Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 38

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

(Local Performance Assessment: LPA) ประจาปี 2564


ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัดที่ 1-24 จานวน 24 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย
1) ตัวชี้วัดจริง จานวน 23 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 2-24 จานวน 23 ตัวชีว้ ัด จานวน 115 คะแนน
2) ตัวชี้วัดนาร่อง จานวน 1 ตัวชี้วัด ตัวชีว้ ัดที่ 1 จานวน 5 คะแนน (ไม่นาไปนับเป็นคะแนนรวม)
หัวข้อประเมิน เมือง อบจ. ทน. ทม. ทต. อบต. คะแนนที่ได้
พัทยา
ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด คะแนน ร้อยละ
1. การวางแผนพัฒนาท้องถิ่น 4 5 4 4 4 4
ตัวชี้วัดนาร่อง 1 - 1 1 1 1
2. การจัดทาฐานข้อมูล 1 1 1 1 1 1
3. การจัดการข้อร้องทุกข์/ร้องเรียน 2 2 2 2 2 2
4. การบริการประชาชน 3 3 3 3 3 3
5. ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบ 3 3 3 3 3 3
ภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยง
6. การประเมินผลการปฏิบัติงาน 3 3 3 3 3 3
7. การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน 3 3 3 3 3 3
8. การปรับปรุงภารกิจ 1 1 1 1 1 1
9. การดาเนินงานตามนโยบายของจังหวัด 2 2 2 2 2 2
ตัวชี้วัดนาไปนับเป็นคะแนน รวม 22 23 22 22 22 22

สรุปหัวข้อประเมิน ตัวชี้วัดที่ จานวนตัวชี้วัด จานวนคะแนน


1. การวางแผนพัฒนาท้องถิ่น 1-6 6 30
(1) ตัวชี้วัดจริง (นาไปนับเป็นคะแนน) 2-6 5 25
(2) ตัวชี้วัดนาร่อง (ไม่นาไปนับเป็นคะแนน) 1 1 5
2. การจัดทาฐานข้อมูล 7 1 5
3. การจัดการข้อร้องทุกข์/ร้องเรียน 8-9 2 10
4. การบริการประชาชน 10-12 3 15
5. ระบบการควบคุมภายใน การตรวจ สอบภายใน และการ 13-15 3 15
บริหารจัดการความเสี่ยง
6. การประเมินผลการปฏิบัติงาน 16-18 3 15
7. การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน 19-21 3 15
8. การปรับปรุงภารกิจ 22 1 5
9. การดาเนินงานตามนโยบายของจังหวัด 23-24 2 10
ตัวชี้วัดไม่นาไปนับเป็นคะแนน (ตัวชี้วัดนาร่อง) รวม 1 1 5
ตัวชี้วัดนาไปนับเป็นคะแนน (ตัวชี้วัดจริง) รวม 2-24 23 115

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 1


1. เกณฑ์การประเมินและข้อมูลการประเมินประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลการประเมินประสิทธิภาพ
1 ร้อยละของโครงการพั ฒ นา/กิจ กรรมสาธารณะในแผนพั ฒ นา KPI: ใหม่
หมู่บ้ าน/แผนชุม ชนถูกน าไปบรรจุไ ว้ในแผนพั ฒนาขององค์กร ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ปกครองส่วนท้องถิ่นและตราเทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติงบประมาณ ยกเว้นองค์การบริหารส่วนจังหวัด
รายจ่ายประจาปี/เพิ่มเติม/งบประมาณเงินสะสมหรือเงินอุดหนุน
เฉพาะกิจ สู่การพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
(KPI: ใหม่)
2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการนาโครงการ การจัดทาบริการ KPI: เดิม
สาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ โดยตรงในแผนพัฒนาท้องถิ่น ปี ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2563 มาจัดทาเป็นงบประมาณรายจ่าย ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 2)
3 แผนพัฒนาท้องถิ่นมีความเชื่อมโยงหรือสอดคล้องยุทธศาสตร์การ KPI: เดิม
พัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วน ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ท้องถิ่น ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 3)
4 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีแนวทางการติดตามและประเมินผล KPI: เดิม
แผนพัฒนาท้องถิ่น ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 4) (ITA) ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
5 องค์การบริห ารส่ ว นจั ง หวั ด น าโครงการพั ฒ นาในแผนพั ฒ นา KPI: เดิม
ท้องถิ่น (พ.ศ. 2561-2565) ที่ไ ด้ผ่ านกระบวนการประสาน ประเมินเฉพาะองค์การบริหารส่วนจังหวัด
แผนพัฒนาท้องถิ่นระดับอาเภอ/ระดับจังหวัด มาดาเนินการโดย ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
ใช้ เ งิ น งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี / เพิ่ ม เติ ม หรื อ เงิ น นอก
งบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
(2563 KPI: 5)
6 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการนายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. KPI: เดิม
2561-2580) มาเป็นกรอบในการจัดทาแผน พัฒนาท้องถิ่น ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และข้ อ บั ญ ญั ติ ห รื อ เทศบั ญ ญั ติ ง บประมาณรายจ่ า ยประจ าปี ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
งบประมาณ พ.ศ. 2563
(2563 KPI: 6)
7 องค์กรปกครองส่ว นท้ องถิ่น บั น ทึ กข้อมู ล ที่ สาคัญ ได้ ตามกรอบ KPI: เดิม/ปรับปรุงใหม่ให้เป็นปัจจุบัน
ระยะเวลา ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 7) ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
8 ร้อยละของข้อร้องทุกข์/ร้องเรียนต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ KPI: เดิม
ดาเนินการสาเร็จลุล่วง ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 8) (ITA) ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
9 ร้ อ ยละของข้ อ ร้ อ งทุ ก ข์ / ร้ อ งเรี ย นที่ ม าจากศู น ย์ ด ารงธรรมที่ KPI: เดิม
ดาเนินการสาเร็จลุล่วง ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 9) (ITA) ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 2


1. เกณฑ์การประเมินและข้อมูลการประเมินประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลการประเมินประสิทธิภาพ
10 การอานวยความสะดวกในการบริการประชาชน เพื่ อมุ่ ง สู่ KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน/ปรับปรุง
ประโยชน์สุขของประชาชนผู้รับบริการและมีประสิทธิภาพอย่าง ตามสถานการณ์ COVID-19)
เป็นระบบ ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่
(2563 KPI: 10) สามารถตัดฐานการประเมินได้
11 ช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายเพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน/ปรับปรุง
ประชาชนที่ จ ะติ ด ต่ อ สอบถามหรื อขอข้อ มู ล หรือ แสดงความ ให้สอดคล้องกับการพัฒนาท้องถิ่น)
คิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 11) (ITA) ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้

12 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน ณ จุดบริการของ KPI: เดิม/ปรับปรุงให้สอดคล้องกับ ITA


องค์กรปก ครองส่วนท้องถิ่น (Citizen Feedback) ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 12) (ITA) ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
13 การแต่ง ตั้ง คณะกรรมการประเมิน ผลการควบคุม ภายใน KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบนั
และการจัดทารายงาน ระดับหน่วยงานของรัฐ ตามแบบ ปค. 1 ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แบบ ปค. 4 แบบ ปค. 5 และแบบ ปค. 6 ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 13)
14 องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น มี ผู้ ต รวจสอบภายในหรื อ KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบนั
มอบหมายให้ มี ผู้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ผู้ ต รวจสอบภายในและ ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ปฏิบัติงานตรวจสอบเป็นไปตามที่หลักเกณฑ์ฯ กาหนด ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 14)
15 การบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งระดั บ หน่ ว ยงานของรั ฐ ตาม KPI: ใหม่
มาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกาหนด
(KPI: ใหม่)
16 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการจัดทาข้อตกลง ในการ KPI: เดิม
ปฏิบัติราชการระหว่างส่วนราชการกับผู้บริหารท้องถิ่น ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 15) ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้

17 มีการวิเคราะห์และสรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ KPI: เดิม


ขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น และเข้ า ที่ ป ระชุ ม ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการประเมินผลตามหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหาร ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
กิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง มี
บุคคลภายนอกร่วมเป็นกรรมการ
(2563 KPI: 16)
18 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีผลคะแนน LPA โดยรวมเพิ่มขึ้นจากปีที่ KPI: เดิม
ผ่านมา ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 17) ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 3


1. เกณฑ์การประเมินและข้อมูลการประเมินประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลการประเมินประสิทธิภาพ
19 การมอบอานาจการตัดสินใจเพื่อปฏิบัติราชการ KPI: เดิม
(2563 KPI: 18) (ITA) ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
20 มี ก ารใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศหรื อ โทรคมนาคมเพื่ อ ลด KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เกิดความเหมาะสม/
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ปรับปรุงตามสถานการณ์ COVID-19)
(2563 KPI: 19) (ITA) ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
21 องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ นมี การบู รณาการ (Integration) KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เกิดความเหมาะสม/
โครงการเพื่อพัฒนาท้องถิ่นตามอานาจหน้าที่ ร่วมกับองค์กร ปรับปรุงตามสถานการณ์ COVID-19)
ปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น หรือร่วมกับหน่วยงานอื่น ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 20) (ITA) ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
22 ในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา (2561-2563) องค์กรปกครองส่วน KPI: เดิม/ปรับปรุงให้สอดคล้องกับ ITA)
ท้ องถิ่น มี การพิ จ ารณาทบทวน ปรับ ปรุง เปลี่ ย นแปลงยกเลิ ก ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ภารกิจ หรือข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 21) (ITA)
23 (ตัวอย่าง) ตัวชี้วัดจังหวัด KPI: ใหม่/จังหวัดกาหนดเอง
จ านวนกิ จ กรรมที่ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ องถิ่ น ด าเนิ น การใน ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการ (ระบุโครงการหรือกิจกรรมให้ชัดเจน) ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 22)
24 (ตัวอย่าง) ตัวชี้วัดจังหวัด KPI: ใหม่/จังหวัดกาหนดเอง
24. .......................................................... ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 23) ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 4


2. สรุปตัวชี้ใหม่ ตัวชี้วัดเดิม ตัวชี้วัดเดิมมีการปรับปรุง และตัวชี้วัดนาร่อง
ตัวชี้วัดใหม่ ตัวชี้วัดเดิม ตัวชี้วัดเดิม ตัวชี้วัดนาร่อง ยกเลิก
มีการปรับปรุง 2563
15 23 24 2 3 4 7 10 11 1 1
5 6 8 12 13 14
9 16 17 20 21 22
18 19
1 (1 ตัวชี้วัดใหม่)
3 11 9 1
รวม 24 ตัวชี้วัด 1

ตัวชี้วัด ITA 4 8 9 11 12 19 20 21 22 =9
ตั ว ชี้ วั ด ป รั บ ป รุ ง ต า ม 10 20 21 =3
สถานการณ์ COVID-19
ตั วชี้ วั ด ที่ ตั ด ฐา น ก า ร ไม่มี
ประเมินได้

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 5


3. จานวนตัวชี้วัดที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องถูกประเมินประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน เมือง อบจ. ทน. ทม. ทต. อบต.
พัทยา
ตัวชี้วัดทั้งหมด 24 ตัวชี้วัด 24 24 24 24 24 24
ตัวชี้วัดที่นับเป็นคะแนน ตัวชี้วัดที่ 2-24 จานวน 23 ตัวชี้วัด จานวน 23 23 23 23 23 23
115 คะแนน (นาไปนับเป็นคะแนน)
ตัวชี้วัดนาร่อง ตัวชี้วัดที่ 1 จานวน 1 ตัวชี้วัด จานวน 5 คะแนน (ไม่ 1 - 1 1 1 1
นาไปนับเป็นคะแนน)
หน่วยที่ 1 การวางแผนพัฒนาท้องถิ่น ตัวชี้วัดที่ 1-6 จานวน 5 5 5 5 5 5
6 ตัวชี้วัด จานวน 30 คะแนน
(1) ตัวชี้วัดจริง (นาไปนับเป็นคะแนน) ตัวชี้วัดที่ 2-6 จานวน 5 4 5 4 4 4 4
ตัวชี้วัด จานวน 25 คะแนน
(2) ตัวชี้วัดนาร่อง (ไม่นาไปนับเป็นคะแนน) ตัวชี้วัดที่ 1 จานวน 1 - - 1 1 1 1
ตัวชี้วัด จานวน 5 คะแนน
(3) กรณีประเมินเฉพาะองค์การบริหารส่วนจังหวัด ตัวชี้วัดที่ 5 - 1 - - - -
จานวน 1 ตัวชี้วัด จานวน 5 คะแนน
1 ร้อยละของโครงการพัฒนา/กิจกรรมสาธารณะในแผนพัฒนา 1 - 1 1 1 1
หมู่บ้าน/แผนชุมชนถูกนาไปบรรจุไว้ในแผนพัฒนาขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นและตราเทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติงบประมาณ
รายจ่ า ยประจ าปี / เพิ่ ม เติ ม /งบประมาณเงิ น สะสมหรื อ เงิ น
อุดหนุนเฉพาะกิจ สู่การพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
(KPI: ใหม่)
2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการนาโครงการ การจัดทาบริการ 1 1 1 1 1 1
สาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ โดยตรงในแผนพัฒนาท้องถิ่น
ปี 2563 มาจัดทาเป็นงบประมาณรายจ่าย
(2563 KPI: 2)
3 แผนพัฒนาท้องถิ่นมีความเชื่อมโยงหรือสอดคล้องยุทธศาสตร์ 1 1 1 1 1 1
การพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 3)
4 องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น มี แ นวทางการติ ด ตามและ 1 1 1 1 1 1
ประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
(2563 KPI: 4) (ITA)
5 องค์การบริหารส่วนจังหวัด นาโครงการพัฒนาในแผนพัฒนา - 1 - - - -
ท้องถิ่น (พ.ศ. 2561-2565) ที่ได้ผ่านกระบวนการประสาน
แผนพัฒนาท้องถิ่นระดับอาเภอ/ระดับจังหวัด มาดาเนินการโดย
ใช้ เ งิ น งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี / เพิ่ ม เติ ม หรื อ เงิ น นอก
งบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (2563 KPI: 5)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 6


