บทที่ 8 การสืบพันธุ์ของพืชดอก

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 36

โครงสรางของดอกและชนิดผล

วัฎจักรชวิตแบบสลับของพืชดอก
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก
การใชประโยชนจากโครงสรางตาง ๆ ของผลและเมล็ด
8.2 โครงสรางของดอกและชนิดผล
โครงสรางและประเภทของดอก
ยอดเกสรเพศเมีย (stigma)
กานเกสรเพศเมีย (style) เกสรเพศเมีย
รังไข (ovary) (pistil)
อับเรณู (anther)
เกสรเพศผู (stamen)
กานชูอับเรณู (filament)

กลีบดอก (petal)

ออวุล (ovule)
กลีบเลี้ยง (sepal)
ฐานดอก (receptacle)

กานดอก (pedicel)
โครงสรางของดอกและชนิดผล

-เ ่อเ
สวนประกอบของดอกมี 4 ชั้น
วงกลีบเลี้ยง (sepal) -ver
วงกลีบดอก (corolla) -- homemad
Commending
วงเกสรเพศผู (androecium)
วงเกสรเพศเมีย (gynoecium)

ดอกสมบูรณ (complete flower) ดอกไมสมบูรณ (incomplete flower)


ดอกที่มีครบทั้ง 4 สวน ไดแก ขาดสวนใดสวนหนึ่งไปทําใหมีสวนประกอบ
กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู เกสรเพศเมีย ไมครบทั้ง 4 สวน

ไมมีทั้งกลีบเลี้ยงและกลีบดอก

ชบา กุหลาบ บัว โปยเซียน


ลื
โครงสรางของดอกและชนิดผล

ดอกสมบูรณเพศ (perfect flower)


ดอกที่มีเกสรเพศผูและเกสรเพศเมีย
อยูภายในดอกเดียวกัน ดอกไมสมบูรณเพศ (imperfect flower)
มีเกสรเพศผูหรือเกสรเพศเมียเพียง
ดอกเพศเมีย
อยางใดอยางหนึ่ง
ดอกเพศผู ดอกที่มีเฉพาะเกสรเพศผู เรียกวา ดอกเพศผู
ดอกที่มีเฉพาะเกสรเพศเมีย เรียกวา ดอกเพศเมีย
กลีบดอก
ปตตาเวีย
กลีบเลี้ยง
ดอกเพศผู

ดอกชบา
ดอกเพศผู
ดอกเพศเมีย ดอกเพศเมีย

ดอกฟกทอง ดอกเข็ม
โครงสรางของดอกและชนิดผล

โครงสรางของดอกแบงตามตําแหนงรังไข
ดอกที่มีรังไขเหนือวงกลีบ ดอกที่มีรังไขใตวงกลีบ
(superior ovary) (inferior ovary)

กลีบดอก กลีบดอก

รังไข
ฐานดอก
↳วง ก รังไข

ฐานดอก
ดอกมะเขือ ดอกแตงกวา

Ex. มะเขือ ตะขบ จําป พริก ถั่ว มะละกอ สม Ex. ตําลึง ฟกทอง แตงกวา บวบ ทับทิม กลวย พลับพลึง
ลี
โครงสรางของดอกและชนิดผล

การจัดเรียงตัวของดอก
ดอกเดี่ยว ดอกชอ
(solitary flower) (inflorescences)
ดอกที่มีดอกเพียง 1 ดอกบนกานดอก ดอกที่มีดอกยอยมากวา 1 ดอก
ติดอยูบนกานชอดอก
ชอดอกมีลักษณะแตกตางกันแลวแตชนิด

ราชพฤกษ
กลวยไม
บัว

ทิวลิป
จําป คุณนายตื่นสาย ผกากรอง เข็ม
โครงสรางของดอกและชนิดผล

ดอกบางชนิดเปนดอกชอ แตมักมีความเขาใจวาเปนดอกเดี่ยว เชน ทานตะวัน ดาวเรือง ดาวกระจาย


-
เนื่องจากกานชอดอกจะหดสั้นและขยายแผออกเปนวงคลานจานเรียก ฐานดอกรวม
(common receptacle)

