Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 54

ความหมายการออกแบบ

การออกแบบ คือ การวางแผนสร้างสรรค์


รูปแบบโดยวางแผนจัดส่วนประกอบของการ
ออกแบบให้สัมพันธ์กับประโยชน์ใช้สอย
การออกแบบทีด ่ ีควรคำานึ งถึง
1.รูปแบบสร้างสรรค์
2.มีความงามที่น่าสนใจ
3.สัมพันธ์กับประโยชน์ใช้สอย
4.เหมาะสมกับวัสดุ
5.สอดคล้องกับการผลิต
การออกแบบ
ทีม
่ าของการออกแบบมาจาก
1.โครงสร้างของธรรมชาติ
2.ความคิดของมนุษย์ โดยอาศัยจาก
ธรรมชาติ
ประเภทของการออกแบบ
1. เพื่อการอยูอ
่ าศัย
2.เพื่อการใช้สอยในชีวต ิ ประจำาวัน
3.เพื่อการเผยแพรู
4.เพื่อเสนอความงาม
5.เพื่อการดำารงชีวิต
แผนภาพแสดงทฤษฎีการ
ออกแบบ
ท ฤ ษ ฎ ี ก า ร อ อ ก แ บ บ

ห น ้ า ท ่ี ท า ง ด ้ ห า น น้ า ค ท ่ี ว ท า า ม ง ง ด ้ า า ม น ป

ส ่ ว น ม ู ล ฐ า น ส ำา คเ ั ห ญ ม ใ า น ะ กส าม ร ก อั บ อ ค ก
วแ
P
S
o in t , L in e , V
p a c e , S h a p เ ห ม า ะ ส
a lu e , F r o m
, M a s s , ม ,
ก ั บ ส ิ่ ง
T e x t u r e เห ม า ะส ม ก ั บ ว ั ต ถ ุ

หลักการออกแบบ
Balance Proportion
Rhythm Harmony
Contrast Emphasis
Unity
งานกราฟิคบนสื่อโฆษณา
•ป้ ายโฆษา
•แผ่นพับ
•แผ่นปลิว
•บัตรเชิญ
•บรรจุภัณฑ์
•นิ ยสาร
•งานสำาหรับ
เครื่องฉาย
งานกราฟิคบนสื่อโฆษณา
POSTER
CARD POP-UP
จุด POINT
• มีมิตเิ ป็ นศูนย์
• ไม่มีความสูง
• ไม่มีความกว้าง
• ความลึก
จุดเป็ นเบื้องต้นของการเกิดรูปทรง
ต่างๆ ในงานศิลปะจุดจะบอกถึง ขนาด
ตำาแหน่ ง ระยะและแรงดึงดูด
เส้น LINE
• เกิดจากจุดเรียงต่อกัน
จากจุดหนึ่ งไปอีกจุดหนึ่ ง

• เส้นในการออกแบบมี
สภาพเป็ นตัวกำาหนดรูป
ร่าง ร่างรูปทรง ทิศทาง
ความรู้สึกของเส้นในการ
ออกแบบ
• เส้นตรง ให้ความรู้สึกทางความมั่นคง สง่า
ความเข้มแข็ง ความง่าย ตรงไปตรงมา

• เส้นตัง้ ให้ความรู้สก
ึ ถึงความสูง เข้ม
แข็ง มีระเบียบและทิศทางไปในทางตั้ง

• เส้นนอน แสดงความกว้าง ความสงบ นิ่ งเฉย


ความรู้สึกที่เป็ นฐาน และให้ทิศทางไปในแนว
นอน
ความรู้สึกของเส้นในการ
ออกแบบ
• เส้นทะแยงมุม แสดงความกว้าง การเคลื่อนไหว
ไมูอยูน
่ ิ่งและให้ทิศทางไปในแนวทางทะแยง
หรือผูาน

• เส้นขาดหรือปะ ให้ความร้่สึกตื่น
เต้น แตกแยก ถ้าใช้มากเกินไป
ทำาให้สบ
ั สน
• เส้นโค้ง เป็ นเส้นแสดงความอูอน
โยน นิ่มนวล รูาเริง
การจัดองค์ประกอบของเส้น

