สอนต่อมไร้ท่อ-white .pptx60.ppt ใหม่ๆๆๆๆๆๆๆๆฃ

You might also like

Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 100

การพยาบาลบุคคลทีม่ ีความผิดปกติของ

ฮอร์โมนและต่อมไร้ท่อในระยะเฉียบพลัน
วิกฤต และเรื้อรัง

อาจารย์น้าทิพย์ ไพค้านาม
ต่อมใต้สมองส่ วนหน้า
(adenohypophysis)
• 1.Growth hormone (GH) การเจริญเติบโต
• 2. Corticotropin (ACTH) หลัง่ ตอนเครี ยด
• 3.Thyroid stimulating hormone (TSH)กระตุ้นการสร้ าง
ฮอร์ โมนของต่อมไทรอยด์
• 4.Follicle-stimulating hormone (FSH) ควบคุมลักษณะของ
เพศ ชาย.กระตุ้นอสุจิแข็งตัว ญ.การตกไข่
• 5.Luteinzing hormone (LH) กระตุ้นไข่สกุ
• 6.prolactin (PRL) สร้ างน ้านม
ต่อมใต้สมองส่ วนหลัง (neurohypophysis)
• Antidiuretic hormone (ADH) การดูดกลับของน ้า บางครัง้ ก็
เรี ยกว่า Vasopressin สาเหตุของความดันโลหิตสูง
• Oxytocin ช่วยในการหลัง่ น ้านม , เป็ นตัวช่วยสาคัญในการคลอดลูก คือ
ช่วยในการหดรัดตัวของมดลูก
Thyroid gland : T3(
Triiodothyronine)

T4(Thyroxine), Calcitonin
การพยาบาลบุคคลที่มี
ภาวะพาราไทรอยด์ฮอร์โมนต่า
Parathyroid gland (PTH)
พยาธิสรี รวิทยา
Ca ↓

PTH
+

สลาย Ca ↑ ดูดซึม Ca จากอาหาร ↑ ↓การขับ Ca ลดลง


↑เพิ่มการขับ PO4

Ca ↑
อาการและอาการแสดง
การรักษา
การพยาบาลที่สาคัญในผูป้ ่ วยที่มีภาวะพาราไทรอยด์
ฮอร์โมนต่าหลังการผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแคลเซียมในเลือดต่าหลังผ่าตัด Subtotal
thyroidectomy
• วัตถุประสงค์ : เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแคลเซียมในเลือดต่า
• เกณฑ์การประเมิน : ไม่เกิดภาวะแคลเซียมในเลือดต่า ระดับแคลเซียมปกติ
8.5-10.5 mg/dl
กิจกรรมการพยาบาล
• 1. ประเมิน Chvostek’s sign และ Trousseau’s sign
• 2. ประเมินอาการแสดงภาวะ Hypocalcaemia ได้ แก่ ชาปลายมือ ริม
ฝี ปาก มือจีบเกร็ง เป็ นตะคริว
• 3. ติดตามระดับแคลเซียมในเลือด
• 4. ให้ ยา Calcium gluconate ตามแผนการรักษา
ADH :
Antidiuretic hormone (Vasopressin)
ควบคุมการขับปั สสาวะ ความเข้ มข้ นของนา้ ในร่ างกาย
ทาให้ เส้ นเลือดหดตัว ความดันโลหิตสูงขึน้
เบาจืด (Diabetes Insipidus)
 การหลั่ง ADH น้ อยลง
สาเหตุ Hypothalamus ถูกทาลาย
เซลล์ ของต่ อมพิทอู ติ าลีถูกทาลาย/ขาดเลือด
เนือ้ งอก
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
Renal tubule ไม่ ตอบสนองต่ อ ADH
การติดเชือ้ เช่ น ซิฟิลิส เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
กรรมพันธุ์ เช่ น Nephrotic diabetes inspidus
การผ่ าตัด/ฉายแสงที่ต่อมใต้ สมอง ฯลฯ
อาการและอาการแสดง

ปั สสาวะบ่ อย/มาก (4-10 ลิตร/วัน)


จางเหมือนนา้ กระหายนา้
เบื่ออาหาร นา้ หนักลด อ่ อนเพลีย
ปากแห้ ง ท้ องผูก มีไข้ หมดสติ
วิตกกังวล ( การดื่มนา้ /การเดินทาง )
การวินิจฉัย
การซักประวัติ / การตรวจร่ างกาย
การตรวจทางห้ องทดลองในผู้ใหญ่

ความถ่ วงจาเพาะปั สสาวะ < 1.005


โซเดียมในเลือดสูง
Plasma osmolarity > 290 mOsm/kg
และ สูงกว่ า Urine osmolarity
3. การตรวจพิเศษ

การทา dehydration test


ดูความสามารถของไตที่จะทาให้ ปัสสาวะ
เข้ มข้ นขึน้ หลังให้ อดนา้ และหลังให้ ยา
vasopressin
การรักษา

ฮอร์ โมนทดแทน ได้ แก่ Vasopressin (Pitressin)


* ยาพ่ นทางจมูก ได้ แก่ Lypressin, Diapid, DDAVP,
Minirin (1-demino-8-arginine vasopressin ; desmopressin)
* ยาฉีดเข้ าใต้ ผิวหนัง ได้ แก่ aqueous vasopressin
* ยาฉีดเข้ ากล้ ามเนือ้ ได้ แก่ Vasopressin tannate
ยาที่ไม่ ใช่ ฮอร์ โมน เช่ น
Chlorpropamide (diabenese) Clafibrate (atromid) เป็ นต้ น
ภาวะแทรกซ้อน
1. ภาวะขาดน้้า
2. ผลข้างเคียงจากฮอร์โมน
2.1 มากเกินไป น้้าเกิน
ปัสสาวะน้อยลง N/V ปวดศรีษะ หน้าแดง
ซึม ชัก หมด สติ
2.2 น้อยเกินไป ขาดน้้า
ปัสสาวะมาก กระหายน้้า ชัก หมดสติ
การพยาบาล
1.บันทึกปริมาณนา้ เข้ า-ออก/ชั่งนา้ หนักทุกวัน
2.เตรียมนา้ ให้ ผ้ ูป่วยพร้ อมดื่ม
กรณีไม่ ร้ ูสึกตัว ให้ สารนา้ ทางหลอดเลือดดา
3.ติดตามผลอิเล็คโตรไลท์ เช่ น โซเดียม / โปตัสเซียม
4.แนะนาการทาครีมเพื่อป้ องกันผิวหนังแตก
5.สังเกตอาการท้ องผูก แนะนาอาหารกากมาก
6.การพักผ่ อนนอนหลับอย่ างเพียงพอ
7.แนะนาเกี่ยวกับการปฏิบัตติ ัว

 การมีบัตรประจาตัวบ่ งชีว้ ่ าเป็ นโรคเบาจืด


 การฉีดยา เช่ น การเขย่ ายาให้ ละลายดีก่อนฉีด
 การพ่ นยาทางจมูกเช่ น การทาความสะอาดจมูก

การสังเกตการติดเชื้อทางเดินหายใจส่ วนบน,
allergic rhinitis, เยื่อบุจมูกบวม
Syndrome of Inappropriate Antidiuretic Hormone (SIADH)
* การหลั่ง ADH มาก
สาเหตุ 1.เนือ้ งอกสมอง
2.การบาดเจ็บที่ศีรษะ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
Guillain-Barre Syndrome ฯลฯ
3.เนือ้ งอกที่ทาให้ มีการสร้ าง ADH เพิ่มขึน้ เช่ นมะเร็งปอด
ลาไส้ เล็ก ตับอ่ อน ท่ อไต ต่ อมไทมัส
4.มะเร็งต่ อมนา้ เหลือง ( Hodgkin’s disease )
5. ยาบางชนิด เช่ น Chlorpropamide ยารักษาโรคมะเร็ง
เช่ น Vincristin
อาการและอาการแสดง

