Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 22

คู่มือ

เทคนิคการดูแลบารุงรักษารถยนต์เบื้องต้น

โดย
chauffeur CoP (โชเฟอร์ คอร์ป)

กองกลาง สานักงานอธิการบดี

คานา

คู่มือการดูแลบารุงรักษารถยนต์เบื้องต้น เป็นส่วนหนึ่งของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชนนักปฏิบัติ
chauffeur CoP (โชเฟอร์ คอร์ป) เพื่อช่วยให้เข้าใจถึงวิธีการใช้ และการบารุงรักษารถยนต์อย่างถูกวิธี
เพื่อให้รถอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ พร้อมสาหรับใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีอายุการใช้งานที่ยืนยาว
อีกทั้ง ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่าย โดยไม่ต้องพึ่งพาอู่ซ่อมหรือศูนย์บริการ

chauffeur CoP (โชเฟอร์ คอร์ป)


สารบัญ

หน้า

คานา ก
สารบัญ ข
10 คาถามเรื่องดูแลรถเบื้องต้น 1
เรื่องที่คนมีรถไม่รู้ไม่ได้ กับวิธีการดูแลรักษารถยนต์เบื้องต้น 6
ควรดูแลรถยนต์ด้วยวิธีทั้งหมดนี้บ่อยแค่ไหน 10
8 วิธีดูแลรถให้ใหม่อยู่เสมอ 12

บรรณานุกรม 15

ภาคผนวก 16
- รายชื่อสมาชิก chauffeur CoP (โชเฟอร์ คอร์ป)
1

รถยนต์ คือ สิ่งที่มีความสาคัญอย่างมากสาหรับใครหลาย ๆ คน ที่ใช้สาหรับการเดินทาง การทางาน


ชีวิตส่วนตัวและอื่น ๆ แน่นอนว่าทุกคนล้วนอยากให้รถยนต์มีอายุการใช้งานที่ยาวนานและสภาพเครื่องที่สามารถ
ทางานได้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ นั่นจึงจาเป็นที่จะต้องรู้จัก วิธีดูแลรถยนต์เบื้องต้น เพื่อให้รถยนต์ได้รับการบารุง
และสามารถซ่อมแซมได้อย่างทันท่วงทีเมื่อเกิดปัญหาต่าง ๆ ขึ้น

การดูแลรถ นั้นมีอยู่หลากหลายวิธีที่หลายครั้งเรามักจะเกิดคาถามหรือมีข้อสงสัยว่าทาไมสิ่งที่ต้องคอย
ตรวจเช็คและหมั่นเปลี่ยนเป็นประจา รวมถึงสิ่งที่ควรมีติดรถว่าสาคัญอย่างไร

10 คาถามในการดูแลรักษารถยนต์ที่มักจะมีคาถามเกิดขึ้นบ่อย ๆ ว่าทาไมถึงสาคัญ เพื่อให้คุณได้เห็นถึง


ประโยชน์ของแต่ละองค์ประกอบ รวมถึงได้เรียนรู้ถึงหลักการดูแลรักษาที่ถูกต้อง ส่งผลที่ดีต่อรถยนต์คู่ใจที่จะมี
ประสิทธิภาพที่ดี พร้อมสาหรับการใช้งานอย่างราบรื่นและปลอดภัยอยู่เสมอ

1. ทาไมถึงควรเช็คหัวเทียนเป็นประจา ?
หัวเทียน เป็นอุปกรณ์ทาหน้าที่ในการ “จุดระเบิด” ให้กับเครื่องยนต์ ผ่านการทางานด้วยการปล่อยกระแสไฟ
แรงดันสูง เป็นกลไกสาคัญของเครื่องยนต์เบนซิน รวมถึง แก๊ส และ ก๊าซ ที่ถ้าหากคุณใช้เครื่องยนต์เบนซินควรที่จะมี
การหมั่นตรวจสอบอยู่เสมอ ซึ่งโดยปกติแล้วหัวเทียนจะมีอายุในการใช้งานที่ยาวนาน ในรถยนต์บางคันสามารถใช้งาน
ได้เกิน 100,000 กิโลเมตร จึงจะเริ่มแสดงอาการที่ผิดปกติ
2

โดยสังเกตอาการเกี่ยวกับความผิดปกติเมื่อหัวเทียนจะหมดอายุการใช้งาน ได้แก่ น้ามันสิ้นเปลืองมากกว่า


ปกติ เร่งรถแซงแล้วพุ่งไปไม่เร็วเหมือนเดิม หรือรอบเดินมีอาการเบาและสั่นเนื่องจากหัวเทียนมีการจุดระเบิดไม่เต็มที่