3. จานวนตัวชี้วัดที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องถูกประเมินประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน เมือง อบจ. ทน. ทม. ทต. อบต.
พัทยา
6 องค์กรปกครองส่ ว นท้ องถิ่น มี การน ายุ ท ธศาสตร์ช าติ 20 ปี 1 1 1 1 1 1
(พ.ศ. 2561-2580) มาเป็นกรอบในการจัดทาแผน พัฒนา
ท้ อ งถิ่ น และข้ อ บั ญ ญั ติ ห รื อ เทศบั ญ ญั ติ ง บประมาณรายจ่ า ย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
(2563 KPI: 6)
หน่วยที่ 2 การจัดทาฐานข้อมูล ตัวชี้วัดที่ 7 จานวน 1 ตัวชี้วัด 1 1 1 1 1 1
จานวน 5 คะแนน
7 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบันทึกข้อมูลที่สาคัญได้ตามกรอบ 1 1 1 1 1 1
ระยะเวลา (2563 KPI: 7)
หน่ วยที่ 3 การจั ดการข้ อร้ องทุ กข์ /ร้ องเรี ยน ตั วชี้ วั ดที่ 8-9 2 2 2 2 2 2
จานวน 2 ตัวชี้วัด จานวน 10 คะแนน
8 ร้อยละของข้อร้องทุกข์/ร้องเรียนต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1 1 1 1 1 1
ที่ดาเนินการสาเร็จลุล่วง (2563 KPI: 8) (ITA)
9 ร้อยละของข้ อร้องทุ กข์/ ร้องเรีย นที่ ม าจากศูน ย์ ด ารงธรรมที่ 1 1 1 1 1 1
ดาเนินการสาเร็จลุล่วง (2563 KPI: 9) (ITA)
หน่วยที่ 4 การบริการประชาชน ตัวชี้วัดที่ 10-12 จานวน 3 3 3 3 3 3
3 ตัวชี้วัด จานวน 15 คะแนน
10 การอานวยความสะดวกในการบริการประชาชน เพื่ อมุ่ง สู่ 1 1 1 1 1 1
ประโยชน์สุขของประชาชนผู้รับบริการและมีประสิทธิภาพอย่าง
เป็นระบบ (2563 KPI: 10)
11 ช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายเพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ 1 1 1 1 1 1
ประชาชนที่จะติด ต่อสอบถามหรือขอข้อมูล หรือแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 11) (ITA)
12 การประเมิ น ความพึง พอใจของประชาชน ณ จุ ด บริการของ 1 1 1 1 1 1
องค์กรปก ครองส่วนท้องถิ่น (Citizen Feedback)
(2563 KPI: 12) (ITA)
หน่วยที่ 5 ระบบการควบคุมภายใน การตรวจ สอบภายใน 3 3 3 3 3 3
และการบริหารจัดการความเสี่ยง ตัวชี้วัดที่ 13-15 จานวน 3
ตัวชี้วัด จานวน 15 คะแนน
13 การแต่ง ตั ้ง คณะกรรมการประเมิน ผลการควบคุม ภายใน 1 1 1 1 1 1
และการจัดทารายงาน ระดับหน่วยงานของรัฐตามแบบ ปค. 1
แบบ ปค. 4 แบบ ปค. 5 และแบบ ปค. 6
(2563 KPI: 13)
14 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีผู้ตรวจสอบภายในหรือมอบหมาย 1 1 1 1 1 1
ให้มีผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจสอบภายในและปฏิบัติงานตรวจสอบ
เป็นไปตามที่หลักเกณฑ์ฯ กาหนด
(2563 KPI: 14)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 7


3. จานวนตัวชี้วัดที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องถูกประเมินประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน เมือง อบจ ทน. ทม. ทต. อบต.
พัทยา .
15 การบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งระดั บ หน่ ว ยงานของรั ฐ ตาม 1 1 1 1 1 1
มาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกาหนด
(KPI: ใหม่)
หน่วยที่ 6 การประเมินผลการปฏิบั ติ งาน ตั วชี้ วัดที่ 16-18 3 3 3 3 3 3
จานวน 3 ตัวชี้วัด จานวน 15 คะแนน
หน่วยย่อยที่ 1 การประเมินผลการปฏิบั ติราชการ ตัวชี้ วัดที่
16-17 จานวน 2 ตัวชี้วัด 10 คะแนน
16 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการจัดทาข้อตกลง ในการ 1 1 1 1 1 1
ปฏิบัติราชการระหว่างส่วนราชการกับผู้บริหารท้องถิ่น
(2563 KPI: 15)
17 มีการวิเคราะห์และสรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 1 1 1 1 1 1
ขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น และเข้ า ที่ ป ระชุ ม
คณะกรรมการประเมินผลตามหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหาร
กิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง มี
บุคคลภายนอกร่วมเป็นกรรมการ (2563 KPI: 16)
หน่วยย่อยที่ 2 ผลคะแนนการประเมินประสิทธิภาพของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA) ตัวชี้วัดที่ 18 จานวน
1 ตัวชี้วัด จานวน 5 คะแนน
18 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีผลคะแนน LPA โดยรวมเพิ่มขึ้นจากปี 1 1 1 1 1 1
ที่ผ่านมา
(2563 KPI: 17)
หน่วยที่ 7 การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน ตัวชี้วัด 3 3 3 3 3 3
19-21 จานวน 3 ตัวชี้วัด จานวน 15 คะแนน
19 การมอบอานาจการตัดสินใจเพื่อปฏิบัติราชการ 1 1 1 1 1 1
(KPI: 18) (ITA)
20 มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือโทรคมนาคมเพื่อลดขั้นตอน 1 1 1 1 1 1
การปฏิบัติงาน
(2563 KPI: 19) (ITA)
21 องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ นมี การบู รณาการ (Integration) 1 1 1 1 1 1
โครงการเพื่อพัฒนาท้องถิ่นตามอานาจหน้าที่ ร่วมกับองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น หรือร่วมกับหน่วยงานอื่น
(2563 KPI: 20) (ITA)
หน่วยที่ 8 การปรับปรุงภารกิจ ตัวชี้วัดที่ 22 จานวน 1 1 1 1 1 1 1
ตัวชี้วัด จานวน 5 คะแนน
22 ในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา (2561-2563) องค์กรปกครอง 1 1 1 1 1 1
ส่วนท้ องถิ่นมีการพิ จารณาทบทวน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง
ยกเลิกภารกิจ หรือข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
(2563 KPI: 21) (ITA)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 8


3. จานวนตัวชี้วัดที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องถูกประเมินประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน เมือง อบจ ทน. ทม. ทต. อบต.
พัทยา .
หน่วยที่ 9 การดาเนินงานตามนโยบายของจังหวัด ตัวชี้วัด 19- 2 2 2 2 2 2
21 จานวน 2 ตัวชี้วัด จานวน 10 คะแนน เป็นตัวชี้วัด
อิ ส ระที่ จั ง หวั ด จะต้ อ งก าหนดตั ว ชี้ วั ด ขึ้ น มาเองเพื่ อ
ประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน
เขตจังหวัด
23 (ตัวอย่าง) ตัวชี้วัดจังหวัด 1 1 1 1 1 1
จานวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดาเนินการใน
โครงการ (ระบุโครงการหรือกิจกรรมให้ชัดเจน)
(2563 KPI: 22)
24 (ตัวอย่าง) ตัวชี้วัดจังหวัด 1 1 1 1 1 1
.........................................................
(2563 KPI: 23)
ตัวชี้วัดที่ต้องประเมินประสิทธิภาพ 24 24 24 24 24 24
สามารถตัดฐานการประเมินได้ - - - - - -
ตัวชี้วัดไม่นาไปนับเป็นคะแนนรวม/ตัวชี้วัดนาร่อง (ตัวชี้วัดที่ 1) 1 - 1 1 1 1
ตัวชี้วัดนาไปนับเป็นคะแนนรวม 22 23 22 22 22 22

4. ตัวชี้วัดไม่นาไปนับเป็นคะแนนรวมซึ่งเป็นตัวชี้วัดนาร่อง
ตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน เมือง อบจ. ทน. ทม. ทต. อบต.
พัทยา
1 (ตั ว ชี้ วั ด น าร่ อ ง) ร้ อ ยละของโครงการพั ฒ นา/กิ จ กรรม 1 - 1 1 1 1
สาธารณะในแผนพัฒนาหมู่บ้าน/แผนชุมชนถูกนาไปบรรจุไว้
ในแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และตราเทศ
บัญ ญัติ / ข้อบัญ ญั ติง บประมาณรายจ่า ยประจ าปี/ เพิ่ ม เติ ม /
งบประมาณเงินสะสมหรือเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ สู่การพัฒนา
ชุมชนท้องถิ่น
(KPI: ใหม่)
รวม 1 - 1 1 1 1

5. จานวนตัวชี้วัดที่สามารถตัดฐานการประเมินได้
ตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน เมือง อบจ. ทน. ทม. ทต. อบต.
พัทยา
ไม่มี
รวม - - - - - -

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 9


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัดประกอบด้วย 1. ตัวชีว้ ัดทั้งหมด 24 ตัวชี้วดั
2. ตัวชี้วัดที่นับเป็นคะแนน ตัวชี้วัดที่ 2-24 จานวน 23 ตัวชี้วัด จานวน 115 คะแนน
3. ตัวชี้วัดที่นับเป็นคะแนนแต่เป็นตัวชี้วัดที่จังหวัดกาหนดขึ้น (ตัวชี้วัดอิสระ) ตัวชี้วัดที่ 23-24
จานวน 10 คะแนน
4. ตัวชี้วัดนาร่อง ตัวชี้วดั ที่ 1 จานวน 1 ตัวชี้วัด จานวน 5 คะแนน (ไม่นาไปนับเป็นคะแนน)
เป้า หมายเชิงคุณภาพ: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบการบริห ารจัดการที่มีประสิ ทธิภ าพและพร้อมในการ
ดาเนินการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น
เป้าหมายเชิงปริมาณ: ร้อยละขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านเกณฑ์การประเมินด้านที่ 1 ร้อยละ 70
หน่วยที่ 1 การวางแผนพัฒนาท้องถิ่น ตัวชี้วัดที่ 1 – 6 จานวน 6 ตัวชี้วัด จานวน 30 คะแนน
เป้าหมาย: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นได้ตามมาตรฐานในการบริการสาธารณะและกิจกรรม
สาธารณะเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนตามวิสัยทัศน์ที่กาหนดไว้
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
1 (ตัวชี้วัดนาร่อง) (ตัวชี้วัดใหม่) (ตัวชี้วัดนาร่อง) (ตัวชี้วัดใหม่)
ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 1. ร้อยละของโครงการพัฒนา/กิจกรรม
1. แผนพัฒ นาขององค์กรปกครองส่ว นท้ องถิ่น (พ.ศ. สาธารณะในแผนพั ฒ นาหมู่ บ้ า น/แผน
2561-2565) ชุมชนถูกนาไปบรรจุไว้ในแผนพัฒนาของ
2. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี/ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและตราเทศ
เพิ่มเติม บัญ ญั ติ/ ข้อบั ญ ญั ติง บประมาณรายจ่ า ย
3. งบประมาณเงินสะสม/เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ประจาปี/เพิ่มเติม/งบประมาณเงินสะสม
4. การโอนตั้ ง จ่ า ยเป็ น รายการใหม่ / เพิ่ ม เติ ม / หรือเงิ นอุดหนุ นเฉพาะกิจ สู่ การพัฒ นา
เปลี่ยนแปลงคาชี้แจงงบประมาณ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชนท้องถิ่น
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง
1. ระเบี ย บกระทรวงมหาดไทยว่ า ด้ ว ยการจั ด ท า เกณฑ์การให้คะแนน:
แผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 1. ร้อยละ 5.00 5
และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2. ร้อยละ 3.00 3
2. ระเบี ยบกระทรวงมหาดไทยว่า ด้ว ยการจั ดทาแผน 3. ร้อยละ 1.00 1
และประสานแผนพัฒนาพื้นที่ในระดับอาเภอและตาบล 4. ไม่มีการดาเนินการ 0
พ.ศ. 2562
3. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนที่สุด ที่
มท 0810.3/ว 3195 ลงวันที่ 15 ตุลาคม 2563
คาอธิบาย:
1. กรณีแผนพัฒนาหมู่บ้าน ประเมินองค์การบริหารส่วน
ตาบล
2. กรณีแผนชุมชน ประเมินเทศบาลและเมืองพัทยา
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ยกเว้นองค์การบริหารส่วนจังหวัด
(KPI: ใหม่)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 10