นา้ หนักตัวเพิ่มขึน้
อ่ อนเพลีย ซึม สับสน
ชัก หมดสติ จาก โซเดียมต่า และเกิด Water
intoxication

*โซเดียมตา่ (Dilutional hyponatremia)*


** ร่ างกายมีนา้ มากทาให้ Aldosterone ลดลง
การวินิจฉัย
ผลการตรวจทางห้ องทดลอง
BUN Cr และ albumin ต่า
โซเดียมในเลือดต่ากว่ า 130 mEq/L
 โซเดียมในปั สสาวะ >20 mEq/L (Aldosterone ลดลง)
Serum osmolarity ต่ากว่ า 275 mosmol/kg
การทา Water loading
ให้ ผ้ ูป่วยดื่มนา้ 20 ซีซี.ต่ อนา้ หนักตัว 1 กิโลกรัม และเก็บ
ปั สสาวะทุกชั่วโมงนาน 5 ชั่วโมง

ผลปกติ ปั สสาวะออกมากกว่ า 80% ของนา้ ที่ให้


ออสโมลดาริตใี ้ นปั สสาวะลดลง ( < 100 mosmol/kg)
ความถ่ วงจาเพาะปั สสาวะ > 1.005
ผลผิดปกติ ปั สสาวะออกน้ อยกว่ า 40%
ออสโมลาริตใี ้ นปั สสาวะยังสูง
การรั กษา

1.จากัดนา้ 800-1,000 ซีซี.ต่ อวัน


2.กรณีผ้ ูป่วยมีอาการสับสน ชัก ไม่ ร้ ู สึกตัว
ให้ 3% saline solution ทางหลอดเลือดดา
และเฝ้ าระวังภาวะหัวใจวาย
3.รั กษาสาเหตุท่ ที าให้ เกิด SIADH
4.การรั กษาทางยา เช่ น Dimethylcholortetracycline ช่ วย
ขัดขวางการออกฤทธิ์ของ ADH ที่ไต
การพยาบาล

1.บันทึกปริมาณนา้ เข้ า-ออก/ชั่งนา้ หนักทุกวัน


2.สังเกตระดับความรู้สึกตัว /ประเมินระบบประสาท
3.จากัดนา้ และให้ สารนา้ ตามแผนการรักษา
4.ดูแลผิวหนัง
สรุป
DI (Diabetes Inspidus)
ADH ลดลง ปัสสาวะมาก ขาดน้้า
Serum osmolarity > 300 mosmol / kg
ปัสสาวะมากกว่า 4-10 ลิตร/วัน หรือมากกว่า 200 ซีซี ติดต่อกัน 2 ชม.
ถพ.ปัสสาวะในผู้ใหญ่ < 1.005 เด็ก <1.010

SIADH (Syndrome inappropriate antidiuretic hormone)


