ใช้ภาษาแสดงทรรศนะ

You might also like

Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 26

ใช ้ภาษาในการ

แสดงทรรศนะ
1.
โครงสร ้างของ
การแสดงทรรศนะ
โครงสร ้างของการแสดงทรรศนะ
่ ข้อสนับสนุ น และ สรุป
ประกอบด้วยส่วนสาค ัญ 3 ส่วน คือ ทีมา


ทีมา ข้อสนับสนุ น สรุป
ส่วนทีเป็่ นเรืองราวอั
่ นทา ให ้
เป็ นสารทีส ่ าคัญทีสุ
่ ด อาจ
เกิดการแสดงทรรศนะ ข ้อเท็จจริง หลักการ รวมทัง้
่ ่ ่ เป็ นข ้อเสนอแนะ ข ้อ
ทีมาแสดงให ้เห็นถึง ความ ทรรศนะและมติของ ผู ้อืนที
่ ้องแสดง ทรรศนะ ่ วินิจฉัย ข ้อสันนิ ฐาน หรือ
จาเป็ นทีต ผู ้แสดงทรรศนะนามา ใช ้เพือ ่ ้าของ
การประเมินค่า ซึงเจ
นั้นและช่วยให ้ผู ้ร ับสารเกิด ประกอบกับให ้ เป็ น ่ ้
่ ทรรศนะนาเสนอเพือให
ความเข ้าใจ และพร ้อมทีจะ เหตุผลสนับสนุ น ข ้อสรุป ่ จารณา
ผู ้อืนพิ
ร ับฟังทรรศนะให ้ครบถ ้วน ของตน
ยอมร ับและนาไปปฏิบต ั ิ

3
2.
ทรรศนะของบุคคลเเต
กต่าง กันอย่างไร
ทรรศนะของบุคคลเเตกต่าง กัน
อย่างไร
ประกอบด้วย 2 สาเหตุหลัก
1. คุณสมบัตต
ิ ามธรรมชาติของมนุ ษย ์
=> คุณสมบัตท ี่ ดตัวมาตังเเต่
ิ ติ ้ เกิด เช่น การมีไหวพริบ หรือ ความถนัด
ความเชือ่
ในแต่ละบุคคลมีความเชือที่ เเตกต่
่ ้
างกันไป ขึนอยู ่กบั การศึกษาอบรมจากครอบครัว

หรือสิงเเวดล ่
้อม ผลทีตามมาจึ งทาให ้แต่ละบุคคลมีเเนวความคิดทีต่ ่ างกันออกไป
่ ความเชือที
เมือมี ่ เเตกต่
่ างกัน การแสดงทรรศนะก็ยอ ่ มเเตกต่างกัน โดยความเชือ่
ของเเต่ละบุคคลสามารถเปลียนได ่ ้
้ขึนอยู
่กบ
ั วัยเเละประสบการณ์
5
ทรรศนะของบุคคลเเตกต่าง กันอย่างไร

2.อิทธิพลของสิงเเวดล ้อม
=>ทาให ้บุคคลมีความรู ้หรือประสบการณ์ ความเชือ่
้ านิ ยมทีแตกต่
รวมทังค่ ่ างกันไป
ค่านิ ยม
ค่านิ ยมเป็ นตัวกาหนดพฤติกรรมของเเต่ละบุคคล ค่านิ ยมมี
อิทธิพล ต่อการเเสดงทรรศนะของเเต่ละบุคคล ในบางครง้ั

อิทธิพลของค่านิ ยมสามารถเปลียนให ้บุคคลไม่สามารถเเสดง
ทรรศนะออกมาได ้ ค่านิ ยมเกิดได ้จากการอบรม และการได ้เห็น

ตัวอย่างเพือมาคิ ดและพิจารณาด ้วยตนเอง 6
ผลทีท่ าให้มท
ี รรศนะที่
ต่างกัน
ความรู ้เเละประสบการณ์
ประสบกาณ์หาได ้จากการ อ่าน ฟัง
และสังเกตุมาด ้วยตนเอง ประสบการณ์จะสะสม
ต่อเนื่ องกันมาจนเกิดเป็ นความแตกต่างทาง
ทรรศนะของเเต่ละบุคคล ส่วนใหญ่ขนอยูึ้ ่กบั
ประสบการณ์ทเเต่ ี่ ละคนสังสมกั
่ นมา ซึง่ 7
3.
ประเภทของทรรศนะ
ประเภทของทรรศนะ
ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริง ทรรศนะเชิงคุณค่า ทรรศนะเชิงนโยบาย
- ่ เกิ
กล่าวถึงเรืองที ่ ดเเล ้วเเต่ยงั เป็ น - ่
ประเมินว่าสิงใดดี ่
สิงใดด ่
้อย สิงใด - บ่งบอกว่าควรทาอะไร อย่างไร
่ ยั
เรืองที ่ งถกเถียวกันอยู่ ว่า เป็ นประโยชน์หรือโทษ หรือเเก ้ไขอะไร
ข ้อเท็จจริงคืออะไร - ประเมินโดยเปรียบเทียบกับ สิงที ่ ่ - นโยบายมีหลายระดับตังเเต่ ้
- เป็ นการสันนิ ษฐาน อยูใ่ นประเภทเดียวกัน บุคคลถึงชาติ
- ่ อขึนอยู
ความน่ าเชือถื ้ ก
่ บ
ั เหตุ - ่
สิงของเป็ น วัตถุ บุคคล กิจกรรม - ่ จะท
ต ้องบอกให ้ชัดเจนว่าสิงที ่ า
- ผลของผูเ้ เสดงทรรศนะ โครงการ หรือ วิธ ี ้ั
มีขนตอนอะไร เเก ้ปัญหา
อย่างไร มีเป้ าหมายอะไร

