Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 42

รายวิชา

การบริหารและการปกครองส่วนท้อง
ถิ่นเปรียบเทียบ
ระบบฟิ วดัล (Feudalism) หรือระบบ
ศักดินา
 ความหมาย

Feudal มาจากภาษาลาตินว่า Feudum ตรงกับภาษา


อังกฤษว่า Fief แปลว่าดินเนื้ อที่หนึ่ ง เป็ นลักษณะการ
ปกครอง ที่เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างผ้อ ้ ุปการะกับผ้ร้ บ

อุปการะ (นายกับข้าทาส)
ระบบฟิ วดัลเป็ นระบบการจัดการปกครองและเศรษฐกิจ
 ลักษณะความสัมพันธ์ในระบบฟิ วดัลแบ่ง
เป็ น 2 ประเภท

1. ระบบฟิ วดัลเป็ นความสัมพันธ์ระหว่าง


ชนชั้นผ้้ปกครองด้วยกันเอง (Vassage
system) กล่าวคือ Lord (เจ้านาย,ขุนนาง
ผ้ใ้ หญ่,ผ้ม
้ อบที่ดิน) กับVassal (ผ้้พ่ึง,ขุนนางผ้้
น้อย,ผ้ร้ บั มอบที่ดิน ) เป็ นระบบการกระจายอำานา
จออกจากศ้นย์กลางกษัตริย์ไปยังขุนนางแคว้น
ต่างๆ ขุนนางต่างมีกองทัพของตนเอง ( Lord ให้
ที่ดินเพื่อแลกกับความร่วมมือของ Vassal อาทิ
การไปช่วยรบ )
ลักษณะความสัมพันธ์ในระบบฟิ วดัลแบ่ง
เป็ น 2 ประเภท(ต่อ)

2. ระบบฟิ วดัลเป็ นความสัมพันธ์ระหว่าง


ชนชั้นผ้้ปกครอง(ขุนนาง)กับชนชั้นผ้้ถ้กปกครอง
(ชาวนา) (manorial system) ชาวนาที่อาศัย
อย่้ในที่ดินของขุนนางต้องทำาการผลิตเพื่อเลี้ยง
ขุนนางและตนเอง เพื่อตอบแทนการคุ้มครองโดย
ขุนนางของตน หรืออาจเป็ นความสัมพันธ์ระหว่าง
เจ้าของที่ดินกับผ้้เช่า ซึ่งชาวนาต้องให้ผลผลิตหรือ
แรงงานเป็ นค่าเช่า
 แผนภาพระบบฟิ วดัล

แมเนอร์

กษัตริย์

เมืองอิสระ
ระบบแมเนอร์ (Manorial
System )

เป็ นระบบเศรษฐกิจคำาว่า
“Manor” แปลว่า คฤหาสน์ หมายถึง
บริเวณที่ดน ิ ที่กว้างใหญ่รอบๆคฤหาสน์
ของขุนนาง บริเวณรอบๆ คฤหาส์จะมี
หม่้บา้ น ชาวนาและทาสติดที่ดิน
ช่างฝี มือ พ่อค้า แต่ละแมเนอร์จะมีการ
ผลิตอาหารเลี้ยงตัวเองโดยขุนนาง
ควบคุมการผลิต
สาเหตุท่ีระบบฟิ วดัลเสื่อม
1. เนื่ องจากการปฏิวต
ั ิทางเศรษฐกิจ
2. มีการเลื่อนฐานะเป็ นชนชั้นกลางและมีอิทธิทางเศรษฐกิจ
3. เกิดโรคะบาด กาฬโรค ทัว่ ยุโรป ทำาให้แรงงานหายาก ทาสติดที่ดน ิ มี
โอกาสเป็ นอิสระ โยกย้ายที่อย่้ ระบบแมเนอร์จึงสลายตัว
4. มีทหารรับจ้าง ชาวนา หนี ไปเป็ นทหารรับจ้าง
5. จากสงคราม ทำาให้อัศวินเสียชีวต ิ มาก กษัตริย์ยึดอำานาจคืนจากขุนนาง
โดยมีพ่อค้า ชนชั้นกลางสนั บสนุ น
การปฏิวัติอุตสาหกรรม