ความ ความ
แน่ นอน
มั่นคง ความ การ
สงบ
รวม
กล่ม

ความ
แตกแยก
ร่ปรูาง SHAPE
หมายถึง 1.รูปนอกของรูปทรงที่มีลักษณะ 2 มิติ

แผ่นกลม ลูกกลม
ทั้ง 2 รูปมี SHAPE เหมือนกันแต่ FORM ต่างกัน
2.รูปร่างที่เป็ น 2 มิติ ถ้ามีเนื้ อที่มากจะเป็ นเรื่องของปริมาตร
มวล
3.เป็ นรูปร่างธรรมดาที่ไม่มค ี วามหมายมากนัก ไม่สวยงาม
ไม่มโี ครงสร้าง เป็ นรูปแบบ
ร่ปรูาง SHAPE
แบูงออกได้ 4 ลักษณะ
1.NATURE SHAPE รูปร่างธรรมชาติ ได้แก่ คน
สัตว์ ต้นไม้ และสิ่งไม่มีชีวิต
2.GEOMETRIC รูปร่างเลขาคณิต เช่น สามเหลี่ยม
สี่เหลี่ยม วงกลม เมื่อลากเส้นและเกิดรูปร่างขึ้น
เนื้ อที่ภายในขอบเขตเรียกว่า SHAPE
3.OGANIC รูปร่างไม่คงที่ สามารถแบ่งออกได้อีก
เช่น รูปอะตอม
4.ABTRAST SHAPE รูปร่างอิสระ เคลื่อนไหว ไม่มี
ความหมายแท้จริง เป็ นรูปทรงที่คลี่คลายไปจากรูป
ทรงเดิมที่เป็ นความจริงจนไม่เหลือเค้าโครงเดิมเลย
ขนาด SIZE
หมายถึง ลักษณะเล็ก - ใหญ่ ที่ตารับรู้
และประสาทสัมผัส บอกให้ทราบถึง
ขนาดเล็กตรงข้ามกับขนาดใหญ่หรือ
ขนาดใกล้เคียงกันจะกลมกลืนกัน
ขนาด SIZE
ประโยชน์ของ SIZE ในการออกแบบ
1.ด้วยรูปแบบเพียงชนิ ดเดียว แต่ทำาให้มข
ี นาด
ต่างกันได้มากขนาด และได้งานเป็ นชุด เกิดความ
รู้สก
ึ แปลกใหม่ขนึ้
2.การออกแบบต่างๆ ใช้รูปแบบชนิ ดเดียวกัน
ต่างวิธีกน
ั จะได้ Pattern หลายชนิ ด
3.รูปแบบที่ใหญ่เกินความจำาเป็ น หรือเล็กเกินไป
ใช้ในการตกแต่งได้และให้แนวความคิดใหม่ๆ ขึน ้
ร่ปทรง FORM
หมายถึง รูปที่เป็ นองค์ประกอบ หรือปริมาตรวิธีแสดง และใช้ตลอดไป
ถึงเสียงได้ด้วย มี 3 มิติ แบ่งตามลักษณะได้ 3 ชนิ ด คือ

1.GEOMETRIC FORM
รูปทรงเรขาคณิต

2.FREE FORM รูปทรงอิสระ ให้


ชีวิต ความเคลื่อนไหว
3.ORGANIC FORM รูปทรงอินทรีย์ (ธรรมชาติ) มีลักษณะการเติบโตเป็ น
ระยะ หรือเป็ นรูปทรงที่ให้ชว
ี ิตและเติบโตได้ เช่น รูปขยายเนื้ อเยื่อ จุลน
ิ ทรีย์
ร่ปทรง FORM
โครงสร้างของ FORM แบูงตามลักษณะ
โครงสร้างมีอยู่

