2

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

1

การวัดการกระจายของข้อมูล
ในระดับมัธยมเราจะได้ศึกษาการวัดการกระจายข้อมูล 3 วิธี ดังนี้
1. พิสัย
2. พิสัยระหว่างควอร์ไทล์
3. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

1. พิสัย(Range : R)
คือการวัดการกระจายที่คำนวณได้จาก ลบด้วย .

R= .

ตัวอย่างที่ 1 จงหาพิสัยของคะแนนสอบห้อง 5/2 ต่อไปนี้

จาก ตัวอย่างที่ 1 สามารถอธิบายได้ว่า คะแนนสอบของนักเรียนห้อง 5/2 ห่างกันไม่เกิน คะแนน


ตัวอย่างที่ 2 จงหาพิสัยของคะแนนสอบห้อง 2/5 ต่อไปนี้
15 20 25 25 30 30 100

จาก ตัวอย่างที่ 2 นักเรียนส่วนใหญ่ได้คะแนนใกล้เคียงกัน โดยมีค่าระหว่าง 15 – 30 คะแนน แต่พิสัยของข้อมูลชุดนี้


เท่ากับ ทำให้อาจเข้าใจผิดว่านักเรียนส่วนใหญ่ได้คะแนนห่างกันมาก ซึ่งคลาดเคลื่อนกับความเป็นจริง

ม . 6 ก า ร วั ด ก า ร ก ร ะ จ า ย จัดทำโดย นายภากร อุปธิ


2

2. พิสัยระหว่างควอร์ไทล์ (Interquartile Range : IQR).


คือการวัดการกระจายที่คำนวณได้จาก ลบด้วย .

IQR = .

ตัวอย่างที่ 3 จงหาพิสัยระหว่างควอร์ไทล์ของคะแนนสอบห้อง 5/2 ต่อไปนี้

ตัวอย่างที่ 4 จงหาพิสัยระหว่างควอร์ไทล์ของคะแนนสอบห้อง 2/5 ต่อไปนี้


15 20 25 25 30 30 100

จาก ตัวอย่างที่ 2 และ ตัวอย่างที่ 4 จะเห็นว่าพิสัยและพิสัยระหว่างควอร์ไทล์มีค่าต่างกันมาก ซึ่งข้อมูลส่วนใหญ่มี


ค่าต่างกันใกล้เคียงกับพิสัยระหว่างควอร์ไทล์มากกว่า ดังนั้นถ้ามีข้อมูลบางตัวมีค่าต่างจากตัวอื่นมาก ๆ
พิสัยระหว่างควอร์ไทล์จะใช้อธิบายการกระจายของข้อมูลได้ดีกว่าพิสัย

ม . 6 ก า ร วั ด ก า ร ก ร ะ จ า ย จัดทำโดย นายภากร อุปธิ


3

แบบฝึกหัด
1. จงหาพิสัย และ พิสัยระหว่างควอร์ไทล์ของข้อมูลต่อไปนี้
1) 5 12 10 22 11 20 16 8 14 29 50

2) 86 98 104 112 82 93 109 113 80 91


103 83 92 97 88 87 100

ม . 6 ก า ร วั ด ก า ร ก ร ะ จ า ย จัดทำโดย นายภากร อุปธิ


4

2. ข้อมูลชุดหนึ่งเรียงจากน้อยไปมากได้ดังนี้
a b 11 18 25 29 36 38 41 47 53
1) ถ้าข้อมูลชุดนี้มีพิสัยเท่ากับ 43 จงหาค่าของ a

2) ถ้าข้อมูลชุดนี้มีพิสัยระหว่างควอร์ไทล์เท่ากับ 26 จงหาค่าของ b

3. ส่วนสูงของพี่น้อง 2 คน มีพิสัยเท่ากับ 12 เซนติเมตร มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 171 เซนติเมตร จงหา


ความสูงของพี่น้องคู่นี้ [ดัดแปลงจาก ข้อสอบข้อหนึ่งใน Onet 52]

ม . 6 ก า ร วั ด ก า ร ก ร ะ จ า ย จัดทำโดย นายภากร อุปธิ


5

3. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)