2. ทาไมต้องเปลี่ยนกรองแอร์อย่างสม่าเสมอ ?
กรองอากาศเครื่องปรับอากาศ หรือที่เรียกกันสั้น ๆ ว่า “กรองแอร์” ซึ่งท่ามกลางสภาพอากาศในปัจจุบัน
ที่มากไปด้วยฝุ่นละอองและมลภาวะทางอากาศ ที่กรองแอร์จะเข้ามาช่วยให้ผู้ขับขี่และผู้โดยสารได้รับคุณภาพอากาศ
ภายในรถที่ดี อากาศสะอาดและเป็นมิตรต่อสุขภาพ โดยแนะนาให้มีการเปลี่ยนเป็นประจาในตอนที่ไปถ่ายน้ามันเครื่อง
ทุกครั้ง

3. ทาไมควรล้างรถบ่อย ๆ ?
การดูแลรูปลักษณ์ภายนอกของรถยนต์ หมั่นเช็ดล้างและทาความสะอาดเป็นประจานั้นจะช่วยให้รถดูใหม่
สีไม่ซีด ไม่มีสนิมขึ้น แสดงถึงความใส่ใจของเจ้าของรถได้เป็นอย่างดี และเมื่อนาไปขายต่อก็ไม่ทาให้รถราคาตก
อย่างแน่นอน
3

นอกจากนี้ ในหลาย ๆ ครั้งที่เราต้องขับรถผ่านบริเวณที่มีฝุ่นเยอะหรือที่พักใกล้ทะเลที่จะมีคราบเกลือคอยเกาะ


สะสมไว้เรื่อย ๆ ภายในใต้ท้องเครื่อง ก็อาจจะเสี่ยงต่อการทาให้เครื่องยนต์เสียหาย ตลอดจนเหล่าซากแมลงและขี้นก
ที่จะทาให้สีเกิดการกร่อยและยังมีปัญหาที่ส่งผลกระทบอีกมากมายที่เรียกได้ว่าการล้างรถนั้นเป็นสิ่งที่สาคัญที่ควรทา
อย่างสม่าเสมอ

4. ทาไมต้องเช็คระดับน้าในหม้อน้าอยู่เสมอ ?
ระดับน้าในหม้อน้า ถือว่าเป็นจุดสาคัญที่ควรมีการตรวจสอบเป็นประจา ไม่ว่าจะเป็นในรถยนต์คันใหม่
หรือคันเก่าก็ตาม เพราะถ้าหากหมอน้ารถยนต์มีน้าในระดับที่ต่าอาจจะส่งผลให้เครื่องยนต์มีปัญหาติดขัดในระหว่าง
การทางานที่ออกกลางแจ้งหรืออยู่ท่ามกลางอุณภูมิที่ร้อนระอุในช่วงเวลากลางวัน
ผู้ใช้รถ ควรตรวจเช็คระดับของน้าหล่อเย็นภายในถังพักน้าหรือหม้อน้า โดยการเช็คระดับน้าควรทาในขณะที่
ไม่ได้มีการสตาร์ทเครื่องยนต์หรือในช่วงที่เครื่องยนต์มีสภาพที่เย็นอยู่
ถ้าหากไม่มีการตรวจเช็คเกี่ยวกับระดับน้าอย่างสม่าเสมอนั้น น้าที่ขาดการระบายความร้อนหรือมีระดับน้าต่า
กว่าที่กาหนด จะทาให้เครื่องยนต์ทางานได้อย่างติดขัด ทางานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ เสี่ยงต่อการเสียหายลุกลามและ
สึกหรอได้

5. ทาไมยังต้องเช็คลมยาง ?
ยางรถยนต์ มีหน้าที่ในการรับน้าหนักของตัวรถทั้งคัน ที่ถ้าหากไม่ได้มีการตรวจสอบอย่างสม่าเสมอก็อาจจะ
ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านการขับขี่ เนื่องจากลมยางและยางรถยนต์มีผลต่อสมรรถนะการขับขี่ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องการ
เบรก การควบคุม การประหยัดน้ามัน การบังคับเลี้ยว ตลอดจนการสึกหรอและอายุการใช้งานของยางรถยนต์ที่จะ
เสื่อมสมรรถภาพเร็วกว่าปกติ
นอกจากจะหมั่นเช็คลมยางแล้ว ควรทาการเปลี่ยนยางตามสภาพของยางรถยนต์ ไม่ว่าจะเป็นประสิทธิภาพ
ในการเบรก การยึดเกาะถนนรวมถึงเสียงที่ดังขึ้นในระหว่างการขับขี่

6. ทาไมถึงควรเช็คน้ามันเบรกทุก ๆ 1 ปี ?
การดูแลรถยนต์ ที่ไม่ควรมองข้ามและมีความสาคัญอย่างมากคือ น้ามันเบรก ซึ่งทาหน้าที่ในการส่งแรงดัน
ไปยังปั๊มเบรก ซึ่งหลังจากใช้งานไปสักระยะหนึ่งแล้ว น้ามันเบรกจะค่อย ๆ เสื่อมอายุการใช้งานและประสิทธิภาพ
ที่ลดน้อยลงกลายเป็นสีที่เริ่มคล้าพร้อมกับส่งผลต่อศักยภาพในการระบายความร้อนที่ลดลง เพราะฉะนั้น ควรหมั่นเช็ค
น้ามันเบรกเป็นประจาทุก ๆ 1 ปี รวมถึงสังเกตอาการผิดปกติเพิ่มเติม เช่น เบรกวืด เบรกไม่อยู่ หรือ เบรกไหล
เป็นต้น
4