ADH มาก* ปัสสาวะน้อย น้้าคั่งในร่างกาย
Serum osmolarity < 275 mosmol / kg
ถพ.ปัสสาวะในผู้ใหญ่ > 1.025 เด็ก > 1.015
การพยาบาลผูป้ ่ วยที่มีความผิดปกติของต่อมหมวกไต
(Adrenal gland problems)
ฮอร์โมนที่หลัง่ จากต่อมหมวกไตส่ วนนอก
(adrenal cortex)
• Mineralocorticoids ฮอร์ โมนกลุม่ นี ้ คือ aldosterone ทา
หน้ าที่รักษาสมดุลของน ้าและโซเดียม โดยออกฤทธิ์กระตุ้นการดูดกลับ
ของโซเดียมและคลอไรด์ รวมถึงขับโปแตสเซียมที่ distal tubule
• Glucocorticoids ฮอร์ โมนกลุม่ นี ้ คือ cortisol ทาหน้ าที่
ควบคุมเมตะบอลิสมของคาร์ โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน โดยมีผลต่อ
การสร้ างเสริม(anabolic effect) และผลต่อการแยกสลาย
(catabolism effect)
• ฮอร์ โมนเพศ (sex hormone) ฮอร์ โมนกลุม่ นี ้ คือ แอนโดรเจน
(androgen) ทาหน้ าที่ควบคุมการหลัง่ ฮอร์ โมนเพศ
ฮอร์โมนที่หลัง่ จากต่อมหมวกไตส่ วนแกน
(adrenal medulla)
• หลัง่ ฮอร์ โมนในกลุม่ catecholamine ได้ แก่
ได้ แก่ epinephrine/adrenaline และ nor
epinephrine/noradrenaline ฮอร์ โมนนี ้จะ
หลัง่ ออกมาเมื่อร่างกายอยูใ่ นภาวะฉุกเฉิน ต้ องต่อสู้
ป้องกันตัวจากภยันอันตราย ส่งผลต่อระบบไหลเวียน
ระบบหายใจ กล้ ามเนื ้อและตับ
ความผิดปกติของการหลัง่ ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต
• ความผิดปกติจากการหลัง่ ฮอร์ โมนจากต่อมหมวกไตชันนอก ้
• ถ้ าการหลัง่ ฮอร์ โมนจากต่อมหมวกไตชันนอกมากกว่
้ าปกติ จะทาให้ เกิดอาการ
ที่เรี ยกว่า Cushing’s syndrome
• ถ้ าการหลัง่ ฮอร์ โมนจากต่อมหมวกไตชันนอกน้
้ อยกว่าปกติจะเกิดกลุ่มอาการที่
เรี ยกว่า Addison’s syndrome
• ความผิดปกติจากการหลัง่ ฮอร์ โมนจากต่อมหมวกไตชันใน ้
• ถ้ าการหลัง่ ฮอร์ โมนจากต่อมหมวกไตชันในท ้ างานมากกว่าปกติ คือ ทาให้ เกิด
pheochromocytoma
• ถ้ าการหลัง่ ฮอร์ โมนจากต่อมหมวกไตชันในท ้ างานน้ อยกว่าปกติ จะไม่ทาให้ เกิด
อาการผิดปกติ หรื อมีอาการแต่ไม่เป็ นอันตราย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มกี ารหลัง่ ฮอร์ โมนจาก
ต่ อมหมวกไตส่ วนนอกมากเกินไป
คุชชิ่งเป็ นกลุม่ อาการที่เกิด
จากความผิดปกติของการ
หลัง่ ฮอร์ โมน cortisol
จากต่อมหมวกไตส่วนนอก
มากกว่าปกติ ซึง่ อาจมี
สาเหตุจากความผิดปกติ
ของต่อมหมวกไตเองหรื อ
ความผิดปกติของต่อมใต้
สมองส่วนหน้ าก็ได้
สาเหตุ
• เนื ้องอกของต่อมใต้ สมอง หรื อมีพยาธิสภาพของโรคอยูท่ ี่ตอ่ มใต้ สมอง ทาให้ เกิด
การหลัง่ ฮอร์ โมนที่ควบคุมการทางานของต่อมหมวกไตส่วนนอก
(adrenocorticotrophic hormone= ACTH) มากกว่าปกติ
• ความผิดปกติจากภายนอกต่อมใต้ สมอง หรื อต่อมหมวกไต ซึง่ จะพบได้ ใน
โรคมะเร็งปอดชนิด Oat Cell Carcinoma
• การเจริญเติบโตอย่างช้ าๆของต่อมหมวกไต ทาให้ เกิดเป็ นเนื ้องอกของต่อม
หมวกไต (adrenal adrenomas)
• การเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของต่อมหมวกไต ทาให้ เกิดเป็ นเนื ้องอกชนิด
ร้ ายแรงของต่อมหมวกไต (adrenal carcinomas)
• การรักษาด้ วย corticosteroids เป็ นเวลานาน ทาให้ เกิดความผิดปกติของ
ต่อมหมวกไต
• จากฤทธิ์ของแอลกอฮอล์ทาให้ เกิดกลุม่ อาการที่มีลกั ษณะคล้ ายคุชชิ่ง
(Pseudo Cushing’s Syndrome)
อาการและอาการแสดง
• ผิวหนัง พบว่า ผิวหนังบาง มีรอยแตกบริเวณหน้ าท้ อง
(abdominal striae) สะโพก เต้ านม ต้ นแขน/ขา มีสวิ ที่หน้ า
และลาตัว ผิวหนังคล ้ากว่าปกติ มีขนมากตามอก แขน ขา หน้ า
หากเกิดแผลจะพบว่า แผลหายช้ า
อาการและอาการแสดง
• กระดูกและกล้ ามเนื ้อ กล้ ามเนื ้ออ่อนแรง ลีบ กระดูกเปราะง่าย ปวดกระดูก ปวดหลัง
• อาการอื่นๆที่พบ อารมณ์มีการเปลี่ยนแปลงง่าย ปั สสาวะกลางคืนบ่อย ประจาเดือน
ผิดปกติ มีการสะสมไขมันตามลาตัว ต้ นคอเป็ นโหนก (buffalo hump) หน้ า
อ้ วน (moon face) และเกิดต้ อกระจก (cataracts) ความดันโลหิตสูง มีจ ้า
เลือดใต้ ผิวหนังเวลาถูกกระแทก
การประเมินภาวะสุขภาพ
• การซักประวัติ ซักถามถึงอาการสาคัญที่ต้องมา
โรงพยาบาล ซึง่ เกี่ยวกับความผิดปกติของต่อมหมวกไต
เช่น อ่อนเพลีย เป็ นสิวผิดปกติ มีจ ้าเลือดง่าย ปวดหลัง
กล้ ามเนื ้อไม่มีแรง ปวดศีรษะ ประจาเดือนผิดปกติ
ปั สสาวะบ่อยเวลากลางคืน ประวัติความเจ็บป่ วยใน
อดีตอาจพบว่า เคยเป็ นวัณโรคปอด เบาหวาน ความดัน
โลหิตสูง และประวัติการดื่มสุรา การได้ รับยา
steroid
การประเมินภาวะสุขภาพ
• การตรวจร่างกาย
• ลักษณะโดยทัว่ ไป ดูลกั ษณะเฉพาะของกลุม่ อาการคุชชิ่ง จะ
พบว่า ผู้ป่วยหญิงจะมีลกั ษณะเหมือนเพศชาย คือ มีหนวดเครา
ขนที่หน้ าอก แขนขา มากกว่าปกติ ส่วนผู้ป่วยชายจะมีลกั ษณะ
เหมือนหญิง คือ มีนมใหญ่กว่าปกติ หน้ ากลม มีสวิ ที่หน้ าและ
ลาตัว ต้ นคอด้ านหลังหนานูน
• สัญญาณชีพ พบว่า ความดันโลหิตค่อนข้ างสูง อุณหภูมิไม่สงู
ชีพจรปกติ หายใจหอบเล็กน้ อย
• ท้ อง ผิวหนังหน้ าท้ องพบมีลายแตก คลาพบก้ อนในท้ อง ถ้ าเป็ น
ก้ อนเนื ้องอกของต่อมหมวกไต
• ทรวงอก ทรวงอกและลาตัวจะหนาอ้ วน
• แขนขา แขนขาจะเล็ก มีรอยแตกของผิวหนังที่ต้นแขน ต้ นขา
เวลานัง่ ยองๆแล้ วลุกยืนจะทาได้ ยาก
การประเมินภาวะสุขภาพ
• การตรวจทางห้ องปฏิบตั ิการและการตรวจพิเศษ
• การตรวจหา cortisol ใน plasma (Plasma
Cortisol Test)
• การตรวจหา Dexamethasone Suppression
Test
• การตรวจหา Plasma Adreno-Corticotropic
Hormone Test
• การตรวจ Metyrapone Test
• การถ่ายภาพรังสี Adrenal Angiography
• การถ่ายภาพ the Sella Turcica
การรักษา
• การรักษาด้ วยยา ยาที่ใช้ รักษาในระยะที่ทาผ่าตัดไม่ได้ คือ
• Aminogluthimamide หรื อ Elipten เพื่อลดการสร้ าง
cortisol โดยการขัดขวางการเปลี่ยน chloresterol เป็ น
prednisolone ผลข้ างเคียงของยา คือ รบกวนการทางาน
ของกระเพาะอาหารและลาไส้ ระบบประสาท และให้ เกิดผื่นตาม
ผิวหนัง
• Metyrapone หรื อ Metopirone เป็ นยาที่ช่วยลดการ
สร้ าง cortisol ผลข้ างเคียงของยา ทาให้ คลื่นไส้ อาเจียน เป็ น
ผื่นขึ ้น (skin rashes)
• Mitotane/Lysodren เป็ นยาที่ยบั ยังการสร้ ้ าง
glucocoryicoids ผลข้ างเคียงของยา ทาให้ คลื่นไส้ อาเจียน
งง และมีผื่นขึ ้น
การรักษา(ต่อ)
• การรักษาด้ วยการผ่าตัด
• การรักษาด้ วยการผ่าตัด จุดประสงค์เพื่อลดระดับ cortisol ให้
ลดลง ในผู้ป่วยที่เป็ นเนื ้องอกของต่อมหมวกไต จะทาผ่าตัดเอาต่อม
หมวกไต และก้ อนเนื ้องอกออกข้ างเดียว หรื อทังสองข้
้ าง
(adrenalectomy) แต่ถ้าเป็ นมะเร็งของต่อมหมวกไตจะใช้ การ
รักษาด้ วยเคมีบาบัดร่วมด้ วย ส่วนในผู้ป่วยที่เป็ นเนือ้ งอกของ
