Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 33

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

(Local Performance Assessment: LPA) ประจาปี 2564


ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
จานวน 20 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 25-44 จานวน 100 คะแนน เป็นตัวชี้วัดที่นาไปนับเป็นคะแนนทั้งหมด
หัวข้อประเมิน เมือง อบจ. ทน. ทม. ทต. อบต. คะแนนที่ได้
พัทยา
ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด คะแนน ร้อยละ
1. ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ 5 5 5 5 5 5
2. ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากร 4 4 4 4 4 4
บุคคล
3. คุ ณ ภาพชี วิ ต และความสมดุ ล ของ 1 1 1 1 1 1
ชีวิตกับการทางาน
4. การดาเนินกิจการของสภาท้องถิ่น 10 10 10 10 10 10
ตัวชี้วัดนาไปนับเป็นคะแนน รวม 20 20 20 20 20 20

สรุปหัวข้อประเมิน ตัวชี้วัดที่ จานวนตัวชี้วัด จานวนคะแนน


1. ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ 25-29 5 25
2. ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล 20-33 4 20
3. คุณภาพชีวิตและความสมดุลของชีวิตกับการทางาน 34 1 5
4. การดาเนินกิจการของสภาท้องถิ่น 35-44 10 50
ตัวชี้วัดไม่นาไปนับเป็นคะแนน (ตัวชี้วัดนาร่อง) รวม - - -
ตัวชี้วัดนาไปนับเป็นคะแนน (ตัวชี้วัดจริง) รวม 25-44 20 100

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 1


1. เกณฑ์การประเมินและข้อมูลการประเมินประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลการประเมินประสิทธิภาพ
25 การจัดทาแผนอัตรากาลังสามปี KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบนั
(2563 KPI: 24) (ITA) ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
26 การออกคาสั่งด้านการบริหารงานบุคคล KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบนั
(2563 KPI: 25) (ITA) ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
27 การพัฒนาองค์ความรู้(Knowledge Management) โดยการ KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบนั
อบรมหรือฝึกอบรมบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเอง ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 26)
28 การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) โดย KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน/ปรับปรุงใหม่
การส่งบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ารับการอบรม ให้เกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
หรือฝึกอบรมกับหน่วยงานอื่น ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 27) ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
29 การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) บุคลากร KPI: เดิม/ปรับปรุงตัวชี้วัดใหม่ (อธิบายให้ชัดเจน
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ มากขึ้น คือของเดิมซึ่งเป็นการพัฒนาองค์ความรู้
จากการอบรม การฝึกอบรมหรือสัมมนาในปีงบประมาณ พ.ศ. ตามสายงาน เพี ยงแต่ เปิ ดกว้ างของแหล่ งการ
2563 (เฉพาะข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นเท่านั้น) พัฒนาองค์ความรู)้
(2563 KPI: 28) ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
30 ระดั บ ความส าเร็ จ ของการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน/ปรับปรุงใหม่
ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น เกณฑ์การให้คะแนนทั้งหมด
(2563 KPI: 29) ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
31 การประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและ KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบนั
บุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เว้นแต่
(2563 KPI: 31) กรณีไ ม่ มีข้า ราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาหรือสถานศึกษา ตัดฐานการประเมินได้
32 การเลื่ อนเงิ นเดื อนข้ าราชการหรื อพนั กงานครู และบุ คลากร KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบนั
ทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เว้นแต่
(2563 KPI: 30) กรณีไ ม่ มีข้า ราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาหรือสถานศึกษา ตัดฐานการประเมินได้

33 ระดับความสาเร็จของการบันทึก ปรับปรุง และแก้ไขข้อมูล KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน/ตัดคาอธิบาย


ทะเบียนประวัติอิเล็กทรอนิกส์ของข้าราชการหรือพนักงาน ออกทั้งหมด
ส่วนท้องถิ่น ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาลูกจ้าง ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในระบบศูนย์บริการข้อมูลบุคลากรท้องถิ่นแห่งชาติ (LHR) ให้ ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน
(2563 KPI: 32)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 2


1. เกณฑ์การประเมินและข้อมูลการประเมินประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลการประเมินประสิทธิภาพ
34 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสถานที่ทางานที่นา่ อยู่ น่าทางาน KPI: ใหม่
(KPI: ใหม่) ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
35 การบันทึกข้อมูลผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นใน KPI: เดิม/ปรับปรุงใหม่ให้เกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ระบบฯให้ถูกต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 35) ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
36 ในปี พ.ศ. 2563 ผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย KPI: เดิม (ตัด ITA ออก)
จากผู้บริหารท้องถิ่นได้เข้าร่วมประชุมสภาสมัยสามัญทุกสมัย ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และทุกครั้ง ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 36)
37 การอานวยความสะดวกในการปฏิบัติ งานและการจัดเอกสาร KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบนั
เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่สาคัญให้แก่สภาท้องถิ่น ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 37) (ITA) ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
38 การพัฒนาความรู้ให้แก่สมาชิกสภาท้องถิ่น KPI: เดิม/ปรับปรุงตามสถานการณ์ COVID-19
(2563 KPI: 38) ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
39 การก าหนดสมั ย ประชุ ม สามั ญ การเรีย กประชุ ม สภาสมั ย KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน/ตัดคาอธิบาย
สามัญ และการนัดประชุมสภาสมัยสามัญ ประจาปี 2563 การประชุมสภาออกทั้งหมด
(2563 KPI: 39) (ITA) ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
40 การเสนอและส่ งส าเนาร่างข้อบั ญญั ติ /เทศบั ญญั ติ งบประมาณ KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบนั
รายจ่าย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 40)
41 การตั้งคณะกรรมการแปรญัตติพิจารณาร่างข้อบัญญัติ/เทศ KPI: เดิม/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน/ปรับปรุงใหม่
บัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 ให้เกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
(2563 KPI: 41) ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
42 การเสนอและพิจารณาคาแปรญัตติร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ KPI: เดิม/ปรับปรุงเพื่อให้เกิดความเหมาะสม
งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 42) ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
43 การจั ดทารายงานของคณะกรรมการแปรญัตติ ตามข้อ ๕๐ KPI: เดิม/ปรับปรุงใหม่ให้เกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ของระเบียบกระทรวง มหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุม ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สภาท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
๒๕๕๔)
(2563 KPI: 43)
44 การจัดทารายงานการประชุมสภาท้องถิ่น KPI: เดิม/ปรับปรุงใหม่ให้เกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
(2563 KPI: 44) (ITA) ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 3


2. สรุปตัวชี้ใหม่ ตัวชี้วัดเดิม ตัวชี้วัดเดิมมีการปรับปรุง และตัวชี้วัดนาร่อง
ตัวชี้วัดใหม่ ตัวชี้วัดเดิม ตัวชี้วัดเดิม ตัวชี้วัดนาร่อง ยกเลิก
มีการปรับปรุง 2563
34 36 25 26 27 - 33 34
28 29 30
31 32 33
35 37 38
39 40 41
42 43 44
1 1 18 -
รวม 20 ตัวชี้วัด 2

ตัวชี้วัด ITA 25 26 37 39 44 =5
ตั ว ชี้ วั ด ป รั บ ป รุ ง ต า ม 38 =1
สถานการณ์ COVID-19
ตั ว ชี้ วั ด ที่ ตั ด ฐ า น ก า ร ไม่มี
ประเมินได้

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 4


3. จานวนตัวชี้วัดที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องถูกประเมินประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน เมือง อบจ. ทน. ทม. ทต. อบต.
พัทยา
ตัวชี้วัดทั้งหมด 20 ตัวชี้วัด 20 20 20 20 20 20
ตัวชี้วัดที่นับเป็นคะแนน ตัวชี้วัดที่ 25-44 จานวน 20 ตัวชี้วัด จานวน 20 20 20 20 20 20
100 คะแนน (นาไปนับเป็นคะแนน)
หน่วยที่ 1 ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ 25-29 5 5 5 5 5 5
จานวน 5 ตัวชี้วัด จานวน 25 คะแนน
25 การจัดทาแผนอัตรากาลังสามปี 1 1 1 1 1 1
(2563 KPI: 24) (ITA)
26 การออกคาสั่งด้านการบริหารงานบุคคล 1 1 1 1 1 1
(2563 KPI: 25) (ITA)
27 การพัฒนาองค์ความรู้(Knowledge Management) โดยการ 1 1 1 1 1 1
อบรมหรือ ฝึกอบรมบุ คลากรขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเอง
(2563 KPI: 26)
28 การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) โดยการ 1 1 1 1 1 1
ส่งบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ารับการอบรมหรือ
ฝึกอบรมกับหน่วยงานอื่น (2563 KPI: 27)
29 การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) บุคลากรของ 1 1 1 1 1 1
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ จาก
การอบรม การฝึ ก อบรมหรื อ สั ม มนาในปี ง บประมาณ พ.ศ.
2563 (เฉพาะข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นเท่านั้น) (2563
KPI: 28)
หน่วยที่ 2 ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล ตัวชี้วัดที่ 4 4 4 4 4 4
20-33 จานวน 4 ตัวชี้วัด จานวน 20 คะแนน
30 ระดั บ ความส าเร็ จ ของการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ 1 1 1 1 1 1
ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 29)
31 การประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและ 1 1 1 1 1 1
บุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 31)
32 การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการ 1 1 1 1 1 1
ศึกษาส่วนท้องถิ่น (2563 KPI: 30)
33 ระดั บ ความส าเร็จ ของการบั นทึ ก ปรับ ปรุง และแก้ไ ขข้อมู ล 1 1 1 1 1 1
ทะเบียนประวัติอิเล็กทรอนิกส์ของข้าราชการหรือพนักงานส่วน
ท้องถิ่น ข้าราชการครู และบุ คลากรทางการศึกษาลูกจ้าง ใน
ระบบศูนย์บริการข้อมูลบุคลากรท้องถิ่น แห่งชาติ (LHR) ให้
ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน
(2563 KPI: 32)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 5


3. จานวนตัวชี้วัดที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องถูกประเมินประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน เมือง อบจ. ทน. ทม. ทต. อบต.
พัทยา
หน่ วยที่ 3 คุ ณภาพชี วิ ตและความสมดุ ลของชี วิ ตกั บการ 1 1 1 1 1 1
ทางาน ตัวชี้วัดที่ 34 จานวน 1 ตัวชี้วัด จานวน 5 คะแนน
34 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสถานที่ทางานที่น่าอยู่ น่าทางาน 1 1 1 1 1 1
(KPI: ใหม่)
หน่ วยที่ 4 การด าเนิ นกิ จการของสภาท้ องถิ่ น ตั วชี้ วั ดที่ 10 10 10 10 10 10
35-44 จานวน 10 ตัวชี้วัด จานวน 50 คะแนน
35 การบั น ทึ กข้อมู ล ผู้ บ ริหารท้ องถิ่น และสมาชิ กสภาท้ องถิ่น ใน 1 1 1 1 1 1
ระบบฯให้ถูกต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
(2563 KPI: 35)
36 ในปี พ.ศ. 2563 ผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจาก 1 1 1 1 1 1
ผู้บริหารท้องถิ่นได้เข้าร่วมประชุมสภาสมัยสามัญทุกสมัยและ
ทุกครั้ง (2563 KPI: 36)
37 การอ านวยความสะดวกในการปฏิ บั ติ งานและการจั ด เอกสาร 1 1 1 1 1 1
เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่สาคัญให้แก่สภาท้องถิ่น
(2563 KPI: 37) (ITA)
38 การพัฒนาความรู้ให้แก่สมาชิกสภาท้องถิ่น (2563 KPI: 38) 1 1 1 1 1 1
39 การกาหนดสมัยประชุมสามัญ การเรียกประชุมสภาสมัยสามัญ 1 1 1 1 1 1
และการนัดประชุมสภาสมัยสามัญ ประจาปี 2563
(2563 KPI: 39) (ITA)
40 การเสนอและส่งสาเนาร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย 1 1 1 1 1 1
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (2563 KPI: 40)
41 การตั้ ง คณะกรรมการแปรญั ต ติ พิ จ ารณาร่า งข้อบั ญ ญั ติ / เทศ 1 1 1 1 1 1
บัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564
(2563 KPI: 41)
42 การเสนอและพิจารณาคาแปรญัตติร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ 1 1 1 1 1 1
งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564
(2563 KPI: 42)
43 การจัดทารายงานของคณะกรรมการแปรญัตติตามข้อ ๕๐ ของ 1 1 1 1 1 1
ระเบียบกระทรวง มหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภา
ท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔)
(2563 KPI: 43)
44 การจัดทารายงานการประชุมสภาท้องถิ่น (2563 KPI: 44) (ITA) 1 1 1 1 1 1
ตัวชี้วัดที่ต้องประเมินประสิทธิภาพ 20 20 20 20 20 20
สามารถตัดฐานการประเมินได้ - - - - - -
ตัวชี้วัดไม่นาไปนับเป็นคะแนนรวม/ตัวชี้วัดนาร่อง - - - - - -
ตัวชี้วัดนาไปนับเป็นคะแนนรวม 20 20 20 20 20 20