(Industrial Revolution)
ปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revoluti

ความหมาย
การเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิต จากเดิมที่เคยใช้แ
มนุ ษย์และสัตว์ พลังงานธรรมชาติหรืออุปกรณ์เครื่อ
เครื่องมือแบบง่าย ๆ ในสังคมเกษตรกรรม มาส
ใช้เครื่องจักรกลในการผลิต ภายใต้ระบบโรงงานอุตส

การปฏิวัติอุตสาหกรรม เกิดขึ้นในอังกฤษเป็ นที่แ


 ปฏิวัติอุตสาหกรรมแบ่งออกเป็ น
2 ช่วง
ช่วงที่ 1 ค.ศ.1780-1840 อาจเรียกได้ว่า “สมัย
แห่งพลังไอนำ้า” ถือเป็ นการเปลี่ยนแปลงทางเทคนิ ค
ที่เป็ นรากฐานที่สำาคัญของการเริม
่ ปฏิวัติอุตสาหกรรม

เครื่องจักรไอนำ้า ของ
เจมส์ วัตต์
 ปฏิวัติอุตสาหกรรมออกเป็ น 2
ช่ช่ววงงที่ (2ต่คอ )
.ศ.1840-1895 จากความก้าวหน้าของการ
ปฏิวัตอ
ิ ุตสาหกรรมในช่วงแรก ประกอบกับความก้าวหน้าใน
การประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ จึงนำามาส่้การประยุกต์ใช้ใน
การผลิตอุตสาหกรรม อาทิ ใช้เชื้ อเพลิงจากก๊าซธรรมชาติ
ไฟฟ้ า ถ่านหิน เหล็กกล้า จึงอาจเรียกได้ว่าเป็ น “การปฏิวัติ
อุตสาหกรรมยุคเหล็กกล้า”

เกิดสหบาลกรรมกรในอุตสาหกรรมหลายชนิ ด
 สาเหตุของการปฏิวัติ
อุตสาหกรรม
1. การขยายตัวทางด้านการค้า/เงินทุน
1. การขยายตัวทางด้านการค้า/เงินทุน
เนื่ องมาจากการที่ได้ค้นพบเส้นทางเดินเรือและดินแดนใหม่
ๆ และการขยายตัวของการค้าส่งผลให้ได้รบ ั กำาไรอย่างมาก
2. การเพิ่มขึ้นของประชากร
3. ความก้าวหน้าในการประดิษฐ์คิดค้นทางด้านวิทยาศาสตร์
ส่งผลให้เป็ นการเพิ่มผลผลิตทางอุตสาหกรรม
4. การพัฒนาเกษตรกรรม การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงทางด้าน
เกษตรแผนใหม่
 ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม
 นำามาซึ่งโฉมหน้าใหม่ของโลก ทุกสิ่งอย่างด้ง่าย
ขึ้นสำาหรับมนุ ษย์ ทั้งการผลิต การเดินทาง ฯ ไป
จนถึงวิถช ี ีวต
ิ ดัง่ เดิม
 เกิดการขยายตัวทางการค้า ส่งผลให้ชนชั้นกลาง
ขยายตาม โดยออกมามีบทบาทเพิ่มมากขึ้น
 เกิดความก้าวหน้าทางความคิดแบบเหตุผลนิ ยม ,
มนุ ษย์นิยม , วิทยาศาสตร์ อันนำามาส่ก้ ารขยายตัว
ของความจริงที่มีเหตุมีผล (ยุคร้้แจ้ง)
 ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม
(ต่อ)
ระบบเศรษฐกิจเจริญแบบไม่หยุดยั้ง ก่อให้เกิดการขยาย
ระบบเศรษฐกิจเจริญแบบไม่หยุดยั้ง ก่อให้เกิดการขยาย
ฐานการผลิต การขยายทางวัฒนธรรมชาวตะวันตก ฯ
เริม
่ มีการคิดทำาธุรกรรมทางเศรษฐกิจแบบใหม่ ทำาให้
เศรษฐกิจก้าวหน้า อาทิ สร้างแบบธนาคารเงินก้้ สิน
เชื่อ
 การแสวงหาอาณานิ คมและลัทธิจักรวรรดินิยม