1.SKELETAL FORM เป็ น FORM ที่ย่ ืนตัวออก


ไปในอากาศเป็ นซี่ๆ เส้นๆ อย่างโครงสร้างกระดูก
คน โครงใบไม้ ต้นหญ้า

2.MASS FORM วัตถุท่ีมี MASS มีโครงสร้าง


เป็ นแบบ VOLUME เป็ น FORM ที่มีผิวนอกขยาย
ตัวออกไปใน SPACE ไม่มแี ขนงแบบ SKELETAL
FORM เช่น ส้มโอ แตงโม ฯลฯ
มวล MASS
หมายความถึง สิ่งใดๆจะเป็ นสิ่งเดียว
หรือหลายสิ่งรวมกันเป็ นกล่ม ุ ก้อน หรือ
เรียกว่า ปริมาตร และปรากฎรูปนอก
ให้เห็น เช่น เส้นผมรวมที่กันรวมกัน
เป็ นกลุ่มๆอยู่บนศีรษะ
ทีว
่ า
ู ง SPACE
คำาจำากัดความของ SPACE คือ
1.ปริมาตรที่วัตถุหรือรูปทรงกินเนื้ อที่อยู่
2.ระยะห่างระหว่างรูปทรงหลายรูปทรง
3.ปริมาตรของความว่างที่ถูกล้อมรอบด้วยเขตหรือ
ผนัง
4.พื้นที่ของ Plane 2 มิติ ที่จิตรกรใช้เป็ นที่เขียนรูปลง
ไป คือ กระดาษ
5.การแทนค่าของความรูปรู้สึก ลงบนพื้นผิว 2 มิติ
(ลวงตาว่าลึก)
6.การสร้างภาพให้เกิดผลกับประสาททางตา โดยใช้
ปฏิกิริยาระหว่างสีและรูปทรง ทำาให้ดูเห็นผิวภาพ
ลึกตื้น นูนเว้า สลับกันไป
ทีว
่ า
ู ง SPACE

เจาะ SPACE เป็ น


ช่อง เป็ น SPACE
ทั้งคู่ ต่างทำางานต่าง
กัน
มีดา ้ น + และ -

เป็ นการแบ่ง SPACE


ออกเป็ น 2 ข้าง
Pictorial SPACE
2.1.AERIAL
PERSPECTIVE เป็ น
ลักษณะสิ่งที่อยู่ไกลจะ
มองไม่ชัด ขนาดเล็กกว่า
สิ่งที่ใกล้

2.2.IMPLIED SPACE
เป็ นพื้นที่ว่าง ทำาให้
SPACE ตูอเนื่ อง
กันเอง
Pictorial SPACE
2.3.SPATIAL
PERCEPTION คือ วิธี
ลวงตา ให้ Positive
และ Negative ทำางาน
เท่ากัน

2.4.LINEAR
PRESPECTIVE ใช้เส้น
นำาทำาให้เกิดภาพระยะ
ใกล้ ไกลขึ้น
ทิศทาง DIRECTION
หมายถึง ลักษณะที่แสดงให้เห็นว่ารูปร่างการออกแบบของส่วน
ประกอบทั้งหมดนั้นมีแนวโน้มและเคลื่อนไหวไปในทิศทางใด
เป็ นการกระตุ้นความรู้สึกของผ้พ
ู บเห็น

ก.เคลื่อนไหวไปใน ข.ทิศทางของเส้นเฉียง
แนวทางใกล้เคียงกัน เคลื่อนไหวมาก แต่รป ู
และเส้นดิ่งช่วย
ลดการเคลื่อนไหวลง
ทิศทาง DIRECTION
ค.ทิศทางในแนว
เดียวกัน แต่เกิดการ
เคลื่อนไหวเพราะการ
ลดระยะของ PLANE
และทำาให้เกิด
Perspective

ง.ทิศทางอยู่ในแนว
เดียวกันทำาให้รส
ู้ ึกสงบนิ่ ง
ทิศทาง DIRECTION

จ.การออกแบบเคลื่อนไป
ทางขวามาก

ฉ.การใช้รปู แบบอย่าง
เดียวกันต่างขนาดกัน แม้
มีทิศทางมาก มี MASS
กลุ่ม A เป็ นการบังคับ
ทำาให้ลดการเคลื่อนไหว
และ A เป็ นประธานของ
รูป
ผิวสัมผัส TEXTURE

