงฺฆสฺส ชเนสิ อยโส ตทา
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
+ สิงฺคี-คนแงงอน ฯ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๘ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

สัจจะนั้นไดแกความซื่อตรงในกันแลกันเปนธรรมผูกพันความสามัคคีในระหวางมิตรใหสนิท
มั่นคงขาดสัจจะแลวสามัคคียอมไมเปนไปได.สามีภรรยาวางใจกันลงไปไมไดยากเพื่อจะปรองดองกัน
มีแต ระหองระแหงตา งอยู ไมเ ปนสุ ขหรื ออย ารา งกัน ไปก็ ได ต อได เห็น ความซื่อ ตรงของกันแลกั น
จึงถูกใจกันอยูรวมกันดวยความพรอมเพรียงญาติตอญาติมิตรตอมิตรคิดระแวงกันยากเพื่อจะรวมใจ
กันในกิจการตอไดเห็นความซื่อสัตยของกันแลกันแลวจึงปลงใจลงดวยกันโดยที่สุดคนทําการซื้อขาย
ด ว ยกั น คิ ด เอารั ด เอาเปรี ย บกั น ย อ มทํ า ด ว ยกั น ไม ยื ด ต อ ทํ า ตรงไปตรงมาจึ ง สมั ค รทํ า ด ว ยกั น
สจฺจํ หเว สาธุตรํ รสานํ สัจจะชื่อวาเปนรสดีกวารสทั้งหลายอื่นรสแหงโภชนาหารอันอรอยก็เพียงชวน
ใหกลืนอาหารคลองรสคือกามคุณก็เพียงชวนใหเพลิดเพลินในการดูการฟง การดม การลิ้ม การ
ถูกตอง อั นเจืออยูด วยโทษในเมื่อเกิน พอดี สวนสัจจะเปน รสใหเกิด ความยิน ดีของผูได เห็นใจกั น
ผูกพันสามัคคีไวมั่นคงยังประโยชนใหสําเร็จยืดยาวสัจจะนี้เปนธรรมของทานผูสูงสุดในชุมนุมชน
ในฝายพระศาสนาจัดเปนพระบารมี ประการหนึ่ง โดยชื่อวาพระสัจจะบารมี ในพระบารมี ๑๐ ทัศ
แหงสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาที่ไดทรงบําเพ็ญมาแตครั้งเสวยพระชาติเปนพระโพธิสัตวจึงจัดได
อีกอยางหนึ่งวาเปนพุทธการกธรรมคือคุณทําใหเปนพระพุทธเจาขาดสัจจะเสียแลว ความสําเร็จ -
พุ ท ธภู มิ ย อ มมี ไ ม ไ ด เ ลยคํ า สอนในศาสนาที่ ข าดสั จ จะแล ว จั ด ว า เป น คํ า ที่ ก ล า วชอบมิ ไ ด เ ลย
ในพระพุทธศาสนา ไดจัดการรักษาสัตยไว ในสวนศีลเปนองคที่ ๔ แหงเบญจศีลในธรรมจริย า
สวนวจีสุจริตเปนองคที่ตนแลเปนองคที่ ๓ แหงอัฏฐังคิกมรรค โดนนัยนี้ชนผูขาดความสัตย จักเปน
ผูมีศีลจักเปนธรรมจารี จักเปนอารยบุคคลมาไดไม
ในฝายอาณาจั กรสัจจะจัดเปนราชธรรมประการหนึ่งโดยชื่อว าอาชวะคือความเป นผูตรง
ในทศพิ ธ ราชธรรมสํ า หรั บ พระราชาธิ บ ดี ใ นเรื่ อ งโบราณกล า งถึ ง พระราชาบางพระองค พ ลั้ ง
พระราชทานพรแกผูใดผูหนึ่งแลวทรงรูสึกภายหลังวาเปนการเกินสมควรยอมอักอวนพระราชหฤทัย
ไมนอยในที่สุดตองปลอยเลยตามเลย เพื่อจะแสดงวา พระราชา ยอมทรงหนักอยูในการรักษาสัตย
อันทานผูเปนพระราชาครองแผนดิน ไมใชเพียงตั้งอยูในสัจจะดวยพระองคเองยังชักนําพสกนิกรให
ตั้งอยูในสัจจะดวย เชนตั้งกฎหมายปองกันการหลอกลวงแลเบิกพยานเท็จเปนตน เอกชนก็ดี ชุมนุม
ชนก็ดี ผูมีธุระเกี่ยวถึงกันทําสัญญากันเนื่องดวยกิจการนั้นก็เพื่อผูกพันกันใหตั้งอยูในสัจจะ ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๓๕๙-๓๖๐.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๘ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
สจฺจคาถา
๑.อินทรวิเชียร ๒.ปฐยาวัตร
ยา อฺมฺเ อุชุตาตฺถิ เอสา อโหสิ โภชนาหาร- รโสชฺโฌหริตุ สุขํ
สจฺจนฺติ ปฺายติ ตฺหิ สจฺจํ อโหสิ นนฺทนตฺถาย ภิยฺโย กามคุโณ รโส
มิตฺตาน สามคฺคิปพนฺธิกํ โย ตุฏฐาวหํ ตุ สจฺจํทํ วิสฺสาสิกาน ทฬฺหโต
ปจฺฉินฺนสจฺโจ ภวตี ส ตสฺส สามคฺคึ พนฺธตี จตฺถํ สาเธติ ทีฆกาลโต
สามคฺคิธมฺโม น ปวตฺตตี เทว คณุตฺตมสฺส โปสสฺส ธมฺโม โหติ อิทํ วรํ
ชายปฺปตีกา อปยุตฺตสจฺจา
สจฺจฺจ ปากฏา สจฺจ- ปารมี อิติ นามโต
ทุกฺเขน สมฺพนฺธกรา วิวาทํ
โลกนาถสฺส พุทฺธสฺส ภวตี เอกปารมี
นิจฺจํ กโรนฺติ จ วสนฺติ ทุกฺขํ
เต วา ปกุพฺพนฺติ วิวาหโลป พุทฺธการกธมฺโม จ สจฺจสฺส หิ อภาวโต
ทิสฺวาฺมฺสฺส ปเนว สจฺจํ พุทฺธภูมิ วรา นตฺถิ สจฺจายุตฺตมฺป สาสนํ
สามคฺคิยา สพฺพธิ สํวสนฺติ น สฺวากฺขาตนฺติ โวหารํ นิคจฺฉติ อสจฺจโก
อตฺตตฺถเปกฺขา กยวิกฺกยีโน สจฺจาสมปฺปโต โปโส สีลวา ธมฺมจาริโก
กาตุ น สกฺโกนฺติ ปฏิจฺจ สจฺจํ อารยปฺปุคฺคโล เจว น ภวิสฺสติ ราชิโน
สกฺโกนฺติ กาตุมฺปน เตน วุตฺตํ เอโก ธมฺโม วโร หุตฺวา อาชฺชวํ อิติ นามโต
สจฺจํ หเว สาธุตรํ รสานํ ปฺายติ อิทํ สจฺจํ ราชา อฺตโร วรํ
อิจฺจสฺส สจฺจสฺส ปสํสนตฺถํ ยสฺส กสฺสจิ โปสสฺส ปมาเทน อทาสิ โส
๓.อุเปนทรวิเชียร ปจฺฉา ปน ปชานิตฺวา มยา นิยฺยาทิโต วโร
ปติฏฐิโต นสฺส สยฺจ สจฺเจ อนนุจฺฉวิโก โหติ อิจฺเจวํ หทยมฺหิ น
สมาทเป ตตฺถ ปชฺจ ราชา สุขํ ลภติ อนฺเต ตํ อธิกิจฺจํ น เปกฺขติ
นิวารณตฺถํ กุหนาย เอโส ขตฺติโย สจฺจวาจาย ปติฏ าตีติ ทสฺสิตุ
ปยุตฺตสจฺโจป เปยฺย เนตึ ๔.ปฐยาวัตร
สหการี หิ ปจฺเจก- ชโน วา ชนตา อุท
ปติฏ าปยิตุ อฺ- มฺ สจฺเจ หิตาวเห
ตํกิจฺจปริยาปนฺนํ สาตฺถํ สฺ ปกุพฺพตีติ ฯ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง

+ วิวาหโลป(ปุง)-การตัดออกการวิวาห,อยาราง ฯ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๙ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

ยาจโยคตาอันบุคคลจะบําเพ็ญใหเปนผลดีตองพรอมดวยอาการ ๒ คือมีกําลังทรัพยพอ
จะทําไดไมถึงตนเองตองกลับเปนผูขาดแคลนยากจน ๑ การอุปถัมภนั้นชวยผูขอใหพนจากความขาด
แคลนหรือเพียงพยุงตน ใหทรงตนอยูได ๑ ถาเปนแตสักวา มีคนขอก็ใหเพื่อสมความปรารถนา
ของเขาเชนนี้ลางทีกลับแตจะใหโทษแกผูรับไดทําเขาผูไดงายเปนคนสุรุยสุรายไมรูจักประหยัดทรัพย
ยวนความยากไดของเขาใหเจริญขึ้นถึงความเปนคนมักขอเปนที่เบื่อหนายของผูอื่น.สมเด็จพระบรม
โลกนาถเมื่อครั้งเสวยพระชาติเปนพระเวสสันดรทรงบําเพ็ญพระทานบารมีไดเคยทรงทดลองมาแลว
ไมเปนผลครั้งนั้นพระองคมีพระหฤทัยเผื่อแผแกมหาชน ทรงจําแนกนิพัทธทาน ที่ทรงทําเปนประจํา
แลมหาทานเปนพิเศษ ใครตองการ อาหาร เงินทอง ยานพาหนะขาทาสแลอื่น ๆ ก็พระราชทานให
สมปรารถนาบรรดาชนผูไ ดรับพระราโชปถัมภนาจะตั้งตนไดในโภคสมบัติแลรูจักอิ่มเอิบหาเปนเชนนั้น
ไม กลับอยากไดแลขอพระราชทาน สิ่งอื่น ๆ อีกตอไป จนไมรูจักประมาณ มงคลคชสารแลราชรถ
กําลังทรงก็ยังกลาขอพระราชทานไมยําเกรงแลเคารพในพระราชานุภาพไมเพียงเทานั้น พราหมณ
ชูชกยังกํ าเริบเหลือดีเ พียงภรรยาตอ งการทาสทาสี ทองมีก็ ไมปรารถนาจะชวยคนมาใช เห็นทาง
จะไดเปลาโลภจนไมรูสํานึกตน กลาทูลขอสองพระลูกเจาในคราวเสด็จออกอยูปาทรงบําเพ็ญพรต
ที่มีแตพระมัทรีกับสองพระโอรสพระธิดาเปนเพื่อนยากจนพระอินทรตองจําแลงเปนพราหมณมาจาก
เทวโลก ทูลขอพระมัทรีแลวมอบถวายไว สวนสองพระโอรสพระธิดาที่พราหมณชูชกทูลขอแลวไดมา
ความทราบถึงพระสัญชัยสีวิราช พระราชทานปราสาท แลโภคสมบัติอยางอื่นไถสองพระราชนัดดา
มิใชวาทําชูชกใหเปนสุขสมบูรณ กลับเพิ่มพูนความไมรูจักประมาณในการบริโภคสมบัติ จนถึงเปน
อันตรายชีวิตแตการบริจาคเห็นปานนั้นของพระองคไมสําเร็จประโยชน แกผูไดรับคุมกับประโยชน
สวนพระองคที่ทรงพราลงไปกลับยวนใหเขาเปนผูอยากได จนไมรูจักประมาณแมเปนทูเรนิทานคือ
เรื่องไกลไมเปนหลักแท แตก็พอเปนคติแหงผูจะขอแหงผูจะรับได ฯ
ตอมาในปจฉิมชาติทรงสันนิษฐานเห็นการบําเพ็ญพระทานบารมีแมอยางนั้นแลวยังไมอุกฏษฏ
เพราะขาดประโยคสมบัติจึงทรงออกทรงผนวชทรงนอมพระชนมชีพของพระองคเพื่อเปนประโยชน
แกมหาชนทั้งเทวดาทั้งมนุษยในทางเปนพระศาสดาสั่งสอน นี้เปนพระทานบารมีอยางปรมัตถ ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๓๘๖-๓๘๗.
+ ออกสอบแตงไทยเปนมคธ ป.ธ.๙ / ป๒๕๕๖ .
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๑๙ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
ยาจโยคตาคาถา
๑.ปฐ ยาวัตร
ปริปูเรตุกาเมน ชเนน ยาจโยคตา ตํวตฺถุการณา สกฺโก ทิชวณฺเณน อาคโต
ทฺวีหากาเรหิ กาตพฺพา สธโน จิธ ทายโก ยาจิตฺวา โพธิสตฺตสฺส มทฺทึ เทวึ ปุนสฺส ตํ
ทาตุ สกฺโกติ ทตฺวา น สยํ ทลิทฺทชาตโก ปฏิเทติ อุภินฺนนฺตุ นตฺตุภูตานมตฺตโน
ภวตี ยาจโก จสฺส ทาเนน อติกิจฺฉโต กุมารานํภิยาจิตฺวา ชูชกปฺปฏิลทฺธตํ
มุจฺจตี อุท ยาเปตุ สกฺโกติ วา สเจธ โก ชานิตฺวา สฺชโย ราชา ปาสาทฺจสฺส กิงฺกเร
อาคโต ยาจตี ตสฺส วิตฺตํ ทเท ยถิจฺฉิตํ อฺ วิตฺตํ กุมารานํ นิกฺกยํทาสิ โส ปน
เอวํ ยาจกภูโต โย ปฏิคฺคาหกปุคฺคโล ชูชโก อติมตฺเตน ภุตฺตาหารา สยํ มโต
ตสฺส โทโส สิยา วิตฺตํ สุเขน ปฏิคาหโก ทูเรนิทานภูตฺหิ กิฺจาป ยาจโต ปน
ลภนฺโต วิกิริตฺวาน ธนํ โภควลฺชเน ททโต คติภูตมฺป สิยา อิทํ นิทสฺสิตํ
อมตฺตฺู สิยา สพฺพํ ตฺจ ทานํส ลุพฺภนํ ๒.อินทรวงศ
วฑฺเฒยฺยาป อธิคฺคจฺเฉ เอโส ยาจนสีลตํ โส โพธิสตฺโตนฺติมชาติยํ มยา
ปเรสํ โหติ เชคุจฺโฉ เอสา หิ ยาจโยคตา ยา สา ตถา ปูริตทานปารมี
เสฏาตฺถิ สมฺปตฺติปโยคฉิชฺชนา
เวสฺสนฺตเรน สพฺพตฺถ กตปุพฺพา อโหสิ ตํ
ตสฺสา อนุกฺกฏกตาติ จินฺตยี
ทานํส นิปฺผลํ โหติ เวสฺสนฺตโร สุทํ วโร
๓.อินทรวิเชียร
นิพทฺธํทาสิ ทานานิ มหาชนสฺส โก อิธ
ตสฺมาภินิกฺขมฺม ปชาย สตฺถา
ยํ อาหาราทิวตฺถูสุ อิจฺเฉ ตสฺส ยถิจฺฉิตํ หุตฺวา สเทวสฺส มหาชนสฺส
ตํทาสิ เต หิ ราโชป- ถมฺภิตา เตสุ เอกธา สาเธสิ อตฺถํ ปรมตฺถทานํ
ปติฏฐ าเปยฺยุมตฺตานํ มฺเ อุท ยาจเน อิจฺเจวมกฺขายติ ตํส ทานนฺติ ฯ
ติตฺตกา วา สิยุ มฺเ เนเต ภวนฺติ ตาทิสา
เอเต ชนา อมตฺตฺู อิจฺฉนฺติ อุตฺตรุตฺตรึ
อปรานิป วตฺถูนิ ยาจนฺติ เกจิ ยาจกา
หตฺถึ รถฺจ ยาจึสุ ยทา เวสฺสนฺตโร วโร
โพธิสตฺโต สมทฺที จ สกณฺโห จ สชาลิ จ
ตปสฺส จรณตฺถาย ปวิฏโ โหติ วงฺกตํ
ตทา วณิพฺพโก เอโก ชูชโก นาม พฺราหฺมโณ
วงฺกตปฺปพฺพตํ คนฺตฺวา อุโภ ยาจิ กุมารเก
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
+ นิกฺกย(ปุง)-คาไถ,กิงฺกร(ปุง)-บาว,ไพร,คนรับใช ฯ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๐ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

อุบายโกศลนั้นคือความเปนผูฉลาดในอุบายสําหรับประกอบกิจนั้น ๆ มีวิภาคเปน ๒ ประการ


อายโกศลความเปนผูฉลาดรอบรูเหตุเปนเครื่องเจริญ ๑ อปายโกศล ความเปนผูฉลาดรอบรูเหตุ
เปนเครื่องเสื่อม ๑ .คุณขอนี้มีในทานผูใดแลวทานผูนั้นยอมเขาใจในที่จะประกอบกิจไมใหอากูล
ยังประโยชนตนประโยชนทานใหสําเร็จบริบูรณโดยสามารถแมเมื่อมีภัยที่นาหวั่นหวาดตั้งอยูรอบดาน
ยังอาจดําริการณผอนปรนทําตนและผูอื่นใหรอดสวัสดี ความนี้พึงสาธกดวยเรื่องในมหาปรินิพพาน
สูตรในทีฆนิกายมหาวรรคครั้งเมื่อคณะมัลละกษัตริยผูครองกุสินารานครนอยทําการถวายพระเพลิง
พระพุทธสรีระแลวขาวทราบไปถึงกษัตริยและประชาธิบดีผูครองราชยธานี และนครใหญ ๗ ตําบล
มีพระเจาอชาตศัตรูราชผูดํารงราไชศวรรยาธิปตย ณ มคธรัฐราชอาณาจักรเปนประธานตางพระองค
ทรงแตงราชทูตจําทูลพระราชสาสนสงไปสูกุสินารานครใหทูลขอสวนพระพุทธสารีริกธาตุตอมัลละ
กษัตริยเพื่อทูลเชิญมาบรรจุไวในพระสถูปเปนที่สักการบูชาถาคณะมัลละกษัตริยจะไมฉลาดในอุบาย
หยั่งรูเห็นการณขางหนา พอทูตเมืองไหนมาถึงก็จะแจกใหไป ๆ ฉวยวาพระสารีริกธาตุหมดแลวจะมี
ใครมาขออี ก และจะไม ไ ด ห รื อ ผู ที่ ไ ด แ จกแล ว แต จ ะไม พ อประสงค เ พี ย งเท า นั้ น ยั ง ต อ งการอี ก
เมื่อไมไดสมประสงคก็จะเกิดอาฆาตบาดหมางแลวจะเขากันหรือแตลําพังยกพยุหแสนยากรมา
ทํา สงครามเพื่ อ จะชิ ง เอาโดยพลการไหนเลยคณะมั ล ละกษั ต ริ ย ผูมี กํ า ลั ง นอ ยจะต อต า นข า ศึ ก
ผูมีกําลังมากกวาไดถึงอยางไรก็ไมควรใหมีสงครามมาติดพระนครในอันใชที่
คณะมัลละกษัตริยทรงเห็นการณดังนี้ จึงยังไมยอมแจกพระสารีริธาตุใหไปกอนกวาทูตหลาย
พระนครจะมาพรอมกันเขาแลวและรบเราจะใหแจกจนได เมื่อเปนสมัยเชนนี้จึงโทณะมหาพราหมณ
ไดกลาวสุนทรกถาแนะนําทูต ๗ พระนครใหสโมสรสามัคคีกับคณะมัลละกษัตริยเขาไดแลวพรอมใจ
กันแบงกันพระสารีริกธาตุออกเปน ๘ สวน แจกแกกันฝายละสวนเมื่อทําเชนนี้ หากจะมีใครมาขอ
ในภายหลังก็จะอางไดถนัดวาพระสารีริกธาตุนั้นแบงกันหมดแลว ถาจะขัดขืนตอยุทธทําสัมประหาร
เพื่อแยงชิง ก็จะไดอาศัย ๗ พระนครนั้นอันรวมสามัคคีธรรมเปนกําลังชวยตอสูพวกขาศึกขอนี้ก็มีผล
เมือ่ แจกพระธาตุกันเสร็จแลวคณะโมริยะกษัตริยเมืองปปผลิวันเพิ่งทราบขาวและแตงทูตมาขอสวน
พระสารีริกธาตุ ก็ไดไปแตพระอังคารที่ยังเหลือ ไมสามารถจะขูเข็ญคณะมัลละกษัตริยใหยอมแบง
สวนของตนให อีก คณะมัล ละกษัต ริย และโทณะพราหมณฉลาดในอุบายหยั่งเห็น การณข างหน า
ปฏิ บั ติ ร าชกิ จ ต อ งตามท ว งที ทํ า พระนครให ส วั ส ดี จ ากมหาภั ย อั น น า หวาดหวั่ น เห็ น ปานนั้ น
ดวยประการฉะนี้ ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๓๒ .
+ ออกสอบแตงไทยเปนมคธ ป.ธ.๙ / ป๒๕๔๙ .
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๐ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
อุปายโกสลฺลคาถา ๒
๑.ปฐยาวัตร
ยนฺตํ อุปายโกสลฺลํ ตํตํกิจฺจาน โยคฺคกํ อพฺภุคฺคจฺฉิ อิทํ ญตฺวา อชาตสตฺตุอาทโย
ตํ อายาปายโกสสฺล- วเสน โหติ ทุพฺพิธํ ราชปฺปชาปตี สตฺต พุทฺธสฺส อฏฐิธาตุโย
ยสฺส โปสสฺสิทํ อตฺถิ โส กรณฺยมนากุลํ ยาจิตฺวา อาหริตฺวาน ปชาย ปูชนาวเห
ปยุฺชิตุ ปชานิตฺวา อตฺตโน จ ปเรส จ ถูเป นิธาปนตฺถาย ทูเต มลฺลปุรํ ลหุ
อตฺถํ สพฺพตฺถ สาเธติ สามตฺถิยานุรูปโต อเปเสสุ สเจ มลฺลา อุปาเย จ อโกสลา
ภยานกภยสฺมิฺหิ สมนฺตา ปจฺจุปฏฐิเต อทีฆทสฺสิโน เจว อภวิสฺสํสุ ตํขณํ
การณํ สิถิลํ กตฺวา จินฺตมาโน ส โสตฺถินา อาคตาคตทูตสฺส เอเกกสฺสฏฐิธาตุโย
อตฺตโน จ ปเรสฺจ มุจฺจาปนาย สกฺกุเณ วิภชิตฺวา อทิสฺสํสุ ยทิ เอตา ปริกฺขิณา
โกสินารกมลฺลา จ สุคเต ปรินิพฺพุเต โยโกจิ วา ปุนาคนฺตฺวา ยาจนฺโต นาลภิสฺส ตา
สรีรมสฺส ฌาเปสุ ชมฺพุทีเป ปวตฺตนํ ตํวิภตฺตฏฐิธาตู วา ลภิตฺวา อฺขตฺติโย
๒.อินทรวิเชียร ลทฺธกาหิ อสนฺตุฏโฐ อภิปฺปตฺถิสฺส เตน หิ
พุทฺธฏฐิธาตูน วิภตฺตกาเล โกสินารกมลฺลานํ อาฆาโต อุทปาทติ
ญตฺวา สุทํ โมริยกา ปวตฺตึ ขตฺติยา เอกโต หุตฺวา มหาเสนาย อาคตา
ตา ยาจิตุ เปสิตทูตภูตา พลกฺกาเรน ตา ธาตู อจฺฉินฺทิตุ มหารณํ