7. ทาไมถึงต้องเปลี่ยนน้ามันเครื่องเมื่อครบกาหนด ?
น้ามันเครื่อง เรียกได้ว่าเป็นหัวใจสาคัญของรถยนต์ที่จะคอยทาหน้าที่หล่อลื่นชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องยนต์
ให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยระบายความร้อนให้กับเครื่อง ปกป้องชิ้นส่วนภายในของเครื่องยนต์
รวมถึงชาระล้างสิ่งสกปรก
การเปลี่ยนน้ามันเครื่องควรที่จะเปลี่ยนทุก ๆ 8,000 กิโลเมตร ไม่เกิน 10,000 กิโลเมตรหรือทาการเปลี่ยน
ทุก ๆ 4 เดือน ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของน้ามันเครื่องสังเคราะห์แต่ละรูปแบบ

8. ทาไมถึงควรทาความสะอาดกรองอากาศเครื่องยนต์ ?
กรองอากาศ ทาหน้าที่ในการดักจับฝุ่นละออง กรองฝุ่นและสิ่งสกปรกต่าง ๆ ไม่ให้เข้าไปยังเครื่องยนต์
ซึ่งเมื่อมีการสะสมในระยะยาวจะเกิดการอุดตันและทาให้กระบอกสูบได้รับอากาศที่น้อยลง ส่งผลให้มีการเผาไหม้
ในครื่องยนต์ที่ไม่สมบูรณ์ โดยเครื่องกรองอากาศควรมีการล้างและทาความสะอาดหรือเปลี่ยนทุก ๆ 20,000 กิโลเมตร
หรือถ้าหากอยู่ในพื้นที่ที่มีฝุ่นเยอะ ควรที่จะเปลี่ยนทุก ๆ ระยะ 10,000 กิโลเมตร

9. ทาไมถึงต้องเปลี่ยนน้ามันเกียร์ ?
การเปลี่ยนน้ามันเกียร์ถือว่ามีความสาคัญอย่างยิ่ง น้ามันเกียร์จะช่วยลดการสึกหรอ รวมถึงช่วยลดแรง
เสียดทานของระบบเกียร์ พร้อมทั้งยังสามารถชะล้างเศษโลหะที่มาจากการเสียดสีที่บริเวณหน้าฟันเกียร์ให้หลุดออกไป
ทาให้ระบบการทางานสะอาดในทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนถ่าย ประสิทธิภาพการทางานก็ย่อมดีขึ้น
5

การเปลี่ยนน้ามันเกียร์ควรที่จะมีการเปลี่ยนทุก ๆ ระยะ 50,000 หรือ 100,000 กิโลเมตร หรือถ้าหากมีการ


ใช้งานในเมืองหรือขับขี่ด้วยการกดคันเร่งหนัก ๆ ควรเพิ่มความถี่ในการเปลี่ยนเป็นระยะ 30,000 – 45,000 กิโลเมตร

10. ทาไมถึงควรทาประกันรถยนต์ ?
การทาประกันรถยนต์ จะช่วยให้ผู้ขับขี่รถยนต์ และรถยนต์ได้รับการคุ้มครองและให้ความช่วยเหลือเมื่อเกิด
อุบัติเหตุ ลดความเสี่ยงในการใช้รถยนต์ให้แก่ผู้ขับขี่ ทาให้รู้สึกมั่นใจมากยิ่งขึ้นในการได้รับการคุ้มครองเมื่อต้องเดินทาง
ขับขี่ไปยังที่ต่าง ๆ เป็นสิ่งที่จะเข้ามารองรับเมื่อเกิดอุบัติเหตุ ช่วยให้คุณประหยัดเงินทั้งสาหรับตัวคุณเอง และ
บุคคลภายนอก ตลอดจนยังเป็นการคุ้มครองรถยนต์เมื่อเกิดไฟไหม้ การถูกโจรกรรมต่าง ๆ อีกด้วย

และนี่ก็เป็น 10 คาถามของการดูแลรถยนต์เบื้องต้น ที่จะช่วยให้ผู้ใช้รถเข้าใจถึงความสาคัญในการดูแล


และรักษาเครื่องยนต์ที่นอกจากจะดีต่อรถคู่ใจแล้ว ยังช่วยให้เกิดความปลอดภัยและเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องยนต์
ในการขับขี่ได้เป็นอย่างดี
6

เรื่องที่คนมีรถไม่รู้ไม่ได้ กับวิธีการดูแลรักษารถยนต์เบื้องต้น
เรื่องพื้นฐานของการมีรถ นั่นคือการดูแลรักษารถยนต์ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ และมีจุดสาคัญ
ไหนบ้างที่ต้องดูแลเป็นพิเศษ เพื่อถนอมอายุการใช้งานของรถยนต์