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
2 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการ
1. แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561-2565) น า โ ค ร ง ก า ร กา ร จั ด ท า บ ริ ก า ร
2. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจาปีหรือ สาธารณะและกิ จ กรรมสาธารณะ
เพิ่มเติม โดยตรงในแผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ปี
3. การใช้เงินสะสม/เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 2563 มาจั ด ท าเป็ น งบประมาณ
4. การโอนตั้งจ่ายเป็นรายการใหม่/โอนเพิ่ม เปลี่ยนแปลงคา รายจ่าย
ชี้แจงงบประมาณ สาหรับการพัฒนาท้องถิ่น
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง เกณฑ์การให้คะแนน:
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 1. จานวนโครงการบริการสาธารณะ 5
มาตรา 250 แล ะกิ จก รร มส า ธา รณ ะร้ อย ล ะ
2. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณ 30.00 ของโครงการ ขึ้นไป
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541 แก้ไขเพิ่มเติม 2. จานวนโครงการบริการสาธารณะ 3
(ฉบับที่ 2 และ 3) พ.ศ. 2543 ข้อ 26 ข้อ 27 ข้อ 28 แล ะกิ จก รร มส า ธา รณ ะร้ อย ล ะ
ข้อ 29 ข้อ 30 ข้อ 31 และข้อ 32 20.00 ของโครงการ แต่ไม่ถึงร้อยละ
3. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิก 30.00 ของโครงการ
จ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน 3. จานวนโครงการบริการสาธารณะ 1
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2547 แก้ไขเพิ่มเติม แล ะกิ จก รร มส า ธา รณ ะร้ อย ล ะ
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 10.00 ของโครงการ แต่ไม่ถึงร้อยละ
2558 20.00 ของโครงการ
และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2561 ข้อ 89 4. จานวนโครงการบริการสาธารณะ 0
4. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนา และกิจกรรมสาธารณะน้อยกว่า ร้อย
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 แก้ไขเพิ่มเติม ละ 10.00 ของโครงการ
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.
2561 ข้อ 4 คานิยาม ข้อ 24 และข้อ 25
5. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0810.3/ว
2931 ลงวันที่ 15 พฤษภาคม 2562
คาอธิบาย:
1. กรณี วั ส ดุ / ครุ ภั ณ ฑ์ ที่ น าไปด าเนิ น การจั ด ท าบริ ก าร
สาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ แต่มิได้เขียนเป็นโครงการ
ให้นับเป็น 1 โครงการหรือ 1 กิจกรรมหรือ 1 รายการ แล้ว
ให้คะแนนตามเกณฑ์การให้คะแนนที่กาหนดไว้
2. โครงการที่ปรากฏในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณ
รายจ่ายประจาปีหรือเพิ่มเติม การใช้เงินสะสม/เงินอุดหนุน
เฉพาะกิจ จะต้องมีการดาเนินการจริง และมีการเบิกจ่าย
งบประมาณเรียบร้อยแล้ว
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 2)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 11


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
3 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 3. แผนพัฒนาท้องถิ่นมีความเชื่อมโยงหรือ
1. แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561-2565) สอดคล้องยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกับ
2. ข้ อ บั ญ ญั ติ / เทศบั ญ ญั ติ ง บประมาณรายจ่ า ย ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครอง
ประจาปีหรือเพิ่มเติม ส่วนท้องถิ่น
3. การใช้เงินสะสม/เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง เกณฑ์การให้คะแนน:
1. พระราชบั ญ ญั ติ ระเบี ย บบริหารราชการแผ่ น ดิ น 1. มี ก ารจั ด ท ายุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาที่ 5
พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 เชื่ อ มโยงหรื อ สอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์
มาตรา 53/1 จั ง หวั ด และน าไปจั ด ท าเป็ น งบประมาณ
2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและ รายจ่าย 10 โครงการ ขึ้นไป
กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 มาตรา 19 2. มี ก ารจั ด ท ายุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาที่ 3
3. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิก เชื่ อ มโยงหรื อ สอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์
จ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน จั ง หวั ด และน าไปจั ด ท าเป็ น งบประมาณ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2547 แก้ไขเพิ่มเติม รายจ่าย 5 โครงการขึ้นไป
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 3. มี ก ารจั ด ท ายุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาที่ 1
2558และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2561 ข้อ 89 เชื่ อ มโยงหรื อ สอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์
4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0810.3/ จั ง หวั ด และน าไปจั ด ท าเป็ น งบประมาณ
ว 2931 ลงวันที่ 15 พฤษภาคม 2562 รายจ่าย 3 โครงการขึ้นไป
คาอธิบาย: 4. มี ก ารจั ด ท ายุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาที่ 0
1. กรณีวัสดุ/ครุภัณฑ์ ที่นาไปดาเนินการจัดทาบริการ เชื่ อ มโยงหรื อ สอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์
สาธารณะและกิจ กรรมสาธารณะ แต่ มิไ ด้ เขีย นเป็ น จั ง หวั ด และน าไปจั ด ท าเป็ น งบประมาณ
โครงการให้นับเป็น 1 โครงการหรือ 1 กิจกรรม หรือ รายจ่ า ยน้ อ ยกว่ า 3 โครงการ หรื อ
1 รายการ แล้วให้คะแนนตามเกณฑ์การให้คะแนนที่ แผนพัฒนาท้องถิ่นไม่มีความเชื่อมโยงหรือ
กาหนดไว้ สอดคล้องยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกับ
2. โครงการที่ ป รากฏในข้ อ บั ญ ญั ติ / เทศบั ญ ญั ติ ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครอง
งบประมาณรายจ่าย ประจาปีหรือเพิ่มเติม การใช้เงิน ส่วนท้องถิ่น
สะสม/เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ จะต้องมีการดาเนินการ
จริงและมีการเบิกจ่ายงบประมาณเรียบร้อยแล้ว
3. การเชื่อมโยง: เป็นการใช้ข้อมูลให้เข้าด้วยกัน เพื่อ
นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดี เกิดการติดต่อและโยงกัน
สอดคล้องกัน สอดกันประสานไม่ขัดกันไปด้วยกันได้
การเชื่อมโยงการพัฒนาท้องถิ่นจึงเป็นการเชื่อมโยงใน
เชิ ง ยุท ธศาสตร์ในระดับ ต่ าง ๆ ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 3)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 12


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
4 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 4. องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น มี แ นว
1. รายงานการประชุมคณะกรรมการติดตามและ ท า ง ก า ร ติ ด ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล
ประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนพัฒนาท้องถิ่น
2. รายงานการประชุมสภาท้องถิ่น มีการดาเนินการ ดังนี้
3. รายงานการประชุ ม คณะกรรมการพั ฒ นา 1. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ติ ด ต า ม แ ล ะ
ท้องถิ่น ประเมินผลมีการรายงานผล และเสนอ
4. ประกาศผลการติ ด ตามและประเมิ น ผล ความเห็ น ซึ่ ง ได้ จ ากการติ ด ตามและ
แผนพัฒ นาท้องถิ่น โดยผู้ บ ริ ห ารท้องถิ่น และ ประเมิ น ผลแผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ต่ อ
เผยแพร่ เ ว็ บ ไซต์ ห ลั ก ขององค์ ก รปกครองส่ ว น ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น ตามระยะเวลาที่
ท้องถิ่น (กรณีไม่ลงหรือเผยแพร่ในเว็บไซต์หลักของ กาหนด
องค์กรปกครองส่ ว นท้องถิ่น ถื อว่าด าเนิน การไม่ 2. ผู้บริหารท้องถิ่นรายงานผลและเสนอ
ครบถ้วนตามที่กาหนด ความเห็ น ซึ่ ง ได้ จ ากการติ ด ตามและ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง ประเมิ น ผลแผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ของ
1. กฎหมายจั ดตั้งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะกรรมการติดตามและประเมิ นผล
ทุกประเภท เสนอต่ อ สภาท้ อ งถิ่ น ตามระยะเวลาที่
2. ระเบี ยบกระทรวงมหาดไทยว่ าด้ วยการจั ดท า กาหนด
แผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. มี ก ารประชุ ม สภาท้ อ งถิ่ น และสภา
พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 และ (ฉบับที่ ท้ อ งถิ่ น เสนอความเห็ น ที่ ไ ด้ จ ากการ
3) พ.ศ. 2561 ข้อ 29 และ ข้อ 30 ประชุมสภาท้องถิ่น ในการติดตามและ
3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท ประเมิ น ผลแผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ตาม
0810.3 /ว 0357 ลงวันที่ 19 มกราคม 2561 ระยะเวลาที่กาหนด
4. หนั ง สื อ กระทรวงมหาดไทย ด่ว นที่สุ ด ที่ มท 4. คณะกรรมการพั ฒนาท้ องถิ่ นประชุ ม
0810.3/ว 2931 ลงวันที่ 15 พฤษภาคม 2562 และได้เสนอความเห็นที่ได้จากการติดตาม
5. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0810.3/ว ประเมิ น ผล แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ตาม
6732 ลงวันที่ 6 พฤศจิกายน 2562 ระยะเวลาที่กาหนด
คาอธิบาย: 5. มี ก ารประกาศผลการติ ด ตามและ
1. กรณีผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่ง ประเมิ น ผลแผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น โดย
รายงานการติดตามและประเมินผลให้สภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น
ภายในเดื อ นธั น วาคม ให้ ถื อ ว่ า เป็ น ไปตาม เกณฑ์การให้คะแนน:
ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ต่ ทั้ ง นี้ ส ภ า ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ 1. ดาเนินการครบทั้ง 5 ข้อ 5
คณะกรรมการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น จะต้ อ งด าเนิ น การ 2. ดาเนินการ 3-4 ข้อ 3
ต่อไปตามปกติ 3. ดาเนินการ 1-2 ข้อ 1
4. ไม่ มี ก ารด าเนิ น การติ ด ตามและ 0
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเมินผลหรือดาเนินการติดตามและ
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ ประเมินผลไม่เป็นไปตามห้วงระยะเวลา
(2563 KPI: 4) (ITA) ที่กาหนดไว้

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 13


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
4 2. ตาม ข้อ 1. เมื่อผู้บริหารท้องถิ่นส่งรายงานการ
ติดตามและประเมินผลให้สภาท้องถิ่นภายในเดือน
ธันวาคมแล้ว สภาท้องถิ่นไม่ประชุมเพื่อรับทราบ
และคณะกรรมการพัฒ นาท้อ งถิ่น ไม่ ประชุม เพื่ อ
รั บ ทราบภายในเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ เกณฑ์ ก ารให้
คะแนน เป็น 0
3. เป็นการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 ตุ ล าคม 2562 ถึ ง วั น ที่ 30
กัน ยายน 2563 แต่การติดตามและประเมินผล
แผนพัฒนาท้องถิ่นดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน
เดือนธันวาคม จึงต้องตรวจถึงวันที่ 31 ธันวาคม
2563 ที่ได้ดาเนินการจริง
4. กรณีไม่มีเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น ให้ยึดถือการติดประกาศ ณ ที่เปิดเผยเป็น
หลั ก (กรณี มี เ ว็ บ ไซต์ แต่ ใ ช้ ง านไม่ ไ ด้ ให้ ถื อ ว่ า มี
เว็บไซต์)
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 4) (ITA)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 14


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
5 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 5. องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด น า
1. รายงานการประชุมคณะกรรมการประสานแผนพัฒนา โครงการพัฒนาในแผนพัฒนาท้องถิ่น
ท้องถิ่นในระดับอาเภอ (พ.ศ. 2561-2565) ที่ ไ ด้ ผ่ า น
2. รายงานการประชุมคณะกรรมการประสานแผนพัฒนา กระบวนการประสานแผนพั ฒ นา
ท้องถิ่นในระดับจังหวัด ท้องถิ่นระดับอาเภอ/ระดับจังหวัด มา
3. แผนพัฒนาท้องถิ่น (2561-2565) ด าเนิ น การโดยใช้ เ งิ น งบประมาณ
4. ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจาปีหรือเพิ่มเติม รายจ่ า ยประจ าปี / เพิ่ ม เติ ม หรือเงิ น
5. การใช้เงินสะสม/เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ นอกงบประมาณ ในปี ง บประมาณ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง พ.ศ. 2563
1. พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย
อ านาจให้ แ ก่ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น พ.ศ. 2542 เกณฑ์การให้คะแนน:
มาตรา 17 (1) 1. มากกว่าร้อยละ 80.00 ขึ้นไป 5
2. หนั ง สื อ ด่ ว นที่ สุ ด ที่ มท 0810.2/ว 0600 2. ร้อยละ 70.00-79.00 3
ลงวันที่ 29 มกราคม 2559 3. ร้อยละ 60.00-69.00 1
3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0810.3/ว 4. น้อยกว่าร้อยละ 60.00 0
5797 ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2559
4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0810.3 /
ว 6247 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2560
5. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0810.3 /
ว 0357 ลงวันที่ 19 มกราคม 2561
6. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0810.3/ว
2931 ลงวันที่ 15 พฤษภาคม 2562
คาอธิบาย:
1. กรณี วั ส ดุ / ครุ ภั ณ ฑ์ ที่ น าไปด าเนิ น การจั ด ท าบริ ก าร
สาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ แต่มิได้เขียนเป็นโครงการ
ให้นับ เป็ น 1 โครงการหรือ 1 กิจกรรม หรือ 1 รายการ
แล้วให้คะแนนตามเกณฑ์การให้คะแนนที่กาหนดไว้
2. โครงการที่ ด าเนิ น การนั้ น ให้ นั บ เฉพาะที่ ไ ด้ ป ระสาน
แผนพัฒนาท้องถิ่นในระดั บอาเภอและจัง หวั ด โดยน ามา
เปรียบเทียบอัตราส่วนกับโครงการที่ปรากฏในแผนพัฒนา
ท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนจังหวัด
3. โครงการที่ ป รากฏในข้ อ บั ญ ญั ติ ง บประมาณรายจ่ า ย
ประจาปีหรือเพิ่มเติม การใช้เงินสะสม/เงินอุดหนุนเฉพาะ
กิจ จะต้องดาเนินการจริง และมีการเบิกจ่ายงบประมาณ
เรียบร้อยแล้ว
ประเมินเฉพาะองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 5)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 15