องฺคารธาตุ อลภึสุ เสสํ ปกุพฺพิสฺสนฺติ มลฺลา ตุ อปฺปเสนา มหารณํ


นิวาริตุ น สกฺโกนฺติ อถโข ตํ มหารณํ
๓.วังสัฏฐะ
น อุปฺปชฺเชยฺย เอวฺหิ เต มลฺลา ทีฆทสฺสิโน
อุปายโกสลฺลสมปฺปตา หิ เต
ยทา นาคจฺฉเร ทูตา อาคเมตฺวา ขณํ ตทา
ทิโช จ มลฺลา อติทีฆทสฺสิโน
น เอเกกสฺส ทูตสฺส วิภชิตฺวา ททนฺติ ตา
อกํสุ รฏฐํ กุสินารมตฺตโน
อถ โทโณ ทิโช พฺยตฺโต กเถตฺวา สุนฺทรํ กถํ
สุวตฺถิปตฺตํ สตตํ มหพฺภยาติ ฯ
เอเต ทูเต สมคฺเคป กตฺวา พุทฺธฏฐิธาตุโย
สมํ เอเกกทูตสฺส วิภชิตฺวาน อฏฐธา
อนิยฺยาเทสิ ปจฺฉา เจ โก ตา ยาจิตุมาคโต
สตฺตธานีน ภูปาลา สามคฺคีธมฺมยุตฺตกา
สพฺเพ ริปู นิวาเรตุ นิตฺถริสฺสนฺติ เอกโต
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๑ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

อีกอยางหนึ่งชนผูเปนมิตรแหงกันประพฤติตนตามฉันที่เปนมิตรมีจิตคงที่ไมแปรผันในเวลาที่
ฝายหนึ่งไดดีผิดวากันหรือฝายหนึ่งเสื่อมทรามลงไปดังนี้ไดชื่อวาประพฤติตนสม่ําเสมอในมิตรธรรม
อันมิตรนี้ถึงแมจะมิใชญาติแตคบกันสนิทแลวก็เหมือนญาติที่สนิทเมื่อกิจเกิดขึ้นก็ยอมเปนกําลังชวย
ใหสําเร็จไปไดและเปนผูรูสึกดวยในสมบัติวิบัตกิ ็แตมิตรนี้มีประเภทตาง ๆ เมื่อยนกลาวก็เปน ๒ ขอ
คือปาปมิตรสหายที่เปนคน ไมดีกลาวโดยอริยโวหารวามิตตปฏิรูปคนเทียมมิตรก็มี กัลยาณมิตร
สหายทีเ่ ปนคนดีที่จัดเปนมิตรแทก็มแี ละกิริยาที่คบมิตรเลาก็ผิดกับกิริยาที่นับถือญาติบุคคลนับถือกัน
วาเปนญาติก็เพราะนับถื อวาเปนผูเนื่องกันทางฝายมารดาหรือฝายบิด าแตจะคบกันเปนมิตรนั้ น
ก็เพราะเปนผูถูกอัธยาศัยรวมกันในกิจการนั้น ๆ การคบมิตรจึงเปนสําคัญปจจัยภายนอกที่จะจูงให
บุคคลถึงความเสื่อมหรือความเจริญเหตุดังนั้นพุทธาทิบัณฑิตจึงหามคบปาปมิตรเสียแนะนําใหคบแต
กัลยาณมิ ตรและกัลยาณมิ ตรนั้นท านพรรณนาวาเปนป จจั ยแห งความเจริ ญดว ยโภคสมบัติ และ
ความเจริญดวยคุณสมบัติทั้งที่เปนสวนโลกิยะและโลกุดรเมื่อผูใดไดกัลยาณมิตรแลวก็พึงผูกใจ
ดวยสังคหวิธีตามสมควรขอนี้พึงสันนิษฐานโดยพระพุทโธวาทตรัสสอนสิงคาลมาณพคฤหบดีบุตร
ในสิงคาลสูตรวา ปฺจหิ โข คหปติปุตฺต าเนหิ กุลปุตฺเตน อุตฺตรา ทิสา มิตฺตามจฺจา ปจฺจุปฏา-
ตพฺพา ดูกอนคฤหบดีบุตรมิตรอมาตย ทิศเบื้องซาย อันกุลบุตรพึงบํารุงดวย ๕ สถานคือ ทาเนน
ดวยการใหปนทรัพยพัสดุตามสมควร๑เปยฺยวชฺเชน ดวยเจรจาที่ไพเราะดื่มไวในใจ๑ อตฺถจริยาย
ดวยประพฤติประโยชนแกกันในคราวที่ตองการ๑ สมานตฺตตาย ดวยความเปนผูมีตนสม่ําเสมอ๑
อวิสํวาทนตาย ดวยความไมแกลงกลาวใหผิดจากจริง๑ สมานัตตตา ความเปนผูมีตนสม่ําเสมอ
ในมิตรธรรมพึงใหเปนไป ในบุคคลผูเปนมิตรตามสมควรฉะนี้ ฯ
อี ก ประการหนึ่ ง ชนผู นั บ เนื่ อ งในหมู เ ดี ย วกั น เป น พวกเดี ย วกั น ไม คิ ด เอารั ด เอาเปรี ย บ
ตางรักษาประโยชนของกันดังนี้ไดชื่อวาประพฤติตนสม่ําเสมอในตัปปริยาปนนธรรมคือธรรมของชน
ผูเนื่องในหมูนั้น ๆ ธรรมดาชนผูเนื่องในหมูเมื่อคิดจะรักษาประโยชนตนก็ตองรักษาประโยชนผูอื่นดวย
เหมือนกันประโยชนของตนจึงจะมั่นคงถาวร ถาเห็นแตไดและตัดรอนประโยชนผูอื่นประโยชนตน
ก็จะไมยั่งยืนอยูไดเหมือนดังไมหลาย ๆ อันที่ตั้งยันกันอยูมีผูชักออกเสียจนมีกําลังไมพอที่จะทานกัน
ไวไดก็ตางจะตองลมฉะนั้น. เหตุดังนี้ สมเด็จพระบรมโลกนาถเจาจึงตรัสสั่งสอนคนที่เปนหมูเหลา
ใหประพฤติถอยคําที่รักษาประโยชนของกันและกัน ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๓๘-๓๙.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๑ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
มิตตฺ ธมฺเม สมานตฺตตาคาถา
๑.อินทรวิเชียร ๒.ปฐยาวัตร
มิตฺโตฺญมฺญสฺส สุหชฺชภูโต ปาปมิตฺโต จ กลฺยาณ- มิตฺโตติ โหติ ทุพฺพิโธ
มาเนติ ปูเชติ จ อฺญมฺญํ โส มิตฺตปฏิรูโปติ เอวํ สงฺขํ นิคจฺฉติ
โส ตุ กลฺยาณมิตฺโตป สุหโทติ ปวุจฺจติ
มิตฺตสฺส สมฺปตฺติวิปตฺติกมฺเม
มิตฺตสฺส เสวนา โหติ น ญาติมานนาสมา
ตาที จ โหเต อิติ มิตฺตธมฺเม
มาตุยา ปตุ วา ปกฺข- โตฺญมฺญสฺส ญาติตํ
เอโส สมานตฺตตมจฺจุเปโต
มาเนติ ปุคฺคโล มิตฺโต สมานชฺฌาสโย ปน
มิตฺโต อยํ โหติ อญาตภูโต
สหกุพฺพติ กิจฺจานิ ตสฺมา มิตฺตสฺส เสวนา
วิสฺสาสปตฺโต ปน อฺญมฺเญ
ปุคฺคลํ อุปเสวนฺตํ วุฑฺฒิยํ อุท หานิยํ
ญาตี สินิทฺโธ อิติ เวทิตพฺโพ
๓.อินทรวงศ นิโยเชตุมฺป สกฺโกติ ปาปมิตฺตสฺส เสวนา
เอกนฺตโต เจ ส สทตฺถเปกฺขโก ปณฺฑิเตหิ ปฏิกฺขิตฺตา กลฺยาณมิตฺตเสวนา
ภฺเช ปรตฺถํ อจิรฏฐิโต จ โส พุทฺธาทีหิ อนุฺญาตา กลฺยาณมิตฺตลทฺธโก
สพฺโพ สทตฺโถป อถาวโร สิยา สิยา โย ปุคฺคโล นาม โส สุฏุ ตสฺส มานสํ
ตสฺมา คิหีนฺจ ชิเนน ภาสิตา สมฺมาปาเสยฺย ทาเนน อิจฺจาทิปฺจภาคโต
ภิกฺขูน โหเต อนุสาสิตา สทา นานาสงฺคหวตฺถูหิ มิตฺตธมฺเม หิตาวหา
วาจาฺญมฺญสฺส หิตานุรกฺขิกาติ ฯ สา สมานตฺตตา มิตฺเต ภาเวตพฺพา ยถารหํ
อถวา ปุคฺคลา สพฺเพ เอกคฺคณนิวาสิโน
อฺญมฺญฺจ มาเนนฺติ ปรตฺถภฺชเนน จ
อตฺตทตฺถํ น เปกฺขนฺติ สพฺพตฺถํ สฏุ รกฺขเร
เอวํ ตปฺปริยาปนฺน- ธมฺเมสุ เตป ปุคฺคลา
สมฺจรนฺติ นามตฺต- ทตฺถํ ตุ อนุรกฺขตา
ปรตฺโถ รกฺขิตพฺโพตฺต- ทตฺโถ โหหิติ ถาวโร

พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง

+ ศัพทพวง สกฺกโรติ,ครุกโรติ,มาเนติ,ปูเชติ,อปจายติ, สกฺกโต,ครุกโต,มานิโต,ปูชิโต,อปจิโต ฯ


ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๒ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

ขั น ติ เ ป น ประธานคื อ ขั น ติ เ ป น ใหญ เ ป น เหตุ นํ า และสิ่ ง ที่ ขั น ติ นํ า ให เ กิ ด คื อ ศี ล และสมาธิ


อันเปนคุณทั้ง ๒ ประการ ศีลก็ตาม สมาธิก็ตาม จักไมเกิดจากความไมอดทนหรือความไมมีขันติ
ขั น ติ ทํ า ให ยั บ ยั้ ง การทํ า ลายชี วิ ต เพราะอดทนได ต อ ความยั่ ว ทางอารมณ เ ช น ความโกรธ
ความปรารถนาตอ งการที่ ผิ ดศี ล ผิด ธรรมอย างรุ นแรงจนถึ ง อาจทํา ลายชี วิต กัน ไดเ พี ยงเพื่อ ให
สมปรารถนาขั น ติ ทํ า ให รั ก ษาศี ล ข อ ๒ได ศี ล ข อ ๒ คื อ เว น จากการถื อ เอาของที่ ไ ม ใ ช ข องตน
เมื่อความปรารถนาตองการเกิดขึ้นแมไมมีขันติความอดทนเพียงพอก็ยอมละเมิดศีลขอ ๒ ขันติทําให
รักษาศีลขอ ๓ คือเวนจากการผิดประเวณี ก็มีเหตุผลเชนเดียวกันวารักษาศีลขอนี้ไมได แมไมรูจัก
อดทนตอความใคร ความปรารถนาที่ผิดศีลผิดธรรมตองมีขันติ อดทนจนสามารถชนะความใคร
ความปรารถนาที่ ผิดศี ลผิ ดธรรมได จึ งจะรักษาศี ลขอ ๓ ไดขั นติทํ าให รัก ษาศี ลขอ ๔ ได คือ มี
ความอดทนเอาชนะความรูสึกที่จะพูดความไมจริงเพื่อทําผูอื่นใหเขาใจผิดจึงจะรักษาศีลขอ ๔ ได
ทุกคนอาจจะมีเวลาตองการบิดเบือนความจริงบางอยาง เพื่อประโยชนของตนแตถาสามารถอดทน
เอาชนะความต อ งการนั้ น ได ก็ จ ะรั ก ษาศี ล ข อ ๔ ได ได เ ป น ผู มี ว าจาสั ต ย ซึ่ ง เป น ที่ ส รรเสริ ญ
ของบัณฑิตทั้งปวงและขันติทําใหรักษาศีลขอ ๕ ไดผูที่เสพของเมา คือผูที่ไมสามารถอดทนเอาชนะ
ความรูสึกที่ตองการอารมณมึนเมาได จึงไมสามารถรักษาศีลขอ ๕ ได แมจะเคยรูรสชาติของสิ่งมึน
เมามากอน เคยรูสึกเปนสุขกับความเคลิบเคลิ้มที่เกิดแตอํานาจของเสพติดทั้งหลาย แตถามีขันติ
เกิดขึ้น เอาชนะความปรารถนาตองการจะไดรับอารมณมึนเมาได ก็จะสามารถรักษาศีลขอ ๕ ได
เลิกละการเสพสิ่งมอมเมาทัง้ หลายไดผูมีขันติอดทนได เอาชนะความโกรธ ความปรารถนาตองการ
ที่ผิดศีลผิดธรรม ความใคร ความมีเจตนาทําใหเกิดความเขาใจผิดจากความจริงและความตองการ
อารมณเคลิบเคลิ้มมึนเมาได จักเปนผูมีศีลไดและมีสมาธิไดเพราะใจที่มีศีลสะอาดนั้น เปนใจที่สมาธิ
เกิดงาย จึงเปนใจที่มีสมาธิได
ผูมีศีลมีสมาธิยอมเปนผูที่สามารถยังกุศลธรรมคือความดีทั้งปวงใหเจริญได ทานจึงแสดงไว
วา กุศลธรรมทั้งปวง ยอมเจริญ เพราะขันติเทานั้น ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๑๒๐.

+ ออกสอบแตงไทยเปนมคธ ป.ธ.๙ / ป ๒๕๕๑ .


ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๒ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
ขนฺตคิ าถา ๒
๑.ปฐยาวัตร
ขนฺติ เม วุจฺจเต ทฺวินฺนํ สีลํ สมาธิ จาติ สา อตฺตทตฺถสฺส อตฺถาย วิสํวาทิตุกามกา
คุณานมฺป ปธานฺจ โหติ อุปฺปาทการณํ สเจ ปน ขมา เชตุ ตํ วิสํวาทนํ สิยุ
น ขนฺติยา อภาเวน เทว สีลมฺป สมาธิป สกฺโกนฺติ รกฺขิตุ สีลํ จตุตฺถํ สจฺจวาทกา
อุปฺปชฺชนฺติ ปฏิจฺเจเต ขนฺติมฺปนุทปาทเร สพฺเพสํ ปณฺฑิตานฺจ โหนฺเต ปสํสนียกา
เอสา ปฺจมสีลสฺส โหติ รกฺขณการณํ
ขนฺติ ปาณาติปาตสฺส นิเสธนสฺส การณํ
๒.อินทรวิเชียร
ชโน หิ ขนฺติสมฺปนฺโน โกธาทิปฬนสฺส จ
เชตุ อสกฺขมฺปน มชฺชปานํ
อธมฺมิกาย อิจฺฉาย ปาณาติปาตกมฺมุโน โย มชฺชโป โหติ น ปฺจมํทํ
กรณตฺถํ สมตฺถาย ขโม ภวติ เตน หิ โส รกฺขิตุ สกฺขติ สีลมสฺมึ
เอสา ทุติยสีลสฺส โหติ รกฺขณการณํ โลเก ชโน มชฺชรสฺุชาโต
ยทาป ปรภณฺเฑสุ อตฺริจฺฉา อุทปาทติ มชฺชาน ปาเนน อติสฺสุขี วา
สเจ ขนฺติ ตทา นสฺส ตํ อชฺฌาจรตี ชโน โย ภูตปุพฺโพป อโหสิ ขนฺติ
เอสา ตติยสีลสฺส โหติ รกฺขณการณํ อุปฺปชฺชิยา เจ ปน ขนฺติยุตฺโต
อธมฺมิกาน กามานํ อกฺขโม อิธ ปุคฺคโล เชตุฺจ สกฺโกติป มชฺชปานํ
ยทา เจ ขนฺติสมฺปนฺโน ยาว กาเม อธมฺมิเก อารกฺขิตุ สีลมิทฺจ ภิยฺโย
เชตุ สกฺโกติ ตาเวส ขโม โหติ ตทา อิทํ มชฺชาน ปานา วิรเมติ สมฺมา
สีลํ รกฺขิตุ สกฺโกติ สา จตุตฺถสฺส อุตฺตรึ ๓.อินทรวงศ
มุสาวาทาเวรมณี อิติ รกฺขณการณํ โกธฺหิ อตฺริตฺฉมธมฺมิกฺจ โย
เชตุ ปรวิสํวาท- โต มุสาวาทเจตนํ กามํ วิสํวาทนเจตนํ ชโน
ยาว สกฺโกติ โย ตาว ขโม ภวติ โส อิทํ สพฺพสฺสุราเมรยปานเจตนํ
สีลํ รกฺขิตุ สกฺโกติ กทาจิ อิธ ปุคฺคลา เชตุ สทา สกฺขติ ขนฺติยุตฺตโก
๔.ปฐยาวัตร โหนฺติสฺส ลีลฺจ สมาธิ อุตฺตรึ
ปุณฺโณ สีลสมาธีหิ สมุปฺปนฺเนหิ ขนฺติยา สมฺมา สมาธียติ ตสฺส มานสํ
ปุคฺคโล กุสเล ธมฺเม อภิวฑฺเฒตุ สกฺขติ
ตสฺมา หิ อิทมุทฺทิฏ  ขนฺติธมฺมํ ปสํสิตุ
สพฺเพป กุสลา ธมฺมา ขนฺตฺยาเยว วฑฺฒนฺติ เตติ ฯ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๓ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