pituitary gland จะทาผ่าตัด Hypophysectomy
• การรักษาด้ วยการทาผ่าตัด ก่อนทาผ่าตัดผู้ป่วยจะได้ รับการรักษา
ภาวะผิดปกติตา่ งๆ เช่น ความดันโลหิต ระดับน ้าตาลในเลือด ในอยูใ่ น
ระดับที่ทาผ่าตัดแล้ วไม่เกิดอันตราย หากมีการติดเชื ้อต้ องรักษาอาการ
ติดเชื ้อก่อน
การรักษา(ต่อ)
• การรักษาด้ วยการฉายรังสี
• การรักษาด้ วยการฉายรังสีมกั ทาควบคูก่ บั การผ่าตัด หรื อการ
รักษาด้ วยยาในผู้ป่วยที่เป็ นเนื ้องอกที่ pituitary gland รังสี
ที่ใช้ คือ Cobalt-60 หรื อ Yttrium-90
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
• มีภาวะบวมน ้า เนื่องจากมีการคัง่ ของน ้าและโซเดียม
• จากัดการรับประทานอาหารที่มีโซเดียม และจัดอาหารให้ มี
โปรตีนมากๆ
• ประเมินอาการบวม เช่น อาการบวมตามแขนขา และชัง่ น ้าหนัก
ทุกวัวนเพื่อประเมินการคัง่ ของน ้าภายในร่างกาย
• ประเมินและบันทึกปริมาณของน ้าที่ร่างกายได้ รับ และน ้าที่ออก
จากร่างกายทุก 8 ชัว่ โมง
• ติดตามผลการตรวจทางห้ องปฏิบตั ิการหาค่าโซเดียมใน
serum หากสูงกว่า 150 mEq/L ให้ รายงานแพทย์ทราบ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
• เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจทางานผิดปกติเนื่องจากระดับของโปแตส
เซียมในเลือดลดต่าลง
• ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชัว่ โมง โดยเฉพาะความดัน
โลหิตและชีพจร หากมีการเปลี่ยนแปลงให้ รายงานแพทย์
• ดูแลการได้ รับประทานอาหารที่มีโปแตสเซียมสูง เช่น กล้ วย ส้ ม องุ่น
สับปะรด และจากัดโซเดียม
• ประเมินอาการขาดโปแตสเซียม คือ กล้ ามเนื ้ออ่อนกาลัง รวมทัง้
อัตราการเต้ นของหัวใจที่ผิดปกติ
• ติดตามผลตรวจทางห้ องปฏิบตั ิการหาค่าโปแตสเซียมใน serum
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
• เสี่ยงต่อการเกิดอุบตั ิเหตุพลัดตกหกล้ ม เนื่องจากภาวะกล้ ามเนื ้ออ่อนแรง
• ประเมิน motor power ของแขนขา
• ดูแลยกไม้ กนเตีั ้ ยงขึ ้นทุกครัง้ หลังจากให้ การพยาบาลแล้ ว
• จัดสิ่งแวดล้ อมให้ สะดวกแก่ผ้ ปู ่ วย เวลาเดินควรมีเครื่ องยึดเกาะ
• แนะนาให้ ผ้ ปู ่ วยใช้ อปุ กรณ์การเรี ยกเจ้ าหน้ าที่เมื่อต้ องการทา
กิจกรรม/กิจวัตรประจาวัน
• แนะนาให้ ผ้ ปู ่ วยใส่รองเท้ าที่มีพื ้นยาง ยึดเกาะพื ้นได้ ดี
• ดูแลให้ ได้ รับแคลเซียมและวิตามินดีตามแผนการรักษาอย่างเพียงพอ
• รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ หรื อผู้ป่วยบ่นถึงอาการปวดหลัง
ปวดตามข้ อ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
• เสี่ยงต่อการเกิดภาวะติดเชื ้อเนื่องจากระบบภูมิค้ มุ กันบกพร่อง/ลดลง
• แนะนาให้ ผ้ ปู ่ วยหลีกเลี่ยงการสัมผัส/ใกล้ ชิดกับผู้ป่วยโรคติดต่อ
เช่น โรคติดต่อของระบบทางเดินหายใจ
• ล้ างมือให้ สะอาดก่อนและหลังการให้ การพยาบาลผู้ป่วย
• ประเมินอาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นจากการติดเชื ้อ เช่น อุณหภูมิ
ของร่างกาย เสียงเสมหะ น ้ามูก ผิวหนังที่เกิดเป็ นแผล
• รักษาความสะอาดของร่างกาย
• หลีกเลี่ยงอากาศที่ร้อนหรื อเย็นจัด
• ดูแลให้ ได้ รับการพักผ่อนที่เพียงพอ
• ติดตามผลการตรวจทางห้ องปฏิบตั ิการ เช่น ผลเม็ดเลือดขาว ผล
การเพาะเชื ้อ เป็ นต้ น
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
• เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้ อนหลังผ่าตัดเนื่องจากพร่อง/ขาดความรู้ใน
การปฏิบตั ิตวั หลังผ่าตัด
• อธิบายความจาเป็ นของการรักษาโดยการผ่าตัด ประโยชน์ที่จะได้ รับ
• อธิบายขันตอนการเตรี
้ ยมผิวหนังก่อนการทาผ่าตัด ซึง่ บริ เวณที่เตรี ยม
คือ หน้ าท้ อง ช่วงข้ างลาตัวด้ านที่จะทาผ่าตัดถึงกลางหลัง และ
บริเวณฝี เย็บ
• แนะนาให้ งดน ้า อาหารก่อนการทาผ่าตัดอย่างน้ อย 6-8 ชัว่ โมง และ
สวนอุจจาระ ใส่สายสวนปั สสาวะ
• สอนการไอ การหายใจเข้ าออกลึกๆ และการลุกจากเตียงโดยเร็วหลัง
ผ่าตัดเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้ อน
การพยาบาลผู้ป่วยที่มกี ารหลัง่ ฮอร์ โมน
จากต่ อมหมวกไตส่ วนนอกน้ อยเกินไป
• ต่อมหมวกไตส่วนนอก (adrenal cortex) ให้ ฮอร์ โมนสาคัญ
คือ cortisol, mineralocorticoid และ androgen ถ้ า
ร่างกายสร้ างฮอร์ โมนดังกล่าวน้ อยกว่าปกติ ไม่เพียงพอกับความ
ต้ องการของร่างกาย ทาให้ เกิดโรคแอดดิสนั (addison’s
syndrome) ซึง่ เกิดมีพยาธิสภาพของต่อมหมวกไตเอง ทาให้ ไม่
สามารถสร้ างฮอร์ โมนได้ ตามปกติ (primary adrenal
insufficiency) และเกิดจากพยาธิสภาพของต่อมใต้ สมอง
สาเหตุของ Primary Adrenal
Insufficiency
• การติดเชื ้อที่ทาให้ ตอ่ มหมวกไตอักเสบ จากภาวะออโตอิมมูนของ
ร่างกาย ทาให้ เซลของต่อมถูกทาลาย และฝ่ อเล็กลง
• การติดเชื ้อวัณโรค เชื ้อรา เชื ้อ Histoplasmosis
• การแพร่กระจายของเนื ้องอก
• การขาดเลือดไปเลี ้ยงที่ตอ่ มหมวกไต เนื่องจากการอุดตันของหลอด
เลือดจาก thrombosis หรื อจากการได้ รับอันตรายโดยตรง
• การผ่าตัดต่อมหมวกไตออก ซึง่ ส่วนมากพบในผู้ที่ผา่ ตัดต่อมหมวกไต
ออกทังสองข้
้ าง
สาเหตุของ Secondary Adrenal
Insufficiency
• การได้ รับ steroid เป็ นเวลานาน ทาให้ ตอ่ มใต้ สมองถูก
กด ไม่สามารถหลัง่ ฮอร์ โมนออกมากระตุ้นต่อมหมวกไต
(ACTH) ได้
• ต่อมใต้ สมองขาดเลือดมาเลี ้ยง หรื อต่อมใต้ สมองมีก้อน
เนื ้องอก
• ความเครี ยดทางอารมณ์และร่างกาย เช่น ภาวะเครี ยด
ภายหลังการทาผ่าตัดหรื อก่อนผ่าตัด
อาการและอาการแสดง
• อาการเรื อ้ รังที่เกิดจากการขาดฮอร์ โมนจากต่อมหมวกไต คือ
• อาการที่เกิดจากการขาด aldosterone ทาให้ มีผลต่อระบบ
ไหลเวียนโลหิต เนื่องจากทาให้ ปริมาณน ้าในระบบไหลเวียน
ลดลง เนื่องจากโซเดียมถูกขับออกและดึงเอาน ้าออกมาด้ วย
ปริมาณน ้าในร่างกายจะลดลง ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจใน
1 นาที (cardiac output) ลดลง ความดันโลหิตลดลง
และอาจช็อคได้ จากภาวะขาดน ้า (hypovolemic shock)
อาการและอาการแสดง
• อาการที่เกิดจากการขาด glucocorticoids ทาให้ มีผลต่อระบบ
ทางเดินอาหาร ทังการย่
้ อย การดูดซึม และการเผาผลาญ ทาให้ ระดับ
น ้าตาลในเลือดต่า (hypoglycemia) มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวด
ท้ อง บางครัง้ อาจมีอาการท้ องเสีย ท้ องผูก น ้าหนักลด นอกจากนันจะมี
้ ผล
ต่อระบบประสาทรับความรู้สกึ เกี่ยวกับการรับรส การได้ ยินและการดม
กลิ่นจะเสียไป บุคลิกภาพแปรปรวน ทาให้ ซมึ เศร้ า หรื อหงุดหงิด ผิวหนัง
และเยื่อบุตา่ งๆสีเข้ มขึ ้น โดยเฉพาะบริเวณที่ถกู แสงมากๆ เช่น หน้ า หลัง
มือ ข้ อศอก เข่า เยื่อบุตาขาวและเหงือก