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
6 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 6. องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น มี ก ารน า
1. แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561-2565) ที่แสดงถึง ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-
ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2580) มาเป็น กรอบในการจัดท าแผน
2. โครงการ/กิ จ กรรมในข้อบั ญ ญั ติ หรือเทศบั ญ ญั ติ พั ฒ นาท้ อ งถิ่ น และข้ อ บั ญ ญั ติ ห รื อ เทศ
งบประมาณรายจ่ายที่แสดงให้เห็นถึงความสอดคล้อง บั ญ ญั ติ ง บประมาณรายจ่ า ยประจ าปี
กับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี งบประมาณ พ.ศ. 2563
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง
1. รัฐธรรมนู ญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 เกณฑ์การให้คะแนน:
มาตรา 65 1. มี โ ครงการ/กิจ กรรม ตามแผนพั ฒ นา 5
2. พระราชบั ญ ญั ติ ก ารจั ด ท ายุ ท ธศาสตร์ ช าติ พ.ศ. ท้ อ งถิ่ น และข้ อ บั ญ ญั ติ ห รื อ เทศบั ญ ญั ติ
2560 มาตรา 5 งบประมาณรายจ่ า ยที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง
3. พระราชบั ญ ญั ติ ระเบี ย บบริหารราชการแผ่ น ดิ น ความสั ม พั น ธ์ กั บ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ 4 - 6
พ.ศ. 2534 มาตรา 53/1 ยุทธศาสตร์
4. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและ 2. มีโครงการ/กิจกรรม ตามแผนพัฒนา 3
กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 มาตรา 19 ท้ อ งถิ่ น และข้ อ บั ญ ญั ติ ห รื อ เทศบั ญ ญั ติ
5. หนั ง สื อ กระทรวงมหาดไทย ด่ ว นที่ สุ ด ที่ มท งบประมาณรายจ่ า ยที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง
0810.3/ว 5797 ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2559 ความสั ม พั น ธ์ กั บ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ 2 - 3
6. หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ มท 0810.3/ว 2931 ลง ยุทธศาสตร์
วันที่ 15 พฤษภาคม 2562 3. มีโครงการ/กิจกรรม ตามแผนพัฒนา 1
7. หนั ง สื อ กระทรวงมหาดไทย ด่ ว นที่ สุ ด ที่ มท ท้ อ งถิ่ น และข้ อ บั ญ ญั ติ ห รื อ เทศบั ญ ญั ติ
0810.3/ว 2931 ลงวันที่ 15 พฤษภาคม 2562 งบประมาณรายจ่ า ยที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง
คาอธิบาย: ความสั ม พั น ธ์ กั บ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ 1
1. กรณีวัสดุ/ครุภัณฑ์ ที่นาไปดาเนินการจัดทาบริการ ยุทธศาสตร์
สาธารณะและกิจ กรรมสาธารณะ แต่ มิไ ด้ เขีย นเป็ น 4. ไม่มีโครงการ/กิจกรรม ตามแผนพัฒนา 0
โครงการให้ นั บ เป็ น 1 โครงการ หรือ 1 กิ จ กรรม ท้ อ งถิ่ น และข้ อ บั ญ ญั ติ ห รื อ เทศบั ญ ญั ติ
หรื อ 1 รายการ แล้ ว ให้ ค ะแนนตามเกณฑ์ ก ารให้ งบประมาณรายจ่ า ยที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง
คะแนนที่กาหนดไว้ ความสัมพันธ์กับยุทธศาสตร์ชาติ
2. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประกอบไปด้วย 6 ยุทธ
ศาสตร์สาคัญ ได้แก่ (1) ยุ ทธศาสตร์ช าติ ด้า นความ
มั่นคง (2) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถ
ในการแข่งขัน (3) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและ
เสริมสร้างศักยภาพคน (4) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการ
สร้ า งโอกาส ความเสมอภาคและเท่ า เที ย มกั น ทาง
สังคม (5) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบน
คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ เป็ น มิ ต รต่ อสิ่ ง แวดล้ อม และ (6)
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ
การบริหารจัดการภาครัฐ
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ (2563 KPI: 6)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 16


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
หน่วยที่ 2 การจัดทาฐานข้อมูล ตัวชี้วัดที่ 7 จานวน 1 ตัวชี้วัด จานวน 5 คะแนน
เป้าหมาย: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทาฐานข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ครบถ้วน
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
7 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 7. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบันทึกข้อมูล
มีการบั นทึกข้อมูลในระบบข้อมูลกลางองค์กร ที่สาคัญได้ตามกรอบระยะเวลา
ปกครองส่วนท้องถิ่น (INFO) ระบบใหม่ได้อย่าง
ถูกต้อง ครบทุกด้านเป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง เกณฑ์การให้คะแนน:
และผ่ า นการรั บ รองความถู ก ต้ อ งจากองค์ ก ร 1. บันทึกข้อมูลครบทุกด้านได้อย่างถูกต้อง 5
ปกครองส่วนท้องถิ่น และสานักงานส่งเสริมการ เป็นปั จจุบัน นับถึ งวันตรวจ และผ่ านการ
ปกครองท้องถิ่นจังหวัดเรียบร้อยแล้ว รับรองจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง ระดั บ จั ง หวั ด (ส านั ก งานส่ ง เสริ ม การ
1. พระราชกฤษฎี ก าว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ แ ละ ปกครองท้องถิ่นจังหวัด)
วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 2. บันทึกข้อมูลครบทุกด้านได้อย่างถูกต้อง 3
และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 เป็นปัจจุบัน และผ่านการรับรองจากองค์กร
2 . ห นั ง สื อ ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย ที่ ม ท ปกครองส่วนท้องถิ่น
0892.4/ว 435 ลงวั น ที่ 11 กุ ม ภาพั น ธ์ 3. บันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน และไม่ผ่านการ 1
2548 รับรองจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คาอธิบาย: 4. ไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ทั้ง 8 ด้าน 0
การบันทึกข้อมูลทั้ง 8 ด้าน ได้แก่ ด้านที่ 1
สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม 2 นวัตกรรมและ
การศึกษา 3 สาธารณภัย 4 โครงสร้างพื้นฐาน
5 บริหารจัดการน้า 6 การจัดการภายในและ
ธรรมาภิบาล 7 สังคม ศาสนาและวัฒนธรรม
และ 8 เศรษฐกิจและแหล่งท่องเที่ยว
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 7/ปรับปรุงใหม่ให้เป็นปัจจุบัน)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 17


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
หน่วยที่ 3 การจัดการข้อร้องทุกข์/ร้องเรียน ตัวชี้วัดที่ 8 - 9 จานวน 2 ตัวชี้วัด จานวน 10 คะแนน
เป้าหมาย: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีศักยภาพในการจัดการข้อร้องทุกข์/ร้องเรียนที่เกี่ยวข้องได้อย่างรวดเร็ว
ทันต่อสถานการณ์และความคาดหวังของสังคมและประชาชนในท้องถิ่น
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
8 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 8. ร้อยละของข้อร้องทุกข์/ร้องเรียนต่อ
1. มีการมอบหมายสานัก/กอง/ฝ่าย/เจ้าหน้าที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ดาเนินการ
รับผิดชอบ และมีคาสั่งแต่งตั้ง สาเร็จลุล่วง
2. ทะเบียนรับเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน เกณฑ์การให้คะแนน:
3. หลักฐานการรายงานผลให้ทราบภายใน 15 วัน 1. จัดทาบัญชีรับเรื่องราวร้องทุกข์/ร้องเรียน 5
4. มีการเผยแพร่ในเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครอง และดาเนินการแก้ไขปัญหา หรือแจ้งผลความ
ส่วนท้องถิ่น คืบหน้ าให้ ประชาชนทราบทุ กเรื่อง ภายใน
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง 15 วัน ร้อยละ100 ของจานวนเรื่องราวร้อง
1. พระราชกฤษฎีกาว่าด้ว ยหลั กเกณฑ์และวิธีการ ทุกข์ที่ปรากฏในบัญชี หรือ ไม่มีข้อร้องทุกข์/
บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และที่แก้ไข ร้องเรียน 3
เพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 2. จั ด ท าบั ญ ชี รั บ เรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ /
2. หนั ง สื อ กระทรวงมหาดไทย ด่ ว นที่ สุ ด ร้อ งเรี ย น และด าเนิ น การแก้ ไ ขปั ญ หา
ที่ มท 0804.2/10392 ลงวั น ที่ 16 ตุ ล าคม หรือแจ้งผลความคื บหน้ าให้ ประชาชน
2550 (มาปรับใช้โดยอนุโลม) ทราบ ภายใน 15 วัน อย่างน้อยร้อยละ
3. คู่มือหนังสือสั่งการเกี่ยวกับการดาเนินการ เรื่อง 80.00 ของจานวนเรื่องราวร้องทุกข์/
ร้องทุกข์/ร้องเรียน และขอความเป็นธรรมของกอง ร้องเรียนที่ปรากฏในบัญชี
กฎหมายและระเบี ย บท้ อ งถิ่ น กรมส่ ง เสริ ม การ 3. จั ด ท าบั ญ ชี รั บ เรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ / 1
ปกครองท้ อ งถิ่ น ผลิ ต เมื่ อ เดื อ นมี น าคม 2562 ร้ อ งเรี ย นและด าเนิ น การแก้ ไ ขปั ญ หา
(มาปรับใช้โดยอนุโลม) หรือแจ้งผลความคื บหน้ าให้ ประชาชน
4. ประกาศคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กร ทราบ ภายใน 15 วัน อย่างน้อยร้อยละ
ปกครองส่วนท้องถิ่น เรื่อง แนวทางในการจัดบริการรับ 50.00 ของจานวนเรื่องราวร้องทุกข์/
เรื่องราวร้องทุกข์ของประชาชนในการให้บริการสาธารณะ ร้องเรียนที่ปรากฏในบัญชี
ขององค์การบริ หารส่ วนจั งหวัด เทศบาล และองค์การ 4. จัดทาบัญชีรับเรื่องราวร้องทุกข์/ร้องเรียน 0
บริหารส่วนตาบล ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558 และดาเนินการแก้ไขปัญหา หรือแจ้งผลความ
คาอธิบาย: คืบหน้า ให้ประชาชนทราบ ภายใน 15 วัน
1. การดาเนินการจัดการข้อร้องทุกข์/ร้องเรียนสาเร็จ ต่ากว่าร้อยละ 50.00 ของจานวน เรื่องราว
ลุล่วง หมายถึง มีการจัดทาบัญชีรับเรื่องราวร้องทุกข์/ ร้องทุกข์/ร้องเรียนที่ปรากฏในบัญชีหรือไม่
ร้องเรียน และดาเนินการแก้ไขปัญหา หรือแจ้งผลความ มีการดาเนินการใด ๆ
คืบหน้าให้ประชาชนทราบภายใน ๑๕ วัน

ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 8) (ITA)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 18


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
8 2. ข้อร้องเรียน แบ่งเป็นประเภท 2 ประเภท คือ (1) ข้อ
ร้ องเรี ยนทั่ วไป เช่ น เรื่ องราวร้ องทุ กข์ ทั่ วไปข้ อคิ ดเห็ น
ข้อเสนอแนะ คาชมเชย สอบถาม หรือร้องขอข้อมูลการ
ร้ องเรี ย นเกี่ ยวกั บ คุ ณภาพ และการให้ บริ การของ
หน่วยงาน (2) การร้องเรียนเกี่ยวกับความโปร่งใสของการ
จัดซื้อจัดจ้าง เป็นต้น
3. คาร้องเรียน เป็นคาหรือข้อความที่ผู้ร้องเรียนกรอกตาม
แบบฟอร์มที่ศูนย์รับเรื่องร้องทุกข์ /ร้องเรียน หรือระบบ
การรั บคาร้ องเรี ยนเอง มีแ หล่ ง ที่ส ามารถตอบสนอง
หรื อ มี ร ายละเอี ย ดอย่ า งชั ด เจนหรื อ มี นั ย ส าคั ญ ที่
เชื่อถือได้
4. กรณี ร้ องทุ กข์ /ร้ องเรี ยน ผ่ านผู้ ก ากั บดู แล หรื อ
สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด/สานักงาน
ส่ งเสริ มการปกครองท้ องถิ่ นอ าเภอให้ นั บเป็ นข้ อร้ อง
ทุกข์/ร้องเรียนด้วย

ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 8) (ITA)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 19


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
9 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 9. ร้อยละของข้อร้ องทุกข์ /ร้อ งเรียนที่ม า
1. มีการมอบหมายสานัก/กอง/ฝ่าย/เจ้าหน้าที่ จากศูนย์ดารงธรรมที่ดาเนินการสาเร็จลุล่วง
รับผิดชอบ และมีคาสั่งแต่งตั้ง
2. ทะเบียนรับเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน เกณฑ์การให้คะแนน:
3. หลักฐานการรายงานผลให้ทราบภายใน 15 วัน 1. จัดทาบัญชีรับเรื่องราวร้องทุกข์/ร้องเรียน 5
4. ข้อมูลศูนย์ดารงธรรมอาเภอหรือจังหวัด และดาเนินการแก้ไขปั ญหา หรือแจ้งผลความ
5. มีการเผยแพร่ในเว็บไซต์หลักขององค์กร คืบหน้าให้ประชาชนทราบทุกเรื่อง ภายใน 15
ปกครองส่วนท้องถิ่น วัน ร้อยละ 100 ของจานวนเรื่องราวร้องทุกที่
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง ปรากฏในบัญชี หรือไม่มีข้อร้องทุกข์/ร้องเรียน
1. พระราชกฤษฎี ก าว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ แ ละ 2. จั ด ท าบั ญ ชี รั บ เรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ และ 3
วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ด าเนิ นการแก้ ไขปั ญหา หรื อแจ้ งผลความ
และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 คื บหน้ าให้ ประชาชนทราบ ภายใน 15 วั น
2. หนั งสื อกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่ สุ ด ที่ มท อย่างน้อยร้อยละ 80.00 ของจานวนเรื่องราว
0804.2/10392 ลงวันที่ 16 ตุลาคม 2550 (มา ร้องทุกข์ที่ปรากฏในบัญชี
ปรับใช้โดยอนุโลม) 3. จั ด ท าบั ญ ชี รั บ เรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ และ 1
3. คู่มือหนังสือสั่งการเกี่ยวกับการดาเนินการ ดาเนิ นการแก้ไ ขปัญ หา หรือแจ้งผลความ
เรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน และขอความเป็นธรรม คืบหน้าให้ประชาชนทราบ ภายใน 15 วัน
ของกองกฎหมายและระเบี ย บท้ อ งถิ่ น กรม อย่ า งน้ อ ยร้ อ ยละ 50.00 ของจ านวน
ส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น ผลิ ต เมื่ อ เดื อ น เรื่องราวร้องทุกข์ที่ปรากฏในบัญชี
มีนาคม 2562 (มาปรับใช้โดยอนุโลม) 4. จั ด ท าบั ญ ชี รั บ เรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ และ 0
คาอธิบาย: ด าเนิ นการแก้ ไขปั ญหา หรื อแจ้ งผลความ
1. การดาเนินการจัดการข้อร้องทุกข์/ร้องเรียน คืบหน้าให้ประชาชนทราบ ภายใน 15 วัน
ส าเร็ จ ลุ ล่ ว ง หมายถึ ง มี ก ารจั ด ท าบั ญ ชี รั บ ต่ากว่าร้อยละ 50.00 ของจานวนเรื่องราว
เรื่ อ งราวร้ องทุ ก ข์ / ร้ อ งเรี ย น และด าเนิ น การ ร้ อ งทุ ก ข์ ที่ ป รากฏในบั ญ ชี หรื อ ไม่ มี ก าร
แก้ ไ ขปั ญ หา หรื อ แจ้ ง ผลความคื บ หน้ า ให้ ดาเนินการใด ๆ
ประชาชนทราบภายใน ๑๕ วัน
2. กรณีไม่มีข้อร้องทุกข์/ร้องเรียนจากศูนย์ดารง
ธรรม ให้ได้ 5 คะแนน
3. ดูคาอธิบายประกอบในข้อ 8
หมายเหตุ: ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้

ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 9) (ITA)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 20


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
หน่วยที่ 4 การบริการประชาชน ตัวชี้วัดที่ 10 - 12 จานวน 3 ตัวชี้วัด จานวน 15 คะแนน
เป้าหมาย: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดให้มีการบริการประชาชนที่เข้ามารับบริการในหน่วยงาน ได้อย่างมี
มาตรฐาน เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีในการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทาให้ประชาชนผู้รับบริการในแต่
ละพื้นที่สามารถได้รับการบริการจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในมาตรฐานเดียวกันอย่างมีประสิทธิภาพและเป็น
ระบบมากยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
10 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 10. การอานวยความสะดวกในการบริการ
1. การจัดสถานที่ หรือสิ่งอานวยความสะดวก ประชาชนเพื่อมุ่งสู่ประโยชน์สุขของประชาชน
ตามหัวข้อเกณฑ์การประเมินด้วยข้อเท็จจริงที่ ผู้ รั บ บริ ก ารและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพอย่ า งเป็ น
เกิ ด ขึ้ น และสามารถพิ สู จ น์ ไ ด้ ใ นระดั บ หนึ่ ง ระบบ
(เป็นที่ยอมรับได้) มีการดาเนินการ ดังนี้
2. แบบคาร้ อง คาสั่งให้ เจ้าหน้าที่บริการ 1. มีเก้าอี้รองรับประชาชนผู้รับบริการอย่าง
ล่ ว งเวลา/พั ก เที่ ย ง หรื อ วั น หยุ ด ราชการ เพียงพอ
หลักฐานการใช้บริการในช่วงเวลาดังกล่าว 2. มีป้าย/สัญลักษณ์บอกทิศทางหรือตาแหน่ง
3. ตรวจสอบสัญญาณ Wi-Fi ขององค์กร ในการเข้าถึงจุดให้บริการได้อย่างสะดวก และ
ปกครองส่วนท้องถิ่น มีการจัดมุมอินเตอร์เน็ต ชัดเจน รวมทั้งที่ตั้งของจุดให้บริการ
4. เอกสารประเมินความพึงพอใจ ฯลฯ 3. มี ก ารออกแบบผั ง งานและระบบการ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง ให้ บ ริ ก ารระหว่ า ง “จุ ด ก่ อ นเข้ า สู่ บ ริ ก าร”
1. มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเท้า และ “จุดให้บริการ” ที่อานวยความสะดวก
2. มาตรฐานการควบคุมอาคาร ทั้งสาหรับเจ้าหน้าที่และประชาชน
3. มาตรฐานการพัฒนาและสงเคราะห์ผู้พิการ 4. มี ก ารจั ด ให้ มี ร ะบบคิ ว เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารได้
4. มาตรฐานการดาเนินงานด้านผู้สูงอายุ อย่ า งเ ป็ น ธ ร ร ม ห รื อใ ช้ แอ พ พ ลิ เ ค ชั่ น
5. การบริ ก ารประชาชนตามอ านาจและ (Application) หรือให้บริการอินเตอร์เน็ต
หน้ าที่ขององค์กรปกครองส่ ว นท้อ งถิ่นที่ทุ ก หรือ Wi-Fi
กฎหมาย/ระเบียบได้กาหนดไว้ 5. มีจุดแรกรับในการช่วยอานวยความสะดวก
6. หนั งสือกรมส่ งเสริมการปกครองท้องถิ่น ต่าง ๆ เช่น คัดกรองผู้ให้บริการ ให้คาแนะนา
ที่ มท 0892. 4/ว 627 ลงวั น ที่ 20 ในการขอรับบริการหรือช่ว ยเตรียมเอกสาร
เมษายน 2549 พร้อมแบบคาร้องพร้อมทั้งตัวอย่างการกรอก
คาอธิบาย: ข้อมูล
ในการตรวจสอบให้ เ ป็ น ไปตามเกณฑ์ ก าร 6. มีการให้บริการนอกเวลาราชการ หรือตาม
ประเมิน ตรวจสอบเชิงประจักษ์ พิสูจน์ได้ว่ามี เวลาที่สอดคล้องกับผลสารวจความต้องการ
การดาเนินการจริงในห้วงระยะเวลาที่ผ่านมา ของผู้รับบริการในพื้นที่(มีบริการล่วงเวลา/พัก
อาจเกิ ด จากการค้ น หาร่ อ งรอยที่ เ กิ ด ขึ้ น เที่ยง หรือวันหยุดราชการ)
มาแล้ว หรือสุ่มสอบถามจากประชาชนผู้มารับ 7. มี จุ ด บริ ก ารน้ าดื่ ม สะอาดเพื่ อ บริ ก าร
บริการ อย่างน้อย 4 คน ประชาชนรองรั บ บริ ก ารประชาชนอย่ า ง
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่สามารถ เพียงพอ
ตัดฐานการประเมินได้

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 21


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
10 ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่ 8. มี ก ารออกแบบสถานที่ ค านึ ง ถึ ง ผู้ พิ ก าร
สามารถตัดฐานการประเมินได้ สตรีมีครรภ์ และผู้สูงอายุ
(2563 KPI: 10/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน/ปรับ 9. ในจุดที่สาคัญอันตรายมีการออกแบบหรือให้
ปรุงตามสถานการณ์ COVID-19)
สามารถมองเห็ น ได้ ชั ด เจนตามหลั ก สากล
ทั้ ง ข ณ ะ ยื น ห รื อ ร ถ ล้ อ เ ลื่ อ น ห รื อ มี ข น า ด
และพื้นที่ใช้งานสะดวกต่อการเอื้อมจับ
10. มีการจัดให้มีแสงสว่างอย่างเพียงพอ ณ จุด
รับบริการและภายในสานักงาน หรือที่ทาการ
11. มี จุ ด ประเมิ น ผลความพึ ง พอใจ ณ จุ ด ให้
บริการในรูปแบบที่ง่ายและสะดวกต่อผู้ให้บริการ
โ ด ย ค า นึ ง ถึ ง ผ ล ส ะ ท้ อ น ก ลั บ (Citizen
Feedback)
เกณฑ์การให้คะแนน:
1. ดาเนินการ 10-11 ข้อ 5
2. ดาเนินการ 8-9 ข้อ 3
3. ดาเนินการ 7 ข้อ 1
4. ดาเนินการน้อยกว่า 7 ข้อ 0

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 22


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
11 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 11. ช่ อ งทางการสื่ อ สารที่ ห ลากหลายเพื่ อ
1. คู่มือสาหรับประชาชนที่องค์กรปกครองส่วน อานวยความสะดวกให้แก่ประชาชนที่จะติดต่อ
ท้องถิ่นจัดทาขึ้น สอบถามหรือขอข้อมูล หรือแสดงความคิดเห็น
2. ตรวจสอบสัญญาณ Wi-Fi ขององค์กรปกครอง เกี่ยวกับการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วน
ส่วนท้องถิ่นมีการจัดมุมอินเตอร์เน็ต ท้องถิ่น
3. เอกสารประเมินความพึงพอใจ มีการดาเนินการ ดังนี้
4. ตรวจสอบการให้บริการช่องทางลงในเว็บไซต์ 1. มี ก ารจั ด ท าและเผยแพร่ คู่ มื อ ส าหรั บ
ห ลั ก ข อ ง อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น / ประชาชนครบถ้วน ทุกกระบวนงานให้บริการที่
Facebook/Line เป็นปัจจุบัน และเผยแพร่บนเว็บไซต์หลักของ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. พระราชบัญญัติการอานวยความสะดวกในการ 2. มีกล่อง/ตู้รับฟังความคิดเห็น อย่างน้อยสาม
พิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 จุด ในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่
2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ ไม่ซ้ากับจุดที่ตั้ง (ชุมชน/หมู่บ้าน) หรือมีตู้ ปณ.
บริหารกิจ การบ้ า นเมืองที่ ดี พ.ศ. 2546 และที่ ขององค์กรปกครองส่ ว นท้ องถิ่น และสรุป ผล
แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ข้อมูลที่ได้ให้ผู้บริหารท้องถิ่นทราบ
3. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ที่ มท 3. มีการประชุมรับฟังความคิดเห็น หรือการ
0892.4/ว 351 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2558 ประชาคมท้องถิ่น และนาข้อมูลจากการรับฟัง
4. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วน ความคิดเห็นมาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความ
ที่ สุ ด ที่ มท 0892.4/ว 1693 ลงวั น ที่ 13 ต้องการของประชาชน และแสดงผลการ
สิงหาคม 2558 ดาเนินการดังกล่าวให้สาธารณชนรับทราบทาง
5. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วน เว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ม า ก ที่ ม ท 0 8 1 2 / ว 4 5 1 ล ง วั น ที่ 2 8 4. เว็ บ ไซต์ หลั กขององค์ก รปกครองส่ ว น
กุมภาพันธ์ 2560 ท้องถิ่น/ Facebook/Line
5. หนั งสื อกรมส่ งเสริ มการปกครองท้ องถิ่ น ที่ มท 5. โทรศัพท์สายด่วนหรือสายตรงถึงผู้บริหาร
0892.4/ว 627 ลงวันที่ 20 เมษายน 2549 ท้องถิ่น
คาอธิบาย: 6. มีการจัดตั้งศูนย์บริการร่วมหรือดาเนินการ
1. โทรศัพท์สายด่วน เช่น 1669 เป็นต้น หรือสาย อย่างอื่น นอกเหนือจากข้อ 1-5 (โปรดระบุ)
ตรงถึงผู้บริหารท้องถิ่น อาจเป็นโทรศัพท์มือถือถึง เกณฑ์การให้คะแนน:
ผู้บริหารท้องถิ่นโดยตรง เป็นต้น (ระบุให้ชัดเจนว่า 1. ดาเนินการ 5 - 6 ข้อ 5
โทรศั พ ท์ ส ายด่ ว นนั้ น คื อ หมายเลขใด หรื อ 2. ดาเนินการ 3 - 4 ข้อ 3
ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ทราบ) 3. ดาเนินการ 2 ข้อ 1
2. การเผยแพร่ หมายถึง การเผยแพร่ที่ เป็ น 4. ดาเนินการ 1 ข้อ หรือไม่มีการดาเนินการ 0
รูปแบบเอกสาร ติดประกาศที่สานักงาน/ที่ทาการ
หรือเผยแพร่ทางเว็บไซต์ขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 11/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน/ปรับปรุงให้
สอดคล้องกับการพัฒนาท้องถิ่น) (ITA)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 23


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
12 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 12. การประเมิ น ความพึ ง พอใจของ
1. หลักฐานแบบประเมินความพึงพอใจ ประชาชน ณ จุดบริการขององค์กรปก
2. รายงานผลการประเมินความพึงพอใจที่ประ ครองส่วนท้องถิ่น (Citizen Feedback)
มวลผลเสนอผู้บริหารท้องถิ่น มีการดาเนินการ ดังนี้
3. เอกสารหรื อ รายการหรื อ วั ส ดุ ห รือ ครุ ภั ณ ฑ์ ที่ 1. มีการประเมินผลความพึงพอใจของ
แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง การให้ ค ะแนนและแสดงความ ประชาชน ณ จุดบริการ
คิดเห็นของประชาชน เพื่อให้มีการปรับปรุงบริการ 2. มี ก ารให้ ค ะแนนและแสดงความ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คิ ด เห็ น ของประชาชน เพื่ อ ให้ มี ก าร
4. มี และใช้อุป กรณ์อ่ านบั ตรแบบอเนกประสงค์ ปรับปรุงบริการขององค์กรปกครองส่วน
(Smart Card Reader) ในการบริการประชาชน ท้องถิ่น
5. มี ก ารเผยแพร่ ใ นเว็ บ ไซต์ ห ลั ก ขององค์ ก ร 3. มี ก ารใช้ อุ ป กรณ์ อ่ า นบั ต รแบบ
ปกครองส่วนท้องถิ่น อเนกประสงค์ (Smart Card Reader)
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 1 กระบวนงาน
1. พระราชบัญญัติการอานวยความสะดวกในการ 4. มี ก ารแสดงผลการส ารวจความพึ ง
พิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558 พอใจของประชาชนผ่ า นทางเว็ บ ไซต์
2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บริ ห ารกิจ การบ้ า นเมื องที่ดี พ.ศ. 2546 และที่ 5. มีผ ลประเมิน ผลความพึงพอใจของ
แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70.00
3. หนังสือกรมส่ งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่ว น 6. มี ก ารประมวลผลเสนอผู้ บ ริ ห าร
ที่ สุ ด ที่ มท 0812/ว 1497 ลงวั น ที่ 22 ท้องถิ่นและประกาศให้ประชาชนทราบ
พฤษภาคม 2561 โดยเปิดเผย
4. หนังสือกรมส่ งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่ว น เกณฑ์การให้คะแนน:
ที่ สุ ด ที่ มท 0810.7/ว 2656 ลงวั น ที่ 28 1. ดาเนินการ 4-6 ข้อ 5
สิงหาคม 2561 2. ดาเนินการ 3 ข้อ 3
5. หนังสือกรมส่ งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่ว น 3. ดาเนินการ 2 ข้อ 1
ที่ สุ ด ที่ มท 0810.7/ว 4222 ลงวั น ที่ 26 4. ดาเนินการ 1 ข้อหรือไม่มีการ 0
ธันวาคม 2561 ดาเนินการ
คาอธิบาย:
มีการดาเนินการ ดังนี้
5. มีผลประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนไม่
น้อยกว่าร้อยละ 70.00 ให้นามาจาก 1.-4.
6. มีการประมวลผลเสนอผู้บริหารท้องถิ่นและประกาศ
ให้ประชาชนทราบโดยเปิดเผยให้นามาจาก 1.-5.
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 12/ปรับปรุงให้สอดคล้องกับ ITA) (ITA)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 24