1. ระดับน้ามันเครื่อง
การตรวจเช็กระดับน้ามันเครื่อง อุ่นเครื่องยนต์จนถึงอุณหภูมิทางานแล้วดับเครื่อง เช็กระดับน้ามันเครื่อง
โดยใช้ก้านวัดระดับน้ามันเครื่อง

วิธีดูแลรักษารถยนต์ เช็กระดับน้ามันด้วยก้านวัด
1. เพื่อให้การตรวจเช็กถูกต้อง รถควรอยู่ในแนวระดับเครื่องยังร้อน และทาการวัดหลังจากดับเครื่อง
2-3 นาที เพื่อให้น้ามันเครื่องไหลกลับลงด้านล่างก่อน
2. ดึงก้านวัดน้ามันเครื่องออก เช็กน้ามันเครื่องที่ติดกับก้านวัดด้วยผ้า
3. เสียบก้านวัดน้ามันเครื่องคืนกลับจุดเดิม
4. ดึงก้านวัดออกมาอีกครั้งหนึ่ง เพื่อตรวจสอบระดับน้ามันเครื่องที่ปลายก้านวัด ถ้าระดับน้ามันเครื่องอยู่
ระหว่าง "F" กับ "L" แสดงว่าระดับน้ามันเครื่องปกติ
7

ข้อควรระวัง
1. หลีกเลี่ยงการเติมน้ามันเครื่องมากเกินไป เพราะอาจทาให้เครื่องยนต์เสียหายได้
2. ตรวจเช็กระดับน้ามันเครื่องที่ก้านวัดอีกครั้งหลังเติมน้ามันเครื่องลงไป

2. น้าหล่อเย็น
ควรตรวจเช็กระดับน้าหล่อเย็นให้อยู่ในระดับ Full อยู่เสมอ โดยตรวจเช็กในขณะที่ดับเครื่องและเครื่องเย็น
ถ้าระดับน้าลดลงเป็นปริมาณมาก ก็อาจจะมีปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้นได้ ซึ่งจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพิจารณา
หาสาเหตุ หรือนารถเข้าศูนย์บริการ เพื่อตรวจเช็กสาเหตุ (อย่าลืมเติมน้าก่อนนารถไป)

3. ระดับน้ากลั่นแบตเตอรี่
ควรตรวจเช็กระดับน้ากลั่นแบตเตอรี่ ให้อยู่ในตาแหน่ง UPPER/LEVEL และไม่ควรเติมเกินกว่าระดับ
UPPER/LEVEL เพราะถ้าเติมมากเกินไปน้ายาอิเลคโทรไลท์ซึ่งเป็นสารละลายกรด ซัลฟูริค จะเจือจางทาให้
ประสิทธิภาพการทางานลดลง นอกจากนี้ น้ายาอิเลคโทรไลท์อาจจะกระเด็นออกทาง รูระบายไอ และไปกัดกร่อน
ชิ้นส่วนต่างๆ ในห้องเครื่องยนต์

เช็กน้ากลั่นให้อยู่ในระดับพอดี

ข้อควรระวัง
1. ปิดฝาเติมน้ากลั่นให้แน่น
2. ขั้วแบตเตอรี่ที่ขั้วบวกและลบขันแน่น
3. แบตเตอรี่ยึดแน่นกับฐานที่ตั้ง
8

4. ระดับน้ามันเบรก
1. ควรตรวจเช็กด้วยสายตา สังเกตดูที่กระปุกน้ามันเบรกมีคาว่า MAX และ MIN ระดับน้ามันเบรกควรอยู่ที่
ระดับ MAX อยู่เสมอ สาเหตุที่ทาให้ปริมาณน้ามันเบรกในกระปุกลดลงต่าลงมี 2 ข้อ คือ
2. มีการรั่วของน้ามันเบรกออกจากระบบเบรก
3. การสึกหรอของผ้าเบรก ซึ่งระดับน้ามันเบรกจะลดลงน้อย และช้ามาก ในกรณีนี้ไม่จาเป็นต้องเติม
น้ามันเบรก ถ้าพบว่าระดับน้ามันเบรกในกระปุกลดลงต่าลงรวดเร็ว ควรนารถเข้าศูนย์บริการ เพื่อตรวจเช็กสาเหตุ

5. ระดับน้ามันคลัทช์
ควรตรวจเช็กด้วยสายตา สังเกตดูที่กระปุกน้ามันคลัทช์ จะมีคาว่า MAX กับ MIN ระดับน้ามันคลัชท์ควรอยู่ที่
ระดับ MAX เสมอ ถ้าพบว่าระดับน้ามันคลัทช์ในกระปุกลดลงต่าลง ควรนารถเข้าศูนย์บริการเพื่อตรวจเช็กหาสาเหตุ

6. ระดับน้ามันเกียร์ AUTO
ควรตรวจเช็กขณะที่เครื่องยนต์ติดอยู่ โดยการดึงก้านวัดน้ามันเกียร์ AUTO ออกเช็กน้ามันเกียร์ที่ติดก้านวัด
ด้วยผ้า แล้วเสียบก้านวัดน้ามันเกียร์คืนกลับจุดเดิม ดึงก้านวัดออกมาอีกครั้งหนึ่ง เพื่อตรวจระดับน้ามันเกียร์ที่
ปลายก้านวัด ถ้าระดับน้ามันเกียร์อยู่ที่ขีด F พอดี แสดงว่าระดับน้ามันเกียร์ปกติ