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 6


4. ตัวชี้วัดไม่นาไปนับเป็นคะแนนรวมซึ่งเป็นตัวชี้วัดนาร่อง
ตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน เมือง อบจ. ทน. ทม. ทต. อบต.
พัทยา
ไม่มี - - - - - -
รวม - - - - - - -

5. จานวนตัวชี้วัดที่สามารถตัดฐานการประเมินได้
ตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน เมือง อบจ. ทน. ทม. ทต. อบต.
พัทยา
ไม่มี
รวม - - - - - -

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 7


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
จานวน 20 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 25 – 44 จานวน 100 คะแนน เป็นตัวชี้วัดที่นาไปนับเป็นคะแนนทั้งหมด
เป้าหมายเชิงคุณภาพ: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดาเนินการบริหารทรัพยากรบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทั้งการวางแผน การส่ งเสริ ม การพัฒ นา การถ่ายทอดความรู้ พร้อมทั้งมีช่องทางในการรับฟังความคิดเห็ นและ
ข้อร้องเรียนของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน และส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเจ้าหน้าที่ พร้อมกับส่งเสริม และ
สนับสนุนให้สภาท้องถิ่นดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เป้าหมายเชิงปริมาณ: ร้อยละขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านเกณฑ์การประเมินด้านที่ 2 ร้อยละ 70
หน่วยที่ 1 ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ 25 – 29 จานวน 5 ตัวชี้วัด จานวน 25 คะแนน
เป้าหมาย: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีนโยบาย แผนงาน มาตรการด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล มีการวางแผน
และบริหารอัตรากาลัง ตลอดจนพัฒนาองค์ความรู้ของข้าราชการ ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย อานาจ หน้าที่ และ
ภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
25 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 25. การจัดทาแผนอัตรากาลังสามปี
1. มีคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทา/ปรับปรุง มีการดาเนินการ ดังนี้
แผนอัตรากาลังว่าได้ระบุเลขที่คาสั่งหรือไม่ และ 1. ค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการจั ด ท า/
องค์ประกอบคณะกรรมการครบถ้วน ปรับปรุงแผนอัตรากาลังมีองค์ประกอบ
2. มีหนังสือเชิญประชุมคณะกรรมการหรือเอกสาร ครบถ้วน
ที่ อ้ า งอิ ง ได้ ว่ า มี ก ารแจ้ ง เชิ ญ ให้ มี ก ารประชุ ม 2. รายงานการประชุ ม คณะกรรมการ
คณะกรรมการจัดทา/ปรับปรุงแผนอัตรากาลังทุก จัดทา/ปรับปรุงแผนอัตรากาลัง
ครั้ง 3. การวิ เ คราะห์ ยุ ท ธศาสตร์ / อ านาจ
3. มีร ายงานการประชุมคณะกรรมการจัดทา/ หน้ า ที่ ต ามกฎหมายว่ า มี ภ ารกิ จ ใดที่
ปรับปรุงแผนอัตรากาลัง ที่ได้แนบไว้ในเล่ม แผน องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น จะต้ อ ง
อั ต ราก าลั ง สามปี ประจ าปี ง บประมาณ พ.ศ. ดาเนินการซึ่งสอดคล้องกับอานาจหน้าที่
2564-2566 ทุ ก ครั้ ง และมี บั น ทึ ก การประชุ ม ตามข้อ 6
รายละเอียดที่แสดงให้เห็นถึงการแสดงความเห็น มี 4. ก าหนดโครงสร้ า งส่ ว นราชการที่ มี
การวิเคราะห์ภารกิจอานาจหน้าที่ การมีส่วนร่วม ความจ าเป็ น ในการบริ ห ารงาน (กอง
การตั ด สิ น ใจร่ ว มกั น ในการจั ด ท า/ปรั บ ปรุ ง แผน หลัก) ตามประเภทขององค์กรปกครอง
อัตรากาลังอย่างชัดเจน ส่ ว นท้ อ งถิ่ น ครบถ้ ว นตามที่ ก ฎหมาย
4. รายละเอียดเล่มแผนอัตรากาลังมีหัวข้อครบ กาหนด
ตามที่กาหนด และระบุรายละเอียดการวิเคราะห์ 5. กาหนดชื่อส่วนราชการ ชื่อส่วน ชื่อฝ่าย
ยุทธศาสตร์/อานาจหน้าที่ครบทุกส่วนราชการ หรื อ ชื่ อ กลุ่ ม งาน และสายงานผู้ บ ริ ห าร
5. ตรวจสอบรายละเอียดโครงสร้างส่วนราชการที่มี ถูกต้องตามที่กฎหมายกาหนด
ความจาเป็นในการบริหารงาน (กองหลัก)
5.1 มี จ านวนครบตามประเภทขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นนั้น ๆ ตามที่กฎหมายกาหนด
5.2 การกาหนดอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่
ละส่วนราชการสอดคล้องกับภารกิจอย่างชัดเจนและ
ไม่ซับซ้อนกัน ตามกรอบที่กฎหมายกาหนด

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 8


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
25 6. ตรวจสอบการกาหนดชื่อส่วนราชการ ชื่อส่วน 6. การกาหนดอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ
ชื่อฝ่ายหรื อชื่อกลุ่มงาน และการกาหนดสายงาน ของแต่ละส่วนราชการสอดคล้องกับภารกิจ
ผู้บริหารถูกต้องตามที่ ก.จ., ก.ท., และ ก.อบต. อย่ างชั ดเจนไม่ ซั บซ้ อนกั นตามกรอบที่
กาหนด (กรณีกาหนดกลุ่มงานชื่อต้องไม่ซ้อนกับชื่อ กฎหมายกาหนด
ฝ่ าย และต้ องมี ผู้ ด ารงตาแหน่ งประเภทวิช าการ 7. กาหนดกรอบตาแหน่งผู้อานวยการ
ระดับชานาญการพิเศษเป็นหัวหน้ากลุ่มงาน และ กอง/ส านั ก ผู้ อ านวยการส่ ว น หั ว หน้ า
ต้อ งเป็ น ตาแหน่ ง ที่ส อดคล้ องกับ ภารกิ จ อานาจ ฝ่ายและกาหนดกรอบตาแหน่งประเภท
หน้าที่ของกลุ่มงานนั้น) วิชาการ และประเภททั่วไป ตามจานวน
7. ตรวจสอบการกาหนดกรอบตาแหน่งหัวหน้าส่วน ที่กฎหมายกาหนด
ราชการ หั ว หน้ าฝ่ าย การก าหนดกรอบต าแหน่ ง 8. การกาหนดระดับตาแหน่งประเภทบริหาร
ประเภทวิชาการและประเภททั่วไปมีจานวนครบตามที่ ท้องถิ่น ประเภทอานวยการท้องถิ่น ประเภท
ก.จ., ก.ท., และ ก.อบต. กาหนด วิชาการ และประเภททั่วไป ถูกต้องหรือไม่
8. ตรวจสอบการกาหนดระดับตาแหน่งว่าถูกต้อง และการค านวณเพื่ อประมาณการภาระ
หรือไม่ ดังนี้ ค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลถูกต้อง
8.1 ประเภทบริ หารท้องถิ่ นและประเภท อานวยการ สอดคล้องกับระดับตาแหน่งที่กาหนดหรือไม่
ท้องถิ่น ให้กาหนดเพียง ระดับเดียว (ต้น, กลาง, สูง) 9. ผู้ บริ ห ารท้ องถิ่ นลงนามประกาศใช้
8.2 ประเภทวิชาการ กรณีตาแหน่งว่างหรือกาหนด แผนอัต ราก าลั งทุก ครั้ ง โดยอ้างมติ ก.
เพิ่มใหม่ให้กาหนดระดับปฏิบัติการ/ชานาญการ จั ง ห วั ด ค รั้ ง ที่ เ ห็ น ช อ บ แ ล ะ ก า ร
8.3 ประเภททั่วไป กรณีตาแหน่งว่างหรือกาหนด ประชาสัมพันธ์แผนอัตรากาลังในเว็บไซด์
เพิ่มใหม่ให้กาหนดระดับปฏิบัติงาน/ชานาญงาน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
9. ตรวจสอบรายละเอี ย ดในประกาศใช้ แ ผน 10. มี ก ารปรั บ ปรุ ง ข้ อ มู ล ในระบบ
อัตรากาลัง ว่าลงนามโดยผู้บริหารท้องถิ่น อ้างอิง ฐานข้อมูลบุคลากรท้องถิ่นแห่งชาติเป็น
มติ ก.จังหวัด ทุกครั้งหรือไม่และนาแผนอัตรากาลัง ปั จ จุ บั น ต ร ง กั บ ข้ อ มู ล ใ น เ ล่ ม แ ผ น
ประชาสั ม พั น ธ์ เ ผยแพร่ ใ นเว็ บ ไซต์ ข ององค์ ก ร อัตรากาลังที่ประกาศใช้บังคับ
ปกครองส่วนท้องถิ่นและเป็นปัจจุบัน 11. ไม่มีการปรับปรุงแผนอัตรากาลังใน
10. สุ่ ม ตรวจสอบการปรั บ ปรุ ง ข้ อ มู ล ในระบบ แต่ ล ะปี ง บประมาณ (ไม่ นั บ รวมที่ ถู ก
ฐานข้อมูลแห่งชาติเป็นปัจจุบันตรงกับข้อมูลในเล่มแผน บั ง คั บ ให้ ด า เนิ น การต ามประกา ศ
อัตรากาลังที่ประกาศใช้บังคับเป็นปัจจุบัน โครงสร้างใหม่ที่ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต.
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง กาหนด)
1. พระราชบั ญญั ติ ระเบี ยบบริ หารงานบุ คคลส่ วน เกณฑ์การให้คะแนน:
ท้องถิ่น พ.ศ. 2542 1. ดาเนินการ 9 – 11 ข้อ 5
2. ประกาศ ก.ถ. เรื่ อง ก าหนดมาตรฐานกลางการ 2. ดาเนินการ 6 - 8 ข้อ 3
บริหารงานบุ คคลส่ วนท้องถิ่น ลงวันที่ 25 มิถุนายน 3. ดาเนินการ 3 - 5 ข้อ 1
พ.ศ. 2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 4. ดาเนินการน้อยกว่า 3 ข้อ หรือไม่มี 0
การดาเนินการ

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 9


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
25 3. ประกาศคณะกรรมการข้าราชการหรือพนักงานส่ วน
ท้ องถิ่ น เรื่ อง หลั กเกณฑ์ และเงื่ อนไขเกี่ ยวกั บการ
บริหารงานบุคคลของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น
(ประกาศ ก.จ.จ. ก.ท.จ. ก.อบต.จังหวัด หรือ ก. เมืองพัทยา)
4. หนั งสื อส านั กงาน ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. ที่ มท
0809.2/ว 70 ลงวันที่ 19 มิถุนายน 2563 เรื่องการ
จัดทาแผนอัตรากาลัง 3 ปี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 - 2566 ประกาศ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต.
เรื่ อ ง มาตรฐานทั่ ว ไปเกี่ ย วกั บ โครงสร้ า ง ส่ ว น
ราชการ วิ ธี ก ารบริ ห ารและการปฏิ บั ติ ง านของ
ข้าราชการหรื อพนักงานส่วนท้องถิ่น และกิจการ
อนเกี่ ย วกั บ การบริ ห ารงานบุ ค คล ในองค์ ก ร
ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ลงวั น ที่ 22 พฤศจิ ก ายน
พ.ศ. 2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
6. ประกาศ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. เรื่อง กาหนด
กอง สานัก หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นของ
องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น พ.ศ. 2563 และ
หนังสือแจ้งแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง
คาอธิบาย:
แผนอัตรากาลั งสามปี คือ แผนอัตรากาลั งที่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น จัดทาขึ้น เพื่อเป็นกรอบในการ
กาหนดตาแหน่ง การสรรหาบุคคลเข้าสู่ตาแหน่ง และ
พั ฒนาข้ าราชการหรื อพนั กงานส่ วนท้ องถิ่ น โดย
คาดคะเนว่า ในช่วงระยะเวลา 3 ปี ข้างหน้าว่าแต่ละ
ส่ วนราชการมี ความจ าเป็ นต้ องการใช้ ต าแหน่ งใน
ประเภทใด สายงานใด จ านวนเท่ าใด ให้ มี ความ
เหมาะสมกับปริมาณงาน และจะพัฒนาข้าราชการหรือ
พนักงานส่วนท้องถิ่นให้มีทักษะ ความรู้เพิ่มเติมด้านใด
และด้วยวิธีการใด เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มีการบริ หารงานตามอานาจ หน้า ที่และภารกิจ ที่
รับผิดชอบได้บ รรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายได้
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพื่อจัดบริการ
สาธารณะและตอบสนองความต้ อ งการของ
ประชาชนในท้องถิ่น
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 24) (ITA)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 10


