Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

Machinery Steel

4140

A ThyssenKrupp
Services Company

บริษัท ไทย-เยอรมันสเปเชี่ยลสตีลเซ็นเตอร จํากัด


234/40-42 Moo 6, Suksawad 78 Rd., Prasamutjadee, Samutprakarn 10290
234/40-42 หมูที่ 6 ถนนสุขสวัสดิ์ 78 ต.ในคลองบางปลากด อ.พระสมุทรเจดีย จ.สมุทรปราการ 10290
Tel. (662) 817-6025-9 Fax. (662) 817-6483, (662) 817-5445-6
E-mail : info@thai-germansteel.com , Website: www.thai-germansteel.com
4140
‰ คุณลักษณะทั่วไป (General Characteristics) ‰ คุณสมบัติทางกล (Mechanical Properties)
C Si Mn  สภาพจําหนาย อบออน (Annealed)
สวนผสม
0.38-0.45 0.10-0.40 0.60-0.90 ∅ 0.2%Y.S. U.T.S. Elong. Hardness
ทางเคมี
Cr Mo S (mm) (N/mm2) (N/mm2) (%) (HB)
(%wt.)
0.9-1.20 0.15-0.30 ≤0.035 Approx. 415 655 26 197
AISI 4140 ‰ คุณสมบัติทางกายภาพ (Physical Properties)
JIS SCM 440
คุณสมบัติ อุณหภูมิทดสอบ
DIN 1.7225 / 42CrMo4
การนําความรอน 100°C 200°C 400°C 600°C
สภาพจําหนาย อบออน ความแข็งไมเกิน 229 HB Thermal Conductivity
สภาพหลังชุบ ชุบแข็งและอบคืนตัว 55-60 HRC (W/m⋅K) 42.7 42.3 37.7 33.1

4140 เปนกลุมเหล็กกลาผสมต่ําความแข็งแรงสูง ที่มี สัมประสิทธิ์การขยายตัวทางความ 100°C 200°C

โครเมียมและโมลิบดีนัมเปนสวนผสมสําคัญ ในการเพิ่มความ รอนระหวาง 20°C ถึง /Coefficient 12.3 12.7


of thermal expansion between 400°C 600°C
แข็งแรง ความสามารถในการชุบแข็ง ความตานทานตอการสึกหรอ 20°C to (µm/m⋅K ) 13.7 14.5
และความเหนียวแกรงที่อุณหภูมิต่ําไดดีกวาเหล็กกลาคารบอนที่มี ความจุความรอนจําเพาะที่ 20°C
ปริมาณคารบอนผสมใกลเคียงกัน และยังสามารถทําการชุบผิวแข็ง 0.473
Specific heat at 20°C (J/g⋅°C)
เพื่อเพิ่มความแข็งเฉพาะผิวได ความตานทานไฟฟาที่ 20°C
0.222
เกรด 4140 ไมควรใชงานที่อุณหภูมิสูงเกินกวา 480°C Electric resistance (µΩ⋅m)

เนื่องจากความแข็งจะลดลงอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ยังไมควรอบ ความหนาแนน