• อาการที่เกิดจากการขาด androgens จะทาให้ ขนรักแร้ อวัยวะเพศมี
น้ อย
การประเมินภาวะสุขภาพ
• การซักประวัติ ซักถามถึงอาการสาคัญ ส่วนมากจะพบว่า ผู้ป่วยมา
ด้ วยอาการอ่อนเพลีย น ้าหนักลด คลื่นไส้ มีไข้ โดยหาสาเหตุไม่ได้
เมื่อซักถามถึงอาการปั จจุบนั ที่เกี่ยวเนื่องกับความเจ็บป่ วยจะพบว่า
ผู้ป่วยมักมีความเครี ยดทังร่้ างกายและจิตใจ ตกเลือดหลังคลอด
ความผิดปกติของภาวะออโตอิมมูน การได้ รับการผ่าตัดต่อมหมวกไต/
ต่อมใต้ สมอง การได้ รับการรักษาด้ วย steroid เป็ นระยะเวลานาน
และประวัติการฉายรังสีบริเวณใกล้ เคียง หรื อต่อมใต้ สมอง
การประเมินภาวะสุขภาพ
• การตรวจร่างกาย ลักษณะทัว่ ไป ตรวจระดับความ
รู้สกึ ตัว สัญญาณชีพ ส่วนมากจะพบความดันโลหิตต่า
ชีพจรเร็ว มีไข้ หายใจหอบเหนื่อย ผิวหนังจะมีสีคล ้า
และขาดความตึงตัว มีขนน้ อย เมื่อคลาตับจะพบว่า ตับ
มีขนาดโตกว่าปกติเล็กน้ อย อาจคลาพบก้ อนเนื ้องอกที่
หน้ าท้ องได้
การประเมินภาวะสุขภาพ
• การตรวจทางห้ องปฏิบตั ิการและการตรวจพิเศษ
• การตรวจหาโซเดียมในเลือดในผู้ป่วยที่มีระดับของ aldersterone ต่า
จะมีระดับโซเดียมต่ากว่าปกติจากการสูญเสียโซเดียมทางปั สสาวะ
• การตรวจหาโปแตสเซียมในเลือด ในผู้ป่วยที่มีระดับของ
aldersterone ต่า จะมีระดับโปแตสเซียมสูงกว่าปกติ
• การตรวจหาค่า cortisol ใน plasma (Plasma Cortisol
Test)
• การตรวจระดับ Plasma ACTH
• การเจาะเลือดตรวจทางเคมี (Blood chemistry)
• การเอกซเรย์
การรักษา
•เป็ นการรักษาด้ วยการให้ ฮอร์ โมนเข้ าไปทดแทน
เช่น cortisol 20-30 mg/d,
Prednisolone 7.5 mg/d และให้
โซเดียมทดแทนในอาหาร
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
• เสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อค เนื่องจากเกิดภาวะไม่สมดุลของน ้า
และโซเดียม
• ดูแลให้ ผ้ ปู ่ วยได้ รับน ้าอย่างเพียงพอ ในรายที่รับประทานอาหารไม่ได้ มีอาการคลื่นไส้
อาเจียน พยาบาลควรดูแลให้ ได้ รับสารน ้าทดแทนทางหลอดเลือดดาตามแผนการรักษา
• ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต และอัตราการเต้ นของหัวใจ ทุก 1
ชัว่ โมง
• ประเมินระดับความรู้สกึ ตัว ทุก 1 ชัว่ โมง
• บันทึกปริ มาณสารน ้าเข้ าและออกจากร่ างกาย ทุก 1 ชัว่ โมง
• สังเกตอาการผิดปกติจากระดับฮอร์ โมนต่ากว่าปกติ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ท้ องเสีย
• ติดตามผลการตรวจโซเดียมจากห้ องปฏิบตั ิการ หากพบผิดปกติให้ รายงานแพทย์เพื่อ
แก้ ไข
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
• เสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อค เนื่องจากระดับน ้าตาลในเลือดสูง
• ดูแลให้ ผ้ ปู ่ วยได้ รับประทานอาหารครัง้ ละน้ อยๆแต่บอ่ ยครัง้ และมีโปรตีน
คาร์ โบไฮเดรตและไขมันสูง
• ประเมินอาการที่เกิดจากระดับน ้าตาลในเลือดต่า เช่น อ่อนเพลีย เวียนศีรษะ ใจสัน่
เหงื่อออก ตัวเย็น สับสน ความดันโลหิตลดลง และติดตามผลของระดับน ้าตาลในเลือด
• แนะนาให้ ผ้ ปู ่ วยมีน ้าหวาน หรื อลูกอมติดตัวไว้ เสมอ เพื่อป้องกันภาวะช๊ อคจากน ้าตาล
ในเลือดลดลง
• ดูแลช่วยเหลือการทากิจกรรม/กิจวัตรประจาวันของผู้ป่วยเพื่อลดการใช้ พลังงาน
• ดูแลให้ ได้ รับสารละลายทางหลอดเลือดดาตามแผนการรักษา
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
• เสี่ยงต่อการเกิดภาวะการเต้ นของหัวใจผิดจังหวะ เนื่องจาก
การมีระดับโปแตสเซียมในเลือดสูง
• ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะลักษณะและอัตราการเต้ นของหัวใจ
• ดูแลให้ ได้ รับประทานอาหารที่มีโปแตสเซียมต่า/ไม่มีโปแตสเซียม งดน ้าผลไม้ ประเภท
ส้ ม มะนาว น ้าอ้ อย และเครื่ องดื่มเกลือแร่ รวมถึงงดผลไม้ พวกแตงไทย กล้ วย องุ่น
สับปะรด
• ดูแลให้ ได้ รับยาขับโปแตสเซียมตามแผนการรักษา
• ติดตามผลของโปแตสเซียมในกระแสเลือด
• ติดตามผลการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
• เสี่ยงต่อการเกิดภาวะติดเชื ้อ เนื่องจากภูมิค้ มุ กันในร่างกาย
ลดลง
• ดูแลให้ ผ้ ปู ่ วยอยู่ในห้ องแยก เพื่อป้องกันการติดเชื ้อ
• ดูแลรักษาความสะอาดร่ างกาย ปากและฟั น ทาความสะอาดบริ เวณอวัยวะสืบพันธุ์
ภายนอกด้ วยน ้าสบู่
• รายที่ใส่สายสวนปั สสาวะควรทาความสะอาดอย่างน้ อยวันละ 2 ครัง้ และดูแลการใส่
สายสวนปั สสาวะให้ เป็ นระบบปิ ด
• ล้ างมือให้ สะอาดก่อนและหลังการให้ การพยาบาล
• แนะนาให้ ผ้ ปู ่ วยและญาติล้างมือให้ สะอาดาก่อนและหลังการเข้ าเยี่ยมผู้ป่วย
• แนะนาให้ ผ้ ปู ่ วยใส่ผ้าปิ ดปากปิ ดจมูก (mask) เสมอที่ต้องอยู่ในชุมชน หรื อผู้ป่วยติด
เชื ้ออื่นๆ
• ดูแลการได้ รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่มคี วามผิดปกติของต่ อมหมวกไตส่ วน
แกน
• ต่อมหมวกไตส่วนแกน (adrenal medulla) สร้ างฮอร์ โมน
catecholamines ซึง่ ประกอบด้ วย
adrenaline/epinephrine และ nor adrenaline/nor
epinephrine การหลัง่ ฮอร์ โมนถูกควบคุมโดยระบบประสาท
ส่วนกลางโดยมี nerve fiber ส่งไปยังต่อมหมวกไต ซึง่ ฮอร์ โมนจะถูก
หลัง่ ออกมาเมื่อร่างกายอยูใ่ นภาวะฉุกเฉิน เครี ยด กลัว เจ็บปวด
• สาเหตุ
• ไม่ทราบแน่ชดั แต่เชื่อว่าอาจเกิดในครอบครัวที่เคยมีประวัติเป็ นโรคความดัน
โลหิตสูง และเป็ นเนื ้องอก (adenoma) ของต่อมหมวกไตมาก่อน
• ส่วนมะเร็งของต่อมหมวกไต อาจเกิดจากการแพร่กระจายของมะเร็งมาจาก
อวัยวะอื่นๆที่อยู่ใกล้ เคียง
อาการและอาการแสดง
• ระบบหัวใจและหลอดเลือด ทาให้ เส้ นเลือดที่ผิวและอวัยวะภายในที่เป็ น
กล้ ามเนื ้อเรี ยบหดตัว แต่เส้ นเลือดที่กล้ ามเนื ้อลายและกล้ ามเนื ้อหัวใจคลาย
ตัว SA node จะถูกกระตุ้นให้ สง่ สัญญาณเร็ วขึ ้น รวมถึง
conducting system จะเร็ วขึ ้นด้ วย ส่งผลให้ อตั ราการเต้ นของหัวใจ
เพิ่มขึ ้น ความดันโลหิตจะสูงลอยตลอดเวลา
• ระบบประสาทและกล้ ามเนื ้อ ลดการทางานของกล้ ามเนื ้อเรี ยบที่กระเพาะ
อาหาร ลาไส้ กระเพาะปั สสาวะ แต่เพิ่มการทางานของหูรูด (sphincter)
ของกระเพาะอาหารและกระเพาะปั สสาวะ กระตุ้นการทางานที่คล้ ายคลึง
กับการทางานของระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous
system; CNS) ทาให้ ตื่นเต้ น เหงื่อออก อ่อนเพลีย ม่านตาขยาย และ
คลื่นไส้ อาเจียน บางครัง้ จะมีอาการปวดท้ องร่วมด้ วย
อาการและอาการแสดง
• ระบบหายใจ หลอดลมขยายตัว เพิ่มความเร็วและแรงในการ
หายใจ
• ระบบอื่นๆ จะพบ ระดับน ้าตาลในเลือดสูง แต่ระดับ
insulin ต่าเนื่องจากถูกกระตุ้นจนล้ า ทาให้ การหลัง่
insulin ลดลง ในรายที่เป็ นมาก อาจทาให้ เกิดอาการตามัว
ตามองไม่เห็นจากการบวมของขัวประสาทตา