9
4.
ลักษณะของ
่ ้
ภาษาทีใช
่ ้
ลักษณะของภาษาทีใช
= มีความสาคัญและมีลก ั ษณะเฉพาะ
= หากใช ้ไม่ถก
ู ต ้องแล ้วอาจจะทาให ้ผู ้ฟังร ับสารผิด ไม่สามารถ
แยกแยะได ้ว่าผูพ ่ งทรรศนะของตน
้ ูดจะสือถึ

หลักการใช ้ภาษา
=> ใช ้ถ ้อยคากะทัดร ัด มีความหมายช ัดเจน
=> เรียบเรียงลาดับให ้ถูกต ้อง ไม่วกวน ไม่ทาให ้ผูฟั
้ งสับสน

=> ใช ้ภาษาถูกต ้องกับระดับของการสือสาร
(ระดับภาษา <= สถานการณ์ และ บุคคล)

11
โดยมีลก
ั ษณะเฉพาะเช่น
ตัวอย่าง

ดิฉันเห็นว่า, พวกเรามีความเห็น
ร่วมกันว่า, ข ้าพเจ ้าเข ้าใจว่า,
1. ใช ้คา/กลุม
่ คา แสดงความเป็ น
ผมขอสรุปว่า,
เจ ้าของ เราขอเสนอแนะว่า
= อาจเป็ นคานาม คาสรรพนาม ประกอบกับ
คากริยา หรือ กลุ่มคากริยา

12
ตัวอย่าง
โดยมีลก
ั ษณะเฉพาะเช่น

่ น่้ าจะส่งต่อให ้…
เรืองนี
2. ใช ้คา/กลุม ่ ้
่ คากริยาช่วยเพือชี คณะนักเรียนคงจะเข ้าใจผิด
ให ้เห็นว่าเป็ นการแสดงทรรศนะ ่
เกียวกั
บ….

= เช่น “น่ า” “น่ าจะ” “คง” “ควรจะต ้อง” โรงเรียนควรจะต ้องคานึ งถึง….

13
โดยมีลก
ั ษณะเฉพาะเช่น
ตัวอย่าง

นักกีฬาของเรามีทางชนะ
อย่างไม่ต ้องสงสัย
3. ใช ้คา/กลุม ่
่ คาอืนๆที
สื่ อ่ ่ ่น
= แสดงความเชือมั

ความหมายในการแสดงทรรศนะ ่
เป็ นไปได ้ยากมากทีเราจะ
่ น

= อาจเป็ นการประเมินค่า/แสดงความเชือมั สามารถจับได ้เลขเดิมหลาย
/คาดคะเน ฯลฯ ครงติ้ั กต่อกัน
= แสดงการคาดคะเน

14
ไม่ยด
ึ ตัวบุคคลเป็ นสาคัญ

การประเมินค่า แม้ว่าจะเจ ้าของทรรศนะจะเป็ น

ทรรศนะควรเป็ นอย่างไร ่ื ยง
ผูท้ รงคุณวุฒิ หรือมีชอเสี

มากเพียงใด

15
ประโยชน์และลักษณะสร ้างสรรค ์

ประโยชน์ สร ้างสรรค ์

่ ต ้องก่อให ้เกิดคุณค่า - ่ อให ้เกิดสิง่


การเสนอแนะทีก่
- ทรรศนะทีดี
ในทางสร ้างสรรค ์ แปลกใหม่
- ควรเป็ นประโยชน์ตอ ่ ส่วนน้อย - สามารถทาไปใช ้ประโยชน์
และส่วนใหญ่ ได ้
- ไม่ควรเป็ นโทษต่อผูอ้ น ่ื