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
26 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 26. การออกค าสั่ งด้ านการบริ หารงาน
ให้ตรวจสอบการออกประกาศ คาสั่ง ดังนี้ บุคคล
1. รายละเอียดคาสั่งแต่งตั้งผู้ปฏิบัติราชการแทน มีการดาเนินการ ดังนี้
ปลั ด องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ถู ก ต้ อ งตามที่ 1. คาสั่งแต่งตั้งผู้ปฏิบัติราชการแทนปลัด
กฎหมายกาหนดและเป็นปัจจุบันหรือไม่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2. รายละเอี ยดค าสั่ งแต่ งตั้ งผู้ ปฏิ บั ติ ราชการแทน 2. ค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง ผู้ ป ฏิ บั ติ ร าชการแทน
ผู้อานวยการสานัก กอง หรือหัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่อ ผู้อานวยการสานัก กอง หรือหัวหน้าส่วน
อย่างอื่นถูกต้องตามที่กฎหมายกาหนดและเป็นปัจจุบัน ราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
3. รายละเอียดคาสั่งแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนปลัด 3. คาสั่งแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนปลั ด
องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ นถู กต้ องตามที่ กฎหมาย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กาหนดและเป็นปัจจุบัน 4. ค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง ผู้ รั ก ษาราชการแทน
4. รายละเอี ยดค าสั่ งแต่ งตั้ งผู้ รั กษาราชการแทน ผู้อานวยการ สานัก กอง หรือหัวหน้าส่วน
ผู้ อ านวยการส านั ก กอง หรื อหั วหน้ าส่ วนราชการที่ ราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
เรียกชื่ออย่างอื่นถูกต้องตามที่กฎหมายกาหนดและเป็น 5. ค าสั่ งปลั ดองค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ น
ปัจจุบัน มอบหน้ าที่ การงานให้ แก่ รองปลั ดองค์ กร
5. รายละเอี ย ดค าสั่ ง ปลั ด องค์ ก รปกครองส่ ว น ปกครองส่วนท้องถิ่น
ท้องถิ่น มอบหมายหน้ าที่ การงานให้ แก่ รองปลั ด 6. ค าสั่ งผู้ อ านวยการส านั ก กอง หรื อ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระบุเลขที่ตาแหน่ง ชื่อ หั วหน้ าส่ วนราชการที่ เรี ยกชื่ ออย่ างอื่ น
ส่ ว นราชการที่ รั บ ผิ ดชอบอย่ า งชัด เจน และปลั ด มอบหมายหน้าที่การงานให้แก่ข้าราชการส่วน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นลงนามในคาสั่ง ท้องถิ่น
6. รายละเอียดคาสั่งผู้ อานวยการสานัก กอง หรือ 7. หนังสื อรายงานผลดาเนินงานของผู้ รับ
หั วหน้ าส่ วนราชการที่ เรี ยกชื่ออย่ างอื่ นมอบหมาย มอบอ านาจตามค าสั่ ง แต่ งตั้ ง ผู้ ป ฏิ บั ติ
หน้าที่การงานให้แก่ข้าราชการส่ วนท้องถิ่นว่ามีครบ ราชการแทนปลั ด องค์ ก รปกครองส่ ว น
ทุกส่วนราชการระบุเลขที่ตาแหน่งของข้าราชการส่วน ท้องถิ่น
ท้องถิ่นทุกราย สมบูรณ์ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน 8. หนังสือรายงานผลดาเนินงานของผู้รับ
7. รายละเอียดรายงานผลดาเนินงานของผู้รับมอบ มอบอ านาจตามค าสั่ งแต่ ง ตั้ งผู้ ปฏิ บั ติ
อ านาจตามค าสั่ งแต่ งตั้ ง ผู้ ปฏิ บั ติ ราชการแทนปลั ด ราชการแทนผู้อานวยการสานัก กอง หรือ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ว่ามีหนังสือรายงานผล ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และสรุปผลการดาเนินงานครบ 9. การประชาสัมพันธ์คาสั่ง ลาดับที่ 1-6
ทุกลักษณะงานที่ได้รับมอบหมาย 10. การออกคาสั่งเกี่ยวกับการบริหารงาน
8. รายละเอียดรายงานผลดาเนิ นงานของผู้ รับมอบ บุ คคลตามที่ ก.จ., ก.ท., ก.อบต.จั งหวั ด
อ านาจตามค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง ผู้ ป ฏิ บั ติ ร าชการแทน หรือ ก. เมืองพัทยา มีมติเห็นชอบ ภายใน
ผู้อานวยการสานัก กอง หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่าง 15 วัน
อื่นว่ามีหนังสือรายงานผลอย่างน้ อยปีละ 1 ครั้ง และ
สรุ ปผลกาด าเนิ นงานครบทุ กลั กษณะงานที่ ได้ รั บ
มอบหมาย

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 11


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
26 9. การประชาสัมพันธ์เผยแพร่คาสั่งลาดับที่ 1-6 ใน เกณฑ์การให้คะแนน:
เว็ บ ไซด์ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น และเป็ น 1. ดาเนินการ 9 - 10 ข้อ 5
ปัจจุบัน 2. ดาเนินการ 6 - 8 ข้อ 3
10. รายละเอียดวันที่ออกคาสั่งเกี่ยวกับการบริ หาร 3. ดาเนินการ 3 - 5 ข้อ 1
งานบุ คคลเทียบกับวันที่ ก.จ., ก.ท., ก. อบต. จังหวัด 4. ดาเนินการน้อยกว่า 3 ข้อ หรือไม่มี 0
หรือ ก. เมืองพัทยา มีมติเห็นชอบว่าอยู่ภายในระยะเวลา การดาเนินการ
15 วัน นับตั้งแต่วันที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นลงรั บ
หนังสือ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง
1. พระราชบั ญญั ติ ร ะเบี ยบบริ หารงานบุ คคล
ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
2. ประกาศ ก.ถ. เรื่ อง ก าหนดมาตรฐานกลางการ
บริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น ลงวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ.
2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
3. ประกาศคณะกรรมการข้ าราชการหรื อพนั กงานส่ วน
ท้องถิ่น เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงาน
บุคคลของข้าราชการหรื อพนักงานส่วนท้องถิ่น (ประกาศ
ก.จ.จ., ก.ท.จ., ก.อบต.จังหวัด หรือ ก. เมืองพัทยา)
4. หนั งสื อส านั กงาน ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. ที่ มท
0809.2/ว 36 ลงวันที่ 15 กรกฎาคม 2562 เรื่อง
ซักซ้อมแนวทางการรักษาราชการแทนปลัดองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ผู้ อานวยการกอง หรือหัวหน้าส่วนราชการที่
เรียกชื่ออย่างอื่นขอองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คาอธิบาย:
กรณี อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ขนาดเล็ ก ที่ ไ ม่ มี
ต าแหน่ ง รองปลั ด ให้ ถื อ เอาการมอบอ านาจของ
นายกฯ ให้แก่รองนายกฯ มาใช้แทน

ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 25) (ITA)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 12


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
27 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 27. การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge
1. เอกสารการวิ เ คราะห์ ส ภาพปั ญ หา และความ (Knowledge Management) โดย
ต้องการของบุคลากรที่ผู้บริหารท้องถิ่นได้ลงนาม และ การอบรมหรือฝึกอบรมบุคลากรของ
ประกาศเพื่อทราบในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น โดย
2. แผนพัฒนาบุคลากรประจาปี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเอง
3. มีโ ครงการในข้อบั ญญัติ/ เทศบัญญัติงบประมาณ มีการดาเนินการ ดังนี้
รายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2563 1. มีการฝึกอบรมพัฒนาบุคลากร แต่
4. รายงานผลการด าเนิ น การที่ เ สนอต่ อ ผู้ บ ริ ห าร ไม่ใช่เกิดจากผลการวิเคราะห์ สภาพ
ท้องถิ่นเพื่อทราบ ปัญหา ความต้องการของบุคลากรแต่
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง อย่างใด
1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 2. มีการส ารวจข้อมูล สภาพปัญหา
พ.ศ. 2542 และความต้องการของบุคลากร
2. ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคล 3. มีการวิเคราะห์สภาพปัญหา ความ
ส่วนท้องถิ่น เรื่อง กาหนดมาตรฐานกลางการบริหารงาน ต้องการของบุคลากร
บุคคลส่วนท้องถิ่น ลงวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2544 4. มี ก ารจั ด อบรม/ฝึ ก อบรมเพื่ อ
3. ประกาศคณะกรรมการพนั กงานส่ วนตาบล/พนักงาน พัฒนาบุคลากรตามผลการวิเคราะห์
เทศบาล/ข้ าราชการองค์ การบริ หารส่ วนจั งหวั ด เรื่ อง สภาพปั ญ หา ความต้ อ งการของ
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของ บุคลากร
องค์การบริหารส่วนตาบล/เทศบาล/องค์การบริหารส่วน 5. วิทยากรที่จะพัฒนาความรู้ตาม
จังหวัด ส่วนที่ 3 การพัฒนาข้าราชการหรือพนักงานส่วน หลักสูตรการจัดอบรม/ฝึกอบรม ต้อง
ท้องถิ่น (ของจังหวัดนั้น ๆ) เป็ น ผู้ ที่ มี ค วามรู้ ความสามารถหรื อ
คาอธิบาย: ดารงตาแหน่งนั้นโดยตรง
1. ตามหลักเกณฑ์ ก.จังหวัด กาหนดให้การฝึกอบรม เกณฑ์การให้คะแนน:
จะต้องดาเนินการตามแผนพัฒนาบุคลากรโดยมีการ 1. ดาเนินการข้อ 2 - 5 5
วิเคราะห์ข้อมูลการประเมินความต้องการอบรมหรือ 2. ดาเนินการข้อ 2 - 3 3
ฝึกอบรม เพื่อประกอบการจัด ทาโครงการพัฒนาองค์ 3. ดาเนินการข้อ 1 1
ความรู้ (Knowledge Management) 4. ไม่มีการดาเนินการ 0
2. การอบรมหรือการฝึกอบรม หมายถึง การอบรม
หรือการฝึกอบรมให้แก่ข้าราชการองค์การบริหารส่วน
จั ง หวั ด /พนั ก งานเทศบาล/พนั ก งานส่ ว นต าบล/
พนักงานเมืองพัทยา/ลูกจ้างประจา/พนักงานจ้าง
3. การสารวจข้อมูลสภาพปัญหาและความต้องการ
ของบุคลากรนั้น ต้องมีหลักฐานว่าดาเนินการครบทุก
ส่วนราชการ
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 26)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 13