7. ตรวจเช็กระดับน้ามัน POWER
ควรตรวจเช็กขณะที่เครื่องยนต์ติดอยู่ โดยการหมุนฝาปิดกระปุกน้ามัน POWER จะติดอยู่กับฝากระปุกน้ามัน
POWER ที่ก้านวัดจะมีคาว่า HOT และ COLD อยู่คนละด้าน ถ้าวัดตอนที่เครื่องยนต์ยังเย็นอยู่ให้ดูด้าน COLD ถ้าวัดตอน
เครื่องร้อนให้ดูด้าน HOT
9

น้ามัน Power อีกหนึ่งจุดที่ควรดูแล


ถ้าเป็นรุ่นใหม่ให้ดูที่กระปุกน้ามัน POWER จะเป็นพลาสติกใส ที่กระปุกจะมีคาว่า HOT และ COLD
อยู่คนละด้าน และมีขีดระดับ MAX กับ MIN อยู่ด้วยระดับน้ามัน POWER ควรอยู่ระดับ MAX เสมอ ถ้าดูตอน
เครื่องยนต์เย็นให้ดูด้าน COLD และถ้าดูตอน เครื่องยนต์ร้อนให้ดูด้าน HOT

8. ตรวจเช็กสภาพของสายพาน
โดยวิธีการมองดูที่สายพานถ้าพบรอยแตกเกิดขึ้น ควรทาการเปลี่ยนแต่เนิ่นๆ เพื่อที่จะใช้รถได้อย่างปลอดภัย
นอกจากนี้ก็ควรตรวจดูความตึงของสายพานด้วย โดยการใช้นิ้วกดลงบนสายพานตรงกลางระหว่างมู่เล่สองข้าง
ถ้าสามารถกดลงได้เล็กน้อย ประมาณ 10 มม. ก็น่าจะพอใช้ได้ (ถ้าไม่แน่ใจควรให้ช่างตรวจสอบ เพราะการตรวจด้วย
วิธีดังกล่าว ผู้ตรวจต้องมีความชานาญพอสมควร)

9. ตรวจเช็กสภาพภายในห้องเครื่อง
โดยวิธีการมองดูรอบๆ ภายในห้องเครื่องให้สังเกตดูว่ามีอะไรผิดปกติหรือไม่ เช่น ท่อยางหม้อน้ามีคราบ
น้าซึมหรือไม่ สายไฟภายในห้องเครื่องเรียบร้อยดีหรือไม่ มีหนูขึ้นมากัดหรือไม่ มีคราบ น้ามันเครื่องรั่วซึมหรือไม่
เป็นต้น

10. ตรวจเช็กระบบไฟส่องสว่าง และไฟสัญญาณต่างๆ


เปิดไฟทั้งหมดดูว่าทางานตามปกติหรือไม่ มีหลอดไหนไม่ติดหรือไม่ ถ้าพบว่ามีไฟหลอดไหนไม่ติดควรเปลี่ยน
ให้อยู่สภาพพร้อมใช้งาน หรือนารถเข้าศูนย์บริการเพื่อตรวจเช็ก

11. ตรวจเช็กที่ปัดน้าฝน
ยางปัดน้าฝนเมื่อใช้ไประยะหนึ่ง ก็อาจมีการเสื่อมสภาพ ซึ่งเนื่องมาจากสาเหตุเหล่านี้
10

การดูแลรถยนต์เบื้องต้น ตรวจเช็กว่าที่ปัดน้าฝนอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่
1. ผิวสัมผัสส่วนปลายมีการสึกหรอ จากการทางานปกติของ ใบปัด
2. มีสิ่งสกปรก และหินทรายละเอียดอยู่ระหว่างยางใบปัดกับกระจกทาให้ยางปัดน้าฝนสึกหรอ
3. เมื่อใบปัดน้าฝนผ่านการใช้งานนานๆ ยางใบปัดน้าฝน จะแข็งตัว การยืดหยุ่นจะลดลง และความบกพร่อง
ในการปัดจะเกิดขึ้น เนื่องจากหน้าสัมผัสระหว่างยางใบปัดกับ กระจกไม่ดี รวมทั้งอาจเกิดจากใบปัดน้าฝน
เกิดอาการสั่นเต้น หรืออาการอื่นๆ ถ้าพบอาการเหล่านี้ควรเปลี่ยนยางปัดน้าฝนใหม่