สันตินั้นคือความสงบเปนผลสืบมาแตสหกรณเปนคุณสมบัติอันจะพึงปรารถนาทั้งทางคดีโลก
ทั้งทางคดีธรรม.ในทางคดีโลก การปกครองตั้งแตของชนผูเปนอธิบดีแหงสกุลแหงคณะตลอดถึง
พระราชอาณาจั ก รมี สั น ติ เ ป น ข อมุ ง หมายอั น ใหญ . คนในสกุ ล เกิด ทะเลาะวิ ว าทกั น คนในคณะ
เบียดเบียนทํารายกันตางอยูไมเปนสุขหัวหนาของสกุลของคณะจําคิดปองกันการทะเลาะวิวาทแล
การเบียดเบียนกันไมใหเกิดขึ้น แลระงับเหตุอันเกิดขึ้นแลว รักษาการอยูสงบเปนนิตย.ไมเพียงเทานั้น
เปนอริกันขึ้นกับสกุลหรือคณะอื่น เปนตนวา ที่อยูติดกันหรือมีประโยชนรวมกัน ผลอันไมพึงปรารถนา
จะพึงมีมาแตภายนอกหัวหนาทุกฝายจําทําไมตรีรูจักมักคุนกันตางจึงจักอยูเปนสุข.ราชอาณาจักร
มีโจรผูรายทําโจรกรรมปลนทรั พยลอบยิงผลาญชีวิตทํารายรางกายชุกชุมประชาราษฎรตองอยู
ดวยความหวาดเสียว วางใจในชีวิต รางกายแลทรัพยสมบัติลงมิได. เพราะเหตุนั้นเมื่อพระเจามหา
วิชิต ราช ทรงพระปรารภจะบู ชามหายัญพราหมณ ปุโรหิต จึงกราบทูล ขอเพื่อ ทรงระงั บโจรผู รา ย
เสี้ยนหนามแหงแผนดินใหราบคาบยังพระราชอาณาเขตใหเกษมสงบเปนเบื้องตนกอน
แลกราบทูลแนะอุบายถวายพระเจามหาวิชิตราชทรงทําตามระงับเสี้ยนหนามแผนดินราบคาบ
ยังประชาราษฎรใหอยูดวยความสุขเกษมที่แสดงวายังบุตรใหฟอนอยูที่อกอยูราวกับไมตองลงลิ่ม
ประตูเรือนดังชักมาถวายวิสัชนาแลวในอธิการแหงสหกรณ แตนั้นจึงไดทรงบูชามหายัญสําเร็จดวยดี
ประชาราษฎรยกพระเจามหาสมมติราชผูเปนเจาปกครองแลยอมแบงผลแหงการงานของตน ถวาย
เปนราชพลี ก็เพื่อวาจะไดทรงรักษาความสงบแหงตนที่ไมอาจทําตามลําพังตนเองได ฯ
เนื่องจากประเพณีนี้ ทานผูครองอาณาจักรตั้งกฎหมายไวเพื่อลงโทษผูทําผิดแลระงับวิวาท
เรื่องทรัพยกับรักษาสิทธิ์แลอิสรภาพของทวยประชาตั้งศาลไวพิจารณาชี้ขาดจัดอารักขาเพื่อปองกัน
อุบาทวภยันตรายแกโจรผูรายแลจัดการอยางอื่นอีก ก็เพื่อรักษาความสงบภายใน.จัดเสนาสะสม
ศัส ตราวุ ธ ยุ ท ธภั ณ ฑเ สบี ย งพาหนะแลอื่ น ๆ ก็ ดี ผู ก ไมตรี มี สั ญ ญาต อ กั น กั บต า งอาณาจั ก รก็ ดี
ก็เพื่อรักษาความสงบภายนอก.สันติเปนผลตนเคาแหงรัฐประศาสนสําเร็จดวยอํานาจกําลังทรัพย
อันพึงนับมิไดทั้งดวยสติปญญาอุตสาหะสามารถแลสหกรณเปนกิจอันจะพึงทํากอนอยางอื่นทั้งนั้น ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๓๑๑-๓๑๒.
+ ออกสอบแตงไทยเปนมคธ ป.ธ.๙ / ป ๒๕๕๒ .
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๓ / ๒๕๖๐-๒๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
สนฺตคิ าถา ๑
๑.ปฐยาวัตร ๔.ปฐยาวัตร
สหกรณสมฺภูตา คิหินา อุท ภิกฺขุนา ตสฺมา กิร มหายฺญ- ปูชนํ กาตุกามโก
สมิจฺฉิตพฺพสมฺปตฺติ โหติ สนฺติ กุลสฺส จ มหาวิชิตราชาป ปุโรหิเตน อตฺตโน
คณสฺส ปมุโข โปโส อาณาจกฺกิสฺสโร อุท อาโรจิตวิธาเนน รฏฐํ วูปสเมติ จ
สพฺพํ ปสาสนํ กุพฺเพ สนฺติปฺปรายนํ สทา อาณาจกฺกสฺส สพฺพตฺถ กณฺฏกฺจ ปมทฺทติ
มนุชา กุลวาสี วา คณวาสี อภิกฺขณํ รฏเ ปชํ นิวาเสติ สุขเขเมน สพฺพทา
วิวทนฺติ วิหึสนฺติ อฺญมฺญํ ปทุสฺสเร ตปฺปจฺจยา ปชา ลทฺธา อสฺสาทํ โภคชีวิเต
เอเตสํ สุขสํวาโส นตฺถิ สนฺติสมปฺปตํ วิชาตมาตุยา ปุตฺโต อุเร นจฺจาปโต วิย
วิธานมฺปน เอเตสํ ปมุเขน ยถาพลํ สพฺพโส ฆรทฺวาเรสุ อคฺคลานํ อภาวโต
กาตพฺพํ โหติ วาเรตุ วิวาทฺจ วิเหฐนํ ภวตี สุขสํวาสา นิพฺภยา จ สุเขธิตา
๒.อินทรวิเชียร มหาวิชิตราชา ตุ มหายฺสฺส ปูชนํ
เย เตปจาสนฺนฆเร วสนฺติ สเมน สุฏุ สาเธติ ตสฺมา หิ รฏฐิกา ชนา
กิจฺจํ อเนกํ สหกุพฺพเร วา มหาสมฺมติราชานํ อุทฺทิสฺส อตฺตนา กโต
เอเต สมคฺคา น ภวนฺติ เอวํ โย กมฺมนฺโตตฺถิ เอตสฺส ผลํ ราชพลึ อทุ
เตสํ อนิฏฐํ อุปสคฺคกมฺมํ ปเวณิยา อิมายาณา- จกฺกิสฺสรา สุทํ ชนา
อุปฺปชฺชิยา ตํปมุโข ตุ เตสํ อนฺโตสนฺตฺยาภิรกฺขาย โย ทุจฺจริตการโก
สมฺมาฺญมฺเญสุ วิสาสกิจฺจํ ตสฺส ทณฺฑํ ปเณตุฺจ วิวาทฺจ นิวาริตุ
กุพฺเพยฺย เมตฺตาย อเถว เอเต ฐเปนฺติ นิติปฺญตฺตึ นานฏฏํ สุวินิจฺฉิตุ
โปสา วสิสฺสนฺติ สุเขน ภิยฺโย โวหาริกาน สาลฺจ เปนฺติ โจรอาทิภิ
๓.วสันตดิลก ภยานํ ปฏิพาหาย คุตฺตึ สํวิทหนฺติ จ
โจรา พหู อติกโรนฺติ จ โจรกมฺมํ พหิสนฺตฺยาภิรกฺขาย อาณาจกฺกิสฺสรา ชนา
ฆาเตนฺติ รฏฐิกปชฺจ สรีรมสฺสา เสนํ วา ยุทฺธภณฺฑานิ สชฺเชนฺติ อาวุธานิ วา
ปเฬนฺติ ตาสปฏิยุตฺตมเนน ชีวํ สห อฺเญหิ รฏเฐหิ เมตฺตึ พนฺธนฺติ เอกโต
กปฺเปติ ชีวิตธเนสุ ปชา นิราสา เอวํ สติ อยํ สนฺติ สทา รฏฐปสาสเน
อิจฺฉิตพฺพา จ กาตพฺพา สพฺพปฺปฐมมุตฺตรินฺติ ฯ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๔ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

อันอักโกธะ คือความไมโกรธอันเปนทศพิธราชธรรมขอที่ ๗ ที่ไดแสดงมาแลวนั้นคือความที่


ไมลุอํานาจตอความโกรธอันรวมความถึงโทสะพยาบาทอันจะทําใหทํารายผูอื่น ดวยอํานาจของ
ความโกรธ ดวยอํานาจของโทสะซึ่งหมายถึงความที่มีเมตตานั้นเอง แตการที่ไมยกเอาเมตตาเปน
ที่ตั้งออกหนา แตยกเอาอักโกธะคือความไมโกรธออกหนาก็เพื่อจะจี้จุดอันสําคัญของผูปกครอง
ซึ่งเปนผูมีอํานาจซึ่งตั้งแตโบราณมามักจะเปนผูลุอํานาจของความโกรธเมื่อโกรธขึ้นมาก็มักจะสั่ง
ทํารายทารุณผูที่ถูกโกรธนั้นผูมีอํานาจตั้งแตโบราณมักจะเปนอยางนั้นเพราะฉะนั้นจึงตองคอยเอาอก
เอาใจเพื่อไมใหโกรธ โดยการที่พยายามตามใจตางๆ เพราะฉะนั้น ผูที่มีอํานาจไมมีธรรมะจึงมักเปน
ผูโกรธงายสั่งทํารายใครงายๆ ดังที่ปรากฏมาในโบราณเพราะฉะนั้น เมื่อแสดงธรรมะของผูปกครอง
เพื่อจะจี้ถึงจุดนี้ จึงไดย กเอาความไมโกรธขึ้นมาตั้งไวเปนหัวขอซึ่งโดยความก็คือความมีเมตตา
นั้นเอง ดังที่ไดแสดงมาแลวและในที่นี้ยกเอาอวิหิงสาความไมเบียดเบียนมาเปนหัวขอก็เพราะวา
บรรดาผู ป กครองตั้ ง แต ใ นอดี ต มาเมื่ อ มี อํ า นาจขึ้ น แม ว า ไม โ กรธแต ว า ลุ อํ า นาจของความโลภ
ความหลงไมได พิจ ารณาให เหมาะกับ การสั่งปฏิบั ติการต าง ๆ เปน การเบี ยดเบียนผูอื่ นให ผูอื่ น
เดือดรอน ดวยอํานาจของโลภะบาง ดวยอํานาจของโมหะคือความหลงบางเชนวาเมื่ อไปที่ไหน
เมื่อเห็นสิ่งที่ชอบใจ ก็มักจะหาทางที่จะนํามาใหไดเปนของตน เชนจะเปนทรัพยสินก็ดีจะเปนสตรีก็ดี
จะเปนแกวแหวนเงินทองก็ดี เพราะฉะนั้นผูที่มีสิ่งเหลานี้อยูจึงมักจะคอยซอนเรนไมใหผูปกครองที่มี
อํานาจไดเห็นเพราะฉะนั้นจึงยกเอาขออวิหิงสาไมเบียดเบียนขึ้นมาเปนที่ตั้งและโดยความก็คือวา
ความที่มีกรุณานั้นเอง เพราะความกรุณานั้นตรงขามกับวิหิงสา อันไดแกความที่สงสารคิดชวยให
พ น ทุ ก ข แ ละปฏิ บั ติ ช ว ยให พ น ทุ ก ข เพราะฉะนั้ น กรุ ณ าข อ นี้ จึ ง ได ถื อ เป น พระคุ ณ อั น สํ า คั ญ
ของพระพุท ธเจา ในพระคุ ณทั้ ง ๓ พระคุ ณทั้ ง ๓ นั้ น ได แก พระป ญญาคุ ณ พระวิ สุท ธิคุ ณและ
พระกรุณาคุณพระกรุณาคุณนั้น นับเปนพระคุณ ที่ ๓ ของพระพุทธเจาก็ไดแกการที่มีพระกรุณา
อันแสดงออกเปนการเสด็จจาริกไปทรงแสดงธรรมะสั่งสอนโปรดแกเวไนยนิกรคือหมูชนที่พึงแนะนํา
ไดใหไดประสบประโยชนตามภูมิตามชั้น ฯ
และพระมหากษัตริยก็มีคําวา พระมหากรุณาธิคุณ และใชเปนคํานําเชนทรงพระกรุณาโปรด
เกลาโปรดกระหมอมคําวากรุณานี้เปนการปฏิบัติที่ชวยใหพนทุกขคือการปฏิบัติชวยเหลือตางๆที่ได
ทําแกประชาชน ในดานตางๆแสดงออกมาถึงความกรุณาและแมกรุณานี้ก็ยังเนื่องดวยเมตตานั้นเอง
จะตองมีเมตตาความมุงดีปรารถนาดีเปนพื้นฐานของจิตใจอยูจึงจะมีกรุณา ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๒๑๖-๒๑๗.
+ ออกสอบแตงไทยเปนมคธ ป.ธ.๙ / ป ๒๕๕๓.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๔ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
อกฺโกธคาถา ๒
๑.ปฐยาวัตร ๒.อินทรวิเชียร
อุทฺทิฏโฐ ปน อกฺโกโธ ราชธมฺมาน สตฺตโม ตสฺมา หิ สาตฺถา กรุณา ชินสฺส
โทสพฺยาปาทสํยุตฺต- โกธสฺส อฺญปุคฺคลํ ปฺา วิสุทฺธี กรุณา จิเตสา
ปทูเสตุ สมตฺถสฺส วสสฺสาคมนํ อิติ ติณฺณํ คุณานํ อธิกิจฺจภูตา
สงฺขํ คจฺฉติ เอโส วา เมตฺตาคุโณติ วุจฺจติ เอสา จ โหเต ตติยา คุณานํ
เมตฺตา ปน อนุทฺทิฏ า ปสาสกชนาน ตุ ๓.อินทรวงศ
จริยาย อเนกาย นิทสฺสนตฺถมกฺกุโธ อคฺโค มหาการุณิโก ตถาคโต
สมุทฺทิฏโ วสีภูตา เต หิ โปราณกาลโต การุฺมาคมฺมป จาริกฺจรํ
ปฏาย ยสฺส กุชฺฌนฺติ ทณฺฑํ กาเรนฺติ ทารุณํ ธมฺมฺจ เวเนยฺยปชาย เทสยํ
ตสฺมา เย วสสมฺปนฺนา เอเต ปน อธมฺมิกา ธมฺมํธิคจฺฉาปยิ อตฺตภูมิโต
โปราณกาลโต ปฏาย โกธนา โหนฺติ จตฺตโน ๔.ปฐยาวัตร
รุจิยา ทณฺฑมฺเสํ ปาเณนฺติ อถ เตน หิ มหากรุณาธิคโุ ณติ วจนมฺปน ราชิโน
ปสาสกาน ธมฺมมฺป เทเสนฺโต มุนิปุงฺคโว ปรมสฺสาภิเธยฺยสฺส ปุเรจาริกภูตกํ
เมตฺตาสีเสน วุตฺเตน อกฺโกธธมฺมมุทฺทิสิ ตสฺมา กรุณมาคมฺม สมตฺโถ จ วิจกฺขโณ
อวิหึสา จ อุทฺทิฏา กรุณาสีสโต อิธ โส ทุกฺขํ อปเนตุฺจ อุปสํหริตุ สุขํ
อตีเต หิ วสีภูตา สพฺเพ ชนา ปสาสกา ปชายตฺถาย กิจฺจานิ กรุณาย ปกุพฺพติ
กิฺจาป น อกุชฺฌึสุ โลภสฺสป วสมฺปน กรุณา ปริยาปนฺนา เมตฺตาย โหติ สา ปน
โมหสฺสป อคจฺฉึสุ อตีเรตฺวา พหู ชเน เมตฺตา โหติ มนุสฺสานํ จิตฺตสฺส ภูมิ สพฺพธีติ ฯ
อาณาเปตฺวาน โลภสฺส โมหสฺส วา วเสนป พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
สพฺพทา ปริตาเปสุ ยํ ยํ ฐานฺหิ คจฺฉยุ
ตตฺถ ตตฺเถว อฺเสํ รุจิรานิ ธนานิ วา
อิตฺถิโย มณโย ทิสฺวา เอเตสุ โลภชาตกา
อุปาเยหาหราเปสุ ตานิ อตฺถาย อตฺตโน
ตสฺมา เอตานิ ยสฺสตฺถิ วสีภูตา ปสาสกา
ชนา ยถา น ปสฺสนฺติ ปฏิจฺฉาเทติ โส ตถา
ตสฺมา หิ อวิหึสา สา อุทฺทิฏา สีสภาวโต
อตฺถโต กรุณาเยว วิหึสาปจฺจนีกโต
ทุกฺขาปนยนาการ- ปวตฺติลกฺขณา อยํ
สหนา ปรทุกฺขสฺส น โหติ หิตจิตฺตโต
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๕ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