16
่ อและความสมเหตุผล
ความน่ าเชือถื
้ั
่ จะต ้องมีทงความน่
ทรรศนะทีดี ่ อและเหตุผล ข ้อสนับสนุ นทรรศนะจะต ้องมี
าเชือถื

นาหนั กมากพอ และน่ ายอมร ับซึง่ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ

1. การให ้เหตุผลแบบนิ รนัย



เป็ นการนาความรู ้พืนฐานซึ ่
งอาจเป็ นความเชือ่ ข ้อตกลง หรือ กฎ ซึงเป็
่ นสิงที
่ รู่ ้มาก่อน และ

ยอมรบั ว่าเป็ นความจริงมาเป็ นข ้อสนับสนุ น ประเมินว่าหลักทีนามาสนับสนุ นถูกบิดเบือน
หรือไม่ และสมเหตุผลหรือไม่

2. การให ้เหตุผลแบบอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็ นวิธก
ี ารสรุปผลมาจากการค ้นหาความจริงจากการสังเกตหรือ
การทดลอง แล ้วนามาสรุปเป็ นความรู ้แบบทัวไป่ ่ี ามาอ ้างเพียงพอ
ต ้องประเมินว่ากรณี ทน
หรือไม่ ตัวอย่างถูกต ้องตามความจริงหรือไม่

17
ตัวอย่างการให ้เหตุผลแบบนิ รนัย

เหตุ 1. นักเรียน ม.4ทุกคนแต่งกายถูกระเบียบ

2. สมชายเป็ นนักเรียนชัน้ ม.4

ผล สมชายแต่งกายถูกระเบียบ

ตัวอย่างการให ้เหตุผลแบบอุปนัย

เหตุ 1. มานพใส่แว่นตา เขาเป็ นคนขยันเรียน

2. สุรยี ์ใส่แว่นตา เธอเป็ นคนขยันเรียน

ผล มานะใส่แว่นตา เขาเป็ นคนขยันเรียน

18

ถ ้าอ ้างถึงผูท้ รงคุณวุฒิ ต ้องประเมิณว่าอ ้างได ้อย่างไม่คลาดเคลือนหรื
อไม่ เพียงพอแก่
กรณี หรือไม่

่ี ามาเทียบว่าสอดคล ้องกันหรือไม่
ถ ้าใช ้แนวเทียบ ต ้องพิจรณากรณี ทน

่ นความสัมพันธ ์ระหว่างสาเหตุกบ
ถ ้าใช ้เหตุผลทีเป็ ั ผลลัพธ ์ ต ้องพิจารณาว่าเป็ นจริงและ
เป็ นไปได ้เพียงใด มีอะไรทีจะท ่
่ าให ้ข ้อสรุปคลาดเคลือนไปได ้หรือไม่

19
ความเหมาะสมกับผูร้ ับสารและกาสเทศะ
ทรรศนะใดก็ตามจะต ้องนาเสนอแก่บุคคล หรือ ประชาชนกลุ่มใด
กลุ่มหนึ ง ในโอกาสใดโอกาสหนึ่ ง ผ่านสือใดสื
่ ่
อหนึ ่ ง ซึงบางทรรศนะ

สามารถ นาเสนอให ้แก่สาธารณะชนทัวไปได่ ้ แต่บางทรรศนะก็ไม่สมควร ในการ
ประเมินค่าทรรศนะ จะต ้องพิจรณาว่าสามารถทีจะน ่ าเสนอได ้
อย่างเหมาะสมแก่ประชาชนหรือไม่ ถูกต ้องกับกาลเทสะหรือไม่ และ
ทรรศนะทีน ่ ามาเสนอนั้นต ้องมีความพอดี ไม่มากเกินไป เหมาะสมกับ
้ และเวลาที
เนื อที ่ ่ อยู่ เหมาะแก่สมรรถภาพ การร ับสารของผู ้ร ับหรือไม่
มี

20
ความเหมาะสมกับผูร้ ับสารและกาสเทศะ

ตัวอย่างทรรศนะทีไม่่ เหมาะสมแก่การนาเสนอต่อสาธารณชน
✗ ทรรศนะทีเกี ่ ยวข
่ ้องกับความมั่นคงของประเทศชาติ

✗ อธิบายคือ เนื อหาบางประการควรมี ่
ไว ้เพือเสนอแก่
ผูร้ ับผิดชอบโดยตรง เท่านั้น
่ าเสนอต่อบุคคลทัวไป
ไม่ควรทีจะน ่ เพราะอาจทาให ้ผูท้ ไม่่ี ประสงค ์ดี นาไปใช ้
่ ยหาย ก่อเกิดอันตรายต่อประเทศชาติได ้
ในทางทีเสี

21
การใช ้ภาษาในการแสดงทรรศนะ
ในการประเมินทรรศนะต่างๆ จาเป็ นต ้องประเมิน
การใช ้ภาษาด ้วยว่า มีความช ัดเจน แม่นตรงตาม