ผิวสัมผัสเป็ นลักษณะพื้นผิวของรูปร่าง รูปทรงต่างๆ ซึ่งมี


ลักษณะแตกต่างกันไป มีท้ังละเอียด หยาบ ขุรขระ ผิวมัน แบ่ง
เป็ นประเภทที่สำาคัญได้ คือ
1.ผิวสัมผัสที่รับรู้ได้ดว
้ ยตา (VISUAL TEXTURE)
2.ผิวสัมผัสที่สัมผัสได้ดว ้ ยมือ (TACTILE TEXTURE)
ผิวสัมผัส TEXTURE
1.ผิวสัมผัสที่รับรู้ได้ดว
้ ยตา
(VISUAL TEXTURE)

2.ผิวสัมผัสที่สัมผัสได้ดว
้ ยมือ
(TACTILE TEXTURE)
สี COLOR
• สี หมายถึง ลักษณะความเข้มของแสง ที่
ปรากฏแก่สายตาให้เป็ นสี เช่น สีเขียว แดง
เหลือง น้้าเงิน สีท่ีเราเห็นได้เป็ นรังสีชนิ ดหนึ่ ง
ซึ่งมีช่วงแสงระยะหนึ่ ง ที่ตาสามารถรับร้้ได้
•แม่สใี นแสงอาทิตย์ (SPECTRUM) มี 3 สี
คือ
1. สีสม ้ (VERMILLON)
2. สีเขียว (EMERALD GREEN)
3. สีม่วงคราม (VIOLET)
•แม่สที ี่เป็ นวัตถุธาตุ (PIGMENT)มี 3 สี
ได้แก่
1. สีแดง CRIMSON LAKE
2. สีเหลือง GAMBOGE
แมูสีพ้ ืนฐาน
สีขัน
้ ที่ 2
สีขัน
้ ที่ 3
วรรณะของสี Tone

Tone
Warm
Tone
Cold
นำ้าหนักของสี VALUE
หมายถึง ความ
สว่างหรือความ
มืดของสี สีทุกสี
จะมีค่าเป็ นของ
ตัวเอง เริม่ ที่
ความชัดสุดจน
เกือบเป็ นสีขาว
และจากความชัด
สุดไปจนเกือบสี
ด้า
ความจัดของสี INTENSITY
หมายถึง ความสด
หรือความบริสุทธิ์
ของสีสีหนึ่ ง ที่ถ้ก
ผสมด้วยสีด้าจะหม่น
ลง ความจัดหรือ
ความบริสุทธิจ ์ ะลด
ลง ความจัดของสีจะ
เรียงล้าดับจากซ้าย
สุด ไปจนหม่นสุดได้
หลายล้าดับ
สีตรงข้าม CONTRAST
สี CONTRAST มี 2 ประเภท คือ
1. ORDINARY CONTRAST คือ ค่้สีท่ีตัดกันอย่าง
ไม่แท้จริง
2. TRUE CONTRAST สีตรงข้ามกันอย่างแท้จริง
ตามวงจรสีธรรมชาติมี 6 ค่้สีด้วยกันคือ
ความเข้มของสี INTENSITY
หมายถึง สีสดที่ถูก
ล้อมรอบด้วยสีหม่น
ดังเช่น ในเวลากลาง
คืนดาวบนท้องฟ้ าส่อง
แสงในความมืด
การประสานกันของสี
HARMONY
คือ การใช้สี 3-4 สีห
รือมากกว่า โดย
เรียงลำาดับวงจรสี
แต่ไม่เกิน 6 สี มาใช้
ในงานออกแบบ
การประสานกันของสี
HARMONY
การกลับคูาของสี Discord
คือ การกลับค่าสี
ของแต่ละสีท่ีนำา
มาใช้ เช่น สี
เหลืองเป็ นสีท่ี
อ่อนที่สด ุ สีม่วง
เป็ นสีท่ีแก่ท่ีสด

แต่เรากลับสีแก่
ที่สด
ุ เป็ นสีอ่อนที
สุด
หลักการออกแบบ
PROPORTION หมายความถึง ความ
สัมพันธ์ท่ีมีอย่้ระหว่างส่วนประกอบต่างๆ
ขององค์ประกอบ เช่น ร้ปร่างของคน
ประกอบด้วยส่วนต่างๆ
หลักการออกแบบ