ยอดเกสรเพศเมีย
ดอกยอยวงนอก
เกสรเพศผู
กลีบดอก

⑧ ใบประดับ
↳ ฐานดอกรวม
กานชอดอก

ดอกยอยวงใน รังไข

ดอกยอยวงนอก ดอกยอยวงใน
โครงสรางของดอกและชนิดผล

·ผล
ชนิดของดอก
แบงไดเปน 3 ประเภท ตามแหลงกําเนิดของผล ลักษณะดอก และจํานวนรังไข
คือ ผลเดี่ยว (simple fruit) ผลกลุม (aggregate fruit) และ ผลรวม (multiple fruit)

1) ผลเดี่ยว เจริญมาจากดอก 1 ดอกที่มีรังไข 1 รังไข จะเปนดอกเดี่ยวหรือดอกชอก็ได


ผลเดี่ยวจากดอกเดี่ยว เชน ตะขบ สม ทุเรียน มะเขือ และตอยติ่ง
ผลเดี่ยวจากดอกชอ (รังไขของดอกยอยแตละดอกแตละดอกเมื่อเจริญเปนผลจะเจริญ
แยกจากัน) เชน กระถิน องุน มะพราว

ดอกยอย

ผล

ตะขบ
กระถิน
โครงสรางของดอกและชนิดผล

2) ผลกลุม
เปนผลที่เกิดมาจากดอก 1 ดอกที่มีเกสรเพศเมียมากกวา 1 อัน อยูบนฐานดอกเดียวกัน
จึงมีรังไขมากวา 1 รังไข เมื่อแตละรังไขเจริญเปนผลยอย 1 ผล
ทําใหแตละผลติดอยูบนฐานดอกเดียวกัน ผลยอยอาจแยกจากกัน
เชน จําป จําปา การเวก และกระดังงา

เกสรเพศเมีย

ผลยอย 1 ผล

เกสรเพศผู

จําปา
โครงสรางของดอกและชนิดผล

2) ผลกลุม
ผลยอยอาจเชื่อมติดกันคลายผลเดี่ยว เชน นอยหนา บัวหลวง และสตรอเบอรี

เกสรเพศเมีย

เกสรเพศผู
นอยหนา
ผลยอย 1 ผล

เกสรเพศเมีย ผลยอย 1 ผล
ฐานดอก

เกสรเพศผู
บัวหลวง
โครงสรางของดอกและชนิดผล

3) ผลรวม
เปนผลที่เกิดมาจากดอกชอ ซึ่งมีดอกยอยจํานวนมากและอยูเบียดชิดกันในชอดอกเดียวกัน
รังไขของดอกยอยแตละดอกจะเจริญเปนผลยอยที่อยูเบียดชิดกันบนแกนชอดอกจนดู
คลายเปนหนึ่งผล
เชน ยอ หมอน สับปะรด สาเก ขนุน และมะเดื่อ

ดอกยอย

ผลยอย

กานชอดอก

ผลยอย

ยอ ขนุน
&


8. วัฎจักรชวิตแบบสลับของพืชดอก
-

พืชดอก
หมุนเวียนเปนวัฏจักร (life cycle)
มีการสืบพันธุแบบอาศัยเพศ
์ด
สเปรม + ไข = Zygote => embryo ↓เมล
spem > #
วัฏจักรชีวิตของพืชเปน วัฏจักรชีวิตแบบสลับ eqg
(alternation of generation)
ประกอบดวย
& สปอรโรไฟต
เปนระยะที่สรางสปอร
(sporophyte) -

2 แกมีโทไฟต
-
เปนระยะที่สรางเซลลสืบพันธุ
(gametophyte)
-
-
-

วัฎจักรชวิตแบบสลับของพืชดอก
- ชพญ สร

าง

สปอโรไฟต

ไมโท ซ
ิ เอ็มบริโอ
สปอรมาเทอรเซลล
ไมโอซิส
ama

&
-
ไซโกต
ดิพลอยด (2n) ไมโอซิส

/
แฮพลอยด (n)

sareeg
ปฏิสนธิ สปอร
เซลลสืบพันธุ เพศ ศเ ! มว
วงเซลส
เพศท
/
29 -สถา ไม
ไมโอซิส
แกมีโทไฟต
sperm
ล้
สี
พื
น้
ม็
วัฎจักรชวิตแบบสลับของพืชดอก