7.85
Density (g/cm3)
คืนตัวในชวงอุณหภูมิ 230-370°C เนื่องจากเหล็กจะมีความ
สภาพทางแมเหล็ก
เปราะมากจากการเกิดบลูบริทเทิลเนส ดังนั้นจึงควรอบคืนตัว ซึมซับ
Magnetizability
ในชวงอุณหภูมิที่สูงหรือต่ํากวานี้ การอบคืนตัวที่อุณหภูมิ 190°C
 การใชงาน (Applications)
เปนเวลา 2 - 4 ชั่วโมง จะทําใหเหล็กมีคาการยืดตัว (ductility) ดี
4140 สามารถนําไปใชงานสําหรับชิ้นสวนเครื่องจักรกลที่
มากเพียงพอตอการใชงานทั่วไป
ตองการความแข็งแรงสูง เชน เพลาขอเหวี่ยง ขอตอกานพวงมาลัย
 คุณลักษณะเดน (Significant Characteristics) เพลาลอ กานสูบ ดอกสวานเจาะบอน้ํามัน ชิ้นสวนปมน้ํา ทอทน
• มีความแข็งแรงสูงมาก แรงดันสูง เฟองเครื่องจักรขนาดใหญ หนาจาน ประแจ ปากกาจับ
• ตานทานตอการลา (fatigue) ไดดี ชิ้นงาน และยังนิยมใชทําชิ้นสวนรถไฟ เพลาเครื่องจักร แกนกลาง
• ตานทานตอการสึกหรอไดดี เครื่องอัด แกนกลางของแมแรงไฮโดรลิก เฟองเครื่องจักรขนาด
• ความสามารถในการทุบขึ้นรูป(forgeability) ดีมาก ใหญ สกรูและนอตสําหรับอุตสาหกรรมน้ํามัน รวมทั้งชิ้นสวน
• มีความเหนียวแกรง (toughness) ดี เครื่องจักรกลที่ตองการความแข็งแรงสูงอื่น ๆ
• ความสามารถในการตัดกลึงพอใช
• ความสามารถในการเชื่อมไมดี
• ชุบแข็งงายสามารถใชสารชุบเปนน้ํามันได
• ชุบแข็งใหมีความแข็งไดสูงสุดถึง 60 HRC
• สามารถชุบอินดักชั่นไดดี
• สามารถทําไนไตรดิ้งได ใหผิวแข็งประมาณ 650 HV
• ตานทานการสูญเสียปริมาณคารบอนที่ผิวไดปานกลาง

1
บริษัท ไทย-เยอรมันสเปเชี่ยลสตีลเซ็นเตอร จํากัด
โทร: (02) 817-6025-9 โทรสาร: (02) 817-5445-6 www.thai-germansteel.com
4140
‰ การอบชุบความรอน (Heat Treatments)
ตารางที่ 1 กระบวนการอบชุบทางความรอน
อุณหภูมิ (°C) การเย็นตัว
การอบออน
845–870 ในเตา
อุณหภูมิ (°C) การเย็นตัว
การอบปกติ
840–880 ในอากาศ
การอบ อุณหภูมิ (°C) ระยะเวลา การเย็นตัว
สเฟยโรไดซิ่ง 760-775 6-12 ชม. ชาในเตา
อุณหภูมิ (°C) สารชุบ ความแข็ง
การชุบแข็ง รูปที่ 1 กระบวนการชุบแข็งและอบคืนตัวของเกรด 4140
820–860 น้ํา, น้ํามัน 55-60 HRC
อุณหภูมิ (°C) เวลา ความแข็ง
การอบคืนตัว
175-230 ≥ 30 นาที 55 HRC
การชุบ อุณหภูมิ (°C) สารชุบ ความแข็ง
อินดักชั่น 780-810 น้ํามัน 48-52 HRC

ตารางที่ 2 ตัวอยางการอบคืนตัวเพลากลม ∅ 13 มม. ที่อุณหภูมิ


ชุบแข็ง 845°C
Temp. Y.S. U.T.S. Elong. Hardn. Impact E.
(°C) (MPa) (MPa) (%) (HB) (J)
205 1740 1965 11.0 578 15
260 1650 1860 11.0 534 11
315 1570 1720 11.5 495 9 รูปที่ 2 เวลาเผาแชกับความหนาของ 4140 ที่อุณหภูมิชุบแข็ง
370 1460 1590 12.5 461 15
425 1340 1450 15.0 429 28
480 1210 1300 16.0 388 46
540 1050 1150 17.5 341 65
595 910 1020 19.0 311 93
650 790 900 21.0 277 112
705 690 810 23.0 235 136

ι บลู-บริเทิลเนส (Blue brittleness)