อธิษฐานบารมีคําวาอธิษฐานะที่เรามาพูดใชเปนภาษาไทยวาอธิษฐานไดแกความตั้งใจมุงมั่น
ซึ่งทุก ๆ คนจะตองมีกิจที่พึงทําทุกอยางคนทุกคนทําอยางไรมีความตองการในผลที่จะพึงไดจากการ
กระทําความสําเร็จคือการไดบรรลุถึงผลนั้นตองอาศัยธรรมะขอหนึ่งคืออธิษฐาน ไดแกความตั้งใจ
มุงมั่นดังกลาวแลวและจําตองมีอธิษฐานทั้งในผล ทั้งในเหตุเชนในการศึกษาเลาเรียนตองมีอธิษฐาน
ในผลคือความสําเร็จการศึกษาในเหตุคือทําการศึกษาไปโดยลําดับในการงานตองมีอธิษฐานในผล
คือความไดทรัพยยศเปนตนในเหตุคือการทํางานใหดีในดานความดีตองมีอธิษฐานในผลคือความมี
เกียรติดวยความดีในเหตุคือความเวนความชั่วทําความดี คนโดยมากมักอธิษฐานในผลที่ตนชอบอยู
ดวยกันทั้งนั้นเชนตั้งใจมุงมั่นจะเปนนักปราชญจะเปนเศรษฐี จะไดนั่นไดนี้เปนนั้นเปนนี่ตางๆ แตขาด
อธิษฐานในเหตุคือความตั้งใจมุงมั่นในอันที่จะประกอบเหตุใหสมแกผลที่ประสงคเชนเกียจครานที่จะ
เลาเรียนเขียนอาน จะใหเปนนักปราชญขึ้นมาเองเกียจครานที่จะประกอบอาชีพในทางที่ชอบเก็บหอม
รอมริ บสะสมขึ้ น โดยลํ าดั บเหมื อ นอยา งก อไฟกองน อยให คอ ยโตขึ้น จะให เป นกองโตขึ้ นมาทั น ที
ไมชอบที่จะเวนความชั่วทําความดีหรือจะกลาวอีกอยางหนึ่งวาชอบทําชั่วไมชอบทําดีแตก็อยากเปน
คนมีเกียรติมีความดี ใครวาไมดีเปนไมไดฉะนั้นอธิษฐานในเหตุจึงเปนขอสําคัญคือตั้งใจมุงมั่นในการ
ทํ า เหตุ ใ ห ไ ด ผ ลที่ ป ระสงค ใ ห ดํ า เนิ น ไปโดยสม่ํ า เสมอมี ค วามเพี ย รคื อ พยายามทํ า ไปมี ขั น ติ
มีความอดทนมีสัจจะคือความจริงและรักษาอธิษฐานคือความมุงมั่นตั้งใจไวเสมอ
ตามที่กลาวมานี้จะเห็นไดวาวิริยะเพียร ขันติอดทน สัจจะจริง และอธิษฐานะทั้ง ๔ ประการนี้
เปนธรรมะที่มีประกอบกันอยูเมื่อยกขึ้นขอหนึ่งก็ยอมมีอีก ๓ ขอประกอบดวยเสมอ ไมเชนนั้นจะมี
ไมไดเลยสักขอเดียวเชนอธิษฐานความตั้งใจมุงมั่นในที่นี้ถาไมมีอีก ๓ ขอ เปนอธิษฐาน ก็สําเร็จ
อธิษฐานขึ้น มาไมได ทานไดเล าชาดกแสดงพระโพธิ สัตวทรงบํ าเพ็ญบารมี ขอนี้มา ในชาติตางๆ
เปนอันมากในทศชาติไดยกเนมิราชชาดกเปนตัวอยางแหงอธิษฐานบารมี มีเรื่องยอในเนมิราชชาดก
นั้นวากษัตริยพระองคหนึ่งทรงพระนามวาเนมิราช ครองเมืองมิถิลาในแควนวิเทหะเปนกษัตริยที่สน
พระราชหฤหัยในการกุศลโปรดการทํากุศลทรงบริจาคทานรักษาศีลอุโบสถอยูเปนนิตย ตามขัตติยะ
ประเพณีผูครองเมืองมิถิลานี้เมื่อครองพระราชสมบัติจนมีพระชนมายุเขาสูวัยชราภาพแลวก็ทรง
มอบราชสมบัติใหแกพระราชโอรสแลวพระองคก็ทรงออกผนวช ฯ
ชาดกนี้แสดงวาผูที่ตองการแสวงหาความจริงตองการจะรูจะเห็นอะไรเมื่ อมีมีความตั้งใจ
มุงมั่นแลวจะรูจะเห็นไดเพราะการแสวงหาผูรูจะไดพบผูรูที่จะแสดงใหรูใหเห็นไดทั้งเรื่องของมนุษย
ทั้งในนรกสวรรคตลอดถึงนิพพาน ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๒๑๒-๒๑๔.
+ ออกสอบแตงไทยเปนมคธ ป.ธ.๙ / ป ๒๕๕๗ .
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๕ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
อธิฏฐ านปารมีคาถา
๑.ปฐยาวัตร ๒.อุเปนทรวิเชียร
สุภาสิตา มุนินฺเทน ยา อธิฏ านปารมี อิเม สมนฺนาคตองฺคภูตา
สุณนฺตุทานิ โสตาโร เอติสฺสา อตฺถวณฺณนํ อิเมสุ เอกมฺหิ สทา อุทิฏเ
อิทํ เอตฺถ อธิฏ านํ ปณิธานนฺติ วุจฺจติ ตโยวเสสา กถิตปฺปการา
เอตํ กิจฺเจสุ กาตพฺพํ สพฺเพ หิ มนุชา อิธ ภวนฺติ สมฺพนฺธปยุตฺตธมฺมา
นิปฺผตฺติผลมิจฺฉนฺตา กรณฺยมตฺตโนตฺตโน น เจ สิยุ สพฺพธิ ตาทิสา เต
ปยุฺชนฺตา อธิฏ านํ ปรายนํ ปกุพฺพิย อวสฺสมุปฺปชฺชติ เนกธมฺโม
สพฺพํ สิทฺธึ ปวินฺทินฺติ อธิฏ านฺจ วิฺุนา ภเวยฺย เนมิสฺส วรสฺส วตฺถุ
เหตุสฺมิมฺป ผลสฺมิมฺป กาตพฺพํ โหติ ปุคฺคโล นิทสฺสนฺเจตฺถ อิทานิ สมฺมา
สิกฺขานิปฺผตฺติมิจฺฉนฺโต เหตุมฺหิป ผลมฺหิป ๓.วสันตดิลก
อธิฏ านสมาปนฺโน สพฺพํ วิชฺชํ หิตาวหํ ทาเน รโต จ กุสลาลุ วิเทหรฏเ
อนุกฺกเมน สิกฺขิตฺวา สิกฺขานิปฺผตฺติเมสฺสติ รชฺชํ อการยิ ปชาปติ เนมิราชา
กิจฺจนิปฺผตฺติมิจฺฉนฺโต เหตุมฺหิป ผลมฺหิป ทานํ อทาสิ จ อุโปสถสีลมคฺคํ
อธิฏ านสมาปนฺโน สุฏุ กิจฺจํ ปกุพฺพิย นิจฺจฺจ รกฺขยิ ปเวณิวเสน สพฺเพ
อุสฺสาหวา ยโสโภค- สมฺปทาวุฑฺฒิเมสฺสติ ภูปา ชรํ อุปคตาป อทุฺจ รชฺชํ
อเนกํ กุสลํ กุพฺพํ เหตุมฺหิป ผลมฺหิป ปุตฺตสฺส เวสมิสิโน จ สยํ อคณฺหุ
อธิฏ านสมาปนฺโน สพฺพปาป อกุพฺพิย ๔.ปฐยาวัตร
กุสลํ ปริปูเรนฺโต กิตฺติสทฺทํ ลภิสฺสติ ยสฺส อตฺถิ อธิฏฐานํ เอโส วิฺุ คเวสิย
ยถิจฺฉิตํ อธิฏฐาย เยภุยฺเยน หิ ปุคฺคลา วิชานิตุมฺป สกฺโกติ วิฺู มนุสฺสสมฺปทํ
ปตฺเถนฺติ ธีรภาวํ วา เสฏฐิภาวํ สทา ปน นิรยุปฺปตฺติวตฺถุ วา สคฺคนิพฺพานสมฺปทํ
เอเต โกสชฺชปตฺตา จ กิจฺเจสุ อปรกฺกมา อาจิกฺขิสฺสติ ตสฺสาติ อิทํ อตฺถสฺส ทีปนนฺติ ฯ
โภเค อสํหริตฺวา จ สมฺมา สิปฺป อสิกฺขิย
สพฺพนฺตํ น ลภิสฺสนฺติ อณุ อคฺคึว สนฺธมํ
ตสฺมา โหติ อธิกฺกิจฺจํ เหตฺวาธิฏฐานเมกธา
วิริยํ ขนฺติ สจฺจฺจ อธิฏฐานนฺติ อุตฺตมา
จตุธมฺมา ตุ ยสฺสตฺถิ สมฺมาชีวปยุฺชเน
เอโส วุฑฒ ฺ ึ วิรุฬฺหิฺจ เวปุลฺลํ อธิคจฺฉติ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๖ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

อันชนนิก รผูมี ธุระรวมกันแลอยู ใกล ชิดย อมจะเสี ยมิต รธรรมวิ วาทกันเพราะการงานบา ง


ทรัพยสมบัติบาง เปนหนาที่ของผูปกครองจะตองไตรสวนแลวแลชี้ผิดชี้ถูกระงับวิวาทนั้นเสียแลในหมู
คณะนั้น ๆ ยอมจะมีคนขาดแคลนทําโจรกรรมเอาทรัพยที่เขาหวงแหนบางแลเปนคนพาลทําราย
คนอื่นบางเปนตนเปนหนาที่ของอิสรชนจะพิจารณาแลวลงโทษแกผูทําผิดเพื่อรักษาประโยชนกิจแล
ความเกษมของปวงประชาถาการพิจารณาชี้ขาดแลลงโทษไมเปนโดยยุติคือความควร ยอมเปนเหตุ
เดื อ ดร อ นป น ป ว นของประชาชน เหตุ นั้ น ความเป น ยุ ติ ธ รรมแก ค นทั่ ว ไปจึ ง เป น ประการหนึ่ ง
แหงรัฏฐาภิปาลโนบายโบราณกษัตริยทั้งหลายถือเอาเปนพระราชธุระทรงสอดสองดวยพระองคเอง
บาง ทรงตั้งอํามาตยที่วางพระราชหฤทัยไวเปนผูพิพากษาบางทรงตั้งพระราชกําหนดกฎหมายไวเปน
หลักแหงการพิจารณาแลลงโทษเพื่ออุดหนุนยุติธรรมเปนพระราชประเพณีสืบมา ฯ
อนึ่ง ชนนิกายผูตั้งอยูตางแควนอันติดตอยอมมีทางจะกอวิวาทแตกราวกัน เพราะเหตุตู
อาณาเขตบางเพราะเหตุสิทธิพสกนิกายบาง เพราะเหตุแยงคาขายกันบาง เปนตน เชนกับประชาชน
ในแควนเดียวกันเมื่อปรองดองกันลงมิได ไมมีใครจะตัดสินเด็ดขาดตางใชอํานาจของตนเขาตอสู
เพื่อยังความปรารถนาของตนใหสําเร็จ แมโลกจําเริญ ขึ้นรู จัก ใชวิธีผอ นผันมากหลายเปนตนว า
ยอมใหนิกายอื่นตันสินตามความสัตยถึงอยางนั้นก็ยังถนัดใชอํานาจของตนชี้ขาดอยูนั่นเองเมื่อเปน
เช น นี้ ชนนิ ก รต า งฝา ยจึง ต องแบ งขยายกั นออกเป น พวก พวกหนึ่ ง มีห น าที่ สํ า หรั บ ตอ สู ปรป ก ษ
ครั้งโบราณเรียกพวกกษัตริย มีพระราชาเปนประธานดวยเหตุนี้ราชกุมารผูสืบสายจากพระราชา
ผูมีหนาที่ในทางนี้จึงมีนามวากษัตริยดวยตามกัน บริวารของพวกกษัตริยนั้นยอมเปนโยธีคือพลรบ
ตามเจานายของตน การจัดการปองกันศัตรูภายนอกเปนรัฏฐาภิปาลโนบายประการหนึ่ง ฯ
อั น การสงครามบางคราวย อ มเกิ ด ขึ้ น โดยฉุ ก เฉิ น แลจะเอาชั ย เพราะมี พ ลแลศั ต ราวุ ธ
ยุทธภัณฑมากกวาอยางเดียวหาไดไม ตองอาศัยสติปญญากลาหาญชํานาญวองไวพรักพรอมอยูใน
บังคับบัญชาเปนตนดวยจึงอาจจะเอาชัย การสงครามจึงตองตระเตรียมไวพรอมแมในเวลาวางศึก
ไมเชนนั้นก็ไมทันการยอมเสียเปรียบศัตรูมีเรื่องทีฆาวุชาดกรับสมอางวา โกศลรัฐเปนแควนเล็กมีพล
ศัตราวุธยุทธภัณฑเสบียงพาหนะนอยกวากาสีรัฐอันอยูติดตอกันทั้งมัวประมาทไมทันไดตระเตรียม
ตัว เมื่อศึกกาสีมาติดไมอาจตอสูต องเสียแกกาสี สมเด็จพระผูมีพระภาคเจาทรงยกความตระเตียม
พรอมของเมืองที่ไมประมาทประทานบรมพุทโธวาทไวโดยอุปมา ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๒๘๔-๒๘๖.
+ ออกสอบแตงไทยเปนมคธ ป.ธ.๙ / ป ๒๕๕๘.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๖ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
รฏฐาภิปาลโนปายคาถา ๒
๑.ปฐยาวัตร ๔.ปฐยาวัตร
นิจฺจํ สหธุรานฺจ อาสนฺนรฏฐวาสินํ รฏฐาภิปาลโนปาย- ปริยาปนฺนการโณ
ชนานมนฺตเร มิตฺต- ธมฺโม ฉิชฺชติ เต ชนา ยุตฺติภาโว จ สพฺเพสํ วีรา โปราณขตฺติยา
วิวทนฺติฺญมฺญฺหิ กมฺมนฺตโภควตฺถุนา ยุตฺติปุณฺณา วิจาเรสุ สยมฺป กิจฺจโกวิทา
ตสฺมา หิ ปริปุจฺฉิตฺวา คุณฺจ อคุณํ อถ โวหาริกา อมจฺจา เย อตฺถิ อฏฏมฺป นิจฺฉิตุ
ตํ วิวาทํ สทา วูป- สเมยฺยุ โข ปสาสกา เต ฐเปสุ วิจาราย ทณฺฑาทานาย จุตฺตรึ
๒.อินทรวิเชียร ทิฏฐานุคติภาวาย เนตึ ฐเปสุมชฺชโต
ตํตํคเณ เตตฺถิ ทลิทฺทชาตา ชนา สามนฺตรฏฐฏฐา เขตฺตาภิยุฺชนายป
เย โจรกมฺมฺจ กโรนฺติ พาลา สิทฺธาปทิสนายาป วณิชฺชาลุมฺปนายป
อฺญํ วิเหเฐนฺติ จ เตน เย เต อฺญมฺญํ วิวาทฺจ กลหฺจ ปกุพฺพเร
โปสา ธุรํ ทุจฺจริตํ อกาสุ ยทิ เต น สมคฺคาสฺสุ นตฺถิ นิจฺฉยการโก
รฏเฐ วสี ตํ สุวินิจฺฉินิตฺวา สาเธตุมตฺตโน อิจฺฉํ อฺญมฺญํ รณํ อกุ
ธมฺเมน เตสํ ปณเยยฺยุมาณํ วินิจฺฉินิตุ นานฏฏํ สจฺเจน ธมฺมิกํ ปรํ
๓.วังสัฏฐะ นิโยชนกรณฺเยน โลโกป อภิวฑฺฒติ
สเจ วสีนมฺปน อฏฏนิจฺฉโย เอเต ปน ชนา อฏฏํ วเสน อตฺตโนตฺตโน
ปเณตุมาณฺจ น ยุตฺติธมฺมโต นิจฺฉิตุ ปพลาเยว โหนฺติ เอวํ สตี ชนา
ปวตฺตเยยฺยุ ทุวิธมฺป ปจฺฉิเม อาปชฺชนฺติ สกกฺกิจฺจ- วิภาคํ เกจิ ขตฺติยา
ปชาย โกลาหลเหตุภูตกํ อิติ วุจฺจนฺติ เต ยุทฺธํ สห สตฺตูหิ กุพฺพเร
เสนาย อาวุธานํ วา ยุทฺธภณฺฑานเมกธา เอวํ ราชกุมาราป เตสํ สนฺตติวํสิกา
พหุตฺตรตฺถิภาเวน อถโข รณการโก สงฺคามโกวิทา หุตฺวา ขตฺติยาติ ปวุจฺจเร
สติปฺญาย สมฺปนฺโน สูรตาย สิยา อิติ เตสํ ปริชนา โยธ- ภูตา อยฺยานมตฺตโน
อรโย เชตุ สกฺเขยฺย อสชฺชิตมหารณํ ขตฺติยานํนุสาเรน รณปฺปพลภูตกา
ปราชยํ คตํ โหติ ขุทฺทกํ ขลุ โกสลํ พหิสตฺตู นิวาเรตุ สกฺโกนฺติ สหเสกทา
รฏฐํ อปฺปพลํ อปฺป- สตฺถฺจ อปฺปวาหนํ สมุปฺปชฺชติ สงฺคาโม ชโย โหติ น เกวลํ
หตฺถคฺคตํ มหารฏฐ- กาสิสฺส โหติ เตน หิ
สุสชฺชิตตมุทฺเทตฺวา อปฺปมตฺตาย ธานิยา
อุปมาภาวโต เทติ โอวาทํ มุนิปุงฺคโวติ ฯ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๗ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

มิตรสมบัติขอตนนั้นคือถึงพรอมดวยมิตร กลาวโดยสาธารณนัย ชนผูรักใครกันสนิท ชื่อวา


มิตรไดในคําวามาตา มิตฺตํ สเก ฆเร มารดาชื่อวาเปนมิตรในเรือนของตน.คนผูมีเมตตาในกันก็ชื่อวา
มิตรไดในคําวา อริยมิตฺตกโร สิยา ชนสมควรจะทําพระอริยบุคคลใหเปนมิตร.กลาวโดยเฉพาะสหาย
ผูสนิทและผูมีเมตตาชื่อวามิตรไดในคําวา ปาปมิตฺโต กลฺยาณมิตฺโต มีมิตรเลว มีมิตรดี. เพื่อนรวม
การงานเปนแตสหายบาง อมาตยบาง ไมชื่อวามิตร ตอเปนผูสนิทสนมกันมีเมตตาในกันจึงจะได
ชื่ออยางนั้น มิตรนั้น มีทั้งชั่วทั้งดี มิตรชั่ว เรียกวาปาปมิตร มิตรดี เรียกวากัลยาณมิตร.มิตรนั้น
ยอ มเป น ป จ จั ย ภายนอกอั น แรงกล า ที่ จ ะพาผู ส มคบให ถึ ง ความเจริ ญ หรือ เสื่ อ มเสี ย .ความแห ง
พระพุทธภาษิตนี้ในกัณหปกษฝายดําคือขางไมดีพึงสาธกดวยเรื่องพระเจาอชาตศัตรูผูครองมคธ
ประเทศ.ครั้งทาวเธอยังเปนพระราชกุมาร คืออยูในตําแหนงลูกหลวงยังไมไดเถลิงราชยทาวเธอ
ไปคบหากับพระเทวทัตผูเปนภิกษุใจบาปหยาบชาเชื่อคํายุยงของพระเทวทัตไดทําปตุฆาตอันเปน
ครุกรรมไดเสวยผลอันเผ็ดรอนทั้งในโลกนี้และโลกหนาทั้งตัดอุปนิสัยแหงพระโสดาปตติผลที่จะพึงได
บรรลุ ใ นอั ต ภาพนั้ น เสี ย แมท า วเธอเปน พระราชาครองแผน ดิน มี พระเดชานุ ภาพลว งกฎหมาย
ไมมีบุ คคลจะลงกรรมกรณก็ ยังต องเสวยวิปฏิ สารไดค วามเดือ ดรอ นพระราชหฤทัยเปนอาชญา
ทา วเธอเคยทํ ามาเองก็ จํา ตอ งหวาดไมไ วพ ระทั ยแมใ นพระราชโอรสไม ได ที่จ ะเสด็ จอยูสํ าราญ
แมในทางกุลสังวาสคืออยูรวมกันเปนตระกูลวางตัวอยางอันไมดีไวไมเฉพาะแตในพระราชวงศยังทํา
ความเสียไวในขัตติยมณฑลทั่วไปดวยถูกตัดขาดจากความสมาคมนิยมนับถือของโลกครั้นเสด็จ
ละโลกนี้ไปแลวจะมีคติเปนอยางไรก็ไมตองพักพยากรณ ฯ
พระเจาอชาตศัตรูไดเสวยวิบากอันเผ็ดรอนเชนนี้ ก็เพราะสมาคมกับพระเทวทัตผูเปนปาป-
มิตรในศุกลปกษฝายขาวคือขางดีพึงสาธกดวยเรื่องแหงพระเจาตักกสิล าพระราชโอรสพระเจ า
พาราณสีในปญจภีรุกชาดกเอกนิบาต เมื่อครั้งยังเปนพระราชกุมารเสด็จจะไปครองเมืองตักกสิลา
อัน เป นทางไกลกัน ดารรอดพ นจากอํ านาจนางยัก ขินี ผู มาประโลมล อในระหว างทาง และไปถึ ง
โดยเกษมสวัสดีก็เพราะไดพระปจเจกพุทธะเปนกัลยาณมิตรตั้งมั่นไมละเมิดโอวาทของทาน.เรื่องนี้
พระโบราณาจารยแสดงไวเปรียบความเปนไปของกุลบุตรผูรูจักรักษาตนรอดตลอดมาแตเยาวจนได
เปนอธิบดีครองตระกูลอันหนึ่งขึ้นไปจนสุดวาสนา ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๗๙-๘๐.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๗ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
มิตตฺ สมฺปทาคาถา
๑.ปฐยาวัตร ๒.อุเปนทรวิเชียร
อสฺมึ โลเก มนุสฺสานํ สาตฺถา ยา มิตฺตสมฺปทา ส เทวทตฺตํ อุปเสวมาโน
มยา กถิยเตทานิ เอติสฺสา อตฺถวณฺณนา อสทฺทิ สฺโจทิตเกสฺส วาเท
สาธารณนเยนฺ- มฺสฺส หิ อติปฺปโย อกาสิ ชมฺมํ ปตุฆาตกมฺมํ
ภเวธิคนฺตุ ปโม วโร โย
มิตฺโต นาม สุปฺญายิ มาตา มิตตฺ ํ สเก ฆเร
อโหสิ สกฺกา ปมสฺส ตสฺส
อิติ อาทีสุ เมตฺตาลุ อฺญมฺเญสุ โย ชโน
อฉินฺทิ มคฺคสฺสุปนิสฺสยํ โส
โหติ มิตฺโต จ นาเมส เมตฺตาคุณสมปฺปโต ๓.อินทรวิเชียร
อริยมิตตฺ กโร สิยา อิติ อาทีสุ ลพฺภติ กิฺจาป กมฺมานุกุลฺจ ทณฺฑํ
อสาธารณโต โปโส วิสฺสาสิโก สหายโก กาตุ น สกฺกา อหุ โส ปเนโส
เมตฺตาคุณปยุตฺโต จ มิตฺโต อิติ ปวุจฺจติ รฏฐาธิโป วิปฺปฏิสารชาโต
ปาปมิตโฺ ต กลฺยาณมิตโฺ ต อิติ อาทีสุ ลพฺภติ ปจฺฉานุตปฺปตฺถ น โอรเสป
สหาโยป อมจฺโจป สหกมฺมนฺตการโก วิสฺสาสมาปชฺชิ อถสฺส รฺโญ
น มิตฺโต นาม เอโส ตุ อติวิสฺสาสิโก สทา นาโหสิ สาเตน กุเลป วาโส
เมตฺตาลุ จฺมฺเสุ เอวํนาโม หเว สิยา
กุมิตฺโต ปาปมิตฺโตติ ปณฺฑิเตน ปวุจฺจติ ยกฺขินึ อนฺตรามคฺเค ทิสฺวา ตาย ปโลภิโต
สุมิตฺโต ปน กลฺยาณ- มิตฺโต อิติ ปวุจฺจติ มายาย อตุสิตฺวาน กลฺยาณมิตฺตภูตกํ
เอวฺหิ อติสมฺภตฺโต โส มิตฺโต วุฑฺฒิหานิยํ ทิสฺวา ปจฺเจกพุทฺธมฺป ตสฺโสวาเท ปติฏฐิโต
เสวมานํ นิโยเชตุ โหติ พาหิรปจฺจโย รมฺมํ ตกฺกสิลํ รฏ อสมฺปาปุณิ โสตฺถินา
กณฺหปกฺเข หิ วตฺถุมฺป รฺโ อชาตสตฺตุโน เอวํ เตนาหุ โปราณา นิปโก ยาว โยพฺพนา
กุลปุตฺโต ขโม เอก- กุลาธิปติภูตโก
สาธกํ อสฺส สมฺภตฺต- มิตฺตมจฺจุปเสวโต
วาสนปฺปริยนฺตมฺหิ ภวิตเุ ยว สกฺขิตีติ ฯ
๔.ปฐยาวัตร
อชาตสตฺตุ โลเกหิ สมาคเตหิ นินฺทิโต พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
เปจฺจ กึคติโก หุตฺวา นิรยมฺหิ สมปฺปโต ตุสฺ ธาตุ อกัมมธาตุ (ดวย,ใน) ฯ
อิติ พฺยากาตุ สกฺกา ว อีทิโส กฏโก อยํ สทฺท ธาตุ อกัมมธาตุ(เชื่อ..ใน) ฯ
วิปาโก ปาปมิตฺตสฺส เทวทตฺตสฺส ภิกฺขุโน
เสวนาเหตุ เอเตน อนุภูโต ยถากฺกมํ
สุกฺกปกฺเข ตุ วตฺถุมฺป ตกฺกสีลินฺทราชิโน
สาธกํ อสฺส สมฺภตฺต- มิตฺตมจฺจุปเสวโต
รชฺชํ การาปนตฺถาย เอโส กุมารภูตโก
คจฺฉํ กนฺตารมคฺเคน รมฺมํ ตกฺกสิลํ ปุรํ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๘ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