ลัทธิจักรวรรดินิยม ( Imperialism ) เป็ นแนวความคิดของชาติ


มหาอำานาจในยุโรปที่จะขยายอำานาจ และอิทธิพลของตนเข้าครอบครองดิน
แดนที่ลา้ หลังและด้อยความเจริญในทวีปต่างๆ เพื่อแสวงผลประโยชน์ท้ งั
ทางการเมืองและเศรษฐกิจ เช่น แหล่งวัตถุดิบ และตลาดระบายสินค้า ชาว
ยุโรปเข้ายึดครองดินแดนของชนชาติต่างๆในร้ปของ การล่าอาณานิ คม
( Colonization )
สรุปกรอบการศึกษา
เรื่องการปฏิวัตอ
ิ ุตสาหกรรมเปรียบ
เทียบ
(ศ.ดร.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา)
 ประวัติศาสตร์การปฏิวต
ั ิอต
ุ สาหกรรมเปรียบ
เทียบ
ประเทศอังกฤษ
ประเทศญี่ปุ่น
ประเทศอเมริกา
ประเทศฝรัง่ เศส
 เงื่อนไขทางประวัติศาสตร์องั กฤษ
(ตามแนวทางของศ.ดร.ฉัตรทิพย์)
 พัฒนาการทางการค้าก่อให้เกิดการขยายตัวของ
เมือง ก่อให้เกิดความต้องการใช้ท่ีดินแบบใน
ระบบทุนนิ ยม ความต้องการที่ดินดังกล่าวส่ง
ผลให้เจ้าที่ดินล้อมรั้วเพื่อเลี้ยงแกะ ทำาให้
ชาวนาหมดสิทธิในการเพาะปล้ก ฯ ผลของการ
ล้อมรั้ว คือ การทำาลายชนชั้นชาวนา ชาวนาแตก
สลาย ชาวนายากจนต้องกลายเป็ นแรงงาน
รับจ้าง (ต้นกำาเนิ ดชนชั้นกรรมาชีพ)
เงื่อนไขทางประวัตศ
ิ าสตร์อังกฤษ
(ตามแนวทางของศ.ดร.ฉัตรทิพย์) ต่อ
 อังกฤษมีบรรยากาศของเสรีภาพส่วนบุคคล เคารพ
กรรมสิทธิส ์ ่วนบุคคล อุปถัมภ์ค้ ำาช้ทางปั ญญาและ
วิทยาศาสตร์
 เจ้าที่ดินมีส่วนช่วยในการสร้างพื้ นฐานสภาพแวดล้อม
สำาหรับการพัฒนาอุตสาหกรรม พัฒนาการขนส่ง สร้าง
และรักษาถนน ขุดคลอง ปรับปรุงการเกษตรโดยใช้
เทคนิ คการผลิตใหม่ ๆ เพื่อเพิ่มผลิตภาพ