ข้อมูลประชากร
 (x − )
2

=
N
ข้อมูลตัวอย่าง
 (x − x )
2

s=
n −1

*** กำลังสองของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เรียกว่า ความแปรปรวน ***

ตัวอย่างที่ 5 ข้อมูลประชากรชุดหนึ่งมีค่า 12, 14, 14, 17, 18, 21 จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ตัวอย่างที่ 6 ข้อมูลตัวอย่างชุดหนึ่งมีค่า 3, 12, 9, 10, 6, 8 จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ม . 6 ก า ร วั ด ก า ร ก ร ะ จ า ย จัดทำโดย นายภากร อุปธิ


6

แบบฝึกหัด
1. จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลประชากรต่อไปนี้
1) 2, 3, 4, 5, 6

2) 3, 6, 9, 10, 15, 12, 20

2. จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลตัวอย่างต่อไปนี้
1) 2, 3, 4, 5, 6

2) 3, 6, 9, 10, 15, 12, 20

ม . 6 ก า ร วั ด ก า ร ก ร ะ จ า ย จัดทำโดย นายภากร อุปธิ


7

3. ข้อมูลชุดหนึ่ง มีจำนวน 12 ตัว ถ้า  ( x − x )2 = 176 จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

4. กลุ่มตัวอย่างของข้อมูล มี 11 ตัวดังนี้ 15 , 10 , 12 , 15 , 16 , x , 16 , 19 , 13 , 17 , 15 ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิต


ของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ 15 จงหาความแปรปรวน

ม . 6 ก า ร วั ด ก า ร ก ร ะ จ า ย จัดทำโดย นายภากร อุปธิ


8

การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์ คือ การเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูลตั้งแต่สองชุดขึ้นไป ในบทเรียนนี้
นักเรียนจะได้ศึกษาการเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูลเฉพาะ สัมประสิทธิ์การแปรผัน
สัมประสิทธิ์การแปรผัน สามารถคำนวณได้ดังนี้

สัมประสิทธิ์การแปรผันของประขากร = เมื่อ   0

s
สัมประสิทธิ์การแปรผันของตัวอย่าง = เมื่อ x  0
x

สัมประสิทธิ์การแปรผันอาจเขียนในรูปเปอร์เซ็นต์ ได้ดังนี้

สัมประสิทธิ์การแปรผันของประขากร =  100% เมื่อ   0

s
สัมประสิทธิ์การแปรผันของตัวอย่าง =  100% เมื่อ x  0
x
ตัวอย่างที่ 1 จงเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูลสองชุดต่อไปนี้
ชุดที่หนึ่ง 2, 7, 15, 20, 33, 39, 45, 50, 60, 79

ชุดที่สอง 201, 202, 205, 209, 210, 215, 216, 221, 223, 300

ชุดที่หนึ่ง

ม . 6 ก า ร วั ด ก า ร ก ร ะ จ า ย จัดทำโดย นายภากร อุปธิ


9

ชุดที่สอง
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เท่ากับ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดที่สอง ประมาณ
สัมประสิทธิ์การแปรผัน ประมาณ
ดังนั้น ข้อมูลชุดที่ 1 มีการกระจาย ข้อมูลชุดที่ 2
แบบฝึกหัด
1. จงเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูลคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ และวิขาภาษาอังกฤษของนักเรียน 6 คนต่อไปนี้
นักเรียนคนที่ 1 2 3 4 5 6
คะแนนสอบวิชา
51 53 54 56 58 64
คณิตศาสตร์
คะแนนสอบวิชา
78 79 79 82 88 92
ภาษาอังกฤษ

ม . 6 ก า ร วั ด ก า ร ก ร ะ จ า ย จัดทำโดย นายภากร อุปธิ


10

2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานราคาอาหารที่นักเรียนทานในหนึ่งมื้อ ของนักเรียนชั้น ม.5 ทั้งหมด 3


ห้อง เป็นดังนี้
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ห้องที่ 1 49 3.5
ห้องที่ 2 70 1.2
ห้องที่ 3 50 2

จงเปรียบเทียบการกระจายของราคาอาหารที่นักเรียนทานในหนึ่งมื้อ ของนักเรียนชั้น ม.5 ทั้งหมด 3 ห้อง

ม . 6 ก า ร วั ด ก า ร ก ร ะ จ า ย จัดทำโดย นายภากร อุปธิ

You might also like