12. ตรวจเช็กยาง
ควรเช็กแรงดันลมยางอยู่เสมอๆ โดยใช้ความดันลมยางตามที่ผู้ผลิตกาหนด และควรเช็กขณะที่รถยังไม่ได้
ใช้งาน (ยางยังไม่ร้อน) ถ้าลมยางอ่อนผิดปกติควรนาไปตรวจสอบว่า มีตะปูตาหรือไม่ ดูสภาพยางด้วยตา ดูที่ผิวยาง
มีรอยแตกเล็กๆ หรือไม่ ดูการสึกหรอของดอกยาง กล่าวคือดอกยางสึกมากไปหรือยัง หรือมีการสึกหรอผิดปกติ เช่น
ลึกเฉพาะตรงกลางหน้ายาง (เติมลมมากเกินไป) สึกเฉพาะขอบยางทั้ง 2 ข้าง (ลมยางอ่อนเกินไป) หรือสึกด้านใด
ด้านหนึ่ง ฯลฯ ซึ่งกรณีเหล่านี้ ควรปรึกษาช่างเพราะควรจะมีการตรวจเช็กช่วงล่างและศูนย์ล้อ เอาเล็บมือกดดูที่
เนื้อยางว่านิ่มหรือแข็ง ถ้ายางหมดสภาพเนื้อยางจะกดไม่ลงจะแข็งมาก

ควรดูแลรถยนต์ด้วยวิธีทั้งหมดนี้บ่อยแค่ไหน ?

การดูแลรักษาเครื่องยนต์ หมั่นดูแลรถเพื่อให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ

คาตอบคือ : ขึ้นอยู่กับรถของท่านว่า ใหม่หรือเก่า มีสภาพเป็นอย่างไร ถ้าเป็นรถใหม่ๆ ทาอาทิตย์ละครั้งก็พอแล้ว


แต่ถ้าเป็นรถเก่าสภาพไม่ดีนักก็อาจต้องทาทุกวัน
11

คาแนะนา
ข้อควรระวังในการบารุงรักษารถด้วยตัวของท่านเอง ก่อนอื่นต้องแน่ใจว่าได้ปฏิบัติตามข้อควรระวังที่ให้ไว้ใน
ส่วนนี้อย่างถูกต้อง ไม่เช่นนั้นแล้วจะทาให้เกิดปัญหาขึ้นได้ คาแนะนาในส่วนนี้ใช้เฉพาะในการบารุงรักษารถ
เฉพาะส่วนที่บารุงรักษาง่ายๆการทางานใดๆ เกี่ยวกับรถยนต์ของท่านควรจะใช้ความระมัดระวัง เพื่อไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ
ขึ้นตาม คาแนะนา หรือคาเตือนดังต่อไปนี้
1. ขณะเครื่องยนต์กาลังทางาน ระวังอย่าให้มือ เสื้อผ้าและเครื่องมือต่างๆเข้าใกล้ใบพัด และสายพาน
ขับเครื่องยนต์ (ควรถอดแหวน นาฬิกา และเนคไท ออกก่อนทาการตรวจซ่อม)
2. หลังจากใช้รถให้ระวังอย่าสัมผัสกับเครื่องยนต์ หม้อน้าและท่อไอเสีย เนื่องจากความร้อนของสิ่งเหล่านี้
อย่าสูบบุหรี่ใกล้น้ามันเชื้อเพลิง เนื่องจากไอน้ามันเชื้อ - เพลิงจะไวไฟมาก
3. ให้ระมัดระวังอันตรายจากน้ากรด และไอน้ากรดจากแบตเตอรี่ เมื่อทางานอยู่กับแบตเตอรี่
อย่าเข้าใต้ท้องรถโดยมีเพียงแม่แรงรองรับเท่านั้น ควรใช้ขาตั้งรองรับเสียก่อน
4. ใช้อุปกรณ์ป้องกันตาขณะทางานในที่ที่อาจมีของตก มีการพ่นหรือละอองของเหลวกระเด็นออกมาไม่ว่า
จะอยู่บนหรือใต้รถก็ตาม
5. ควรระมัดระวังเมื่อมีการเติมน้ามันเบรก เนื่องจากน้ามันเบรกเป็นอันตรายต่อตา และทาลายสีรถได้
ถ้าน้ามันเบรกกระเด็นเข้าตาหรือโดนสีรถให้รีบล้างด้วยน้าสะอาดโดยทันที
6. จาไว้ว่าสายจากแบตเตอรี่และสายไฟจุดระเบิด มีกระแสหรือแรงดันไฟสูงมาก จะต้องระมัดระวังอย่าให้
เกิดการลัดวงจร
7. ก่อนปิดกระโปรงหน้า ตรวจสอบให้แน่ใจว่าไม่ลืมเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ไว้
8. ถ้าท่านทาน้ามันต่างๆ หกรดโดนชิ้นส่วนต่างๆ ให้รีบล้างออกโดยน้าสะอาดเพื่อป้องกันชิ้นส่วน
หรือสีเสียหาย
9. อย่าเติมน้ามันเกียร์อัตโนมัติมากเกิน มิฉะนั้นระบบเกียร์อาจเสียหายได้
10. อย่าเติมน้ามันพวงมาลัยเพาเวอร์มากเกิน มิฉะนั้นระบบพวงมาลัยเพาเวอร์อาจจะเสียหายได้