เมื่อกลาวโดยสังเขปผูใดเปนที่รักของชนเปนอันมากผูนั้นยอมหวังความเจริญไดคงไมมีความ
เสื่อมทรามแมสมเด็จพระผูมีพระภาคเจาก็ไดตรัสแกมหานามลิจฉวีแสดงกิจของผูดํารงฆราวาส
จะพึงทําเพื่อผลนี้ในอปริหานิยธรรมสูตรปญจกนิบาต อังคุตตรนิกาย สรุปความวา กุลบุต รผูใด
ผูหนึง่ ตั้งตนแตพระมหากษัตริยเจาตลอดลงไปถึงอธิบดีเฉพาะตระกูลมาสักการะเกื้อกูลมารดาบิดา
จําพวกหนึ่งบุตรภรรยาทาสกรรมกรซึ่งนับวาอันโตชนจําพวกหนึ่ง ชาวนาเพื่อนบานลูกคาซึ่งนับวา
พาหิรชนจํา พวกหนึ่ง เทวดาผูรั บพลีกรรมคืออารักขเทวดา และวัตถุเทวดาจําพวกหนึ่ง สมณะ
พราหมณจําพวกหนึ่ง ดวยโภคทรัพยที่ไดมาโดยชอบธรรมเปนผลแหงความหมั่นเทวดามนุษย ๕
จําพวกนั้น ไดรับสักการะเกื้อกูลแลว ก็ยอมอนุเคราะหดวยไมตรีจิตคิดความเจริญให กุลบุตรนั้น
เปนอันหวังวุฒิไดไมพึงมีความเสื่อมทรามเลย ฯ
แมพระเจาจักรพรรดิราชผูปกครองปฐพีมณฑลมีสมุทรสาคร ๔ เปนขอบเขตก็ยังตองบําเพ็ญ
จักรวรรดิวัตรยึดเหนี่ยวน้ําใจราชบริษัทใหนิยมในพระบารมีขอนี้ยอมใหสําเร็จผลคือการปกครอง
โดยธรรมไมตองใชอาชญาเคี่ยวเข็ญความจงรักภักดีเปนพลวเหตุชักนําใหพรักพรอมเปนสมานฉันท
เพื่ อ ต อ สู ป อ งกัน บํ า รุ ง รั ก ษาจะรั บ พระราชทานชั ก อลีน จิ ต ตชาดกในทุ ก นิ บ าตมาสาธกพอเป น
อุทาหรณในอดีตกาลพระเจา พรหมทัตเสวยราชสมบั ติในเมืองพาราณสี พระองคไ ดเศวตกุญชร
เปน ราชพาหนะเชือกหนึ่ง แผ พระเกี ยรติ ไปในสกลชมพูทวี ปจํา เนี ยรกาลล วงไป พระอั ครมเหสี
ทรง พระครรภ ยังไมทันประสูติ พระเจาพาราณสีเสด็จทิวงคตขาวปรากฏทราบไปถึงพระเจาโกศล
ราช ผู มีรั ช สี ม าติด ต อ กั บ กาสี รั ฐ ท าวเธอทรงเห็ น ราชสมบั ติ วา งยั ง หาเจ า ของมิ ไ ด เ ป นท ว งที อ ยู
ก็ยกมหาพยุหะแสนยากรมาลอมพระนคร ชาวพระนครปดทวารรักษาเปนกวดขัน ในเวลานั้นพระราช
เทวีประสูติพระโอรสทรงพระนามวาอลีนจิตตกุมาร เหตุทําประชาชนใหชื่นบานหายยอทอพรักพรอม
กันปลอยพระยามงคลหัสดี ออกตอรบดวยปจจามิตร ใหปราชัย จับพระเจาโกศลราชไดทั้งเปนนํามา
เปนเชลยแลวปลอยไปแผพระเดชานุภาพ ของพระกุมารไปในสกลชมพูทวีป ไมมีศัตรูผูอื่นสามารถ
มาย่ํายีและพระราชกุมารก็ไดรับอภิเษกเปนพระเจาพาราณสีแตครั้งยังทรงพระเยาวพระชนมายุ
ได ๗ พรรษาดํารงราชยโดยธรรมเปนผาสุกตลอดพระชนมชีพ ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๔๐-๔๑.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๘ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
พหุปปฺ ย ตาคาถา
๑.ปฐยาวัตร ๒.อุเปนทรวิเชียร
สงฺเขปโต หิ โย โปโส ปโย พหูน สพฺพทา อตีตกาเล กิร พฺรหฺมทตฺโต
วุฑฺฒิมากงฺขตี เอโส โน หานิ อสฺส เตน หิ ทยาลุ พาราณสิรฏราชา
ชนานํ ฆรเมสีนํ กรณฺยํ มุนิปุงฺคโว ลภิตฺถ เสตํ คชเมกมคฺคํ
มหานามสฺส อาจิกฺขิ สงฺเขปตฺโถ อยํ อิธ คชฺหิ นิสฺสาย อิมสฺส กิตฺติ
โย โกจิ กุลปุตฺโต ว อาโท ราชา กุลิสฺสโร อภิกฺขณํ ปตฺถริ ชมฺพุทีเป
ปุคฺคโล ปริยนฺเต วา มาตรํ ปตรํ จิธ ลภิตฺถ คพฺภํ น จิรสฺส เทวี
ปุตฺตทารฺจ ทาเส จ ชเน กมฺมกเร อถ มเหสิคพฺภปฺปริปากกาเล
อาสนฺนฆรวาสิฺจ พลิสฺส ปฏิคาหกํ ทิวงฺคโต ภูปติ พฺรหฺมทตฺโต
เทวฺจ ธมฺมิเก โลเก สพฺเพ สมณพฺราหฺมเณ ๓.อินทรวิเชียร
อุฏ านาธิคเตเหว โภเคหิ ธมฺมิเกหิ จ ตํ การณํ โกสลภูมิปาโล
สกฺกโรติ จ มาเนติ ปูเชติ จ ยถารหํ พาราณสีรฏสมีปสีโม
มาตาปตฺวาทิภจฺจา เต ปฺจ เอเตน สกฺกตา สุตฺวาน ตุจฺฉํ กิร ตสฺส รชฺชํ
มานิตา ปูชิตา เจตํ อนุกมฺปนฺติ เมตฺติยา อิจฺเจว จินฺเตสิ ตโต ปรํ โส
ตสฺมา หิ วุฑฺฒิ เอตสฺส อนุพฺรูหติ หานิ น ขิปฺป สมาคจฺฉิ ปยุตฺตเสโน
โย จกฺกวตฺติราชาป จตุสฺสมุทฺทสีมกํ รมฺมฺจ ธานึ ปริวารยิตฺถ
ปวีมณฺฑลํ สมฺมา ปสาสิ วุฑฺฒิมิจฺฉตา อลีนกา สมคฺคา จ เสตํ หตฺถึ วิสชฺชิย
เตน ปารมิยํ สุฏุ ปสีทาปยิตุ ปชํ สงฺคามํ สพฺพสตฺตูหิ สทฺธึ กตฺวา ปราชยํ
ราชปฺปริสจิตฺตสฺส ปาสโนปายภูตกํ ปาเปตฺวา โกสลํ ภูป ชีวคฺคาหฺจ คาหยุ
วตฺตมฺป จกฺกวตฺติสสฺ กาตพฺพํ โหติ สพฺพธิ เอตํ กรมรํ กตฺวา วิสฺสชฺเชสุฺจ เตน หิ
สกฺโกติ อติสาเธตุ โส ธมฺเมน ปสาสนํ กุมาโร ปรสตฺตูหิ น สกฺกา ปริมทฺทิตุ
อุปมาย หิ ทฏพฺพํ อลีนจิตฺตชาตกํ ตํกุมารสฺส เตชานุ- ภาโว ทิสาสุ ปตฺถริ
๔.ปฐยาวัตร รชฺชํ ธมฺเมน กาเรสิ ผาสุนา สตฺตวสฺสิโกติ ฯ
ทฬฺหํ นครทฺวารานิ ปทหิตฺวาน นาครา
นคราวรณํกํสุ อคฺคเทวี ตุ ตํขณํ
วิชายิ โอรสํ เอกํ อลีนจิตฺตสวฺหยํ
นิสฺสายาลีนจิตฺตํ ตํ กุมารํ รฏวาสิโน
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
+ กรมร(ปุง)-เชลย
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๙ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

ขันตินั้นคือความอดกลั้นตอวัตถุไมเปนที่พึงใจอันมาถึงเฉพาะหนา.คุณขอนี้เปนธรรมเกื้อกูล
แกฆราวาสเปนเครื่องรักษาสามัคคีในหมู สมเด็จพระผูมีพระภาคตรัสสรรเสริญไว ในอาฬวกสูตร
โดยชื่อวา ธิติ คือความหยุดใจไวได ดังนี้วา
ยสฺเสเต จตุโร ธมฺมา สทฺธสฺส ฆรเมสิโน
สจฺจํ ทโม ธิติ จาโค ส เว เปจฺจ น โสจติ
ความวา ธรรม ๔ ประการนี้คือความสัตย ๑ ความขมใจไวได ๑ ความหยุดใจไวได ๑ ความเผื่อแผ
๑ของคฤหัสถชนใด ผูมีศรัทธาเชื่อกรรมเชื่อผลมีอยู คหัสถชนนั้นแล ละโลกนี้ไปยอมไมเศราโศก
อธิบายความวาอันคนผูเนื่องอยูในหมูตางคนตางซื่อตรงตอกัน ยอมรักษาไมตรีอยูไดถาคิดคดตอกัน
ขึ้นเมื่อใดไมตรียอมแตกเมื่อนั้น.คนมีใจรายมักโกรธงายขมใจไวไมอยูมักทําหุนหันไมรูจักยั้งมักเปน
คนทําใหไมตรีแตกถามีอุบายขมใจก็จะไดหามความหุนหันนั้นเสีย.แมผูหนึ่งทําก้ําเกินดวยความ
หุนหัน แตอีกฝายหนึ่งมีขันติอยูก็รักษาไวไดถาไมอดทนและทําตอบไมตรีก็จําแตก.คนใจคับแคบ
มีปรกติคิดเอาเปรียบผูอื่นยอมผูกไมตรีไมถึงไหนตางมีใจเผื่อแผถอยทีถอยเกื้อกูลแกกันไมตรีจึงจะ
มั่นคง.สมเด็จพระบรมศาสดาทรงยกขันติขึ้นตรัสวาเปนธรรมประการหนึ่ง ซึ่งเกื้อกูลแกฆราวาส
รักษาความสามัคคีไวไดดังนี้.โดยนัยนี้วัตถุอันเปนอารมณแหงขันตินั้นคือวาจาที่บุคคลกลาวดวย
ตั้งใจจะเสียดแทงหรือใหรายแลกิจการที่เขาทําก้ําเกินหรือมุงอนัตถะตอ วัตถุเชนนี้มากระทบบุคคล
ใดเขา บุคคลนั้นดําริหาทางระงับดวยอดกลั้น ไมทําตอบไดชื่อวาขันติวาทีผูมีปรกติกลาวสรรเสริญ
ขันติ สุภาษิตสําหรับขันติวาทีบุคคลวา ขนฺตฺยา ภิยฺโย น วิชฺชติ ธรรมอันยิ่งวาขันติยอมไมมี.ขันตินั้น
ไมใชธรรมสําหรับผูขาดความสามารถจะสูเขาเทานั้น ยอมเปนธรรมสําหรับทานผูใหญดวยในฝาย
คฤหัสถขันติจัดเปนราชธรรมประการหนึ่งมาในคาถาแสดงทศพิธราชธรรม ฯ
พระเจ า แผ น ดิ น ผู ข าดพระคุ ณ สมบั ติ ข อ นี้ จ ะพึ ง ปรากฏว า มี พ ระราชจริ ย าอั น หุ น หั น ไม
ละมุนละไมปราศจากพระเมตตาในประชาชนพสกนิกร.ในฝายบรรพชิต ขันติก็จัดเปนพระบารมีธรรม
ขอหนึ่ง ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุท ธเจาประการหนึ่งในพระบารมี๑๐ ทัศ.เมื่อครั้ งไดตรั สรูแล ว
ทรงบําเพ็ญพุทธกิจอยูคราวหนึ่งเสด็จนครโกสัมพีพระนางมาคันทิยาพระราชเทวีของพระเจาอุเทน
ผูผูกเวรในพระองคมาในกาลกอนเหตุดวยบิดาจะยกนางใหเปนบาทบริจาริกาของพระองคแตไมทรง
รับมิหนําซ้ํากลับตรัสเทศนาพรรณนาโทษของรางกายวาปฏิกูล ไมนารักนางเปนหญิงเมาในรูปสมบัติ
แลไมเคยอบรมในทางธรรม ก็สําคัญไปวาพระองคตรัสติเตียน เฉพาะตน นางแต งคนใหกลา ว
หยาบชาแดพระองคเพื่อจะขับตอนใหไปเสียจากนครโกสัมพีพระองคทรงตั้งอยูในพระขันติมิไดแสดง
วิการเสด็จอยูตลอดเวลาสมควรแกพุทธกิจ ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๓๔๐-๓๔๑.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๒๙ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
ขนฺตคิ าถา ๓
๑.ปฐยาวัตร ๒.อินทรวิเชียร
สพฺพปฺปฏิฆวตฺถูนํ อธิวาสนลกฺขณา มจฺเฉรจิตฺโต มนุโช สทตฺถํ
ขนฺติ เว ฆรเมสีนํ หิตกฺกรา จ สพฺพธิ เอกนฺตโต เปกฺขิย เมตฺติจิตฺตํ
สามคฺคีรกฺขิกา โหติ สงฺฆสฺส มุนิปุงฺคโว นาพนฺธิตุ สกฺขิ อุฬารจิตฺโต
ธิติโวหารโต เอวํ ขนฺติธมฺมํ ปสํสติ อารกฺขิตุ เมตฺติมสกฺขิ ทฬฺหํ
ยสฺเสเต จตุโร ธมฺมา สทฺธสฺส ฆรเมสิโน ๓.อุเปนทรวิเชียร
สจฺจํ ทโม ธิติ จาโค ส เว เปจฺจ น โสจติ
คิหีน สพฺเพส หิตกฺกโร จ
อิติ ตตฺร อธิปฺปาโย ชนา จ คณนิสฺสิตา
ยตีน สามคฺคิสุรกฺขโก จ
อุชุกา อฺญมฺญสฺส เมตฺติมฺป อนุรกฺขเร
อโหสิ อุทฺทิฏฐกขนฺติธมฺโม
สเจ กุฏิลจินฺตี ว เอเต ยทา สิยุ ตทา
อยนฺติ สพฺพตฺถ กเถสิ สตฺถา
เมตฺติ ภิชฺชติ โกธาภิ- ภูโต ตุ โกธโน ชโน
อกฺขโม โหติ กมฺมฺจ สาหสีกํ ปกุพฺพติ สาธกฺเจตฺถ ทฏฐพฺพํ โลกนาโถ ตถาคโต
เมตฺติเภทกภูโต โส ขโมปาโยป เจ ภเว
พุทฺธกิจฺจานิ ปูเรติ อเถกทิวสํ กิร
สทา สาหสิกํ กมฺมํ สกฺโกติ ปฏิพาหิตุ
โกสมฺพินครํ ปตฺโต อุเทนสฺส ตุ ราชิโน
เอโกป สหสา กุพฺพิ อจฺจยํ อปโร สขี
เทวี มาคนฺธิยา พุทฺโธ มํ ปาทปริจาริกํ
ขนฺติโก โหติ เต สุฏุ เมตฺตึ รกฺขิตุ สกฺขเร
อกตฺวา ปฏิกูลนฺเต สรีรํ อิติ นินฺทติ
อปโร เจกฺขโม อสฺส ปฏิกุพฺเพ จ อจฺจยํ
อิติ เอวํ ปุเร พุทฺเธ พทฺธาฆาตา อโหสิ สา
อวสฺสํ ภิชฺชตี เมตฺติ เตสํ สขีนมนฺตเร
๔.ปฐยาวัตร มิจฺฉาทิฏฐิกโปสานํ ลฺจํ ทตฺวา ตถาคตํ
นเยน อิมินา มมฺมจฺ- เฉทกํ วา อนตฺถกํ อกฺโกสิตฺวา ปลาเปถ ตุมฺเห โกสมฺพิรฏฐโต
ทุพฺภาสิตํ วจีกมฺมํ ตสฺสา อารมฺมณํ อหุ อิจฺจาณาเปสิ เตสนฺตุ อกฺโกสานํ ขโม ชิโน
ยสฺสีทิสํ สมุปฺปชฺชิ เอตํ วูปสเมติ โส วิปฺปการํ อทสฺเสตฺวา ธมฺมํ กาลานุรูปกํ
ขนฺติวาที จ นาเมส ขนฺตยฺ า ภิยโฺ ย น วิชชฺ ติ เตสํ เทเสติ สพฺเพ เต โสตาปตฺติผเล ฐิตาติ ฯ
อิจฺเจวํ ขนฺติวาทิสฺส อยํ วาจา สุภาสิตา
เอโกป ราชธมฺโมติ เอสา ขนฺติ ปวุจฺจติ
ยสฺส ขนฺติ น โหเต โส ภูมิปาโล อสณฺหโก
อปฺปโย อมนาโป จ น เมตฺตายติ รฏฐิเก
เอโก ปารมิธมฺโมติ เอสา ขนฺติ ปวุจฺจติ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๓๐ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