วัฏจักรชีวิตของ เฟรน
ไมโอซิส สปอร
แกมีโทไฟต
ไมโทซิส

กลุมอับสปอร สปอรมาเทอร
เซลลในอับสปอร

/
เซลลสืบพันธุเพศเมีย

สปอโรไฟต เซลลสืบพันธุ
เพศผู
สปอโรไฟตบนแกมีโทไฟต ปฏิสนธิ
ไซโกต
วัฎจักรชวิตแบบสลับของพืชดอก

วัฏจักรชีวิตของ
พืชดอก
8.3 การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก
-& บร
การสรางเซลลสืบพันธุ -pollor การสรางเซลลสืบพันธุ

- อับเรณู
เพศผู -

เพศเมีย
-
โพรงอับเรณู
pollensac ผนังออวุล

-

ไมโครสปอรมาเทอรเซลล (2n) ไมโอซิส


loog -
เมกะสปอรมาเทอรเซลล (2n)

4 ไมโครสปอร (n) ไมโครไพล


ไมโอซิส
ไมโครสปอร (n)
ไมโทซิส เมกะสปอร (n) 4 เซลล
- ทิวบเซลล (3 เซลลสลายไป)
%
#

ทิวบนิวเคลียส เจเนอเรทิฟเซลล
②2 เรญ
แอนติโพแดล
ไมโทซิส

= ⑦-
เร
(เมื่อตกบนยอดเกสรเพศเมีย)

1 แกมีใ
เซลลไข โพลารนิวคลีไอ
หลอดเรณู
/
ซินเนอรจิด
สเปรมเซลล กาโตไฟตเพ

- 1เ ม บ ษ
/แ
ทิวบนิวเคลียส
พื้
ริ
อ็
อั
รู
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก

การถายละอองเรณูและการงอกของหลอดเรณู
>> การถายละอองเรณู <<
พืชดอกมีสปอรที่เจริญและพัฒนาเปนแกมีโทไฟตอยูภายในดอก จึงไมมีการกระจายสปอรออก
จากตนสปอโรไฟต ถุงเอ็มบริโอที่เปนแกมีโทไฟตเพศเมียจึงอยูในดอกบนตนสปอโรไฟต
เรณูซึ่งเปนแกมีโทไฟตเพศผูมักจะมีการกระจายออกจากดอกเพื่อการผสมพันธุ เรณู

หลอดเรณู
การเคลื่อนยายเรณูจากอับเรณูไปตกบนยอดเกสรเพศเมีย เรียก การถายเรณู
การถายเรณูในธรรมชาติเกิดขึ้นไดโดยอาศัย ลม น้ํา แมลง
และสัตวเปนพาหะถายเรณู (pollination)
รูปรางลักษณะของเรณูจะมีผลตอรูปแบบการถายเรณู
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก

การถายละอองเรณูและการงอกของหลอดเรณู เรณู
-
หลอดเรณู
>> การงอกของละอองเรณู <<

เมื่อมีการถายเรณูเกิดขึ้น เรณูจะงอกหลอดเรณูผานยอดเกสรเพศเมีย
ผานกานเกสรเพศเมียลงไปจนถึงรังไข
เรณูของพืชบางชนดอาจงอกเรณูไดหลายอัน
ซินเนอรจิด
แตจะมีเฉพาะหลอดเรณูที่ทิวบนิวเคลียส
เคลื่อนเขาไปเทานั้นที่จะงอกยาวตอไปจนถึงออวุล

และสเปรมเซลลทั้งสองเซลลจะเคลื่อนตามทิวบนิวเคลียส
ภายในหลอดเรณู ผานทางไมโครไพล
แลวปลอยสเปรมนิวเคลียสเขาไปภายในถุงเอ็มบริโอ เซลลไข