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
28 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 28. การพั ฒนาองค์ ความรู้ (Knowledge Management)
1. มี โ ครงการในข้ อ บั ญ ญั ติ / เทศบั ญ ญั ติ โดยการส่งบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ารับ
งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2563 การอบรมหรือฝึกอบรมกับหน่วยงานอื่น
2. ค าสั่ ง /อนุ ญ าต/อนุ มั ติ ห นั ง สื อ ส่ ง ตั ว มีการดาเนินการ ดังนี้
บุคลากร 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่งบุคลากรเข้ารับการ
3. รายงานผลการด าเนิ น การที่ เสนอต่ อ อบรมหรือฝึกอบรมในหลักสูตรที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับ
ผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ ต าแหน่ ง /มาตรฐานกาหนดต าแหน่ ง ของผู้ นั้ น หรื อ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง นามาใช้กับการพั ฒนางานหรือความก้าวหน้าในการ
1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคล บริหารงานบุคคลได้
ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 2. วิทยากรที่จะพัฒนาความรู้ตามหลักสูตรที่หน่วย
2. ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการ งานจั ดการอบรมหรือฝึ กอบรมกาหนดต้ องเป็ นผู้ที่ มี
บริหารงานบุ คคลส่ วนท้ องถิ่ น เรื่อง กาหนด ความรู้ความสามารถหรือดารงตาแหน่งนั้นโดยตรง
มาตรฐานกลางการบริ หารงานบุ คคลส่ วน 3. ผู้เข้ารับการอบรมหรือฝึกอบรมสรุปผลการอบรม
ท้องถิ่น ลงวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2544 หรือฝึกอบรมและรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ หรือ
3. ประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนตาบล/ กรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดอบรมเอง จะต้อง
พนักงานเทศบาล/ข้าราชการองค์การบริหาร มีหลักฐานรายงานสรุปผลการอบรมหรือฝึกอบรมและ
ส่ วนจั งหวั ด เรื่ อง หลั กเกณฑ์ และเงื่ อนไข รายงานให้ผู้บริหารทราบ
เกี่ ยวกั บการบริ หารงานบุ คคลขององค์ การ 4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทาเอกสารเผยแพร่
บริหารส่วนตาบล/เทศบาล/องค์การบริหารส่วน ความรู้ระเบียบข้อกฎหมายให้แก่บุคลากรเป็นประจา
จั งหวั ด ส่ วนที่ 3 การพั ฒนาข้าราชการหรื อ อย่างน้อยทุก 3 เดือน
พนักงานส่วนท้องถิ่น (ของจังหวัดนั้น ๆ) 5. การนาความรู้ที่ได้รับจากการอบรมหรือฝึก อบรม
คาอธิบาย: ไปพั ฒ นาหรื อ ประยุ ก ต์ ใ ช้ เ พื่ อ ปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาการ
1. ตาแหน่งผู้เข้ารับการอบรมหรือฝึกอบรม ปฏิ บั ติ ง านหรื อ มี น วั ต กรรม/โครงการ เพื่ อ เน้ น
กับ โครงการที่ อบรมหรือฝึ กอบรม ต้ องมี ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานที่เป็นรูปธรรม
ลั ก ษณะงานที่ สั ม พั น ธ์ กั บ หน้ า ที่ ใ นความ 6. นาผลการประเมินการปฏิบัติ ราชการประจาปีมา
รับผิดชอบ เป็น ข้อมู ลในการวิ เคราะห์เพื่ อจัด ทาโครงการอบรม
2. การพัฒนาองค์ความรู้ ต้องเป็นไปตามกรอบ หรือฝึกอบรมหรือส่งไปอบรมหรือฝึกอบรม
อานาจ หน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มี เกณฑ์การให้คะแนน:
ลักษณะต้องดาเนินการจริง หรือนามาเป็นกรอบ 1. ดาเนินการครบ 6 ข้อ 5
แนวทางในการปฏิ บั ติ งานได้ เช่ น การจั ดท า 2. ดาเนินการ 4 - 5 ข้อ 3
แผนพัฒนาท้องถิ่น การจัดทางบประมาณรายจ่าย 3. ดาเนินการ 2 – 3 ข้อ 1
การพัสดุและการจัดเก็บรายได้ เป็นต้น 4. ดาเนินการ 1 ข้อ หรือไม่มีการดาเนินการ 0
3. หน่ วยงานจั ดพั ฒนาองค์ ความรู้ อาจเป็ น
หน่ วยงานราชการ รัฐวิ สาหกิจ มหาวิ ทยาลั ย
วิ ทยาลั ย โรงเรี ยน องค์ การมหาชน สมาคม
มูลนิธิ องค์กรภาคประชาสังคม เป็นต้น
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 27)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 14


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
29 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 29. การพั ฒนาองค์ ความรู้ (Knowledge
1. แผนอัตรากาลังสามปีที่ใช้อยู่เป็นปัจจุบันและอัตรากาลังที่มี Management) บุ ค ล า ก ร ข อ ง อ ง ค์ ก ร
ผู้ครองตาแหน่งอยู่จริง (นับจานวนข้าราชการหรือพนักงาน ปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับการพัฒนาองค์
ส่วนท้องถิ่นที่ครองตาแหน่งอยู่จริง) ความรู้ จากการอบรม การฝึก อบรมหรื อ
2. คาสั่ง/อนุญาต/อนุมัติ/หนังสือส่งตัวบุคลากรเข้ารับการ สัมมนาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
อบรม ฝึกอบรม หรือสัมมนากับหน่วยงานอื่น (เฉพาะข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น
3. เอกสารที่รับรองว่าผ่านการฝึกอบรม จากหน่วยที่จัด เช่น เท่านั้น)
ใบประกาศ/วุฒิบัตร หนังสือรับรองหรืออื่น ๆ ปี พ.ศ. 2563
4. เอกสารรายงานสรุปผลการอบรม ฝึกอบรมหรือสัมมนาที่เสนอ เกณฑ์การให้คะแนน:
ต่อผู้บริหารท้องถิ่น เพื่อทราบ 1. ร้อยละ 80.00 ขึ้นไป 5
5. ตรวจสอบเฉพาะข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด/ 2. ร้อยละ 70.00 - 79.99 3
พนักงานเทศบาล/พนักงานส่วนตาบลเท่านั้น 3. ร้อยละ 60.00 – 69.99 1
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง 4. น้อยกว่าร้อยละ 60.00 0
1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.
2542
2. ประกาศ ก.ถ. เรื่อง กาหนดมาตรฐานกลางการบริหารงาน
บุคคลส่วนท้องถิ่น ลงวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2544 และที่
แก้ไขเพิ่มเติม
3. ประกาศคณะกรรมการข้ า ราชการหรื อ พนั ก งานส่ ว น
ท้องถิ่น เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงาน
บุ ค คลของข้ า ราชการหรื อ พนั ก งานส่ ว นท้ อ งถิ่ น (ประกาศ
ก.จ.จ., ก.ท.จ., ก.อบต.จังหวัดหรือ ก. เมืองพัทยา)
คาอธิบาย:
1. การอบรมหรือฝึกอบรมความรู้แก่ข้าราชการหรือพนักงาน
ส่วนท้องถิ่นในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ให้พิจารณาร้อยละ
ของจานวนผู้มีคาสั่ง/อนุญาต/อนุมัติ/หนังสือส่งตัวบุคลากรให้
เข้ า รั บ การอบรม ฝึ ก อบรม หรื อ สั ม มนา เปรี ย บเที ย บกั บ
จานวนข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นที่มีผู้ครองตาแหน่ง
จริงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เช่น เทศบาล ก. มีพนักงาน
เทศบาลตามแผนอัตรากาลังสามปี มีกรอบตาแหน่งพนักงาน
เทศบาล ทั้งสิ้นจานวน 100 อัตรา มีพนักงานเทศบาลครอง
ตาแหน่งจริง จานวน 80 อัตรา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
มีพนักงานเทศบาลที่ได้รับคาสั่ง/อนุญาต/อนุมัติ/หนังสือส่งตัว
ให้เข้ารับการอบรม ฝึกอบรม หรือสัมมนา จานวน 50 อัตรา
คิ ด เฉลี่ ย เป็ น ร้ อ ยละ 65.2 ของสายงานทั้ งหมด จะได้ 1
คะแนน เป็นต้น
2. หน่วยงานอื่น หมายถึง หน่วยงานจัดพัฒนาองค์ความรู้อาจ ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เป็นหน่ วยงานราชการ รัฐ วิสาหกิจ มหาวิทยาลัย วิ ทยาลั ย ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
โรงเรียน องค์การมหาชน สมาคม มูลนิธิ องค์กรภาคประชา (2563 KPI: 28)
สังคม เป็นต้น

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 15


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
หน่วยที่ 2 ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล ตัวชี้วัดที่ 30 - 33 จานวน 4 ตัวชี้วัด จานวน 20 คะแนน
เป้าหมาย: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ผลสาเร็จด้านการบริหารงานบุคคลและ
มีระบบฐานข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลที่ถูกต้อง ที่เกิดจากการประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเลื่อนขั้น
เงินเดือน
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
30 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 30. ระดับความสาเร็จของการประเมินผล
1. ประกาศหลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินผล การปฏิ บั ติ ง านของข้ า ราช การหรื อ
การปฏิบัติงานประจาปีขององค์กรปกครองส่วน พนักงานส่วนท้องถิ่น
ท้องถิ่น มีการดาเนินการ ดังนี้
2. รายงานการประชุมมอบนโยบายของผู้บริหาร ขั้นตอนที่ 1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมี
ท้องถิ่น และหลักฐานอื่น การประกาศหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก าร
3. รายงานการประชุ ม ชี้ แ จงของแต่ ล ะส่ ว น ประเมินผลการปฏิบัติงานประจาปี ภายใน
ราชการ และหลักฐานอื่น เดือนกันยายนของทุกปี
4. สุ่มตรวจแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของ ขั้นตอนที่ 2 ผู้บริหารท้องถิ่นมีการประชุม
ข้ า ราชการหรื อ พนั ก งานส่ ว นท้ อ งถิ่ น ว่ า มี ก าร ชี้แจงมอบนโยบายและวางเป้าหมายการ
จั ด ท าหรื อ ก าหนดผลสั ม ฤทธิ์ ข องงาน ตั ว ชี้ วั ด ปฏิ บั ติ ร าชการประจ าปี ใ ห้ กั บ ทุ ก ส่ ว น
ความสาเร็จ ด้วยวิธีการถ่ายทอดจากบนลงล่าง ราชการ
หรือกาหนดตัวชี้วัดเป็นระดับองค์กร ระดับส่วน ขั้ น ตอนที่ 3 หั ว หน้ า ส่ ว นราชการมี ก าร
ราชการ และระดับรายบุคคล และกาหนดเกณฑ์ ประชุมชี้แจงและวางเป้าหมายการปฏิบัติ
การให้คะแนนไว้อย่างชัดเจน ตั้งแต่ต้นรอบการ ราชการประจ าปี ของส่ ว นราชการให้ กั บ
ประเมิ น หรื อ ไม่ และให้ มี ก ารสุ่ ม ตรวจแบบ บุคลากรในสังกัด
ประเมินฯ ของแต่ละองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขั้นตอนที่ 4 ข้าราชการหรือพนักงานส่วน
อย่ า งน้ อ ยดั ง ต่ อ ไปนี้ ปลั ด องค์ การบริ ห ารส่ ว น ท้อ งถิ่ นทุ กคนด าเนิ นการจัด ทาข้อ ตกลง
จั ง หวั ด /เทศบาล/องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบล ตามแบบประเมินผลการปฏิบัติงานกับผู้
หั วหน้ าส่ วนราชการ 2 คน และข้าราชการหรื อ ประเมิน โดยมีการกาหนดผลสัมฤทธิ์ของ
พนักงานส่วนท้องถิ่น 2 คน แล้วแต่กรณี งาน ตั ว ชี้ วั ด ความส าเร็ จ ด้ ว ยวิ ธี ก าร
5. ตรวจสอบว่ า แต่ ล ะส่ ว นราชการมี คู่ มื อ ถ่ า ยทอดจากบนลงล่ า ง หรื อ ก าหนด
พจนานุ กรมสมรรถนะ หรื อหลั กฐานอื่นเพื่อใช้ ตั ว ชี้ วั ด เป็ น ระดั บ องค์ ก ร ระดั บ ส่ ว น
ประกอบการประเมิน สมรรถนะของข้าราชการ ราชการ และระดับรายบุคคล และกาหนด
หรือพนักงานส่วนท้องถิ่นในสังกัด เกณฑ์การให้คะแนนอย่างชัดเจน และเป็น
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง รูปธรรม โดยให้แล้วเสร็จครั้งที่ 1 ภายใน
1. ประกาศ ก.จ., ก.ท., และ ก.อบต. เรื่ อ ง เดือนตุล าคม และครั้งที่ 2 ภายในเดือน
มาตรฐานทั่ ว ไปเกี่ ย วกั บ หลั กเกณฑ์ และวิธี การ เมษายนของทุกปี
ประเมิ น ผลการปฏิบั ติ ง านของข้ า ราชการหรื อ
พนักงานส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2558 และแก้ไข
เพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 16


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
30 2. หนังสือสานักงาน ก.จ., ก.ท., และ ก.อบต. ที่ ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลผู้ ประเมิน
มท 0809.3/ว 1054 ลงวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. ได้ ป ระเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านตาม
2563 ข้อ ตกลงที่ก าหนดไว้ ตั้ งแต่ ต้น รอบการ
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเมิน พร้อมกับมีการแสดงหลักฐาน
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ หรื อ ข้ อ บ่ ง ชี้ ค วามส าเร็ จ ของงาน และ
(2563 KPI: 29) การประเมินสมรรถนะ ได้มีการประเมิน
สมรรถนะเปรียบเทีย บกั บพจนานุกรม
สมรรถนะที่กาหนด และให้ผู้ประเมินผล
แจ้ ง ผลคะแนนให้ กับ ผู้ รั บ การประเมิ น
ทราบด้วย

เกณฑ์การให้คะแนน:
1. ดาเนินการครบ 5 ขั้นตอน 5
2. ดาเนินการ 3 - 4 ขั้นตอน 3
3. ดาเนินการ 2 ขั้นตอน 1
4. ดาเนินการ 1 ขั้นตอน หรือไม่มีการ 0
ดาเนินการ