การประเมินภาวะสุขภาพ
• การซักประวัติ ซักถามถึงอาการสาคัญที่มาโรงพยาบาล เช่น
ปวดศีรษะ เหนื่อย อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้ อง
ระยะเวลาที่เป็ น หรื อเริ่ มรู้สกึ ว่า มีอาการเปลี่ยนแปลงจาก
ปกติ การรักษาก่อนหน้ านี ้ ประวัติการเจ็บป่ วยในอดีต โรค
ประจาตัว การผ่าตัดที่เกี่ยวกับสมอง/ต่อมใต้ สมอง/ต่อมหมวก
ไต ประวัติความเจ็บป่ วยในครอบครัวที่เกี่ยวกับเนื ้องอกของ
ต่อมหมวกไต/ที่อื่นๆ/โรคระบบออโตอิมมูน ประวัติทางจิต
สังคม ความเป็ นอยู่ สภาพแวดล้ อมในสังคม อุปนิสยั
การประเมินภาวะสุขภาพ
• การตรวจร่างกาย สภาพทัว่ ไป อาการมือสัน่ ระดับความรู้สกึ ตัว
น ้าหนักตัวลดลง/เพิ่มขึ ้น ท่าทางตื่นเต้ น เหงื่อออก
• สัญญาณชีพ ความดันโลหิตสูงทัง้ systolic and diastolic
เปรี ยบเทียบกับความดันโลหิตระหว่างท่านัง่ และท่ายืน ซึง่ จะสูงลอย
ตลอดเวลา ชีพจรจะเร็วกว่าปกติ หายใจหอบเหนื่อย
• ตา พบว่า ม่านตาขยาย ในรายที่เป็ นมากจนเกิดอาการบวมของประสาท
ตา จะทาให้ มีอาการตามัว หรื อตามองไม่เห็น
• ท้ อง ถ้ าก้ อนเนื ้องอกมีขนาดใหญ่ อาจจะคลาพบได้ ที่หน้ าท้ อง แต่ถ้าก้ อน
เนื ้องอกมีขนาดเล็ก/ไม่โตมาก อาจคลาไม่พบความผิดปกติ ฟั ง bowel
sound พบว่า ช้ าลง
การประเมินภาวะสุขภาพ
• การตรวจทางห้ องปฎิบตั ิการและการตรวจพิเศษ
• venillylmadelic acid-VMA ใน 24 ชัว่ โมง เป็ นการ
ตรวจเพื่อดูผลผลิตของ metanephrine และ nor
metanephrine ซึง่ ถูก catabolized มาจาก
epinephrine และ nor epinephrine ในผู้ป่วยที่เป็ น
เนื ้องอกของต่อมหมวกไตส่วนแกน
(Pheochromocytoma) จะมีคา่ VMA สูงกว่าปกติ
• หาค่า catecholamines ในปั สสาวะ
• การตรวจ CT Scan
การรักษา
• การรักษาด้ วยยา เพื่อควบคุมความดันโลหิต โดยการลดระดับของ
catecholamines ซึง่ ยาที่ใช้ ได้ แก่
• Phentolamine/Regitaine ช่วยลดความดันโลหิต ทาให้ หวั ใจเต้ น
ช้ าลงโดยลดปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจใน 1 นาที (cardiac output)
ลด sympathetic tone ที่ควบคุมการทางานของหัวใจและหลอดเลือด
ลดการหลัง่ rennin-angiotensin และ catecholamines จาก
ปลายประสาท sympathetic ผลข้ างเคียงของยา คือ คลื่นไส้ อาเจียน
มึนงง ท้ องอืด ผื่นตามตัว หัวใจล้ มเหลว
• Nitropusside/Nipride หรื อ Sodium Nitropusside ออก
ฤทธิ์ทาให้ หลอดเลือดแดงขนาดเล็กขยายตัว และความต้ านทานของหลอด
เลือดแดงส่วนปลายลดลง ทาให้ ความดันโลหิตลดลง
• Propanolol/Inderal ออกฤทธิ์ทาให้ อตั ราการเต้ นของหัวใจลดลง
ความดันโลหิตลดลง
การรักษา(ต่อ)
• การรักษาด้ วยการทาผ่าตัด การทาผ่าตัดต่อมหมวกไต
(adrenalectomy) ออกข้ างเดียวหรื อทังสองข้ ้ าง ก่อนจะทาผ่าตัด
ต้ องควบคุมความดันโลหิตให้ อยูใ่ นระดับที่เหมาะสม และควบคุมระดับ
น ้าตาลในเลอด และผลของเกลือแร่ในร่างกายให้ อยูใ่ นระดับที่ไม่เกิด
อันตรายภายหลังจากการทาผ่าตัด ซึง่ ภายหลังการผ่าตัดมักจะเกิด
ภาวะแทรกซ้ อน คือ ระดับความดันโลหิตไม่คงที่อาจจะเกิดความดัน
โลหิตลดมาก น ้าตาลในเลือดต่า หัวใจขาดเลือดไปเลี ้ยง ทาให้ เกิดตก
เลือดและหัวใจวายหลังผ่าตัด
การวิ น ิ จ ฉั ย ทางการพยาบาล
• เสี่ยงต่อการเกิดอุบตั ิเหตุพลัดตกหกล้ มเนื่องจากความดัน
โลหิตสูงลอยตลอดเวลา
• สังเกตและบันทึก อาการและอาการแสดงผิดปกติ เช่น อาการตามัว ระดับความรู้สติ อาการ
อ่อนกาลังของกล้ ามเนื ้อที่ใบหน้ า แขน ขา เป็ นต้ น
• แนะนาให้ พกั ผ่อนอยู่บนเตียง จัดสิ่งแวดล้ อมให้ เงียบสงบ จัดกิจกรรมการพยาบาลให้ รบกวน
ผู้ป่วยน้ อยที่สดุ
• ดูแลช่วยเหลือการทากิจกรรมหรื อกิจวัตรประจาวันให้ ผ้ ปู ่ วย
• ยกไม้ กนเตี
ั ้ ยงขึ ้นทุกครัง้ หลังจากให้ การพยาบาลเสร็จ
• แนะนาให้ ใช้ เครื่ องมือในการเรี ยกเจ้ าหน้ าที่เมื่อต้ องการทากิจกรรม
• ประเมินและบันทึกความดันโลหิต อย่างน้ อยทุก 1 ชัว่ โมง หากพบว่า ระดับความดันโลหิตสูง
กว่าปกติให้ รายงานแพทย์ทนั ที
• ดูแลให้ ผ้ ปู ่ วยได้ รับยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษา และเฝ้าระวังอาการข้ างเคียงของยา
เช่น คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง หัวใจล้ มเหลว
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
• เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้ อนหลังผ่าตัด เนื่องจากไม่
สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตให้ คงที่ได้
• แนะนาให้ พกั ผ่อนอยู่บนเตียง จัดสิ่งแวดล้ อมให้ เงียบสงบ จัดกิจกรรมการพยาบาลให้
รบกวนผู้ป่วยน้ อยที่สดุ
• บันทึกปริ มาณสารน ้าเข้ าและออกจากร่ างกาย ทุก 8 ชัว่ โมง
• ประเมินและบันทึกการคัง่ ของน ้าในร่างกาย เช่น อาการบวม กดบุม๋
• ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพโดยเฉพาะความดันโลหิตอย่างน้ อยทุก 4 ชัว่ โมง
• ดูแลให้ ผ้ ปู ่ วยได้ รับยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษาและเฝ้าระวังอาการข้ างเคียง
ของยา เช่น คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง หัวใจล้ มเหลว
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
• เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้ อนหลังผ่าตัด เนื่องจาก
พร่องความรู้ในการปฏิบตั ิตวั ภายหลังการทาผ่าตัด
• แนะนาการปฏิบตั ิตวั เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้ อนหลังผ่าตัด การหายใจเข้ าออกลึกๆ
การไออย่างมีประสิทธิภาพ การพลิกตะแคงตัว การลุกจากเตียงโดยเร็ ว
• การบรรเทาอาการปวดด้ วยการจัดท่านอน โดยไม่ควรนอนตะแคงไปทางด้ านที่ทา
ผ่าตัด ใช้ ผ้าหรื อหมอนใบเล็กๆหนุนใต้ แผล
• แนะนาให้ รับประทานอาหารที่มีโปรตีน และแคลอรี่ สงู คาร์ โบไฮเดรตต่า เพื่อป้องกัน
ภาวะน ้าตาลในเลือดสูง
• แนะนาให้ ใช้ เทคนิคผ่อนคลาย หรื อการเพ่งจุดสนใจเพื่อหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทาให้ เกิด
ความเครี ยด
การดูแลผู้ป่วย
ที่มีความผิดปกติ
ของการทางานต่อมไทรอยด์
1. วัตถุประสงค์ทั่วไป
• มีความรู ้ ความเข ้าใจเกีย
่ วกับ
การทางานของต่อมไทรอยด์
• ตระหนักถึงความสาคัญของ
การดูแลผู ้ป่ วยทีม
่ ก
ี ารทางาน
ต่อมไทรอยด์ผด ิ ปกติ
• วางแผนการพยาบาลผู ้ป่ วย
ต่อมไทรอยด์ได ้ถูกต ้อง
การทาหน้าที่ของไทรอยด์
•ตาแหน่ง

•ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์
ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์

ภาวะต่อมไทรอยด์ ภาวะต่อมไทรอยด์
ทางานมากกว่าปกติ ทางานน้อยกว่าปกติ
(Hyperthyroidism) (Hypothyroidism)
Graves’ disease Hashimoto’s disease
พยาธิสภาพ
Resting metabolic rate increases

Resting heart rate jumps irregularly

arrythymia

Heart intolerance
and heavy perspiration
อาการและอาการแสดง
ตาโปน
(exophthalmos)
การวินจ ิ ฉั ยการพยาบาล
1. เสยี่ งต่อการเกิดแผลทีก ่ ระจกตา เนือ
่ งจากไม่
สามารถปิ ดตาได ้สนิทจากการมีภาวะตาโปน
2. เสย ี่ งต่อภาวะพร่องสารอาหารเนือ ่ งจากอัตราการเผา
ผลาญสูง
3. เสย ี่ งต่อการเกิดอุบตั เิ หตุ พลัดตกหกล ้ม เนือ ่ งจาก
ร่างกายอ่อนเปลีย ้
4. มีภาวะไข ้เนือ ่ งจากอัตราเมตาบอลิซม ึ ร่างกายสูงขึน้
5. กิจกรรมทางสงั คมลดลง เนือ ่ งจากผู ้ป่ วยหงุดหงิด
การวินจ ิ ฉั ยการพยาบาล
1.เสยี่ งต่อการเกิดแผลทีก่ ระจกตา เนือ่ งจากไม่สามารถปิ ดตาได ้
สนิทจากการมีภาวะตาโปน
การพยาบาล