เพื่อเกิดการปฏิสนธิตอไป สเปรมเซลล
ไมโครไพล ทิวบนิวเคลียส

การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก
8.3.2
การปฏิสนธิ
- การปฏิสนธิของพืชดอก เปนการปฏิสนธิคู (Double fertilization)
สเปรมเซลล + เซลลไข = ไซโกต เจริญพัฒนาไปเปน เอ็มบริโอ
สเปรมเซลล + โพลารนิวคลีไอ = เอนโดสเปรมนิวเคลียส
เจริญพัฒนาไปเปน เอนโดสเปรม ·ev

4) สเปรมนิวเคลียสปฏิสนธิกับ
สเปรมเซลล หลอดเรณู
polattends sper เซลลไขไดเปนไซโกต

-> sp
ทิวบนิวเคลียส
โพลารนิวคลีไอ
เซลลไข

spe


ผานทางไมโครไพล
spen 3) หลอดเรณูเขาไปในซินเนอรจิด
2) หลอดเรณูเขาไปในออวุล สเปรมนิวเคลียสปฏิสนธิกับโพ
สเปรมนิวเคลียสเขาไปในไซโท- พลา ลารนิวคลีไอ ไดเปน
1) หลอดเรณูงอกลงไปใน ซึมของซินเนอรจิดจากนั้น เอนโดสเปรมนิวเคลียส
กานเกสรเพศเมีย ซินเนอรจิดจะสลาย
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก

8.3.2
การเกิดผลและเมล็ด
ผล โดยทั่วไปหลังการปฏิสนธิแลวนั้น กลีบดอก กลีบเลี้ยง และเกสรเพศผูจ ะแหงและรวงไป
ออวุลพัฒนาไปเปนเมล็ดอยูภายในผล ซึ่งพัฒนามาจากรังไข
ผนังรังไขจะเปลี่ยนแปลงไปเปนผนังผล (pericarp)

ผนังรังไข ออวุล

เมล็ด

ผนังผล
ดอกมะเขือ ผลมะเขือ
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก

การเกิดผลและเมล็ด
ผล ผนังชั้นนอก (exocarp)
ผนังผล (pericarp) อาจแบงเปน 3 ชั้น ผนังชั้นกลาง (mesocarp)
ผนังชั้นใน (endocarp)

ผนังชั้นนอก
ผนังชั้นกลาง
ผนังชั้นใน

มะพราว มะมวง
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก
ผนังผล (pericarp) (ตอ)

ผนังชั้นกลางและ
ผนังผลชั้นใน
ผนังชั้นนอก
องุน มเขือเทศ

ถาพิจารณาจาก ผนังผล แบงไดเปน 2 กลุม


1) ผลมีเนื้อ เปนผลที่มีผนังทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมดเปนเนื้อเยื่อ
ซึ่งเนื้ออาจออนนุม เมื่อเจริญเต็มที่ผนังผลมีลักษณะอวบน้ํา

พุทรา มะมวง
สม ละมุด
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก

ถาพิจารณาจาก ผนังผล แบงไดเปน 2 กลุม


2) ผลแหง เปนผลที่เมื่อเจริญเต็มที่หรือแกแลว ผนังผลมีลักษณะแหงแข็ง
ไมมีเนื้อเหลืออยู ซึ่งอาจจะแตกหรือไมแตกขึ้นอยูกับชนิดของผล

ผลแหงแบบแตก ผลแหงแบบไมแตก

ประดู
มะกล่ําตาหนู
มะคาแต

โอค ยางนา
ตะแบก
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก

การเกิดผลและเมล็ด
เมล็ดและเอ็มบริโอ
การปฏิสนธิของพืชดอกเกิดขึ้นภายในออวุล ทําใหเกิดไซโกต
และเอนโดสเปรมนิวเคลียส
จากนั้นไซโกตจะแบงเซลลเพิ่มจํานวนมากขึ้น เพื่อพัฒนาเปนเอ็มบริโอตอไป
ออวุลจะพัฒนาไปเปนเมล็ดอยูภายในผลซึ่งพัฒนามาจากรังไข

ผนังออวุลจะเปลี่ยนแปลงไปเปน เปลือกเมล็ด(seed coat) ลอมรอบเอนโด


สเปรมและเอ็มบริโอที่อยูภายในเอาไว
สวนเนื้อเยื่อนิวเซลลัสจะหมดไปในระหวางการพัฒนาของเมล็ด เนื่องจากนิว
เซลลัสจะใหอาหารกับเซลลอื่น
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก

การเกิดผลและเมล็ด
เมล็ดและเอ็มบริโอ

1 2 3
แวคิวโอล เอนโดสเปรม
เอนโดสเปรม
นิวเคลียส เอ็มบริโอ
ไซโกต

4 5 6
เปลือกเมล็ด
เอนโดสเปรม
เอ็มบริโอ เอนโดสเปรม
เอ็มบริโอ

การเจริญและพัฒนาของเอ็มบริโอและเอนโดสเปรม
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก

การเกิดผลและเมล็ด
เมล็ดและเอ็มบริโอ

สวนประกอบของเมล็ด
1) เปลือกเมล็ด (seed coat) ; เจริญมาจากออวุล
; ทําหนาที่ปองกันเอ็มบริโอที่อยูภายในเมล็ด
; ผิวของเปลือกเมล็ดมีรอยแผลเปนเล็ก ๆ
เรียกวา ไฮลัม และที่ใกลๆไฮลัมมีไมโครไพล
-เจ อเมกจ กไ ต ก

=
2) เอ็มบริโอ (embryo)
- รากแรกเกิด (radicle)
·
; เปนสวนแรกของเอ็มบริโอที่เจริญออกมา
เมื่อเมล็ดมีการงอกและเจริญตอไปเปนรากปฐมภูมิ
⑤ - ลําตนแรกเกิด (caulicle)
; สวนของแกนของเอ็มบริโอที่อยูถัดจากแรดิเคิลขึ้นไป
รั
ริ
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก

การเกิดผลและเมล็ด
เมล็ดและเอ็มบริโอ
สวนประกอบของเมล็ด
2) เอ็มบริโอ (embryo) (ตอ)
- ยอดแรกเกิด (plumule) ; เปนสวนยอดของเอ็มบริโอทีอ่ ยูเหนือใบเลี้ยง
- ใบเลี้ยง (cotyledon) ; ติดอยูบนสวนแกนหลักของเอ็มบริโอ

3) เอนโดสเปรม (endosperm)
; เปนเนื้อเยื่อที่ทําหนาทีเ่ ก็บสะสมอาหาร
-
สําหรับการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ


=>

; อาหารที่สะสมอาจเปนแปง โปรตีน หรือลิปด


-
ขึ้นอยูกับชนิดของพืช
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก

การเกิดผลและเมล็ด
เมล็ดและเอ็มบริโอ

สวนประกอบของเมล็ด ถั่ว
เอพิคอทิล
ยอดแรกเกิด
เปลือกเมล็ด

ไฮโพคอทิล - ไฮโพคอทิล มีลักษณะเปนลําตนสั้น ๆ ใตใบเลี้ยง


รากแรกเกิด - เมล็ดที่เริ่มงอกจะเห็นลําตนที่อยูเหนือใบเลี้ยง
เรียกวา เอพิคอทิล
- สวนที่ปลายอาจมีใบแทเกิดขึ้นแลว
& ใบเลี้ยง

ถั่ว
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก

การเกิดผลและเมล็ด สวนประกอบของเมล็ด ละหุง


เมล็ดและเอ็มบริโอ เปลือกเมล็ด

เอนโดสเปรม

ใบเลี้ยง
เอพิคอทิล
รากแรกเกิด

คารังเคิล

ละหุง
- โคนเมล็ดมีเนื้อเยื่อคลายฟองน้ํา ซึ่งเกิดจากกานออวุล
ตําแหนงที่ติดกับรังไข เรียกวา คารังเคิล (caruncle)
- ทําหนาที่ดูดน้ําหรือใหน้ําผานเขาไปสูเอ็มบริโอขณะที่เมล็ดงอก
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอก

การเกิดผลและเมล็ด
เมล็ดและเอ็มบริโอ สวนประกอบของเมล็ด ขาวโพด
ผนังผลและเปลือกเมล็ด