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 17


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
31 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 31. การประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการ
1. การแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองการ หรื อพนักงานครูและบุค ลากรทางการศึกษา
ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านมี ก ารแต่ ง ตั้ ง ส่วนท้องถิ่น
เป็นไปตามประกาศหลักเกณฑ์และเงื่อนไข มีการดาเนินการ ดังนี้
เกณฑ์ ก ารประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน 1. นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ออกคาสั่ง
ข้ า ราชการหรื อ พนั ก งานครู แ ละบุ ค ลากร แต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองการประเมินผล
ทางการศึกษาส่วนท้องถิ่นหรือไม่ การปฏิบัติงานของข้าราชการหรือพนักงานครู
2. การใช้ แ บบประเมิ น ผลการปฏิบั ติ ง าน และบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น จานวน
ข้ า ราชการหรื อ พนั ก งานครู แ ละบุ ค ลากร ไม่น้อยกว่า 3 คน ประกอบด้ว ย ปลั ดองค์กร
ทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่น เป็ น ประธานกรรมการ
1) สายงานการสอน และหั ว หน้ าส่ ว นราชการด้า นการศึ กษา และ
2) สายงานบริหารสถานศึกษา หรือผู้บริหารสถานศึกษาไม่น้อยกว่า 2 คน เป็น
3) สายงานนิเทศการศึกษา กรรมการ (กรณี ไ ม่ มี ผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาให้
3. การแจ้ ง ผลการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ องค์กรปกครองส่ ว นท้องถิ่นประสานขอยืมตั ว
งานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากร จากท้องถิ่นใกล้เคียงได้)
ทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น 2. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการ หรือ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง พนั กงานครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาส่ ว น
ประกาศ กจ., กท., ก.อบต. เรื่อง มาตรฐาน ท้องถิ่นโดยใช้แบบการประเมินถูกต้องตามสาย
ทั่วไปเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงาน งานที่กาหนด
ข้าราชการครูพนักงานและบุคลากรทางการ 3. มี การแจ้ งผลการประเมิ นผลการปฏิ บั ติ งาน
ศึกษา พ.ศ. 2562 ข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการ
คาอธิบาย: ศึ ก ษาส่ ว นท้ อ งถิ่ น ให้ ผู้ รั บ การประเมิ น ทราบ
1. ข้าราชการครู พนักงานครูและบุคลากร ทุกครั้ง
ทางการศึ ก ษาส่ ว นท้ อ งถิ่ น หมายถึ ง เกณฑ์การให้คะแนน:
ผอ.สถานศึ ก ษา รองผอ.สถานศึ ก ษา ครู 1. มีการดาเนินการครบ 3 ข้อ 5
ผู้ดูแลเด็กครูผู้ช่วย และครู 2. ไม่มีการดาเนินการ/ดาเนินการไม่ถูกต้อง 0
2. กรณีไม่มีผู้บริหารสถานศึกษาให้องค์กร
ปกครองส่ วนท้องถิ่นประสานขอยืมตัวจาก
ท้องถิ่นใกล้เคียงได้

ประเมิ นทุ ก องค์ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เว้น แต่


กรณีไม่มีข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
หรือสถานศึกษา ตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 31)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 18


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
32 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 32. การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการหรือพนักงาน
1. การคานวณวงเงิน ร้อยละ 3 ที่สามารถจะใช้ ครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น
เลื่อนเงินเดือนข้าราชการ หรือพนักงานครูและ มีการดาเนินการ ดังนี้
บุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น ทั้งหมดที่มีตัว 1. วงเงินที่ใช้เลื่อนไม่เกินร้อยละ 3 ของฐาน
อยู่จริง (รวมผู้ที่ไปช่วยราชการองค์กรปกครองส่วน เงินเดือนรวม
ท้องถิ่นหรือส่วนราชการอื่นด้วย) ให้ใช้ข้อมูล 2. มีการแบ่งกลุ่มเพื่อเลื่อนเงินเดือน ดังนี้
ณ วั น ที่ 1 มี น าคม หรื อ วั น ที่ 1 กั น ยายน 2.1 กลุ่มที่ 1 รับเงินเดือนอันดับครูผู้ช่วย,
แล้วแต่กรณี คศ.1 คศ.2 และ คศ.3 แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย
2. จานวนร้อยละที่จะไว้ใช้ในการเลื่อนเงินเดือน คือ
ข้ าราชการหรื อ พนั ก งานครู แ ละบุ ค ลากร (1) สายงานการสอน (ครูผู้ดูแลเด็ก ครู
ทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น แต่ละคนในแต่ละ ผู้ช่วย และครู)
ครั้งไม่เกินร้อยละ 6 ของฐาน ในการคานวณของ ( 2) ส า ย ง า น ผู้ บ ริ ห า ร ( ผ อ .
แต่ละคน สถานศึ ก ษา รองผอ.สถานศึ ก ษา และ
3. มี การประกาศอั ตราร้ อยละของฐานในการ ศึกษานิเทศก์)
คานวณที่ได้ใช้เป็นเกณฑ์ในการคานวณ เพื่อเลื่อน 2.2 กลุ่ มที่ 2 รับเงินเดือนอันดับ คศ.4
เงินเดือน ต้องประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไปอย่าง และ คศ.5 แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ
ช้าที่สุดพร้อมกับการมีคาสั่งเลื่อนเงินเดือน (1) สายงานการสอน (ครู)
4. การเกลี่ยเงินจะต้องเกลี่ยภายในกลุ่มอันดับ ( 2) ส า ย ง า น ผู้ บ ริ ห า ร ( ผ อ .
เงินเดือนเดียวกันเท่านั้น สถานศึ ก ษา รองผอ.สถานศึ ก ษา และ
5. หนังสือแจ้งผลการเลื่อนเงินเดือน ศึกษานิเทศก์)
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง 3. การเกลี่ ยเงิ นภายในกลุ่ มอั นดั บเงิ นเดื อน
ประกาศ กจ., กท., ก.อบต. เรื่อง มาตรฐาน เดียวกัน
ทั่วไปเกี่ยวกับการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการครู 4. มี การประกาศอั ตราร้ อยละของฐานในการ
พนั ก งานและบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา พ.ศ. คานวณที่ได้ใช้เป็นเกณฑ์ในการคานวณ เพื่อเลื่อน
2562 เงินเดือน
คาอธิบาย: 5. มีการจัดทาแบบรายงานแสดงรายละเอียด
1. ข้าราชการครู พนักงานครูและบุคลากร การคานวณให้เห็นอย่างชัดเจน
ทางการศึ ก ษาส่ ว นท้ อ งถิ่ น หมายถึ ง ผอ. 6. มี ก ารแจ้ ง ผลการเลื่ อ นเงิ น เดื อ นใ ห้
สถานศึกษา รอง ผอ.สถานศึกษา ครูผู้ ดูแล ข้าราชการหรือพนักงานครูฯ แต่ละคนทราบ
เด็ก ครูผู้ช่วย และครู เป็นข้อมูลเฉพาะเป็นรายบุคคล
2. สาหรับเกณฑ์การประเมินข้อ 2 หากมี เกณฑ์การให้คะแนน:
เพียงกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งก็ถือเป็นการดาเนินการ 1. มีการดาเนินการครบ 6 ข้อ 5
ครบถ้วนตามข้อ 2 2. ไม่มีการดาเนินการ 0
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เว้นแต่กรณี
ไม่มีข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาหรือ
สถานศึกษา ตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 30)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 19


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
33 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 33. ระดั บ ความส าเร็ จ ของการบั น ทึ ก
ตรวจสอบการบัน ทึก ข้อมูลในระบบศูนย์บริการข้อมู ล ปรับปรุง และแก้ไขข้อมูลทะเบียนประวัติ
บุคลากรท้องถิ่นแห่ง ชาติ (LHR) ขององค์กรปกครอง อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ข องข้ า ราชการหรื อ
ส่ ว นท้ อ งถิ่ น โดยให้ เจ้ า หน้ า ที่ ท ะเบี ย นประวั ติ แสดง พนักงานส่วนท้องถิ่น ข้าราชการครูและ
ข้อมูลในระบบ ดังนี้ บุคลากรทางการศึกษาลูกจ้าง ในระบบ
1. ระบบแผนอัตรากาลังสามปี ให้ตรวจสอบโครงสร้าง ศู น ย์ บ ริ ก ารข้ อ มู ล บุ ค ลากรท้ อ งถิ่ น
ส่วนราชการ กรอบอัตรากาลังทั้งหมด ตาแหน่ง อัตรา แห่งชาติ (LHR) ให้ถูกต้อง ครบถ้วน และ
เงินเดือน และระบุผู้ครองตาแหน่งหรืออัตราว่าง เป็นปัจจุบัน
2. ระบบ ก.พ.7 ข้าราชการสามัญ และระบบ ก.พ.7 ครู เกณฑ์การให้คะแนน:
ให้ ต รวจสอบข้ อ มู ล และรู ป ถ่ า ยจากบั ต รประจ าตั ว 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการ 5
ประชาชน คาสั่ ง ต าแหน่ ง และอั ต ราเงิ นเดื อน ประวั ติ บันทึกข้อมูลทะเบียนประวัติของบุคลากร
การศึกษา การฝึกอบรม การถูกลงโทษวินัย (ถ้ามี) ข้อมูล เข้าในระบบ LHR ได้แก่ (1) ระบบแผน
ครอบครัว และอื่น ๆ ที่กาหนด อัตราสามปี ประกอบด้วย โครงสร้างส่วน
3. ระบบประมวลผลและรายงาน ให้ตรวจสอบข้อมูล ราชการ กรอบอัตรากาลังสามปี ประเภท
และจ านวนบุ ค ลากรว่ า ถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น และเป็ น ต าแหน่ ง ชื่ อต าแหน่ ง ตามสายงาน ชื่ อ
ปัจจุบันหรือไม่ ทั้งนี้ ตามคู่มือการตรวจสอบ และวิธีการ ตาแหน่งในการบริหารงานอัตราเงินเดือน
ที่กาหนด และระบุ ผู้ ค รองต าแหน่ ง หรื ออัต ราว่ า ง
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือทีเ่ กี่ยวข้อง และ (2) ระบบ ก.พ.7 ข้าราชการสามัญ
1. ประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนตาบล/พนักงาน และครู ประกอบด้วย การดึงข้อมูลและ
เทศบาล/ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด เรื่อง รู ป ถ่ า ยจากบั ต รประจ าตั ว ประชาชน
หลั กเกณฑ์และเงื่ อนไขเกี่ย วกับการบริหารงานบุคคล คาสั่งตาแหน่งและอัตราเงินเดือน ประวัติ
ขององค์การบริหารส่วนตาบล/เทศบาล/องค์การบริหาร การศึกษา การฝึ กอบรม การถูกลงโทษ
ส่วนจังหวัด (ของจังหวัดนั้น ๆ) วินัย (ถ้ามี) ข้อมูลครอบครัว และอื่น ๆ ที่
2. หนั ง สื อ กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น ที่ มท ระบบกาหนดไว้ให้ครบถ้วน ถูกต้อง และ
0809.3/ว 3733 ลงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2561 เป็นปัจจุบัน
3. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนที่สุด ที่ 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการ 0
มท 0809.3/ว 1029 ลงวันที่ 14 มีนาคม 2562 บั น ทึ กข้ อมู ล ตามข้ อ 1 ไม่ ครบถ้ วน ไม่
4. หนั ง สื อ กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น ที่ มท ถูกต้อง และไม่เป็นปัจจุบัน
0809.3/ว 2095 ลงวันที่ 28 พฤษภาคม 2562

ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 32)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 20