แนะนาหยอดนา้ ตาเทียมหยอดให้ผป
ู ้ ่ วยและปิ ดตาด้วย
eye pad ในขณะทีน
่ อนหล ับ
การวินจ ิ ฉั ยการพยาบาล (ต่อ)
2.เสย ี่ งต่อภาวะพร่องสารอาหารเนือ ่ งจากอัตราการ
เผาผลาญสูง
การพยาบาล
1.ดูแลให ้รับประทานอาหารทีม ่ แี คลลอรีส
่ งู
รับประทานอาหาร วันละ 6 มือ ้
2.หลีกเลีย ่ งอาหารทีท
่ าให ้เกิด ภาวะท ้องเสย ี
3.ชงั่ น้ าหนักทุกวัน หากลดลงกว่า 2 กิโลกรัม/วัน
ต ้องรายงานแพทย์
4. หากพบภาวะขาดสารอาหาร รุนแรงให ้เสริม
วิตามินบีรวม
การวินจ
ิ ฉั ยการพยาบาล (ต่อ)
ี่ งต่อการเกิดอุบ ัติเหตุ พล ัดตกหกล้ม เนือ
3.เสย ่ งจาก
ร่างกายอ่อนเปลีย ้
การพยาบาล
1.แนะนาญาติให้ยกไม้กนเตี
ั้ ยงทุกครงเมื
ั้ อ ่ ไม่ได้อยู่
ิ ผูป
ใกล้ชด ้ ่ วย
่ ยเหลือกิจว ัตรประจาว ันหากผูป
2.ดูแลชว ้ ่ วยอ่อน
แรงมาก
การวินจ
ิ ฉั ยการพยาบาล (ต่อ)
4. มีภาวะไข้เนือ ึ ร่างกายสูงขึน
่ งจากอ ัตราเมตาบอลิซม ้

การพยาบาล
- แนะนาสวมเสอ ้ื ผ้าบางสบาย ไม่หนา
- แนะนาให้อยูใ่ นทีอ ่ ากาศเย็น
- หากมีไข้ให้ใชผ ้ า้ ห่มทีม
่ ล
ี ักษณะบาง ใสช ่ ุด
นอนทีห่ ลวมและบาง
- ในผูป้ ่ วยทีม ่ เี หงือ ่ ออกมาก หลีกเลีย ่ งกิจกรรมที่
ต้องใชแ ้ รง ใชผ ้ า้ เช็ดต ัวและเปลีย ้ื ผ้าบ่อยๆ
่ นเสอ
การวินจ
ิ ฉั ยการพยาบาล (ต่อ)

4. กิจกรรมทางสงั คมลดลง เนือ


่ งจากผู ้ป่ วยหงุดหงิด
อันเนือ
่ งมาจากพยาธิสภาพของโรค

การพยาบาล

ิ ผู ้ป่ วยเข ้าใจว่าผู ้ป่ วยจะมี


-อธิบายให ้ผู ้ใกล ้ชด
พฤติกรรมชวั่ คราว และจะค่อยดีขน ึ้ หลังได ้รับการ
รักษาพยาบาล
-แนะนาให ้ผู ้ป่ วยอยูใ่ นสถานทีเ่ งียบสงบ
ความผิดปกติของไทรอยด์
Hyper Hypo
Gray
thyroid thyriod
ข ้อวินจ
ิ ฉั ยทางการพยาบาล

1. ไม่สข
ุ สบายเนือ
่ งจากไม่สามารถทน
ต่อความหนาวเย็นเพราะอัตราเมทาบอ

ลิซม

2.มีความเสย ี่ งสูงต่อความไม่ม ี
ประสท ิ ธิภาพในการบริหารจัดการตาม
แผนการรักษา เนือ ่ งจากขาดความรู ้
เกีย
่ วกับอาการทีเ่ ป็ นวิธก
ี ารรักษา
อาการและอาการแสดงของ

ภาวะแทรกซอนการดู แลเรือ
่ งอาหาร
การรักษาทางยา และการจากัดกิจกรรม
ข ้อวินจ
ิ ฉั ยทางการพยาบาล (ต่อ)

3.ได ้รับสารอาหารมากกว่าทีร่ า่ งกาย


ต ้องการ เนือ
่ งจากอัตราเมทาลิซม ึ ชา้
ลง

่ งจากบีบรัดตัวของลาไส ้
4.ท ้องผูกเนือ
ลดลงเพราะอัตราเมทาบอลิซม ึ ลดลง
และกิจกรรมทางร่างกายลดลง
อาการแสดง ของการทาหน ้าทีต
่ อ
่ มไทรอยด์ทผ
ี่ ด
ิ ปกติ
Hypothyroid Hyperthyroid
ระบบ
ห ัวใจและ HR + SV CO HR + SV CO
หลอดเลือด
ความต้องการออกซเิ จนในกล้ามเนือ
้ ห ัวใจ ้ อกซเิ จน
อ ัตราการใชอ
แรงต้านทานภายในหลอดเลือดสว่ นปลาย
systolic BP 10 – 15
ระด ับไขม ันในเลือดสูง mmHg

ระด ับคอลเลสเตอรอล ในเลือดสูง diasolic BP 10 – 15


ี งห ัวใจเต้นไม่สมา่ เสมอ
เสย mmHg

ใจสน่ ั ห ัวใจเต้นเร็ ว มี
bounding
pulse
อาจเกิดห ัวใจล้มเหลว
บวม
Hypothyroid Hyperthyroid
ระบบ
ทางเดินอาหาร การบีบต ัวของลาไส ้ การบีบต ัวของลาไส ้

่ ไส ้ อาเจียน
คลืน ความอยากอาหาร

อาจมีนา้ หน ักเพิม
่ นา้ หน ักลด

ท้องผูก ี
ท้องเสย

การเผาผลาญโปรตีน การใชไ้ ขม ันและโปรตีน


ทีส
่ ะสม
ระด ับไขม ันในเลือด ในร่างกาย

delayed glucose uptake ระด ับไขม ันเลือด

ึ กลูโคส
การดูดซม การหลง่ ั นา้ ย่อย
Hypothyroid Hyperthyroid
ระบบ
้ และ
กล้ามเนือ ่ นไหวชา้
การเคลือ ้ อ่อนแรง
กล้ามเนือ
กระดูก
่ั
้ สน
อ่อนเปลีย

ระบบผิวหน ังและ ผิวหน ังแห้ง หยาบ เป็นขุย เหงือ ึ ตลอด


่ ซม
ระบบห่อหุม้
ร่างกาย ผมร่วง ้ื
ผิวชน

เล็บเปราะ แข็ง ผิวหน ังอุน


่ และแดง

ี น้าไม่แสดงความรูส
สห ึ
้ ก ้ เล็ก นิม
ผมเสน ่ ตรง อาจมี
ผมบาง
บวมรอบดวงตา
ไม่ทนต่อความร้อน
ผิวบวมฉุ หนา บริเวณใบหน้าและ
หน้าแข้ง
Hypothyroid Hyperthyroid
ระบบ
ประสาท deep tendon reflexes deep tendon
reflexes
้ นอนไม่หล ับ
อ่อนเปลีย
ตกใจง่าย
ั ชา้
พูดชด
อารมณ์เปลีย ่ นแปลง
เฉยชา เซอื่ งซม
ึ เก็บกด ง่าย: วิตก
หวาดระแวง ก ังวล หวาดระแวง

ั้
ความจาสน

ื พ ันธ์
สบ หญิง : ประจาเดือนมาไม่ปกติ หญิง : ไม่มป
ี ระจาเดือน
anovulation อารมณ์ทาง ประจาเดือนมาไม่ปกติ
เพศลดลง
โอกาสตงครรภ์
ั้
ชาย : อารมณ์ทางเพศลดลง
ความเสย ี่ งในการแท้ง
บุตรโดยไม่มส ี าเหตุ
ชาย : impotence
อารมณ์ทางเพศลดลง
พ ัฒนาการทางเพศ
ก่อนว ัยรุน

Hypothyroid Hyperthyroid
ระบบ

อืน
่ ๆ myxedma ตาโปน
(exophthalmos)

You might also like