กาลัญุตาขอตนนั้นมีพรรณนาวาเวลาคือคราวครั้งอันสมควรหรือเปนโอกาสชื่อวากาลในที่นี้
บุคคลผูรูจักการเชนนั้น ชื่อวากาลัญู ความเปนผูเชนนั้น ชื่อวากาลัญุตา ความเปนผูรูจักกาล
คุณขอนี้เปนสําคัญในอันประกอบกิจนั้น ๆ ถาบุคคลไมเปนกาลัญูถึงคราวที่ควรทําก็หาทําไมเมื่อ
เปนเชนนี้ก็จะคลาดจากประโยชน ที่ควรจะไดควรถึง ประโยชนซึ่งไดอยูแลวก็กลับจะเสื่อมเสียไป
ภัยอันตรายก็จะไดชองที่จะเกิดมีขอนี้พึงสาธกดวยทีฆาวุชาดกตอนตนครั้งพระเจาพรหมทัตผูครอง
แควนกาสีเสด็จกรีฑาพลเพื่อจะไปตีโกศลรัฐพระเจาทีฆีติผูผานสมบัติในอาณาจักรนั้นทรงพระดําริ
เห็นวาพระองคมี อาณาเขตนอยทรงขัดสนรี้พลพาหนะคลังศั สตราวุ ธยุทธภัณ ฑแลฉางอันเปน ที่
รวบรวมเสบียงอาหารก็บกพรองไมบริบูรณมั่งคั่งไมมีทางจะตอยุทธกับพระเจาพรหมทัตผูมีกําลัง
ใหญ แ ม แ ต เ พี ย งศึ ก เดี ย วเท า นั้ น ครั้ น ลงพระสั น นิ ษ ฐานเช น นี้ ก็ ทิ้ ง พระนครเสี ย ปลอมพระองค
พาพระมเหสีประลาตไป พระเจาพรหมทัตก็ได โกศลรัฐโดยงาย ไมตองรบดวยพลนิกายซ้ํายังจับ
พระเจาทีฆีติกับพระมเหสีไดในภายหลังอีกดวยเรื่องนี้แสดงใหเห็นวาโกศลรัฐซึ่งเปนประเทศนอย
ตั้งอยูติดตอกับแควนกาสีอันเปนประเทศใหญเมื่อยังทรงอิสรภาพดวยตนก็ชอบแตจะตระเตรียมรี้พล
พาหนะ ฉางคลังสั่งสมทรัพยพัสดุศัตราวุธยุทธภัณฑ แลเสบียงอาหารจัดการปองกันรักษาแลรีบตั้ง
หนาทํานุบํารุงเตรียมตัวไวใหบริบูรณ เพื่อจะไดเกิดทรัพยเปนเครื่องเพิ่มพูนกําลังยิ่งขึ้นไป จนสุดวิสัย
ที่อาจจะเปนไปไดอันกิจเชนนี้จะตองจัดทําใหพรอมสรรพไวในเวลาสงบยังไมมีศัตรูมารบกวนไมควร
จะประมาทเลินเลอปลอยไวใหขาดตกบกพรองจะตระเตรียมเฉพาะในเมื่อยามตองการไหนเลย
จะทันทวงทีการละเลยใหลวงเวลาเปนเหตุแหงหายนะเมื่อภายหลังดังที่สาธก ฯ
อนึ่งชนผูไมรูจักกาลแมเมื่อทํากิจก็ทําใหผิดสมัยคือดวนทําเสียแตเมื่อยังไมทันถึงเวลาการ
งานก็ไมสําเร็จผลดีขอนี้พึงเห็นอุทาหรณ ในเรื่องพระเจาอชาตศัตรูผูครองแควนมคธทําสงครามกับ
พวกกษัตริยล ิจฉวีผูครองแควนวัชชีในเวลาเธอกําลังตั้งอยูในสามัคคีธรรมพรักพรอมเปนสมานฉันท
ช ว ยกั น ต อ สู ป อ งกั น อาณาจั ก รด ว ยความองอาจ ท า วเธอก็ ไ ม ส ามารถจะได ชั ย ชํ า นะสมหวั ง
ตอภายหลังตอกลอุบายปลอยวัสสการพราหมณมหาอํามาตยไปยุยงลิจฉวีราชใหแตกความสามัคคี
จากกัน จึงไดมีชัยตีไดแควนวัชชีมาอยูใตอํานาจของพระองคขอนี้ก็ใหลงสันนิษฐานวาครั้งกอนยังไม
เปนเวลาการจึงไมสําเร็จสมหมายครั้นภายหลังประกอบกลอุบายถูกคราวจึงสําเร็จได ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๒๔๗-๒๔๘.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๓๐ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
กาลฺตุ าคาถา
๑.ปฐยาวัตร
กาโลติ เหตฺถ เวลา วา โอกาโส ปฏิรูปโก ตาว สพฺพํ ปริปฺปูรํ กาตพฺพํ โหติ อูนกํ
อกฺขายติ ตถารูป กาลํ ชานาติ โย นโร อกาตพฺพฺจ สตฺตูสุ อสมฺปตฺเตสุ สพฺพธิ
กาลฺู นาม โส เอวํ ตํตํกิจฺจปยุฺชเน กาลาติกฺกมนํ โหติ ปจฺฉา หายนปจฺจโย
กาลฺุตา สตา โหติ อิจฺฉิตพฺพา สเจ นโร อโถ กิจฺจํ อกาลสฺมึ อกาลฺู ปกุพฺพติ
อกาลฺู ส กตฺตพฺพ- กรณฺเย ปจฺจุปฏฐิเต อิฏฐํ กนฺตํ มนาปฺจ สพฺพนฺตํ น สมิชฺฌติ
เนตํ กโรติ เอวํ ยํ หิตํ ลทฺธพฺพมตฺตนา วตฺถุ อชาตสตฺตุสฺส ภเวยฺย เอตฺถ สาธกํ
อทฺธา ตมฺหา จุโต โหติ ยํ ลทฺธํ ปริหายติ ๒.อุเปนทรวิเชียร
สมุปฺปชฺชิตุเมตสฺส โอตารํ ลภตี ภยํ ยทา หเว ลิจฺฉวโย สมคฺคา
ทีฆาวุชาตกฺเจตฺถ สาธกํ อสฺส อาทิโต สมานฉนฺทา สกวชฺชิรฏ
พฺรหฺมทตฺโต สุทํ กาสิ- รฏฐโป โกสลํ ปุรํ ปวีรภาเวน สุโคปยึสุ
ตทา รณํ กุพฺพิ ส เตหิ สทฺธึ
ปหรีตุ มหาเสนา- สมปฺปโต สมาคมิ
น เต ปราเชตุมสกฺขิ ปจฺฉา
ทีฆีติ ปน รฏมฺเม โกสลํ โหติ ขุทฺทกํ
อุปายกตฺตา ปน วสฺสการํ
อปฺปพฺพลนิกายฺจ สพฺพตฺถ อปฺปวาหนํ
ทิชมฺป สามคฺคิปภินฺทนตฺถํ
น สกฺโกมิ รณํ กาตุ เตน สทฺธินฺติ จินฺตยิ
อเปสยี เว ลภิ วชฺชิรฏฐํ
นครฺจ ปหาเยส สมเหสี ปลายิ โส ๓.วังสัฏฐะ
พฺรหฺมทตฺโต ตุ ทีฆีติ- ราชสฺส โกสลํ ปุรํ อุปายเฉโก จ อชาตสตฺตุ โส
สุเขน ลภิ ยุทฺธสฺส อภาวโต จ ปจฺฉิเม อกาสิ เวลานนุรูปยุทฺธนํ
ทีฆีตึ สมเหสึ ตํ ชีวคฺคาหํ อคาหยิ น เต ปราเชตุมสกฺขิ ปจฺฉิเม
เวทิตพฺโพ ปเนตฺถตฺโถ ขุททฺ กํ โกสลํ ปุรํ อกาสิ เวลานุกุลํ มหารณํ
มหโต กาสิรฏสฺส โหติ สามนฺตสีมกํ สทา ปราเชตุมุปายโสตฺตโน
เตน ทีฆีตินา เสนา สพฺพา จ วาหนานิ จ อสกฺขิ วชฺชีนครํ วเส อกาติ ฯ
สตฺถานิ ยุทฺธภณฺฑานิ สชฺเชตพฺพานิ ตํขณํ
รฏาวรณรกฺขา จ โยธพฺพลานุพฺรูหนํ
ปริปูรานิ กาตพฺพ- กิจฺจานิ โหนฺติ สพฺพธิ
ยถาวุตฺตมิทํ กิจฺจํ ยทา สตฺตู น หึสเร
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๓๑ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

สันตินั้นคือความสงบเปนผลมีมาแตสหกรณ เปนคุณสมบัติอันจะพึงปรารถนา ทั้งทางคดีโลก


ทั้งทางคดีธรรม.ในทางคดีโลกการปกครองตั้งแตของชนผูเปนหัวหนาแหงสกุลแหงคณะตลอดถึง
แหงราชอาณาจักร ยอมมีความมุงหมายสันติเปนขอใหญ คนในสกุลเกิดทะเลาะวิวาทกัน คนในคณะ
เบียนเบียนทํารายกัน ตางอยูไมเปนสุข หัวหนาของสกุลของคณะตองคิดปองกันการทะเลาะวิวาท
และเบียดเบียนกันมิใหเกิดขึ้น และระงับเหตุเชนนั้นอันเกิดขึ้นแลวมุงรักษาความอยูสงบเปนนิจ .
ไมเพียงเทานั้นสกุลหรือคณะเปนอริกันขึ้นกับสกุลหรือคณะอื่นเปนตนวาที่อยูติดกันหรือมีประโยชน
รวมกันแตไมปรองดองกันผลอันไมพึงปรารถนาก็จะพึงมีมาหัวหนาทุกฝายจําตองมีวิสาสะกันมีความ
ผอนผัน ดว ยไมตรี จิต ต างฝา ยจึง จัก อยู เป นสุ ข .ราชอาณาจัก รมีโ จรผูร ายปล นทรั พย ผลาญชีวิ ต
ทํารายรางกาย ชุกชุมประชาราษฎรยอมอยูดวยความหวาดเสียววางใจในชีวิตรางกายและทรัพย
สมบัติลงมิได.เพราะฉะนั้นทานผูปกครองอาณาจักรจึงตั้งกฎหมายไวเพื่อลงโทษผูทําผิดและระงับ
วิ ว าทเรื่ อ งทรั พ ย กั บ รั ก ษาสิ ท ธิ แ ละอิ ส รภาพของประชาชนตั้ ง ศาลไว เ พื่ อ พิ จ ารณาอรรถคดี
จักอารักขาเพื่อปองกันภยันตรายแตโจรผูรายและจัดการอยางอื่นอีกก็เพื่อรักษาความสงบภายใน
จัดกองทัพสะสมศาสตราวุธยุทธภัณฑเสบียงพาหนะและอื่นๆ ก็ดีผูกไมตรีสัญญาตอกันกับตาง
อาณาจักรหรือเขารวบรวมกําลังเปนสัมพันธมิตรก็ดี ก็เพือ่ รักษาความสงบทางภายนอก.สันติเปนผล
มุงหมายแหงรัฐประสาสนสําเร็จดวยกําลังทรัพยอันจะพึงนับมิได ทั้งดวยสติ ปญญา วิริยะ อุตสาหะ
สามารถและสหกรณ อันเปนกิจที่พึงทํากอนอยางอื่นทั้งนั้น ฯ
ในทางคดีธรรมสันติเปนตนเคาแหงพระพุทธศาสนามีพระพุทธภาษิตวางไวเปนหลักวา สนฺติ
เมว สุสิกฺเขยฺย พึงสําเนียกใหดี ถึงความสงบนั้นแลอีกขอหนึ่งวา สนฺติมคฺคเมว พฺรูหย จงพูนทาง
แหงความสงบ.อันผูปฏิบัติพระพุทธศาสนา จะประกอบกิจก็ดี จะประพฤติกิริยาก็ดี จะกลาววาจาก็ดี
อยางใดอยางหนึ่งพึงมุงความสงบเปนที่ตั้ง.สมเด็จพระบรมศาสดาทรงบัญญัติสิกขาบทก็เพื่อระงับ
อาสวโทษอันเกิดขึ้นแลว และเพื่อระงับอาสวะโทษอันจะพึงเกิดขึ้นอีก โดยใจความก็คือเพื่อรักษา
ความสงบ.ในฝายคฤหัสถทรงบัญญัติศีลมีองค ๕ คือ เวนจากผลาญชีวิต , เวนจากทําโจรกรรม ,
เวนจากประพฤติผิดในกาม,เวนจากกลาวเท็จ,เวนจากดื่มน้ําเมา ก็เพื่อความอยูสงบแหงมหาชน ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๑๐๙-๑๑๐.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๓๑ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
สนฺตคิ าถา ๒
๑.ปฐยาวัตร ๒.อินทรวิเชียร
สหกรณสมฺภูตา คิหินา อุท ภิกฺขุนา เย เตปจาสนฺนฆเร วสนฺติ
สมิจฺฉิตพฺพสมฺปตฺติ โหติ สนฺติ กุลสฺส จ กิจฺจํ อเนกํ สหกุพฺพเร วา
คณสฺส ปมุโข โปโส อาณาจกฺกิสฺสโร อุท เอเต สมคฺคา น ภวนฺติ เอวํ
สพฺพํ ปสาสนํ กุพฺเพ สนฺติปฺปรายนํ สทา เตสํ อนิฏฐํ อุปสคฺคกมฺมํ
มนุชา กุลวาสี วา คณวาสี อภิกฺขณํ อุปฺปชฺชิยา ตํปมุโข ตุ เตสํ
วิวทนฺติ วิหึสนฺติ อฺญมฺญํ ปทุสฺสเร สมฺมาฺญมฺเญสุ วิสาสกิจฺจํ
เอเตสํ สุขสํวาโส นตฺถิ สนฺติสมปฺปตํ กุพฺเพยฺย เมตฺตาย อเถว เอเต
วิธานมฺปน เอเตสํ ปมุเขน ยถาพลํ โปสา วสิสฺสนฺติ สุเขน ภิยฺโย
กาตพฺพํ โหติ วาเรตุ วิวาทฺจ วิเหฐนํ ๓.วสันตดิลก
๔.ปฐยาวัตร รฏเฐ วิลุมฺปย ปชํ พหุจณฺฑโจรา
สาสนสฺส อยํ สนฺติ ภูมิ โหติ มเหสินา ฆาเตนฺติ นฺจ สตตฺจ สรีรมสฺสา
สนฺตเิ มว สุสกิ เฺ ขยฺย สนฺตมิ คฺคเมว พฺรหู ย ปเฬนฺติ ตาสปฏิยุตฺตมนา ตุ ชีวํ
อิจฺจิทํ วจนํ วุตฺตํ สนฺติธมฺมํ ปสํสิตุ กปฺเปติ ชีวิตธเนสุ ปชา นิราสา
สกกิจฺจฺหิ กาเยน วาจาย อุท เจตสา ตสฺมา ปสาสกชโน อปราธกมฺมํ
ยถาพลํ ปกุพฺพนฺตา พุทฺธสาสนิกา ชนา กุพฺพนฺติ เย ปณิตุ เตส ชนานมาณํ
สนฺติปฺปรายนํ กิจฺจํ กเรยฺยุ มุนิปุงฺคโว เนตึ ฐเปสิ จ วินิจฺฉินิตุฺจ อฏฏํ
สิกฺขาปทานิ ภิกฺขูนํ นานาสวํ นิเสธิตุ โวหาริกาน มนุชาน ฐเปสิ สาลํ
ปฺญาเปติตฺถโต สนฺติ- รกฺขณตฺถาย ตานิ โส รฏฐสฺส รกฺขยิตุมนฺติมสนฺติเมโส
ปฺญาเปติ อโถ พุทฺโธ มหาชนสฺส สนฺติยา โจรพฺภยาวรณกิจฺจมกาสิ ภิยฺโย
ผาสุวาสาย ปฺเจว สีลานิ ปฏฐเปติ เสติ ฯ รฏฐสฺส รกฺขยิตุ พาหิรสนฺติเมโส
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง เสนฺจ สํวิทหิ อาวุธยุทฺธภณฺฑํ
เมตฺตึ อพนฺธิ สห อฺญปุเรน สมฺมา
รฏฐปฺปสาสนพุเธน สมิจฺฉิตพฺพา
สา สนฺติ ตมฺปจ ปสาสนการิโปโส
สาธาปเยยฺย สติยา วิริเยน สมฺมา
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๓๒ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