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
หน่วยที่ 5 ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยง ตัวชี้วัดที่ 13 - 15 จานวน 3
ตัวชี้วัด จานวน 15 คะแนน
เป้าหมาย: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดวางระบบการควบคุมภายในที่ดี มีระบบการตรวจสอบภายในที่มี
ประสิทธิภาพ และมีการบริหารจัดการความเสี่ยงให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ เพื่อสร้างความโปร่งใส และ
การบริหารงานที่ดี
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
13 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 13. การแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการ
1. คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผล ควบคุม ภายใน และการจั ด ท ารายงาน ระดั บ
การควบคุมภายในระดับองค์กรปกครอง หน่ ว ยงานของรั ฐ ตามแบบ ปค. 1 แบบ ปค. 4
ส่วนท้องถิ่น แบบ ปค. 5 และแบบ ปค. 6
2. รายงานระดั บ องค์ ก รปกครองส่ ว น เกณฑ์การให้คะแนน:
ท้องถิ่น ตามแบบ ปค.1 แบบ ปค.4 แบบ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการควบคุม 5
ปค.5 และแบบ ปค.6 ภายในระดั บ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น
3. หนังสือนาส่งรายงานให้นายอาเภอ ดาเนินการตามแบบที่กาหนดครบถ้วน และจัดส่ง
หรือสานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ให้นายอาเภอ หรือสานักงานส่งเสริมการปกครอง
จังหวัด แล้วแต่กรณี ท้องถิ่นจังหวัด แล้วแต่กรณี ภายในระยะเวลาที่
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง กาหนด
1. พระราชบั ญญั ติวิ นั ย การเงิ นการคลั ง 2. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการควบคุม 3
ของรัฐ พ.ศ. 2561 มาตรา 79 ภายในระดั บ อง ค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น
2. หลั ก เกณฑ์ก ระทรวงการคลั ง ว่ า ด้ ว ย ดาเนินการตามแบบที่กาหนดครบถ้วน แต่จัดส่ง
มาตรฐานและหลั ก เกณฑ์ ป ฏิ บั ติ ก าร ให้นายอาเภอ หรือสานักงานส่งเสริมการปกครอง
ควบคุ ม ภายในส าหรั บ หน่ ว ยงานของรั ฐ ท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด แล้ ว แต่ ก รณี เกิ น ระยะเวลาที่
พ.ศ. 2561 กาหนด
คาอธิบาย: 3. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการควบคุม 1
1. แบบที่กาหนด ได้แก่ ภายในระดั บ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น
1.1 หนังสือรับรองการประเมินผลการ ด าเนิ น การตามแบบที่ ก าหนดครบถ้ ว น แต่ ไ ม่
ควบคุมภายใน (แบบ ปค.1) จัดส่ งให้นายอาเภอ หรือสานักงานส่งเสริมการ
1.2 รายงานการประเมินองค์ประกอบ ปกครองท้องถิ่นจังหวัด แล้วแต่กรณี
ของการควบคุมภายใน (แบบ ปค.4) 4. ไม่ ไ ด้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการประเมิ น ผลการ 0
1.3 รายงานการประเมินผลการควบคุม ควบคุมภายในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ภายใน (แบบ ปค.5) ไม่ ไ ด้ ด าเนิ น การหรื อ ด าเนิ น การตามแบบที่
1.4 รายงานการสอบทานการประเมินผล กาหนดไม่ครบถ้วน
การควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน (แบบ
ปค.6) (กรณีไม่มีผู้ตรวจสอบภายในหรือไม่ได้
มอบหมายให้ มี ผู้ ปฏิ บั ติ หน้ าที่ ผู้ ตรวจสอบ
ภายใน ไม่ต้องจัดทาแบบ ปค.6 แต่ให้ระบุใน
หนั งสื อน ารายงานให้ น ายอ าเภอหรื อ
สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 25


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
13 แล้ ว แต่ ก รณี หรื อ หมายเหตุ ไ ว้ ใ นแบบ ปค.1 ว่ า
“องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด /เทศบาล/องค์ ก าร
บริหารส่วนตาบล ไม่มีผู้ตรวจสอบภายในหรือไม่ได้
มอบหมายให้ มีผู้ ปฏิบั ติหน้าที่ผู้ ตรวจสอบภายในจึง
ไม่ได้จัดทาแบบ ปค.6”)
2. การจัดส่งรายงานภายในระยะเวลาที่กาหนด
2.1 กรณี องค์การบริหารส่วนตาบล/เทศบาล
ต าบล จั ด ส่ ง ให้ นายอ าเภอ เพื่ อให้ คณะกรรมการ
ประเมินผลการควบคุมภายในที่นายอาเภอจัดให้มีขึ้น
ดาเนิ น การรวบรวมและสรุ ป จั ด ทาเป็ น รายงาน
การประเมิ น ผลการควบคุ ม ภายในของ องค์ ก ร
ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ระดั บ อาเภอ ส่ ง ให้ สานักงาน
ส่ งเสริ มการปกครองท้ องถิ่นจั งหวั ดภายใน 90 วั น
นั บ แต่ วั น สิ้นปีงบประมาณ
2.2 กรณี เทศบาลเมือง/เทศบาลนคร/องค์การ
บริ ห ารส่ วนจั งหวั ด จั ดส่ งให้ ส านั กงานส่ งเสริ มการ
ปกครองท้ องถิ่นจั งหวั ด ภายใน 90 วั นนั บแต่วั นสิ้ น
ปีงบประมาณ
2.3 กรณีเมืองพัทยา ให้จัดส่งรายงานต่อ
กระทรวงการคลังโดยตรง ภายใน 90 วัน นับแต่วัน
สิ้นปีงบประมาณ

ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 13/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 26


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
14 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 1 4 . อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น มี
1. ข้ อ มู ล อั ต ราก าลั ง ต าแหน่ ง นั ก วิ ช าการ ผู้ ต รวจสอบภายในหรื อ มอบหมายให้ มี
ตรวจสอบภายใน (กรณีมีตาแหน่งนักวิชาการ ผู้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ผู้ ต รวจสอบภายในและ
ตรวจสอบภายใน) ป ฏิ บั ติ ง า น ต ร ว จ ส อ บ เ ป็ น ไ ป ต า ม ที่
2. ค าสั่ ง มอบหมายบุ ค ลากรต าแหน่ ง อื่ น หลักเกณฑ์ฯ กาหนด
ให้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจสอบภายใน (กรณีไม่มี
ตาแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน) เกณฑ์การให้คะแนน:
3. แผนการตรวจสอบภายในประจาปี 1. มี ผู้ ด ารงต าแหน่ ง นั ก วิ ช าการตรวจสอบ 5
4. รายงานผลการตรวจสอบ ภายในหรื อ มอบหมายให้ มี ผู้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง ผู้ตรวจสอบภายใน จัดทาแผนการตรวจสอบ
1. พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ ปฏิบัติงานตรวจสอบเป็นไปตามแผนที่ได้รับ
พ.ศ. 2561 มาตรา 79 อนุมัติ และรายงานผลการตรวจสอบครบถ้วน
2. หลั ก เกณฑ์ ก ระทรวงการคลั ง ว่ า ด้ ว ย ตามแผนฯ ภายในระยะเวลาที่กาหนด
มาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการตรวจสอบ 2. มี ผู้ ด ารงต าแหน่ ง นั ก วิ ช าการตรวจสอบ 3
ภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 ภายในหรื อ มอบหมายให้ มี ผู้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ผู้
และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ตรวจสอบภายใน จัดทาแผนการตรวจสอบ
คาอธิบาย: ปฏิบัติงานตรวจสอบเป็นไปตามแผนที่ได้รับ
1. จั ด ท าและเสนอแผนการตรวจสอบ อนุมัติ และรายงานผลการตรวจสอบครบถ้วน
ประจ าปี ต่ อ ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น เพื่ อ พิ จ ารณา ตามแผนฯ แต่เกินระยะเวลาที่กาหนด
อนุมัติภายในเดือนกันยายน 3. มี ผู้ ด ารงต าแหน่ ง นั ก วิ ช าการตรวจสอบ 1
2. จัดทาและเสนอรายงานผลการตรวจสอบ ภายในหรื อ มอบหมายให้ มี ผู้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่
ต่อ ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น ภายในเวลาอั น สมควร ผู้ตรวจสอบภายใน จัดทาแผนการตรวจสอบ
และไม่เกินสองเดือนนับจากวันที่ดาเนินการ และปฏิ บั ติ ง านตรวจสอบเป็ น ไปตามแผน
ตรวจสอบแล้วเสร็จ ที่ได้ รับอนุมัติ แต่ รายงานผลการตรวจสอบ
ไม่ครบถ้วนตามแผนฯ
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งนักวิชาการตรวจสอบ 0
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ ภายใน และไม่ ไ ด้ ม อบหมายให้ มี ผู้ ป ฏิ บั ติ
(2563 KPI: 14/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน) หน้าที่ผู้ตรวจสอบภายใน

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 27


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
15 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 15. การบริ หารจั ด การความเสี่ ย งระดั บ
1. ค าสั่ ง มอบหมายผู้ รั บ ผิ ด ชอบด าเนิ น การบริ ห าร หน่ ว ยงานของรั ฐ ตามมาตรฐานและ
จัดการความเสี่ยงระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกาหนด
2. แผนการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย ง ประจ าปี เกณฑ์การให้คะแนน:
งบประมาณ พ.ศ. 2563 1. มอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบการบริหาร 5
3. เอกสารหลั ก ฐานการติ ด ตามประเมิ น ผลและ จัด การความเสี่ ย ง จั ด ท าแผนการบริหาร
ทบทวนแผนการบริหารจัดการความเสี่ยง จัดการความเสี่ยง มีการติดตามประเมินผล
4.รายงานผลตามแผนการบริหารจัดการความเสี่ยง การบริหารจัดการความเสี่ยง จัดทารายงาน
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง ผลตามแผนการบริหารจัด การความเสี่ย ง
1. พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. และมีการทบทวนแผนการบริหารจั ดการ
2561 มาตรา 79 ความเสี่ยงเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
2. หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและ 2. มอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบการบริหาร 3
หลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการความเสี่ยงสาหรับ จัด การความเสี่ ย ง จั ด ท าแผนการบริหาร
หน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2562 จั ด การความเสี่ ย ง และรายงานผลตาม
คาอธิบาย: แผนการบริหารจัดการความเสี่ยง แต่ไม่ได้
1. ผู้รับผิดชอบการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย ติดตามประเมินผลการบริหารจัดการความ
ผู้บริหารทุกระดับขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ เสี่ ย ง และไม่ ไ ด้ ท บทวนแผนการบริ ห าร
บุ ค ลากรที่ มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การจั ด ท า จัดการความเสี่ยงเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
ยุ ท ธศาสตร์ แ ละการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งของ 3. มอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบการบริหาร 1
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จั ด การความเสี่ ย ง และจั ด ท าแผนการ
2. ผู้รับผิดชอบมีหน้าที่ 1) จัดทาแผนการบริหารจัดการ บริหารจัดการความเสี่ยง แต่ไม่ได้ติดตาม
ความเสี่ยง 2) ติดตามประเมินผลการบริหารจัดการความ ประเมิ น ผลการบริหารจั ด การความเสี่ ย ง
เสี่ยง 3) จัดทารายงานผลตามแผนการบริหารจัดการ ไม่ได้รายงานผลตามแผนการบริหารจัดการ
ความเสี่ยง และ 4) พิจารณาทบทวนแผนการบริหาร ความเสี่ ย งและไม่ ไ ด้ ท บทวนแผนการ
จัดการความเสี่ยง บริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อเสนอผู้บริหาร
3. ติดตามประเมินผลการบริหารจัดการความเสี่ยง ท้องถิ่น
โดยติ ดตามประเมิน ผลอย่างต่อเนื่องในระหว่า งการ 4. ไม่ได้มอบหมายผู้รับผิดชอบดาเนินการ 0
ปฏิบัติงานหรือติดตามประเมินผลเป็นรายครั้ง หรือใช้ บริหารจัดการความเสี่ยง หรือผู้รับผิดชอบ
ทั้งสองวิธีร่วมกัน ไม่ได้ด าเนิน การบริหารจัดการความเสี่ย ง
4. จัดทารายงานผลการบริหารจัดการความเสี่ยงเสนอให้ ตามที่หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังกาหนด
ผู้บริหารท้องถิ่น พิจารณาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ซึ่ง
ผู้บริหารท้องถิ่นสามารถกาหนดนโยบาย วิธีการ และ
ระยะเวลาการรายงาน
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(KPI: ใหม่)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 28