ชนชั้นเจ้าที่ดินของอังกฤษเป็ นผ้้สนั บสนุ นพัฒนาของ


ระบบทุนนิ ยม ไม่ได้ขัดขวางและในอังกฤษมีการติดต่อ
สัมพันธ์ระหว่างชนชั้นกระฎุมพี
เงื่อนไขทางประวัตศ
ิ าสตร์อังกฤษ
(ตามแนวทางของศ.ดร.ฉัตรทิพย์) ต่อ
 การปฏิวัตอ
ิ ุตสาหกรรมของอังกฤษ ช่วงที1 ่ และกำาเนิ ด
ของชนชั้นกระฎม ุ พี
อังกฤษเป็ นประเทศแรกที่เปลี่ยนเป็ นประเทศ
อุตสาหกรรม โดยส่งผลให้ประชากรส่วนใหญ่อย่ใ้ น
เมือง แรงงานในภาคการเกษตรลดลง มีการ
เปลี่ยนแปลงทางเทคนิ คการผลิต เกิดระบบโรงงาน
เกิดการกระจุกตัวของประชาชนใกล้โรงงาน เมือง
ขยายใหญ่ มีการนำาเข้าวัตถุดบ
ิ จากต่างประเทศ
เงื่อนไขทางประวัตศ
ิ าสตร์อังกฤษ
(ตามแนวทางของศ.ดร.ฉัตรทิพย์) ต่อ
 การปฏิวัติอุตสาหกรรมของอังกฤษไม่ได้เกิดจากการวางแผน
ของรัฐบาล แต่เกิดจากการริเริม
่ ของปั จเจกบุคคล นายทุน
มาจากพวกหัตถกร เกิดนายทุนจากผ้ผ ้ ลิตเพื่อขายขนาด
ย่อย ฯ
 อังกฤษเป็ นประเทศที่ชาวนาอิสระและหัตถกรมีพัฒนาการไป
ใน 2 แนวทาง คือ 1.พัฒนาเป็ นนายทุนอุตสาหกรรม และ
2. แตกสลาย/ล้มละลายกลายเป็ นกรรมกร เนื่ องมาจาก
กระบวนการพัฒนาส่ร้ ะบบทุนนิ ยมอุตสาหกรรมเป็ นไปตาม
ขั้นตอน จากหน่อเล็กที่สุด
เงื่อนไขทางประวัตศ
ิ าสตร์อังกฤษ
(ตามแนวทางของศ.ดร.ฉัตรทิพย์) ต่อ
การปฏิวัตอิ ุตสาหกรรมของอังกฤษ ช่วงที่ 2
 อุตสาหกรรมหลักเปลี่ยนจากสิ่งทอฝ้ าย มาเป็ นถ่านหินและเหล็ก
(อุตสาหกรรมเบามาส่้อุตสาหกรรมหนั ก)
 การขยายตัวทางการผลิตจึงต้องเพิ่มการจ้างแรงงาน (เด็กและสตรี)

 กิจการรถไฟทำาให้อุตสาหกรรมเหล็กกล้าก้าวหน้ารวดเร็วเกิดการติดต่อ
สื่อสาร การค้าระหว่างประเทศ มีการใช้นโยบายเศรษฐกิจเสรีนิยม
เงื่อนไขทางประวัตศ
ิ าสตร์อังกฤษ
(ตามแนวทางของศ.ดร.ฉัตรทิพย์) ต่อ
 กรรมากรจากชนบทกลายมาเป็ นกรรมากรจากประชากรที่เพิ่ม
มากขึ้นในเมือง ซึ่งมีชีวิตอย่้อย่างยากลำาบาก สตรีและเด็กได้
รับค่าจ้างถ้ก มีความเหลื่อมลำ้าส้ง ฯ จึงเริม
่ มีการรวมตัวเรียก
ร้อง จนมีองค์กรเกิดขึ้น “สหบาลกรรมกร” (trade union)
 ชนชั้นเจ้าที่ดินและกระฎม ุ พี ปรับปรุงการจัดระบบเศรษฐกิจ
โดยให้รฐั เข้ามาจัดมาตรฐานขั้นตำ่าของโรงงาน (จำากัดอายุ,เวลา
ในการทำางานฯ) การศึกษา สาธารณสุข การช่วยเหลือเมื่อ ป่ วย
ชรา พิการ ฯ เรียกว่า สวัสดิการสังคมและเรียกการจัดระบบ
สังคมแบบนี้ ว่า รัฐสวัสดิการ (Welfare state)
 เงื่อนไขทางประวัตศ
ิ าสตร์ญ่ป
ี ่น
ุ (ตาม
แนวทางของศ.ดร.ฉัตรทิพย์)
 ญี่ป่น
ุ เดิมกรรมสิทธิท์ ่ีดินเป็ นของกษัตริย์อย่างเด็ดขาด
ต่อมาก็ยกให้ท่ีดินบางแห่งปลอดภาษีแก่ขุนนาง ขุนนาง
ก็มีสท ์ กครอง (ขุนนางมีอำานาจมากขึ้น กษัตริย์
ิ ธิป
ปกครองแต่ในนาม )