สัจจบารมีคําวาสัจจะแปลวาความจริง ใชในความหมายวาพูดไวอยางไรก็รักษาคําพูดเชนที่
เรียกวา รักษาสัญญาก็ได ทําไวอยางไรแจงวาทําอยางนั้น เชนที่เรียกวารับตามที่เปนอยางไรก็ได
ไดเห็นอยางไรหรือเปนอยางไรก็บอกตามที่เห็นตามเรื่องที่เปนไปเชนนั้น เรียกวาพูดความจริงก็ได
สัจจะเหลานี้มีลักษณะเปนความซื่อตรง ทําใหพูดจริงเปนสัจจวาจาตรงกันขามกับพูดเท็จและทําให
รัก ษาคํ าพู ดรั ก ษาหนา ที่เ พราะเมื่ อรั บ หน าที่ อั นใดแล วก็ รั ก ษาหน าอั น นั้น ดว ยดีต ลอดเวลาที่ อ ยู
ในหน า ที่ นั้ น อี ก อย า งหนึ่ ง หมายถึ ง ความตั้ ง ใจทํ า จริ ง มุ ง แสวงหาความจริ ง หรื อ ความถู ก ต อ ง
เที่ยงธรรมและรักษาความเที่ยงธรรมไว
ในทศชาติ ช าดกท า นจั ด วิ ธุ ร ชาดกเป น ชาดกที่ แ สดงสั จ จบารมี มี เ รื่ อ งย อ ว า วิ ธุ ร บั ณ ฑิ ต
เปนปราชญในราชสํานัก พระเจาธนัญชัยโกรพยะผูครองเมืองอินทปตตะเปนผูทรงปญญาหาผูเสมอ
เสมือนมิไดวันหนึ่งทาวสักกเทวราช วรุณนาคราช พระยาครุฑและพระเจาธนัญชัยพรอมกันสมาทาน
อุโบสถศีลในพระราชอุทยานเมืองอินทปตตะแหงกุรุรัฐเมี่อออกจากที่อยูของตนก็ปรารภกันวาผูใด
จะมี ศี ล ยิ่ ง กว า กั น ผู ใ ดเป น ผู ส งบไม อ าจตกลงกั น ได จึ ง เชิ ญ วิ ธุ ร บั ณ ฑิ ต เป น ผู ชี้ ข าดความเห็ น
ของพระราชาทั้ ง ๔ พญานาคทรงสรรเสริ ญ ความไม โ กรธในบุ ค คลแม ค วรโกรธ พญาครุ ฑ
ทรงสรรเสริญการบริโภคอาหารแตนอย ทาวสักกเทวราชทรงสรรเสริญการละความยินดีในกามคุณ
๕ พระเจาธนัญชัยทรงสรรเสริญความไมมีกังวล พระมหาสัตววิธุรบัณฑิตสดับแลวกลาววาคุณธรรม
ทั้ง ๔ ประการนี้ ตั้ ง มั่ น ในนรชนใด บั ณ ฑิ ต เรี ย กนรชนนั้ น ว า ผู ส งบในโลก วิ ธุ ร บั ณ ฑิ ต ทํ า ให ศี ล
ของพระราชาทั้ง ๔ พระองคมีคุณเสมอกันทําใหพระราชาทั้ง ๔ มีพระหฤทัยราเริงยินดีทรงชมเชย
วิธุรบัณฑิตวาเปนดุจผูประเสริฐสุด มีปญญาดี รักษาธรรม รูแจงธรรมวิเคราะหปญหาไดดวยดี
ดวยปญญาตัดความสงสัยลังเลใจใหขาดไดทันที เหมือนชางทํางาชางตัดงาชางใหขาด ดวยเลื่อย
อันคมฉะนั้น ฯ
พญานาคราชทรงเลาใหพระนางวิมลาเทวีผูชายาฟงถึงความสามารถในการแสดงธรรมได
อยางไพเราะจับใจของวิธุรบัณฑิต พระนางใครจะสดับธรรมกถาของวิธุรบัณฑิตเพื่อใหสมประสงค
จึงแสรงแสดงอาการ ดังเปนไขทูลพญานาคราชวา ตองการใหนําดวงหทัยของวิธุรบัณฑิตมาให
โดยชอบธรรม มิใชดวยความรุนแรงมิฉะนั้น ก็จะไมมีชีวิตอยูตอไป นางอิรันทตีธิดาพญานาคราช
จึ ง ประกาศจะรั บ ผู ยั ง ความสมปรารถนาให แ ก น างวิ ม ลาเทวี เ ป น ภั ส ดาปุ ณ ณกยั ก ษ ก็ อ าสาท า
พระเจาธนัญชัยเลนสกาเมื่อชนะก็ขอวิธุรบัณฑิต ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๒๑๑.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๓๒ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
สจฺจปารมีคาถา
๑.ปฐยาวัตร
สิกฺขากามาน เมทานิ วุจฺจเต สจฺจปารมี ปฺจกามคุณตฺตุฏฐิ- ปหานฺจ ปสํสิ โส
ชโน หิ สจฺจสมฺปนฺโน สาตฺถํ กเถติ ยํ วโจ ธนฺชโย ตุ ภูปาโล อกิฺจนํ ปสํสิ จ
ตํ รกฺขติ อยํ สฺญา- รกฺขโกติ ปวุจฺจติ ตํ ตุ สุตฺวา มหาสตฺโต ยสฺมึ นเร ปติฏฐเร
ยํ กโรติ ตมฺญสฺส อาโรเจติ อยํ ชโน จตุธมฺมา ส เว โลเก สนฺโตติ อาห สพฺพโส
สจฺเจน อธิวาเสติ นาม ยํ ทิฏฐกํ อุท จตุราชูน สีลสฺส สมานคุณตํ กรํ
มุตํ วา โหติ ตํ วตฺถุ สจฺเจนาจิกฺขตี อยํ เต ราชาโน ปหาเสสิ ตสฺมา เต ตํ อภิตฺถวุ
สจฺจวาทกภูโตติ ปวุจฺจติ อิมานิ หิ วิจิตฺรเทสนากิจฺเจ วิธุรสฺส สมตฺถตํ
สจฺจานิ อาชฺชวํ โหนฺติ สจฺจํ ยสฺสตฺถิ โส ชโน นาคราชา ตุ อาจิกฺขิ วิมลาเทวิยาตฺตโน
สจฺจวาจาย สมฺปนฺโน ตพฺพีปริตโก ชโน ๒.วังสัฏฐะ
มิจฺฉาวาจาย สมฺปนฺโน อิติ เอวํ ปวุจฺจติ ปสาทิกํ ธมฺมกถํ ยถิจฺฉิตํ
สจฺจํ ยสฺสตฺถิ โส โปโส ยุตฺติธมฺมสมปฺปโต สุโสตุกามา ภุชคสฺส ราชิโน
ยํ ธุรํ ปฏิคณฺหาติ ยาวตฺตา ตํธุเร ฐิโต อยํ คิลานาลยตํ อทสฺสยี
อหํ สมิจฺฉึ วิธุรสฺส มานสํ
ตํ ธุรํ รกฺขตี ตาว ธมฺมฏฐภาวมตฺตโน
ตมสฺส ตฺวํ อาหร ธมฺมโตป มา
รกฺขตี สาธกฺเจตฺถ สิยา วิธุรชาตกํ
ปสยฺหกมฺเมน น เจ ยถิจฺฉิตํ
วิธุโร ปณฺฑิโต ธีโร ธนฺชยสฺส สนฺติเก ลเภยฺยมทฺธา มรณํ หเว มมํ
อโหสิ ขตฺติยา เอก- ทิวสํ กิร วาสโว ภวิสฺสตีเตฺวว อโวจุปายโส
วรุโณ นาคราชา จ สุปณฺโณ จ ธนฺชโย ๓.อินทรวงศ
อิจฺจโุ ปสถสีลานิ สมาทยึสุ โก วต ธีตา หิ นาคสฺส อิรนฺทตี ยุโว
สีลาธิโก จ สนฺโต จ โหตีติ มนฺตยึสุ เต โย มาตุยา เม วิมลาย ปตฺถนํ
สฺญาเปตุมสกฺโกนฺตา อกาเรสุ วินิจฺฉยํ สาเธสิ ชายา อหมสฺส โหหิมี
ปสํสิ นาคราชา จ อกฺโกธํ โกธเน ชเน อิจฺเจวมาโรจยิ มาตุปตฺถิตํ
สุปณฺณาหารมตฺตฺุ- ตํ ปสํสิ ปุรินฺทโท
๔.ปฐยาวัตร
ตํ ภารํ ปฏิคณฺหิตฺวา ยกฺโข ปุณฺณกสวฺหโย
ชูตกีฬํ อกีเฬสิ สทฺธึ ธนฺชเยน โส
ยกฺโข ชยํ ลภิตฺวาน วิธุรํ ยาจิ ปณฺฑิตนฺติ ฯ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
+ ชูต(นปุง)-สกา,การพนัน ฯ
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๓๓ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

แท จ ริ ง พุ ท ธเจดี ย มี ป ระเภทเป น ๓ คื อ สารี ริ ก เจดี ย พ ระเจดี ย ที่ บ รรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ นี้
มีพระบรมพุ ทธานุญาตไว เมื่อใกลจะเสด็ จดับขันธปรินิพพานใหสรา งขึ้น ณ สถานเปนที่ประชุม ถนนใหญ
ทั้ง ๔ สําหรับเปนที่สักการบูชาของมหาชนเจริญกุศลอันจะเปนไปเพื่อประโยชนสุขสิ้นกาลนาน เมื่อพระองค
เสด็ จ ดั บ ขั น ธปริ นิ พ พานแล ว พวกมั ล ละกษั ต ริ ย จั ด การถวายพระเพลิ ง เสร็ จ แล ว แบ ง พระสารี ริ ก ธาตุ
แจกแกกษัตริยและพราหมณเจานครนั้น ๆ ผูถือพระพุทธศาสนาเปน ๗ สวนดวยกัน ตางองคสรางพระสถูป
ลงแล ว เชิ ญ พระสารี ริก ธาตุ บ รรจุ ไ ว ใ นนั้ นเป น ครั้ ง แรก และอัง คารเจดี ย คื อ พระสถู ป ที่ บ รรจุ พ ระอั ง คาร
อันพวกโมริยกษัตริยเมืองปปผลิวัน ไปไมทันแบงพระสารีริกธาตุ เชิญไปบรรจุไว ก็นับเขาในสารีริกธาตุเจดี ย
นี้ เ ป น พุ ท ธเจดี ย ช นิ ด หนึ่ ง . บริ โ ภคเจดี ย คื อ พระสถู ป ที่ บ รรจุ บ ริ ข ารที่ ส มเด็ จ พระบรมศาสดาจารย
ทรงทําพุทธบริโ ภคมีบาตรทรงเปนตนและพระคันธกุฏีที่ประทับในพุทธนิวาสสถานนั้น ๆ มีพระเชตวันเปนตน
นี้เปนพุท ธเจดีย อีก ชนิด หนึ่ง . อุทเทสิ ก เจดีย คือเจดี ยสถานหรือเจดี ยวัตถุเ ปนที่ระลึก ถึงสมเด็จพระสัม มา
สัมพุทธเจามีพระบรมพุทธานุญาตไวเมื่อใกลจะเสด็จดับขันธปรินิพพานทรงแสดงสถาน ๔ ตําบล คือสถานที่
ประสู ติ สถานที่ ต รั ส รู สถานที่ ท รงแสดงธรรมจั ก รประถมเทศนาและสถานที่ ท รงดั บ ขั น ธปริ นิ พ พาน
ว า เป น สถานที่ ค วรดู ควรเห็ น เป น ที่ ตั้ ง แห ง ความสั ง เวช ของกุ ล บุ ต รผู มี ศ รั ท ธาในกาลเป น ลํ า ดั บ มา
พระสารีริกธาตุที่เปนของแทก็หาไดดวยยากจึงมีผูสรางพระสถูปบรรจุอักษร แสดงพระธรรมเทศนาคําสั่งสอน
ของพระพุทธเจาเชนคาถา เย ธมฺมาเปนตน นี้ก็นับเขา ในอุทเทสิกเจดียในกาลเปนภายหลังมีผูเห็นอํานาจ
ประโยชนแลว และสรางพระพุทธปฏิมากร ดวยวัตถุตาง ๆ มีศิลาและโลหะเปนตนใหตองตามพระพุทธลักษณะ
ที่ระบุไวในพระคัมภีรเ ทาขนาดบาง ใหญบาง เล็กบาง ตาง ๆ กัน ตามกําลังศรัทธา และความนิยมในฝมือชาง
พระพุทธปฏิมากรนี้ก็นับเขาในอุทเทสิกเจดีย นี้เปนพุทธเจดียอีกชนิดหนึ่งซึ่งสรางกันเปนพื้นในภายหลังและ
การสร า งพระพุท ธปฏิม ากรนั้ น เปน พระราชกุ ศลอัน พิเ ศษที่สมเด็ จพระมหากษั ตริ ยาธิร าชไดท รงกระทํ า
เปนลําดับมา ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๒๔-๒๕.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๓๓ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
พุทธฺ เจติยคาถา
๒.ปฐยาวัตร
ตโต ปฏาย สมฺพุทฺเธ ปวเร ปรินิพฺพุเต นิธานภูตถูโป โย กโต ปณฺฑิตการุนา
สรีรมสฺส ฌาเปตฺวา มลฺลา โข โกสินารกา เอสุทฺเทสิกเจตฺยนฺติ เอวํ สงฺขํ นิคจฺฉติ
สตฺตธา วิภชิตฺวาน พุทฺธสฺส อฏฐธิ าตุโย ปจฺฉา อตฺถวสํ ทิสฺวา สมฺพุทฺธปฏิมากโร
พุทฺธมามกภูตานํ สมาคตาน ยาจิตุ สทฺธาย การุสิปฺเป จ นิยเมน มเหสิโน
ปมาโณป มหนฺโตป ขุทฺทโกป ปกุพฺพิย
ขตฺติยพฺพฺราหฺมณานมฺป อทํสุ อฏฐิธาตุโย
สิลาโลหาทิวตฺถูหิ นานาวิเธหิ มาปโต
เอเต ปฏิคฺคเหตฺวาน ปฏิลทฺธฏฐิธาตุโย
๓.วังสัฏฐะ
ถูป รฏมฺหิ กาเรตฺวา ธาตุโย ตตฺถ ปกฺขิปุ
อยฺหิ พุทฺธปฺปฏิมากโร วโร
โมริเยหิฏฐิธาตูนํ วิภตฺตสมยมฺหิ ยํ
อโหสิ อุทฺเทสิกเจตฺยสฺโ ต
อาคนฺตฺวา ปฏิลทฺธาย พุทฺธสฺสงฺคารธาตุยา
อิทฺจ เจตฺยํ สมยมฺหิ ปจฺฉิเม
นิธานถูปสงฺขาตํ อคฺคํ องฺคารเจติยํ
อโหสิ สาธารณกิจฺจโต กตํ
ตํ สารีริกเจตฺยนฺติ ปณฺฑิเตน ปวุจฺจติ
อิทฺจ พุทฺธปฺปฏิมาย มาปนํ
ตโทภยฺจ โสภางฺคํ พุทฺธเจตฺยนฺติ วุจฺจติ
อโหสิ รฺญา อนุปุพฺพโต กตนฺติ ฯ
ปริภุตฺตาน ปตฺตาทิ- ปริกฺขาราน สตฺถนุ า ๑.อินทรวิเชียร
นิธานภูตถูปา เย พุทฺธนฺนิวาสเนสุ จ โลเก หิ ปูชารหพุทฺธเจตฺยํ
เชตพฺพนาทิาเนสุ ยา รมฺมา คนฺธโกฏิโย โสภฺจ สารีริกเจตฺยมคฺคํ
เต ปรีโภคเจตฺยนฺติ ปณฺฑิเตน ปวุจฺจเร สมฺภาวนียํ ปริโภคเจตฺยํ
ตมิทํ พุทฺธเจตฺยนฺติ ปณฺฑิเตน ปวุจฺจติ สุทฺธฺจ อุทฺเทสิกเจตฺยมคฺคํ
ยมิทํ เจติยฏานํ เจติยพฺพตฺถุ วา วรํ อิจฺเจวมาปชฺชิ ติธา วิภาคํ
พุทฺธานุสฺสติสมฺภูตํ อนุฺญาตํ มเหสินา ยํ อตฺตโน ธาตุนิธานเจตฺยํ
ตํ อุทฺเทสิกเจตฺยนฺติ ปณฺฑิเตน ปวุจฺจติ สกฺการปูชาย มหาชนสฺส
สํเวชนียภูตานิ จตุฏ านานิ ยานิป ปุญ ฺ สฺส กมฺมสฺส จ ภาวนาย
ทสฺสติ านิ มุนินฺเทน ปสูติฏ านอาทินิ กาตุ อนุฺญาสิ ตถาคโต ตํ
ตานุทฺเทสิกเจตฺยนฺติ ปณฺฑิเตน ปวุจฺจเร ญาตํ ว สารีริกเจติยนฺติ
ตโต ตจฺฉา มุนินฺทสฺส ตา สารีริกธาตุโย
อเหสุ ทุลฺลภา พุทฺธ- ธมฺมเวปุลฺลมิจฺฉตา
เย ธมฺมาตฺยาทิธมฺมสฺส เทสนายกฺขรสฺส หิ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
+ การุ(ปุง)-ชาง,คนมีฝมือ ฯ
+
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๓๔ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

ปุพเพกตปุญญตานั้น คือพระราชกุศลสมภารบุญญาธิการบารมีที่สมเด็จบรมบพิตรพระราช
สมภารเจาไดทรงบําเพ็ญไวในปางกอนเปนลําดับมาตั้งแตปุเรชาติจนถึงภพปจจุบันอันเปนสวนอดีต
ลวงไปแลวมาสโมสรเพิ่มพูนวิบากขันธอันมโหฬาร ใหทรงสมบูรณดวยสมบัติ ๔ประการคือพระชาติ
สมบัติ อิสริยสมบัติ โภคสมบัติ พระญาณสมบัติ ควรเปนที่สรรเสริญของอเนกชนนิกรผูจะอนุวัตร
ในกิจกรณียะนั้น ๆ ซึ่งเปนอุบายแหงความเจริญสุขประโยชนคุณและเปนที่บันเทิงจิตคารวนิปจจการ
ของโลกิยชนและปริกขกชนทุกหมูเหลา. อาคาริกมนุษยบุรุษรัตนผูพรอมดวยสมบัติ ๔ ประการนี้
แลวย อมสามารถในกิ จใหญ ๆ ให เสร็จไดโดยไมยากได อาศัย ชาติ สมบัติ แลว ก็อาจชักนํ าผูอื่ น
ที่เสมอหรือต่ํากวา โดยชาติและตระกูลสําคัญเพื่อจะประพฤติตามโดยงายกิจใด ๆ จะตองอาศัย
อานุภาพอันใหญหลวง จึงอาจสําเร็จ ก็จะใหกิจนั้น ๆ เสร็จไดโดยอิสริยสมบัติกิจซึ่งจะตองสําเร็จ
ดวยกําลังทรัพยอันใหญก็จะสามารถสําเร็จไดดวยโภคสมบัติและอาจจะใหกิจนั้น ๆ เสร็จไดโดยชอบ
ปราศจากอุป สรรคด วยญาณสมบั ติ. สมบั ติ ๔ ประการซึ่ งเป นผลมีม าเพราะปุพ เพกตปุญ ญตา
สามารถใหกิจใหญ ๆ เสร็จไดโดยสะดวกฉะนี้ . สมเด็จพระสุคตมหามุนีจึงตรัสแสดงปุพเพกต-
ปุญญตานั้นวาเปนสมบัติจักรอันจะพัดผันนําทานผูบําเพ็ญไวแลวนั้นใหบรรลุถึงผลพิเศษดุจลอรถ
อัน พั ด พาผู ขึ้ น ให ลุ ถึ งที่ ป ระสงค ป ระการหนึ่ ง ในสมบั ติจั ก ร ๔ ประการ และตรัส ว า เปน มงคล
อันสูงสุดของเทวดามนุษยประการหนึ่ง ในมงคล ๓๘ ประการดังแสดงในมงคลสูตรนั้น ฯ
อนึ่งทานพรรณนาวา สรรพอิฏฐวิบุลผลซึ่งเปนที่ตองประสงคของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย
จะเกิ ดมีดว ยอํานาจบุญ นิธิ ฯ ตอนี้ ทานบรรยายผลที่ ตองประสงคของเทวดามนุษ ยทั้งหลายนั้ น
เปนหมวด ๆ ไปเมื่อยนเขาก็ได ๓ ประการคือมนุษยสมบัติ สวรรคสมบัติ นิพพานสมบัติ ลวนเปน
คุณที่ พึง ไดด วยอํา นาจบุญ นิธิ ปุพเพกตปุ ญญตาคุ ณเปนที่ ตั้ง แห งศุภ สวั สดิ วิบุล ผล. ฉะนี้ สมเด็ จ
พระชินสีหจึงประทานบรมพุทโธวาทเพื่อใหอุตสาหะบําเพ็ญบุญโดยอเนกบรรยาย ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๘-๙.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๓๔ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
ปุพเฺ พกตปุญฺ ตาคาถา ๑
๑.อินทรวิเชียร ๒.ปฐยาวัตร
พุทฺเธน ปุพฺเพกตปุฺตา ยา จตุสมฺปตฺติสมฺปนฺโน อาคาริโก อกิจฺฉโต
วุตฺตา ปุเรชาติวราย กาลา นิปฺผาเทตุ มหนฺตานิ กรณียานิ สกฺขติ
ปฏาย ยาวชฺชตนา นิพทฺธํ ชาติสมฺปทมาคมฺม เย ชาติกุลโตตฺตนา
อาเสวิตา สฺยามปเทสรฺา สมา นีจตรา วาหุ อนุวตฺตายิตุ ชเน
สา ภาวิตา สมฺปริปูริตา จ สุขํ สกฺโกติ โสคมฺม สพฺพิสฺสริยสมฺปทํ
เทนฺตี หิ โอฬารวิปากเมสา ยํ ยํ ภวติ สาเธตุ สกฺกา มหานุภาวโต
ชาตฺยาทิสมฺปตฺติภิ ตํ นรินฺทํ ตํ ตํ กิจฺจํ สุเขนาป นิปฺผาเทติ ยถารหํ
สมฺปาทยี เตน หิ โส นรินฺโท โภคสมฺปทมาคมฺม มหาโภคํ ปฏิจฺจ ยํ
วุฑฺฒฺยาวหํ โหติ ปชาย ยํ ยํ สมิชฺฌติ สุเขนาป ตํ นิปฺผาเทติ สพฺพธิ
ตํ ตํ กรณฺยํ ปริปูรยิตฺถ าณสมฺปทมาคมฺม นิรูปสคฺคภาวโต
ตสฺมา ชนานํ อนุวตฺตตํ โส สมฺมา ตํตํกรณฺยานิ สาเธตุเมว สกฺขติ
สมฺภาวนีโย จ ปสาสนีโย ๔.ปฐยาวัตร
๓.อินทรวงศ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต หิ มหามุนิ
เอวฺหิ ปุพฺเพกตปุฺตายิมา โสตฺถินา รถจกฺกานิ ยานมฺหิ คตปุคฺคลํ
สมฺภูตรูปา จตุสมฺปทา วรา สมฺมา ยถิจฺฉิตฏานํ ปาเปนฺตานิ ยถา สตา
สมฺมา มหนฺตํ กรณียมิฏกํ ปสฏฐกิจฺจภูตมฺป ตํ ปุพฺเพกตปุ ฺ ตํ
สกฺโกนฺติ นิปฺผาทยิตุ ปกุพฺพโต สทฺธาย ปริปูเรนฺตํ นรํ วิสิฏ กํ ผลํ
ปาเปนฺตํ เอกสมฺปตฺติ- จกฺกํ ทสฺเสสิ เจกธา
สพฺพเทวมนุสฺสานํ อุตฺตมํ มงฺคลํ วทิ
ยฺจ เทวมนุสฺเสหิ วิปุลฺจิฏกํ ผลํ
ปตฺถิตฺจ อธิปฺเปตํ ปุ ฺ นฺนิธิวเสน ตํ
สพฺพํ โหติ สมุปฺปนฺนํ ตสฺมา เตน มเหสินา
อิฏฐํ กนฺตํ มนาปฺจ สพฺพกามททํ ผลํ
สพฺพเทวมนุสฺเสหิ อธิปฺเปตพฺพรูปกํ
มนุสฺสสมฺปทา สคฺค- สมฺปทา จ วิสุทฺธกา
นิพฺพานสมฺปทา จาติ ติธา ภวติ ทสฺสิตํ
ปุ ฺ พฺพเสน ลทฺธพฺพา ยถาวุตฺตา ติสมฺปทา
สุภโสตฺถฺยาวหา โหนฺติ เอวํ สติ ตถาคโต
อเนกปริยาเยน ปุ ฺ กมฺมํ ปกุพฺพโต
อุปฺปาทยิตุมุสฺสาหํ โอวาทํทาสิ อุตฺตมนฺติ ฯ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๓๕ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