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
หน่วยที่ 3 คุณภาพชีวิตและความสมดุลของชีวิตกับการทางาน ตัวชี้วัดที่ 34 จานวน 1 ตัวชี้วัด จานวน 5 คะแนน
เป้าหมาย: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ความสาคัญกับการจัดสภาพแวดล้อมในการทางาน มีการจัดหาเครื่องอานวย
ความสะดวกในที่ทางานและส่งเสริมการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างฝ่ายบริหารกับผู้ปฏิบัติ และผู้ปฏิบัติด้วยกันเอง
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
34 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 34. องค์กรปกครองส่ว นท้องถิ่นมีส ถานที่ ทางานที่น่า อยู่ น่ า
1. นโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น ทางาน
2. ตรวจสอบข้อเท็จ จริ งว่ า มีการดาเนินการ ดังนี้
สถานที่ทางานมีสภาพแวดล้อม 1. ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น ให้ ก ารส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น และก าหนด
ที่น่าอยู่ น่าทางานตามที่กาหนด นโยบายเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมสานักงาน/สถานที่ทางาน การ
ไว้ ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
3. การจั ด โครงการ/กิ จ กรรม 2. สถานที่ทางานมีการกาหนด/แบ่งพื้น ที่เพื่อการปฏิบัติงาน
ต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วกั บ การส่ ง เสริ ม การให้บริการประชาชน การจัดเก็บเอกสาร ฯลฯ ไว้อย่างชัดเจน
พร้อมกับมีสภาพดีและสะอาด
สุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
3. สถานที่ทางานมีความปลอดภัย โดยจัดให้มีอุปกรณ์ป้องกัน
กฎหมาย/ระเบี ยบและหนั งสือที่
อั น ตราย อุ ป กรณ์ ตั ด ไฟรองรั บ กรณี เ กิ ด ไฟซ็ อ ต/รั่ ว เครื่ อ ง
เกี่ยวข้อง
ดับเพลิง ทางหนีไฟและบันไดหนีไฟ อยู่ในสภาพที่ดีและพร้อมใช้
ประกาศคณะกรรมการพนักงาน
งานอยู่เสมอ
ส่ ว นต าบล/พนั ก งานเทศบาล/
4. สถานที่ ท างานมี แสงสว่ า งเพี ย งพอต่ อการท างานหรื อท า
ข้ า ราชการองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น
กิจกรรม มีการระบายอากาศที่ดี อุณหภูมิเหมาะสม ไม่มีเสียง
จัง หวั ด เรื่อง หลั กเกณฑ์ และ
ดัง/กลิ่นเหม็น/กลิ่นสารเคมี ที่อาจส่งผลกระทบต่อผู้ปฏิบัติงาน
เงื่ อนไขเกี่ ย วกั บ การบริห ารงาน
5. มีการให้ความรู้ด้านส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
บุ ค คลขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น
มีกิจ กรรมส่ ง เสริม ให้ผู้ ป ฏิบั ติ งานได้ ออกกาลัง กายในสถานที่
ตาบล/เทศบาล/องค์การบริหาร
ทางาน มีการจัดกิจกรรมนันทนาการเพื่อผ่อนคลายความเครียด
ส่วนจังหวัด (ของจังหวัดนั้น ๆ)
และจัดให้มีการตรวจสุขภาพประจาปีของข้าราชการ/พนักงาน
ส่วนท้องถิ่น
ประเมิ น ทุ ก องค์ ก รปกครองส่ ว น
เกณฑ์การให้คะแนน:
ท้ อ งถิ่ น ไม่ ส ามารถตั ด ฐานการ
ประเมินได้ 1. ดาเนินการครบ 5 ข้อ
(KPI: ใหม่) 2. ดาเนินการ 4 ข้อ 5
3. ดาเนินการ 2 – 3 ข้อ 3
4. ดาเนินการ 1 ข้อ หรือไม่มีการดาเนินการ 1
0

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 21


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
หน่วยที่ 4 การดาเนินกิจการสภาท้องถิ่น ตัวชี้วัดที่ 35 – 44 จานวน 10 ตัวชี้วัด จานวน 50 คะแนน
เป้าหมาย: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการสนับสนุนอานวยความสะดวกในการดาเนินงานของกิจการสภาท้องถิ่น
มีความรับผิดชอบและการปฏิบัติราชการท้องถิ่นในกิจการสภา การกาหนดประชุมสภา การประชุมสภา การพิจารณา
งบประมาณรายจ่ายประจาปี เป็นไปอย่างเรียบร้อยมีประสิทธิภาพโดยมีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์
สุขต่อประชาชนในท้องถิ่น
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
35 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 35. การบันทึกข้อมูลผู้บริหารท้องถิ่นและ
ให้ เจ้ าหน้ าที่ผู้ รับ ผิ ดชอบเปิ ดข้อมูล จากระบบ สมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น ในระบบฯให้ ถู ก ต้ อ ง
ศูนย์ข้อมูลเลือกตั้งผู้บริหาร สมาชิกสภาท้องถิ่น ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
และทะเบียนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย
ตรงที่ ร ะบบรายงานผู้ ด ารงต าแหน่ ง หั ว ข้ อ เกณฑ์การให้คะแนน:
“รายชื่ อ ผู้ ด ารงต าแหน่ ง ขององค์ ก รปกครอง 1. ข้อมูล ผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภา 5
ส่วนท้องถิ่น” ในเว็บไซต์ http://ele.dla.go.th ท้องถิ่น ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน
โดยใช้ข้อมูล ณ วันที่ตรวจสอบ ประกอบด้วย ชื่อ -สกุล รูปภาพ วันเดือนปี
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง เกิ ด เชื้ อ ชาติ สั ญ ชาติ ศาสนา หมู่ โ ลหิ ต
1. หนั ง สื อ กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น ที่ อ ยู่ ปั จ จุ บั น ส ถ าน ที่ ติ ด ต่ อ ป ร ะ วั ติ
ด่วนที่สุดที่ มท 0818.3/ว 2725 ลงวันที่ ครอบครัว ข้อมูลการศึกษา ข้อมูลการอบรม
29 มกราคม 2562 ดูงาน อาชีพก่อนได้รับเลือกตั้ง และประวัติ
2. หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ที่ การดารงตาแหน่งทางการเมือง
มท 0818.3/ว 7211 ลงวันที่ 16 ตุลาคม 2. มีข้อมูลผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภา 3
2563 ท้องถิ่น ถูกต้อง ครบถ้วนแต่ไม่เป็นปัจจุบัน
คาอธิบาย: (ไม่มีการปรับปรุงหรือเปลี่ยน แปลงข้อมูล
1. ele: ระบบศูนย์ข้อมูลเลือกตั้งผู้บริหารสมาชิก เช่น สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือตาแหน่งอื่น ๆ
สภาท้องถิ่น และทะเบี ยนองค์กรปกครองส่ว น ลาออก แต่ ยั ง มี ชื่ อ อยู่ ใ นฐานข้ อ มู ล หรื อ
ท้ อ งถิ่ น บั น ทึ ก ผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ ข องศู น ย์ ฯ บันทึกข้อมูลในทะเบียนประวัติไม่ครบถ้วน)
โดยตรงทาง http://ele.dla.go.thซึ่งเป็นการ 3. มีข้อมูลผู้บริหารท้องถิ่นหรือสมาชิกสภา 1
บั น ทึกข้อมูล ของผู้ บ ริ ห ารท้องถิ่น และสมาชิ ก ท้องถิ่น (อย่างใดอย่างหนึ่งไม่ครบถ้วน)
สภาท้ อ งถิ่ น ที่ ม าจากการเลื อ กตั้ ง ตามวาระ 4. ไม่มีการบันทึกข้อมูลผู้บริหารท้องถิ่น 0
ข้ อ มู ล ของผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น และสมาชิ ก สภา และสมาชิกสภาท้องถิ่น
ท้องถิ่น ที่ มาจากการแต่งตั้ งตามคาสั่ งหั ว หน้ า
คสช.ที่ 1/2557 และข้ อ มู ล ของผู้ บ ริ ห าร
ท้ อ งถิ่ น และสมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น ที่ ม าจากการ
แต่ ง ตั้ ง ตามประกาศ คสช.ที่ 85/2557 ให้
ถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว นและเป็ น ปั จ จุ บั น ส าหรั บ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ปลัดปฏิบัติหน้าที่
แทน ไม่ ต้องดาเนิ น การบั น ทึ กข้ อมูล ของฝ่ า ย
บริหารฯ

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 22


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
35 2. ตรวจสอบจากระบบรายงานผู้ดารงตาแหน่ง
หั ว ข้ อ “รายชื่ อ ผู้ ด ารงต าแหน่ ง ขององค์ ก ร
ปกครองส่วนท้องถิ่น” ซึ่งเป็นเมนูที่ใช้สาหรับ
ตรวจสอบและประมวลผลข้ อมู ล ในภาพรวม
ของผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นทุก
ตาแหน่งที่ได้บันทึกในระบบ และคลิกดูข้อมูล
ในรายบุคคลได้เลย ซึ่งข้อมูลนี้ สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ในการให้บริการข้อมูลกับ ภาคเอกชน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคประชาสังคม
สื่ อ สถาบั น การศึ ก ษา สถาบั น ครอบครั ว
สถาบันศาสนา องค์กรอิสระและผู้ที่สนใจเพื่อ
น าไปวิ เ คราะห์ วิ จั ย และเป็ นฐานในการ
ตรวจสอบคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของ
บุคคลในองค์กรต่าง ๆ

ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 35)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 23


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
36 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 36. ในปี พ.ศ. 2563 ผู้ บ ริ ห าร
ตรวจสอบจากเอกสารหลั กฐานที่ เ กี่ย วข้อ ง เช่ น ท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก
รายงานการประชุ ม ฯ เอกสารการมอบหมาย ผู้บริหารท้องถิ่นได้เข้าร่วมประชุมสภา
ให้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม หลั ก ฐานการลงชื่ อ เข้ า ร่ ว ม สมัยสามัญทุกสมัยและทุกครั้ง
ประชุม
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง เกณฑ์การให้คะแนน:
1. พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 1. ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ 5
2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2562 มอบหมาย เข้ า ร่ ว มประชุ ม สภาสมั ย
มาตรา 44/1 สามัญทุกครั้ง
2. พระราชบั ญ ญัติ เ ทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ ไ ข 2. ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ 3
เพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562 มาตรา 48 มอบหมายเข้ า ร่ ว มประชุ ม สภาสมั ย
เอกาทศ สามัญไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของจานวน
3. พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหาร ครั้งที่มีการประชุม
ส่วนตาบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3. ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ 1
7) พ.ศ. 2562 มาตรา 58/6 มอบหมายเข้ า ร่ ว มประชุ ม สภาสมั ย
4. พระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารราชการ สามัญ ไม่ถึงครึ่งหนึ่ง ของจานวนครั้งที่
เมื อ งพั ท ยา พ.ศ. 2542 แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ถึ ง มีการประชุม
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 มาตรา 32 4. ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ 0
คาอธิบาย: มอบหมายไม่เคยเข้าร่วมประชุมสภา
การประชุมสภาท้องถิ่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นต้องร่วม สมัยสามัญ
ประชุม หมายถึง กรณีที่ผู้บริหารท้องถิ่น หรือผู้ที่
ได้รั บ มอบหมายได้เ ข้า ร่ ว มประชุม เพื่อรับฟังหรื อ
ชี้แจงหรือแถลงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับงานในหน้าที่ของตน
ตามที่ประธานสภาท้องถิ่นนัดประชุม

ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 36)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 24


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
37 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 37. การอ านวยความสะดวกในการ
1. สอบถามและตรวจสอบเกี่ย วกับ สถานที่วั ส ดุ ปฏิบั ติงานและการจัดเอกสารเกี่ย วกั บ
อุปกรณ์ต่าง ๆ และบุคลากรว่ามีความพร้อมที่จะอานวย กฎหมายและระเบียบที่สาคัญให้แก่สภา
ความสะดวกแก่การปฏิบัติของสภาท้องถิ่นได้อย่างมี ท้องถิ่น
ประสิทธิภาพหรือไม่ อย่างไร มีการดาเนินการ ดังนี้
2. ตรวจสอบเอกสารที่ จั ดไว้ ประกอบด้ วยกฎหมาย 1. มีสถานที่ทางานของสภาท้องถิ่น สถานที่
ระเบี ย บที่ แ ก้ ไ ขถึ ง ปี ปั จ จุ บั น และตรวจสถานที่ ประชุมเป็นสัดส่วนและมีความเป็นระเบียบ
ประชุ ม กฎหมายและระเบี ยบต่ าง ๆ อาจจั ดไว้ เรียบร้อย
ในรู ปแบบสื่ ออิ เล็ กทรอนิ กส์ ขององค์ กรปกครอง 2. มี วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ส านั ก งานเพี ย งพอ
ส่วนท้องถิ่นให้ สมาชิกสภาท้องถิ่นสามารถตรวจดู ส าหรั บ การด าเนิ น กิ จ การของสภา
ก็ได้ และเผยแพร่ทางเว็ปไวต์ หลั กขององค์กร ท้องถิ่น
ปกครองส่วนท้องถิ่น 3. มีเจ้ าหน้ าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานใน
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง กิจการของสภาท้องถิ่น
1. พระราชบั ญ ญั ติ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด 4. มี ก ารจั ด กฎหมายและระเบี ย บที่
พ.ศ. 2540 แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ถึ ง (ฉบั บ ที่ 5) ส าคั ญ เกี่ ยวกั บการปฏิ บั ติ งานของสภา
พ.ศ. 2562 ท้ องถิ่ นให้ ส มาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น และผู้ ที่
2. พ ระ รา ช บั ญญั ติ เ ทศ บา ล พ. ศ. 2 49 6 เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วนซึ่งอย่างน้อยต้อง
แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562 มีกฎหมายและระเบียบ ดังนี้
3. พระราชบัญญัติ สภาตาบลและองค์การบริหาร 1) กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครอง
ส่ ว น ต าบ ล พ. ศ . 2 537 แ ก้ ไข เพิ่ มเติ มถึ ง ส่วนท้องถิ่น
(ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 2) พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอน
4. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา การกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน
พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 ท้องถิ่น พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่
คาอธิบาย: 2) พ.ศ. 2549
1. สถานที่ ท างานของสภาท้ อ งถิ่ น หมายถึ ง 3) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับ
ห้องหรือพื้นที่อื่น ที่จัดไว้สาหรับสมาชิกสภาท้องถิ่น การประชุ มสภาท้ องถิ่ น พ.ศ. 2547แก้ ไข
เพื่ อ อ านวยความสะดวกที่ ส ามารถท างานได้ เพิ่ มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 (หรื อ
ในระดับหนึ่ง เช่น มีโต๊ะ เก้าอี้ วัสดุอุปกรณ์สานักงาน ข้อบังคับการประชุม สภาเมืองพัทยา พ.ศ.
(เครื่ องบั นทึกเสี ยง เครื่ องเสี ยง ล าโพง ไมโครโฟน 2543 สาหรับเมืองพัทยา)
ป้ายชื่อต่าง ๆ เป็นต้น) 4) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการ
2. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ หมายถึง คาสั่งที่ผู้บริหาร งบประมาณขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
ท้องถิ่นแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ให้มารับผิดชอบเกี่ยวกับงาน พ.ศ. 2563 (ใช้ บั ง คั บ เมื่ อ วั น ที่ 25
ของสภาท้องถิ่น พฤศจิกายน 2563)
5) พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการ
บริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 25