 เมื่อกษัตริย์อ่อนแอก็เกิดมีตระก้ลขุนนางเข้าควบคุม
กษัตริย์ ตระก้ลขุนนางก็คือ เจ้าครองแคว้นที่มีอำานาจ
มากกว่าแคว้นอื่น ๆ (โชกุน) โชกุนบังคับให้เจ้าครอง
แคว้นอื่นๆ ต้องส่งส่วยแก่แคว้นของตน
 เงื่อนไขทางประวัตศ
ิ าสตร์ญ่ป
ี ่น
ุ (ตาม
แนวทางของศ.ดร.ฉัตรทิพย์) ต่อ
 ระบบศักดินาเกิดขึ้น ประกอบด้วย 3 ชนชั้น คือ
1.ชนชั้นปกครอง
กษัตริย์
โชกุน (มีอำานาจกว่าแคว้นอื่นๆ)
ไดเมียว (เจ้าของแคว้น)
ขุนนาง (ซาม้ไร)
2. ชนชั้นชาวนา
3.ชนชั้นพ่อค้าและช่าง
 เงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ญ่ป
ี ่ ุน
(ตามแนวทางของศ.ดร.ฉัตรทิพย์) ต่อ
 ความสัมพันธ์ในแต่ละชนชั้น
ไดเมียวถือกรรมสิทธ์ในที่ดน ิ เก็บภาษีจากชาวนาแต่ชาวนา
ไม่ตอ้ งเสียภาษีให้โชกุนอีก ไดเมียวมักให้เงินเดือน ข้าว
ของ แก่ซาม้ไรของตนมากกว่าให้ท่ีดน ิ (เช่นในยุโรป)
ชนชั้นปกครองอย่้ได้ด้วยส่วยผลิตผลจากชาวนา
ระบบฟิ วดัลในญี่ปุ่นมีลักษณะรวมศ้นย์ส้งกว่าบ้างหาก
เทียบกับยุโรป เนื่ องจากโชกุนมีอำานาจมากพอควรทั้ง ๆ
ที่เป็ นเพียงเจ้าครอง
แค้วนคนหนึ่ ง
 เงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ญ่ป
ี ่ ุน
(ตามแนวทางของศ.ดร.ฉัตรทิพย์) ต่อ
 โชกุนตั้งระบบตัวประกันขึ้น เพื่อให้โชกุนควบคุมไดเมียวได้ ระบบ
นี้ ก่อให้เกิดการเดินทางติดต่อส่งเสริมการขยายตัวของเมือง
เศรษฐกิจเจริญ ส่งเสริมระบบนายทุน มีการใช้เงินตรา ฯ แต่
ชาวนาก็ยงั คงยากจน ต้องส่งส่วย ฯลฯ
 ซาม้ไรเป็ นชนชั้นที่มีจำานวนมาก เดิม เป็ นนั กรบต่อมาเมื่อประเทศ
มีสันติภาพ ซาม้ไรจึงมีหน้าที่ปกครองมากกว่าทำาสงคราม ซาม้ไร
กลายเป็ นปั ญญาชน นั กวิทยาศาสตร์ แพทย์ ฯ ซาม้ไรเปิ ดรับ
วิทยาการใหม่ ๆ (มีผลกระทบต่อสังคม)
 เงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ญ่ป
ี ่ ุน
(ตามแนวทางของศ.ดร.ฉัตรทิพย์) ต่อ
 พวกพ่อค้าก็เลื่อนชนชั้นทางสังคมและหาการคุ้มครองจาก
ซาม้ไรและรวบตัวกันบีบผ้้ปกครอง ประกอบกับการถ้ก
อเมริกาบังคับให้เปิ ดประเทศ โชกุนก็อ่อนแอ แคว้นต่างๆ
จึงรวมมือกันปราบโชกุน (ปฏิร้ปเมจิ) เกิดระบบทุนนิ ยม
(ยกเลิกการปกครองแบบศักดินา)
 ชนชั้นศักดินาเดิมมีบทบาทมากในการเปลี่ยนเข้าส่้ระบบ
ทุนนิ ยม (ชนชั้นศักดินายอมเปลี่ยนความคิดแทนที่จะถ้ก
ทำาลาย ) ระบบทุนนิ ยมของญี่ปุ่นจึงเป็ นแบบฟานซิสม์