ต ้องการ และมีความเหมาะสมแก่ระดับการสือสาร
หรือไม่ มากน้อยแค่ไหน มากไปกว่านั้น ในการประเมิน
่ ละเอี
ค่าทรรศนะเป็ นเรืองที ่ ่
ยดอ่อน ซึงจะรีบสรุปไม่ได ้ จาเป็ นต ้อง
อาศัยเวลา และข ้อมูลหลายๆด ้านประกอบกัน

22
่ งเสริมการแสดงทรรศนะ
ปัจจัยทีส่
ปัจจัยแบ่งออกเป็ น ๒ ประการ

๑.ปัจจัยภายนอก เช่น สือ่ ผู ้ร ับสาร บรรยากาศแวดล ้อม


เวลา สถานที่

๒.ปัจจัยภายใน ได ้แก่ ความสามารถในการใช ้ภาษา ความ


่ ่นในตนเอง ความรู ้ประสบการณ์ทศ
ชือมั ั นคติ สติปัญญา
และความพร ้อมทางร่างกาย

23
6.
การประเมินค่า
ทรรศนะ
การประเมินค่าทรรศนะควรเป็ นอย่างไร
การประเมินค่าทรรศนะของบุคคลใดก็ตาม ไม่ควรยึดตัวบุคคลเป็ นสาคัญ แม้ผูเ้ ป็ นเจ ้าของทรรศนะนั้น
จะเป็ นผูท้ รงคุณวุฒิ หรือเป็ นผูม้ ช ่ื ยงมากเพียงใด เพราะมนุ ษย ์ไม่สามารถเสนอสิงที
ี อเสี ่ ถู่ กต ้องเสมอไป
ในทุกโอกาส

๑. ประโยชน์และลักษณะสร ้างสรรค ์

่ ต ้องก่อให ้เกิดประโยชน์ และมีคณ


ทรรศนะทีดี ้ วนน้อย และ
ุ ค่าในทางสร ้างสรรค ์ ต ้องเป็ นประโยชน์ ทังส่
ประโยชน์สว่ นใหญ่ ถ ้าเป็ นประโยชน์ เฉพาะตนหรือ ส่วนน้อยแต่ อย่างเดียว ก็เป็ นทรรศนะทีไม่ ่ สู ้จะมี
่ นทรรศนะที่ เป็ นประโยชน์ เฉพาะตนหรือคนส่วนน้อย แต่กลับเป็ นโทษแก่คนส่วนใหญ่
คุณค่านัก ยิงเป็
่ิ น ทรรศนะทีไม่
หรือส่วนรวม ก็ยงเป็ ่ น้ สาหรับทรรศนะในทางสร ้างสรรค ์ น้ัน
่ พงึ ประสงค ์ยิงขึ
่ อให ้เกิดสิงแปลกใหม่
หมายถึง การเสนอแนะทีก่ ่ อน ่ งามของ
ั อาจนาไปใช ้ประโยชน์ได ้ และธารงสิงดี
สังคมไว ้ให ้คงอยูไ่ ด ้ตลอดไป

25
การประเมินค่าทรรศนะควรเป็ นอย่างไร
่ อ และความสมเหตุสมผล
๒. ความน่ าเชือถื

่ จะต ้องมีความน่ าเชือถื


ทรรศนะทีดี ่ อและความสมเหตุสมผล ข ้อสนับสนุ นทรรศนะจะต ้องมีนาหนั
้ ก
่ าให ้ข ้อสรุปน่ าเชือถื
พอทีจะท ่ อ และมีคา่ ควรแก่การยอมรับ

๓. ความเหมาะสมกับผู ร้ ับสารและกาลเทศะ

โดยปกติทรรศนะใดก็ตามจะต ้องนาเสนอแก่บุคคล หรือประชุมชน กลุม ่ ใดกลุม่ หนึ่ ง ในโอกาสใด


โอกาสหนึ่ ง ผ่านสือชนิ
่ ดใดชนิ ดหนึ่ ง บางทรรศนะอาจนาเสนอ แก่สาธารณชนทั่วไปได ้ แต่บาง
ทรรศนะก็ไม่สมควร จึงต ้องพิจารณาว่าทรรศนะนั้นๆ ได ้เสนออย่างเหมาะสมและควรแก่ประชุม
ชนหรือไม่ นาเสนอถูกต ้องกับกาลเทศะ หรือไม่ และทรรศนะทีน ่ าเสนอนั้น มีความเหมาะพอดี ไม่
มากเกินไป เหมาะแก่เนื อ้ ทีหรื
่ อเวลาทีมี่ อยู่ เหมาะแก่สมรรถภาพการรับสารของผูร้ ับหรือไม่

26

You might also like