เหล็กกลาคารบอนและเหล็กกลาผสมบางชนิดเมื่อถูกใหความรอนในชวงอุณหภูมิ
230-370°C จะทําใหมีความแข็งแรงเพิ่มขึ้น แตมีคาการยืดตัว (ductility) และ
ความตานทานตอแรงกระแทก (impact strength) ลดลงอยางมาก ปรากฏการณที่
เกิดขึ้นนี้เรียกวา “บลู-บริทเทิลเนส” (blue brittleness) เนื่องจากมักเกิดขึ้น
ในชวงอุณหภูมิที่ทําใหเหล็กเปลี่ยนเปนสีน้ําเงินฟา ซึ่งเปนผลมาจากการเกิด strain-
age embrittlement อยางรวดเร็วจากการตกผลึกบมแข็งในเหล็กเปนผลใหมี
ความแข็งแรงแตก็จะมีความเปราะเกิดขึ้นดวย
ควรหลีกเลี่ยงการใชงานเหล็กที่เคยผานการถูกใหความรอนในชวงอุณหภูมิที่ทําให
เหล็กเปนสีฟาน้ําเงินนี้ โดยเฉพาะในงานที่ตองเผชิญกับแรงกระแทก เนื่องจากเหล็กในชวงนี้
จะมีความเปราะมากเกินกวาควรใชงาน
รูปที่ 3 ผลของคุณสมบัติทางกลกับการอบคืนตัวของ 4140
ในชวงอุณหภูมิ 500-650°C
2
บริษัท ไทย-เยอรมันสเปเชี่ยลสตีลเซ็นเตอร จํากัด
โทร: (02) 817-6025-9 โทรสาร: (02) 817-5445-6 www.thai-germansteel.com
4140
‰ การขึ้นรูปและการแปรรูป (Processing)  การชุบแข็งผิว (Surface Hardening)
 การออกแบบ (Design) ในกรณีที่ตองการใหเหล็ก 4140 มีความแข็งเฉพาะผิวโดยที่
การออกแบบมีความสําคัญมากตออายุการใชงานของชิ้นงาน ตองการรักษาโครงสรางและคุณสมบัติภายในของเหล็กไมใหมีการ
ชิ้นงานสวนใหญมักไดรับความเสียหายภายในระยะเวลาอันสั้น ถา เปลี่ยนแปลงไวไดโดยไมมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากนัก
การออกแบบมีการผิดพลาด สามารถทําไดโดยการเพิ่มความแข็งเฉพาะที่ผิวใหกับเหล็ก โดยใช
โดยทั่วไปมักมีปจจัยบางประการที่มีสวนสนับสนุนใหเกิดรอย วิธีการชุบแข็งผิว ซึ่งสามารถทําไดทั้งวิธีการชุบแข็งผิวดวยเปลวไฟ
แตกราวหรือความเสียหายแกชิ้นงาน ไดแก (Flame) และวิธีชุบอินดักชั่น (Induction) โดยอาศัยการ

• การออกแบบใหมีผนังบางมากเกินไป เหนี่ยวนําไฟฟาเพื่อใหเกิดความรอนขึ้นที่ผิว จากนั้นทําการชุบแข็ง