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
หน่วยที่ 6 การประเมินผลการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 16 - 18 จานวน 3 ตัวชี้วัด จานวน 15 คะแนน
เป้าหมาย: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการจัดทาข้อตกลงการปฏิบัติราชการ มีการวิเคราะห์และสรุปผลการประเมิน
ปฏิบัติราชการ มีการยกระดับผลคะแนนการประเมินประสิทธิภาพจนบังเกิด มีผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานราชการ
ท้องถิ่น นาไปสู่การบริหารงานที่เข้มแข็ง และมีความโปร่งใส
หน่วยย่อยที่ 1 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 16-17 จานวน 10 คะแนน
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
16 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 16. องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น
1. มี ห นั งสื อ/เอกสารเป็ น ข้อ ตกลงในการปฏิ บั ติ ดาเนินการจัดทาข้อตกลง ในการปฏิบัติ
ราชการที่ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน ราชการระหว่างส่วนราชการกับผู้บริหาร
2. มีรายงานผลการปฏิบัติราชการที่เป็นปัจจุบัน ท้องถิ่น
3. มีเอกสารการลงนามของผู้ อานวยการส านัก / มีการดาเนินการ ดังนี้
ก อ ง / ฝ่ า ย แ ล ะ ข้ า ร า ช ก า ร พ นั ก ง า น จ้ า ง 1. มี ก ารจั ด ท าข้ อ ตกลงครบทุ ก ส่ ว น
ลูกจ้างประจา ได้ลงนามทราบทุกคน ราชการ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง 2. มีการปฏิบัติตามข้อตกลงครบทุกส่วน
1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ราชการ
และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 3. มีการจัดทาและรายงานผลการปฏิบัติ
มาตรา 3/1 ราชการ
2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ 4. มีการลงนามครบถูกต้อง และมีข้าราชการ
บริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื องที่ ดี พ.ศ. 2546 และที่ พนักงานจ้าง ลูกจ้างประจา ได้ลงนามทราบ
แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ทุกคน
3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0892.4/ว
435 ลงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2548 เกณฑ์การให้คะแนน:
คาอธิบาย: 1. ดาเนินการครบ 4 ข้อ 5
ตรวจสอบหลั ก ฐานที่ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า ผลการ 2. ดาเนินการ 3 ข้อ 3
ดาเนิ น งานของส่ ว นราชการเป็ นไปตามข้อตกลง 3. ดาเนินการ 1 – 2 ข้อ 1
การปฏิบัติราชการหรือไม่ โดยอาจนาข้อตกลงการ 4. ไม่มีการดาเนินการ 0
ปฏิ บั ติ ร าชการมาเปรี ย บเที ย บกั บ ผลการปฏิ บั ติ
ราชการประจาปี

ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 15)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 29


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
17 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 17. มีการวิเคราะห์และสรุปผลการประเมินผล
1. คาสั่ ง/ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการ การปฏิ บั ติ ร าชการขององค์ ก รปกครองส่ ว น
ประเมิ น ผลฯ ที่ มี ผู้ แ ทนชุ ม ชน องค์ ก ร ท้ อ งถิ่ น และเข้ า ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ
ภาคประชาชน ภาคเอกชน ร่วมเป็นกรรมการ ประเมินผลตามหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหาร
ที่เป็นปัจจุบัน กิจ การบ้ านเมือ งที่ ดีข ององค์ กรปกครองส่ ว น
2. รายงานการประชุ ม คณะกรรมการ ท้องถิ่นซึ่งมีบุคคลภายนอกร่วมเป็นกรรมการ
ประเมินผลฯ มีการดาเนินการ ดังนี้
3. รายงานผลการประเมิ น ผลและเสนอ 1. แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการประเมิ น ผลตาม
แนวทางการแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงาน หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมือง
ให้ครบทั้ง 4 ด้าน ที่ดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
4. ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาผลการประเมิน 2. จัดประชุมคณะกรรมการฯเพื่อพิจารณาผล
และสั่ ง การเสนอแนวทางการแก้ ไ ขและ การประเมินผลการปฏิบัติราชการให้ครบถ้วน
พัฒนาการปฏิบัติงาน ทั้ง 4 ด้าน เกี่ยวกับ (1) ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง (2) คุ ณภาพของบริ ก าร (3) ความคุ้ ม ค่า ของ
1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ ภารกิจ และ (4) ความพึงพอใจของประชาชน
แผ่นดิน และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 5) 3. มีการจัดทารายงานสรุปผลการประเมิน
พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 4. เสนอผู้บริหารเพื่อพิจารณาสั่งการ
2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ
วิ ธี ก ารบริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี พ.ศ. เกณฑ์การให้คะแนน:
2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) 1. ดาเนินการครบ 4 ข้อ 5
พ.ศ. 2562 2. ดาเนินการ 3 ข้อ 3
3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0892.4/ 3. ดาเนินการ 2 ข้อ 1
ว 435 ลงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2548 4. ดาเนินการ 1 ข้อ หรือไม่มีการแต่งตั้ง 0
คาอธิบาย: คณะกรรมการฯ
คณะกรรมการประเมิน ผลตามหลั กเกณฑ์
และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีของ
องค์กรปกครองส่ ว นท้องถิ่น มีการประชุม
อย่ า งน้ อ ยปี ล ะ 2 ครั้ ง แล้ ว เสนอผลการ
ประเมิ น ให้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น
ทราบ เพื่ อ ด าเนิ น การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข
ส่ ง เ ส ริ ม พั ฒ น า ข ย า ย ห รื อ ยุ ติ ก า ร
ดาเนินการ
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 16)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 30


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
หน่วยย่อยที่ 2 ผลคะแนนการประเมินประสิทธิภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA) ตัวชี้วัดที่ 18 จานวน 5 คะแนน
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
18 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 18. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีผลคะแนน
ผลคะแนนการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครอง LPA โดยรวมเพิ่มขึ้นจากปีที่ผา่ นมา
ส่วนท้องถิ่น(LPA) ปี 2562 เทียบกับปี 2563
สูตรคานวณ เกณฑ์การให้คะแนน:
ใช้คะแนนเฉลี่ยปี 2563 - คะแนนเฉลี่ยปี 2562 1. เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.00 ขึ้นไป 5
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง หรือมีคะแนน LPA ด้านที่ 1 - 5 ที่ระดับ
1. พระราชกฤษฎี ก าว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก าร ร้อยละ 90.00 ขึ้นไป
บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และที่ แก้ไข 2. เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.00 – 4.99 3
เพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 หรือมีคะแนน LPA ด้านที่ 1 - 5 ที่ระดับ
2. หนั งสื อกรมส่ ง เสริม การปกครองท้องถิ่น ที่ มท ร้อยละ 80.00 ขึ้นไป
0810.7/ว 2272 ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2562 3. เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.๐0 – 2.99 1
คาอธิบาย : หรือมีคะแนน LPA ด้านที่ 1 - 5 ที่ระดับ
1. คะแนนเฉลี่ย หมายถึง คะแนนเฉลี่ยของด้านที่ 1-55 ร้อยละ 70.00 ขึ้นไป
2. กรณีคะแนนไม่เพิ่มขึ้น แต่ในปีที่ผ่านมาได้คะแนนร้อยละ 4. ต่ากว่าร้อยละ 1.00 0
90.00 หรือมากกว่า และปีงบประมาณที่ตรวจประเมินได้ หรือคะแนน LPA ด้านที่ 1 – 5 ต่ากว่าที่
ร้อยละ 90.00 ให้ได้ 5 คะแนน ระดับร้อยละ 70.00
3. กรณีคะแนนไม่เพิ่มขึ้น แต่ในปีที่ผ่านมาได้คะแนนร้อยละ
80.00 หรือมากกว่า และปีงบประมาณตรวจประเมินได้
ร้อยละ 80.00 ให้ได้ 3 คะแนน
4. กรณีคะแนนไม่เพิ่มขึ้น แต่ในปีที่ผ่านมาได้คะแนนร้อยละ
70.00 หรือมากกว่า และปีงบประมาณตรวจประเมินได้
ร้อยละ 70.00 ให้ได้ 1 คะแนน
5. กรณีคะแนน LPA เพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 5.00
หรือเท่าใดก็ตาม หากเกณฑ์ไม่ถึงร้อยละ 70.00 จะได้
คะแนนเป็น 0
6. กรณีคะแนน LPA เพิ่มขึ้น เช่น ปี 2561 ได้คะแนน
ระดับร้อยละ 81 และปี 2562 ได้คะแนนเพิ่มขึ้นร้อย
ละ 5.00 (81+5=86) ปี 2562 ได้คะแนนระดับร้อย
ละ 86 แต่เป็นการได้เพิ่มร้อยละ ขึ้นร้อยละ 5.00 หรือ
มากกว่าร้อยละ 5.00 จะได้คะแนน 5 คะแนน แต่ในปี
2563 ได้คะแนนร้อยละ 88 จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.00
จะได้คะแนนในปี 2563 เท่ากับ 3 คะแนน และถ้าปี
2563 ใช้คะแนนระดับร้อยละ 80.00-89.99 จะได้
คะแนน 3 คะแนน แต่ ถ้ า ได้ ค ะแนนที่ ร ะดั บ ร้ อ ยละ
90.00 ได้ 5 คะแนน แม้ว่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.00 ก็ตาม
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 17)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 31


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
หน่วยที่ 7 การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน ตัวชี้วัดที่ 19 - 21 จานวน 3 ตัวชี้วัด จานวน 15 คะแนน
เป้าหมาย: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีประสิทธิภาพในการบริหารงานเพิ่มขึ้นโดยวิธีการต่าง ๆ เช่น การลดขั้นตอน
การใช้เทคโนโลยี การให้บริการเชิงรุก การบูรณาการการทางานร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
19 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 19. การมอบอ านาจการตั ด สิ น ใจเพื่ อ
1. หนังสือหรือคาสั่งมอบอานาจ พร้อมบัญชีการมอบ ปฏิบัติราชการ
อานาจแนบท้าย (ไม่ใช่คาสั่งรักษาราชการแทน) ที่เป็น มีการดาเนินการ ดังนี้
ปัจจุบัน 1. มีการมอบอานาจทาเป็นหนังสือ/คาสั่ง
2. การมอบอานาจต้องเป็นเรื่องที่มีผลโดยตรงต่อ ระบุชื่อผู้รับมอบอานาจชัดเจน
ประชาชนและเป็นอานาจของผู้บริหารองค์กรปกครอง 2. มีหลักฐานผู้รับมอบอานาจใช้อานาจที่
ส่วนท้องถิ่น ได้รับ
3. จ านวนหรื อ ร้ อ ยละของหนั ง สื อ หรื อ ค าสั่ ง มอบ 3. มีการแจ้งเวียนให้ข้าราชการ/พนักงาน
อานาจที่ ป ฏิบั ติ จ ริง โดยการลงนามของผู้ ไ ด้ รับ มอบ ส่ ว นท้ อ งถิ่น รั บ ทราบ และลงลายมื อ
อานาจ อย่างน้อยร้อยละ 80.00 รับทราบทุกคน
4. มีการเผยแพร่ในเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครอง 4. มี การประกาศให้ป ระชาชนทราบในที่
ส่วนท้องถิ่น เปิดเผย
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง 5. มีการปฏิบัติตามที่ได้รับมอบอานาจจริง
1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และที่
แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 เกณฑ์การให้คะแนน:
2. พระราชกฤษฎีก าว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก าร 1. ดาเนินการครบ 5 ข้อ 5
บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และที่แก้ไข 2. ดาเนินการ 4 ข้อ 3
เพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มาตรา 52 3. ดาเนินการ 2 – 3 ข้อ 1
3. มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 19 พฤษภาคม 2546 4. ดาเนินการ 1 ข้อ หรือไม่มีการ 0
เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ ดาเนินการมอบอานาจ
เพื่อประชาชน
4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0892.4/ ว
435 ลงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2548
5. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0892.4/ว 2929
ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2550
คาอธิบาย:
1. สาหรับการมอบอานาจของผู้บริหารองค์กรปกครอง
ส่ ว นท้ องถิ่น ให้ป ลั ด /รองปลั ด องค์กรปกครองส่ ว น
ท้ อ งถิ่ น ต้ อ งจั ด ท าเป็ น ค าสั่ ง และประกาศให้
ประชาชนทราบ
2. การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด
ความคุ้ ม ค่ า ในเชิ ง ภารกิ จ ขององค์ ก รปกครองส่ ว น
ท้ อ งถิ่ น ประกอบด้ ว ย หลั ก ความโปร่ ง ใสและหลั ก
ความคุ้มค่า
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ (2563 KPI: 18) (ITA)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 32