อนึ่งทานพรรณนาวาสรรพอิฏฐวิบุลผลซึ่งเปนที่ตองประสงคของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย
จะเกิดมีดวยอํานาจบุญนิธติ องกับภาษิตในนิธิกัณฑสูตรวา
อสาธารณมฺเสํ อโจรหรโณ นิธิ
กยิราถ ธีโร ปุฺญานิ โย นิธิ อนุคามิโก
เอส เทวมนุสฺสานํ สพฺพกามทโท นิธิ
มีความวา บุญนิธินี้ไมสาธารณแกคนเหลาอื่นโจรก็ไมมาแยงชิงนําไปไดผูมีปญญาจึงควรบําเพ็ญ
บุญนิธิซึ่งจะติดตามตนไปเกิดบุญนิธินี้แลอาจอํานวยผลที่ตองประสงคทั้งปวงใหสําเร็จแกเทวดา
มนุษยทั้งหลาย. ตอนี้ทานบรรยายผลที่ตองประสงคของเทวดามนุษยทั้งหลายนั้นเปนหมวด ๆ ไป
เมื่ อ ย นเข า ก็ ได ๓ ประการคื อ มนุ ษยสมบั ติ สวรรคสมบัติ นิ พ พานสมบัติ ล ว นเป น คุ ณที่ พึ ง ได
ดว ยอํา นาจบุ ญนิ ธิ ปุพ เพกตปุ ญญตาคุ ณ เป น ที่ตั้ ง แหง ศุ ภสวั สดิ วิ บุล ผล. ฉะนี้ ส มเด็ จพระชิ น สี ห
จึงประทานบรมพุทโธวาทเพื่อใหอุตสาหะบําเพ็ญบุญโดยอเนกบรรยายจะเก็บรวมถวายวิสัชชนา
โดยสังขิตนัยขอหนึ่งวา กุสลํ ภิกฺขเว ภาเวถ ดูกอนภิกษุทั้งหลายขอทานทั้งหลายบําเพ็ญกุศลเถิด
กุศลนี้สามารถจะบําเพ็ญได หาไมเราจะไมกลาวชักชวนทานทั้งหลายเพราะกุศลเปนกรรมที่สามารถ
จะบําเพ็ญไดแทเราจึงไดกลาวชักชวนทาน ฯ
อีกประการหนึ่งถากุศลที่บําเพ็ญแลวจะเปนไปเพื่อผลอันไมเปนประโยชนและเปนไปเพื่อทุกข
แลวเราก็จะไมชักชวนทานเหมือนกัน เพราะเหตุกุศลที่บําเพ็ญแลวยอมเปนไปเพื่อหิตสุขเราจึงกลาว
ชวนทานอีกขอหนึ่ง พระองคตรั สใหเกิดอุตสาหะวา มา ภิกฺข เว ปุฺญ านํ ภายิตฺถ ดูกอนภิก ษุ
ทั้งหลายทานทั้งหลายอยาไดกลัวแตบุญเลย สุขสฺเสตํ ภิกฺขเว อธิวจนํ ยทิทํ ปุฺญานีติ คําวาบุญ ๆ
นี้เปนชื่อของความสุข อธิบายวา กรรมที่สัตวกระทํา ดวยไตรทวาร จะไดโวหารวา บุญก็ดี กุศลก็ดี
ตองมี อโลภะ อโทสะ อโมหะ เปนสมุฏฐาน ขอนี้เปนการทวนกระแสโลกประวัติยากที่สัตวโลก
จะบําเพ็ญ ถึงเชนนั้น ก็ยังไมพนวิสัยของผูประกอบดวยปรีชาเล็งเห็นผลแลว มีความกลาหาญอดทน
กระทํา ขอนี้แลเปนเหตุใหสัตวโลกพิเศษและต่ําชาไมเสมอทั่วกันไปบุคคลผูใดแมแลเห็นผลแหงบุญ
จริยาประจักษแตมาทอถอยไมสามารถจะบําเพ็ญ มีฉันทะอุตสาหะปติปราโมทยในบุญจริยานอย
เบาบางไมกลาหาญพอจะตอสูดวยหมูกิเลสมาร คือ โลภะ โทสะ โมหะ อันมีกําลังกลา บุคคลผูนั้น
ไดชื่อวากลัวแตบุญ ฯ
สมเด็จพระบรมศาสดาจารยประทานพระบรมพุทโธวาทหามอยาใหเปนคนกลัวแตบุญเชนนั้น
ตรัสสอนใหปลูกฉันทรุจิในบุญกรรมนั้นแลวและอดทนกระทํา เพราะบุญนั้นยอมอํานวยผลพิเศษ
แกผูบําเพ็ญใหไดมนุษยสมบัติสวรรคสมบัตแิ ละนิพพานสมบัติ ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๘-๑๐.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดู ๓๕ / ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
ปุพเฺ พกตปุญฺ ตาคาถา ๒
๑.ปฐยาวัตร ๒.วังสัฏฐะ
อโถ เทวมนุสฺเสหิ อิฏฺจ วิปุลํ อถ อิทฺหิ ปพฺพํ ปฏิโสตภูตกํ
ยนฺตํ ผลํ อธิปฺเปตํ ปุ ฺ นฺนิธิวเสน ตํ ชเนหิ สกฺกา กริตุมฺป กิจฺฉโต
สพฺพํ โหติ สมุปฺปนฺนํ วุตฺตฺเหตํ มเหสินา วิจกฺขโณ สารทตาสมปฺปโต
อสาธารณมฺเสํ อโจรหรโณ นิธิ ชโน ตุ ปุฺญํ อิธ กาตุ สกฺขตี
กยิราถ ธีโร ปุฺ านิ โย นิธิ อนุคามิโก ๓.อินทรวงศ
เอส เทวมนุสสฺ านํ สพฺพกามทโท นิธิ ตสฺมา ปชํ หีนปณีตตายิทํ
อิติ ตสฺมา หิ เอเตน วิปุลฺจฏิ กํ ผลํ สูเจติ ฉนฺโท จ ตุ ปุฺญกุพฺพเน
สพฺพเทวมนุสฺเสหิ อธิปฺเปตพฺพรูปกํ ปาโมชฺชกิจฺจํ ตนุกานิ ยสฺส โส
มนุสฺสสมฺปทา สคฺค- สมฺปทา จ วิสุทฺธกา โลภฺจ โทสฺจ น โมหเมกธา
นิพฺพานสมฺปทา จาติ ติธา ภวติ ทสฺสิตํ ตาเณตุ สกฺโกติ ส ปุคฺคโล สตา
ปุ ฺ พฺพเสน ลทฺธพฺพา ยถาวุตฺตา ติสมฺปทา ปุฺญาน ภายีติ ปวุจฺจตี สทา
สุภโสตฺถฺยาวหา โหนฺติ เอวํ สติ ตถาคโต ๔.ปฐยาวัตร
อเนกปริยาเยน ปุ ฺ กมฺมํ ปกุพฺพโต ปุเฺ ญ ฉนฺทรุจึ สมฺมา โรปาเปสิ ตถาคโต
อุปฺปาทยิตุมุสฺสาหํ โอวาทํทาสิ เตน หิ มนุสฺสสมฺปทา สคฺค- สมฺปทา จ วิสุทฺธกา
กุสลํ ภิกขฺ เว ภาเวถ อิจฺเจวํ ปุน อาหิทํ นิพฺพานสมฺปทา จาติ ติสมฺปทํ ปกุพฺพโต
กุสลํ ปริปูเรตุ สกฺกา เอวํธ ภิกฺขโว สาเธติ ตฺหิ ปุฺญมฺป พุทฺธวาจานุสารโตติ ฯ
สมาทเปติ ตํ กาตุ กตฺหิ กุสลํ จิรํ
สํวตฺตตีธ สตฺตานํ หิตาย จ สุขาย จ
โส มา ภิกขฺ เว ปุญฺ านํ ภายิตถฺ าติ อโวจป
โส สุขสฺเสตํ ภิกขฺ เว อิจฺจาทิกํ ปุนาห วา
อุปฺปาทยิตุมุสฺสาหํ ภิกฺขูนํ ปุฺญกุพฺพเน
ปุฺญํ วา กุสลํ วาติ อกฺขายมานเมกธา
ติทฺวาเรหิ กตํ โหติ ยํ กมฺมํ อถโข จิรํ
อโลภาทิสมุฏฐานํ ภเวยฺย ตํ หิตาวหํ
พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดูเปนพิเศษ / ๒๕๖๑
แตง ฉันทภาษามคธ
จงเก็บ ความ ตามแตจะเก็บ ไดใ นขอ ความขา งทา ยนี้ แลว ประพันธ ใหเ ปนฉันทลักษณะ
๓ อยางตามถนัด แตงฉันทอะไรแจงชื่อไวดวย ฯ

สมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจาทรงพระปรีชาในอันจะพระราชทานพระราชปฏิสันถาร
แก ป ระชุ ม ชนทุ ก เหล า แม แ ต เ พี ย งได เ ข า เฝ า และรั บ พระราชดํ า รั ส ก็ ป ติ ชื่ น บานมี พ ระคุ ณ
เปนอัศจรรยตองกันกับอัจฉริยัพภูตธรรมของพระเจาจักรพรรดิราชดังแสดงไวในมหาปรินิพพานสูตร
มี ใ จความว า ราชบริ ษั ท ๔ เหล า คื อ กษั ต ริ ย พราหมณ คฤหบดี สมณะ เข า ไปเฝ า พระเจ า
จักรพรรดิราชแมแตเพียงเขาเฝาเทานั้นก็ยินดี ถาพระองคมีพระราชดํารัสดวยก็ยิ่งชื่นบานตองการ
จะใหตรัสตอไปอีก ยังไมทันอิ่มใจพระเจาจักรพรรดิก็ตองทรงนิ่งไปเองยิ่งไดรับพระบรมราชูปถัมภ
ก็ยิ่งแชมชื่นตั้งจิตจงรักภักดี. อนึ่งทรงบําเพ็ญสังคหวิธีทํานุบํารุ งประชาชนใหอยูเย็นเปนสุขและ
ปองกันใหปราศจากภยันตราย ชาวตางประเทศทั้งหลายพากันเขามาพึ่งพระบารมีประกอบการเลี้ยง
ชี พ ตามวิ สั ย ทํ า พระนครให ส มบู ร ณ ด ว ยสารพั ด สิ น ค า ต อ งด ว ยคํ า ชมเมื อ งท า ของโบราณว า
ปูฏเภทนํ เปนที่แกหอพัสดุจัดเปนองคคุณของบานเมืองประการหนึ่งในครั้งนั้น. พระเกียรติขจรไป
ในนานาประเทศโดยพระคุณพิเศษกลาวตามคําโบราณวา โอปานํ ตระกูลเปนที่สองเสพดุจชลาลัย
อันเปนที่ลงดื่มของสัตวทุกจําพวกฉะนั้น แขกเมืองผูสูงศักดิ์ ตั้งแตพระราชโอรสของพระเจาแผนดิน
ผูเปนรัชทายาทตลอดลงมาถึงเสวกามาตยในประเทศอันเปนราชสัมพันธมิตรเมื่อมาสูทิศนี้ก็ยินดี
เขารับพระราชปฏิสันถารและมีความชื่นบานกลับไปเพิ่มพูนพระเกียรติใหปรากฏในประเทศนั้น ๆ .
ทูเร สนฺโต ปกาเสนฺติ หิมวนฺโต ว ปพฺพโต
สัปปุริสสาธุชน ยอมปรากฏไปไดในที่ไกล เหมือนเขาหิมพานต
อสนฺเตตฺถ น ทิสฺสนฺติ รตฺตึ ขิตฺตา ยถา สรา
ฝายอสัปบุรุษ ถึงอยูในทีใ่ กลก็ไมมีใครเห็น เหมือนลูกศรที่ยิงไปในราตรี ฯ พระคุณคือทรงพระปรีชา
ในพระราชปฏิสันถาร ชื่อวา ปฏิสนฺถารกุสลตา ทุติยมงคลวิเสส ฯ
พระราชจริยารัฏฐาภิปาลโนปายนั้นคือ พระราชกรณียกิจที่ทรงจัดขึ้นดวยพระบรมเดชานุภาพ
เพื่อเปนหิตานุหิตประโยชนแกพระราชอาณาจักรกับทั้งประชาชนขาขอบขัณฑสีมา ฯ
**ฝายพระราชอาณาจักรนอกจากยักยายขยายการที่ไดจัดไวกอนแลวให กวางขวางในทาง
พระเมตตาได ท รงตั้ ง พระราชบั ญ ญั ติ เ ลิ ก ลู ก ทาสเป ด ให เ ป น ไทไม ต อ งมี พิ กั ด เกษี ย ณอายุ
เหมือนในหนหลังผูที่ยังไมเคยเปนทาสหรือหลุดพนแลวก็หามไม ใหขายตัวเปนทาส ผูที่เปนทาส
อยูแ ลว ก็ไ มย อมให ขึ้น คา ตัว ทั้ งใหน ายเมตตาลดค าตั วใหเ ปน รายเดือ นเพื่อ เร งรั ดใหห มดทาส
ในแผนดิน ฯ
พระมงคลวิเสสกถา หนา ๕๔-๕๕.
ประโยค ป.ธ.๘ เรือ่ งทีค่ วรดูเปนพิเศษ / ๒๕๖๑
ตัวอยาง แตงฉันทภาษามคธ
สฺยามินทฺ ราชสฺส ราชปฏิสนฺถารกุสลตาคาถา
๑.ปฐยาวัตร ๒.วังสัฏฐะ
ปชาย ปฏิสนฺถาร- ทานสฺส โหติ โกวิโท สเจ หิ รฏฐปฺปติ จกฺกวตฺติ โส
สฺยามินฺทขตฺติโย ตสฺส อุปสงฺกมนาทิกํ กโรติ สลฺลาปกถํ สหตฺตนา
กิจฺจํ ลทฺธา ปชา ปติ- ปาโมชฺชปุณฺณมานสา ส ปุคฺคโล โหติ อุทคฺคุทคฺคโก
โหติ ตสฺมา คุโณ ตสฺส มหจฺฉริยภูตโก อติตฺตโก ปติคุเณน สพฺพโส
สห อพฺภูตธมฺเมหิ ราชิโน จกฺกวตฺติโน ๓.อินทรวิเชียร
สํสนฺทติ นรินฺโท จ พฺราหฺมโณ จ คหปฺปติ ตุณฺหี สยํ โหติ ส จกฺกวตฺติ
สมโณติ สุทํ ราช- ปริสาป จตุพฺพิธา โส เจ อุปตฺถมฺภนกิจฺจลทฺโธ
อตฺถิ เอตาสุ โยโกจิ ปุคฺคโล จกฺกวตฺตินํ โปโสป อุตฺตานมุโข สเปโม
เอตํ ปยิรุปาสนฺโต อุปสงฺกมนาทิกํ โหเต สภตฺตี จ สเมน สมฺมา
กิจฺจเมว ลภิตฺวาน โหติ หฏฐปฺปหฏฐโก
๔.ปฐยาวัตร
อโถ สฺยามินฺทราเชน ปชาย สุขิตาย จ ทูเร สนฺโต ปกาเสนฺติ หิมวนฺโต ว ปพฺพโต
อุปตฺถมฺภนสงฺขาโต ปชาย นิพฺภยาย จ อสนฺเตตฺถ น ทิสสฺ นฺติ รตฺตึ ขิตตฺ า ยถา สรา
ปฏิพาหนสงฺขาโต สงฺคโห ปริปูริโต อิติ คาถาป ญาตพฺพา ปฏิสนฺถารเมธิตา
ตสฺมา วิเทสิกา โปสา เอตํ นิสฺสาย ธมฺมิกํ ปฏิสนฺถารกุสลตา อิติ เอวํ ปวุจฺจติ
สมฺมาชีวํ ปยุฺชิตฺวา ภิยฺโย วณิชฺชกมฺมุนา รฏฐาภิปาลโนปาเย พฺยตฺโต สฺยามินฺทขตฺติโย
นครํ สพฺพภณฺเฑหิ สมฺปุณฺณกํ ปกุพฺพเร รฏฐสฺส รฏฐิกานฺจ หิตานุหิตสาธิกํ
สฺยามรฏฐฺจ โปราณ- ปฏฏนนฺนครสฺสป กิจฺจํ เตชานุภาเวน ปยุฺชติ ส เมตฺติโก**
อภิโถมนวาจาย สทฺธึ โข ปูฏเภทนํ ปุตฺตํ ทาสสฺส สพฺพตฺถ ภุชิสฺสํ ทาสภาวโต
สฺยามรฏฐนฺติ วุตฺตาย สํสนฺทติ สเมติ จ ปฏิมุจฺจาปนตฺถาย เนตึ ฐเปติ โย ชโน
ตสฺมา หิ กิตฺติ สฺยามินฺท- รฺโญ คุณวิเสสโต อภูตปุพฺพทาโส วา ทาสตฺตา อตฺตโมจิโต
นานารฏเฐสุ โอปานํ อิจฺเจวํ โหติ ปากฏา โหตาวิกฺกยิตุ อตฺต- กายํ ทาสํ ปกุพฺพิย
ชลาลโยว สพฺเพสํ โอปานฏฐานภูตโก ตํ นิวาเรติ โย ทาส- ภูโตคฺฆํ อตฺตกายิกํ
มิตฺตสมฺพนฺธิเก รฏเฐ มเหสกฺโข มหายโส อวฑฺฒาปยิตุ เอตํ นิวาเรติ จ สามิโก
ราชอาคนฺตโุ ก สมฺมา อาคจฺฉนฺโต อิมํ ทิสํ เมตฺตาเยยฺย สกํ ทาสํ โอหาราเปยฺย ตสฺส จ
ตุสิตฺวา ปฏิสนฺถารํ ปฏิคฺคณฺหาติ จุตฺตรึ อตฺตกายิกมคฺฆนฺติ อาณาเปติ จ สพฺพธิ
อุปฺปนฺนปติปาโมชฺโช ปฏิคฺคจฺฉติ เตน หิ โมจาเปตุ ปชํ ทาส- ภูตกํ ทาสภาวโตติ ฯ
กิตฺติ สฺยามินฺทราชสฺส ตํตํรฏเฐสุ ปากฏา พระมหาพิเชษฐ ปยภาณี ป.ธ.๙/แตง
+ จกฺกวตฺต,ิ จกฺกวตฺต(ี ปุง)-พระเจาจักรพรรดิ ฯ
ศัพทพเิ ศษทีน่ กั เรียนบาลีควรรู
สนฺต ( คนดี,สัตบุรษุ ) มีวธิ แี จกตามวิภตั ติ ทัง้ ๗ ดังนี้
ป. สํ สนฺโต สนฺโต สนฺตา
ทุ. สํ สนฺตํ สนฺเต
ต. สตา สนฺเตน สนฺเตหิ สนฺเตภิ สพฺภิ
จ. สโต สนฺตสฺส สตํ สตานํ สนฺตานํ
ปฺจ สตา สนฺตสฺมา สนฺตมฺหา สนฺตา สนฺเตหิ สนฺเตภิ สพฺภิ
ฉ. สโต สนฺตสฺส สตํ สตานํ สนฺตานํ
ส. สติ สนฺตสฺมึ สนฺตมฺหิ สนฺเต สนฺเตสุ
อา. สนฺต สนฺโต

นักเรียนสวนมากไมรูวา สนฺต ศัพทแจกแบบไหนจึงนํามาใหดู ฯ

You might also like