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
37 3. เอกสารเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น 6) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุ
ที่ ส าคั ญต้ องจั ดไว้ ในที่ ประชุ มสภาท้ องถิ่ นครบ ของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ.
ทุกฉบับและครบตามจานวนสมาชิกสภาท้องถิ่น 2535 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 10) พ.ศ.
(ถ้าไม่ครบถือว่าไม่ได้คะแนน) 2558
7) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(2563 KPI: 37) (ITA) พ.ศ. 2547 แก้ไขเพิ่มเติมถึ ง (ฉบับที่ 4) พ.ศ.
2561
8) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเงิน
อุ ด หนุ น ขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น
พ.ศ. 2559 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2563
9) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการ
จั ด หาประโยชน์ ใ นทรั พ ย์ สิ น ขององค์ ก ร
ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2543
10) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการ
ลาของผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น ผู้ ช่ ว ยผู้ บ ริ ห าร
ท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547
11) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการ
กู้เ งิ น ขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบล พ.ศ.
2563 (เฉพาะองค์การบริหารส่วนตาบล)
เกณฑ์การให้คะแนน:
1. ดาเนินการครบ 4 ข้อ 5
2. ดาเนินการ 3 ข้อ 3
3. ดาเนินการ 1-2 ข้อ 1
4. ไม่มีการดาเนินการ 0

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 26


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
38 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 38. การพัฒนาความรู้ให้แก่สมาชิกสภา
1. คาสั่ง/หนังสือที่ผู้บริหารเห็นชอบให้เข้ารับการ ท้องถิ่น
พัฒนาความรู้
2. รายงานผลการพัฒนาความรู้ที่เสนอต่อผู้บริหาร เกณฑ์การให้คะแนน:
ท้องถิ่นเพื่อทราบ 1. ในรอบปี ที่ ผ่ า นมา มี ส มาชิ ก สภา 5
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง ท้อ งถิ่ นได้รั บการพัฒ นาความรู้ร้ อยละ
1. พระราชบั ญ ญั ติ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด 50.00 ขึ้ น ไปของจ านวนสมาชิ ก สภา
พ.ศ. 2540 แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ถึ ง (ฉบั บ ที่ 5) ท้องถิ่นทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
พ.ศ. 2562 มาตรา 45/1 2. ในรอบปี ที่ ผ่ า นมา มี ส มาชิ ก สภา 3
2. พระราช บั ญ ญั ติ เ ทศบาล พ. ศ. 2496 ท้องถิ่นได้รับการพัฒนาความรู้ ร้อยละ
แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562 มาตรา 30.00-49.99 ของจ านวนสมาชิ ก
50 วรรคสอง สภาท้องถิ่นทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
3. พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหาร 3. ในรอบปี ที่ ผ่ า นมา มี ส มาชิ ก สภา 1
ส่วนตาบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ท้องถิ่นได้รับการพัฒนาความรู้ ไม่ถึงร้อย
7) พ.ศ. 2562 มาตรา 69/1 ละ 30.00 ของจ านวนสมาชิ ก สภา
คาอธิบาย: ท้องถิ่นทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
ต้องเป็นการเข้ารับการพัฒนาความรู้ที่องค์กรปกครอง 4. ไม่มีการพัฒ นาความรู้ ให้ แก่ส มาชิ ก 0
ส่ ว นท้ องถิ่ น อ าเภอ จั งหวั ด หรื อ ส่ ว นราชการ สภาท้องถิ่นเลย
หน่วยงานอื่นของรัฐ/สถาบันการศึกษา/สมาคมที่
เกี่ยวข้องเป็นผู้จัดซึ่งต้องเป็นการพัฒนาความรู้ของ
สมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น ที่ ส ามารถน ามาใช้ ใ นการ
ดาเนิน การตามอานาจหน้าที่ของตนได้ เช่น การ
ฝึกอบรมที่ให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายจัดตั้งองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น กฎหมายเกี่ยวกับการกาหนด
แผนและขั้ น ตอนการกระจายอ านาจ ฯ อ านาจ
หน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บทบาทอานาจ
หน้าที่ของสมาชิกสภาท้องถิ่น การประชุมสภาท้องถิ่น
การจั ดท าข้ อบั ญญั ติ ท้ องถิ่น ระเบี ยบและแนวทาง
ปฏิบัติเกี่ยวกับการคลัง การงบประมาณ การพัสดุ หรือ
การจั ด ท าแผนพั ฒ นาขององค์ ก รปกครองส่ ว น
ท้องถิ่น

ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 27


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
39 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 39. การกาหนดสมัยประชุมสามัญ การเรียกประชุม
1. การก าหนดสมั ย ประชุ ม สามั ญ การ สภาสมั ย สามั ญ และการนั ด ประชุ ม สภาสมั ย
เรียกประชุมสภาสมัยสามัญ และการนัด สามัญ ประจาปี 2563
ประชุมสภาสมัย สามัญนั ดแรกของแต่ล ะ มีการดาเนินการ ดังนี้
สมัย 1. สภาท้ อ งถิ่ น มี ก ารก าหนดสมั ย ประชุ ม สภา
2. การเผยแพร่ ท างระบบเทคโนโลยี ท้ อ งถิ่ น สมั ย สามั ญ ในปี พ.ศ. 2563ตามที่
สารสนเทศขององค์ ก รปกครองส่ ว น กฎหมายจัดตั้งกาหนดไว้ได้ถูกต้อง
ท้องถิ่นให้ทีมประเมิน ฯ ตรวจสอบในเชิง 2. ประธานสภาท้องถิ่นได้ดาเนินการเรียกประชุมสภา
ประจั ก ษ์ (เปิ ด ดู จ ากระบบเทคโนโลยี ท้องถิ่นสมัยสามัญ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการ
สารสนเทศจริงในวันตรวจประเมิน ฯ) ตามข้อ ๒๒ แห่งระเบียบ มท. ว่าด้วยข้อบังคับการ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง ประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547 (หรือข้อ 15 แห่ง
1. ระเบี ย บกระทรวงมหาดไทยว่ า ด้ ว ย ข้อบังคั บการประชุ มสภาเมื องพั ทยา พ.ศ. 2543
ข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547 สาหรับกรณีเมืองพัทยา)
แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ. 2554 3. ประธานสภาท้องถิ่นได้ดาเนินการนัด ประชุม
ข้อ 22 ข้อ 23 และข้อ 24 วรรคสอง สมาชิกสภาท้องถิ่น เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการ
2. ข้อบั งคับ การประชุม สภาเมื องพั ทยา ตามข้อ 23 แห่งระเบียบ มท. ว่าด้วยข้อบั งคับการ
พ.ศ. 2543 ข้อ 15 และข้อ 19 ประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547 (หรือข้อ 19 แห่ ง
ข้ อบั งคั บการประชุ มสภาเมื องพั ทยา พ.ศ. 2543
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สาหรับกรณีเมืองพัทยา)
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ 4. มี การประชาสั มพั นธ์ ก าหนดวั น นั ดประชุ ม
(2563 KPI: 38) (ITA) เวลา สถานที่ ป ระชุ ม และเรื่ อ งที่ จ ะน าเข้ า สู่
ที่ประชุมให้ประชาชนทราบอย่างทั่ว ถึง เช่น การ
ประชาสัมพันธ์ทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
หรือสื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ
เกณฑ์การให้คะแนน:
1. ดาเนินการตามข้อ 1-4 5
2. ดาเนินการตามข้อ 1-3 3
3. ดาเนินการตามข้อ 1-2 1
4. ไม่มีการดาเนินการ 0

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 28


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
40 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 40. การเสนอและส่ ง ส าเนาร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ /
1. มี หนั งสื อจากผู้ บริ หารท้ องถิ่ น เสนอญั ตติ ร่ าง เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ
ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจาปี พ.ศ. 2564
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 ให้กับประธานสภาท้องถิ่น มีการดาเนินการ ดังนี้
2. มี หนั ง สื อ จากประธานสภาท้ อ งถิ่ น ส่ ง ร่ า ง 1. ผู้บริหารท้องถิ่นได้เสนอญัตติร่างข้อบัญญัติ/เทศ
ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจาปี บัญญัติงบประมาณรายจ่าย ตามกาหนดเวลา (ภายใน
งบประมาณ พ.ศ. 2564 ให้สมาชิกสภาท้องถิ่น วันที่ 15 สิงหาคม) ได้ถูกต้อง หากมีเหตุไม่สามารถ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือทีเ่ กี่ยวข้อง เสนอได้ ทั นภายในระยะเวลาที่ ก าหนด ผู้ บริ หาร
1. พระราชบั ญญั ติ องค์ การบริ หารส่ วนจั งหวั ด ท้องถิ่นได้ชี้แจงเหตุผลความจาเป็นต่อประธานสภา
พ.ศ. 2540 แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ถึ ง (ฉบั บ ที่ 5) ท้ องถิ่ น ก่ อนวั นที่ 15 สิ งหาคม 2563 (กรณี
พ.ศ. 2562 มาตรา 52 เทศบาล) หรือขออนุมัติขยายระยะเวลาเสนอญัตติร่าง
2. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไข ข้อบัญญัติ ต่อสภาท้องถิ่นและรายงานให้ผู้ว่าราชการ
เพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562 มาตรา 61 ทวิ จังหวัดหรือนายอาเภอหรือปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้า
3. พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วน ประจากิ่งอาเภอทราบ (กรณีองค์การบริหารส่วน
ตาบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 7) จังหวัด/องค์การบริหารส่วนตาบล)
พ.ศ. 2562 มาตรา 87 2. ประธานสภาท้องถิ่นได้ ส่งร่างข้อบัญญัติ/เทศ
4. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมือง บัญญัติงบประมาณให้กับสมาชิกสภาท้องถิ่นทุกคน
พัทยา พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามวันก่อนวันประชุม
พ.ศ. 2562 มาตรา 71 สภาท้องถิ่น
5. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับ 3. มี ก ารจั ด เอกสารส าหรั บ ใช้ ป ระกอบการ
การประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547 แก้ไขเพิ่มเติม พิ จ ารณาโครงการหรื อ งานต่ า ง ๆ ตามร่ า ง
ถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 ข้อ 43 ข้อบัญญัติ/ เทศบัญญัติงบประมาณ ให้ที่ประชุม
6. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณ สภาท้องถิ่นตรวจดูได้
ขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ น พ.ศ. 2541 แก้ ไข เกณฑ์การให้คะแนน:
เพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2543 ข้อ 23 และข้อ 24 1. ดาเนินการตามข้อ 1-3 5
7. ข้อบังคับการประชุมสภาเมืองพัทยา พ.ศ. 2543 2. ดาเนินการตามข้อ 1-2 3
ข้อ 41 ข้อ 42 และข้อ 58 3. ดาเนินการเฉพาะข้อ 1 1
8. ข้อบัญญัติเมืองพัทยา เรื่อง วิธีการงบประมาณ 4. ไม่มีการดาเนินการ 0
พ.ศ. 2545 ข้อ 23
คาอธิบาย:
การส่ ง ส าเนาร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ / เทศบั ญ ญั ติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 ให้แก่สมาชิกสภาท้องถิ่นล่วงหน้าไม่น้อย
กว่าสามวัน ก่อนวันประชุมสภาท้องถิ่น รวมถึง
โครงการที่ปรากฏในงบประมาณรายจ่าย ฯ
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 40)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 29