• การเปลี่ยนแปลงพื้นที่หนาตัดอยางฉับพลัน เฉพาะผิว ซึ่งจะชวยใหผิวของเหล็กมีความแข็งขึ้นสามารถตานทาน
• การมีรอยบากที่มีมุมแหลมคม รวมทั้งการมีริ้วรอยที่เกิด ตอการสึกหรอและการลาไดดี สําหรับการชุบแข็งผิวเพื่อเพิ่มความ
จากการขัด การกลึง และการตอกรหัสรวมทั้งหมายเลข ตานทานตอการสึกหรอ ในกรณีที่มีภาระกรรมเกิดขึ้นไมมากนักอาจ
ตาง ๆ บนผิวชิ้นงาน ชุบใหมีระดับความลึกของผิวแข็งประมาณ 0.13-0.64 มม. ก็
ในการออกแบบ ควรทําใหชิ้นงานมีรูปรางสมมาตรที่สุดเทาที่จะ เพียงพอ แตถามีภาระกรรมเกิดขึ้นอยางรุนแรงควรชุบใหมีระดับ
เปนไปได การทําใหชิ้นงานมีความแข็งแรงสูง มีผิวที่แข็ง สะอาด ความลึกของผิวแข็งประมาณ 6.3 มม. หรือมากกวานั้น ในกรณีที่
เรียบและมันเงา ปราศจากรอยขีดขวน รวมทั้งการกําหนดคามุม ตองการเพิ่มความตานทานตอการลาควรชุบใหมีระดับความลึกผิว
รัศมีในบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่หนาตัดใหมากที่สุด จะมี แข็งในชวง 3.2-12.7 มม. หรือมากกวานั้น
สวนชวยใหชิ้นงานมีอายุการใชงานยาวนานขึ้น  การทําไนไตรดิ้ง (Nitriding)
 การขึ้นรูปรอน (Hot Forming) การทําไนไตรดิ้ง 4140 จะชวยเพิ่มความตานทานตอการขัดสี
ตารางที่ 3 แนะนําการขึ้นรูปรอน 4140 และความตานทานตอการลาใหกับชิ้นสวนเครื่องจักรกล เชน เพลา
อุณหภูมิ (°C) เย็นตัว ไดประมาณ 30% ในการทําไนไตรดิ้งเหล็กจําเปนตองผานการชุบ
การขึ้นรูปรอน แข็งและอบคืนตัว และผานกระบวนการกลึงขั้นสุดทาย (Finishing)
1050–850 ชา (ในเตา)
มาแลว โดยทั่วไปการทําไนไตรดิ้ง สามารถทําได 4 วิธี ดังนี้
อุณหภูมิ (°C) เย็นตัว
การทุบขึ้นรูป • ไนไตรดิ้งในอางเกลือ อุณหภูมิ 520-570°C เวลา 2 ชม.
1200-1100 ชา (ในเตา)
• แกสไนไตรดิ้ง อุณหภูมิ 450-480°C เวลา 15-30 ชม.
การทุบขึ้นรูป 4140 จะเริ่มทุบไดงายเมื่ออบใหมีอุณหภูมิ • ผงโลหะไนไตรดิ้ง อุณหภูมิ 500-570°C เวลา 3-5 ชม.
ในชวง 1200-1100°C และไมควรทุบเมื่อมีอุณหภูมิต่ํากวา • พลาสมาไนไตรดิ้ง อุณหภูมิ 400°C ถึง 600°C
980°C หลังจากนั้นควรปลอยใหเย็นตัวลงอยางชา ๆ
 การเคลือบผิวแข็งโครเมียม (Hard Chromium Plating)
 การเชื่อม (Welding) 4140 สามารถทําฮารดโครมได เมื่อทําการเคลือบผิวเสร็จ
ในการเชื่อมเหล็กที่มีความสามารถในการชุบแข็งสูง มักเกิด แลวจะตองทําการอบคืนตัวที่อุณหภูมิ 180-260°C เปนระยะเวลา
เฟสมารเทนไซตในโครงสรางของงานเชื่อมไดงายดังนั้นการใหความ 4-6 ชั่วโมง เพื่อลดความเสี่ยงตอการเกิดความเปราะเนื่องจากแกส
รอนแกชิ้นงานกอ นเชื่อมและหลัง เชื่อ มจะชวยลดปญ หานี้ลงได ไฮโดรเจน (Hydrogen Embrittlement)
นอกจากนี้การเชื่อมเหล็กที่มีปริมาณคารบอนมาก มักเกิดการ
แตกราวไดงายเนื่องจากอิทธิพลของไฮโดรเจนในแนวเชื่อม ดังนั้น
จึงควรใชลวดเชื่อมที่ฟลักซมีสวนผสมของไฮโดรเจนต่ํา
สําหรับการเชื่อมเกรด 4140 ควรเผาอุนชิ้นงานที่อุณหภูมิ
150-260°C กอนเชื่อมและภายหลังการเชื่อมควรใหความรอนแก
ชิ้นงานที่อุณหภูมิ 600-675°C และทําใหเย็นตัวลงอยางชา ๆ

3
บริษัท ไทย-เยอรมันสเปเชี่ยลสตีลเซ็นเตอร จํากัด
โทร: (02) 817-6025-9 โทรสาร: (02) 817-5445-6 www.thai-germansteel.com

You might also like