ใบเลี้ยง เอนโดสเปรม

โคลีออพไทล
เอพิคอทิล

รากแรกเกิด
โคลีโอไรซา

ขาวโพด
- มีเนื้อเยื่อหุมยอดแรกเกิดเรียกวา โคลีออพไทล
(coleoptile) เจริญคลุมปลายยอดของเอ็มบริโอและมี
เนื้อเยื่อหุมรากแรกเกิดเรียกวา โคลีโอไรซา (coleorhiza)
การใชประโยชนจากโครงสรางต-
8.4 าง ๆ
ของผลและเมล็ด
-

อาหาร (สารอินทรียที่สะสมในผลหรือเมล็ด)
- ในผลมีเนื้อที่ผนังผลชั้นกลางและ/หรือชั้นใน เปนเนื้อออนนุมรับประทานได
- แตไมรับประทานผนังผลชั้นนอก ; ที่ทําหนาที่เปนผิวผล เรียกวา เปลือก เชน กีวี และมะละกอ
- ผลที่รับประทานผนังผลทั้ง 3 ชั้น เชน มะเฟอง แตงกวา และมะเขือ
- ผลบางชนิดมีเนื้อที่ไมไดเปนผนังผล แตเปนเนื้อที่เกิดจาก เยื่อหุมเมล็ด (aril) ; รับประทานได
- ผลบางชนิด สวนเยื่อหุมเมล็ดแยกออกจากเมล็ดไดงาย เนื่องจากเยื่อหุมเมล็ด
เจริญมาจาก กานเมล็ด (funiculus) เชน ลําไย ลิ้นจี่ และทุเรียน
- ผลบางชนิด สวนเยื่อหุมเมล็ดที่ติดกับเปลือกเมล็ด
แยกออกจากกันไมได เนื่องจากเยื่อหุมเมล็ดเจริญมา
จากเปลือกเมล็ด เชน เงาะ มังคุด กระทอน และ
ลางสาด
การใชประโยชนจากโครงสรางตาง ๆ
ของผลและเมล็ด
อาหาร
- สวนที่เมล็ดพืชสะสมอาหารไวสําหรับเลี้ยงตนกลาอาจเปนคารโบไฮเดรต โปรตีน และลิพิด
เชน แปงจากขาวชนิดตาง ๆ ลูกเดือย และถั่วเขียว และน้ํามันจากเมล็ดพืช

ขาวเจา ขาวสาลี ลูกเดือย ถั่วเขียว

ถั่วเหลือง งา ทานตะวัน มะพราว


การใชประโยชนจากโครงสรางตาง ๆ
ของผลและเมล็ด
อาหาร
- ผลและเมล็ดพืชบางชนิดถูกนํามาทําใหแหงและใชเปนเครื่องเทศปรุงอาหาร เชน
ผลโปยกั๊ก เมล็ดพริกไทย และเมล็ดจันเทศ
- ผลบางชนิดที่ผนังชั้นนอกจะมีตอมน้ํามันที่มีน้ํามันหอมระเหย เชน มะกรูดและมะนาว

ผลโปยกั๊ก
ตอมน้ํามัน

ผลมะนาว
ผลมะกรูด

-
เมล็ดพริกไทย
การใชประโยชนจากโครงสรางตาง ๆ
ของผลและเมล็ด
เสนใย
- เมล็ดพืชบางชนิดมีสวนที่เปนเสนใยเซลลูโลส เชน เสนใยฝาย ที่เปนสวนของเมล็ดที่อยูภายในผล
- เสนใยมีลักษณะแบนคอนขางตันและมีผนังเซลลหนา เสนใยเกาะพันกันทําใหเกิดความเหนียว
และแข็งแรง นิยมนําไปปนเปนเสนดายเพื่อใหทอผา

ผลฝายที่แตกเห็นใยสีขาวที่หุมเมล็ด เสนดายจากใยฝาย ผาฝาย


การใชประโยชนจากโครงสรางตาง ๆ
ของผลและเมล็ด
เสนใย
- เสนใยนุน เปนสวนของเมล็ดที่อยูภายในฝก มีลักษณะกลวงจึงมีความเหนียวนอย ลักษณะของ
เสนใยสั้นมาก ไมสามารถปนเปนดายเพื่อใชทอผา นิยมใชใสในหมอนและที่นอน

ฝกนุนและใยนุน ใยนุนในหมอน

You might also like