EQILIBRIUM (BALANCE) หมายถึง การได้


สมดุลกันในภาพเป็ นกฎเกณฑ์อันหนึ่ งของความเป็ น
เอกภาพ (UNITY) สิ่งส้าคัญที่ก้าหนด BALANCE ใน
ภาพคือ เส้นแกน (AXIS)
หลักการออกแบบ

HARMONY ความประสาน
กันหมายถึง เอกภาพซึ่ง
ประกอบด้วยสิ่งอันเป็ นม้ลฐาน
ต่างๆ ถ้าม้ลฐานเหล่านี้ มี
หลักการออกแบบ

การซ้้ากัน (REPETITION) จะเป็ นการซ้้า


กันด้วยเส้น FORM น้้าหนั กสี ก็ตามจะ
ท้าให้เกิดการประสานกันได้โดยง่ายแต่ถา้ ซ้้า
กันมากเกินไปท้าให้ไม่นา่ สนใจ
CONTRAST และ HARMONY

การน้า CONTRAST และ HARMONY มาใช้น้ ั นใช้ได้


หลายทางศึกษาการใช้ HARMONY และ CONTRAST
ง่าย ๆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1. เส้น 2 เส้นมาพบกันทางแนวตั้งและแนวนอน
จะเกิดความร้ส้ ึกตัดกันเป็ นตรงกันข้ามกันทันที

2. ถ้าขนานกันตามแนวนอน หรือทางแนวดิ่งก็
ไม่รส
้ ึกอะไร
CONTRAST และ HARMONY
3. เส้นที่ลากผ่านแก้การตัดกันอย่างรุนแรง ให้อ่อนโยน
ลงช่วยให้เกิดความประสานกัน

4. ถ้ามีเส้นที่ 3 อีกเส้นหนึ่ งมาตัดกันท้าให้ชวนคิดมาก


ขึ้น น่าสนใจมากขึ้นอีก
CONTRAST และ HARMONY
5. ถ้าเส้นทุกเส้นประสานกันหมด มีระเบียบมีการรวม
กันจะเกิดเป็ น MASS ของเส้นขึ้น

6. เส้นตัดกันสับสนมากเกินไปท้าให้ด้รป ้ ขาด
UNITY กระจัดกระจาย ถ้าจะจัดความกระจัดกระจายนี้
ให้เป็ นหมวดหม่้ มีการรวมกลุ่มก็จะได้งานที่ดีได้ การ
จงใจจะให้เกิด CONTRAST ในร้ปและการจัดวางให้
เหมาะสมจะได้งานที่น่าสนใจ และมีเสน่ห์ สีท่ีระบายค่า
ของสีและเสียง การซ้้ามีจงั หวะลีลาเกิดขึ้นเป็ นระยะ ๆ
จังหวะ RHYTHM

รูปร่างเหมือนกัน
ระยะเท่ากัน ทำาให้
ซำ้าซาก
รูปร่างเหมือนกันแต่ระยะแตกต่างกัน
ท้าให้ดูงามขึ้นในการวางจังหวะลีลา

แม้เปลี่ยนขนาด
นอกจากช่องว่าง
แต่รปู ร่างคงเดิม
ต่างกันในระหว่างรูป
ระยะเท่ากัน ทำาให้ การตกแต่งอื่น ๆ
ซำ้าซากเหมือนเดิม เช่น เส้นบางและ
เส้นหนาอาจจะเอา
การเน้น EMPHASIS

ในร้ป A. จุดสามจุดได้
ดึงสายตาไปมาหากันได้
ง่ายกว่า ร้ป B.
จิตวิทยาการออกแบบ
การจัดหมวดหมู่เพื่อการรับร้่
1.ความใกล้ชิดกัน
จิตวิทยาการออกแบบ
การจัดหมวดหมู่เพื่อการรับร้่
2.ความคล้าคลึงกัน
จิตวิทยาการออกแบบ
การจัดหมวดหมู่เพื่อการรับร้่
3.ความต่อเนื่ องกัน
จิตวิทยาการออกแบบ
การจัดหมวดหมู่เพื่อการรับร้่
4.การประสานกัน

You might also like