และทั้งหมดนี้ก็คือวิธีการดูแลรักษารถยนต์เบื้องต้น รักรถให้ถูกวิธี ดูแลรักษาให้ถูกจุดอาจจะดูมีจุดที่ต้องใส่ใจมากมาย


ทั้งข้อควรปฏิบัติและข้อควรระวัง แต่ก็เพื่อให้รถมีสภาพที่พร้อมใช้งาน และยืดอายุให้รถไปนาน ๆ และวิธีดูแลรถยนต์
ทุกวิธีทั้งหมดก็เป็นเรื่องง่าย ๆ ที่ไม่ต้องไปถึงอู่ซ่อมก็สามารถดูแลรักษาได้ด้วยตัวเอง
12

8 วิธีดูแลรถ ให้ใหม่อยู่เสมอ

1. ขับขี่อย่างนุ่มนวล
การขับขี่รถอย่างนุ่มนวล ทั้งการออกตัวที่ไม่กระชากและการเว้นระยะเบรกอย่างเหมาะสม ไม่เพียงช่วยรักษา
ความสมบูรณ์ของตัวรถให้คงอยู่ยาวนานเท่านั้น แต่ยังช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุด้วย

2. ล้างรถสัปดาห์ละครั้ง
การล้างรถช่วยให้ตัวรถดูสะอาดน่าใช้ พร้อมกับชาระล้างสิ่งสกปรกที่อาจมีฤทธิ์กัดกร่อนและฝังอยู่ในร่อง
หลืบที่เรามองไม่เห็น ควรทาความสะอาดภายในห้องโดยสารให้สะอาดเอี่ยมด้วยเช่นกัน
พรมปูพื้นควรนาออกมาล้างและตากแดดเป็นครั้งคราวเพื่อไม่ให้เกิดสิ่งหมักหมมและเป็นอันตรายต่อทางเดินหายใจ
ไม่ควรลืมลงแว็กซ์รถให้ทั่วเพื่อรักษาคุณภาพสีรถให้สวยเงางามหลายปี

3. จอดรถในร่ม
พยายามหาที่จอดรถในร่มเพื่อรักษาสีของตัวรถและปกป้องห้องโดยสารจากแสงแดด ถ้าไม่สามารถหลีกเลี่ยง
ได้ อาจใช้แผงกันแดดปิดบังคอนโซลไว้เพื่อป้องกันความเสียหายของวัสดุพลาสติก

4. เช็คระยะสม่าเสมอ
ความสาคัญของการเข้าเช็คระยะตามกาหนด คือการเปลี่ยนน้ามันเครื่องและตรวจสอบชิ้นส่วนสาคัญต่างๆ
ซึ่งมีความจาเป็นทั้งกับรถใหม่และรถมือสอง ช่วยยืดอายุการใช้งานตัวรถและเพิ่มความปลอดภัยในการขับขี่
13

5. ดูแลยางรถยนต์
ตรวจสอบแรงดันลมยางอย่างสม่าเสมอโดยเติมลมยางตามคู่มือรถอย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง ซึ่งไม่เพียงจะให้
ความปลอดภัยในการขับขี่เท่านั้น แต่ยังช่วยประหยัดน้ามันด้วย

6. ล้างห้องเครื่องยนต์
ล้างห้องเครื่องยนต์อย่างน้อยปีละครั้ง เพราะเครื่องยนต์ที่สะอาดจะมีอุณหภูมิการทางานที่ต่ากว่าเครื่องยนต์
ที่สกปรก นอกจากนี้ยังช่วยให้เราสามารถตรวจสอบได้ง่ายว่ามีชิ้นส่วนใดเสียหายบ้าง โดยอาจทาความสะอาด
ด้วยตนเองก็ได้แต่ควรระมัดระวังชิ้นส่วนสาคัญอย่างกรองอากาศ สายไฟและชิ้นส่วนที่เกี่ยวกับระบบอิเลกทรอนิกส์
14

7. เปลี่ยนหัวเทียน
การเปลี่ยนหัวเทียนทุก 50,000 กม. ซึ่งจะช่วยเพิ่มอัตราความประหยัดน้ามันและสมรรถนะเครื่องยนต์

8. ดูแลรักษาแบตเตอรี่
ถึงแม้แบตเตอรี่ในรถจะเป็นแบบ maintenance free หรือไม่จาเป็นต้องดูแลรักษา แต่ก็ควรตรวจสอบ
สภาพตัวแบตเตอรี่อย่างสม่าเสมอเพื่อยืดอายุการใช้งาน โดยควรทาความสะอาดให้ใหม่อยู่ตลอดเวลาและตรวจดูว่า
มีความเสียหายใดๆ หรือไม่
15

บรรณานุกรม

- Official Fanpage: Roojai


- Autospinn
- Chobrod
16

ภาคผนวก

- รายชื่อสมาชิก chauffeur CoP (โชเฟอร์ คอร์ป)


17

รายชื่อสมาชิก chauffeur CoP (โชเฟอร์ คอร์ป)