ชาวนาถ้กกลืนเข้าระบบ
 เงื่อนไขทางประวัตศ
ิ าสตร์ญ่ป
ี ่น
ุ (ตาม
แนวทางของศ.ดร.ฉัตรทิพย์) ต่อ
 การเปลี่ยนการปกครองการระบบศักดินาไปส่้การ
ปฏิร้ปเมจิ(ทุนนิ ยม-ฟานซิสม์) หลังจากปราบโชกุน
ได้แล้ว ก็มีการยกอำานาจทางนิ ตินัยคืนให้กับกษัตริย์
อำานาจในการบริหารจริง ๆ เป็ นของซาม้ไรหัว
ก้าวหน้าที่เข้ารับตำาแหน่งข้าราชการในรับบาลกลาง
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม
การเมืองเป็ นอย่างยิ่ง มีการยกเลิกระบบการปกครอง
และเศรษฐกิจแบบศักดินา
 เงื่อนไขทางประวัตศ
ิ าสตร์ญ่ป
ี ่น
ุ (ตาม
แนวทางของศ.ดร.ฉัตรทิพย์) ต่อ
 หลังการปฏิวัตเิ มจิการกระจายอำานาจการปกครองท้อง
ถิ่นของประเทศญี่ปุ่นก็เริม
่ ต้น การปล้กฝั ่ งชาตินิยม
เป็ นอุดมการณ์ การยอมรับแนวนโยบายเปิ ดประเทศ
 โครงสร้างอุตสาหกรรมก็เปลี่ยนแปลงโดยมี

อุตสาหกรรมหนั กและเครื่องจักเพิ่มมากขึ้นมีการสะสม
ทุน (กดขี่แรงงาน) เพื่อผลักดันประเทศให้กา้ วเข้าส่้
ภาวะทันสมัยแบบตะวันตก มีการวางรากฐานเงินตรา
กิจกรรม

สำาหรับข้อม้ลประเทศอเมริกาและประเทศ
ฝรัง่ เศส ให้นักศึกษาทำาการศึกษาค้าคว้า
ข้อม้ล โดยเริม่ จากระบบฟิ วดัลตลอดจน
การเชื่อมโยงมาส่้การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การบริหารและการปกครองส่วนท้อง
ถิ่นเปรียบเทียบ ภาค 2
รูปแบบการปกครองท้องถิ่น

ประเทศอังกฤษ
 ลักษณะด้านโครงสร้างและแนวโน้มของการปฏิรูป
และการปรับตัวของท้องถิ่น
ประเทศอังกฤษมีช่ ือเรียกอย่างเป็ นทางการว่า สหราช
อาณาจักร ประกอบด้วยอาณาจักร 4 ส่วนที่สำาคัญ
คือ อังกฤษ สก็อตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนื อ
ประเทศอังกฤษเป็ นรัฐเดี่ยว ที่มีการปกครองท้องถิ่น
ที่หลากหลายภายใต้ตัวแบบต่างๆ คือ
 ลักษณะด้านโครงสร้าง (ต่อ)

1. นายกเทศมนตรีทางตรงและคณะเทศมนตรี
2. นายกเทศมนตรีทางอ้อมและคณะเทศมนตรี
3. นายกเทศมนตรีทางตรงและผ้้จัดการสภา
4. ร้ปแบบคณะกรรมการเช่นเดิม (เฉพาะในท้องถิ่น
ขนาดเล็ก)

มีลักษณะโครงสร้างการปกครองท้องถิ่นแบบผสม
ระหว่างส่วนที่เป็ นโครงสร้างแบบชั้นเดียว (single-
tier) และส่วนที่เป็ นโครงสร้างแบบสองชั้น (two-
tier) รวมถึงโครงสร้างการบริหารงานในลอนดอน
อังกฤษมีรฐั สภาของ สก็อตแลนด์ เวลส์ และ
ไอร์แลนด์เหนื อ มีรฐั บาลกลางร่วมกันไม่ปล่อยให้
สก็อตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนื อ ปกครอง
ตนเองโดยอิสระ

อำานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ น

อำานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมี 2 ประเภท คือ
1. อำานาจหน้าที่ท่ีจะต้องกระทำาตามที่บัญญัติ ไว้ในกฎหมาย
2. อำานาจหน้าที่ท่ีจะกระทำาได้หรือไม่กระทำาก็ได้ถา้ องค์กรปกครองส่วนท้อง
ถิ่นนั้ นๆเห็นว่าไม่มี ความจำาเป็ น
อังกฤษเป็ นรัฐเดี่ยวที่มีการที่ยอมรับความ
หลากหลาย มีการปกครองที่หลากหลาย ซึ่งตั้งอย่้
บนความหลากหลายของพื้ นที่และรากฐานการ
ปกครองที่มาจากกฎหมายหลายฉบับ
 ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น
รัฐบาลกลางกำากับในบางเรื่องขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น คือ1. การกำาหนดนโยบาย 2. การออก
กฎหมายเพื่อให้ทอ ้ งถิ่นปฏิบัติ 3. การอนุ มัตงิ บ
ประมาณรายจ่ายและให้เงินอุดหนุ นให้แก่ทอ ้ งถิ่น 4.
การมอบอำานาจแก่ทอ ้ งถิ่นในการดำาเนิ นกิจกรรมที่
เกี่ยวกับท้องถิ่น 5. การตรวจสอบและสอบสวนท้อง
ถิ่น โดยมีหน่วยงานที่ทำาหน้าที่ประสานระหว่างส่วน
กลางและส่วนท้องถิ่น (Department of Environment, Transpot
and the Region ภายใต้การบริหารของ Secretary of State)
 แนวโน้มของการปฏิรูปและการปรับตัว
ของท้ อ งถิ น

 มีการเปลี่ยนแปลงหลักคิดทางกฎหมายจากเดิมที่อาศัยหลัก
มีการเปลี่ยนแปลงหลักคิดทางกฎหมายจากเดิมที่อาศัยหลัก
ultra vires(หลักที่เกี่ยวข้องกับการจำากัดสิทธิ หรือความสามารถ
) ไปส่้หลักความสามารถทัว่ ไป (general competence) ทำาให้
องค์กรปกครองท้องถิ่นมีอิสระมากยิ่งขึ้น
 การให้ความสำาคัญกับจริยธรรมของนั กการเมืองท้องถิ่น โดยได้มี
การริเริม
่ ให้จัดทำาประมวลจริยธรรมของนั กการเมืองท้องถิ่น พร้อม
ทั้งจัดตั้งคณะกรรมการกำาหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของนั กการ
เมืองท้องถิ่นขึ้น เพื่อสอดส่องด้แลพฤติกรรม
 มีการจัดตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยการละเมิดจริยธรรมของนั กการ
เมืองท้องถิ่น
เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย
ของระบบการปกครองส่วนท้องถิน ่
ประเทศอังกฤษ
ข้อดี ข้อเสีย

- อปท.มีการปรับตัวตลอดเวลา - การบริหารการคลังถ้กควบคุม
ทั้งโครงสร้าง การจัดการองค์กร อย่าง ใกล้ชิดโดยรัฐบาลกลาง
วิธีการประพฤติ - ความซับซ้อนในการจัดโครงสร้าง
- หน่วยท้องถิ่นมีอำานาจกว้างขวาง ระบบการปกครองท้องถิ่น
- รัฐบาลกลางให้ความสำาคัญ
รูปแบบการปกครองท้องถิ่น
ประเทศญี่ปุ่น
o ลักษณะด้านโครงสร้าง