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
20 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 20. มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือ
1. มี แ ละใช้ อุ ป กรณ์ อ่ า นบั ต รแบบอเนกประสงค์ โทรคมนาคมเพื่ อ ลดขั้ น ตอนการ
(Smart Card Reader) ในการบริการประชาชน ปฏิบัติงาน
2. ตรวจสอบการให้ บ ริ ก ารช่ อ งทางเว็ บ ไซต์ มีการดาเนินการ ดังนี้
หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. มี ก ารใช้ อุ ป กรณ์ อ่ า นบั ต รแบบ
3. ตรวจสอบข้อเท็จจริงที่มีอยู่จริง เช่น มี Wi-Fi ใช้ อเนกประสงค์ (Smart Card Reader)
งานจริ ง หรื อ ไม่ หรื อ มี ก ารใช้ โ ปรแกรมอนุ มั ติ ง าน อย่างน้อย 1 กระบวนงาน
ก่อสร้างจริงหรือไม่ เป็นต้น 2. จัดให้มี Wi-Fi หรืออินเตอร์เน็ต
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง ภายในส านั ก งาน/ที่ ท าการองค์ ก ร
1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น ห รื อ มี ก า ร
และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบั บที่ 5) พ.ศ. 2545 ให้บริการชาระภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต
มาตรา 3/1 3. มีการแจ้งผลการอนุมัติผ่ านระบบ
2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้ว ยหลักเกณฑ์และวิธีการ SMS หรือระบบอื่นนอกจากนี้หรือมี
บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และที่แก้ไข การจองคิวขอรับบริการออนไลน์
เพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มาตรา 52 4. มีการแจ้งเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน
3. มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 19 พฤษภาคม 2546 เรื่อง ผ่านระบบออนไลน์ เช่น เว็บไซต์หลัก
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, Line,
ประชาชน Facebook เป็นต้น
4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0892.4 /ว 5. เครื่องมืออื่น ๆ (โปรดระบุ...)
2929 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2550
5. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนที่สุด ที่ เกณฑ์การให้คะแนน:
มท 0810.7/ว 4222 ลงวันที่ 26 ธันวาคม 2561 1. ดาเนินการ 4 - 5 ข้อ 5
คาอธิบาย: 2. ดาเนินการ 3 ข้อ 3
มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือโทรคมนาคมตาม 3. ดาเนินการ 1 - 2 ข้อ 1
ความเหมาะสมและงบประมาณของแต่ล ะองค์ ก ร 4. ไม่มีการดาเนินการ 0
ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น เ พื่ อ ช่ ว ย ล ด ขั้ น ต อ น
เพิ่มประสิทธิภาพ และประหยัดค่าใช้จ่าย

ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 19/ปรับปรุงให้เกิดความเหมาะสม/ปรับปรุง
ตามสถานการณ์ COVID-19) (ITA)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 33


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
21 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 21. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการบูรณา
1. ข้อบั ญญัติ/ เทศบั ญญั ติงบประมาณรายจ่า ย การ (Integration) โครงการเพื่อพัฒนา
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ท้องถิ่นตามอานาจหน้าที่ ร่วมกับองค์กร
2. โครงการที่มีการดาเนิ นการจริ งในปีงบประมาณ ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น อื่ น หรื อ ร่ ว มกั บ
พ.ศ. 2563 หน่วยงานอื่น
3. รายงานผลการดาเนินการที่เสนอต่อผู้บริหาร
ท้องถิ่นเพื่อทราบ มีการดาเนินการ ดังนี้
4. มีการเผยแพร่เว็บไซต์หลักขององค์กรปกครอง 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ส่วนท้องถิ่น 2. ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง 3. ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สั งคม และ
1. พระราชบั ญญั ติ ก าหนดแผนและขั้ นตอนการ การรักษาความสงบเรียบร้อย
กระจายอ านาจให้ แก่ องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ น 4. ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน
พ.ศ. 2542 พาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว
2. แผนปฏิบัติการกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจ 5. ด้ านการบริหารจั ดการและการอนุรักษ์
ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2543 ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
3. ประกาศคณะกรรมการการกระจายอ านาจ 6. ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีต ประเพณี
ให้ แก่ องค์ กรปกครองส่ ว นท้ องถิ่ น เรื่ อง และภูมิปัญญาท้องถิ่น
การท าความตกลงร่ วมมื อกั นจั ดท าบริ การ
สาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เกณฑ์การให้คะแนน:
4. หนังสือสานักปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร 1. ดาเนินการ 4 - 6 ข้อ 5
0107/ว 4482 ลงวันที่ 15 มิถุนายน 2558 2. ดาเนินการ 2 - 3 ข้อ 3
3. ดาเนินการ 1 ข้อ 1
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. ไม่มีการดาเนินการ 0
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 20/ปรับปรุงให้เกิดความเหมาะสม/
ปรับปรุงตามสถานการณ์ COVID-19) (ITA)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 34


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
หน่วยที่ 8 การปรับปรุงภารกิจ ตัวชี้วัดที่ 22 จานวน 1 ตัวชี้วัด จานวน 5 คะแนน
เป้าหมาย: เพื่อให้เกิดความถูกต้อง ทันสมัย เป็นธรรม คุ้มค่า และมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติภารกิจขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
22 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 22. ในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา (2561-
1. คาสั่ง/ประกาศแต่งตั้งคณะทางาน 2563) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการ
2. รายงานการประชุมคณะทางาน พิจารณาทบทวน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง
3. บันทึกเสนอผู้บริหารท้องถิ่นเอกสารแสดงการ ยกเลิกภารกิจ หรือข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
ขับเคลื่อนการดาเนินงานหลั งจากการพิจารณา มีการดาเนินการ ดังนี้
ทบทวน ปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย นแปลงหรื อ ยกเลิ ก 1. มี ก ารแต่ ง ตั้ ง คณะท างานพิ จ ารณา
ภารกิ จ หรื อ ข้ อ บั ญ ญั ติ / เทศบั ญ ญั ติ เสนอ ทบทวนปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือยกเลิก
ผู้บริหารพิจารณา ภารกิ จ หรื อ ข้ อ บั ญ ญั ติ / เทศบั ญ ญั ติ เ ป็ น
4. มีการเผยแพร่เว็บไซต์หลักขององค์กรปกครอง ปัจจุบัน
ส่วนท้องถิ่น 2. มีการประชุมคณะทางาน
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง 3. นาผลการประชุมมาทบทวน ปรับปรุง
1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน เปลี่ ย นแปลงหรื อ ยกเลิ ก ภารกิ จ หรื อ
และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติเป็นปัจจุบัน
มาตรา 3/1 4. มีการจัดทารายงานประชุมตามรูปแบบ
2. พระราชกฤษฎี ก าว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ แ ละ ระเบียบส านักนายกรัฐ มนตรีว่าด้ว ยงาน
วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 สารบรรณ
และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 5. มี ก ารเผยแพร่ ท างเว็ บ ไซต์ ห ลั ก ของ
มาตรา 52 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่ มเติ ม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. เกณฑ์การให้คะแนน:
2548 1. ดาเนินการครบ 5 ข้อ 5
4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0895.4/ 2. ดาเนินการ 4 ข้อ 3
ว 435 ลงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2548 ข้อ 3 3. ดาเนินการ 3 ข้อ 1
คาอธิบาย: 4. ดาเนินการ 1 – 2 ข้อ หรือไม่มีการ 0
กรณี มี การด าเนิ นการทบทวนภารกิ จแต่ ไม่ มี ภารกิ จ ดาเนินการ
ทบทวน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกภารกิจ ให้ถือ
ว่าเป็นการดาเนินการแล้วตามเกณฑ์การให้คะแนน
5 ข้อ

ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 21/ปรับปรุงให้สอดคล้องกับ ITA) (ITA)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 35


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ
หน่วยที่ 9 การดาเนินงานตามนโยบายของจังหวัด ตัวชี้วัดที่ 23 - 24 จานวน 2 ตัวชี้วัด
เป้าหมาย: ให้จังหวัดกาหนดเกณฑ์การประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบายของจังหวัด (พ.ศ.2563) ซึ่งอาจเป็น
การดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาล กระทรวงมหาดไทย ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด นโยบายสาคัญ
ของผู้ ว่าราชการจั งหวัด หรื อนโยบายการพัฒนาพื้นที่เฉพาะ เช่น พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ พื้ นที่การค้าชายแดน ฯลฯ
(ระบุหัวข้อนโยบาย การดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสนับสนุนและผลการดาเนินงาน )
คาอธิบาย: 1. ให้จังหวัดจัดทาตัวชี้วัดของจังหวัดตนเองตามเป้าหมายที่อธิบายข้างต้น ให้มีคะแนนรวมทั้งหมด
เท่ากับ 10 คะแนน โดยกาหนดเป็น 2 ตัวชี้วัด ๆ ละ 5 คะแนน/เกณฑ์การให้คะแนน 5-3-1-0
2. ตัวชี้วัดต้องเป็นภารกิจ อานาจ หน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเภท (องค์การบริหารส่วน
จังหวัด/ เทศบาล/องค์การบริหารส่วนตาบล/เมืองพัทยา)
ต้องสอดคล้องหรือเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ หรืออย่างน้อย (ถ้าไม่มี) ต้องสอดคล้องหรือเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด ดังนี้
1. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ยุทธศาสตร์ที่/ชื่อยุทธศาสตร์ ระบุด้วย)
2. แผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติ (ประเด็น/แผนย่อย/แนวทางพัฒนา ระบุด้วย)
3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (ยุทธศาสตร์ที่/ชื่อยุทธศาสตร์ ระบุด้วย)
4. นโยบายกระทรวงมหาดไทย
5. แผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (กลุ่มจังหวัด ประกอบด้วยกี่จังหวัด/จังหวัดอะไร/ยุทธศาสตร์ที่/ชื่อยุทธศาสตร์ ระบุด้วย)
6. ยุทธศาสตร์จังหวัด (ยุทธศาสตร์ที่/ชื่อยุทธศาสตร์ ระบุด้วย)
7. Sustainable Development Goals : SDGs (เป้าหมาย/เป้าประสงค์/ตัวชี้วัดของเป้าประสงค์ ระบุด้วย)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 36


1. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
................................................................................................................
2. แผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติ (ประเด็น/แผนย่อย/แนวทางพัฒนา ระบุด้วย)
................................................................................................................
3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (ยุทธศาสตร์ที่/ชื่อยุทธศาสตร์ ระบุด้วย)
................................................................................................................
4. นโยบายกระทรวงมหาดไทย
................................................................................................................
5. แผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (กลุ่มจังหวัด ประกอบด้วยกี่จังหวัด/จังหวัดอะไร/ยุทธศาสตร์ที่/ชือ่ ยุทธศาสตร์ ระบุด้วย)
................................................................................................................
6. ยุทธศาสตร์จังหวัด (ยุทธศาสตร์ที่/ชื่อยุทธศาสตร์ ระบุด้วย)
................................................................................................................
7. Sustainable Development Goals: SDGs (เป้าหมาย/เป้าประสงค์/ตัวชี้วัดของเป้าประสงค์ ระบุด้วย)
................................................................................................................
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
23 (ตัวอย่าง) 23. (ตัวอย่าง)
ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน จานวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. ข้อมูลการประสานหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องเช่น ที่ ด าเนิ น การในโครงการ (ระบุ โ ครงการหรือ
ทาการปกครองอาเภอ/จังหวัด สาธารณสุขอาเภอ/ กิจกรรมให้ชัดเจน)
จังหวัด สถานีตารวจในพื้นที่ มีการดาเนินการ ดังนี้ (ตัวอย่าง)
2. สื่ อประชาสั มพั นธ์ ต่า ง ๆ เช่ น ป้า ย แผ่ นพั บ 1. มี ก ารประสานข้ อ มู ล กั บ หน่ ว ยงาน
เว็บไซต์ ภาพถ่าย วารสาร ใบปลิวจดหมายข่าว เกี่ยวข้อง
3. โครงการ/กิจกรรมที่แสดงถึงเกณฑ์การประเมินที่ 2. มี ก ารรณรงค์ ป ระชาสั ม พั น ธ์ เ พื่ อ ให้
ได้กาหนดไว้..................... ประชาชนในพื้นที่เกิดความตระหนักเกี่ยวกับ
4. รายงานผลการด าเนิ น การที่ เ สนอต่ อผู้ บ ริห าร โครงการที่ดาเนินการ
ท้องถิ่นเพื่อทราบ………… 3. มีกิจกรรมที่เกี่ยวกับการดาเนินโครงการ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง 4. มี ก ารฝึ ก อบรมเกี่ ย วกั บ โครงการที่
1. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา .... ดาเนินการ
2. พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. เกณฑ์การให้คะแนน:
2540 มาตรา .... 1. ดาเนินการ 4 ข้อ 5
3. พระราชบั ญ ญัติ สภาตาบลและองค์การบริหาร 2. ดาเนินการ 2-3 ข้อ 3
ส่วนตาบล พ.ศ. 2537 มาตรา .... 3. ดาเนินการ 1 ข้อ 1
คาอธิบาย: …………………………… 4. ไม่มีการดาเนินการใด ๆ 0
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 22) (KPI: ใหม่)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 37


1. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
................................................................................................................
2. แผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติ (ประเด็น/แผนย่อย/แนวทางพัฒนา ระบุด้วย)
................................................................................................................
3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (ยุทธศาสตร์ที่/ชื่อยุทธศาสตร์ ระบุด้วย)
................................................................................................................
4. นโยบายกระทรวงมหาดไทย
................................................................................................................
5. แผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (กลุ่มจังหวัด ประกอบด้วยกี่จังหวัด/จังหวัดอะไร/ยุทธศาสตร์ที่/ชือ่ ยุทธศาสตร์ ระบุด้วย)
................................................................................................................
6. ยุทธศาสตร์จังหวัด (ยุทธศาสตร์ที่/ชื่อยุทธศาสตร์ ระบุด้วย)
................................................................................................................
7. Sustainable Development Goals: SDGs (เป้าหมาย/เป้าประสงค์/ตัวชี้วัดของเป้าประสงค์ ระบุด้วย)
................................................................................................................
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
24 (ตัวอย่าง) (ตัวอย่าง)
ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 24. ..........................................................
1. …………………………………………. ................................................................
2. …………………………………………. ................................................................
ฯลฯ ฯลฯ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง มีการดาเนินการ ดังนี้
1. …………………………………………. ................................................................
2. …………………………………………. ................................................................
ฯลฯ ฯลฯ
คาอธิบาย: เกณฑ์การให้คะแนน: 5
1. …………………………………………. ................................................................ 3
2. …………………………………………. ................................................................ 1
ฯลฯ ................................................................ 0
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ................................................................
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 23) (KPI: ใหม่)

อยู่ใน 15. จัดทาอบรม แบบประเมิน LPA2564


1.2 ด้านที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ รวม
ข้อมูล ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2564
กลุ่มงานส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีท้องถิ่น

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 38

You might also like