1. นายเพิ่ม อินเบ้า ตาแหน่ง ผู้อานวยการกองกลาง


2. นางรุ่งรัศมี สุกใส ตาแหน่ง หัวหน้างานสารบรรณ
3. นางสาวศรีจันทร์ มั่งรัตนะ ตาแหน่ง ผู้ปฏิบัติงานบริหาร
4. นางสุนันท์ แสงอรุณ ตาแหน่ง ผู้ปฏิบัติงานบริหาร
5. นางสาววรัญญา ปึงเสียงดี ตาแหน่ง พนักงานธุรการ
6. นางตรีสุดา พันธุภัทร ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่ธุรการ
7. นายอัฏฐเรข กันสิทธิ์ ตาแหน่ง หัวหน้างานการประชุมและบริการทั่วไป
8. นางสาววริศรา คลังสินศิริกุล ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
9. นางมะลิ สุขสุสร ตาแหน่ง รักษาการในตาแหน่งหัวหน้างานอานวยการและพิธีการ
10. นายวิวัฒน์ เนื่องอุทัย ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
11. นางสาวภัทธิดา แสงเดช ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
10. นายศุภชัย ไกรแก้ว ตาแหน่ง รักษาการในตาแหน่งหัวหน้างานบริการยานพาหนะ
11. นายอนุชิต เค้าหัน ตาแหน่ง นายช่างเครื่องยนต์
12. นางสาวจันทร์เพ็ญ คานวน ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่ธุรการ
13. นายปรินทร์เอก ภคนานา ตาแหน่ง รักษาการในตาแหน่งหัวหน้าศุนย์รักษาความปลอดภัย
และวิทยุสื่อสาร
13. นางสาวเกศริน พลับนิล ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่ธุรการ
14. นายกฤษณะ เก่งรักษา ตาแหน่ง พนักงานขับรถยนต์
15. นายวิโรจน์ ทองคา ตาแหน่ง พนักงานขับรถยนต์
16. นายสดชื่น มุกดา ตาแหน่ง พนักงานขับรถยนต์
17. นายธรรมนูญ ชื่นเจริญ ตาแหน่ง พนักงานขับรถยนต์
18. นายสุวัฒน์ แดนเวียง ตาแหน่ง พนักงานขับรถยนต์
19. นายจิรวัฒน์ เปลี่ยนแปลก ตาแหน่ง พนักงานขับรถยนต์
20. นายเลิศสินธุ์ สาตะมาน ตาแหน่ง พนักงานขับรถยนต์
21. นายสกล อมาตยกุล ตาแหน่ง พนักงานขับรถยนต์
22. นายสามารถ อินทร์รองพล ตาแหน่ง พนักงานขับรถยนต์
23. นายไพรัช เย็นอก ตาแหน่ง พนักงานขับรถยนต์
24. นายสาราญ เกสระ ตาแหน่ง พนักงานขับรถยนต์
25. นายสมปอง มีเดช ตาแหน่ง พนักงานขับรถยนต์
26. นายภูวรินทร์ บุญญาพุฒิเศรษฐ์ ตาแหน่ง พนักงานขับรถยนต์
18

27. นายศิริ กิจเมฆ ตาแหน่ง พนักงานรักษาความปลอดภัย


28. นายมรกต แตงเจริญ ตาแหน่ง พนักงานรักษาความปลอดภัย
29. นางแสงอรุณ หมูกลาง ตาแหน่ง พนักงานสถานที่
30. นางศันสนีย์ แก้วกล่า ตาแหน่ง พนักงานสถานที่

พนักงานขับรถยนต์จ้างเหมา
31. นายเด่น แก้วสาลี 32. นายชวาล จันทรังษี
33. นายชุติพนธ์ จันทร์สัมฤทธิ์ 34. นายธนภัทร ช้างเยาว์
35. นายวัชรพงษ์ วรจักร์ 36. นายศุกร์ใจ บุญเต็ม
37. นายศุภโชค พลับนิล 38. นายภัทเรศ สีทองสุก
39. นายธนากร ดาศรี 40. นายอรัญ แสงเพ็ญ
41. นายจักรพันธ์ รักหิรัญ 42. นายชัด สุระเดช
43. นายจาลอง ลาดับศรี 44. นายวรวัฒน์ รุจิเวทย์
45. นายวีระ ศรทอง 46. นายศราวุฒิ มันตาพันธ์
47. นายสมลักษณ์ ธรรมไทย 48. นายสมศักดิ์ รุ่งเจริญ
49. นายอภิสิทธ์ บุญสูงเนิน 50. นายพีรยุทธ กลัดทอง
51. นายศุภชัย เรืองเกษา 52. นายณัฐกิตติ์ พุกสวัสดิ์
53. นายอนันต์ มูลทองฟัก 54. นายสมชาย รอดขา
55. นายสกล หอมขจร 56. นายภัทรพล ยิ้มแย้ม
57. นายสมชาย ควรคิด 58. นายวุฒิพงษ์ โพธิ์แดง
59. นายก้องเกียรติ สาตะมาน

You might also like