แบ่งออกเป็ น 2 ระดับ คือ ส่วนกลาง และท้องถิ่น


สำาหรับ โครงสร้างการปกครองท้องถิ่น แบ่งออกเป็ น 2
ชั้น ได้แก่ จังหวัดและเทศบาล โดยมีร้ปแบบดังนี้
เทศบาลนคร เทศบาลเมือง และเทศบาลหม่้บ้าน
ญี่ปุ่นยังมีองค์กรปกครองท้องถิ่นในร้ปแบบพิเศษอีก
จำานวนหนึ่ ง คือ มีเทศบาล 13 แห่งได้รบ ั การยกฐานะ
ให้เป็ นเทศบาลนครพิเศษ เช่น เทศบาลนครโอซากา
เทศบาล นครเกียวโต ฯ
ลักษณะด้านโครงสร้าง (ต่อ)
 โครงสร้างการบริหารงานภายใน แบ่งเป็ นฝ่ ายบริหารและสภาท้อง
ถิ่น หัวหน้าฝ่ ายบริหาร ก็คอ
ื ผ้ว
้ า่ ราชการจังหวัด หรือนายก
เทศมนตรี ส่วนพวก สภาท้องถิ่นก็ทำาหน้าที่ทางนิ ติบัญญัติ ซึ่งทั้ง
2 ฝ่ ายจะต้องผ่านการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ในทุกระดับ

 การบริหารท้องถิ่นมีความเป็ นอิสระพอควรสามารถพึ่งพาตนเองได้
โดยเป็ นไปตามกรอบแนวทางที่สว ่ นกลางได้กำาหนดเอาไว้ การ
ปกครองท้องถิ่นแต่ละระดับ มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบแยก
กันอย่างชัดเจนตามที่กฎหมายกำาหนด
แนวโน้มของการปรับตัวและการปฏิรูป
การปกครองท้องถิน

 มีความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่เรียกว่าเป็ น
สหภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือบรรษัทพัฒนาท้องถิ่น
ต่างต้องพึ่งพาอาศัยกันและทำางานเสริมกัน
 ส่วนกลางมีอิทธิพลต่อท้องถิ่นในบางเรื่อง อาทิ อำานาจในการ

วางแผนและกำาหนดนโยบายโดยรวม โดยใช้การสนั บสนุ นด้าน


การเงินเป็ นเครื่องมือ การแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ไปประจำาที่ อปท . ฯ
 ความสัมพันธ์กับองค์กรท้องถิ่นอื่นมีการร่วมมือกันบางที่ยุบรวม

ในการจัดบริการสาธารณะประโยชน์ต่าง ๆแก่ประชาชน การจัด


ซื้ อจัดจ้าง การดับเพลิง รับส่งผ้้ป่วย การร่วมกันรักษาผล
ประโยชน์ ฯ
แนวโน้มของการปรับตัวและการปฏิรูป
การปกครองท้องถิน

 การส่งเสริมองค์กรความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครอง
ท้องถิ่น (local cooperation) เป็ นการเพิ่มขีดความ
สามารถให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยไม่ส่งผลก
ระทบในทางการเมืองมากจนเกินไป เพราะโครงสร้างของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังคงเดิม

 การแลกเปลี่ยนบุคลกรระหว่างท้องถิ่นกับส่วนกลาง การ
แลกเปลี่ยนจะช่วยให้เกิดการหมุนเวียนบุคลากรระว่าง
ส่วนกลางและท้องถิ่น
เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย
ของระบบการปกครองส่วนท้องถิน ่
ข้อดี
ประเทศญี
ข้อเสีย

่ ่ น

- หน่วยท้องถิ่นมีศักยภาพและ - ภารกิจส่วนใหญ่ อปท.อย่้
อิสระทางการคลัง ภายใต้ระบบมอบหมายงาน
- รัฐธรรมน้ ญประกันสิทธิตาม - การมอบหมายงาน ชี้นำา
หลักการปกครองตนเอง จากรัฐบาลกลาง (สามารถ
- มีอำานาจในการจัดบริการ แทรกแซง )
สาธารณะกว้างขวาง
กิจกรรม

สำาหรับ ร้ปแบบการปกครองท้องถิ่นประเทศ
อเมริกาและประเทศฝรัง่ เศส ให้นักศึกษา
ทำาการศึกษาค้าคว้าข้อม้ลด้วยตนเอง

You might also like