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
41 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 41. การตั้ ง คณะกรรมการแปรญั ต ติ
1. การตั้ ง คณะกรรมการแปรญั ต ติ พิ จ ารณา พิ จ ารณาร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ / เทศบั ญ ญั ติ
ร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย งบประมาณรายจ่ ายประจ าปี พ.ศ.
2. มีเอกสารบันทึกการประชุมเพื่อเลือกประธาน 2564
กรรมการแปรญัตติและเลขานุการคณะกรรมการ มีการดาเนินการ ดังนี้
แปรญัตติ 1. มี ก ารตั้ ง คณะกรรมการแปรญั ต ติ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง ตามจานวนที่กฎหมายกาหนด (3 ถึง 7
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการ คน กรณี อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด
ประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547 แก้ไขเพิ่มเติมถึง เทศบาล หรือองค์การบริหารส่วนตาบล
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 ข้อ 103 ข้อ 105 วรรค หรือ 3 ถึง 5 คน กรณีเมืองพัทยา)
หนึ่ง (3) ข้อ 107 และข้อ 109 2. มีการเลือกคณะกรรมการแปรญัตติ
2 . ข้ อ บั ง คั บ ก า ร ป ร ะ ชุ ม ส ภ า เ มื อ ง พั ท ย า ทีละคน คือเลือกคนที่หนึ่งก่อน แล้วจึง
พ.ศ. 2543 ข้อ 98 และข้อ 101 เลื อ ก คนถั ด ไป จนครบตามจ านวนที่
คาอธิบาย: สภาท้องถิ่นได้มีมติกาหนดไว้
1. กรณี ที่ มี ก ารตั้ ง คณะกรรมการแปรญั ต ติ ต าม 3. คณะกรรมการแปรญั ต ติ ต้ อ งเป็ น
กระบวนการที่กาหนด ตามข้อ ๑ ถึงข้อ ๓ จนถึง คณะกรรมการสามั ญ คื อ เลื อ กจาก
นั ดประชุมเพื่อเลื อกประธานกรรมการแปรญัต ติ สมาชิกสภาท้องถิ่นเท่านั้น
และเลขานุการคณะกรรมการแปรญัตติ ตามข้อ ๔ 4. เลขานุการสภาท้องถิ่นได้นัดประชุม
ได้ ๕ คะแนน กรรมการแปรญัตติและเปิดประชุมเพื่อ
2. กรณี ที่ มี ก ารตั้ ง คณะกรรมการแปรญั ต ติ ต าม เลื อ กประธานกรรมการแปรญั ต ติ แ ละ
กระบวนการที่กาหนด ตามข้อ ๑ ถึงข้อ ๓ ได้ ๓ เลขานุการคณะกรรมการแปรญัตติ
คะแนน
3. กรณี ที่ มี ก ารตั้ ง คณะกรรมการแปรญั ต ติ ต าม เกณฑ์การให้คะแนน:
กระบวนการที่กาหนด ตามข้อ ๑ ถึงข้อ ๒ ได้ ๑ 1. ดาเนินการตามข้อ 1 - 4 5
คะแนน 2. ดาเนินการตามข้อ 1 - 3 3
4. กรณีที่ไม่มีการดาเนินการตามข้อ 1 และข้อ 2/ 3. ดาเนินการตามข้อ 1 - 2 1
ดาเนินการตามข้อ ๑ หรือ ข้อ ๒ ไม่ถูกต้อง ได้ ๐ 4. ไม่มีการดาเนินการ 0
คะแนน

ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 41)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 30


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
42 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 42. การเสนอและพิ จารณาค าแปรญั ต ติร่ า ง
1. บันทึกรายงานการประชุมสภาท้องถิ่น ข้ อ บั ญ ญั ติ / เทศบั ญ ญั ติ ง บประมาณรายจ่ า ย
2. บันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการ ประจาปี พ.ศ. 2564
แปรญัตติ มีการดาเนินการ ดังนี้
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง 1. สภาท้ อ งถิ่ น ได้ ก าหนดระยะเวลาเสนอ
1. ระเบี ย บกระทรวงมหาดไทยว่ า ด้ ว ย ค า แ ป ร ญั ต ติ ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า ยี่ สิ บ สี่ ชั่ ว โ ม ง
ข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547 นั บ แ ต่ ส ภ า ท้ อ ง ถิ่ น มี ม ติ รั บ ห ลั ก ก า ร
แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ. 2554 แห่งร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัตินั้น
ข้อ 45 ข้อ 49 และข้อ 115 2 . มี ก า ร ก า ห น ด ส ถ า น ที่ ใ น ก า ร เ ส น อ
2. ข้ อ บั ง คั บ การประชุ ม สภาเมื อ งพั ท ยา คาแปรญัตติไว้
พ.ศ. 2543 ข้อ 45 และข้อ 104 3. ประธานกรรมการแปรญั ต ติ ไ ด้ ม าปฏิ บั ติ
คาอธิบาย: หน้ า ที่ รั บ ค าแปรญั ต ติ ต ามก าหนดระยะเวลา
1. มี ก ารก าหนดระยะเวลาเสนอค าแปร และสถานที่ที่สภาท้องถิ่นกาหนด
ญัตติตอ้ งไม่นอ้ ยกว่ายี่สิบสี่ช่ัวโมงนับแต่สภา 4. คณะกรรมการแปรญัตติได้มีหนังสือแจ้งให้
ท้องถิ่นมีมติรับหลักการแห่งร่างข้อบัญญัติ/ ผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นทราบ
เทศบัญญัติงบประมาณ กาหนดนั ดประชุ มล่ ว งหน้ าไม่ น้อ ยกว่า ยี่สิ บ สี่
2. มี การก าหนดสถานที่และเวลาที่คณะกรรม ชั่วโมงก่อนกาหนดเวลานัดประชุม
การแปรญัตตินัดประชุมไว้อย่างชัดเจน 5. ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย
จากผู้ บริ ห า รท้ อ ง ถิ่ น ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว มป ระชุ ม
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เ พื่ อ รั บ ฟั ง ห รื อ ชี้ แ จ ง ต่ อ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ แปรญั ต ติ ต ามที่ ค ณะกรรมการแปรญั ต ติ
(2563 KPI: 42)
ได้มีหนังสือแจ้งกาหนดการประชุม
เกณฑ์การให้คะแนน:
1. ดาเนินการตามข้อ 1 - 5 5
2. ดาเนินการตามข้อ 1 - 4 3
3. ดาเนินการตามข้อ 1 - 3 1
4. ไม่มีการดาเนินการ 0

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 31


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
43 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 43. การจัดทารายงานของคณะกรรม
1. รายงานการประชุ มสภาท้ องถิ่นเมื่ อครั้งที่ มี การพิ จารณาร่าง การแ ปรญั ต ติ ต าม ข้ อ 5 0 แห่ง
ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 ระเบี ย บกระทรวงมหาดไทยว่ า ด้ ว ย
ในวาระที่ 2 ขั้นแปรญัตติและในวาระที่ 3 ขั้นลงมติ ข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ.
2. เอกสารรายงานและความเห็นของคณะกรรมการแปรญัตติ 2547 แก้ไขเพิ่ม เติ มถึง (ฉบับที่ 2)
3. เอกสารการส่งรายงานและความเห็นของคณะกรรมการ พ.ศ. 2554
แปรญัตติ มีการดาเนินการ ดังนี้
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือทีเ่ กี่ยวข้อง 1. คณะกรรมการแปรญัตติได้จัดทา
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุม รายงานและความเห็นของคณะกรรม
สภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. การแปรญัตติได้อย่างถูกต้อง
2554 ข้อ 50 2. คณะกรรมการแปรญัตติได้ส่งรายงาน
2. ข้อบังคับการประชุมสภาเมืองพัทยา พ.ศ. 2543 และความเห็ นของคณะกรรมการแปร
คาอธิบาย: ญัตติให้ประธานสภาท้องถิ่น
1. สภาท้ องถิ่น หมายถึง สภาองค์การบริหารส่ วนจังหวั ด สภา 3. คณะกรรมการแปรญัตติได้ส่งร่างข้อ
เทศบาล สภาองค์การบริหารส่วนตาบล และสภาเมืองพัทยา บัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณตามร่าง
2. การจัดทารายงานของคณะกรรมการแปรญัตติตามข้อ เดิ มและตามที่ มี ก ารแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม
๕๐ แห่งระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการ (ถ้ามี) ต่อประธานสภาท้องถิ่นด้วย
ประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4. ประธานสภาท้องถิ่นได้ส่งรายงานและ
๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ หมายถึง ตามข้อ 50 วรรคหนึ่ง กาหนดว่า ความเห็นของคณะกรรมการแปรญัตติ
เมื่อคณะกรรมการแปรญัตติได้พิจารณาแล้ว จะต้องเสนอ ให้สมาชิกสภาท้องถิ่นไม่น้อยกว่ายี่สิบ
ร่างข้อบัญญัตินั้นตามร่างเดิมและตามที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม สี่ ชั่ ว โมงก่อ นวั น ประชุ ม สภาท้ องถิ่ น
พร้อมทั้งรายงานและบันทึกความเห็นยื่นต่อประธานสภา เพื่อพิจารณาในวาระที่สอง (ขั้นแปร
ท้องถิ่น รายงานนั้นอย่างน้อยจะต้องระบุว่าได้มีหรือไม่มีการ ญัตติ) ของสภาท้องถิ่น
แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม หรื อ ข้ อ ใดบ้ า ง การแปรญั ต ติ แ ละมติ ข อง เกณฑ์การให้คะแนน:
คณะกรรมการแปรญั ต ติ เ กี่ ย วด้ ว ยการแปรญั ต ติ นั้ น เป็ น 1. ดาเนินการตามข้อ 1-4 5
ประการใด การสงวนความเห็น คณะกรรมการแปรญั ต ติ 2. ดาเนินการตามข้อ 1-3 3
ตลอดจนการสงวนคาแปรญัตติ ด้วย และให้ประธานสภา 3. ดาเนินการตามข้อ 1-2 1
ท้องถิ่นส่งรายงานนั้นแก่สมาชิกสภาท้องถิ่นไม่น้อยกว่ายี่สิบ 4. ไม่มีการดาเนินการ 0
สี่ชั่วโมงก่อนวันประชุมพิจารณา เว้นแต่กรณีต้องพิจารณา
เป็นการด่วน และวรรคสอง กาหนดให้คณะกรรมการแปร
ญั ต ติ ไ ปร่ว มประชุ ม สภาท้ อ งถิ่ น ด้ ว ย เพื่ อ แถลงประกอบ
รายงานหรื อ ชี้ แ จงข้ อ สงสั ย ต่ า ง ๆ เกี่ ย วกั บ รายงานนั้ น
(สาหรับเมืองพัทยา ใช้ตามข้อบังคับการประชุมสภาเมือง
พัทยา พ.ศ. 2543 และปรับใช้โดยอนุโลมกับกฎหมายของ
เทศบาลแล้วแต่กรณี)
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
(2563 KPI: 43)

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 32


6. รายละเอียดตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑ์การประเมิน คะแนน
44 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 44. การจัดทารายงานการประชุมสภาท้องถิ่น
1. ตรวจสอบรายงานการประชุมสภาท้องถิ่น มีการดาเนินการ ดังนี้
ทุกครั้ง ในปี 2563 1. ได้บันทึกเรื่องการประชุมต่าง ๆ ในรายงาน
2. การเผยแพร่ทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การประชุมถูกต้องตามที่สภาท้องถิ่นได้ประชุม
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ทีมประเมิน และมีมติ
ฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากระบบ 2. คณะกรรมการตรวจรายงานการประชุมได้
เทคโนโลยีสารสนเทศจริงในวันตรวจประเมิน ฯ) ทาการตรวจรายงานการประชุมและลงลายมือ
กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เกี่ยวข้อง ชื่อไว้
1. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ 3. สภาท้องถิ่นได้พิจารณาและทาการรับรอง
พ.ศ. 2540 รายงานการประชุมถูกต้องตามที่สภาท้องถิ่นได้
2. ระเบี ย บกระทรวงมหาดไทยว่ า ด้ ว ย ประชุมและมีมติ
ข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547 4. ประธานสภาท้ องถิ่น ได้ ล งนามในรายงาน
แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 ข้อ การประชุมที่สภาท้องถิ่นรับรองแล้ว
33 และข้อ 34 5 . ไ ด้ ติ ด ป ร ะ ก า ศ ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม
3. ข้ อ บั ง คั บ การประชุ ม สภาเมื อ งพั ท ยา ที่ ส ภ า ท้ อ ง ถิ่ น รั บ ร อ ง แ ล้ ว ใ น ที่ เ ปิ ด เ ผ ย
พ.ศ. 2543 ข้อ 31 และข้อ 32 ณ สานักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
6. มีการเผยแพร่ผ ลการประชุมสภาท้อง ถิ่ น
ประเมินทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทางระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศ หรื อ สื่ อ
ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ ประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วน
(2563 KPI: 44) ท้องถิ่น
เกณฑ์การให้คะแนน:
1. ดาเนินการตามข้อ 1-6 5
2. ดาเนินการตามข้อ 1-5 3
3. ดาเนินการเฉพาะข้อ 1-4 1
4. ไม่มีการดาเนินการ 0

อยู่ใน 15. จัดทาอบรม แบบประเมิน LPA 2564


2. ด้านที่ 2.2 ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา รวม
ข้อมูล ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2564

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA 2564 ) สาหรับทีมประเมินฯ หน้า 33

You might also like